หลอมสอ่ื รวมคน ส่หู นทางสร้างสรรค์
สงั เคราะหอ์ งค์ความรจู้ ากงานวิจัย
ภายใต้การสนบั สนุนของกองทุนพัฒนาสอ่ื ปลอดภัยและสร้างสรรค์
หลอมส่ือ รวมคน สู่หนทางสร้างสรรค์: สังเคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจัยภายใต้การสนับสนุนของกองทุน
พัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
พมิ พ์ครงั้ แรก: มนี าคม พ.ศ. 2564
จดั ท�ำโดย:
วิโรจน์ สทุ ธสิ มี า
กองทนุ พัฒนาส่ือปลอดภัยและสรา้ งสรรค์
388 อาคารเอส.พี. (ไอบีเอม็ ) อาคารบี ชน้ั 6 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400
ขอ้ มลู ทางบรรณานุกรมของหอสมดุ แห่งชาติ
หลอมส่ือ รวมคน สหู่ นทางสร้างสรรค์: สงั เคราะห์องคค์ วามรู้จากงานวิจัยภายใตก้ ารสนบั สนุนของกองทนุ
พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค.์ -- กรงุ เทพฯ : กองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค,์ 2564. 112 หนา้
1. สื่อทางเลอื ก. I. วโิ รจน์ สุทธสิ มี า. II. ชอ่ื เรอื่ ง.
302.23
ISBN: 978-616-577-957-9
ทป่ี รึกษา:
ผู้จัดการกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ รองผู้จัดการกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
ผู้อ�ำนวยการฝ่ายวิจัยและขับเคล่ือนสังคม ผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กและ
เยาวชน ผู้อ�ำนวยการฝา่ ยสง่ เสริมการรู้เทา่ ทนั และเฝ้าระวังสือ่ ผ้อู ำ� นวยการฝา่ ยพัฒนาสอ่ื ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์
สำ� หรบั ประชาชน
บรรณาธิการ: ดร.วโิ รจน์ สุทธิสีมา
ผู้ทรงคณุ วุฒ:ิ ผศ.ดร.อลงกรณ์ ปริวฒุ พิ งศ์ ผศ.สุรศกั ด์ิ บญุ อาจ
ผเู้ ขยี น: ผศ.ดร.พิมลพรรณ ไชยนันท์ ผศ.ดร.ศศธิ ร ยุวโกศล ผศ.ดร.ชนญั สรา อรนพ ณ อยธุ ยา
ดร.วิโรจน์ สุทธสิ มี า
กองบรรณาธกิ าร: อุ่นใจ เจยี มบูรณกลุ สริ ภิ ัทร พึ่งสันเทยี๊ ะ สิรไิ พรนิ ทร์ สิงหอ์ นิ ทร์
ศลิ ปกรรม: วีวราคอนเทนต์
ประสานงาน: เจา้ หนา้ ทบี่ รหิ ารโครงการ ฝ่ายวจิ ยั และขับเคล่อื นสงั คม
พิมพท์ ่ี: บรษิ ัท แรบบทิ 4พริ้นต์ จำ� กัด
40/44 ถนนวภิ าวดีรงั สิต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่
กรงุ เทพมหานคร 10210
โทรศัพท์ 0-2552-2222
สารบญั
สารจากผูจ้ ดั การกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสร้างสรรค์ .....................................................................................7
บทบรรณาธิการและกิตตกิ รรมประกาศ ...................................................................................................................8
1. รอ้ ยอดตี สปู่ ัจจุบนั ถักสานสู่อนาคต ..........................................................................................................10
ภาพรวมจากงานวจิ ัยภายใต้การสนับสนนุ ของกองทนุ พัฒนาส่ือปลอดภยั และสรา้ งสรรค ์ ........................11
กองบรรณาธกิ าร
2. งานศึกษาส่ือกบั บริบททางสังคม ..............................................................................................................15
รวมงานวิจัยคดั สรร
โครงการวิจยั นิเวศส่อื เพ่อื พัฒนาสื่อปลอดภยั และสร้างสรรค์ ...................................................................16
สถานภาพความรู้การวจิ ัยเกย่ี วกบั ความรูเ้ ทา่ ทนั สื่อในประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2540-2560 .......... 20
โครงการ ELECT สื่อข้อมูลการเมอื งและการเลอื กตง้ั ไทย ........................................................................23
การศึกษาวจิ ัยดา้ นการส่งเสริมทักษะการรเู้ ท่าทันสือ่ โครงการจดั ทำ� แผนยทุ ธศาสตร์ 5 ปี .......................27
(พ.ศ.2561-2565)
โครงการการส่งเสริมการเฝา้ ระวงั สอ่ื ไมป่ ลอดภยั และไม่สร้างสรรค์ .........................................................30
บทสงั เคราะห์ ความทา้ ทายของการวิจัยการรเู้ ท่าทนั สอื่ จากนยิ ามทป่ี รับเปลีย่ นตามภมู ทิ ัศนส์ ือ่ ............35
พิมลพรรณ ไชยนันท์
3. งานศกึ ษาในกลมุ่ ของสือ่ นวัตกรรม และการพัฒนา .................................................................................40
รวมงานวิจัยคดั สรร
โครงการนวัตกรรมการเลา่ เรอ่ื งขา้ มสือ่ เพื่อสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มเพอ่ื ขบั เคลอื่ นสงั คม ................................41
ภายใต้โครงการพัฒนานวตั กรรมและองคค์ วามรเู้ พ่อื ผลิตส่อื ปลอดภัยและสร้างสรรค์
(Thai Media Lab)
การวิจยั เชิงปฏิบตั ิการแบบมีส่วนรว่ มเพือ่ พฒั นาคู่มอื การรายงานข่าวสทิ ธิเดก็ บนสื่อ .............................46
สงั คมออนไลน์
โครงการการพัฒนานวัตกรรมสอ่ื เพอ่ื พัฒนาการเรยี นรู้ของสงั คม .............................................................49
โครงการตน้ แบบหลักสูตรการผลิตสื่อโฆษณาที่ปลอดภัยและสร้างสรรค์ เพอื่ การพฒั นา ........................53
ก�ำลงั คน ดา้ นสื่อโฆษณาและการขับเคล่ือนสงั คม ให้มีการผลิตส่อื โฆษณาท่ีปลอดภยั และสรา้ งสรรค์
การพัฒนานวัตกรรมสอ่ื สร้างสรรค์ การศึกษาวิจัยผลิตและสรา้ งนวัตกรรมส่อื ปลอดภยั และ ...................56
สรา้ งสรรค์ โครงการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (พ.ศ. 2561- 2565)
โครงการผลติ คู่มอื การรู้เทา่ ทันส่ือออนไลน์และการใชส้ ่ืออย่างสรา้ งสรรคป์ ลอดภยั สำ� หรบั เด็ก ...............60
และเยาวชนส�ำหรับพ่อแม่ครูและครอบครวั
โครงการออกแบบสื่อชุมชนบนมือถอื เพอื่ สร้างสรรค์ประเทศไทย 4.0 .....................................................64
บทสังเคราะห์ มองและสะท้อนคดิ : วา่ ดว้ ยความเป็นนวตั กรรมสื่อ ..........................................................66
และนวตั กรรมเพื่อการพัฒนาสื่อปลอดภยั และสรา้ งสรรค์
ชนญั สรา อรนพ ณ อยุธยา
4. งานศกึ ษามงุ่ เน้นส่อื กับเด็กและเยาวชน ..........................................................................................................77
รวมงานวจิ ยั คดั สรร
การศกึ ษาวิจัยเรอื่ ง รูปแบบและระบบนิเวศสือ่ ปลอดภัยและสรา้ งสรรคท์ ีช่ ่วยเยียวยาส่งเสรมิ ................78
สขุ ภาพจติ ทีด่ ีต่อเดก็ และเยาวชนในสถานศกึ ษาเพื่อลดผลกระทบจากสถานการณค์ วามรนุ แรง
ในพนื้ ทีจ่ ังหวัดชายแดนภาคใต้
การพฒั นาตน้ แบบสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ สำ� หรับเยาวชนและครอบครวั ในพน้ื ทีพ่ รมแดน ..............81
เพื่อส่งเสริมทักษะรูเ้ ท่าทนั ส่อื ในการลดปัญหาความรุนแรงบนพื้นที่ออนไลน ์
โครงการรูเ้ ท่าทนั สรา้ งสรรค์สื่อปลอดภยั .................................................................................................84
การวิจยั และพัฒนาระบบการเฝ้าระวงั เน้ือหารายการโทรทัศน์ส�ำหรบั เด็กและเยาวชน ...........................87
โครงการการวิจัยเชิงปฏบิ ัตกิ ารอยา่ งมสี ว่ นรว่ มเพื่อพฒั นาเครอื ข่ายการเรยี นรู้ ...................................... 90
" โรงเรียนสรา้ งพลเมืองรูเ้ ทา่ ทนั สอ่ื สารสนเทศ และดิจิทลั " ในพน้ื ท่ภี าคเหนอื ตอนล่าง
ของประเทศไทย
การศึกษาวิจยั ดา้ นการสง่ เสรมิ การพัฒนาส่อื ปลอดภยั และสร้างสรรคเ์ พ่อื เดก็ เยาวชน ............................93
ครอบครัวและชมุ ชน โครงการจดั ท�ำแผนยทุ ธศาสตร์ 5 ปพี . ศ. 2561-2565
บทสังเคราะห์ การพัฒนาสื่อปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ เพือ่ เสรมิ สร้างเยาวชนรเู้ ทา่ ทันสือ่ ...................... 96
ในยคุ ดจิ ิทลั : สถานภาพ ความทา้ ทาย ข้อเสนอแนะจากงานศึกษา สู่แนวทางเชิงนโยบาย
เพ่อื ขบั เคลือ่ น
ศศิธร ยวุ โกศล
5. การวจิ ยั กบั การใชป้ ระโยชน์ ............................................................................................................................104
โภคผลแหง่ งานวจิ ยั สอ่ื : ขอ้ สงั เกตจากงานวจิ ยั ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ของกองทนุ พฒั นา ......................... 105
ส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค ์
วิโรจน์ สทุ ธสิ ีมา
สารจากผูจ้ ดั การกองทนุ พฒั นาสือ่ ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์
สวัสดคี รบั ทกุ ทา่ น กองทนุ พัฒนาสือ่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์เปน็ กองทนุ ทถ่ี ูกจดั ตัง้ ขน้ึ ตามพระราชบญั ญัติ
กองทุนพฒั นาสื่อปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ พ.ศ. 2558 โดยเรามวี สิ ยั ทัศน์คือ “ประชาชนเขา้ ถึง เขา้ ใจ และฉลาดใช้
ส่อื อย่างปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ ดว้ ยนิเวศสอื่ ท่ีด”ี ดังท่ที ราบกนั
เรามงุ่ หมายทจ่ี ะทำ� งานเพอ่ื บรรลวุ สิ ยั ทศั นด์ งั กลา่ วไปพรอ้ ม ๆ กบั การตอบวตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั ตง้ั กองทนุ
โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในวัตถุประสงคท์ ีท่ ำ� ใหเ้ ราไดส้ ือ่ สารกันวนั น้ี คือ วัตถปุ ระสงค์ข้อท่ี 5 “สง่ เสริมให้มกี ารศกึ ษาวจิ ัย
อบรม พฒั นาองคค์ วามรแู้ ละการสรา้ งนวตั กรรมดา้ นสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค”์ ดงั ทไี่ ดเ้ หน็ แลว้ วา่ การทำ� งานดา้ น
วิจัยเพ่ือความรู้และนวัตกรรมส่ือนั้นส�ำคัญอย่างย่ิงยวด เพราะเป็นงานพัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนให้ประชาชน
ทกุ ภาคสว่ นไดอ้ ยู่ในนเิ วศสอ่ื ที่ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์
การจดั ทำ� หนงั สอื และกจิ กรรมเผยแพรง่ านวจิ ยั ทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการสนบั สนนุ ของกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และ
สรา้ งสรรค์ “หลอมสอ่ื รวมคน สหู่ นทางสรา้ งสรรค”์ เปน็ การสงั เคราะหอ์ งคค์ วามรทู้ ไี่ ดจ้ ากงานวจิ ยั ทเ่ี ราสนบั สนนุ
มาอย่างตอ่ เนอื่ ง ท�ำให้เห็นวา่ นับจากกอ่ ตั้งกองทุน จนถึงช่วงตน้ ปี พ.ศ. 2564 ได้มีผลผลติ งานวจิ ัยทเี่ กิดประโยชน์
มากมายคนื กลบั สสู่ ังคมไทย และเปดิ กวา้ งใหผ้ ู้สนใจหยิบนำ� ไปตอ่ ยอดพัฒนาผา่ น “คลังรวบรวมงานวิจยั ” ทจี่ ะเกิด
ขึ้นต่อไป
เรายังมน่ั ใจว่างานวิจยั เหลา่ นจ้ี ะตอบสนองต่อเปา้ หมายของกองทุน ดังทไี่ ด้ประกาศไวว้ า่ “ประชาชนกลุ่ม
เป้าหมายทุกช่วงวัย สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์เพ่ิมขึ้น ได้เรียนรู้พัฒนาตนเอง
และครอบครัว พัฒนางานและเกิดความเข้าใจสงั คมท่ีแตกต่างหลากหลาย สามารถอยูร่ ่วมกันอยา่ งสมานฉนั ท์”
ขอทุกท่านร่วมเป็นส่วนหน่ึงในการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยเพื่อหลอมส่ือ รวมคน สร้างสรรค์สังคมไทย
ต่อไปครับ
ดร.ธนกร ศรีสขุ ใส
ผจู้ ดั การกองทนุ พฒั นาส่อื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์
บทบรรณาธกิ ารและกิตติกรรมประกาศ
นบั จากกอ่ ตงั้ เมอื่ ปี พ.ศ. 2558 กองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรคเ์ ปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ในการผลติ พฒั นา
และเผยแพรส่ อื่ ทมี่ คี ณุ ภาพ เพอ่ื สง่ เสรมิ การเรยี นรแู้ ละพฤตกิ รรมทด่ี ขี องเดก็ และเยาวชน สง่ เสรมิ ความสมั พนั ธอ์ นั ดใี น
ครอบครวั และสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการพฒั นาสอ่ื โดยมภี ารกจิ ในการสนบั สนนุ โครงการ การบรหิ าร
จดั การโครงการ ใหค้ ำ� ปรกึ ษาและสนบั สนนุ การดำ� เนนิ งานใหแ้ กบ่ คุ คลและนติ บิ คุ คลทไ่ี ดร้ บั การสนบั สนนุ จากกองทนุ
พฒั นาส่อื ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์
“โครงการจดั เวทวี ชิ าการ สงั เคราะหบ์ ทความวจิ ยั ตพี มิ พแ์ ละเผยแพร่ สำ� หรบั โครงการทไี่ ดร้ บั การสนบั สนนุ
จากกองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค”์ จงึ สนใจทจี่ ะคน้ ควา้ ศกึ ษา รวบรวม และประมวลผลงานทางวชิ าการ
เพ่ือเป็นบทเรียนในการสร้างสรรค์ท่ีกองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ ได้เคยให้การสนับสนุนโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งงานด้านการวจิ ยั เพ่อื ช้ใี ห้เห็นสภาพของบทเรยี นและองคค์ วามรู้ทไี่ ดร้ ับการสนับสนุนจากกองทุนพัฒนาส่อื
ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์
การทบทวนบทเรียนงานวิจัยเอกสารและจัดกลุ่มคร้ังนี้ จะท�ำให้พบว่าองค์ความรู้จากโครงการท่ีกองทุน
พฒั นาส่ือปลอดภยั และสรา้ งสรรค์สนับสนนุ อยู่มสี ภาพเปน็ อยา่ งไร โดยในรายละเอยี ดได้แก่ การสรปุ บทเรียนว่าใน
แต่ละประเด็นที่ผู้วิจัยศึกษานั้น ได้มีผู้ใดศึกษาหรือมีเขียนงานทางด้านวิชาการที่เกี่ยวข้องในเรื่องน้ีมาแล้วบ้าง
ได้ข้อค้นพบพรอ้ มคำ� อธบิ ายอยา่ งไร มตี วั แปรอะไรบา้ งทเี่ คยผา่ นการศกึ ษาหรอื ใชอ้ ธบิ ายมาแลว้ ซง่ึ ขอ้ มลู ทงั้ หมดจะ
ทำ� ใหท้ ราบวา่ งานวจิ ยั ตา่ ง ๆ นน้ั มอี ะไรบา้ งทสี่ ง่ ผลตอ่ สงั คมไทยดา้ นสอื่ และในทา้ ยทส่ี ดุ เมอื่ นำ� มาจดั กลมุ่ งานวจิ ยั
ทางด้านสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ที่ทางกองทุนได้ให้การสนับสนุนแล้วนั้น จะสามารถแบ่งออกเป็นก่ีกลุ่ม และ
รปู แบบใดบา้ ง
ในโครงการนี้ การทบทวนบทเรียนท่ีมาจากงานวิจัย จะปรากฏเป็นเอกสารทั้งรูปเล่มและอิเล็กทรอนิกส์
รวมถงึ เวทวี ชิ าการ เพอื่ นำ� เสนอผลงานวจิ ยั ดา้ นสอ่ื ทไี่ ดด้ ำ� เนนิ การไปแลว้ ของกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์
ใหก้ บั ผทู้ สี่ นใจ ซง่ึ ลว้ นเปน็ ผรู้ บั ทนุ และคาดหวงั จะรบั ทนุ ของกองทนุ รวมถงึ ประชาชนทว่ั ไป ซงึ่ หากสามารถนำ� ผลงาน
วิจยั ทไ่ี ด้ไปพฒั นาหรือนำ� ไปใชไ้ ด้จริงในทางปฏบิ ตั จิ ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ งานดา้ นสอ่ื ในรปู แบบตา่ ง ๆ มากยิ่งขึน้ ท้ังน้ี
ยงั เป็นการสง่ เสริมใหว้ งการวจิ ยั ของประเทศมกี ารพฒั นา เกดิ องค์ความรู้ใหม่ ๆ และเป็นแรงบันดาลใจที่จะผลักดัน
ใหเ้ กดิ งานวิจยั และนักวจิ ัยรุ่นใหม่ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับสือ่ ทม่ี คี ณุ ภาพต่อไป
หนงั สอื “หลอมสอื่ รวมคน สหู่ นทางสรา้ งสรรค:์ สงั เคราะหอ์ งคค์ วามรจู้ ากงานวจิ ยั ภายใตก้ ารสนบั สนนุ
ของกองทุนพฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค”์ คือผลผลิตจากการทบทวนงานวิจัยดงั ที่กลา่ วไป โดยจัดแบง่ ออก
เป็น 4 ส่วนส�ำคัญด้วยกัน โดยแต่ละส่วนมีพิกัดและค�ำนิยามท่ีท�ำให้เห็นขอบเขตและความส�ำคัญในตัวเอง อีกทั้ง
ท�ำให้ผอู้ า่ นได้เล็งเห็นถงึ องค์ความรู้ทีส่ ง่ กลบั คนื ไปยังสังคมอยา่ งชดั เจนยง่ิ ข้นึ
สว่ นแรก ไดแ้ ก่ การสงั เคราะหภ์ าพรวมท้งั หมดของงานวิจยั ทสี่ นับสนนุ โดยกองทนุ พฒั นาส่อื ปลอดภยั และ
สรา้ งสรรค์ ดว้ ยการแบง่ หมวดหมใู่ นรปู แบบตา่ ง ๆ เสมอื นเปน็ การมองในภาพกวา้ งทชี่ ว่ ยใหม้ องเหน็ ถงึ การคน้ ควา้ ใน
เชงิ พนื้ ท่ี ประเดน็ ตลอดจนถงึ แนวคดิ และทฤษฎตี า่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ในสว่ นนจี้ ะทำ� ใหเ้ หน็ ถงึ การตอบโจทยเ์ ชงิ ปรมิ าณ
ในการสนับสนุนดา้ นวจิ ัยทผี่ ่านมา
8 หลอมส่ือ รวมคน สูห่ นทางสร้างสรรค์
สว่ นท่ี 2 ไดแ้ ก่ งานศกึ ษาในกลมุ่ ของสอื่ กบั บรบิ ททางสงั คม เนอื้ หาจะกลา่ วถงึ ภมู ทิ ศั นส์ อ่ื มายาคติ การวจิ ยั
สอ่ื ตลอดจนถงึ บรบิ ทอนั เขม้ ขน้ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การพฒั นาสอื่ ดงั เชน่ มติ ขิ องการเมอื ง สงั คม และวฒั นธรรม ในเนอื้ หาบทนี้
ผศ.ดร.พมิ ลพรรณ ไชยนนั ท์ จะนำ� เสนองานวจิ ยั ทมี่ องสอื่ อยา่ งเปน็ ระบบนเิ วศซง่ึ มอี งคป์ ระกอบตา่ ง ๆ หลายประการ
หลอมรวมเข้าด้วยกัน ดังเช่นการพิจารณาในสถานะของส่ือการเมืองและการเลือกต้ังคร้ังส�ำคัญของประเทศไทย
ตลอดจนถึงการนำ� เสนอภูมิทัศน์ของสังคมและวัฒนธรรมท่ีเปล่ียนแปลงควบคู่ไปกับการศึกษาเรื่องการรู้เท่าทันสื่อ
ในประเทศไทยตลอดระยะเวลากวา่ 20 ปที ผี่ ่านมา
สว่ นที่ 3 ไดแ้ ก่ งานศกึ ษาในกลมุ่ ของความเปน็ นวตั กรรมสอื่ อนั หมายถงึ สง่ิ ทถี่ กู คดิ คน้ ใหมท่ ง้ั ในทางรปู ธรรม
และนามธรรมเพอื่ สรา้ งประโยชนใ์ นฐานะของสอื่ ทง้ั ในแงข่ องการเปน็ ตวั ขบั เคลอื่ นโดยตรง เชน่ กลวธิ กี ารสอ่ื สารใหม่
