ค่มู ือการพฒั นาหนว่ ยบรกิ ารสขุ ภาพปฐมภมู ิ
ให้เป็นองคก์ รรอบรดู้ ้านสขุ ภาพ
ดร.ภญ.กมลนทั ธ์ ม่วงย้ิม
วิทยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จงั หวดั ชลบรุ ี
และ
มูลนธิ ิพฒั นาสถานีอนามัยเฉลิมพระเกยี รติ ๖๐ พรรษา นวมินทราชินี
2564
พิมพ์คร้ังท่ี 1
ชลบรุ ี
สานกั พิมพ์ ป้ายพระยาสจั จา
Source: HEAR (Health Evidence Awareness Report). Volume 3, Issue 3. Focus on Health Literacy. May 2017
คมู่ อื การพัฒนาหน่วยบรกิ ารสขุ ภาพปฐมภูมิ
ใหเ้ ป็นองคก์ รรอบรดู้ า้ นสุขภาพ
ดร.ภญ.กมลนทั ธ์ มว่ งยม้ิ และ
มูลนิธพิ ฒั นาสถานอี นามยั เฉลมิ พระเกียรติ ๖๐ พรรษา นวมนิ ทราชนิ ี
i
คำนำ
Regina M. Benjamin ได้กล่าวไว้ว่า “สุขภาพดีขึ้นโดยการพัฒนาความรอบ
รู้ด้านสุขภาพ” “Improving health by improving health literacy” (Benjamin
R.M., 2010) หากเปา้ หมายของหน่วยบรกิ ารสุขภาพปฐมภูมิ คือ การ “สร้างนาซ่อม”
แล้ว คู่มือการพัฒนาหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิให้เป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพเลม่
นี้จะมีประโยชนอ์ ยา่ งมาก
ด้วยบทเรียนที่ถอดมาจากประสบการณ์กว่า 2 ปีที่ 16 สถานีอนามัย
เฉลิมพระเกียรติฯ (สอน.) และสถานีอนามัยพระราชทานนาม (สอ.) นาร่อง
ได้ดาเนินงานเพื่อการสร้างองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ ทาให้เห็นถึงต้นแบบ
เชิงโครงสร้าง (model) กระบวนการสร้าง HLO ปัจจัยแห่งความสาเร็จ และ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของคนทางานท่ีหน่วยงานอื่นๆ จะสามารถนาไปปรับ
ประยกุ ต์ใชใ้ หเ้ หมาะกบั บรบิ ทของตนได้
จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือการพัฒนาหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิให้เป็น
องคก์ รรอบรูด้ ้านสขุ ภาพจะช่วยทา่ นได้
ดร.ภญ.กมลนทั ธ์ ม่วงยิ้ม
และทีมมลู นธิ ิพัฒนำสถำนีอนำมยั เฉลมิ พระเกียรติ 60 พรรษำ นวมนิ ทรำชนิ ี
ii
กิตตกิ รรมประกำศ
ความดีงามและคุณประโยชน์ของคู่มือเล่มน้ีเป็นผลมาจาก แรงกาย แรงใจ
กาลังสติปัญญา ความร่วมมือร่วมใจ และ สมัครสมานสามัคคีของสถานีอนามัย
เฉลิมพระเกียรติฯ และสถานีอนามัยพระราชทานนาม นาร่องสร้างองค์กรรอบรู้
ด้านสุขภาพ จานวน 16 แห่ง และเครือข่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด ผนวกกับ
ความทุ่มเทเชิงวิชาการของทีมงานวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธรจังหวัดชลบุรี
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธรจังหวัดขอนแก่น และ วิทยาลัยการสาธารณสุข
สิรินธรจังหวัดตรัง ทีมงานชมรม สอน. ผู้ประสานงานจากมูลนิธิพัฒนาสถานีอนามัย
เฉลิมพระเกียรติฯ นอกจากน้ียังมีการสนับสนุนจากกรมอนามัยและสมาคมส่งเสริม
ความรอบรู้ด้านสุขภาพไทย (Thai Health Literacy Promotion Association :
THLA) และท่ีสาคัญท่ีสุด คือ ผู้สนับสนุนงบประมาณ น้ันก็คือ สานักงานกองทุน
สนบั สนนุ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.)
iii 1
1
สำรบัญ 4
5
บทนา 10
ข้อตกลงเพอื่ การทาความเขา้ ใจเก่ยี วกับความรอบรู้ด้านสุขภาพ 11
คณุ ลกั ษณะองค์กรรอบรูด้ า้ นสุขภาพ (HLO) 11
การประเมินคณุ ลกั ษณะองค์กรรอบรูด้ ้านสุขภาพดว้ ยตนเอง 13
วิธกี ารพฒั นาค่มู ือ 27
กรอบเน้ือหาของคูม่ ือ 27
Model เชงิ โครงสร้างเพอ่ื การสรา้ ง HLO 34
กระบวนการสร้าง HLO 35
ปัจจัยแหง่ ความสาเรจ็
คณุ ลักษณะบคุ ลากรท่ีพงึ ประสงค์เพ่ือการสร้าง HLO
บทสรปุ เพอื่ การเริ่มงานสร้าง HLO
ผลงานของ 16 หนว่ ยงานนารอ่ งสร้าง HLO
1
คู่มอื กำรพัฒนำหน่วยบริกำรสขุ ภำพปฐมภมู ใิ หเ้ ปน็ องคก์ รรอบรดู้ ำ้ นสขุ ภำพ
บทนำ
คู่มือการพัฒนาหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิให้เป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ
เล่มนี้ คือ ชุดความรู้ที่เกิดจากการดาเนินงานพัฒนาองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพของ
หน่วยบริการปฐมภูมิ ที่สกัดได้จากการกระบวนการถอดบทเรียนการสร้างองค์กร
รอบรู้ด้านสุขภาพ อันเป็นประสบการณ์และการเรียนรู้ที่ได้จากการทางานของ
บุคคลากรในสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ และสถานีอนามัยพระราชทานนาม
จานวน 16 แห่งท่ีเป็นหน่วยงานนารอ่ งสร้างองค์กรรอบรูด้ า้ นสขุ ภาพในระดับปฐมภูมิ
ข้อตกลงเพ่ือกำรทำควำมเข้ำใจเก่ยี วกบั ควำมรอบรดู้ ำ้ นสุขภำพ
ในการพัฒนาหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิให้เป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ
นั้น ส่ิงแรกท่ีมีความจาเป็นอย่างย่ิง คือ ความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับความรอบรู้
ด้านสุขภาพ (Health Literacy: HL) ในความเป็นจริงนั้น ความรอบรู้ด้านสุขภาพ
เป็นคุณลักษณะของตัวบุคคล ซึ่งมีงานวิจัยจานวนมากยืนยันว่า หากประชาชน
มีระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพดีแล้ว จะสามารถลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึง
บริการสุขภาพได้ นอกจากนี้ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ ยังเป็นปัจจัยแห่งความสาเร็จ
ในการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ การป้องกนั โรค และยังสง่ ผลใหเ้ กิดความรว่ มมอื ในการรักษา
จนทาให้เกิดผลลัพธ์ทางคลินิกที่ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ดังน้ันจึงสามารถกล่าวได้ว่า
“สุขภาพดีขึ้นโดยการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ” “Improving health by
improving health literacy” (Benjamin R.M., 2010)
ผลการถอดบทเรียนโครงการ พัฒนากลไกต้นแบบ สถานีอนามัย
เฉลิมพระเกียรติฯ เป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ จานวน 16 แห่ง ที่ได้รับงบประมาณ
สนับสนุนจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) น้ัน
ผู้ดาเนินงานต้องเข้าใจว่า การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพในระดับบุคคล (Health
Literate Person: HLP) ตอ้ งอาศยั ความร่วมมือจากหลายภาคส่วนที่จะต้องทาตนเอง
ให้เป็นสิ่งแวดล้อมท่ีเอ้ือให้เกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพในระดับบุคคลด้วย น้ัน
2
คือ การเป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literate Organization: HLO)
ท่รี ่วมสรา้ ง บคุ คลรอบร้ดู า้ นสุขภาพ (Health Literate Person: HLP) ครอบครัวรอบ
รู้ด้านสุขภาพ (Health Literate Family: HLF) ชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health
Literate Community: HLC) ที่ในท้ายท่ีสุดจะทาให้เกิดสังคมรอบรู้ด้านสุขภาพ
(Health Literate Society: HLS) ดงั แสดงในแผนภาพที่ 1
แผนภำพที่ 1 ความเชอื่ มโยงของความรอบรดู้ า้ นสุขภาพในระดบั ตา่ งๆ
จากนี้ไป เรามาทาความเข้าใจกับนิยามเชิงปฏิบัติการของ HLP, HLO, HLF
และ HLC ดังน้ี
Health literate people: HLP
บุคคลรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy People : HLP) คือ บุคคลที่มี
คณุ ลักษณะภายในตัวครบท้งั 6 องคป์ ระกอบ ดังน้ี
3
ถ้าบุคคลเหล่าน้ันมีคุณลักษณะครบทั้ง 6 องค์ประกอบ จะสามารถเรียก
ได้ว่าเป็น บุคคลต้นแบบ หรือคนรอบรู้ด้ำนสุขภำพ (V-Shape person, HLP)
ซึ่งองค์ประกอบที่ 1–4 ของ HLP เกิดข้ึนภายในตัวบุคคล ส่วนองค์ประกอบที่ 5–6
ของ HLP เป็นสิ่งที่เกดิ ขึ้นมาแลว้ บุคคลเหลา่ นน้ั แสดงออกมา
4
Health Literacy Organization: HLO
องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy Organization : HLO) เป็น
องค์กรที่สามารถจัดการสร้างให้คนมีระดับความรอบรู้ได้ท้ังในตัวบุคคล (Health
Literacy People : HLP) ครอบครัว (Health Literacy Family : HLF) จนถึงชุมชน
(Health Literacy Community : HLC) และเมื่อเกิดทั้งสามส่วนนี้จะสามารถเรียก
พื้นท่ขี องตนได้วา่ เป็น สงั คมแหง่ ความรอบรู้ (Health Literacy Society)
คุณลกั ษณะองค์กรรอบรดู้ ำ้ นสุขภำพ
คณุ ลกั ษณะองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ ประกอบดว้ ย 10 องค์ประกอบที่สาคัญ
ซงึ่ แปลมาจากงานของBrach, C., D. Keller, L. M. Hernandez, C. Baur, R. Parker,
B. Dreyer, P. Schyve, A. J. Lemerise, and D. Schillinger, Ten attributes of
health literate health care organizations. Discussion paper. Washington,
DC: Institute of Medicine, 2012. ได้แก่
5
กำรประเมินคณุ ลกั ษณะองค์กรรอบรู้ดำ้ นสขุ ภำพด้วยตนเอง
หน่วยงานสามารถประเมินตนเองว่ามีคุณลักษณะขององค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพแล้ว
หรือยังไดโ้ ดยอาศยั หลักฐานดังแสดงรายละเอียดในตารางที่ 1
ตำรำงที่ 1 หลักฐานแสดงคุณลกั ษณะการเป็นองคก์ รรอบรูด้ ้านสุขภาพ (HLO)
คณุ ลักษณะ หลกั ฐำน
1. ผู้บริหารบูรณาการความรอบรู้ด้าน 1.1 เอกสารแสดงวิสัยทัศน์ โครงสร้าง
สุขภาพ เข้าไปในวิสัยทัศน์ โครงสร้าง และ แผนการดาเนินงาน ท่ีบ่งช้ีถึง
และแผนการดาเนินงาน การบูรณาการความรอบรู้ด้านสุขภาพ
เข้าไปในวิสัยทัศน์ โครงสร้างแผนการ
ดาเนินงาน
1.2 รายงานการประชุมที่เกี่ยวข้องกับ
การบูรณาการความรอบรู้ด้านสุขภาพ
เข้าไปในวิสัยทัศน์ โครงสร้าง และ
แผนการดาเนินงาน
2. บูรณาการความรอบรู้ด้านสุขภาพ 2.1 ผลการประเมินระดับความรอบรู้
เข้าไปในแผนการดาเนินงานของ ด้านสุขภาพของประชาชน/ผู้รับบริการ
หน่วยงาน มีการวัดและประเมินผล ในแต่ละงาน (โดยเฉพาะงานท่ีเลือกมา
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ ความปลอดภัย เปน็ ประเดน็ ฝึกหดั ทา HLO)
6
คุณลกั ษณะ หลกั ฐำน
ของผู้ป่ว ยและนาไปสู่การพัฒนา 2. 2 รายงานที่เก่ียว ข้อง กับ ค ว า ม
คุณภาพงาน ปลอดภัยของผู้ป่วย (patient safety)/
ปัญหาของผู้ป่วยในแต่ละงาน (โดย
เฉพาะงานท่ีเลือกมาเป็นประเด็นฝึกหัด
ทา HLO)
2.3 เอกสารทแ่ี สดงถึงผลการประเมินใน
ข้อ 2.1 และ ข้อ 2.2 ไปสู่การพัฒนา
คุณภาพงาน (ซ่ึงอาจจะเป็น service
redesign การสร้างสื่อ โ ครงการ/
โปรแกรม/นวตั กรรม)
3. เตรียมกาลังคนให้มีความรอบรู้ด้าน 3.1 รายงานการประชุม โครงการ/
สุขภาพและมีการประเมินผลความรอบ กิจกรรม ที่เป็นการเตรียมกาลังคน
รู้ด้านสุขภาพของผู้ให้บริการ/บุคลากร (เจา้ หน้าท่ีและอสม.) เกี่ยวกับความรอบ
ของหน่วยงาน รู้ด้านสุขภาพ (ก. ความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับความรอบรู้ด้านสุขภาพ (HL)
และองคก์ รรอบรู้ด้านสุขภาพ (HLO) ข.