หรอื การเปน็ องคค์ วามรใู้ หมใ่ นบรบิ ทของสอื่ เพอ่ื หยบิ จบั นำ� ไปพฒั นาสงั คมดงั จะเหน็ ไดจ้ ากการสรา้ งคมู่ อื การเรยี นรู้
ในทางสอื่ งานในกลมุ่ นีจ้ ึงประกอบไปด้วยทั้งการสรา้ งหอ้ งทดลองดา้ นสอ่ื (Media Lab) การประยุกตใ์ ช้งานศาสตร์
ใหมอ่ ยา่ งการเล่าเรือ่ งขา้ มสื่อ ไปจนถงึ การจัดทำ� คูม่ ือการเรยี นรู้และจดั ทำ� หลกั สูตรเพอ่ื ผลิตสอื่ น้ำ� ดตี อ่ ไปในอนาคต
ในบทนี้ ผศ.ดร.ชนัญสรา อรนพ ณ อยธุ ยา ไดน้ �ำมาสังเคราะห์ความเป็นนวัตกรรมส่ือเอาไวอ้ ย่างเปน็ ระบบ
ส่วนที่ 4 ได้แก่ งานศึกษาท่ีมุ่งเน้นไปยังกลุ่มเยาวชน เน่ืองจากเด็กและเยาวชนคือก�ำลังส�ำคัญของชาติซง่ึ
จำ� เปน็ ตอ้ งปลกู ฝงั และชว่ ยเหลอื ใหเ้ กดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจในการใชส้ อ่ื อยา่ งปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ตลอดจนเกอ้ื หนนุ ให้
เติบโตมาในภูมิทัศน์สื่อที่ดีอีกด้วย ผศ.ดร.ศศิธร ยุวโกศล ได้น�ำเอาแนวคิดท่ีน่าสนใจมาสังเคราะห์รวมกับผลงานท่ี
มงุ่ เนน้ ไปยงั กลมุ่ เปา้ หมายเยาวชน ซง่ึ มตี ง้ั แตภ่ าคเหนอื จรดภาคใต้ และยงั รวมถงึ การกำ� หนดภาพใหญใ่ นเชงิ นโยบาย
เพื่อน�ำไปสกู่ ารขับเคลื่อนต่อไป
และสว่ นสุดท้าย ส่วนท่ี 5 ได้แก่ การสังเคราะหใ์ หเ้ หน็ ถงึ การน�ำผลวิจัยไปใชป้ ระโยชนท์ เ่ี ด่นชดั ซง่ึ เนอ้ื หา
ในสว่ นนย้ี งั รวมถงึ การสงั เคราะหป์ ระโยชนจ์ ากงานวจิ ยั ทผ่ี า่ นมาทงั้ หมด เพอ่ื ประสานเขา้ กบั หลกั ปรชั ญาและแนวคดิ
ในการก�ำหนดพิกัดของประโยชน์ในทางการวิจัย เพ่ือชี้ให้เห็นถึงการท�ำงานวิจัยด้านสื่อท่ีจะกลายเป็นโภคผลต่อท้ัง
วงการวชิ าการและวชิ าชพี ตอ่ ไป
ในฐานะของบรรณาธกิ าร ขอขอบพระคณุ คณะทปี่ รกึ ษา ผจู้ ดั การกองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์
รองผจู้ ดั การกองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ผอู้ ำ� นวยการฝา่ ยวจิ ยั และขบั เคลอ่ื นสงั คม ผอู้ ำ� นวยการฝา่ ย
พัฒนาส่ือปลอดภยั และสรา้ งสรรคส์ �ำหรับเด็กและเยาวชน, ผู้อ�ำนวยการฝ่ายส่งเสริมการรู้เท่าทันและเฝ้าระวังสื่อ
ผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ส�ำหรับประชาชน ในความเอื้อเฟื้อให้โอกาสและข้อมูลส�ำหรับ
การจดั ท�ำหนังสอื เลม่ น้ี และท่ีขาดไมไ่ ด้คอื ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ กองบรรณาธกิ าร ศิลปกรรม และผูป้ ระสานงานทุกทา่ นท่ี
ได้ชว่ ยเหลอื เกื้อกลู และยงั รวมถงึ ท่านทอี่ าจจะขาดตกรายช่อื ไม่ไดเ้ อย่ นามในท่นี ี้ ซ่ึงขอขอบพระคุณจากใจจริง
หนงั สอื เลม่ นเี้ ปน็ กา้ วแรกในการจดั ระบบรวบรวมงานวจิ ยั ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ของกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั
และสร้างสรรค์ ซ่ึงหวังเป็นอย่างย่ิงว่าโครงการเหล่านี้จะสร้างประโยชน์ให้แก่สังคม และจะได้รับการสนับสนุนให้
เกดิ ข้นึ ต่อไปอีกในภายภาคหน้า
ดร.วิโรจน์ สุทธสิ มี า
บรรณาธกิ าร
สังเคราะห์องค์ความรูจ้ ากงานวิจยั ภายใตก้ ารสนับสนนุ ของกองทุนพฒั นาสอื่ ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ 9
1
ร้อยอดตี สปู่ ัจจุบนั ถักสานสอู่ นาคต
กองบรรณาธกิ าร
ภาพรวมจากงานวิจยั ภายใต้การสนบั สนุนของ
กองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์
งานวจิ ยั ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ของกองทนุ พฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ซงึ่ แลว้ เสรจ็ และผา่ นการคดั สรร
รวบรวมเพอ่ื มานำ� เสนอในหนงั สอื เลม่ นี้ ประกอบไปดว้ ยงานวจิ ยั ทง้ั สน้ิ 18 หวั เรอ่ื ง (เรยี งตามลำ� ดบั ปที เ่ี ผยแพร)่ ไดแ้ ก่
1. การศึกษาวิจัยด้านการส่งเสริมทักษะการรู้เท่าทันส่ือ โครงการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (พ.ศ.2561-
2565) (ผศ.ดร.ชนญั สรา อรนพ ณ อยธุ ยา, 2560)
2. การพัฒนานวัตกรรมสื่อสร้างสรรค์การศึกษาวิจัยผลิตและสร้างนวัตกรรมสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
โครงการจดั ท�ำแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (พ.ศ. 2561- 2565) (ผศ.สกลุ ศรี ศรีสารคาม, 2560)
3. การศึกษาวิจัยด้านการส่งเสริมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์เพื่อเด็กเยาวชนครอบครัวและ
ชุมชน โครงการจดั ทำ� แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี พ. ศ. 2561-2565 (ระวีวรรณ ทรพั ยอ์ ินทร์, 2560)
4. การวิจัยและพัฒนาระบบการเฝ้าระวังเน้ือหารายการโทรทัศน์ส�ำหรับเด็กและเยาวชน (ดร.ชเนตตี
ทินนาม ผศ.ดร.ต่อตระกูล อุบลวตั ร ผศ.ดร.พเิ ชษฐ พมิ พ์เจริญ, 2560)
5. โครงการการสง่ เสริมการเฝา้ ระวงั สอ่ื ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ (ดร.ชเนตตี ทินนาม, 2560)
6. โครงการวิจัยนิเวศสื่อเพื่อพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ (ผศ.ดร.ชนัญสรา อรนพ ณ อยุธยา
การดา ร่วมพมุ่ มาโนช ชุ่มเมืองปัก, 2561)
7. โครงการนวตั กรรมการเลา่ เรอื่ งขา้ มสอื่ เพอื่ สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มเพอื่ ขบั เคลอ่ื นสงั คม ภายใตโ้ ครงการพฒั นา
นวัตกรรมและองคค์ วามรู้เพื่อผลติ ส่อื ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ (Thai Media Lab) (อภสิ ทิ ธิ์ ศุภกจิ เจริญ, 2561)
8. โครงการการพัฒนานวัตกรรมสื่อเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของสังคม (กร่ิงกาญจน์ เจริญกุล ดร.ณภัทร
เรืองนภากลุ วิชญา โคตรฐติ ิธรรม, 2561)
9. โครงการการวจิ ัยเชิงปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งมสี ว่ นร่วมเพื่อพฒั นาเครือขา่ ยการเรยี นรู้ "โรงเรียนสร้างพลเมอื งรู้
เทา่ ทนั สอื่ สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั " ในพน้ื ทภ่ี าคเหนอื ตอนลา่ งของประเทศไทย (ดร.อรรฏชณม์ สจั จะพฒั นกลุ , 2561)
10. โครงการออกแบบส่ือชุมชนบนมอื ถอื เพอ่ื สร้างสรรคป์ ระเทศไทย 4.0 (ชยั วัฒน์ จนั ธมิ า, 2561)
11. การพัฒนาต้นแบบส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ ส�ำหรับเยาวชนและครอบครัวในพ้ืนที่พรมแดนเพื่อ
สง่ เสรมิ ทกั ษะ รเู้ ทา่ ทนั สอื่ ในการลดปญั หาความรนุ แรงบนพนื้ ทอี่ อนไลน์ (ศ.ดร. พมิ พวลั ย์ บญุ มงคล, 2562)
12. การศกึ ษาวจิ ยั เรอ่ื งรปู แบบและระบบนเิ วศสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรคท์ ชี่ ว่ ยเยยี วยาสง่ เสรมิ สขุ ภาพจติ
ท่ีดตี ่อเด็กและเยาวชนในสถานศึกษา เพ่ือลดผลกระทบจากสถานการณ์ความรุนแรงในพนื้ ทจี่ งั หวัดชายแดนภาคใต้
(สุรชยั ไวยวรรณจิตร มฮู �ำราพรี ์ มะเกง็ อับดลุ คอลิก อรั รอฮมี ีย์ ร่งุ โรจน์ ชอบหวาน, 2562)
13. สถานภาพความรู้การวิจัยเกี่ยวกับความรู้เท่าทันส่ือในประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2540-2560
(ดร.วิโรจน์ สทุ ธสิ มี า ดร.พิมลพรรณ ไชยนันท์ ดร.ศศิธร ยวุ โกศล, 2562)
14. โครงการตน้ แบบหลกั สตู รการผลิตสอื่ โฆษณาทปี่ ลอดภัยและสร้างสรรค์ เพอ่ื การพฒั นากำ� ลังคนดา้ น
สอ่ื โฆษณาและการขบั เคลอ่ื นสงั คม ใหม้ กี ารผลติ สอ่ื โฆษณาทป่ี ลอดภยั และสรา้ งสรรค์ (ออ่ นอษุ า ลำ� เลยี งพล, 2562)
15. โครงการผลิตคู่มือการรู้เท่าทันส่ือออนไลน์และการใช้สื่ออย่างสร้างสรรค์ปลอดภัยส�ำหรับเด็กและ
เยาวชนสำ� หรับพ่อแมค่ รูและครอบครัว (ธาม เช้ือสถาปนศิริ อาทติ ยา สมโลก, 2562)
16. โครงการ ELECT ส่ือข้อมูลการเมืองและการเลือกตั้งไทย (พัดชา ด้วงกลดั ธนสั รา เรอื งเดช บริษทั
บันลอื พบั ลเิ คชนั ส์ จำ� กัด, 2563)
17. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคู่มือการรายงานข่าวสิทธิเด็กบนส่ือสังคมออนไลน์
(ปาจารยี ์ ปุรนิ ทวรกุล, 2563)
18. โครงการรู้เทา่ ทนั สรา้ งสรรคส์ ่อื ปลอดภัย (ผศ.ดร. เนตร หงษ์ไกรเลิศ, 2563)
เมื่อพิจารณาจากรายช่ือข้างต้น จะท�ำให้เห็น 2. เม่ือพิจารณาจาก “กลุ่มเป้าหมาย” อัน
ถึงลักษณะบางประการที่สอดคล้องกับเป้าหมายของ ได้แก่ เป้าหมายด้านกลุ่มคน ท่ีกลายเป็นหัวข้อใน
กองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ อันได้แก่ การวิจัย ซ่ึงเป็นได้ท้ังเป้าหมายในการเก็บข้อมูลและ
การน�ำเสนอตวั เลขวเิ คราะห์จากหมวดหม่ดู งั ต่อไปน้ี เปา้ หมายในการรับประโยชนจ์ ากงานวจิ ยั พบวา่ มงุ่ เนน้
(ตัวเลขในแตล่ ะหมวด อาจมกี ารนับท่ีทบั ซ้อน ไปยงั กลมุ่ เปา้ หมายท่ีเป็น “เด็กและเยาวชน” มากทส่ี ุด
กัน เนื่องจากงานวิจัย 1 ชิ้นอาจถูกนับเข้าประเภทได้ เท่ากับเปา้ หมาย “ประชาชนท่วั ไป”
มากกว่า 1 ประเภท) ดงั ตารางต่อไปน้ี
1. เมอ่ื พจิ ารณาจาก “ประเภทของงานวิจยั ” กลมุ่ เป้าหมาย จำ� นวน
ซ่ึงในท่ีน้ีจะได้แบ่งโดยกว้างออกเป็น 2 ลักษณะ คือ เดก็ และเยาวชน 11
การวิจัยท่ีเป็นการสร้างองค์ความรู้ และเน้นวิธีการ เยาวชน 7
รวบรวมเชงิ เอกสารเปน็ หลกั กบั งานวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ประชาชน 11
ซง่ึ เนน้ กระบวนการวจิ ยั ทม่ี ลี กั ษณะของการนำ� ไปปฏบิ ตั ิ ผสู้ งู อายุ 4
ทดสอบ หรือถอดบทเรยี นออกมาสูข่ ้อสรุป
เมื่อวิเคราะห์ผลงานท่ีคัดสรรมาจะได้ผลลัพธ์ อื่นๆ เช่น กลุ่มผู้หลากหลายทาง 4
ดงั ตารางต่อไปนี้ เพศ ผู้พิการ ครแู ละผบู้ รหิ าร กลุ่ม
ครอบครวั
ประเภทงานวจิ ัย จำ� นวน ข้อสงั เกต ได้แก่ การก�ำหนดกลุ่มเปา้ หมายไป
วจิ ยั 6 ยังกลุ่มคนที่อายุน้อย (เด็กและเยาวชน และเยาวชน)
12 เป็นส่วนท่ีมีค่าน�้ำหนักมากท่ีสุด และส่วนที่น่าสนใจ
วจิ ัยเชิงปฏบิ ตั ิการ ต่อไปกค็ อื การกำ� หนดกลมุ่ เปา้ หมายทพ่ี น้ ไปจากกรอบ
ของอายุ เช่น การมุ่งเน้นยังกลุ่มครอบครัว กลุ่มของ
ดังจะเหน็ วา่ งานวิจยั เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร ได้รับการ ผู้พกิ าร กล่มุ ผมู้ คี วามหลากหลายทางเพศ เป็นต้น
สนบั สนนุ มากทส่ี ดุ รองลงมาคอื งานวจิ ยั ซง่ึ หมายถงึ งาน
วิจัยในแงข่ องการสรา้ งฐานความรู้
12 หลอมสอ่ื รวมคน สู่หนทางสรา้ งสรรค์
3. เมือ่ พจิ ารณา “ประเด็น” ตามยทุ ธศาสตร์ 4. เม่ือพิจารณาตาม “ลักษณะงานวิจัย
กองทุน ซ่ึงกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ดา้ นส่ือ” วา่ ตอบสนองในส่วนใดมากทสี่ ุด ซึง่ อาจแบ่ง
ไดแ้ บง่ ยทุ ธศาสตรอ์ อกเป็นด้านตา่ ง ๆ เม่ือนำ� งานวิจัย ออกเปน็ การตอบสนองเชงิ นโยบาย การปฏบิ ตั กิ าร และ
เหลา่ นม้ี าวเิ คราะห์ จะพบการสนองตอ่ ยทุ ธศาสตรต์ า่ ง ๆ การสร้างนวัตกรรม ผลลัพธ์คือ สนองต่อเชิงนโยบาย
อย่างรอบด้าน โดยพบการสนองต่อยุทธศาสตร์ด้าน และเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารมากท่สี ดุ ดงั ปรากฏในตาราง
การสง่ เสรมิ และพฒั นาองคค์ วามรใู้ นการพฒั นาสอ่ื และ
นิเวศสอื่ ทีป่ ลอดภัยและสร้างสรรคม์ ากทีส่ ดุ ลกั ษณะงานวจิ ยั ด้านสอื่ จ�ำนวน
ดงั ตารางตอ่ ไปนี้ เชิงนโยบาย 9
เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร 9
ประเด็นตามยทุ ธศาสตร์กองทนุ จ�ำนวน
ส่งเสริม พัฒนา และเผยแพร่ส่ือ 6 การสร้างนวัตกรรม 5
ปลอดภยั และสร้างสรรค์ 16
สง่ เสรมิ และพฒั นาองคค์ วามรู้ ในการ 5. เม่ือวิเคราะห์การใช้ “ค�ำส�ำคัญ”
พัฒนาส่ือ และนิเวศส่ือ ท่ีปลอดภัย 11 (Keywords) ในงานวิจัยที่คัดสรรมา จะพบการใช้
และสร้างสรรค์ 10 คำ� สำ� คญั ล�ำดับต้นๆ ดงั ต่อไปนี้
ส่งเสริมและพฒั นาให้เกิดกลไก และ 5.1 การรู้เทา่ ทันสือ่
กระบวนการเฝา้ ระวงั และรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื 5 5.2 เด็กและเยาวชน
5.3 สื่อปลอดภยั และสร้างสรรค์
ส่งเสริมและพัฒนาช่องทางเพื่อ 5.4 นวตั กรรมสอ่ื
ส่ือสารให้กับสังคมให้เกิดการรับรู้ 5.5 การวจิ ยั เชงิ ปฏิบตั ิการ
การมีส่วนร่วมกับภาคประชาชน และนอกเหนือจากน้ียังมีค�ำส�ำคัญอ่ืน ๆ อีก
และภาคี มากมาย ซ่ึงสะท้อนความหลากหลายในการก�ำหนด
การรู้เท่าทันส่ืออย่างชาญฉลาด ความสำ� คัญของหัวเรื่องทแ่ี ตกตา่ งกันออกไป
(MIDL)
ขอ้ สงั เกตจากการตอบยทุ ธศาสตรก์ องทนุ กค็ อื 6. หากวิเคราะห์จาก “พื้นท่ีเป้าหมาย”
แม้บางยุทธศาสตร์อาจจะไม่ได้มีตัวเลขที่มากมายนัก ในการท�ำวิจัย ซ่ึงแบ่งออกเป็นภูมิภาคต่าง ๆ ใน
เช่น กรณีของการรู้เท่าทันส่ืออย่างชาญฉลาด (MIDL) ประเทศไทย จะพบวา่ งานวิจัยจำ� นวนมากระบใุ ห้ “ทั้ง
แตก่ ถ็ อื วา่ มปี รมิ าณทย่ี งั กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ สงั คมได้ ประเทศ” เปน็ พนื้ ทเี่ ปา้ หมาย แตย่ งั มงี านวจิ ยั อกี จำ� นวน
ตามสมควร มากเช่นกัน ที่ได้ระบุลักษณะของพื้นที่เอาไว้อย่าง
ชัดเจนเป็นจังหวัดและภูมิภาค ดังจะปรากฏในตาราง
ตอ่ ไปนี้
สังเคราะหอ์ งคค์ วามรจู้ ากงานวจิ ัย ภายใต้การสนับสนุนของกองทุนพฒั นาสือ่ ปลอดภยั และสร้างสรรค์ 13
พนื้ ที่เป้าหมายการทำ� งาน จ�ำนวน จากงานวิจัยท้ังหมดดังท่ีได้ระบุรายช่ือตาม
ภาคเหนือ 11 การคัดสรร หนังสือเล่มนี้ได้แบ่งออกมาเป็นหมวดหมู่
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 9 เพอื่ ทำ� ใหง้ า่ ยตอ่ การสงั เคราะหอ์ งคค์ วามรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการ
ภาคตะวนั ออก 8 ทบทวนงานวิจยั ทั้งหมด อันไดแ้ ก่
ภาคตะวนั ตก 8 1. งานศกึ ษาสอื่ กบั บรบิ ททางสงั คม สงั เคราะหค์ วามรู้
ภาคกลาง 9
ภาคใต้ 9 โดย ผศ.ดร.พิมลพรรณ ไชยนนั ท์
กรุงเทพมหานคร 12 2. งานศกึ ษาในกลมุ่ ของสอ่ื นวตั กรรม และการพฒั นา
7. เมื่อพิจารณาจาก “การสนองพันธกิจ” สังเคราะห์ความรู้โดย ผศ.ดร.ชนัญสรา อรนพ
ของกองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ ดังท่ี ณ อยธุ ยา
ปรากฏในพระราชบัญญัติจัดต้ังกองทุน จะพบว่า 3. งานศกึ ษามงุ่ เนน้ สอื่ กบั เดก็ และเยาวชน สงั เคราะห์
งานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนเหล่านี้ ได้สนองต่อ ความรโู้ ดย ผศ.ดร.ศศิธร ยุวโกศล
พันธกิจครอบคลมุ ครบทกุ ดา้ น โดยจำ� แนกออกมาเป็น 4. การสังเคราะห์ความรู้ในเชิงการใช้ประโยชน์จาก
รายภารกิจ ดงั ตารางตอ่ ไปนี้ งานวิจยั โดย ดร.วโิ รจน์ สทุ ธิสมี า
ดังจะไดน้ ำ� เสนอเปน็ หมวดหมูต่ ามล�ำดบั
การสนองพนั ธกิจของกองทุนฯ จ�ำนวน
ส่งเสริม สนับสนุน ภาคีเครือข่าย 13
ทุกภาคส่วนในการผลิตและพัฒนาสื่อ
ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ 5
ส่งเสริมประชาชนเข้าถึง เข้าใจ และ
ใช้ประโยชน์ จากส่ือปลอดภัยและ 9
สร้างสรรคอ์ ยา่ งท่ัวถงึ
ส่งเสริมให้ประชาชนโดยเฉพาะเด็ก
เยาวชน และครอบครัว มที ักษะในการ
รู้เท่าทนั และเฝ้าระวงั สอ่ื
14 หลอมสอ่ื รวมคน สหู่ นทางสร้างสรรค์
2
งานศกึ ษาสอ่ื กบั บริบททางสงั คม
พิมลพรรณ ไชยนนั ท์
สังเคราะหอ์ งค์ความร้จู ากงานวิจัย ภายใตก้ ารสนับสนุนของกองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ 15
รวมงานวิจยั คัดสรร
โครงการวิจัยนเิ วศสอื่ เพอ่ื พัฒนาสื่อปลอดภัยและสรา้ งสรรค์
ผู้จดั ท�ำ
ดร.ชนญั สรา อรนพ ณ อยุธยา การดา ร่วมพุม่ และมาโนช ชุ่มเมอื งปกั
โครงการนเี้ กดิ ขน้ึ เนอ่ื งจากการเสวนาตามยทุ ธศาสตรข์ องกองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรคใ์ นหวั ขอ้
"นิเวศส่ือ" ที่พยายามขยายภาพให้เห็นความสัมพันธ์เช่ือมโยงและอิทธิพลที่ส่งผลต่อกันในสังคมไทยในหลากหลาย
มติ ิ รวมถงึ แนวทางสง่ เสรมิ การสรา้ งนเิ วศสอื่ ทด่ี เี พอื่ สง่ เสรมิ สอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ดงั นนั้ การศกึ ษานจ้ี งึ มงุ่ ทจี่ ะ
สงั เคราะหอ์ งคค์ วามรเู้ พอื่ อธบิ ายและวเิ คราะหส์ ภาวะของระบบนเิ วศสอื่ ในปจั จบุ นั และมงุ่ ทจ่ี ะคน้ หาจดุ เปลยี่ นแปลง
ที่ส�ำคัญเพ่ือสร้างนิเวศสื่อที่ดี เป็นความร่วมมือระหว่างกองทุนสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์กับมหาวิทยาลัยธุรกิจ
บณั ฑติ ย์ เพอ่ื จดั ทำ� เปน็ ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายในการกำ� หนดกรอบยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์
ปี 2561-2565
วัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั
1. เพื่ออธิบายและวิเคราะห์ปรากฏการณ์นิเวศน์ส่ือในปัจจุบัน ในมิติท่ีเก่ียวข้องกับปฏิสัมพันธ์
ระหว่างผู้ใช้ส่ือ ผผู้ ลติ สื่อ กบั ปัจจยั แวดล้อม
2. เพื่อศึกษาและขยายแนวคิดเก่ียวกับระบบนิเวศสื่อที่เหมาะสมให้แก่ส่ือมวลชน บุคคล หรือองค์กรที่
เกยี่ วข้อง
3. เพ่ือสังเคราะห์กรอบยุทธศาสตร์การวิจัย โดยมุ่งเน้นเร่ืองการค้นหาจุดเปลี่ยนแปลงท่ีส�ำคัญท่ี