รูปแบบการให้บริการท่ีช่วยสร้างเสริม
ความรอบรดู้ า้ นสุขภาพ)
3.2 ผลการประเมินระดับความรอบรู้
ด้านสุขภาพของบุคลากรในแต่ละงาน
(โดยเฉพาะงานที่เลือกมาเป็นประเด็น
ฝกึ หดั ทา HLO)
3.3 รายงานผลการประเมินโครงการ/
กิจกรรม ที่เป็นการเตรียมกาลังคน
(เจา้ หน้าท่แี ละอสม.) เก่ียวกับความรอบ
รู้ด้านสขุ ภาพ
7
คุณลักษณะ หลักฐำน
4. เปิดโอกาสให้ประชาชนท่ีเป็นผู้รับ 4.1 เอกสาร/หลักฐานทแี่ สดงถงึ การเปิด
บริการเข้ามามีส่วนร่วมออกแบบร่วม โอกาสใหป้ ระชาชนท่เี ปน็ ผูร้ บั บริการเข้า
ปฏิบัติการและร่วมประเมินผลข้อมูล มามีส่วนร่วมออกแบบ ร่วมปฏิบัติการ
ด้านสขุ ภาพและบรกิ าร และร่วมประเมินผลข้อมูลด้านสุขภาพ
และบรกิ าร
4. 2 ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น
ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ใ น แ ต่ ล ะ ง า น
(การเข้าถึง ความพึงพอใจ ข้อเสนอแนะ
เพอ่ื การปรบั ปรงุ พัฒนา)
4.3 รายงานผลการประเมินสื่อสุขภาพ/
ข้อมูลสุขภาพในแต่ละงาน (โดยเฉพาะ
งานที่เลือกมาเป็นประเด็นฝึกหัดทา
HLO)
4.4 เอกสาร/หลักฐานท่ีแสดงถึงการ
ปรับปรุงกระบวนการบริการ ส่ือ
สุขภาพ/ข้อมูลสุขภาพในแต่ละงาน
(โดยเฉพาะงานที่เลือกมาเป็นประเด็น
ฝึกหัดทาHLO) ที่เป็นผลมาจากข้อ 4.2
และข้อ 4.3
(หมำยเหตุ ! ข้อ 2.3 แ ละข้อ 4.4
สำมำรถนำมำบูรณำกำรกันได้)
5. ต้องให้บริการสุขภาพที่สอดคล้อง รายงานการประเมินผลการดาเนินงาน
และตรงตามความต้องการ ตามระดับ ตามที่ระบุไว้ในข้อ 2.3 และข้อ 4.4 ใน
ความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน ประเด็นการเข้าถึง ความพึงพอใจ และ
อย่างเทา่ เทียม ขอ้ เสนอแนะ เพอื่ การปรับปรงุ พฒั นา)
8
คุณลักษณะ หลกั ฐำน
6. ใช้วธิ ีการในการสอ่ื สารระหวา่ งบุคคล เอกสาร/หลักฐานแสดงถึงการใช้วิธีการ
ในการสร้างความรู้ด้านสุขภาพ และมี ในการส่ือสารระหว่างบุคคลในการสรา้ ง
การตรวจทานความเขา้ ใจผรู้ ับบริการใน ความรดู้ า้ นสุขภาพ และมีการตรวจทาน
ทุกจดุ บรกิ าร ความเข้าใจผู้รับบริการในทุกจุดบริการ
เช่น Ask me three, Teach me back
เป็นตน้
7. ทาให้ผู้รับบริการเข้าถึงข้อมูลด้าน ใช้หลักฐานข้อ 2.1 ผลการประเมิน
สุขภาพ ข้อมูลการบริการ และมีการ ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของ
ช่วยเหลือในการบอกทิศทางการรับ ประชาชน/ผู้รับบริการในแต่ละงาน
บรกิ ารได้อย่างงา่ ย (โดยเฉพาะงานที่เลือกมาเป็นประเด็น
ฝึกหัดทา HLO)
7.1 ผลการประเมินสิ่งแวดล้อม สอน./
สอ.ทเี่ อือ้ ตอ่ การเขา้ ถงึ บรกิ าร
7.2 เอกสาร/หลักฐาน ท่ีแสดงให้เห็นถึง
การช่วยเหลือในการบอกทิศทางการรับ
บริการได้อยา่ งงา่ ย
8. ออกแบบและกระจายสื่อส่ิงพิมพ์ สื่อ หลักฐานข้อ 4.1,ข้อ 4.3 และข้อ 4.4
เสียง สื่อภาพ ส่ือมีเดียต่าง ๆ ท่ีมีข้อมูล
ท่ีเข้าใจงา่ ยและสามารถปฏิบตั ติ ามได้
9. มีการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ 9.1 รายงานการประเมินความรอบรู้
ในสถานการณ์ท่ีมีความเส่ียงสูง เช่น ด้านสุขภาพในสถานการณ์ที่มีความ
การปรับเปล่ียนรูปแบบการดูแล/การ เสี่ยงสูง
รักษา การเปลี่ยนยา การใช้ยา ฯลฯ 9.2 เ อ ก ส า ร / ห ลั ก ฐ า น ท่ี แ ส ด ง ถึ ง
ให้กับผรู้ บั บรกิ าร กิจกรรม/โครงการสร้างความรอบรู้ด้าน
สุขภาพในสถานการณท์ ่มี ีความเส่ียงสงู
9
คณุ ลกั ษณะ หลักฐำน
9.3 รายงานผลการดาเนินงานสร้าง
ความรอบรู้ด้านสุขภาพในสถานการณท์ ี่
มคี วามเสี่ยงสงู
10. มีการสื่อสารเกี่ยวกับสิทธปิ ระโยชน์ 10.1 เอกสาร/หลักฐานท่ีแสดงถึงการ
และค่าใช้จ่ายในการมารับบริการด้าน สื่อสารเก่ียวกับสิทธิประโยชน์และ
สุขภาพของผู้รับบริการให้เข้าใจอย่าง ค่าใช้จ่ายในการมารับบริการด้าน
ชัดเจน สุขภาพของผู้รับบริการให้เข้าใจอย่าง
ชัดเจน
10.2 รายงานการประเมนิ ผลการส่ือสาร
เก่ียวกับสิทธิประโยชน์และค่าใช้จ่ายใน
การมารับบริการด้ านสุขภาพของ
ผรู้ บั บริการให้เข้าใจอยา่ งชัดเจน
Health Literate Family: HLF
ครอบครัวรอบรู้ด้านสุขภาพ คือ บุคคลในครอบครัวทุก
กลุ่มวัย สามารถตัดสินใจเลือกรับสื่อ เรียนรู้สาร วิเคราะห์และใช้ข้อมูลสุขภาพได้
อย่างเหมาะสมตามกลุ่มวัย นาไปสู่การมีพฤติกรรมสุขภาพและพฤติกรรมการใช้และ
เข้าถึงบริการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม เรียกได้ว่าเป็นครอบครัวท่ีสามารถจัดการ
สขุ ภาพของสมาชิกในครอบครัวไดอ้ ยา่ งเหมาะสมในระดบั ที่ควรจะเปน็
Health Literate Community: HLC
ชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพ คือ บุคคลทุกกลุ่มวัย และทุกครอบครัว ท่ีเป็น
สมาชิกของชุมชน สามารถตัดสินใจเลือกรับส่ือ เรียนรู้สาร วิเคราะห์และใช้ข้อมูล
สุขภาพได้อย่างเหมาะสมตามกลุ่มวัย นาไปสู่การมีพฤติกรรมสุขภาพและพฤติกรรม
การใช้และเข้าถึงบริการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม และเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ
10
สุขภาพและสิ่งแวดล้อมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ เครือข่ายอ่ืนๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาโรค และ การฟื้นฟู
สมรรถภาพ เรยี กไดว้ า่ เปน็ ชมุ ชนท่สี ามารถจัดการสขุ ภาพของสมาชกิ ในชุมชนได้อย่าง
เหมาะสมในระดับทคี่ วรจะเปน็
วิธีกำรพัฒนำคู่มือกำรพัฒนำหน่วยบริกำรสุขภำพปฐมภูมิให้เป็นองค์กรรอบรู้
ดำ้ นสุขภำพ
เน้ือหาในคู่มือกำรพัฒนำหน่วยบริกำรสุขภำพปฐมภูมิให้เป็นองค์กรรอบรู้
ด้ำนสุขภำพ เล่มน้ี เกิดจากการสังเกต การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ
ท่ีมีอยู่ และการถอดบทเรียน โดยใช้วิธีการทบทวนระหวา่ งการปฏบิ ัติ (After Action
Review technique : AAR) วิธีการทบทวนหลังการปฏิบัติ (Retrospective
technique) และ การประเมินประสิทธิผลการทางาน (Performance
Measurement : PM) ในหลายๆ เวทีของทีมสนับสนุนวิชาการ (ซ่ึงประกอบไปด้วย
ผู้เช่ียวชาญจากมหาวิทยาลยั มหดิ ล นักวิชาการจากเครือข่ายวิทยาลัยการสาธารณสุข
สิรินธรภายใต้สังกัดของสถาบันพระบรมราชชนก นักวิชาการอิสระ เจ้าหน้าท่ีจาก
กรมอนามัย และมูลนิธิพัฒนาสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ) กับ ผู้อานวยการและ
เจ้าหน้าที่ทุกคนของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ และสถานีอนามัยท่ีได้รับ
พระราชทานนาม จานวน 16 แห่ง ที่เป็นหน่วยงานนาร่อง ในการพัฒนาองค์กรรอบรู้
ด้านสุขภาพ รวมถึงเครือข่ายการทางานของท้ัง 16 แห่ง ท่ีมาจากหลายภาคส่วน
ประกอบด้วย สานักงานสาธารณสุขอาเภอ โรงพยาบาล ชุมชน ทีมอาสาสมัคร
สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กานัน ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้นาชุมชน ผู้นาทางศาสนา พระ ปราชญ์ชาวบ้าน ครู นักเรียน พัฒนาชุมชน รวมถึง
บุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ ท่ีได้ร่วมกันพัฒนาองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพตั้งแต่ปลายปี
2561 จนถงึ กลางปี 2563
11
กรอบเน้ือหำของคู่มือกำรพัฒนำหน่วยบริกำรสุขภำพปฐมภูมิให้เป็นองค์กรรอบรู้
ด้ำนสขุ ภำพ
เน้ือหาของคู่มือ คือ ชุดความรู้ที่สกัดได้เกี่ยวกับการพัฒนาสถานีอนามัย
เฉลมิ พระเกียรตฯิ และสถานีอนามัยพระราชทานนามให้เป็นองค์กรรอบรู้ดำ้ นสุขภำพ
(HLO) ทจ่ี ะถกู นาเสนอเปน็ สว่ นๆ ดงั น้ี
I. ต้นแบบ (Model) เชงิ โครงสร้าง เพ่ือสร้าง HLO
II. กระบวนการสร้าง HLO
III. ปจั จยั แห่งความสาเรจ็
IV. คณุ ลกั ษณะบคุ ลากรทพ่ี งึ ประสงค์ในการสรา้ ง HLO
I. ต้นแบบ (Model) เชงิ โครงสรำ้ งเพอ่ื กำรสรำ้ ง HLO
ผลจากการถอดบทเรียนพบว่า โครงสร้างหลักท่ีจาเป็นในการสร้าง HLO
อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ประกอบดว้ ย 6 ช้ินสว่ นหลัก คือ
1. ผู้นำกำรเปลี่ยนแปลง (Change agent) ส่วนใหญ่จะเป็นผู้นาองค์กร
(ผู้อานวยการ สอน./สอ.) มีส่วนน้อยท่ีเป็นเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ผู้นาการ
เปลี่ยนแปลงน้ี ต้องมีภาวะผู้นาสูงมาก มีทักษะในการส่ือสารทั้งภายในและภายนอก
องค์กร เพื่อสร้าง “ผู้นาร่วม” ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน นอกจากน้ี พบว่า
ผนู้ าเหล่าน้ีจะมีทัง้
1.1 แบบเป็นทางการ (Formal) ในเชิงโครงสร้างทางสงั คม
1.2 แบบไม่เป็นทางการ (Informal) ในเชิงโครงสร้างทางสังคม แต่เป็น
คนสาคญั (key person) ในชุมชนน้ัน
ลักษณะการนาที่ทาให้เกิดพลังอย่างยั่งยืน คือ การนาแบบ “ดีร่วม” ไม่ใช่
“เด่นคนเดียว" ซ่ึงประเด็นนี้ ส่งผลต่อระดับการมีส่วนร่วมในการสร้าง HL ใน
ประชาชนและ HLO
12
2. เพื่อนร่วมงำน (Colleague) ซึ่งหมายถึงเจ้าหน้าที่ทุกคนท่ีทางานใน
หน่วยงานต้ังแต่ ผู้อานวยการ หัวหน้างาน เจ้าหน้าที่ รวมทั้ง แม่บ้านและคนสวน
โดยบคุ คลเหล่านี้ทกุ คน ต้อง
เข้าใจใน HL และ HLO ท่ีเก่ียวข้องตามบริบทของตน และทุกคน
ต้องเปน็ HL person ด้วย
ต้องสามารถบูรณาการ ออกแบบงาน เพ่ือการสร้าง HL ให้กับ
ประชาชน และสามารถทางานเป็นทีมได้ (Team work)
3. เครือข่ำย (Networks) อันเป็นสายป่านของการทางาน โดยทุกคน
ในเครือข่าย ต้องเขา้ ใจและเห็นความสาคัญของ HL และ HLO
4. ผู้สนับสนุนทำงวิชำกำร (Academic supporter) ด้วยการสร้าง HL
และ HLO สาหรับมือใหม่หัดขับนั้น อาจเกิดการหลงทางสับสน ไม่แน่ใจในระหว่าง
ทาง ดงั นัน้ ผูส้ นับสนนุ ทางวชิ าการทีเ่ ปน็ พ่เี ลีย้ งจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง
5. หน่วยประสำนกลำง (Administrative center) ดว้ ยการสรา้ ง HL และ