กองทุนควรมุ่งเป้าดำ� เนนิ การและสัมพันธ์กบั ยุทธศาสตรข์ องกองทุนปี 2561-2565
4. สรา้ งและขยายภาคขี ับเคลื่อนการพฒั นาสื่อปลอดภยั และสร้างสรรค์ จดั ท�ำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
เกี่ยวกบั การพัฒนาสอ่ื ปลอดภัยและสรา้ งสรรคภ์ ายใต้ระบบนิเวศส่อื ท่ีเหมาะสม
16 หลอมส่อื รวมคน สูห่ นทางสรา้ งสรรค์
วิธกี ารศกึ ษา - ขาดการศกึ ษาในกลุ่มปฐมวยั ประถมศกึ ษา
1. สังคราะห์งานวิจัยโดยเป็นวิธีการแบบพรรณนา ผสู้ ูงอายุ รวมถึงผพู้ ิการ และกล่มุ เพศทีห่ ลากหลาย
- ขาดบทบาทของครอบครัว องค์กรภาครัฐ
สรุปเชิงเนื้อหาเก่ียวกับประเด็นหลักที่มุ่งศึกษา และวฒั นธรรมในสังคม
เพ่ืออธิบายและวิเคราะห์ปรากฏการณ์นิเวศส่ือ - ขาดองคค์ วามร้เู ท่าทนั สื่อดจิ ิทัลทีย่ ังจ�ำกดั
ในปัจจุบัน โดยวิธีการบรรยายและการวิเคราะห์
เน้ือหา กลุ่มตัวอย่างเป็นงานวิจัย บทความวิจัย 2) ด้านการสร้างสรรค์สื่อ พบว่าการเปลี่ยนแปลงใน
บทความวิชาการ 273 ช้ิน นิเวศสื่อที่ได้รับผลกระทบจาก “เทคโนโลยีก่อกวน”
(Disruptive Technology) ต่อกลุ่มต่าง ๆ ได้แก่
2. การสนทนากลมุ่ และสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ ผวู้ จิ ยั ดำ� เนนิ กลุ่มผู้ผลิตส่ือเชิงพาณิชย์ท่ีต้องปรับตัว ปรับไม่ได้ก็ปิด
การสนทนากล่มุ จ�ำนวน 3 กล่มุ ไดแ้ ก่ ไป หรอื เปล่ียนไปธุรกิจอ่ืนแทน กลุ่มสื่อชมุ ชนท่ีจ�ำเปน็
2.1. ผ้ผู ลติ สื่ออาชีพ จ�ำนวน 8 ทา่ น ต้องปรบั ตวั เช่นกัน แต่กป็ ระสบปัญหาในหลาย ๆ ดา้ น
2.2. กลมุ่ คนเกยี่ วขอ้ งกบั สอ่ื มวลชน สอื่ วฒั นธรรม ท�ำให้มีปัญหาในการมีส่วนร่วมจากชุมชนท่ีไม่มากพอ
พื้นบ้าน และส่อื ทางเลือก 6 ทา่ น นอกจากน้ียังมีปัจจัยแวดล้อมส�ำคัญที่ส่งผลต่อการ
2.3. กลุ่มคนที่เก่ียวข้องกับการส่ือสารเพ่ือพัฒนา สร้างสรรค์สื่อ ได้แก่ ปัญหาเชิงนโยบาย ข้อกฎหมาย
เดก็ เยาวชน ผสู้ งู อายุ และครอบครวั จำ� นวน และหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องขาดความสามารถในการ
8 ทา่ น ตรวจสอบ
3. การสัมภาษณเ์ ชิงลึกผู้ทรงคุณวฒุ ิ 3 ท่าน ท่ีมีความ 3) ดา้ นจริยธรรมและการก�ำกับดูแลสื่อ
เชี่ยวชาญเป็นผู้มีความรู้ความสามารถท่ีจะเป็น ปัญหาในการน�ำเสนอสู่ส่ือมวลชนอาชีพ เช่น
ประโยชน์ต่อการศึกษาเรื่องนิเวศน์ส่ือเพื่อพัฒนา การโฆษณาเกนิ จริง
ส่ือปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ ปญั หาในการนำ� เสนอเน้อื หาในสือ่ ออนไลน์
ปญั หาในการดแู ลโดยรฐั อาทิ การแทรกแซงสอ่ื
ผลการศกึ ษาไดส้ ะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ ในระบบนเิ วศ โดยรฐั รปู แบบรายการไมห่ ลากหลาย ไมม่ ีมาตรการที่
สอื่ ของประเทศไทยเกดิ ผลกระทบทไ่ี มพ่ งึ ประสงค์ หรอื ชัดเจนส�ำหรับก�ำกับดูแลส่ือในบริบทดิจิทัลหรือบริบท
“ความไมส่ มดลุ ” ในระบบนเิ วศสอ่ื อยา่ งนอ้ ย 3 ดา้ น คอื ส่ือหลอมรวม
1) ดา้ นการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื และการมสี ว่ นรว่ ม พบวา่ ผใู้ ชส้ อ่ื
ในประเทศไทยยงั มที กั ษะการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ทจ่ี ำ� กดั ทำ� ให้
เกิดผลกระทบต่อตัวผู้ใช้สื่อและสังคมในหลายประเด็น นิเวศส่ือที่ดีเพื่อส่งเสริมสื่อปลอดภัยและ
อาทิ การถูกละเมิดและหลอกลวง ในยุคดิจิทัลทั้ง สร้างสรรค์น้ัน จ�ำเป็นต้องสร้างให้เกิด “สภาพพึง
ผู้ใช้สื่อออนไลน์ทั้งในเมืองและชนบทจะสื่อกันได้อย่าง ประสงค”์ 3 ดา้ น ดังน้ี คือ
รวดเร็ว แต่ก็ยังไม่สามารถกระตุ้นให้เปล่ียนจาก การ 1) สภาพพึงประสงค์ด้านการรู้เท่าทันสื่อและการมี
รับรู้ปัญหาสังคม ไปสู่การลุกข้ึนมาเปลี่ยนแปลงสังคม สว่ นร่วม
ได้มากนัก นอกจากน้ียังพบความไม่สมดุลทั้งตัวบุคคล 2) สภาพพึงประสงค์ดา้ นการสร้างสรรคส์ ่ือ
และสภาพแวดลอ้ มของตัวบคุ คลดว้ ย ภาควิชาการพบ 3) สภาพพงึ ประสงคด์ า้ นจรยิ ธรรมและการกำ� กบั ดแู ลสอื่
ว่ามีประเด็นในการศึกษาท่ียังขาดหรือไม่ได้รับความ
ส�ำคัญ ท่ีจะเอ้ือต่อการส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อและ
การมีส่วนรว่ มดังน้ี
สงั เคราะหอ์ งค์ความร้จู ากงานวิจยั ภายใต้การสนบั สนุนของกองทุนพฒั นาสอ่ื ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ 17
ซึ่งถ้า 3 องค์ประกอบน้ีท�ำงานสอดประสานกัน เกื้อกูลกันจะท�ำให้แต่ละส่วนด�ำเนินการได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ล ซึ่งจะเอ้อื ทำ� ให้เกดิ นเิ วศส่อื ท่เี หมาะสมตอ่ การพัฒนาส่ือปลอดภยั และสรา้ งสรรค์
18 หลอมส่อื รวมคน สู่หนทางสร้างสรรค์
สังเคราะหอ์ งค์ความรจู้ ากงานวิจยั ภายใต้การสนบั สนุนของกองทนุ พฒั นาส่ือปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ 19
สถานภาพความร้กู ารวจิ ัยเกย่ี วกับความรเู้ ท่าทนั สอ่ื ในประเทศไทย
ระหวา่ งปี พ.ศ. 2540-2560
ผ้จู ดั ทำ�
ดร.วิโรจน์ สุทธสิ ีมา ดร.พิมลพรรณ ไชยนันท์ และ ดร.ศศธิ ร ยุวโกศล
งานวิจยั เรอ่ื งสถานภาพความรูก้ ารวิจัยเก่ียวกับการรู้เท่าทันสือ่ ในประเทศไทย ระหว่างปีพุทธศักราช 2540
ถงึ 2560 มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ประมวลองคค์ วามรจู้ ากงานวจิ ยั ดา้ นการรเู้ ทา่ ทนั สอื่ ในประเทศไทย และใหข้ อ้ เสนอแนะ
เกย่ี วกบั แนวทางในการวจิ ยั ทค่ี วรจะท�ำตอ่ ไปในอนาคต
วิธีการวิจัย คือ การสืบค้นงานวิจัยด้านการรู้ ของการวเิ คราะหเ์ นอ้ื หาการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื พบวา่ สว่ นใหญ่
เทา่ ทันสือ่ ตง้ั แต่ปีพุทธศกั ราช 2540 ถงึ 2560 ทัง้ หมด ม่งุ เนน้ เนอื้ หาเกีย่ วกบั โฆษณา
ผ่านค�ำส�ำคัญในการค้นหา จนได้จ�ำนวนทั้งส้ิน 120 เม่ือท�ำการจัดยุคสมัยของการศึกษาวิจัยด้าน
เร่ืองและน�ำผลการวิเคราะห์ไปท�ำการสนทนากลุ่มกับ การรเู้ ท่าทนั สือ่ พบว่า พ.ศ. 2540 ถึง 2549 การศกึ ษา
ผเู้ ชีย่ วชาญหลากหลายสาขาวชิ าชพี วจิ ยั ดา้ นนอ้ี ยใู่ นชว่ งเรม่ิ การเตบิ โตของอนิ เทอรเ์ นต็ และ
เมอ่ื ทำ� การวเิ คราะห์ ไดพ้ บวา่ งานวจิ ยั ทผ่ี า่ นมา แผนของหน่วยงานรัฐท่ีสนับสนุนภูมิทัศน์ส่ือใหม่น�ำพา
นั้นตอบวัตถุประสงค์ทางด้านการรู้เท่าทันสื่อของกลุ่ม ไปสู่การศึกษาการรู้เท่าทันออนไลน์ เม่ือประสานกับ
ผ้ใู ช้ (User) มากที่สุด โดยเมอื่ จำ� แนกงานวิจยั ออกตาม แนวคิดเสรีภาพและการแสดงออก รวมท้ังการรับรู้
ประเภทของการน�ำเสนอสู่สาธารณะ พบว่างานวิจัย ข้อมูลข่าวสารควบคไู่ ปกบั ความรับผิดชอบ นำ� ไปส่กู าร
จากวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทและงานวิจัยทั่วไปซ่ึง ศึกษาที่มุ่งเน้นยังผู้ใช้งานและผลกระทบที่ตามมาใน
ได้รับงบประมาณอุดหนุนจากสถาบนั ตา่ ง ๆ มีปรมิ าณ สงั คม
ใกล้เคียงกนั พ.ศ. 2550-2554 การเป็นสังคมออนไลน์ทวี
จากการศึกษาพบว่า มีงานวิจัยในเชิง ความส�ำคัญมากขึ้นควบคู่ไปกับบริบททางการเมือง มี
ส�ำรวจมากท่ีสุด โดยมีเคร่ืองมือวิจัยหลักคือ การใช้ การสนับสนุนและผลักดันการรู้เท่าทันสื่อจากองค์กร
แบบสอบถาม ซึ่งมีความมุ่งเน้นไปยังกลุ่มของเด็กและ นานาชาตอิ ยา่ ง UNESCO สว่ นประเทศไทยกม็ กี ารจดั ตงั้
เยาวชน ทง้ั น้ีปริมาณงานวิจยั ทเ่ี พิ่มข้ึนในชว่ ง 5 ปีหลงั ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ
สดุ ของการศกึ ษา (จนถึงพ.ศ. 2560) จะมุ่งเน้นสื่อบน โทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)
อินเทอร์เนต็ เป็นส่วนใหญ่ ตลอดจนกระแสความร้อนแรงทางการเมืองท่ีเต็มไป
ในขอ้ คน้ พบ ยงั ปรากฏวา่ มกี ารเลอื กใชแ้ นวคดิ ดว้ ยข่าวสารจากหลายฝ่าย ทำ� ใหเ้ กิดกระแสการศกึ ษา
เกี่ยวกับความรู้เท่าทันส่ือในแบบดั้งเดิมมากที่สุด โดย วจิ ยั รเู้ ทา่ ทนั สอื่ มากกวา่ ชว่ งกอ่ นหนา้ โดยการใชส้ อื่ และ
รองลงมา ได้แก่ แนวคิดเกี่ยวกับผู้รับสาร ทั้งนี้ในแง่ ปจั จยั ทสี่ มั พนั ธก์ บั การใชส้ อ่ื ถกู หยบิ ยกมากลา่ วถงึ ทำ� ให้
20 หลอมสือ่ รวมคน สูห่ นทางสร้างสรรค์
เกิดการวิจัยกับผู้ใช้งานในกลุ่มเยาวชนและนักศึกษาท่ี สงั คมผสู้ งู วยั ทำ� ใหเ้ รม่ิ การศกึ ษาในบรบิ ทความรเู้ ทา่ ทนั
บรรดาผู้ใหญ่มีความกังวลเกี่ยวกับพฤติกรรมของคน ของผู้สูงวยั มากยิง่ ข้ึน
กลุ่มนี้ ตลอดจนได้เพ่ิมเติมบริบททางการเมืองเข้ามา งานวิจัยชิ้นน้ไี ด้เสนอแนะว่า ลกั ษณะงานวจิ ัย
มากข้นึ กว่าแต่ก่อน ท่ีมีปริมาณมากและนา่ จะลดปรมิ าณลง ไดแ้ ก่ประเดน็
พ.ศ. 2555-2559 บรบิ ททสี่ ำ� คัญในยคุ นไี้ ดแ้ ก่ เร่ืองการศึกษาท่ียังใช้แนวคิดทฤษฎีรู้เท่าทันสื่อโดย
การเมืองท่ีมีความเข้มข้นมากยิ่งข้ึน การเปล่ียนผ่านสู่ ขาดการเพิ่มเติมบริบทเฉพาะด้าน การเน้นไปยังกลุ่ม
ระบบดจิ ทิ ลั และสอ่ื สงั คมออนไลนท์ ยี่ ดึ ครองพฤตกิ รรม เด็กและเยาวชนในระดับมัธยมศึกษาและมหาวิทยาลัย
ในการใช้งานการส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อแพร่กระจาย การศึกษาที่เน้นตัวอย่างสื่อเก่า การศึกษาที่เน้นไป
อย่างกว้างขวางมากย่ิงขึ้น งานวิจัยเพ่ิมมากยิ่งข้ึน ที่เนื้อหาโฆษณา รวมถึงการออกแบบวิจัยโดยใช้
จนกล่าวได้ว่ามีปริมาณมากท่ีสุดในยุคน้ี ประเด็นใน แบบสอบถามเพยี งอยา่ งเดยี ว ซงึ่ ถอื วา่ มมี ากเกนิ ไปและ
การศึกษาเริ่มมีความหลากหลายไม่เพียงจ�ำกัดอยู่แค่ ควรมีการปรับปรุงพฒั นาจากของเดมิ
พฤติกรรมการใช้อย่างในอดีต แต่ยังไปถึงเร่ืองผล การสนับสนุนงานวิจัยด้านรู้เท่าทันส่ือที่ควร
กระทบนโยบาย ตลอดจนการสรา้ งเครอ่ื งมอื เพอื่ วดั และ จะมีในอนาคตได้แก่การพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อ
ประเมนิ ผลหรอื การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาทกั ษะความรู้ ในระดบั ความสามารถในการวเิ คราะห์ การประเมนิ คา่
เทา่ ทนั สอ่ื ในบรบิ ทตา่ ง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ บรบิ ทของ และการสร้างสรรค์ผลิตส่ือ การศึกษาโดยเน้นภูมิทัศน์
สงั คมออนไลน์ รวมทง้ั มกี ารบรู ณาการขา้ มศาสตร์ อยา่ ง ใหมข่ องผ้ใู ช้งานสอื่ แบบ Active Audience การศกึ ษา
เชน่ ศาสตร์การสอน ศาสตร์ทางพทุ ธศาสนา เป็นต้น บริบทดิจิทัล การกลั่นแกล้งออนไลน์ และการส่ือสาร
พ.ศ. 2560-2561 บริบทความเป็นยุคดิจิทัล ด้วยความเกลียดชัง การศึกษาโดยเน้นความรู้เท่าทัน
และการท�ำลายระบบเดิม ๆ (Disruption) กับสื่อเก่า สอ่ื ในช่วงวัยทหี่ ลากหลาย (Generations) โดยเฉพาะ
คือจุดเด่นของยุคน้ี แนวโน้มการศึกษาการรู้เท่าทันส่ือ อยา่ งยง่ิ การศกึ ษากบั ผสู้ งู วยั การศกึ ษาความรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื
ไดข้ ยายไปสแู่ พลตฟอรม์ ดจิ ทิ ลั ซงึ่ ยงั ตอ้ งสง่ เสรมิ ความ ของกลุ่มเฉพาะ เช่น กลุ่มผู้ผลิตเนื้อหาส่ือ หรือกลุ่ม
รู้เท่าทันและทักษะในการใช้งาน ขณะเดียวกันเมื่อ ผปู้ กครอง การใชแ้ นวคดิ ทฤษฎแี ละมมุ มองใหม่ ๆ ทที่ นั สมยั
เข้าสู่ความเป็นดิจิทัลท�ำให้ต้องเผชิญกับปัญหาใหม่ ๆ เช่น ดิจิตอลหรือ Transmedia literacy ไปจนถงึ การ
ทา่ มกลางสภาพสงั คมทเี่ ปลย่ี นแปลง เชน่ การกลน่ั แกลง้ พฒั นาตวั ชว้ี ัดใหม่ ๆ ส�ำหรับบรบิ ทในประเทศไทย
ออนไลน์ ความเกลียดชังออนไลน์ รวมถึงการกา้ วสู่
สังเคราะห์องคค์ วามร้จู ากงานวิจัย ภายใตก้ ารสนับสนุนของกองทุนพฒั นาสอ่ื ปลอดภยั และสร้างสรรค์ 21
• การศึกษาวิจัยด้านนี้อยู่ในช่วงเร่ิมการเติบโตของอินเทอร์เน็ต และแผนของหน่วยงานรัฐที่
สนับสนุนภูมิทัศน์ส่ือใหม่ น�ำพาไปสู่การศึกษาการรู้เท่าทันออนไลน์ เมื่อผสานกับกระแส
สิทธิเสรีภาพการแสดงออกและการรับรู้ข้อมูลข่าวสารควบคู่กับความรับผิดชอบ น�ำไปสู่การ
ศกึ ษาผ้ใู ชง้ านและผลกระทบท่ีจะตามมา
• บริบทการเป็นสังคมออนไลน์ทวีความส�ำคัญมากข้ึนควบคู่กับไปบริบททางการเมือง มีการ
สนับสนุนและผลักดันการเท่ารู้เท่าทันสื่อจากองค์การนานาชาติ (UNESCO) และของไทย
(กสทช.) ตลอดจนกระแสความร้อนแรงทางการเมอื งท่ีเตม็ ไปด้วยขา่ วสารหลายฝา่ ย ท�ำใหเ้ กิด
กระแสการศึกษาวิจัยรู้เท่าทันสื่อมากขึ้นกว่าช่วงก่อนหน้า โดยการใช้สื่อและปัจจัยที่สัมพันธ์
กับการใช้ส่ือถูกหยิบยกมากล่าวถึง ท�ำให้เกิดการวิจัยกับผู้ใช้งานในกลุ่มเยาวชนและนักศึกษา
เพราะมีความกังวลเร่อื งพฤตกิ รรม ตลอดจนเพ่ิมบรบิ ททางการเมืองเขา้ มามากกวา่ แต่กอ่ นด้วย
• บรบิ ททสี่ ำ� คญั ในยคุ นไี้ ดแ้ ก่ การเมอื งทเี่ ขม้ ขน้ รนุ แรง การเปลย่ี นผา่ นสรู่ ะบบดจิ ทิ ลั และสอื่ สงั คม
ออนไลนท์ ย่ี ดึ ครองพฤตกิ รรมการใชง้ าน การสง่ เสรมิ ความรเู้ ทา่ ทนั สอื่ แพรก่ ระจายกวา้ งขวางมาก
งานวจิ ยั เพม่ิ มากขน้ึ จนกลา่ วไดว้ า่ มากทส่ี ดุ ในยคุ น้ี ประเดน็ ในการศกึ ษาเรมิ่ มคี วามหลากหลาย
ไมเ่ พยี งจำ� กดั อยแู่ คพ่ ฤตกิ รรมการใชอ้ ยา่ งในอดตี แตย่ งั ไปถงึ เรอื่ งผลกระทบ นโยบาย ตลอดจน
การสรา้ งเครอ่ื งมอื เพอ่ื วดั และประเมนิ ผล หรอื การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาทกั ษะความรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื
ในบรบิ ทต่าง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งออนไลน์ รวมทงั้ มีการบรู ณาการขา้ มศาสตร์ เช่น ศาสตร์การ
สอน ศาสตรท์ างพระพทุ ธศาสนา
• บริบทของการเปน็ ยคุ ดจิ ทิ ลั และการ disruption กับสื่อเก่า คอื จุดเดน่ ของยุคน้ี แนวโน้มการ
ศึกษาของการรู้เท่าทันสื่อได้ขยายไปสู่แพลตฟอร์มดิจิทัลซ่ึงยังต้องส่งเสริมความรู้เท่าทัน และ
ทักษะการใช้งาน ขณะเดียวกัน เม่ือเข้าสู่ความเป็นดิจิทัล ท�ำให้ต้องเผชิญกับปัญหาใหม่ ๆ
ท่ามกลางสภาพสังคมท่เี ปล่ยี นแปลง เชน่ การกลน่ั แกล้งออนไลน์ ความเกลียดชงั ออนไลน์ รวม
ถงึ การกา้ วสู่สังคมผู้สูงวัย ท�ำให้เรม่ิ มีการศกึ ษาในบรบิ ทของความรเู้ ท่าทันของผ้สู งู วัย
22 หลอมส่อื รวมคน สู่หนทางสรา้ งสรรค์
โครงการ ELECT สอื่ ข้อมลู การเมอื งและการเลือกต้งั ไทย
ผจู้ ดั ทำ�
พดั ชา ด้วงกลัด และ ธนัสรา เรืองเดช
บริษทั บันลือ พบั ลเิ คชนั ส์ จำ� กัด
โครงการ ELECT ส่อื ขอ้ มลู การเมืองและการเลอื กตง้ั ไทย มีวัตถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายของโครงการคอื
1) เป็นแพลตฟอร์มส�ำหรบั รวบรวมขอ้ มลู ความรเู้ กีย่ วกับการเลอื กต้งั และการเมืองของไทยท่ีเปิดใหใ้ ชเ้ ปน็
แหล่งข้อมลู ในการศกึ ษาและอา้ งองิ ได้
2) เพอ่ื สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มและการแลกเปลยี่ นขอ้ มลู ความคดิ เหน็ ใหเ้ กดิ ขน้ึ รวมทงั้ การสรา้ งความตระหนกั
ความเข้าใจในการรับร้ขู อ้ มูลข่าวสารทีเ่ ป็นจรงิ และถูกต้อง
3) เพอ่ื สอื่ สารและสนบั สนนุ หลกั การประชาธปิ ไตยกระบวนการเลอื กตง้ั และการมสี ว่ นรว่ มในฐานะพลเมอื ง
ผลการด�ำเนินงานนั้น ได้มีการจัดนิทรรศการ 1) กรอบจดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมท่คี าดหวงั
และงานเสวนา “After Election เลือกแล้วได้อะไร? (Behavioral Objectives) ทตี่ ง้ั ขน้ึ เพอ่ื สอดรบั กบั ตวั ชวี้ ดั
ประชาธปิ ไตยไทยหลงั การเลอื กตง้ั ” โดยมกี ลมุ่ เปา้ หมาย เชิงคณุ ภาพ
เป็นประชาชนท่ัวไปและกลุ่มวิชาชีพส่ือ จากผลการ 2) กรอบของสาระเนื้อหาของความคิดเห็น
ด�ำเนนิ งานท่ีผ่านมา โครงการได้ผลิตชิ้นงานเพื่อ เพื่อตอบสนอง ตอบคําถาม ว่าด้วยความคิดเห็นที่
ตอบสนองต่อคณุ ค่าท่ีโครงการได้ยดึ ถือ คอื การเสรมิ กล่าวถึงเนื้อหาว่ามีความส�ำคัญหรือไม่ ไม่ว่าจะเป็น
สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ การตระหนกั รขู้ องคนในสงั คม ทางตรงหรือทางออ้ ม ท้ังในเร่อื งการเมืองการปกครอง
ต่อการเมือง การเลือกตั้ง และการพัฒนาระบอบการ การเลอื กตง้ั การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนและการพฒั นา
ปกครองแบบประชาธปิ ไตย โครงการจึงไดก้ ำ� หนดตวั ช้ี ระบอบประชาธปิ ไตย
วัดเชงิ คุณภาพไว้ 2 ประการคือ โดยมีแหล่งข้อมูลท่ีใช้ ได้แก่ ข้อความ 535
1) เกดิ บทสนทนาเกย่ี วกบั การเมอื งการเลอื กตง้ั ขอ้ ความ อนั มที ี่มาจาก
และระบอบประชาธปิ ไตยในชวี ติ ประจำ� วนั เพม่ิ มากขน้ึ 1) การแสดงความคิดเห็นของประชาชนที่รับ
2) มีข้อมูลความรู้เก่ียวกับระบบการเลือกตั้ง ชมผลผลิตของโครงการ หรือแบบสอบถามในประเด็น
และการเมอื งการปกครองเพอ่ื ขยายการมสี ว่ นรว่ มตาม ทางการเมอื งทค่ี ดั เลอื กวา่ มสี าระสำ� คญั ทเ่ี ปน็ ประโยชน์
ระบอบประชาธปิ ไตย ต่อการน�ำเสนอผ่านช่องทางหน่ึงส่ือออนไลน์ทั้งหมด
โครงการใช้วิธีการวิเคราะห์ความคิดเห็นของ ของโครงการ
ผู้เข้ามารับชมผลผลิตของโครงการ ด้วยการแยกแยะ 2) แบบส�ำรวจความคิดเห็นในงาน
ประเภทความคิดเห็น และแจกแจงนับข้อความตาม เสวนา "ELECT after Election เลือกแล้วได้อะไร?