HLO น้ัน ต้องใช้การทางานเป็นทีมในรูปเครือข่าย สหวิชาการ ต้องใช้ทั้งศาสตร์และ
ศิลป์ ท่ีเกี่ยวข้องกับการประชาสัมพันธ์ (Mass media) และองค์ความรู้ (public
education) ด้วย ดังนั้นจุดประสานงานร่วม จึงมีความจาเป็นอย่างย่ิง เพราะหน่วยน้ี
จะทาหน้าท่ีเป็นเลขานุการ ประสานงาน และสอ่ื สารเครือขา่ ยใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ
6. ทีมงำนเยี่ยมเสริมพลัง (Appreciative appraisal visiting team)
ด้วยการสร้าง HL และ HLO น้ัน ต้องดาเนินการบูรณาการเข้าไปในกระบวนการ
ทางานประจาเดิม ดงั น้นั การมที ีมเย่ียมเสริมพลงั อย่างสร้างสรรค์ จะเป็นตัวกระตุ้นท่ีดี
และทีมนี้ยังสามารถเป็นที่ปรึกษาทางวิชาการที่สามารถช่วยไขข้อข้องใจ และช่วย
แนะแนวให้ผู้ดาเนินการสร้าง HLO ไม่ต้องสับสน ไม่ต้องหลงทาง และสามารถมอง
ภาพ HLO ของตนเองไดว้ ่าควรมหี นา้ ตาเปน็ อย่างไร
13
II. กระบวนกำร (Process) สรำ้ ง HLO 13 ขนั้ ตอน
ในกระบวนการสร้าง HLO ท่ีผ่านมา ได้ยึด 9 ขั้นตอนการดาเนินงาน เพื่อ
สร้าง HLO แต่ผลจากการถอดบทเรียนสาหรับหน่วยสุขภาพปฐมภูมิหน้าใหม่
ท่ีตอ้ งการพัฒนาหนว่ ยงานตนเองใหเ้ ป็น HLO นั้น
ผเู้ ขียนขอเสนอแนะ 13 ข้ันตอนเพื่อกำรสร้ำง HLO ดงั นี้
1. เรยี นรู้บรบิ ทเพือ่ วเิ คราะหส์ ถานการณ์ในพ้ืนท่ี
2. รวบรวมเครือขา่ ย สร้างความเข้าใจ สรา้ งนโยบายรว่ ม
3. คน้ หาทนุ มนษุ ย์และทนุ สงั คม เพ่อื สรา้ งทมี งานและระดมทรัพยากร
4. ค้นหาคนรอบรู้ด้านสุขภาพที่มีลักษณะ V shape แล้วเสริมพลัง เพื่อสร้าง
คนตน้ แบบและทีมสื่อสาร
5. กระตนุ้ การมีส่วนรว่ มของชมุ ชน
6. ร่วมกันคน้ หา ขอ้ ความสาคัญ (Key message) และสรา้ งสอ่ื ทีท่ ุกคนเข้าใจ
7. ตดั สนิ ใจรว่ มกัน
8. จดั ทากลไกการทางานรว่ มกัน
9. ดาเนินการรว่ มกัน แกไ้ ขปัญหาร่วมกนั
10. รบั ตดิ ตามเยี่ยมเสริมจากทีมวิชาการและสว่ นกลาง
11. ประเมนิ การนานโยบายไปสูก่ ารปฏิบัติ
12. ถอดบทเรียนและสรุปประเมินผลลัพธ์
13. วางแผนการพัฒนาต่อเนอื่ ง
ชุดความรู้ที่เกิดจากการถอดบทเรียน 16 หน่วยงานนาร่อง สามารถอธิบายวิธีการ
ดาเนนิ งานในแต่ละขน้ั ตอนไดด้ ังน้ี
14
ข้นั ตอนที่ 1 เรียนรบู้ ริบท เพ่ือวเิ ครำะห์สถำนกำรณใ์ นพืน้ ที่
ซ่ึงหมายถึง การทาความเข้าใจหน่วยงานตนเอง พื้นท่ีตนเอง และ
ผู้รับบริการของตนเอง โดยใช้การเก็บข้อมูลที่เก่ียวข้องกับประเด็นปัญหาสุขภาพ
หรือประเด็นเฉพาะเจาะจงอื่นๆ โดยข้อมูลที่ต้องการ ต้องครอบคลุม 360 องศา
ครบถ้วนในทุกมิติของการใช้ชีวิตในระบบนิเวศวิทยาทางสังคม (social-
ecological system) ท่ีมีผลกระทบต่อประเด็นสุขภาพน้ันๆ ที่เอื้อให้สามารถ
คน้ หาเหตุแห่งปญั หาทแี่ ท้จรงิ (root cause analysis) ของประเดน็ ปัญหาได้ และ
เพียงพอที่จะสามารถนามาทา SWOT analysis เพื่อให้เห็นทิศทางการจัดการ
รว่ มกนั จนนาเข้าไปสู่การตัดสนิ ใจและสรา้ งกลไกการทางานร่วมกันได้
(สามารถศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ social-ecological system เพิ่มเติม ได้ท่ี
https://www.stockholmresilience.org/research/research-videos/2017-
11-27-understanding-social-ecological-systems.html)
อุปสรรค ในการเตรียมข้อมูลสถานการณ์ คือ การมี จุดประสงค์แฝง (Hidden
Agenda) ตา่ งๆ ท่ีอยากได้จากการเก็บข้อมลู การเกบ็ ข้อมูลเฉพาะประเดน็ สุขภาพ
ที่ขาดข้อมูลส่ิงแวดล้อม ด้านสังคม วัฒนธรรม ภาวะทางจิตสังคม ท่ีรวมเรียกว่า
ระบบนิเวศวิทยาทางสังคม (social-ecological system) ท่ีมีผลกระทบต่อ
ประเด็นสุขภาพนั้นๆ การฟังแบบตัดสินภายใต้ข้อมูลเดิมๆ แล้วด่วนสรุป หรือ
แม้แต่การใช้คาจากัดความใ หญ่ๆเป็นภาษานิยมท่ีประชาชนไม่เข้าใจ
เช่น บูรณาการ สถานะสุขภาพ ตระหนกั เป็นต้น จะบดบงั ทาให้ไมเ่ หน็ ภาพปัญหา
ทแี่ ท้จริง
ตัวอย่างกรณีศึกษา (สอน.นิคมลาตะคอง จังหวัดนครราชสีมา) ออกแบบการ
ให้บริการท่ีเหมาะสมกับระบบนิเวศวิทยาทางสังคม(social-ecological system)
15
ที่เปล่ียนไป โดยใชก้ ารรวบรวมศึกษาข้อมูลสถานการณ์ทค่ี รอบคลุม “ภมู ศิ าสตร์ที่
เปล่ียนแปลงลักษณะโครงสร้างที่มีผลต่อการเข้าถึงบริการที่จาเป็นทางสุขภาพ
จากการตัดถนน 12 เลน ผ่ากลางตาบล (การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพสะท้อน
อุปสรรคการเดินทาง) และอาคารบ้านเรือนพาณิชย์ ธุรกิจท่องเที่ยว รีสอร์ท ท่ีพัก
กิจการห้างรา้ น (ทหี่ มายถงึ ประชากรแฝง แรงงานต่างด้าว ต่างถิน่ สภาพเศรษฐกิจ
เปล่ียนแปลง) พื้นท่ีรับผิดชอบ อยู่ในพื้นท่ีการปกครองทับซ้อน 2 ท้องถ่ิน
(หมายถึง นโยบายทางการปกครองของ 2 ผู้นา) มีอสม.เข้มแข็ง ออกแบบ
เครือข่ายบริการสุขภาพ เช่ือมโยง ต้นทุนมนุษย์ (ภาคี ท้องถิ่น อสม. ชุมชน
พระสงฆ์) และต้นทุนโครงสร้างการจัดบริการระบบโมบายเชิงรุก (ศูนย์ศสมช.
กระจายอยูใ่ นระดบั หมู่บา้ น)
ขนั้ ตอนท่ี 2 รวบรวมเครอื ข่ำย สร้ำงควำมเข้ำใจ สรำ้ งนโยบำยรว่ ม
สื่อสารภายในองค์กร เพ่ือสร้างความเข้าใจ ทาให้เห็นความสาคัญของ
การดาเนินงานเร่ืองความรอบรู้ด้านสุขภาพ ให้ทุกคนเข้าใจเป้าหมายเดียวกัน
รวมไปถึงการแปลงนโยบายไปสกู่ ารปฏิบตั ิงานของบุคคลากรทกุ คนในองค์กร
นอกจากน้ัน ยังเน้นการส่ือสารภายนอกองค์กรกับเครือข่ายการทางาน
เพื่อสร้างความเข้าใจ ทาให้เห็นความสาคัญของการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ
เพ่ือแก้ไขปัญหาสุขภาพนั้นๆ การสื่อสารภายนอกนี้มีเป้าหมายหลักอยู่ที่
1) การออกแบบส่ือเพ่ือทาให้รู้เท่าทัน เข้าใจหัวใจของปัญหาสุขภาพนั้น แม้ส่ือจะ
ออกมาในรูปแบบใดก็ตาม ตราบเท่าที่ทาให้คนในชุมชนเข้าใจได้ตามวัตถุประสงค์
ของการสื่อสารที่ต้ังไว้ ก็ถอื วา่ สื่อนัน้ ใช้ได้ในบรบิ ทชมุ ชนของตน 2) ทาให้การสร้าง
ความรอบรู้ด้านสุขภาพเป็นภารกิจของเครือข่าย ที่นาไปสู่การพัฒนาเป็นองค์กร
16
เครือข่ายที่กลายเป็นศูนย์กลางทที่ าใหป้ ระชาชนเข้าถึง เข้าใจ เกิดการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ จนประชาชนสามารถตัดสินใจเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม จนนาไปสู่
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง 3) ทาให้การสร้างความรอบรู้
ด้านสุขภาพเป็นนโยบายร่วม มีการกาหนดกลไกการทางานร่วมกันอย่างชัดเจน
ทาให้สามารถขับเคล่ือนการดาเนินงานด้านสุขภาพของเครือข่ายเพื่อสร้าง HL
ใหก้ บั ประชาชนและการสรา้ ง HLO เปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกัน
อุปสรรค การสื่อสารถ่ายทอดได้ไม่คมชัด ไม่เห็นข้อแตกต่างจากภารกิจการให้
สุขศึกษาเดิม
ตัวอย่าง ความรอบรู้ทางสุขภาพ เป็นกระบวนการท่ีต้องขับเคลื่อนจากงานให้
ความรู้เดิมท่ีส่วนใหญ่เป็น การส่ือสารทางเดียว (one way communication)
ให้กลายเป็นการส่ือสารสองทาง (two way interactive communication) หรือ
การสนทนากลุ่ม (focus group discussion) และจะลึกซึ้งไปจนถึงข้ันติดตำม
ผลที่เกิดจำกกำรสื่อสำร นั้นคอื กำรเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมและผลกำรรกั ษำทำง
คลินิก (clinical outcome) เพรำะฉะนั้นกำรส่ือสำรเพื่อสร้ำงควำมรอบรู้
ด้ำนสุขภำพจึงหวังผลมำกกว่ำแค่ให้มีควำมรู้ เพราะผู้รับสารต้องนาความรู้
ที่ได้ไปย่อย แล้วออกแบบวิธีการปฏิบัติตัวให้เหมำะสมกับวิถีชีวิต (lifestyle)
ของตน จนเม่ือเกิดผลดี ก็จะสามารถบอกเล่าสื่อสารประสบการณ์นั้นต่อให้กับ
ผู้อืน่ ได้
ขัน้ ตอนท่ี 3 คน้ หำทนุ มนุษย์และทนุ สงั คม เพ่อื สร้ำงทีมงำนและระดมทรพั ยำกร
ต้นทุนมนุษย์และต้นทุนสังคม น้ัน อาจเป็น บุคคล องค์กร นโยบาย
ส่ิงแวดล้อม รวมถึงปัจจัยเอ้ือต่างๆท่ีจะผลักดันไปสู่เป้าหมายในประเด็นสุขภาพ
17
เดียวกัน (ทุกต้นทุนจะมีส่วนร่วมในบทบาทของผู้ออกแบบและผู้ปฏิบัติจนถึง
ประเมินผลความสาเร็จ)
อปุ สรรค ความคุ้นชนิ เดมิ เกีย่ วกบั “การใช้ภาคเี ครือขา่ ย” และคาวา่ “บูรณาการ”
ไม่สามารถพาท้ัง 2 ส่วนน้ี เดินทางไปถึงเป้าหมายได้ หากแต่มาแตะเพียงผิวเผิน
กับส่วนใดส่วนหน่ึงตามหน้าท่ีบังคับเท่าน้ัน ทาให้ระบบเครือข่ายการทางาน
เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพไม่เหนียวแน่นยั่งยืน นอกจากน้ี เนื้อหาท่ี
เก่ียวข้องกับความรอบรู้ทางสุขภาพท่ีนามาส่ือสารกับเครือข่ายน้ัน มักจะถูก
ถ่ายทอดตรงๆ แบบไม่ได้ผ่านการย่อยสาระและสังเคราะห์เนื้อหาให้เหมาะสมกับ
ผู้รบั สาร ด้วยไมเ่ คยประเมินระดับการรับรู้ของผูร้ บั สาร หรอื ไม่เคยสรา้ งเคร่อื งมือ/
ส่อื เพอ่ื ส่งเสริมใหภ้ าคีเครอื ขา่ ยเข้าใจในเนื้อหาที่อยากถ่ายทอดอยา่ งทอ่ งแท้
ตัวอย่าง การรวบรวมเครือข่าย “การคัดเลือกเครือข่ายสร้างความรอบรู้ด้าน
สุขภาพ เน้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในปัญหาสุขภาพนั้นๆ” ปัญหาการมีฟลูออไรด์เกิน
มาตรฐานในแหล่งน้าธรรมชาติของพื้นท่ี สอน.อนาลโย จังหวัดพะเยา จึงระดม
เครือข่ายวิชาการทุกสาขา เพ่ือค้นหาสาเหตุและถ่ายทอดข้อมูลทางวิทยาศาสตร์
ได้อย่างลกึ ซ้ึง เข้าถงึ ระดบั การรับรู้ขา่ วสารในชุมชน จนเอาชนะความเชื่อผดิ ๆท่ีว่า
“ฟันตกกระและข้อโปนเป็นเรื่องของกรรมพันธุ์” นอกจากนี้ยังสามารถสร้าง
กลไกการขับเคล่ือนเชิงนโยบายในระบบบริหารงานภาครัฐ เพ่ือการแก้ปัญหา
รว่ มกนั ได้สาเรจ็ ”
ข้ันตอนท่ี 4 ค้นหำคนรอบรู้ด้ำนสุขภำพท่ีมีลักษณะตำมตัว V-Shape แล้ว
เสรมิ พลงั เพ่อื สร้ำงคนตน้ แบบและทมี สอ่ื สำร
คนรอบรู้ทางสุขภาพ คน V-Shape หรือ HLP คือบุคคลท่ีเข้าถึง เข้าใจ
โต้ตอบซักถาม ปรับเปล่ียนพฤติกรรมและสามารถบอกต่อได้ ไม่ว่าจะเป็น HLP ด้วย
18
ตนเองหรือเกิดจากการผ่านกระบวนการแลกเปล่ียนซักถามจากสถานีอนามัยเฉลิม
พระเกียรติฯ ก็ได้เช่นกัน คนเหล่าน้ีจะเป็นผู้ผ่านการเรียนรู้ ทดลองปฏิบัติ จนเกิด
ความเข้าใจลึกซ้ึง (tacit knowledge) เฉพาะเรื่อง ด้วยเหตุท่ี HLP ได้ทดลอง
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในบริบทของตนเองจนได้ผลดี ก็จะสามารถแลกเปล่ียนเรียนรู้