กรอบความคิดเห็น 2 กรอบดงั น้ี ประชาธปิ ไตยหลงั การเลือกตงั้ "
สังเคราะหอ์ งค์ความรูจ้ ากงานวิจยั ภายใต้การสนบั สนนุ ของกองทุนพัฒนาสอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ 23
3) แบบสำ� รวจความคดิ เหน็ ในหวั ขอ้ รฐั ทำ� อะไร สอดคล้องต่อวัตถุประสงค์ ท่ีเน้นการมีส่วนร่วมของ
ในชว่ ง COVID-19 ประชาชน
ดงั ทก่ี ลา่ วมา นำ� ไปสกู่ ารอภปิ รายความเชอ่ื มโยง กรอบของสาระเนื้อหาความคิดเห็น ส่วนมาก
และน�ำเสนอความชัดเจนของผลลัพธ์เชิงคุณภาพตาม กล่าวถึงหรือวิพากษ์วิจารณ์ถึงการเมืองการปกครอง
ตัวชี้วัด โดยมีค�ำถามส�ำคัญว่า ผลลัพธ์ของโครงการ โดยมักจะกล่าวถึงอ�ำนาจของรัฐบาลไปจนถึงการเมือง
ตอบสนองหรือบรรลุตัวช้ีวัดเชิงคุณภาพ ด้วยการ ในรัฐสภา และยังกล่าวถึงการเลือกตั้งหรือระบบการ
วิเคราะห์ การแสดงความคิดเห็นของประชาชน เลือกตั้งที่มีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนการ
ที่ได้รับชมผลงานของโครงการ และผลลัพธ์จาก พัฒนาระบอบประชาธิปไตยไม่มากนัก แต่ก็แสดงให้
แบบสอบถามของโครงการ โดยมีกรอบการวิเคราะห์ เห็นวา่ ผทู้ ่เี ขา้ มารบั ชมผลผลิตของโครงการหรอื ผูต้ อบ
2 ลกั ษณะคอื กรอบการวเิ คราะหแ์ บบวัตถปุ ระสงค์เชิง แบบสอบถามในงานเสวนา ตา่ งมคี วามสนใจความเปน็ ไป
พฤตกิ รรมทค่ี าดหวงั และกรอบของสาระ เนอื้ หา ความ ทางการเมืองในหัวข้อและน้�ำเสียงของความเห็นที่
คิดเห็น และแจกแจงเป็นจ�ำนวนข้อความท่ีบรรลุตาม แตกต่างกนั
กรอบดงั กลา่ ว ผลการวเิ คราะหพ์ บวา่ ขอ้ ความสว่ นมาก
มีการพูดคยุ ในประเดน็ ทางการเมือง การเลือกตง้ั ตาม
ระบอบประชาธิปไตยและมกี ารตง้ั คำ� ถามวพิ ากษว์ จิ ารณ์
รว่ มกบั การเสนอแนะการท�ำงานของภาครัฐ แต่การ
เช่ือมโยงในประเด็นดังกล่าวเข้ากับการใช้ชีวิตประจ�ำ
วันและการอภิปรายหรือตั้งค�ำถามท่ีเน้นถึงการสร้าง
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเมืองไทยยังมีไม่
มากนกั อกี ทง้ั ขอ้ ความสว่ นมากยงั กลา่ วถงึ หรอื วพิ ากษ์
วิจารณก์ ารเมอื งการปกครองโดยมกั จะกล่าวถงึ อำ� นาจ
ของรฐั บาลไปจนถงึ การเมอื งในรฐั สภา
ทั้งหมดน้ีชี้ให้เห็นว่าผลลัพธ์ของโครงการ
สามารถตอบสนองหรือบรรลุตัวชี้วัดเชิงคุณภาพได้
ในข้อที่กล่าวถึงการสร้างให้เกิดบทสนทนาเกี่ยวกับ
การเมืองการเลือกตั้งและระบอบประชาธิปไตยใน
ชีวิตประจ�ำวันเพ่ิมมากข้ึน และโครงการจะยังด�ำเนิน
การให้ความรู้เก่ียวกับระบบการเลือกตั้งและการเมือง
การปกครองผ่านข่าวสาร โดยที่กรอบจุดประสงค์เชิง
พฤติกรรมท่ีคาดหวัง ส่วนมากมีการพูดคุยในประเด็น
เร่อื งการเมือง การเลอื กตั้ง ระบอบประชาธปิ ไตย และ
มกี ารตง้ั คำ� ถามวพิ ากษว์ จิ ารณ์ รว่ มกบั ขอ้ เสนอแนะการ
ท�ำงานของภาครัฐ แต่การเชือ่ มโยงในประเดน็ ดงั กล่าว
เข้ากับการใช้ชีวิตประจ�ำวัน และการอภิปรายหรือต้ัง
ค�ำถามท่ีเน้นถึงการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน
ในการเมืองไทยยังมีไม่มากนัก นับว่าเป็นพฤติกรรม
ที่แสดงให้เห็นถึงการมีความรู้หรือความตระหนักรู้ใน
เร่ืองการเมืองไทยโดยพิจารณาจากจ�ำนวนข้อความที่
24 หลอมส่ือ รวมคน สู่หนทางสร้างสรรค์
สังเคราะหอ์ งค์ความรจู้ ากงานวิจยั ภายใต้การสนบั สนุนของกองทนุ พฒั นาส่ือปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ 25
อะไรคอื Civic Tech ?
'เทคโนโลยีภาคประชาชน' หรือ 'Civic Tech' อาจยังเป็นเรือ่ งค่อนข้างใหม่ส�ำหรับ
ประเทศไทย แตจ่ ริง ๆ เปน็ สง่ิ ที่เกิดขึน้ ในหลาย ๆ ประเทศมาหลายปแี ล้ว
Civic Tech หมายถึงเทคโนโลยีหรอื แพลตฟอร์มที่องค์กรภาคประชาชนพัฒนาขึ้น เพื่อ
สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการท�ำงานของรัฐ โดยเปิดพน้ื ท่ีให้ประชาชนตรวจสอบข้อมูล
แสดงความคิดเห็น หรอื มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเก่ียวกับการท�ำงานหรือนโยบายต่าง ๆ ของรัฐ
โดยสามารถแบง่ ครา่ ว ๆ ได้เป็น 3 ระดับ
ระดบั แรก
การใช้เทคโนโลยีเปิดเผยข้อมลู ของรัฐ
เพ่ือให้ประชาชนสามารถเขา้ ใจได้งา่ ย
ตรวจสอบความโปรง่ ใสได้
หรือใช้ประกอบการตดั สนิ ใจไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
ระดับท่สี อง
การสร้างแพลตฟอร์มท่ีประชาชนสามารถมี
สว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ และถกเถยี ง
อยา่ งสร้างสรรค์
เ พื่ อ น� ำ ไ ป สู ่ ก ร ะ บ ว น ก า ร ตั ด สิ น ใจ ที่ มี
ประสิทธิภาพ
ระดับทส่ี าม
การใช้เทคโนโลยีเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วม
ในกระบวนการทำ� งานของรฐั
การแสดงความคิดเห็นส�ำหรับการออกนโยบาย
หรือออกกฎหมาย
26 หลอมสือ่ รวมคน สู่หนทางสรา้ งสรรค์
การศึกษาวิจัยด้านการส่งเสริมทกั ษะการรูเ้ ทา่ ทนั สอ่ื โครงการจดั ทำ� แผนยทุ ธศาสตร์ 5 ปี
(พ.ศ.2561-2565)
จัดทำ� โดย
ผศ.ดร.ชนญั สรา อรนพ ณ อยุธยา
การศึกษาน้ีต้องการการสะท้อนภาพรวมของทักษะการรู้เท่าทันส่ือ เพ่ือให้เห็นกลไกต่าง ๆ ท่ีขับเคล่ือน
การรู้เท่าทันสื่อในประเทศไทยที่ด�ำเนินอยู่ในปัจจุบัน และหาจุดคานงัดในการขับเคล่ือนการส่งเสริมทักษะ
การรู้เท่าทันสื่อ ประกอบกับการเรียนรู้จากแนวปฏิบัติที่ดีของต่างประเทศ เพ่ือน�ำไปประกอบการพัฒนาข้อเสนอ
เชิงนโยบายตอ่ กองทุนพัฒนาสอื่ ปลอดภยั และสร้างสรรค์ในการจัดทำ� แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ด้าน
การส่งเสรมิ ทกั ษะการรูเ้ ท่าทันสอ่ื ของประชาชนของกองทุน โดยมีวัตถปุ ระสงค์ คอื
1) เพอ่ื ศกึ ษาแนวทางการสง่ เสรมิ ทกั ษะการ ทางยุทธศาสตร์ดังกล่าวข้างต้น และวิเคราะห์ว่าใน
รเู้ ทา่ ทันสอ่ื ขององค์กรต่าง ๆ ในประเทศไทยทีด่ ำ� เนิน แต่ละประเทศนั้นก�ำหนดนิยามและขอบเขตของการรู้
การอย่ใู นปัจจบุ นั เทา่ ทนั สอ่ื ในการทำ� งานอยา่ งไร มเี ปา้ หมาย ผเู้ กย่ี วขอ้ ง
2) เพ่ือศกึ ษาบทเรียนการสง่ เสริมทกั ษะการรู้ หลกั กลยทุ ธ์ และวตั ถปุ ระสงคอ์ ยา่ งไรในการดำ� เนนิ งาน
เท่าทนั สอ่ื ของตา่ งประเทศ แนวทางการส่งเสริมทักษะการรู้เท่าทันสื่อ
3) เพอื่ จดั ทำ� ขอ้ เสนอแนะตอ่ กองทนุ พฒั นาสอ่ื ขององค์กรต่าง ๆ ในประเทศไทย ทดี่ �ำเนินการอยู่ งาน
ปลอดภัยและสร้างสรรค์ในการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ ช้ินนี้ชี้ให้เห็นได้ว่าภาพรวมการด�ำเนินงานเพ่ือพัฒนา
ของกองทนุ ดา้ นการสง่ เสรมิ ทกั ษะการรเู้ ทา่ ทนั สอื่ ของ ทกั ษะการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ขององคก์ รตา่ ง ๆ ในประเทศไทย
ประชาชน ทงั้ ทเ่ี ปน็ หนว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม
การศึกษาการส่งเสริมทักษะการรู้เท่าทันส่ือ ครอบคลุมมิติการรู้เท่าทันส่ือ (media literacy)
ขององค์กรต่าง ๆ ในประเทศไทย จะใช้กรอบน้ีเพ่ือ สารสนเทศ (information literacy) และดจิ ทิ ลั (digital
วิเคราะห์ว่ามีองค์กรใดที่ด�ำเนินการส่งเสริมในแต่ละ literacy) โดยดำ� เนินการทัง้ ในลกั ษณะท�ำกิจกรรมดว้ ย
กลุ่มเป้าหมายทางยุทธศาสตร์บ้าง และมีการก�ำหนด ตนเอง และท�ำงานร่วมกับองค์กรอื่นในลักษณะภาคี
นิยามและขอบเขตของการรู้เท่าทันส่ือในการท�ำงาน เครือข่าย ทงั้ นี้ หลายองค์กรในปจั จุบัน ใหค้ วามสำ� คญั
นโยบาย แนวทางเชิงกลยุทธ์ กิจกรรมและผลลัพธ์ กับการรู้เท่าทันในบริบทของการหลอมรวมระหว่างสื่อ
ขององคก์ รตา่ ง ๆ อยา่ งไร เพอื่ สงั เคราะห์ภาพรวมการ เก่าและส่ือใหม่ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล และการส่ือสาร
ด�ำเนินงานขององค์กรในประเทศไทยท่ีด�ำเนินการ ออนไลน์ของเด็กและเยาวชนมากยิ่งข้ึน และหลาย
ส่งเสริมทักษะการรู้เท่าทันส่ือในปัจจุบัน เช่นเดียวกัน องคก์ รกม็ เี ปา้ หมายสำ� คญั ทค่ี ลา้ ยคลงึ กนั คอื การพฒั นา
กับการศึกษาการส่งเสริมทักษะการรู้เท่าทันส่ือของ ทักษะการเข้าถึง การคิดวิเคราะห์ รวมถึงการใช้และ
ต่างประเทศจะเลือกกลุ่มตัวอย่างที่มีแนวปฏิบัติที่ดีใน เผยแพร่ส่อื อย่างรเู้ ทา่ ทันและสร้างสรรค์ดว้ ย
การสง่ เสรมิ ทกั ษะการรเู้ ทา่ ทนั สอื่ ในแตล่ ะกลมุ่ เปา้ หมาย
สงั เคราะห์องคค์ วามรจู้ ากงานวิจัย ภายใต้การสนับสนนุ ของกองทนุ พัฒนาสื่อปลอดภยั และสร้างสรรค์ 27
หากวเิ คราะหจ์ ากกลมุ่ เปา้ หมายเชงิ ยทุ ธศาสตร์ ในช่วงแรกที่องค์กรภาคประชาสังคมได้ผลักดันเชิง
ขององค์กรที่ด�ำเนินการอยู่ในปัจจุบันพบว่า ส่วนใหญ่ นโยบายจนได้กฎหมายว่าด้วยการจัดต้ังกองทุนพัฒนา
กลุ่มเป้าหมายทหี่ ลายองค์กรมุ่งเน้นคอื กลมุ่ เป้าหมาย ส่อื ปลอดภยั และสร้างสรรคใ์ นทสี่ ดุ ตอ่ มาการรเู้ ท่าทนั
ทอ่ี ยใู่ นการศกึ ษาในระบบ (Formal Education) ไดแ้ ก่ ส่ือจึงได้เร่ิมปรากฏในกฎหมายท่ีระบุให้เป็นพันธกิจ
ครู อาจารย์ ผู้เรียน ด้วยกลยทุ ธต์ ่าง ๆ ประกอบดว้ ย หรือหน้าที่รับผิดชอบของผู้มีอ�ำนาจตามกฎหมายนั้น
1) องค์กรภาครฐั จัดอบรมและประกวดส่อื ใน ประกอบด้วย กฎหมายว่าดว้ ยการจัดตั้งองค์กร กสทช.
กลุ่มเด็กและเยาวชนเกี่ยวกับประเด็นการรู้เท่าทันส่ือ ทก่ี ำ� หนดใหเ้ รอื่ งการสง่ เสรมิ การรเู้ ทา่ ทนั สอื่ เปน็ พนั ธกจิ
สร้างแกนน�ำและเครือข่ายอาจารย์และเยาวชน และ หนึง่ ขององคก์ ร
การสมั มนาสรา้ งความเขา้ ใจระหวา่ งผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี นอกจากนี้ ก็ยังได้มีการบูรณาการเรื่องการรู้
หลากหลายกลมุ่ เทา่ ทันสือ่ เขา้ กบั กลยทุ ธ์อนื่ ในการพฒั นาประเทศ โดย
2) องค์กรที่ไม่ใช่ภาครัฐก็ด�ำเนินการท�ำ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมก็ได้ก�ำหนด
กจิ กรรมเพอื่ อบรม สนบั สนนุ และสรา้ งครู นกั การศกึ ษา ยุทธศาสตร์เรื่องการรู้เท่าทันดิจิทัลไว้ในแผนพัฒนา
และเยาวชน เชน่ กัน และมุ่งเนน้ การเปิดพ้ืนทเ่ี พ่ือสร้าง ดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ รวมถงึ กระทรวง
เยาวชนใหเ้ ปน็ นกั สอ่ื สารทส่ี รา้ งสรรค์ รวมถงึ การจดั ทำ� พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ก็ได้ด�ำเนินการ
แหล่งข้อมูลเพื่อเป็นแหล่งของทรัพยากรในการเรียน ร่างยุทธศาสตร์ส่งเสริมและปกป้องคุ้มครองเด็กและ
การสอนดว้ ย เยาวชนในการใช้ส่ือออนไลน์ โดยคณะกรรมการส่ง
3) ความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐและ เสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (กดยช.) ท่ี
องคก์ รทไ่ี มใ่ ชภ่ าครฐั ในการนำ� รอ่ งการพฒั นาหลกั สตู ร กำ� หนดให้มกี ารบูรณาการความร่วมมือ ท้งั จากองค์กร
เพ่ือเตรียมพร้อมก่อนที่จะมีนโยบายจัดการเรียนการ ภาครัฐ สถาบันการศกึ ษา องค์กรเอกชน องคก์ รความ
สอนเรื่องรูเ้ ท่าทันส่อื ในทกุ ช่วงวยั ร่วมมือระหวา่ งประเทศ และองคก์ รอ่นื ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
เช่นเดยี วกันกบั กสทช. ท่กี �ำหนดเร่อื งการส่งเสรมิ การ
นอกจากนี้ กลุ่มเป้าหมายท่ีอยู่ในการศึกษา รู้เท่าทันส่ือไว้ในแผนแม่บทพัฒนากิจการกระจายเสียง
นอกระบบ (Non-formal Education) และการศกึ ษา และกจิ การโทรทศั น์ และกระทรวงศกึ ษาธกิ ารทกี่ ำ� หนด
ต่อเน่ือง (Continuing education) ได้แก่ พ่อแม่ หลักสูตรแกนกลางให้มีวิชาหน้าที่พลเมือง ซึ่งก�ำหนด
ผปู้ กครอง ผนู้ ำ� และคนในชุมชน พบว่า องค์กรท่ีไมใ่ ช่ ผลการเรียนรู้ในระดับชั้น ม.4-6 ให้มีผู้เรียนมีความ
ภาครัฐ ด�ำเนินการส่งเสริมการรู้เท่าทันส่ือในกลุ่ม รู้เท่าทันส่ือ
เปา้ หมายนี้ ดว้ ยกลยทุ ธส์ ำ� คญั คอื การอบรมใหค้ วามรู้ อย่างไรก็ดี กลุ่มเป้าหมายท่ีประเทศไทยยัง
กับผู้ปกครอง การจัดให้มีกลไกร้องเรียนผ่านสายด่วน ดำ� เนนิ การน้อยอยู่ และกล่มุ เปา้ หมายที่เป็นผมู้ ีส่วนได้
แจ้งอินเทอร์เน็ต การจัดกระบวนการสร้างสิ่งแวดล้อม สว่ นเสยี กลมุ่ อนื่ ๆ คอื องคก์ รสอ่ื หรอื ผผู้ ลติ สอ่ื ทผี่ า่ นมา
หรอื บคุ คลแวดลอ้ มของเดก็ และเยาวชนในชมุ ชนแออดั มหี นว่ ยงานทด่ี ำ� เนนิ การ อาทิ แผนงานสอ่ื ศลิ ปวฒั นธรรม
เพอ่ื ใหเ้ กดิ การส่งเสรมิ การรู้เท่าทนั สอ่ื แบบองคร์ วม สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ สสส. ภายใตโ้ ครงการสอื่ เปน็ โรงเรยี น
ในขณะที่ องค์กรภาครัฐ มีเพียง กสทช. ท่ี ของสังคม และ กสทช. ภายใตก้ ิจกรรม smart media
ทำ� ความรว่ มมอื กบั องคก์ รภาครฐั อน่ื ๆ ดำ� เนนิ งานดา้ น for smart consumer รวมถึง การด�ำเนินการส่งเสรมิ
การเฝา้ ระวงั ภยั จากโฆษณาอาหารและยาทางวทิ ยแุ ละ การรู้เท่าทันสื่อโดยองค์กรผู้ผลิตสื่อเองยังจ�ำกัดอยู่ใน
โทรทัศน์ รวมถึงการสร้างเครือขา่ ยและสรา้ งความเข้ม วงแคบ เช่นเดียวกับการเข้ามามีส่วนร่วมขององค์กร
แข็งของผู้บรโิ ภคในกิจการวทิ ยแุ ละโทรทศั น์ ส่วนกล่มุ เอกชนอ่ืน ๆ ในการช่วยส่งเสริมการรู้เท่าทันส่ือใน
เปา้ หมายทเี่ ปน็ หนว่ ยงานของรฐั (ในระดบั นโยบาย) นน้ั ลกั ษณะ CSR project กย็ ังมีเพยี งไม่ก่รี าย
28 หลอมส่ือ รวมคน สหู่ นทางสรา้ งสรรค์
ในด้านการให้การสนับสนุนทุนในการส่งเสริม 2) กองทนุ ในฐานะ actor ในการทำ� นโยบาย
การรู้เท่าทันส่ือนั้น แหล่งทุนท่ีส�ำคัญในประเทศไทย (policy flow)
ไดแ้ ก่ สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ 3) กองทุน ในฐานะ ผสู้ นับสนนุ Network of
(สสส.) กองทุนพัฒนาส่ือปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ และ actors & Integration “จับมือเครือข่าย ร่วมแรง
กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการ ร่วมทุน”
โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์ 4) กองทนุ ในฐานะ ผสู้ นบั สนนุ ใหเ้ กดิ shar-
สาธารณะ (กทปส.) ing resource & research
งานศึกษาช้ินนี้มีข้อเสนอแนะต่อกองทุน 5) กองทุน ในฐานะผู้สนับสนุนด้านการเงิน
พัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ในการจัดท�ำแผน (financial aids) โดยควรสนับสนุนโครงการที่มีกลุ่ม
ยุทธศาสตร์ของกองทุน ด้านการส่งเสริมทักษะการรู้ เปา้ หมายซงึ่ ยงั เปน็ ชอ่ งวา่ ง และควรสนบั สนนุ โครงการ
เทา่ ทันสื่อของประชาชน คือ ท่ีมีวิธีการ (approach) ที่กว้างขวางข้ึน ตามวิธีการ
1) กองทุน ในฐานะผอู้ ำ� นวย (Facilitator) ให้ (approach) ในการสง่ เสรมิ การรู้เทา่ ทันสื่อ
เกิดนยิ ามและศพั ทบ์ ัญญตั ิของ “การร้เู ทา่ ทนั สื่อ”
สงั เคราะหอ์ งค์ความรจู้ ากงานวจิ ัย ภายใต้การสนับสนุนของกองทนุ พฒั นาสื่อปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ 29
โครงการการสง่ เสรมิ การเฝา้ ระวงั ส่อื ไมป่ ลอดภัยและไมส่ ร้างสรรค์
จัดท�ำโดย
ดร.ชเนตตี ทนิ นาม
การศึกษาเรื่อง “การส่งเสริมการเฝ้าระวังส่ือไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์” ได้ข้อสรุปที่เป็นแนวทางการ
ดำ� เนนิ งานของกองทนุ สอ่ื ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ในการสง่ เสรมิ กลไกการเฝา้ ระวงั สอ่ื ไมป่ ลอดภยั และไมส่ รา้ งสรรค์
รวมทั้งคณุ ลกั ษณะของสื่อไมป่ ลอดภัยและไมส่ ร้างสรรค์ ดงั น้ี
1. โครงสร้างองค์กรเฝ้าระวังส่ือ
1.1. องคก์ รเฝา้ ระวงั สอ่ื ควรมกี ารกำ� หนดวสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ ค่านิยม วัตถุประสงค์ท่ีชัดเจนในการท�ำงาน โดย
มุง่ เน้นการเฝา้ ระวงั ส่ือเป็นลำ� ดับแรก เพือ่ ให้ความส�ำคญั กบั บทบาทการตรวจสอบสอื่ เปน็ ล�ำดบั ต้น ๆ ให้
เป็นการทำ� งานเชิงรุกมากกวา่ การลืน่ ไหลไปตามกระแสสงั คม
1.2. องคก์ รเฝา้ ระวงั สอ่ื ควรมกี ารจดั วางโครงสรา้ งการทำ� งาน มอบหมายผรู้ บั ผดิ ชอบทม่ี คี วามชดั เจน ประกาศ
โครงสรา้ งองคก์ รในเวบ็ ไซตใ์ หส้ าธารณะรบั ทราบ การบรหิ ารงานขององคก์ รเฝา้ ระวงั สอื่ ควรดำ� เนนิ การใน
รปู แบบคณะกรรมการ ประกอบดว้ ย
1.2.1 กรรมการท่ีปรึกษาซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิทั้งจากฝ่ายวิชาการ วิชาชีพ และนักกิจกรรมด้านสังคม
คณะทำ� งานบรหิ ารทม่ี ปี ระสบการณท์ งั้ ในดา้ นสอ่ื และดา้ นประเดน็ เฉพาะตา่ ง ๆ ทำ� ใหก้ ารตรวจสอบ
สื่อเป็นทีน่ ่าเชอ่ื ถอื ทม่ี าของตำ� แหน่งมที งั้ การสรรหาและการเลอื กตง้ั
1.2.2 มคี ณะทำ� งานซึ่งเปน็ พนกั งานประจ�ำ สามารถท่มุ เทเวลาให้กบั องคก์ ร
1.2.3 เครอื ขา่ ยคณะทำ� งานระดบั ทอ้ งถน่ิ เพอ่ื ใหก้ ารทำ� งานสามารถเชอ่ื มรอ้ ยกบั ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ทำ� ใหเ้ กดิ
การมีส่วนร่วมในทกุ ระดบั
1.2.4 อาสาสมัครจากพลเมอื ง เพ่ือใหพ้ ลเมอื งมีทักษะการเฝ้าระวังสอ่ื ไดเ้ ข้ารว่ มทำ� งานกบั องค์กร
1.3. การดำ� เนนิ งานองคก์ รเฝ้าระวงั สื่อตอ้ งยึดหลักธรรมาภบิ าล บริหารงานด้วยความโปรง่ ใสเปน็ ธรรม เพราะ
เปน็ องคก์ รทที่ ำ� งานดา้ นการตรวจสอบ จงึ ควรมกี ารแสดงรายงานประจำ� ปยี อ้ นหลงั แสดงผลการดำ� เนนิ งาน
มกี ารตรวจสอบงบประมาณโดยผตู้ รวจสอบบญั ชที สี่ าธารณชนสามารถเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ย มกี ารเปดิ เผยขอ้ มลู ใน
เว็บไซต์ ซงึ่ ในต่างประเทศมรี ะเบยี บปฏิบตั ใิ นสว่ นนี้คอ่ นขา้ งเด่นชัด
30 หลอมสื่อ รวมคน สูห่ นทางสรา้ งสรรค์
1.4. ในด้านงบประมาณด�ำเนินการ องค์กรเฝ้าระวังสื่อไม่รับการอุดหนุนจากรัฐและเอกชน แหล่งท่ีมาของ
งบประมาณมาจากการอุดหนุนโดยองค์กรไม่แสวงหาผลก�ำไร การรับบริจาคจากประชาชนด้วยวิธีการท่ี
หลากหลาย เปดิ เผยช่องทางที่ช่วยให้ประชาชนรว่ มสนับสนุนได้อย่างสะดวก ท้ังในรปู แบบเงิน เชค็ หนุ้
ส่งิ ของ Matching Gift และ Legacy Gift มีร้านค้าออนไลน์จ�ำหน่ายสินค้าองค์กร สร้างความร่วมมือกับ
ร้านคา้ ออนไลน์ท่ีมเี ครือข่ายท่วั โลก เชน่ Amazon.com องค์กรเฝา้ ระวงั สื่อบางแหง่ หารายไดจ้ ากการจดั
ทศั นศกึ ษาใหค้ วามรดู้ า้ นการเฝา้ ระวงั สอื่ รวมทง้ั อาจรบั รายไดจ้ ากการโฆษณาโดยมเี งอื่ นไขวา่ เนอื้ หาและ
สินค้าจะต้องไม่ขัดแย้งกบั อดุ มการณข์ ององคก์ รเฝา้ ระวงั สือ่
องคก์ รเฝา้ ระวงั ส่อื ในประเทศไทยส่วนใหญ่ ยังพง่ึ พิงการสนับสนุนจากแหล่งทุน สำ� นักงานกองทุน
สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) เปน็ หลกั มมี ลู นธิ อิ นิ เทอรเ์ นต็ รว่ มพฒั นาไทยเพยี งแหง่ เดยี วทร่ี บั การ
สนับสนนุ จากองค์กรตา่ งประเทศและมชี อ่ งทางการเปิดรับเงนิ บริจาคจากประชาชน อยา่ งไรกต็ ามองค์กร
เฝา้ ระวงั สอ่ื ในประเทศไทยยงั ไมม่ กี ารสรา้ งแรงจงู ใจสำ� หรบั ประชาชนทบี่ รจิ าคเงนิ ใหส้ ามารถใชส้ ทิ ธขิ อลด
หยอ่ นภาษจี ากเงนิ บรจิ าคผา่ นการประชาสมั พนั ธ์ แมว้ า่ กฎหมายในประเทศไทยจะอนญุ าตผบู้ รจิ าคเงนิ ให้
องค์กรไมแ่ สวงหาผลก�ำไรสามารถลดหย่อนภาษีได้กต็ าม
2. บทบาทการเฝา้ ระวงั ส่อื
2.1. การท�ำงานเชิงตรวจสอบ
2.1.1 ตรวจสอบแบบกลั ยาณมติ ร องคก์ รเฝา้ ระวงั สอ่ื ไมค่ วรทำ� งานในลกั ษณะของการเพง่ โทษ และมอง
สอ่ื ในเชงิ ไมเ่ ป็นมติ ร ควรใช้การทำ� งานแบบกลั ยาณมิตร ม่งุ เหน็ การเปลี่ยนแปลงในเชิงสรา้ งสรรค์
ให้รางวลั ในลักษณะตา่ ง ๆ และเป็นขวญั กำ� ลงั ใจให้กับสอื่ ทีม่ ีคณุ ภาพ
2.1.2 ดำ� เนินงานแบบครบวงจร คอื ติดตามตรวจสอบ การเปดิ เผยเบือ้ งหลังการน�ำเสนอขา่ วของสอื่
2.1.3 เปดิ ชอ่ งทางการรอ้ งเรยี นโดยตรงดว้ ยวธิ หี ลากหลาย เชน่ เวบ็ ไซต์ แอปพลเิ คชนั สอ่ื สงั คมออนไลน์
อเี มล จดหมาย ที่ประชาชนสามารถสง่ ขอ้ มูลร้องเรยี นโดยตรงไปยังส่ือมวลชน สปอนเซอร์ รวมทง้ั
องค์กรทท่ี ำ� หนา้ ที่ตรวจสอบสือ่
2.1.4 การสนับสนุนการเคลื่อนไหวในที่สาธารณะ เช่น การจัดเวทีสาธารณะ หรือแม้แต่การชุมนุม
ประทว้ งในกรณที ่ีการติดตอ่ สอื่ สารโดยการย่นื ขอ้ ร้องเรยี นไม่เป็นผล
2.2. ผลักดันให้มีการเฝ้าระวังส่ือในประเด็นที่หลากหลายและขยายการท�ำงานกับกลุ่มประชากรเฉพาะท่ี
ไดร้ ับผลกระทบ
ภาพรวมการท�ำงานเฝ้าระวงั สอ่ื ในประเทศไทย ยังกระจุกตวั ท่กี ารทำ� งานในประเดน็ เดก็ เยาวชน
รวมท้ังการท�ำงานในภาพกว้างเกี่ยวกับความรับผิดชอบของส่ือมวลชน อย่างไรก็ตามยังไม่มีองค์กรที่ท�ำ
หน้าที่เฝ้าระวังส่ือที่มีลักษณะเชิงประเด็นที่หลากหลาย หรือด้านกลุ่มประชากรเฉพาะที่ได้รับผลกระทบ
สูงจากการท�ำงานของส่ือมวลชน เช่น ด้านผู้หญิง/สิทธิความหลากหลายทางเพศ ชาติพันธุ์ กลุ่มศาสนา
คนพกิ าร ฯลฯ แมใ้ นประเทศไทยจะมีองคก์ รไม่แสวงหาผลกำ� ไร ท่ีท�ำงานในเชิงประเด็นและท�ำงานกบั
กลุ่มประชากรเฉพาะดงั กลา่ วอยู่แล้ว แต่องคก์ รเหล่านไ้ี มไ่ ดม้ ีพนั ธกจิ หลักในการท�ำงานดา้ นการเฝา้ ระวัง
สอื่ การรณรงคใ์ นประเดน็ เฝ้าระวังส่ือมกั เกิดขึ้นเมอ่ื มีกระแสสังคมในขณะนัน้ มากกวา่ จะเป็นการทำ� งาน
ในเชิงรกุ จึงท�ำใหก้ ารเฝ้าระวงั สื่อในประเด็นเฉพาะและกลุม่ ประชากรเฉพาะไม่มคี วามต่อเนื่อง
สังเคราะหอ์ งคค์ วามรู้จากงานวิจยั ภายใต้การสนบั สนุนของกองทนุ พัฒนาสอื่ ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ 31
2.3. การสื่อสารสาธารณะ
2.3.1 องคก์ รเฝา้ ระวงั สอื่ ควรมชี อ่ งทางการสอื่ สารรณรงคท์ หี่ ลากหลาย เชน่ เวบ็ ไซต์ แอปพลเิ คชนั blog
facebook twitter flickr google+ รายการวทิ ยอุ อนไลน์ itunes slideshow infographic email
e- Alert RSS Feeds Podcast บทความ สารคดี รายงานพิเศษ ภาพยนตร์ หนงั สือ จดหมาย
ขา่ ว นติ ยสาร โดยชอ่ งทางการรณรงคเ์ หลา่ นเี้ ปดิ ใหป้ ระชาชนสามารถมสี ว่ นรว่ มในการสร้างสรรค์
เนื้อหาด้วยตัวเอง เช่น การส่งบทความร่วมตีพิมพ์ การเสนอประเด็นในการจัดรายการ การ
เป็นผู้ให้ความคดิ เหน็ ในรายการ
2.3.2 องคก์ รเฝา้ ระวงั สอ่ื ควรทำ� งานในฐานะทเี่ ปน็ แหลง่ ขา่ วดา้ นสอ่ื มวลชน โดยการสรา้ งทมี โฆษกของ
องค์กรทำ� หน้าที่ให้ข่าว ปรากฏตัวในรายการโทรทัศน์ วิทยุ เป็นวทิ ยากรให้สถาบนั การศึกษา และ
ใชฐ้ านขอ้ มูลบคุ คลผเู้ ช่ยี วชาญเพือ่ ให้สอื่ มวลชนสามารถเข้าถงึ ขอ้ มลู ในเชงิ ลกึ
2.4. การสร้างพลเมอื งทไี่ หวรู้ต่อการเฝ้าระวงั สอ่ื
2.4.1 องค์กรเฝ้าระวังสอ่ื ควรทำ� งานให้ความรู้ด้านการรเู้ ท่าทันสื่อ ผลติ และเผยแพร่สื่อเพอ่ื สรา้ งความ
เขา้ ใจเก่ยี วกับบทบาทหนา้ ท่ี ความรบั ผิดชอบของสอ่ื จดั กจิ กรรมเพ่ือสร้างความตระหนัก เช่น เวที
สาธารณะ ประชุมวชิ าการ การประชุมระดับต่าง ๆ เป็นต้น
2.4.2 ควรสนับสนุนพลเมืองให้มีบทบาทเชิงเชิงรุกและการผลักดันในระดับนโยบาย พลเมืองถือเป็น
สว่ นหนง่ึ ของโครงสรา้ งองคก์ ร มกี ารทำ� งานรว่ มกบั ประชาชนในทอ้ งถน่ิ พฒั นาศกั ยภาพพลเมอื งให้
กลายเปน็ นักกิจกรรมสังคม เปน็ ผเู้ ชีย่ วชาญด้านการเฝ้าระวงั สอ่ื มากกว่าการเปน็ ผูบ้ รโิ ภคขา่ วสาร
เปน็ กระบวนการเสริมพลัง (empowerment) แก่ประชาชน ท�ำให้ประชาชนมคี วามรู้ความเขา้ ใจ
และตระหนกั ในบทบาทความส�ำคัญของสอ่ื และพลงั ของผู้บริโภค
2.4.3 องค์กรเฝา้ ระวงั สือ่ ควรมแี นวทางในการสืบทอดการท�ำงานกับคนรนุ่ ใหม่ เชน่ การเปดิ โอกาสให้
นักศึกษาหลากหลายสาขาสมัครเข้ามาฝึกงานกับทางองค์กร ซ่ึงนักศึกษาฝึกงานเหล่านี้จะได้รับ
การฝกึ ทกั ษะในการทำ� งานสอ่ื วพิ ากษส์ อ่ื ผลติ งานดา้ นสอื่ ผลของการฝกึ งานทำ� ใหส้ ามารถประกอบ
อาชพี เป็นสือ่ มวลชนท่มี ีคณุ ภาพ บางสว่ นท�ำงานด้านการเฝ้าระวงั ส่อื และหากไมไ่ ดท้ ำ� งานในสาย
สอ่ื ก็จะกลายเป็นพลเมอื งที่ไหวรู้ต่อการเท่าทันสอ่ื ตอ่ ไป
2.5. การสรา้ งฐานข้อมลู /องค์ความรู้
องค์กรเฝ้าระวังส่ือควรมีการสร้างฐานข้อมูลในการท�ำงาน เพื่อให้เป็นแหล่งข้อมูลค้นคว้าส�ำหรับ
ประชาชนและสื่อมวลชนในประเด็นเฝ้าระวังสื่อ เช่น การทุ่มงบประมาณในการท�ำวิจัย/สถิติ การสร้าง
ฐานขอ้ มลู บทความ/เนือ้ หาการเฝ้าระวังสอ่ื ฐานขอ้ มลู บคุ คลผู้เชี่ยวชาญ ฐานขอ้ มูลหน่วยงานทีเ่ กย่ี วข้อง
ทส่ี ามารถใหข้ อ้ มลู เพม่ิ เติม ฐานข้อมูลสอ่ื มวลชน ฐานข้อมูลสปอนเซอร์ ฐานข้อมลู เครือข่าย
2.6. การพฒั นานวตั กรรม
องคก์ รเฝา้ ระวงั สอื่ ควรมกี ารสรา้ งนวตั กรรม/เครอื่ งมอื ใหมใ่ นการทำ� งาน เชน่ การสรา้ งระบบในการ
บนั ทกึ เนื้อหาที่ไม่เหมาะสม การพัฒนาระบบ Rating ตวั วดั คณุ ภาพเนอ้ื หารายการ สร้างนวัตกรรมเชงิ วิธี
วทิ ยาในการเฝ้าระวังสอื่
32 หลอมสื่อ รวมคน สู่หนทางสร้างสรรค์
2.7. การสร้างเครอื ข่าย
2.7.1 องค์กรเฝ้าระวังส่ือควรท�ำงานรวมกับเครือข่าย/หน่วยงานท่ีมีอ�ำนาจบังคับใช้กฎหมาย องค์กร
ระหว่างประเทศ เครือขา่ ยคอมพิวเตอร/์ ออนไลน์ ซง่ึ มบี ทบาทส�ำคญั ท�ำให้ท�ำงานด้านการติดตาม
ตรวจสอบ และประเมินผล ได้รอบด้านและรวดเร็ว
2.7.2 ควรทำ� งานในลักษณะของเครือข่ายทเี่ ขม้ แขง็ ทัง้ กบั เครือข่ายในเชงิ ประเดน็ ปญั หาเดียวกัน และ
เครือข่ายกับส่ือมวลชนในฐานะกัลยาณมิตร มีการประสานงานแบบเครือข่ายกับองค์กรอื่น ๆ ที่
เกย่ี วข้อง ท�ำให้การเคล่อื นไหวปรากฏตอ่ สาธารณะไดม้ ากขนึ้ ในทน่ี ีค้ วามร่วมมือท่ีชัดเจนทสี่ ุดคือ
การทสี่ อื่ มวลชนนำ� การเคลอื่ นไหวจากการตรวจสอบสอ่ื ไปเสนอเปน็ ขา่ ว นอกจากนผ้ี ลการทำ� งาน
วจิ ยั และแถลงตอ่ สาธารณชนอยา่ งตอ่ เนอื่ งของมเี ดยี มอนเิ ตอร์ ทำ� ใหก้ ารทำ� งานเฝา้ ระวงั สอื่ มพี น้ื ท่ี
ในการรายงานขา่ วและจดุ กระแสในสงั คมได้ สอื่ มวลชนไดอ้ งคก์ รเฝา้ ระวงั สอ่ื เปน็ แหลง่ ขา่ วทส่ี ำ� คญั
ทำ� ให้เหน็ วา่ รปู แบบของการตรวจสอบส่อื น้สี ามารถสรา้ งพนั ธมติ รกับสือ่ มวลชนได้
3. การก�ำหนดคุณลกั ษณะสอื่ ไมป่ ลอดภยั และไม่สร้างสรรค์
ส่ือไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ หมายถึงสื่อท่ีมีลักษณะบิดเบือนความจริง รายงานข้อเท็จจริงผิดพลาด
คลาดเคล่อื น แตง่ เติม ซ่ึงน�ำไปส่กู ารผลติ ซำ้� มายาคติทสี่ รา้ งอคติในสงั คม
1. ส่ือไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ หมายถึง ส่ือท่ีไม่เป็นกลาง มีอคติ ตีตราผู้ตกเป็นข่าว น�ำเสนอ
ความคิดเห็นและความรู้สึกส่วนตัวปะปนกับข้อเท็จจริง ส่งผลให้เกิดความล�ำเอียงในการน�ำเสนอ
ขาดความสมดลุ และยุตธิ รรมท้ังในแงเ่ น้ือหาและวธิ กี ารไดม้ าซ่งึ ขอ้ มูล
2. สื่อไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ หมายถึง สื่อที่ไม่เคารพคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เลือก
ปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม มีอคติ ซ้�ำเติมด้วยเหตุแห่งความแตกต่างทางเชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา
ศาสนา ความเช่ือ สังคม ความเป็นอยู่ ฐานะ ทรัพย์สิน ก�ำเนิด หรือฐานะอื่น เป็นเหตุให้ภาพบุคคล
ที่ถูกละเมิดน้ันมลี กั ษณะของความด้อยค่า ไรศ้ กั ดิ์ศรี
3. ส่ือไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ หมายถึงส่ือที่ไม่เคารพสิทธิความเป็นส่วนตัวของบุคคล น�ำเสนอ
เนอื้ หาทกี่ ระทบตอ่ ความเปน็ สว่ นตวั ในครอบครวั เกยี รตยิ ศ ชอ่ื เสยี ง ตลอดจนขอ้ มลู สว่ นตวั ซงึ่ ไมเ่ ปน็
ประโยชนต์ ่อสว่ นรวม
4. สอื่ ไมป่ ลอดภยั และไมส่ รา้ งสรรค์ หมายถงึ สอื่ ทไี่ มเ่ ปดิ พน้ื ทใี่ หค้ วามแตกตา่ งหลากหลายของการดำ� รง
อยู่ในสังคมได้มีพื้นท่ีในการน�ำเสนอตัวอย่างความหลากหลายที่ขาดหายไป ได้แก่ ความหลากหลาย
ทางวัฒนธรรม ศาสนา ชาติพันธุ์ สีผิว เพศภาวะ และเพศวิถี การไม่เปิดพื้นท่ียอมรับความแตกต่าง
หลากหลาย จะยิ่งท�ำให้ส่ือมวลชนไม่สามารถเข้าใกล้ความจริง ความยุติธรรม และไม่สามารถสร้าง
ทางเลือกและโอกาสใหม่ ๆ ใหแ้ ก่สงั คม
5. สอ่ื ไมป่ ลอดภยั และไมส่ รา้ งสรรค์ หมายถงึ สอ่ื ซง่ึ ไมส่ ามารถเปน็ แบบอยา่ งทางศลี ธรรมใหก้ บั ประชาชน
ส่งเสริมอบายมุข เอื้อให้มีการทุจริต หลอกลวง ไม่ซ่ือสัตย์ ส่งเสริมการกระท�ำผิดทางศีลธรรม ไม่
สนับสนนุ ค่านยิ มท่ีพึงประสงค์ใหก้ บั สงั คม
6. ส่อื ไม่ปลอดภัยและไม่สรา้ งสรรค์ หมายถงึ สือ่ ซ่ึงไม่ได้ใหค้ วามเปน็ ธรรมกับทุกฝา่ ยท่ไี ดร้ ับผลกระทบ
ในการนำ� เสนอ มกี ารเลือกปฏบิ ตั ติ อ่ แหล่งขา่ ว
สงั เคราะหอ์ งค์ความรูจ้ ากงานวิจยั ภายใต้การสนบั สนุนของกองทุนพัฒนาส่ือปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ 33
7. สอื่ ไมป่ ลอดภยั และไมส่ รา้ งสรรค์ หมายถงึ สอ่ื ซง่ึ ไมไ่ ดค้ ำ� นงึ ถงึ ผลกระทบ หรอื ผลประโยชนท์ ส่ี งั คมจะ
ไดร้ บั รวมทงั้ ไมค่ ำ� นงึ ถงึ ผลเสยี หายทแ่ี หลง่ ขา่ วรวมทงั้ ผรู้ บั สารจะไดร้ บั หากแตส่ นใจผลประโยชนส์ ว่ น
ตัว ไดแ้ ก่ ทุน การเปน็ กระแสสงั คม และผลประโยชนแ์ อบแฝงต่าง ๆ
8. สื่อไมป่ ลอดภยั และไม่สรา้ งสรรค์ หมายถึง สื่อซึง่ ไม่ได้มกี ารนำ� เสนอเน้อื หาหรอื สนับสนนุ ให้ผูร้ ับสาร
รวมทั้งสงั คมเกิดการสร้างสภาวะทส่ี มดุลของกาย จิต สังคม ปญั ญา หรอื จติ วิญญาณ
34 หลอมส่อื รวมคน สู่หนทางสร้างสรรค์
บทสงั เคราะห์
ความท้าทายของการวิจัยการรู้เท่าทันส่อื จากนยิ ามท่ีปรบั เปล่ยี นตามภูมิทศั นส์ ่อื
ผศ.ดร.พมิ ลพรรณ ไชยนันท์
ภูมิทัศน์สื่อท่ีปรับเปลี่ยนจากการสื่อสารผ่านส่ือหลักที่มีรูปแบบการน�ำเสนอเฉพาะส่ือ มาสู่ภูมิทัศน์สื่อท่ีมี
การหลอมรวมสอ่ื ทกุ รปู แบบเขา้ ดว้ ยกนั ทำ� ใหบ้ ทบาทของผกู้ ระทำ� การภาคสว่ นตา่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั สอ่ื เปลยี่ นแปลง
ตามไปด้วยอย่างหลกี เลยี่ งไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นภาคสว่ นการผลติ จากความต้องการบคุ ลากรทม่ี คี วามเชย่ี วชาญเฉพาะ
ทาง มาเปน็ นกั วชิ าชพี ทม่ี ที กั ษะการทำ� งานสอ่ื แบบหลากหลาย (muti-skill) และสามารถทำ� งานไดค้ รบทงั้ กระบวนการ
สรา้ งสรรค์ ผลติ และถา่ ยทอด ภายในคนเดยี วหรอื เพยี งไมก่ ค่ี น สว่ นในฝง่ั ของผรู้ บั สารเหน็ ความเปลยี่ นแปลงบทบาท
จากค�ำเรยี กผ้รู บั สาร (receiver) หรือ ผรู้ บั ชม (audience) มาเปน็ พลเมืองผู้ใชส้ ื่อ (citizen) หากพิจารณาถงึ มิติของ
การปฏสิ มั พนั ธผ์ า่ นสอ่ื ของผใู้ ชใ้ นปจั จบุ นั การเปลยี่ นแปลงน้ี ไมใ่ ชห่ มายถงึ เพยี งเฉพาะพฤตกิ รรม แตย่ งั ขยายขอบเขต
รวมไปถงึ กระบวนการทางความคดิ วถิ กี ารรบั รแู้ ละทำ� ความเขา้ ใจสงั คม และรปู แบบความสมั พนั ธข์ องสอื่ ในการดำ� รง
ชีวิตประจำ� วัน
การรบั รถู้ งึ การเปลย่ี นแปลงทเี่ กดิ ขนึ้ ของภมู ทิ ศั น์ แกนหลักส�ำคัญท่ีมีร่วมกันของค�ำนิยามที่
สื่อน้ี ไมไ่ ดเ้ ปน็ ปรากฏการณท์ เ่ี พง่ิ เกดิ ขน้ึ หรอื เปน็ เรอ่ื งใหม่ ครอบคลมุ การรเู้ ทา่ ทนั สอื่ สารสนเทศ และดจิ ทิ ลั คอื
แต่อย่างใด ในวงการวิชาการและวิชาชีพส่ือได้มีการ ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ อย่างไรก็ตามความหมายของ
อภิปรายและวิเคราะห์กันอย่างกว้างขวางมาช่วงเวลา แต่ละค�ำนิยามจะมีจุดเน้นและมิติของความรู้และ
หนงึ่ แลว้ การเปลยี่ นแปลงนน้ี ำ� มาทง้ั ผลดา้ นการพฒั นา ทักษะท่ีต่างกันไป กล่าวคือ การรู้เท่าทันสื่อจะเป็น
และปัญหาท่ีเกิดจากการใช้ส่ือ ปัจจัยส�ำคัญประการ ความสามารถในการวเิ คราะหส์ าร การประเมนิ เนอื้ หา
หน่ึงท่ีเป็นตัวก�ำหนดทิศทางว่าสื่อจะถูกใช้ไปในทาง สอ่ื /สารทถ่ี กู ประกอบสรา้ งขน้ึ มา ในขณะทกี่ ารรเู้ ทา่ ทนั
บวกที่การก่อให้เกิดการพัฒนา หรือใช้ไปในทางท่ีอาจ สารสนเทศจะเปน็ ความสามารถในการวเิ คราะหส์ าร เพอ่ื
ก่อให้เกดิ ปญั หาและอันตรายตอ่ สังคมได้ คอื การรเู้ ท่า น�ำมาใช้ในการตัดสนิ ใจในสถานการณต์ า่ ง ๆ (วโิ รจน์
ทนั สอื่ (media literacy) ในทางวชิ าการทศี่ กึ ษาเกยี่ วกบั สทุ ธิสมี า พมิ ลพรรณ ไชยนันท์ และ ศศธิ ร ยวุ โกศล,
ส่อื ให้ความสำ� คญั กับแนวคิดน้มี าตง้ั แต่สมัยของสื่อเดิม 2563) การคิดวิเคราะห์ท�ำให้ผู้ใช้สามารถป้องกัน