ส่ือสารเทคนิคทเ่ี ปน็ บทเรียนจากประสบการณต์ รงใหก้ ับผู้อืน่ ได้อยา่ งลกึ ซึง้
อุปสรรค การที่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขไม่เปิดใจยอมรับองค์ความรู้ท่ีแปลกใหม่
นอกทฤษฏี ท่ีเกิดจากผู้เผชิญปัญหาท่ีแท้จริง การไม่เปิดโอกาสหรือเปิดพ้ืนท่ีให้ HLP
มีโอกาสได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ความสาเร็จของตนในฐานะคนต้นแบบกับผู้อื่น และ
ไม่ทาการประเมินชิ้นงานหรือนวัตกรรมที่เป็นส่ิงใหม่อย่างเป็นระบบเพ่ือขยายผล
องคค์ วามรู้ทเ่ี กดิ ข้ึน
ตัวอย่าง คนต้นแบบ “ก้าวเปล่ียนชีวิต” ของ สอน.บ้านงิ้วงาม จังหวัดเพชรบูรณ์
แสดงท่าทางประกอบความหนักเบาของการออกแรง เพ่ือให้เกิดการนับก้าวผ่าน
แอปพลิเคชั่น Samsung health ด้วยตระหนักว่า ระดับการออกแรงท่ีดี ทาให้เกิด
ผลลพั ธท์ ่ดี ีตอ่ สุขภาพ และรวู้ า่ ตอ้ งออกแรงระดบั ไหน และต้งั ข้อสังเกตว่าสมาชิกกลุ่ม
บางคนได้จานวนก้าวสูงแต่มีอัตราการเผาผลาญพลังงานต่า เพราะเกิดจากการก้าว
ระยะสั้นไม่ต่อเนื่องและมีความแรงไม่สม่าเสมอ ทาให้เผาผลาญพลังงานได้น้อย
จึ ง มี ก า ร พั ฒ น า ก ล ไ ก ก า ร ป รั บ เ ป ลี่ ย น พ ฤ ติ ก ร ร ม ท่ี ดี ข้ึ น จ า ก บ ท เ รี ย น ข อ ง ต น เ อ ง
และของกลุ่มตลอดเวลา เริ่มต้นจากการใช้แอปพลิเคชั่นในโทรศัพท์มือถือ
จากนั้นพัฒนาการใช้เคร่ืองมือไปสู่การใช้ Smart Watch เพื่อการประเมินผลท่ีมี
ความคลาดเคล่อื นนอ้ ยทสี่ ุด”
ขั้นตอนท่ี 5 กระตุ้นกำรมีสว่ นร่วมของชมุ ชน
19
วิธีการกระตุ้นการมีส่วนร่วมของชุมชนที่ 16 หน่วยงานนาร่องใช้มีหลายวิธี
ไม่ว่าจะเป็น 1) การใช้ข้อมูลจำกสถำนกำรณ์จริงในพื้นท่ี แล้วนำมำคัดเลือกว่า
กิจกรรมใดที่เป็นปัจจัยส่งเสริมที่ประชาชนสามารถมีสว่ นร่วมทางความคิดอยา่ งอิสระ
และเป็นการมีส่วนร่วมที่ประสิทธิภาพ โดยเน้นเน้ือหาของกิจกรรมให้ตรงกับ
ความต้องการของกลุ่ม/ชุมชนท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียร่วมกัน ลักษณะและรูปแบบ
การกระตุ้นท่ีเลือกใช้ควรส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ท่ีแท้จริง 2) การใช้บุคคลต้นแบบ
ที่มีบำรมีที่เป็นที่ยอมรับของชุมชน 3) การใช้ผู้นำที่เป็นทำงกำร โดยเฉพาะผู้ที่มี
อานาจปกครอง 4) การใช้ผู้นำแห่งศรัทธำ ไม่ว่าจะเป็นพระ หรือโต๊ะอิหม่าม มาเป็น
ผู้นาการเปลี่ยนแปลง ก่อให้เกิดการรวมกลุ่มของประชาชนโดยศรัทธา แล้วริเริ่มใน
เกิดการระดมพลเพ่อื สรา้ งนโยบายร่วม และเกดิ การดาเนินงานอยา่ งมีสว่ นรว่ ม
อุปสรรค มักจะยึดติดคาว่าประชาคม แต่การประชาคมเป็นเวทีกลางท่ีมีประชาชน
หลากหลายและไม่ใช่กลุ่มที่เผชิญปัญหาสุขภาพเดียวกัน ดังน้ันการสื่อสารเพ่ือการ
เปล่ียนแปลงจึงไม่มีพลัง การจะใช้เวทีหรือการกระตุ้นแบบประชาคมได้ผู้ดาเนินการ
ต้องคัดสรรกลุ่มเป้าหมายท่ีเฉพาะเจาะจงที่มีความต้องการเหมือนๆกันให้เข้าร่วม
ประชาคม เพื่อให้เกิดการแลกเปล่ียนข้อมูลในประเด็นเฉพาะเจาะจงและเกิดพลัง
ในการขับเคล่ือน
ตัวอย่าง สอน.บ้านหนองเบน จังหวัดนครสวรรค์ ท่ีได้เรียนรู้ลักษณะของกิจกรรม
ท่ีจะใช้กระตุ้นการตัดสินใจให้เปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพจากการกินยาสเตียรอยด์
มาใช้การพอกเข่าแทน และกิจกรรมที่ถูกเลือกใช้เป็นเคร่ืองมือสร้างการเข้าถึง
องค์ความรู้คือการสาธิตและการทดลองใช้เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายท่ีปวดเข่าเห็นผลลัพธ์
ทางสุขภาพเชิงประจักษ์ เพื่อตัดสินใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยเจ้าหน้าท่ีต้อง
ออกแบบกลวิธีการกระตุ้นการมีส่วนร่วมเป็นกลุ่มย่อยๆ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่มี
จานวนมากเข้าถึงการสาธิตทุกคน เป็นเหตุให้เจ้าหน้าที่และทีมงานเครือข่ายต้อง
เปล่ียนรูปแบบการดาเนินงานท่ีต้ังใจทาเพียงคร้ังเดียว เป็นการแบ่งกิจกรรมย่อยถึง
13 ครั้ง เพอ่ื กระจายไปยัง 13 หมู่บา้ น เปน็ ตน้
20
ขั้นตอนท่ี 6 รว่ มกนั คน้ หำ key message และสรำ้ งสอื่ ทท่ี ุกคนเข้ำใจ
Key message คือ ข้อความสาคญั ท่ีมีความจาเปน็ ต้องส่ือสารให้เข้าใจลึกซ้ึง
เปน็ แกน่ สาคญั ของเน้อื หาสาระการเรียนรู้ เพอื่ การเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมสุขภาพ
Tailored key message คือ ข้อความที่ถูกออกแบบจากต้นทุนทางบริบท
ของพ้นื ที่ ทมี่ ปี ญั หาเฉพาะและมขี ดี จากดั ต่างๆ
ซง่ึ key message เราอาจได้จากทฤษฏี ตารา หรอื ขอ้ มูลจากส่วนกลาง เช่น 66 key
messages ของกรมอนามัย ในส่วนของ tailored key message จะได้แนวทางการ
ออกแบบจากข้อมูลบริบทในพื้นที่ เป็นการออกแบบเฉพาะเจาะจง ในบางคร้ังอาจได้
tailored key message เป็นภาษาถน่ิ เป็นนวตั กรรมรายกรณี
อุปสรรค การสื่อสารท่ัวไปมักเร่ิมท่ี key message และส้ินสุดลงเสมอ โดยไม่ได้
วิเคราะห์ว่า key message เหมาะสมกับปัญหาท่ีแท้จริงและแตกต่างกันในแต่ละ
พน้ื ทห่ี รอื ไม่
ตัวอย่าง สอน.ตาบลพิกุลทอง จังหวัดสิงห์บุรี ร่วมกันตัดสินใจใช้ key message
วา่ วัยชราที่มีความสุขเริม่ ต้นที่การเตรยี มตวั เขา้ สวู่ ยั สูงอายุด้วย 5 ต.