(traditional media) และเรมิ่ ขยายขอบเขตความหมาย ตนเองจากดา้ นลบของสอ่ื ท�ำให้ผู้ใช้ตระหนักถึงและ
และค�ำเรียกใหม่ ๆ ที่พัฒนาขึ้นมาในยุคท่ีสื่อมีความ ปอ้ งกันพลังของสอื่ ในการโนม้ นา้ วใจ จัดการความคิด
ซบั ซอ้ นขนึ้ เชน่ การรเู้ ทา่ ทนั สารสนเทศ การรเู้ ทา่ ทนั หรอื แสวงหาผลประโยชน์ ในขณะเดยี วกนั การรเู้ ทา่ ทนั
ดิจิทัล และการรู้เท่าทันข้ามสื่อ เพ่ือให้เท่าทันความ ส่ือก็ช่วยเพ่ิมศักยภาพของผู้ใช้ ให้สามารถมีส่วนร่วม
เปลยี่ นแปลงของภมู ทิ ศั นส์ อ่ื ใหมท่ ที่ า้ ทายศกั ยภาพและ ในการส่ือสารผ่านส่ือท่ีเป็นแหล่งทรัพยากรทางด้าน
ความสามารถของผู้ใช้ ความคิด การสร้างสรรค์ ซึ่งผู้ใช้จะได้รับประโยชน์
จากการใชส้ อื่
สงั เคราะห์องคค์ วามรู้จากงานวิจัย ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ของกองทนุ พัฒนาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ 35
ประเด็นท้าทายของการศึกษาในภูมิทัศน์ส่ือ อยา่ งไรกต็ าม หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษจ์ ากการศกึ ษาจำ� นวน
มีความซับซ้อนข้ึนท้ังในเชิงเนื้อหา รูปแบบ และการ หนงึ่ พบวา่ ปจั จยั ทางสงั คมอน่ื ๆ รวมถงึ คณุ ลกั ษณะและ
ปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้กับส่ือ ส่ือหลักเดิมถูกปรับให้อยู่ใน การนำ� เสนอของสอื่ แตล่ ะประเภท มอี ทิ ธพิ ลตอ่ การใชแ้ ละ
รปู แบบดจิ ทิ ลั ทมี่ กี ารใช้ “ภาษา” และ “ไวยากรณ”์ ในการ ผลกระทบของเทคโนโลยี ตัวอย่างเช่น ปัญหาการจาก
สื่อสารที่ต่างจากสื่อเดิม ท�ำให้ความหมายของสารที่ เล่นเกมออนไลน์ที่มีผลต่อความคิดและพฤติกรรม
แต่เดิมเป็นการเข้ารหัสและส่งผ่านความหมายจาก ของผเู้ ลน่ ในขณะเดยี วกนั กม็ กี ารศกึ ษาทแ่ี สดงใหเ้ หน็
ผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร กลายไปเป็นความหมายสารท่ี ว่า เทคโนโลยีมีส่วนส่งเสริมและเอ้ือให้เกิดการมี
เกิดขึ้นจากการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้และสารหรือ สว่ นรว่ มทางการเมอื งและในฐานะพลเมืองของผู้ใช้ส่ือ
เทคโนโลยี หรือในการเปรียบเทียบอาจเรียกว่า การ (โครงการ ELECT ส่ือข้อมูลการเมืองและการเลือกตั้ง
ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งเนอื้ หาและผอู้ า่ น มมุ มองทางทฤษฎี ไทย, บริษัท บันลือ พบั ลิเคช่ันส์ จำ� กดั )
เดิมท่ีมองว่าผู้ใช้ส่ือไม่สามารถสร้าง/ผลิตสารท่ีตนเอง มายาคติที่สอง คือ มุมมองต่อเยาวชนว่าเป็น
ต้องการได้จากส่ือ สารเป็นสิ่งท่ีถูกจัดหามาให้และถูก ชาวดจิ ทิ ัลโดยก�ำเนิด (digital native) เป็นผูท้ ี่เกดิ มา
ก�ำหนดความหมายมาแลว้ มมุ มองนีถ้ กู ทา้ ทายดว้ ยส่อื และเติบโตมาพร้อมกับส่ือดิจิทัล เข้าใจธรรมชาติและ
ออนไลน์ว่าความหมายของสารเป็นสิ่งที่ถูกก�ำหนดมา มีทักษะในการใช้ส่ือดิจิทัล ในขณะที่คนในช่วงวัยอ่ืน
เพยี งบางสว่ น และผใู้ ชอ้ าจไมอ่ า่ นสารแบบ “การตคี วาม คือผทู้ ่ีอพยพมาสู่ดิจทิ ลั (digital immigrants) ซ่งึ เป็น
ตามการเขา้ รหสั สาร” (preferred readings) อกี ตอ่ ไป ความเข้าใจที่ผิด เพราะว่ามีปัจจัยอ่ืนท่ีส�ำคัญเช่นเดียว
นอกจากนี้ ด้วยลักษณะของส่ือที่เปล่ียนบทบาทความ กับอายุที่ท�ำให้ใช้สื่อได้อย่างรู้เท่าทัน เช่น การใช้งาน
สัมพันธ์ต่อสังคม ผู้ใช้ในกลุ่มทางสังคมท่ีแตกต่างกันมี อย่างหลากหลายกว้างขวาง ประสบการณ์ ความเช่ือ
การผลติ ซำ้� หรอื ตอ่ รองความหมายใหมด่ ว้ ยบรรทดั ฐาน ในความสามารถของตนเอง และการศึกษา
ทางสังคมที่เปล่ียนไป ท�ำให้ส่ืออาจไม่ตอบสนองต่อ มายาคติท่ีสามท่ีควรแก้ไข คือ การศึกษาสื่อ
ผลประโยชน์ของชุมชนโดยรวม รวมถึงอาจได้รับการ ไมค่ วรถกู ทง้ิ ใหเ้ ปน็ ความรบั ผดิ ชอบของสถาบนั การศกึ ษา
ยอมรับหรอื โต้แยง้ จากกลุม่ ทางสงั คมที่แตกตา่ งกนั เพียงแห่งเดียว เพราะหากเป็นเช่นนั้นการสร้างการรู้
หากทบทวนนิยามและขอบเขตของ “การรู้ เทา่ ทนั สอื่ จะไมถ่ กู ถา่ ยทอดไปยงั กลมุ่ วยั ผใู้ หญไ่ ด้ ความ
เท่าทันสื่อ” ในมุมมองใหม่ภายใต้บริบทของสื่อและ เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีการส่อื สาร รวมถึงอทิ ธพิ ล
สงั คมทมี่ คี วามซบั ซอ้ น จะพบวา่ นยิ ามของการรเู้ ทา่ ทนั ของสอื่ เปน็ สง่ิ ทผ่ี ใู้ ชส้ อ่ื ทกุ คนตอ้ งเผชญิ ทงั้ เยาวชนและ
สื่อที่เข้าใจกันแต่เดิมจะมุ่งเน้นไปที่ความรู้และทักษะ ผใู้ หญ่ ดงั นั้น การรเู้ ทา่ ทันสอื่ จงึ เป็นสง่ิ ท่คี นทุกชว่ งวยั
ของปจั เจกบคุ คล แตห่ ากพจิ ารณาถงึ ปจั จยั แวดลอ้ มจะ ควรเรียนรู้ การส่งเสริมการรู้เท่าทันส่ือให้เกิดขึ้นในวัย
พบวา่ มคี วามเชอ่ื ทเ่ี ขา้ ใจผดิ หรอื มายาคตเิ กย่ี วกบั การรู้ ผู้ใหญ่ข้ึนอยู่กับแรงจูงใจในการเรียนรู้มากกว่าอายุและ
เทา่ ทนั สอื่ ทตี่ อ้ งอาศยั การทบทวนและปรบั มมุ มองใหม่ ประสบการณ์
Livingstone et al. (2014) ไดก้ ลา่ วถงึ มายาคตขิ องการ มายาคติที่สี่ การรู้เท่าทันสื่อมักจะถูกมอง
รู้เท่าทนั สือ่ 5 ประการไว้ดงั นี้ ว่าเป็นความรู้ของการอ่านออกเขียนได้และใช้ส่ือเชิง
มายาคติแรก คือ มุมมองแบบเทคโนโลยีการ เทคนิคพื้นฐาน แท้จริงแล้วการรู้เท่าทันส่ือมีขอบเขต
สื่อสารเป็นตัวก�ำหนด (technological determin- ที่ขยายรวมไปถึงความคิดวิเคราะห์และความคิด
ism) มายาคติน้ีกล่าวอ้างว่าส่ือรวมถึงสื่อดิจิทัล มีผล สร้างสรรค์ในการเข้าร่วมสื่อสารในส่ือออนไลน์ ผู้ใช้
ต่อการเปล่ียนแปลงทุกส่ิงในสังคมท้ังด้านบวกและ สามารถสร้างสรรค์เน้ือหา แลกเปลี่ยนความรู้ และใช้
ด้านลบ ด้านบวกมองว่าส่ือสามารถเปลี่ยนแปลง ศกั ยภาพของตนเองในการมสี ว่ นรว่ มทางการเมอื งและ
ทุกอย่างให้ดีข้ึนได้ (techno-utopianism) หรือ ในฐานะพลเมอื ง
เปลี่ยนแปลงให้เลวร้ายลง (techno-dystopianism)
36 หลอมสื่อ รวมคน สหู่ นทางสรา้ งสรรค์
มายาคติที่ห้า คือ การรู้เท่าทันสื่อจะเกิดและ หลายประการไม่ว่าจะเป็นบริบททางสังคม ทุนทาง
พฒั นาขน้ึ ได้ หากผใู้ ชม้ คี วามคนุ้ ชนิ กบั สอื่ มากขน้ึ เรอื่ ย ๆ วฒั นธรรมและเศรษฐกจิ รวมถงึ ปจั จยั ทางดา้ นจติ วทิ ยา
กล่าวคอื หากผใู้ ช้มปี รมิ าณ ความถี่ และความตอ่ เนื่อง ของผู้ใช้สอื่ กลา่ วไดว้ ่า นยิ ามของการร้เู ทา่ ทันสอื่ จึงไม่
ในการใช้สื่อมากเท่าใด ผู้ใช้จะมีความรู้และทักษะการ สามารถใช้นิยามเดียวกันได้ในทุกบริบทสังคม ระดับ
ใช้ส่ือเพม่ิ ขึ้นมากตามไปด้วย แตก่ ารมองเฉพาะความรู้ (มาตรฐานที่ต้องการ) ของการรู้เท่าทันส่ือข้ึนอยู่กับ
เกี่ยวกับส่ือและทักษะการใช้สื่อไม่อาจหมายรวมได้ว่า บริบททางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งรวมถึงบรรทัดฐาน
ผใู้ ชม้ กี ารรูเ้ ท่าทันสอื่ เพิ่มมากขึน้ ค่านิยมทางสังคม ข้อก�ำหนดของการปฏิบัติในสังคม
จากการอา้ งองิ ถงึ งานของ Livingstone et al. และศีลธรรมจรรยา องค์ประกอบของการรู้เท่าทันส่ือ
(2014) จึงน�ำไปสู่ข้อเสนอในการเปล่ียนมุมมองของ จงึ ปรับเปลีย่ นไปตามบริบททางสงั คมที่แตกตา่ งกนั
การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื จากทกั ษะความรสู้ ว่ นบคุ คลไปเปน็ การ บุคคลพัฒนาการรู้เท่าทันส่ือในฐานะสมาชิก
เน้นถึงความหลากหลายและการฝังตัวตามบริบททาง ของสังคมที่มีความไม่เท่าเทียมในการกระจายตัวของ
สังคมวัฒนธรรมของการรู้เท่าทันสื่อ โดยมองว่าการรู้ ทรพั ยากรทางการเมอื ง สงั คม และเศรษฐกจิ ดงั นน้ั การ
เท่าทันส่ือมีมิติและระดับที่หลากหลาย และสัมพันธ์ รเู้ ทา่ ทนั สอื่ ตอ้ งพจิ ารณาประกอบรว่ มกบั ความสมั พนั ธ์
กับปัจจัยแวดล้อมและบริบททางสังคมการรู้เท่าทันส่ือ ระหวา่ งความสามารถทางเศรษฐกจิ และวฒั นธรรมของ
ในมุมมองใหม่เป็นหนึ่งในองค์ประกอบของการพัฒนา สงั คม และบรบิ ททางสงั คมของการใชเ้ ทคโนโลยี ทเี่ ปน็
นเิ วศสอ่ื ทป่ี ลอดภยั และสรา้ งสรรค์ ทถ่ี กู กลา่ วถงึ ในงาน ตวั กำ� หนดการตีความการปฏสิ มั พันธ์กบั ตัวบทดจิ ทิ ัล
ของ ชนญั สรา อรนพ ณ อยธุ ยา และคณะ (2561) ท่ี การสรา้ งการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื นอกเหนอื จากปจั จยั
มองว่าปัญหาของการรู้เท่าทันส่ือในปัจจุบันมาจาก 2 สว่ นบคุ คล คอื ทกั ษะการใชส้ อ่ื ความเขา้ ใจและความคดิ
สาเหตหุ ลัก คือ ปญั หาในส่วนความสามารถด้านบุคคล วิเคราะห์ ความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์/
และปัญหาในส่วนสภาพแวดลอ้ ม ปฏสิ มั พนั ธก์ บั ผอู้ นื่ ผา่ นสอ่ื แลว้ ยงั ตอ้ งพจิ ารณาถงึ ปจั จยั
ลักษณะการใช้งานสื่อดิจิทัลเป็นอีกเหตุ แวดล้อมอ่ืนด้วย ได้แก่ การศึกษาที่เก่ียวข้องกับสื่อ
ปัจจัยหน่ึงที่ส่งผลต่อการปรับเปล่ียนความหมาย นโยบายส่ือ ความพร้อมใช้และเข้าถึงของสื่อ บทบาท
ของการรู้เท่าทันส่ือ เนื่องจากการใช้ส่ือของผู้ใช้ใน ของอุตสาหกรรมสอื่ และภาคประชาสงั คม
บริบทส่ือดิจิทัลเป็นการใช้ความรู้และทักษะในการ นิยามของการรู้เท่าทันส่ือที่เปลี่ยนไป น�ำมาสู่
ใช้ส่ือเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะในบริบทการใช้เฉพาะ การปรับเปลี่ยนการเรียนรู้ เพื่อสร้างและพัฒนาการรู้
กล่าวคือ ส่ือดิจิทัลมีผลท�ำให้การใช้มีลักษณะเฉพาะ เทา่ ทนั สอ่ื แบบบรู ณาการและขา้ มสอ่ื โดยกา้ วขา้ มมายา
มากขึ้น (unique) ทั้งในแง่ของตัวเทคโนโลยีที่สร้าง คติเดิมที่มองว่า การเรียนรู้การรู้เท่าทันส่ือเป็นความ
ประสบการณ์ให้เกิดกับผู้ใช้เนื้อหา/สารท่ีมีการสร้าง รบั ผดิ ชอบของสถาบนั การศกึ ษาเปน็ หลกั การสรา้ งการ
แบบเฉพาะกลมุ่ มากขน้ึ รวมถงึ ผใู้ ชท้ ม่ี กี ารเลอื กเปดิ รบั เรยี นรกู้ ารรเู้ ทา่ ทนั สอื่ ภายใตเ้ งอ่ื นไขและปจั จยั แวดลอ้ ม
และเลอื กใชเ้ ทคโนโลยแี ละเนอ้ื หาเปน็ การเฉพาะ รวมถงึ หลายประการ จงึ นำ� มาสกู่ ารพฒั นาขอ้ เสนอแนะในการ
การรวมกลุ่มของบุคคลที่มีความคิดเห็นเฉพาะร่วมกัน เรียนรู้การรู้เท่าทันส่ือที่สามารถท�ำได้ท้ังในลักษณะ
คณุ ลกั ษณะเหลา่ นส้ี รา้ งประสบการณแ์ ละผลกระทบตอ่ ทางการและไม่เป็นทางการ รวมถึงการเรียนรู้ทักษะ
ผใู้ ชส้ ่อื ในระดับท่แี ตกต่างกันไป ดงั นั้น ผู้ใช้สือ่ ทีม่ คี วาม ข้ามสอ่ื ซึ่ง Carlos A. Scolari et al. (2018) ได้น�ำ
หลากหลายจงึ มรี ะดบั ของการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ทจี่ ำ� เปน็ ในมติ ิ เสนอวิธีการสร้างการรู้เท่าทันแบบไม่เป็นทางการและ
ทแี่ ตกต่างกนั ไปดว้ ย ขา้ มสื่อในแนวคดิ “ทกั ษะแบบขา้ มส่ือ” (transmedia
ภายใต้กระบวนทัศน์ของการรู้เท่าทันส่ือที่ skill) ทเี่ ปน็ ชดุ ของความสามารถทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การผลติ
ขยายขอบเขตกว้างขวางขึ้น และเก่ียวเนื่องกับปัจจัย การแลกเปลี่ยน และการบริโภคสื่อปฏิสัมพันธ์ดิจิทัล
ประกอบด้วย 9 มติ ิ คอื
สงั เคราะหอ์ งค์ความรู้จากงานวจิ ัย ภายใต้การสนบั สนุนของกองทนุ พัฒนาสอื่ ปลอดภยั และสร้างสรรค์ 37
(1) ทักษะการผลิต (production skills) เป็นความ (6) ส่ือและเทคโนโลยี (media and technology)
สามารถในการทำ� ความเขา้ ใจ วางแผน ผลติ แกไ้ ข และ/ เป็นทักษะท่ีครอบคลุมถึงความรู้เก่ียวกับสังคมและ
หรอื สร้างเนอื้ หาทีเ่ หมาะสมในการน�ำเสนอผา่ นภาษา เศรษฐกจิ ของสอื่ การบรโิ ภคสอ่ื ของผใู้ ช้ และภาษาและ
และแพลตฟอรม์ หลายหลายรูปแบบ คุณลักษณะของเทคโนโลยี
(2) การจดั การของบคุ คล (individual management) (7) การเล่าเร่ืองและสุนทรียะ (narrative and
คอื ความสามารถของบคุ คลในการบรหิ ารจดั การตนเอง aesthetics) เป็นทักษะการตีความการเล่าเรื่องและ
ในเรอื่ งของทรพั ยากร เวลา รวมไปถงึ อารมณค์ วามรสู้ กึ โครงสร้างการเล่าเร่ือง รวมไปถึงการวิเคราะห์และ
และอัตลกั ษณ์ของตนเอง ประเมินในด้านรูปแบบ คาแรกเตอร์ และคุณลักษณะ
(3) การจดั การสงั คม (social management) คอื ความ ดา้ นสุนทรยี ะ
สามารถในการสอื่ สาร ประสานงาน จดั การ นำ� และสอน (8) อดุ มการณ์และจริยธรรม (ideology and ethics)
ในขณะทีท่ ำ� กจิ กรรมและผลิตกับกลุ่ม เปน็ ทกั ษะการตรวจสอบและวเิ คราะหก์ ารนำ� เสนอของ
(4) การจดั การเนอื้ หา (content management) เปน็ ส่ือในเร่ืองการสร้างภาพเหมารวม และประเด็นด้าน
ทกั ษะการสบื คน้ เลอื ก จดั ระบบ การแพรก่ ระจาย และ จรยิ ธรรมทเี่ กย่ี วข้องกบั ลิขสทิ ธิ์ กลโกง และแฮกก้ิง
การแลกเปล่ียนเน้ือหา (9) การป้องกันความเสี่ยง (risk prevention) เป็น
(5) การกระท�ำ (performance) มิตนิ ้ีรวมการกระท�ำ/ ทกั ษะทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ความรแู้ ละการใชม้ าตรการในการ
การแสดงออกในกจิ กรรมส่ือทกุ ประเภทโดยใช้ร่างกาย ปอ้ งกนั ความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยในสอื่
(การแสดงละคร) ในบรบิ ทของชวี ติ จรงิ หรอื การเลน่ เกม
(วิดโี อเกม) ในบริบทเสมือนจริง
แผนภาพกลยทุ ธก์ ารเรยี นรแู้ บบไม่เป็นทางการและทกั ษะขา้ มสื่อ (Scolari et al.,2018)
38 หลอมสือ่ รวมคน สู่หนทางสรา้ งสรรค์
จากบทสังเคราะห์นี้อาจสรุปได้ว่า นิยามของ ส่ือท่ีเปล่ียนแปลงไป เป็นการปรับต�ำแหน่งใหม่จาก
การรู้เท่าทันส่ือไม่ใช่ความหมายของความรู้และทักษะ ผู้รับสารเป็นผู้มีส่วนร่วม และจากผู้ใช้และบริโภคสื่อ
การใชส้ อ่ื เชงิ เทคนคิ ทวั่ ไป และไมม่ นี ยิ ามถกู ตอ้ งตายตวั มาเป็นพลเมืองผู้ใช้สื่อ ความท้าทายในการศึกษาวิจัย
เพียงนิยามเดียว ซ่ึงถือเป็นข้อท้าทายของการศึกษา ถึงแนวคิดการรู้เท่าทันส่ือในภูมิทัศน์ส่ือที่เปลี่ยนแปลง
การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ในภมู ทิ ศั นส์ อื่ ทซี่ บั ซอ้ นมากขน้ึ แตอ่ าศยั ไป จงึ น�ำไปส่กู ารต้ังค�ำถามใน 3 ประเดน็ หลักคอื การรู้
การกำ� กับดูแลทม่ี กี ฎเกณฑ์ควบคมุ น้อยลง ผู้ใชส้ ือ่ ควร เทา่ ทนั สอ่ื คอื อะไร มติ แิ ละความหมายของการรเู้ ทา่ ทนั
สรา้ งทางเลอื กในการใชส้ อื่ ใหก้ บั ตนเองไดอ้ ยา่ งมคี วามรู้ สอ่ื เปลย่ี นแปลงไปอยา่ งไร และในภมู ทิ ศั นส์ อื่ ใหมน่ ี้ การรู้
ใช้สิทธิในการมีส่วนร่วมทางสังคมและเป็นพลเมือง เทา่ ทนั สอื่ มคี วามสำ� คญั และจะใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งไรบา้ ง
ผู้ใช้สื่อท่ีสร้างสรรค์อย่างมีประสิทธิภาพในภูมิทัศน์
เอกสารประกอบการเขยี น
ชนญั สรา อรนพ ณ อยุธยา, การดา รว่ มพ่มุ และ มาโนช ชมุ่ เมืองปัก. (2561). นเิ วศสื่อเพ่ือพฒั นาสอ่ื ปลอดภัย
และสร้างสรรค.์ กองทนุ พัฒนาส่ือปลอดภยั และสร้างสรรค์
บริษัท บันลือ พับลิเคช่ันส์ จ�ำกัด. (2563). โครงการ ELECT ส่ือข้อมูลการเมืองและเลือกต้ังไทย.
กองทุนพัฒนาส่อื ปลอดภยั และสร้างสรรค์
วโิ รจน์ สทุ ธสิ มี า, พมิ ลพรรณ ไชยนนั ท์ และ ศศธิ ร ยวุ โกศล. (2562) สถานภาพความรกู้ ารวจิ ยั เกยี่ วกบั การรเู้ ทา่ ทนั
ส่ือในประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ.2540 - 2560. กองทนุ พัฒนาส่ือปลอดภยั และสร้างสรรค์
วิโรจน์ สุทธิสีมา, พิมลพรรณ ไชยนันท์ และ ศศิธร ยุวโกศล. (2563). สถานภาพความรู้การวิจัยเก่ียวกับการรู้
เทา่ ทันส่ือในประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ.2540 - 2560. วารสารวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั
เชียงราย ปีที่ 15 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2563) : 209 – 238.
Livingstone, S. (2003). The changing nature and uses of media literacy. Media@LSE electronic
working papers (4). Media@lse, London School of Economics and Political Science, London,
UK. Retrieved February 15, 2021, from http://eprints.lse.ac.uk/13476/
Livingstone, S., Trültzsch-Wijnen, C., Papaioannou, T., Costa, C., & Grandío, M. (2014).
Situating Media Literacy in the Changing Media Ecology: Critical Insights from European
Research on Audiences. Retrieved February 15, 2021, from https://www.
researchgate.net/publication/272162821_Situating_Media_Literacy_in_the_Changing_
Media_Ecology_Critical_ Insights_from_European_Research_on_Audiences
Scolari, C., Masanet, M., Guerrero-Pico, M., Establés, M. (2018). Transmedia literacy in the new media
ecology: Teens’ transmedia skills and informal learning strategies. Retrieved February
15,2021, from https://www.researchgate.net/publication/326725907_Transmedia_literacy_
in_the_new_media_ecology_Teens'_transmedia_skills_and_informal_learning_strategies/
citation/download
สงั เคราะหอ์ งค์ความรู้จากงานวจิ ยั ภายใต้การสนบั สนุนของกองทนุ พฒั นาสือ่ ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ 39
3
งานศกึ ษาในกลุ่มของสื่อ นวตั กรรม
และการพัฒนา
ชนญั สรา อรนพ ณ อยุธยา
40 หลอมสือ่ รวมคน สหู่ นทางสรา้ งสรรค์
รวมงานวิจยั คดั สรร
โครงการนวัตกรรมการเล่าเรื่องขา้ มสอ่ื เพ่อื สร้างการมีส่วนร่วมเพอื่
ขับเคล่อื นสงั คม ภายใตโ้ ครงการพฒั นานวัตกรรมและองคค์ วามรู้เพอื่ ผลติ ส่อื ปลอดภยั
และสรา้ งสรรค์ (Thai Media Lab)
ผจู้ ดั ท�ำ
อภสิ ิทธ์ิ ศภุ กิจเจรญิ
โครงการพฒั นานวตั กรรมและองคค์ วามรเู้ พ่ือผลติ สอื่ ปลอดภยั และสร้างสรรค์ด�ำเนินงานวิจยั โครงการยอ่ ย
4 โครงการ โดยแบ่งเป็น 2 ส่วนคืองานวิจัยเพ่ือพัฒนานวัตกรรมส่ือต้นแบบส่ือภายใต้แนวคิดการเล่าเรื่องข้ามส่ือ
(Transmedia Storytelling) ในบริบทพืน้ ทแ่ี ละประเด็นทแ่ี ตกตา่ งจากงานวจิ ยั ไดแ้ ก่
1. งานวจิ ัยโครงการนวตั กรรมการเลา่ เรอ่ื งขา้ มสอ่ื เพอ่ื ชมุ ชน: กรณีการรณรงคป์ ัญหาหมอกควันจังหวัดเชียงราย
2. งานวิจัยโครงการนวัตกรรมการเล่าเรื่องข้ามส่ือและการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิง
วัฒนธรรม
3. งานวิจัยโครงการนวัตกรรมการเล่าเรอ่ื งขา้ มส่อื เพอ่ื สร้างการมสี ่วนรว่ มเพ่อื ขับเคลอ่ื นประเดน็ สงั คม
4. วจิ ยั การพฒั นาทกั ษะการคดิ และรเู้ ทา่ ทนั สอื่ หลกั แพลตฟอรม์ เพอื่ พฒั นาผผู้ ลติ สอ่ื ดว้ ยกระบวนการเลา่ เรอ่ื งขา้ มสอ่ื
โดยเก็บข้อมูล สังเกตและประเมินกระบวนการพัฒนานวัตกรรมของ 3 โครงการวิจัยนวัตกรรมสื่อ และ
ออกแบบกระบวนการพัฒนาทักษะการคิด การออกแบบสื่อ และการถ่ายทอดทักษะการผลิตเนื้อหาข้ามสื่อ ด้วย
กระบวนการออกแบบความคดิ Design Thinking เพอื่ เปน็ แนวทางในการพฒั นาผผู้ ลติ สอื่ ควบคไู่ ปกบั อกี 3 งานวจิ ยั
สังเคราะหอ์ งคค์ วามร้จู ากงานวิจัย ภายใต้การสนับสนนุ ของกองทนุ พัฒนาสอื่ ปลอดภยั และสร้างสรรค์ 41
ในการเลอื กพนื้ ทวี่ จิ ยั จะเปลยี่ นเปา้ หมายการ รุ่นใหม่ และการน�ำเสนอเรื่องของคนในและคนนอก
สอ่ื สารทต่ี อ้ งการทดลองการมีส่วนร่วม ในกลุ่มเยาวชน ชุมชนเพอื่ สง่ เสรมิ การทอ่ งเท่ยี วเชิงวัฒนธรรมโดยมีทมี
อายุ 18-24 ปี กลุ่มผู้ผลิตที่จะมาพัฒนากระบวนการ วจิ ยั วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็น
อายุ 18-24 ปี เป็นนักศึกษาท่ีมีพื้นฐานการเรียนด้าน ผู้ท�ำวจิ ยั ทดลองนวตั กรรมสือ่
การสื่อสารมวลชนเพ่ือทดลองกระบวนการในการ โครงการจาก 2 พน้ื ทค่ี อื เชยี งรายและกรงุ เทพฯ
พัฒนากระบวนการคิดสื่อสร้างสรรค์ในกลุ่มผู้ผลิตให้ เนน้ ความเชอ่ื มโยงระหวา่ งกลมุ่ เปา้ หมายทจี่ ะเปน็ ผผู้ ลติ
เปน็ ตน้ แบบ เพลง Agent ในกลุ่ม concerns เพือ่ เปน็ สอ่ื นวตั กรรมและพนื้ ทเ่ี ชงิ วฒั นธรรมและสงั คมเปน็ หลกั
แนวทางในการถอดบทเรยี นกระบวนการพฒั นาสกู่ ารนำ� ได้น�ำมาสู่การพัฒนากระบวนการสื่อสารตามแนวคิด
ไปออกแบบการพฒั นาผผู้ ลติ กลมุ่ อนื่ ๆ ตอ่ ไป เมอื่ มกี าร การเลา่ เรอ่ื งขา้ มสอื่ การสรา้ งประสบการณใ์ หเ้ กดิ การมี
เลือกกลุ่มเป้าหมายแล้วทีมวิจัยมีการเก็บข้อมูลพบว่า ส่วนร่วมระหวา่ งคนกลุ่มตา่ ง ๆ กบั เนือ้ หาเร่ืองราวและ
มปี ระเด็นเร่อื งส่ิงแวดลอ้ ม ปัญหาการศกึ ษา และเรือ่ ง ผู้ผลิตสอื่ เป็นสิ่งส�ำคญั จงึ เปน็ ประเด็นเป้าหมายในการ
ไลฟ์สไตล์การท่องเที่ยวน�ำไปสู่การวางกรอบประเด็น ทดลองพัฒนานวัตกรรมส่ือ โดยมีทีมวิจัยคณะสื่อสาร
และพน้ื ที่ในการท�ำวิจัยทดลองนวัตกรรมส่ือ มวลชน มหาวทิ ยาลยั รามคำ� แหงและคณะนเิ ทศศาสตร์
พื้นท่ีเชียงรายมีความหลากหลายในมิติของ สถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์เป็นผศู้ กึ ษา/วจิ ยั เพอื่
วัฒนธรรมประชากรท้องถิ่น และปัญหาของชุมชน หารปู แบบของส่ือและกระบวนการส่ือสาร
ที่สอดคล้องกับระดับประเทศคือ เร่ืองฝุ่นควัน อีกทั้ง การใช้กรอบแนวคิดในกระบวนการพัฒนา
การส�ำรวจเบื้องต้นพบว่า ปัญหาเร่ืองสุขภาพและสิ่ง นวัตกรรมสื่อท้ัง 3 โครงการ พบว่าการพัฒนาส่ือ
แวดล้อมเป็นหนึ่งในประเด็นที่วัยรุ่นให้ความสนใจและ สรา้ งสรรคไ์ มไ่ ดเ้ รม่ิ ตน้ จากการวางวา่ ตอ้ งการใชส้ อื่ อะไร
อยากพฒั นาการสอ่ื สารแบบมสี ว่ นรว่ ม โดยยงั มมี ติ ขิ อง ในการส่ือสารในกระบวนการ เริ่มแรกจะพบว่าเมื่อให้
ความเปน็ ชาตพิ นั ธท์ุ หี่ ลากหลาย บรบิ ทของการทดลอง โจทย์ของการพัฒนาสื่อ ผู้ผลิตจะคิดว่าใช้สื่ออะไร แต่
พฒั นานวตั กรรมสอ่ื ระหวา่ งประเดน็ ทางสงั คมคนทว่ั ไป เม่ือเริ่มคิดจากตัวสื่อ ส่ิงที่หายไปคือประเด็นเร่ืองราว
คนเชียงราย และกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นกลุ่ม เป้าหมายและประสบการณ์ท่ีจะน�ำไปสู่เป้าหมาย
คนที่สังคมภายนอกต้ังค�ำถาม เป็นเหตุของการเผาป่า ของการสื่อสาร เม่ือมีการปรับกระบวนการคิดโดย
และเกิดปัญหาฝุ่นควนั ซงึ่ วยั รนุ่ กลมุ่ เป้าหมายตอ้ งการ การมีส่วนร่วมจากชุมชน จากคนในสังคมต่อประเด็น
สื่อสารความเข้าใจระหว่างชุมชนและสังคมที่มีมิติใน ท่ีต้องการส่ือสาร และการวิเคราะห์ประสบการณ์ท่ี
การทดลองพัฒนารปู แบบการเล่าเร่อื งขา้ มสอื่ โดยมที มี ต้องการให้คนรู้จักคิดและลงมือท�ำ พบว่าผู้ผลิตใน
นกั วจิ ยั จากคณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กระบวนการวิจัยเห็นประเด็นและมุมมองการเล่าเร่ือง
เชียงรายเปน็ ผู้ทำ� วิจัยทดลองนวตั กรรมสื่อ ทตี่ อ้ งตอบโจทยก์ ลมุ่ เปา้ หมายใหต้ รงตามเปา้ หมายของ
พน้ื ทก่ี รงุ เทพฯ เปน็ พนื้ ทที่ มี่ ชี มุ ชนโบราณยา่ น การสือ่ สารใหม้ ากข้ึน กระบวนการออกแบบนวตั กรรม
เกาะรัตนโกสินทร์ซ่ึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวทั้งส�ำหรับ สื่อจึงเน้นท่ีการวิเคราะห์ประสบการณ์ และเลือกใช้
คนไทยและต่างประเทศอยู่หลายชุมชน วิทยาลัย ส่ือท่ีจะสามารถท�ำให้เกิดประสบการณ์ที่วางไว้และ
นวตั กรรม มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตรไ์ ดท้ ำ� งานประสาน เม่ือต่อร้อยประสบการณ์แล้ว เกิดผลของการสื่อสาร
ความร่วมมืออยกู่ บั ชมุ ชนนางเลง้ิ บางลำ� ภู ซง่ึ เปน็ พนื้ ท่ี ข้ันตอนของการออกแบบและผลิตนวัตกรรมสื่อ จึง
ชุมชนท่ีมีเร่ืองเล่าเชิงวัฒนธรรมประวัติศาสตร์ และ เปน็ การวิเคราะหผ์ ู้รับสาร วเิ คราะห์ประเด็น วเิ คราะห์
เป็นแหล่งท่องเที่ยวท่ีชุมชนต้องการพัฒนาและส่ือสาร ประสบการณ์ผู้รับสารต่อประเด็น วิเคราะห์เป้าหมาย
ประเดน็ ทางสงั คม อกี ทงั้ คนรนุ่ ใหมส่ นใจเรอ่ื งการทอ่ งเทยี่ ว ปลายทาง และออกแบบประสบการณ์ในระดับปัจเจก
ซง่ึ กรอบในการวจิ ยั ตอ้ งการศกึ ษาวา่ การเชอื่ มโยงคนรนุ่ และในระดับของการมีส่วนร่วมกับผู้อ่ืน เพื่อให้เกิด
ใหมส่ เู่ ร่ืองราวของชมุ ชน ในรปู แบบการสือ่ สารของคน กระบวนการรคู้ ดิ ทำ� ตามเปา้ หมายสอื่ สารทวี่ างไวแ้ ลว้ จงึ
42 หลอมสอ่ื รวมคน สู่หนทางสรา้ งสรรค์
เลอื กใชแ้ ละชอ่ งทางการเผยแพรล่ ำ� ดบั การวางแผนการ กระบวนการสอ่ื สารโดยการสรา้ งวธิ กี ารเลา่ เรอ่ื ง
เผยแพรส่ อ่ื จำ� นวนมาก ใหม้ คี วามเชอ่ื มโยงสอดคลอ้ งกนั เพ่ือหาจุดเข้าสู่เน้ือหาและจุดสร้างประสบการณ์ร่วม
โดยตอ้ งวเิ คราะหก์ ารเดนิ ทางของผรู้ บั สารเพอื่ ใหโ้ ยงกบั และรูปแบบการเล่าเร่ืองและสื่อลักษณะใดท่ีจะสร้าง
ประสบการณแ์ ละรบั ส่ือทง้ั หมดเป็นเพียงเรือ่ งทน่ี ำ� ไปสู่ การมีส่วนร่วมกับกลุ่มเป้าหมายให้ได้ นอกจากนี้ยังมี
แกน่ แกนและเป้าหมายของการสื่อสาร กิจกรรมออฟไลน์ซ่ึงช่วยขยายส่วนต่อของโลกเนื้อหา
การออกแบบกระบวนการสอ่ื สาร Media กับ และชอ่ งทางการเขา้ ถงึ เรอื่ งราว ตามแนวคดิ ในเฟสแรก
ชมุ ชนในประเดน็ หมอกควนั ของทมี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพื่อให้เห็นนวัตกรรมเชิงกระบวนการว่าท�ำอย่างไรคน
เชียงรายพบว่า กระบวนการสอ่ื สารดว้ ยการใชส้ อ่ื ตา่ ง ๆ จะเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม คนจะมพี ฤตกิ รรมกบั ประเดน็ ในเชงิ
เพ่ือให้เกิดประสบการณ์ร่วมของการเข้าใจประเด็น สังคมอย่างไร และนวตั กรรมเนอ้ื หาเปน็ อยา่ งไร เน้อื ที่
ปัญหาร่วมกันระหว่างคนในและคนนอกชุมชน เพื่อ ในการพัฒนารูปแบบการเล่าเร่ืองการเข้าใจรูปแบบ
ให้เกิดการสื่อสารในประเด็นที่ถูกต้องและส่ิงท่ีชุมชน เลา่ เรอ่ื งบนสอื่ ออนไลนป์ ระเภทตา่ ง ๆ เพือ่ ต้องการให้
ต้องการส่ือ ส่ิงที่ได้เรียนรู้ร่วมกันและเกิดขึ้นในระดับ เนอ้ื หาท่นี �ำเสนอนั้นมีจดุ เข้าสเู่ นอ้ื หาทหี่ ลากหลายช่อง
Change Agent คือ เมื่อต้องการส่ือสารเร่ืองชุมชน ทาง และมองเห็นกลุ่มคนอายุ 18-24 ปี ท่ีนิยมใช้ส่ือ
ผู้ส่ือสารต้องเช่ือมประสบการณ์จากชุมชนกับของ ออนไลน์เป็นหลกั
ตัวเองให้ได้และถ่ายทอดประสบการณ์น้ันในรูปแบบ ในส่วน On Ground ทั้ง 2 ทีมได้ทดลอง
ของสื่อท่ีผสมผสานระหว่างส่ือท่ีเหมาะกับคนทั่วไปกับ ท�ำกิจกรรมให้เกิดช่องทางเช่ือมโยงระหว่างออนไลน์
สอ่ื ทีเ่ หมาะกบั ชมุ ชนเพือ่ ใหเ้ กดิ การสอ่ื สารท่ีสอดคลอ้ ง และออฟไลน์ เพ่ือสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมกับ
ไปในทศิ ทางเดยี วกนั สรา้ งความเขา้ ใจและนำ� ไปสวู่ ธิ กี าร ผู้รับสารโดยตรง ผู้ผลิตสามารถสร้างจุดเข้าสู่เน้ือหา
สอ่ื สารเพอ่ื เปน็ เคร่ืองมอื ในการแก้ปญั หา (Entry Point) ท่ีหลากหลายมากยิ่งขึ้นโดยไม่ยึดติด
กระบวนการเลา่ เรอื่ งขา้ มสอื่ เพอื่ สอื่ สารทอ่ งเทยี่ ว อยู่กับแพลตฟอร์ม (Platform) ที่ตัวเองมีเท่านั้น แต่
เชิงวัฒนธรรมต้องเป็นการสร้างประสบการณ์ท่ีเชื่อม ยังสามารถผลิตเน้ือหากระจายไปยังแพลตฟอร์มอื่นท่ี
ความสนใจของคนแต่ละกลุ่ม วิเคราะห์ประสบการณ์ กำ� ลงั เปน็ ทน่ี ยิ มกบั กลมุ่ เปา้ หมายอกี ดว้ ย นอกจากนยี้ งั
ท้ังในเชิงวัฒนธรรมเร่ืองเล่าชุมชน ของดีชุมชน การ เกดิ การกระตนุ้ ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งผผู้ ลติ กบั เนอ้ื หามาก
ท่องเที่ยว และไลฟ์สไตล์ต่าง ๆ ให้มาผนวกกัน โดย ยิ่งข้ึน ในรูปแบบของ Fan Content สามารถนำ� คนที่
ออกแบบให้สื่อสารการสร้างประสบการณ์ต่อพื้นท่ี สนใจท�ำกิจกรรม แล้วน�ำเสนอออกไปรวมถึงกิจกรรม
ชุมชนอย่างหลากหลาย ขณะเดียวกันก็ดึงหัวใจของ on Ground ที่ดึงดูดให้คนมีปฏิสัมพันธ์ทั้งบนพื้นท่ี
พื้นท่ีมาเชื่อมจากวัฒนธรรมภายใน(ชุมชน) สู่คน ออฟไลน์และการรบั รบู้ นโลกออนไลนไ์ ปพร้อมกนั เปน็
ภายนอก (ชุมชน – outsider) เพื่อใหเ้ กดิ การติดตาม รปู แบบของการพฒั นากระบวนการสอ่ื สารทท่ี ำ� ใหเ้ หน็ ถงึ
เร่ืองราวที่มีทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมที่ด�ำเนิน 1) กระบวนการสรา้ งการมสี ่วนรว่ ม
มาต้ังแต่ยุคสมัยก่อนจนกระทั่งถึงปัจจุบัน การสร้าง 2) การใช้ประสบการณ์ท่ีหลากหลายเช่ือม
ประสบการณ์ต่อความภาคภูมิใจและถ่ายทอดสิ่ง ผู้รับสารท่ีมีความสนใจท่ีแตกต่างเข้าสู่แก่นของเร่ืองท่ี
เหล่าน้ันออกมา การเชื่อมโยงชุมชนภายนอก ในขณะ ตอ้ งการส่อื สาร
เดียวกันกพ็ ัฒนา Change Agent คนรุ่นใหมท่ ีผ่ ลติ สอื่ 3) กระบวนการส่ือสารข้ามสื่อเพื่อสื่อสาร
ดว้ ยความเขา้ ใจดว้ ยหวั ใจของคนในชมุ ชน ใหเ้ หมาะกบั บริเวณสังคมที่ส�ำคัญ กล่าวคือการท�ำให้ผู้เล่าเร่ือง
ผรู้ บั สารและถา่ ยทอดประสบการณพ์ เิ ศษใหก้ บั คนนอก สามารถเชื่อมโยงประสบการณ์เนื้อหาสู่ชีวิตจริง ผู้ได้
ชุมชนได้รับรูถ้ งึ คุณคา่ ของหวั ใจน้ี รบั สาร กส็ ามารถเชอื่ มโยงคดิ ตามวเิ คราะหว์ พิ ากษแ์ ละ
เปรยี บเทียบกบั ความเป็นจริงของชวี ติ ของตนได้
สงั เคราะห์องคค์ วามรูจ้ ากงานวจิ ัย ภายใตก้ ารสนับสนุนของกองทุนพฒั นาส่อื ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ 43
จุดร่วมของท้ัง 3 โครงการพัฒนานวัตกรรม พัฒนาทักษะในการเป็น prosumer คือการเข้าใจ
สื่อคือกระบวนการคิดสื่อสร้างสรรค์ที่ออกแบบ บทบาทของการเป็นท้ังผู้รับสารและผู้ผลิตส่ือในเวลา
กระบวนการสื่อสารเพื่อสร้างประสบการณ์การมีส่วน เดียวกัน โดยสิ่งที่เข้าใจผ่านกระบวนการ เพื่อน�ำไป
ร่วม โดยมีเป้าหมายของการผลักดันพฤติกรรมท่ีเรียก ต่อยอดในการพัฒนาผู้ผลิตส่ือกลุ่มต่าง ๆ ให้สามารถ
ว่า Action ใหเ้ ปน็ เปา้ หมายทางการออกแบบส่ือทคี่ ดิ สรา้ งสรรคส์ อ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ สงั คม รวมถงึ มองเหน็
กระบวนการสอ่ื สาร เพอื่ ทำ� ใหผ้ รู้ บั สารรสู้ กึ คดิ ลงมอื ทำ� รูปแบบของธุรกิจและการต่อยอดรูปแบบการสื่อสาร
ซงึ่ เปน็ กระบวนการสอ่ื สารทผี่ สมผสานการเลา่ เรอ่ื ง การ ตามเป้าหมายท่ีแตกตา่ งได้อีก
เลือกใช้เทคโนโลยี และการเข้าใจผู้รับสารเพ่ือผลักดัน ส่ิงท่ีเกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนา Change
ใหเ้ กดิ การสอื่ สารตามเปา้ หมายคอื หวั ใจของการพฒั นา Agent คือผู้ผลิตส่ือท่ีผ่านกระบวนการวิจัยแบบมีส่วน
สอ่ื สารสรา้ งสรรค์ตามแนวคดิ ของการเล่าเร่ืองขา้ มสื่อ ร่วมท�ำงานร่วมกับคนในชุมชนพ้ืนท่ี มองเห็นมิติของ
สว่ นงานวจิ ยั พฒั นาทกั ษะการคดิ และรเู้ ทา่ ทนั สอื่ เรื่องราวและเข้าใจกระบวนการสื่อสารท่ีจะสื่อสาร
หลกั แพลตฟอรม์ เพอ่ื พฒั นาผผู้ ลติ สอื่ ดว้ ยกระบวนการ ให้หลากมุมมอง เพ่ือให้เกิดประสบการณ์ท่ีเชื่อมโยง
เล่าเรื่องข้ามส่ือ ท�ำให้เห็นการสร้าง Change Agent ระหว่างคนในพื้นที่และนอกพ้ืนท่ีได้ หากน�ำไปพัฒนา
ในกระบวนการส่ือสารข้ามสื่อท่ีสามารถน�ำไปต่อยอด ส่ือในลักษณะน้ีจะเป็นกระบวนการท่ีเช่ือมความเข้าใจ
การพัฒนาผู้ผลิตสื่อให้คิด วิเคราะห์ และออกแบบ ต่อประเด็นการส่ือสารท่ีมีโอกาส มีประสิทธิภาพ
ส่ือสร้างสรรค์ตามโจทย์ทั้งผู้รับสารและเป้าหมาย ในการเกิดผลตามเป้าหมายอย่างสร้างสรรค์ ขณะ
การส่ือสารเพ่ือสังคมได้ เมื่อถอดกระบวนการพัฒนา เดียวกันกระบวนการท่ีผู้ผลิตทดลองท�ำกับประเด็น
ผู้ผลิตส่ือและกระบวนการพัฒนากระบวนการส่ือสาร สงั คม การสรา้ งพน้ื ทก่ี ารมสี ว่ นรว่ มกบั คนในสงั คมเชอ่ื ม
ของผูอ้ ยู่ในโครงการ ไดโ้ มเดลของกระบวนการสอ่ื สาร ประสบการณท์ แี่ ตกตา่ งของแตล่ ะกลมุ่ ใหม้ าเจอกนั เปน็
และพฒั นาการเลา่ เรอื่ งขา้ มสอื่ ดว้ ยการคดิ เชงิ ออกแบบ โอกาสของการเกดิ การมสี ว่ นรว่ มขบั เคลอ่ื นประเดน็ ใช้
จากกระบวนคิดการออกแบบกระบวนสือ่ สาร Design ประสบการณจ์ ากการสอ่ื สารแบบมสี ว่ นรว่ มใหเ้ กดิ พลงั
Thinking & Transmedia พบวา่ การพฒั นา Change ของคนทกุ ฝ่ายรว่ มกนั ได้
Agent เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในตัวผู้ผลิตสื่อมีการ
44 หลอมสอื่ รวมคน สหู่ นทางสร้างสรรค์
สังเคราะหอ์ งค์ความรจู้ ากงานวิจยั ภายใต้การสนบั สนุนของกองทนุ พฒั นาส่ือปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ 45
การวจิ ัยเชิงปฏิบตั ิการแบบมีสว่ นรว่ มเพอ่ื พัฒนาคมู่ ือการรายงานข่าวสทิ ธิเด็กบนสื่อ
สังคมออนไลน์
ผู้จดั ทำ�
ปาจารยี ์ ปรุ ินทวรกลุ
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพ่ือพัฒนาคู่มือการรายงานข่าวสิทธิเด็กบนสื่อสังคมออนไลน์มี
วตั ถปุ ระสงค์คอื
1) เพื่อคน้ หาชดุ ความรดู้ ้านการปกปอ้ งคุม้ ครองสทิ ธิเดก็ บนสอื่ สงั คมออนไลน์สำ� หรบั สอื่ มวลชน
2) เพอ่ื สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของเดก็ ผปู้ กครอง บคุ ลากรทท่ี ำ� งานในองคก์ รเครอื ขา่ ยภาคประชาสงั คมทท่ี ำ� งาน
ด้านสทิ ธเิ ด็ก นกั วชิ าการ และสอื่ มวลชนในการพฒั นาคมู่ อื การรายงานข่าวสิทธเิ ดก็ บนสือ่ สงั คมออนไลน์
3) เพ่ือน�ำเสนอชุดความรู้ด้านการปกป้องคุ้มครองสิทธิเด็ก ท่ีพัฒนาเป็นคู่มือการรายงานข่าวสิทธิเด็ก
บนสอื่ สงั คมออนไลน์ ในทางการปรบั ปรงุ นเิ วศสอื่ สงั คมออนไลนใ์ หเ้ ปน็ พน้ื ทปี่ ลอดภยั และสรา้ งสรรคส์ ำ� หรบั เดก็ ผา่ น
การมสี ว่ นรว่ มขององคก์ รเครอื ขา่ ยภาคประชาสงั คมทที่ ำ� งานดา้ นสทิ ธเิ ดก็ องคก์ รวชิ าชพี สอ่ื มวลชนและสถาบนั การ
ศกึ ษาดา้ นสื่อสารมวลชนหรอื นิเทศศาสตร์
งานวจิ ยั นเี้ ปน็ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การศกึ ษา เผยแพรค่ มู่ อื ฉบบั พมิ พแ์ ละฉบบั ออนไลน์ ผลการศกึ ษา
เอกสาร ไดแ้ ก่ กฎหมายไทยท่ีเก่ียวขอ้ งกับการรายงาน พบว่า
ข่าวสิทธเิ ดก็ ทางสอ่ื สังคมออนไลน์ 5 ฉบบั แนวปฏบิ ตั ิ 1. การปกป้องสิทธิเด็กในการรายงานข่าวผ่านส่ือ
ในการรายงานข่าวขององค์กรวิชาชีพสื่อมวลชนไทย
และต่างประเทศ 6 องคก์ ร และสรา้ งการมสี ว่ นร่วมใน สังคมออนไลน์ภายใต้กฎหมายไทยมีสาระส�ำคัญ
ระดบั ผวู้ างแผนหรอื กำ� หนดนโยบาย และระดบั ผสู้ ง่ หรอื 2 ประการคือ
ผลิตสารกับองค์กรเครือข่ายภาคประชาสังคมที่ท�ำงาน
ด้านสิทธิเด็กในพื้นท่ีภาคกลางและภาคตะวันออก 22 1) แนวปฏิบัติเบื้องต้นในการรายงานข่าวสิทธิ
องคก์ ร โดยใชก้ ารสนทนากลมุ่ และสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ จาก เดก็ บนสอื่ สงั คมออนไลน์ วิชาชพี ส่อื มวลชนทั้งไทย
นนั้ นำ� ขอ้ มลู มาพฒั นารา่ งคมู่ อื การรายงานขา่ วสทิ ธเิ ดก็ และต่างประเทศให้ความส�ำคัญกับการขออนุญาต
บนสอ่ื สงั คมออนไลนแ์ ลว้ นำ� เขา้ สกู่ ระบวนการคนื ขอ้ มลู และบันทึกภาพเด็กตั้งแต่การค�ำนึงถึงสิทธิในการ
แกอ่ งคก์ รเครือขา่ ยภาคประชาสงั คมท่ที ำ� งานดา้ นสทิ ธิ อนุญาต ข้อมูลแนวทางปฏิบัติในการสัมภาษณ์
เดก็ นกั วชิ าการดา้ นนเิ ทศศาสตรแ์ ละสอ่ื มวลชนรวม 31 และบันทึกภาพ ตลอดจนแนวปฏิบัติเม่ือเผยแพร่
องคก์ ร เพอ่ื รบั ฟงั ความคดิ เหน็ และประเมนิ ความเหมาะสม ข้อมูลขณะที่องค์กรเครือข่ายภาคประชาสังคมให้
ของร่างคู่มือ จากน้ันน�ำมาพัฒนาคู่มือให้สมบูรณ์ก่อน ความสำ� คญั เรอ่ื งการขออนญุ าตในลกั ษณะเดยี วกนั
พรอ้ มทงั้ เพม่ิ เตมิ แนวปฏบิ ตั เิ บอื้ งตน้ เกยี่ วกบั ขอ้ มลู
46 หลอมสือ่ รวมคน สู่หนทางสร้างสรรค์
จากสื่อสังคมออนไลน์ของเด็ก และใช้ภาพจ�ำลอง 5) เดก็ กบั HIV เดก็ จะถกู ตตี ราทำ� ใหเ้ กดิ บาดแผล
เหตกุ ารณใ์ นการรายงานข่าวเดก็ ในใจและอาจไมย่ อมรบั ความชว่ ยเหลอื สง่ ผลใหเ้ ดก็
ป่วยเพ่มิ ขึ้นหรือแพรเ่ ชอื้ ให้ผ้อู ื่น
2) ขอ้ มูลผลกระทบเมอ่ื เด็กเปน็ ข่าวบนสอ่ื สงั คม
ออนไลน์ จากการศึกษาแนวปฏิบัติในการรายงาน 3. แนวทางการรายงานข่าวเด็กกลุ่มต่าง ๆ บนสื่อ
ข่าวสิทธิเด็กขององค์กรวิชาชีพสื่อมวลชนไทย สังคมออนไลน์
และต่างประเทศ ไม่พบข้อมูลเก่ียวกับผลกระทบ 1) หากละเมิดโดยการเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตัว
ต่อเด็กแต่ละกลุ่มอย่างชัดเจนอย่างไรก็ตามการมี เด็ก คือท�ำให้เด็กเกิดความเสียหายหรือแสวงผล
ส่วนร่วมของภาคประชาสังคมและสะท้อนมุมมอง ประโยชน์ มโี ทษจำ� คกุ 6 เดอื นปรบั 60,000 บาท
ดังนี้คือ (1) กลุ่มเด็กท่ัวไปมีผลกระทบที่ส�ำคัญ เสนอภาพจำ� ลองของเดก็ ได้ แตถ่ า้ เปน็ ภาพเชงิ ลบตอ้ ง
คอื การรายงานขา่ วท่เี ปน็ ปญั หาของผใู้ หญ่ เชน่ พอ่ ปดิ บงั ตวั ตน ไม่เสนอภาพลามกอนาจารหรือท�ำให้
แม่กระท�ำความผิด ส่งผลให้เด็กถูกตอกย้�ำปัญหา เด็กมีความเส่ียงและด้านลบใด ๆ รวมทั้งเรื่องเพศ
ในครอบครัว ถูกล้อเลียน การถูกตีตราให้อับอาย และการกระท�ำความผดิ ใด ๆ ดว้ ย
เด็กและครอบครัวไม่สามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติ 2) แนวทางการรายงานข่าวเด็กมีความเฉพาะ
(2) ปัญหาเกีย่ วกับความหลากหลายทางเพศทเี่ ด็ก ได้แก่ เด็กที่ถูกกระท�ำต้องปกปิดตัวตนของเด็ก
อาจจะถูกตีตราถูกดูหม่ินถูกลอ้ เลยี นถกู กลน่ั แกลง้ และคนใกล้ชิด รวมท้ังคนร้ายที่ท�ำให้รู้ถึงตัวเด็ก
(bully) (3) การขาดพน้ื ทใี่ นการมสี ว่ นรว่ ม (4) การนำ� ยกเว้นกรณีเด็กสูญหาย หากฝ่าฝืนมีโทษจ�ำคุก
เสนอความเกง่ หรอื ความสามารถของเดก็ ทก่ี ลบั ถกู 6 เดือน ปรับ 60,000 บาท การเสนอภาพคลิป
มองในเชิงลบและถกู ขุดคุ้ยประวตั ิ และ (5) ปัญหา ลามกอนาจาร โทษจ�ำคุก 5 ปี ปรับ 1 แสนบาท
อ่ืน ๆ เช่นการน�ำภาพไปตดั ต่อเพื่อหาผลประโยชน์ สามารถใชผ้ า้ การต์ นู หรอื คำ� บรรยายแทนภาพเดก็
ได้ ถา้ เดก็ เสยี ชวี ติ ใหใ้ ชภ้ าพหนา้ ตรงได้ แตต่ อ้ งไมใ่ ห้
2. กลมุ่ เด็กทม่ี ีความเฉพาะ ประกอบด้วย ก่อใหเ้ กดิ ความเสียหาย
1) เด็กที่ถกู กระท�ำความรุนแรง ทอี่ าจจะสง่ ผล 3) เดก็ ทก่ี ระทำ� ผิด ปกปดิ ตวั ตนของเด็กทุกกรณี
รวมทั้งข้อมูลภาพและเสียงในการสอบสวน หาก
ตอ่ ปญั หาทางดา้ นจติ ใจทงั้ ในระยะสน้ั และระยะยาว ฝา่ ฝนื มีโทษทงั้ จำ� และปรบั ประเด็นในการน�ำเสนอ
2) เด็กท่กี ระทำ� ความผิด ซง่ึ เด็กอาจจะถกู ตตี รา จะต้องค�ำนึงถึงประโยชน์ของเด็กเป็นส�ำคัญ ไม่ใช้
คำ� รนุ แรงเปน็ การตดั สนิ ตวั เดก็ สามารถใชค้ ำ� วา่ เดก็
ถูกตอกย้�ำ ไม่สามารถกลับไปใช้ชีวิตกับครอบครัว ผตู้ อ้ งสงสยั หรอื เดก็ ผถู้ กู กลา่ วหาวา่ กระทำ� ความผดิ
หรือชุมชนโดยปกติได้ เนื่องจากอาจจะถูกขุดคุ้ย หรอื เด็กท่ีกระท�ำความผดิ ได้
ประวัติ สง่ ผลให้เดก็ อาจจะกระทำ� ความผดิ ซ้�ำอกี 4) เด็กที่อยู่ในภาวะยากล�ำบาก ต้องระวังการ
เปดิ เผยข้อมูลและภาพของเด็ก การระบุชื่อสถาน
3) เด็กที่อยู่ในภาวะยากล�ำบาก ในเชิงบวกเด็ก สงเคราะหต์ ้องขออนญุ าต การเสนอภาพและเรื่อง
และครอบครวั จะไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื แตบ่ างกรณี ราวในเชิงบวกของเด็ก ระวังผลกระทบต่อจิตใจ
ความชว่ ยเหลอื กไ็ มต่ รงกบั ความตอ้ งการของเดก็ กอ่ ช่ือเสียง และสิทธิประโยชน์ของเด็ก หากฝ่าฝืนมี
ให้เกิดปัญหาในครอบครัวถูกล้อเลียนและถูกมอง โทษจำ� คกุ 6 เดอื น ปรบั 60,000 บาท โดยตอ้ งตรวจ
เป็นเรื่องตลก สอบความน่าเชื่อถือขององค์กรที่อ้างว่าท�ำเพ่ือ
4) เดก็ พกิ าร ในเชงิ บวกเดก็ และครอบครวั อาจจะ ประโยชน์ของเด็กและคนติดตามสรุปสถานการณ์
ไดร้ บั ความช่วยเหลอื แตอ่ าจจะถกู ล่วงละเมิดหรือ ในการชว่ ยเหลือเดก็ ดว้ ย
กระท�ำความรุนเเรง ถ้าถูกน�ำเสนอภาพว่าเด็กเป็น
ผอู้ ่อนแอ ท�ำใหต้ กเป็นเปา้ หมายได้
สังเคราะหอ์ งค์ความรจู้ ากงานวจิ ยั ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ของกองทุนพฒั นาสอื่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ 47
5) เด็กกับ HIV ตอ้ งมีความระมดั ระวังไมใ่ ห้เกดิ เกดิ ความตระหนกั มากยงิ่ ขนึ้ ขณะทส่ี อ่ื มวลชนให้ความ
การตอกยำ�้ ตตี รา หรอื นำ� ไปสสู่ ภาพจติ ใจกบั เดก็ ทง้ั ส�ำคัญเรื่องการค้นหาข่าวย้อนหลังที่อาจส่งผล กระทบ
ปจั จุบันและเตบิ โตข้นึ ตอ่ เดก็ และประโยชนส์ งู สดุ ในอดตี อาจเปน็ โทษอนาคต
เช่น กรณีเด็กหายและสื่อต้องไม่อ้างการอนุญาตจาก
6) เดก็ พิการ ตอ้ งระวังการนำ� เสนอขอ้ มูลและ ผู้ปกครองในตัวเด็กในการเสนอข่าว พร้อมเสนอให้มี
ภาพของเดก็ เว้นแต่ได้ขออนุญาต การอบรมกฎหมายให้กับส่ือมวลชนให้รับทราบถึงบท
ลงโทษ ก�ำหนดความผิดทางจริยธรรมที่สอดคล้องกับ
ขอ้ เสนอแนะในเชงิ นโยบายตอ่ องคก์ รเครอื ขา่ ย ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบายในคู่มือ กลุ่มนักวิชาการได้
ภาคประชาสังคมที่ท�ำงานด้านสิทธิเด็กเสนอให้หน่วย สะทอ้ นความเหน็ วา่ คมู่ ือเป็นแนวปฏบิ ัติที่ดีสามารถนำ�
งานท่ีเกย่ี วขอ้ ง ทง้ั ภาครัฐ เอกชน และองค์กรวิชาชีพ ไปใชเ้ ปน็ สอื่ การเรยี นการสอนทางนเิ ทศศาสตร์ และควร
อาทิ กระทรวงพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์ เพ่ิมตัวอย่างใหเ้ กดิ ความชดั เจนมากขนึ้
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ส�ำนักงาน
คณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี งกจิ การโทรทศั นแ์ ละ
กจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ สภาการหนงั สอื พมิ พแ์ หง่
ชาติ สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย
ผู้ประกอบธรุ กจิ สอ่ื สารมวลชน และผู้ผลิตเนอ้ื หาอิสระ
บนสื่อสังคมออนไลน์ร่วมผลักดันให้สื่อสังคมออนไลน์
เป็นพ้ืนที่สร้างสรรค์และปลอดภัยส�ำหรับเด็กท้ังส้ิน
3 ประเดน็ คอื
1) สิทธิทจ่ี ะถกู ลืมของเด็กผตู้ กเปน็ ขา่ ว
2) การจัดอบรมกฎหมายจริยธรรมและ
แนวทางในการรายงานข่าวสิทธเิ ด็กและ
3) การบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังและการ
ก�ำหนดประโยชน์แก่องค์กรสื่อมวลชนเพ่ือปกป้องสิทธิ
และรักษาผลประโยชนข์ องเดก็
สรุปผลกระทบจากการรายงานข่าวสื่อสังคม
ออนไลนท์ มี่ ตี อ่ เดก็ ขอ้ ควรรเู้ บอ้ื งตน้ ในการรายงานขา่ ว
สิทธิเด็กบนส่ือสังคมออนไลน์ แนวทางการรายงาน
ข่าวเด็กกลุ่มต่าง ๆ บนส่ือสังคมออนไลน์ ตลอดจน
ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายโดยกลมุ่ เดก็ ผปู้ กครอง และเจา้
หน้าท่ที ี่ทำ� งานในองคก์ รเครือขา่ ยภาคประชาสงั คม ได้
สะทอ้ นวา่ การมสี ว่ นรว่ มในการถอดบทเรยี นการทำ� งาน
ด้านสิทธิเด็กท�ำให้เกิดมุมมองของแต่ละวิชาชีพเข้ามา
มีบทบาทในการปกป้องคุ้มครองสิทธิเด็ก คู่มือที่ได้จัด
ท�ำข้ึนน้ีมีทิศทางในการน�ำไปใช้ได้จริง กระชับ เข้าใจ
ง่าย และมีการเน้นย้�ำโทษทางกฎหมายที่น่าจะช่วยให้
48 หลอมส่อื รวมคน สหู่ นทางสร้างสรรค์
โครงการการพัฒนานวตั กรรมสือ่ เพอ่ื พฒั นาการเรียนรขู้ องสังคม
ผ้จู ัดทำ�
กร่ิงกาญจน์ เจรญิ กุล ดร.ณภัทร เรอื งนภากลุ และวิชญา โคตรฐติ ิธรรม
การพฒั นานวตั กรรมสอ่ื เพอ่ื การเรยี นรทู้ างสงั คมของเยาวชนและเครอื ขา่ ยในพน้ื ทภ่ี าคเหนอื ตอนบนเปน็ การ
วจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม (Participatory Action Research) โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ พฒั นากระบวนการเรยี นรู้
ทางสงั คม (Social Lab) และน�ำผลการเรียนร้มู าทดลองฝกึ ปฏิบัตผิ ่านฐานการเรยี นรู้แบบ Movie based Learning
พฒั นาและขบั เคลอ่ื นกลไกใหเ้ กดิ การตอ่ ยอดองคค์ วามรแู้ ละเผยแพรส่ ชู่ มุ ชนและสงั คม สรา้ งพนื้ ทใ่ี หเ้ ยาวชนไดส้ อ่ื สาร
อยา่ งเทา่ ทนั และปลอดภยั และศกึ ษาทศั นคตแิ ละมมุ มองทางความคดิ ของเยาวชนและเครอื ขา่ ยทมี่ ตี อ่ การสรา้ งสรรค์
นวตั กรรมสอื่ กบั ประเดน็ ทางสงั คม โดยทำ� การศกึ ษาจากนกั ศกึ ษาดา้ นการสอื่ สาร 5 สถาบนั ในพน้ื ทจี่ งั หวดั เชยี งใหม่
และเครือข่ายภาคประชาชน มงุ่ เนน้ ใหก้ ลมุ่ เป้าหมายเปน็ ผมู้ ีสว่ นร่วมทุกขัน้ ตอนของ 4 กระบวนการวิจยั ประกอบ
ดว้ ย 1) กระบวนการ Issue Based 2) กระบวนการ Area-Based 3) กระบวนการ Movie Based Learning และ
4) กระบวนการเผยแพร่ (Release the Movie in the Communities) พบวา่
1. กระบวนการ Issue Based เป็นขั้นตอน ผลการศึกษาตามตัวช้ีวัดเชิงคุณภาพ มีการ
ที่ด�ำเนินการเพ่ือกลไกในการขับเคล่ือนเครือข่าย รว่ มระดมความคดิ แลกเปลย่ี นทศั นคตริ ะหวา่ งนกั ศกึ ษา
การพัฒนานวัตกรรมสื่อเพ่ือการเรียนรู้ของสังคมกลุ่ม และเครอื ขา่ ยทง้ั 5 ประเดน็ ในเวทกี อ่ ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้
เป้าหมายได้เรียนรู้จากประเด็นที่เป็นปรากฏการณ์ และเปล่ียนทัศนคติ ระหว่างเยาวชนนักศึกษา กับผู้ท่ี
ทางสังคมโดยวิธีการแลกเปล่ียนกับเครือข่าย เจ้าของ มีประสบการณ์ท่ีบอกเล่าถึงประเด็นที่อยากสื่อสารใน
ประเด็นทั้ง 5 ประเด็น ร่วมระดมความคิดมุมมอง มุมมองของผู้ที่ท�ำงานอย่างใกล้ชิด ในประเด็นสังคม
ทัศนคติโดยแบ่งการประเมินกิจกรรมเป็นตัวช้ีวัดเชิง ตา่ ง ๆ พรอ้ มกันนั้นกไ็ ดร้ บั ฟงั ความคิดเห็นและมมุ มอง
ปริมาณและคณุ ภาพดังน้ี จากเยาวชน มีการแลกเปล่ียนประเด็นปัญหาสังคม
ผลการศึกษาตามตัวช้ีวัดเชิงปริมาณ กลุ่ม ระหว่างเยาวชน และผ้ทู ่กี ำ� ลังทำ� งาน อย่างสมดุลผา่ น
เป้าหมายผู้เข้าร่วมเวทีขับเคลื่อนเครือข่ายการพัฒนา กระบวนการพัฒนานวัตกรรมสื่อเพื่อการสื่อสารการ
นวตั กรรมสอื่ เพอ่ื การเรยี นรทู้ างสงั คม 70 คน ประกอบ เรยี นร้ขู องสังคม
ดว้ ย เครอื ขา่ ยภาคประชาชนจากสำ� นกั งานสาธารณสขุ 1) กระบวนการถ่ายทอดความรู้ความคิดด้วยการให้
จังหวัด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ
สมาคมการเรียนรู้วัฒนธรรมความพิการ ตัวแทนจาก ขอ้ มลู จากเจา้ ของประเดน็ ทางสงั คมในประเดน็ ตา่ ง
โครงการตกุ๊ ตาวิเศษ และนกั ศึกษาจาก 5 สถาบันที่เขา้ ๆ คอื (1) สขุ ภาพรเู้ ทา่ ทนั โฆษณา (2) ผพู้ กิ ารกบั การ
ร่วมโครงการ เขา้ ถงึ ระบบการศกึ ษาและสวัสดกิ ารสังคม (3) การ
จดั การทรพั ยากรทางการเกษตร (4) การใหค้ ุณค่า
กับผูส้ งู อายุ และ (5) ความรุนแรงในเด็ก
สงั เคราะหอ์ งคค์ วามรู้จากงานวิจยั ภายใต้การสนับสนุนของกองทุนพัฒนาสอ่ื ปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ 49
2) ทศั นคตแิ ละมมุ มองทางความคดิ ของเยาวชนทม่ี ตี อ่ กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน
การสรา้ งสรรค์นวตั กรรมสื่อกบั ประเดน็ ทางสังคม ในระดับดีมาก เริ่มต้ังแต่การคิดประเด็นเป็นบท
ภาพยนตร์ จากน้ันรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ ตัดสินใจ
3) แนวทางในการสรา้ งสรรคภ์ าพยนตรเ์ พอื่ ขบั เคลอื่ น ในการออกแบบ Production และการแสดง โดยทีม
กลไกทางสงั คม กระบวนการที่เป็นนักวิชาชีพด้านการท�ำภาพยนตร์ท้ัง
ระดับประเทศ เชน่ อาจารยบ์ ญุ ส่ง นาคภู่ และในระดับ
กระบวนการในเชิงประเด็นนี้ได้ถูกน�ำมา พน้ื ที่ ไดแ้ ก่ เครอื ขา่ ยคนทำ� หนงั เชยี งใหม่ ไดม้ ารว่ มแลก
พัฒนาเพื่อขับเคล่ือนกลไกทางสังคม ซึ่งผู้เรียนรู้จะน�ำ เปลยี่ นประสบการณก์ ระตนุ้ ใหเ้ กดิ การแสดงความคดิ เหน็
ไปสกู่ ารพฒั นาบท เพ่ือถา่ ยทอดเปน็ หนงั สัน้ และแนะน�ำการท�ำภาพยนตร์สั้นให้กับนักศึกษาท่ีร่วม
2. กระบวนการ Area-based ประกอบด้วย โครงการ
กจิ กรรม 1) กจิ กรรมกระบวนการ Storytelling 5. กระบวนการเผยแพร่ เปน็ กจิ กรรมการเปดิ
และ 2) กิจกรรม Screen Play to Cinema พ้ืนที่ส่ือสารอย่างเท่าทันและปลอดภัย ผ่านเทศกาล
3. กระบวนการ Movie based Learning หนงั สน้ั โดยงาน ภาพยนตรส์ นั้ ของกลมุ่ เปา้ หมายจำ� นวน
เป็นการเปิดเวทีเสริมสร้างทักษะกระบวนการผลิต 10 เรอ่ื ง จดั ฉายเผยแพรใ่ นเทศกาลหนงั สนั้ รวมทง้ั เชญิ
ภาพยนตร์ส้ันประเด็นทางสังคมและเปิดห้องปฏิบัติ คนทำ� หนงั เครอื ขา่ ยประเดน็ ทางสงั คมนำ� หนงั สน้ั มารว่ ม
การทางสงั คมผา่ นการผลิตสอื่ ภาพยนตร์ 1 เรื่อง และ ฉายในคร้งั น้ี ผลการศกึ ษาสรปุ ได้ดงั น้ี การจัดกิจกรรม
ทดลองปฏิบัติการผลิตภาพยนตร์ สร้างเครือข่าย เผยแพร่ภาพยนตร์/หนังส้ันได้ท�ำการเผยแพร่ผ่าน 2
เยาวชนส่ือสารสังคมระดับมหาวิทยาลัย โดยผลิต กิจกรรม ไดแ้ ก่ การจัดกิจกรรม Road Show เพ่อื เผย
ภาพยนตร์ 1 เรื่องตอ่ 1 มหาวทิ ยาลยั เม่ือกระบวนการ แพรภ่ าพยนต์ในสถาบนั การศกึ ษา 5 สถาบัน และการ
เรยี บรอ้ ยจะไดภ้ าพยนตรจ์ ำ� นวน 10 เรอ่ื ง ผา่ นกจิ กรรม จัดกิจกรรมเผยแพร่ภาพยนตร์สั้นผ่านเทศกาลหนังสั้น
1) กิจกรรม Script Doctor & Clinic Production เชียงใหม ่
2) กจิ กรรม Acting Class จากน้ันมีกระบวนการพูดคุยหลังจากฉาย
3) กจิ กรรมผลิตภาพยนตรส์ ้นั Master Lab เรือ่ ง กอ่ น ภาพยนตร์ และการถอดบทเรียนท่ไี ด้จากการเรยี นรใู้ น
เมษา กระบวนการทางทำ� ภาพยนตรแ์ ละเผยแพร่ผลการวิจยั
4. กิจกรรมทดลองปฏิบัติการผลิตสื่อ พบวา่ ปญั หาสงั คมที่แทรกอยูใ่ นโครงสร้างทางสงั คมท่ี
ภาพยนตรส์ ร้างเครอื ข่ายเยาวชนสื่อสารสงั คมในระดบั เกิดขึ้นในแต่ละพื้นที่เป็นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
มหาวทิ ยาลยั ไดผ้ ลผลติ เปน็ ภาพยนตรจ์ ำ� นวน 10 เรอ่ื ง กลุ่ม หรือระบบสังคมท่ีมีคุณสมบัติทางชีววิทยา เช่น
แบง่ ตามประเด็นดงั น้ี เพศ อายุ เชอื้ ชาติ รวมทง้ั มติ ทิ างสงั คมและวฒั นธรรมท่ี
1) ภาพยนตร์สัน้ ในประเดน็ ความรุนแรง 3 เรื่อง เขา้ มาเกย่ี วขอ้ ง โดยทผี่ ชู้ มทเี่ ปน็ ตวั แทนจากเครอื ขา่ ยมี
2) ภาพยนตร์สั้นในประเด็นการคุ้มครองผู้บริโภค 3 ความสนใจภาพยนตรส์ น้ั ทเี่ ปน็ เรอ่ื งราวการถา่ ยทอดใน
เรอ่ื ง แนวจนิ ตนาการและเรอ่ื งจรงิ ทเี่ กดิ ขนึ้ ในสงั คมปจั จบุ นั
3) ภาพยนตร์สัน้ ในประเด็นวฒั นธรรมผู้พิการ 1 เรอื่ ง สามารถถ่ายทอดประเด็นปัญหาทางสังคมจากเรื่องที่
4) ภาพยนตรส์ นั้ ในประเดน็ เกยี่ วกบั การเกษตร 1 เรอ่ื ง เป็นปัญหาให้มีความสนุกสอดแทรกในเน้ือเรื่อง และ
5) ภาพยนตร์ส้ันในประเดน็ เก่ยี วกับผู้สูงวัย 1 เร่อื ง มีการเสนอเน้ือหาในหลายแง่มุม โดยที่ผู้ชมจะเข้าใจ
6) ภาพยนตร์สั้นในประเด็นสะท้อนจิตใจคนในเมือง ถึงวัตถุประสงค์ท่ีภาพยนตร์ต้องการสื่อ ประสบการณ์
ใหญ่ 1 เรอื่ ง เดมิ ทง้ั ทางตรงและทางออ้ ม หรอื สง่ิ แวดลอ้ มจะมผี ลตอ่
การรับรู้ และเขา้ ใจความหมายในภาพยนตรเ์ พือ่ สังคม
ให้ง่ายขึ้น และทัศนคติของผู้ชมภาพยนตร์เก่ียวกับ
50 หลอมส่ือ รวมคน สูห่ นทางสร้างสรรค์