ต. 1 เตรียมบ้ำนต้ำนล้ม (key message): ราวจับลุกน่ัง ส้วมห้อยขา
แสงสว่างเพียงพอ พืน้ ไมล่ ่นื (tailored key message)
ต. 2 เตรียมอำรมณ์ให้สดใส (key message): เข้าชมรมผู้สูงอายุ รู้จักเลือก
กจิ กรรมนันทนาการทเ่ี หมาะกับตนเอง (tailored key message)
ต. 3 เตรยี มรบั มือกับกำรเปลีย่ นแปลงท่ีเกดิ ข้ึนทำงกำยอยำ่ งถำวร
(Key message): นอนไมห่ ลับ หลงลมื หลังงอ ข้อปวด (tailored key message)
ต. 4 เตรยี มถ่ำยโอนคำ่ ใช้จ่ำยประจำใหห้ ัวหนำ้ ครอบครัวคนตอ่ ไป
(Key message): เมอ่ื อายุ 60 ไมต่ ้องจ่าย ค่าน้า คา่ ไฟ คา่ อาหาร คา่ อุปโภคบรโิ ภค
พ้ืนฐาน มผี ู้รับชว่ งต่อ (tailored key message)
21
ต. 5 เตรียมผู้ดูแลหำกต้องเข้ำสู่ภำวะพ่ึงพิง (key message): เม่ือต้องเป็น
ผู้สูงอายุติดบ้าน หรือติดเตียงมีสมาชิกในบ้านเป็นผู้ดูแลโดยไม่ต้องพึ่งพาคนภาครัฐ
(tailored key message)
มุมมอง กา ร ป ร ะเ มิ น สื่ อสุ ขภ า พ ข อง บุ คล า กร ใน ส ถา นี อน า มั ย เ ฉ ลิ ม พร ะเ กี ย ร ติ ฯ
นาร่อง มดี งั น้ี
“ถ้าอยากรู้ว่าผู้รับบริการสามารถเข้าถึง เข้าใจ ในประเด็นสุขภาพได้หรือไม่
ต้องลองถามว่า เขาได้ประโยชน์จากส่ือท่ีผลิตไหม? ซ่ึงเป็นจุดสะท้อนแนวคิด
ในเร่ืองของการปรับบริการให้ผู้รับบริการสามารถเข้าใจได้จากสิ่งแวดล้อมที่จะทาให้
เขาเกิดการตัดสินใจท่ีจะเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตัวของเขาเอง” ดร.สุคนธ์ ชัยชนะ
ผอ.สอน.ตาบลพะตง จังหวัดสงขลา
ขัน้ ตอนท่ี 7 ตัดสนิ ใจรว่ มกัน
เม่อื รว่ มกันกาหนดทิศทางการทางานร่วมกันจนสามารถผลิต key message และ
tailored key message ของพ้ืนท่ีตนเองร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียประเด็นสุขภาพ
เดียวกันได้แล้ว ก็ตัดสินใจร่วมกันขับเคลื่อนงาน ดาเนินการแก้ปัญหาในประเด็น
เฉพาะน้ีร่วมกัน โดยอาจจัดทาเป็น โครงการ โครงงาน ช้ินงาน หรือนวัตกรรม ฯลฯ
ก็ได้
อุปสรรค หากเก็บข้อมูลสถานการณ์ที่แท้จริงไม่ครอบคลุมครบถ้วน จะติดขัด
จนไม่สามารถ ออกเป็น key message และ tailored key message ของพ้ืนท่ี
ตนเองได้
ตัวอย่าง สอน.บ้านนิคม กม.5 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มผู้สูงอายุตัดสินใจร่วมกับ
เครือข่ายสุขภาพจะพัฒนาโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุ เป็น อาวุโสวิทยา โดย อาวุโส
วิทยาน้ี เป็นโรงเรียนต้านเศร้า (key message) โดยตัดสินใจร่วมกันในการออกแบบ
22
กิจกรรม เพ่ือจัดกำรเวลำว่ำงที่สำมำรถก่อให้เกิดอำกำรเปล่ำเปลี่ยวของผู้สูงอำยุ
กล่มุ ติดสงั คมให้หมดไป (tailored key message)
ข้นั ตอนที่ 8 จดั ทำกลไกในกำรทำงำนร่วม
ขั้นตอนน้ีเป็นการตกลงแบบแผนและวิธีการทางานร่วมกันเพ่ือการทางาน
ท่ีเป็นระบบทีมอย่างมีประสิทธิภาพ ท่ีประกอบด้วย 1) การมีเป้าหมายเดียวกัน
มุ่งมั่น ร่วมแรงร่วมใจเพื่อให้บรรลุเป้าหมายให้ได้ 2) มีระบบการทางานที่ชัดเจน
ทุกคนรู้หน้าท่ี ปฏิบัติภารกิจให้ดีที่สุด 3) สามัคคีให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือเก้ือกูล
ผลกั ดันกันและกนั และ 4) ช่นื ชมความสาเร็จร่วมกัน รว่ มภาคภูมใิ จดว้ ยกัน
บคุ คลที่เราร่วมดาเนินการต้ังแต่ข้ันตอนท่ี 1 จนถึงข้นั ตอนท่ี 7 รว่ มกนั ออกแบบ “สิ่ง
ท่ตี นเองตอ้ งทา” ทม่ี ีส่วนเกยี่ วขอ้ งในกจิ กรรมทีจ่ ะดาเนินการเพ่ือแกป้ ัญหาน้นั ๆ
อุปสรรค การยึดติดกับรูปแบบการทางานเดิมๆ ของเจ้าหน้าที่ แต่การสร้าง HLO
และ HL ในประชาชนให้ประสบความสาเร็จนั้น เจ้าหน้าท่ีที่ดาเนินการในฐานะ
องคก์ รรอบรู้ทางสุขภาพ (HLO) จะตอ้ งทาตัวเปน็ คุณอานวย (facilitator) ในการวาง
ระบบเชื่อมโยง ข้อเสนอแนะต่างๆจากทีมให้เป็นระบบสุขภาพที่ขับเคลื่อนได้จริง
เจ้าหน้าท่ี (คุณอานวย) ต้องมีความคิดเชิงระบบจนสามารถปะติดปะต่อเร่ืองราว
ตา่ งๆจนเป็น หลายเร่ืองราวในหน่ึงระบบ (multi story in one system)
ตัวอย่าง อาวุโสวิทยา = โรงเรียนต้านเศร้า ของสอน.บ้านนิคม กม.5 จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ (ตัวอย่างเช่ือมโยงขั้นตอนที่ 7 แสดงให้เห็นการเชื่อมโยงวิธีการ
แก้ปัญหาหลากหลายให้เป็นหนึ่งระบบจัดการ โดยมี คุณอานวย (เจ้าหน้าท่ี สอน.) :
23
โรงเรยี นตา้ นเศรา้ (key message) จดั การเวลาวา่ งเปล่าของผู้สูงอายุกลุ่มตดิ สงั คมให้
หมดไป (tailored key message)
ผู้สูงอายุ : การจัดการเวลาที่ว่างเปล่า คือ ทาให้เวลาว่างระหว่างวันท่ีบ้านมี
กิจกรรมทาเช่ือมโยงกับการมาเข้าร่วมกิจกรรมของอาวุโสวิทยา ที่เพ่ิมจากเดือนละ
คร้ังเป็นสัปดาห์ละ 1 คร้ัง (ความต้องการท่ีได้รับการตอบสนองอย่างเพียงพอต่อ
การจดั การเวลาเปลา่ )
เจ้าหน้าท่ีรับผิดชอบโครงการ : ออกแบบกิจกรรมที่จัดสัปดาห์ละ 1 คร้ังและ
มีการบ้านกลับไปทาที่บ้าน เพ่ือให้มีกิจกรรมเช่ือมโยงกับอาวุโสวิทยาในทุกๆ วัน
ตามความต้องการของผสู้ งู อายุ จากนั้นเจ้าหน้าที่กค็ านวณคา่ ใช้จ่ายในการดาเนินการ
เพ่ือของบประมาณสนบั สนนุ
ท้องถิ่น : จัดสรรงบประมาณ ให้เหมาะสมกับกิจกรรมและถูกระเบียบการเงิน
การคลงั
เครือข่าย อสม.ศิษยอ์ าวุโสวิทยา : เชญิ ชวนสมาชิกผู้สูงอายใุ นชุมชนเขา้ สู่โรงเรียน
ต้านเศร้า
ภาคประชาชน : ช่วยเสริมพลังโดยใช้กิจกรรมสาธารณะเพ่ือสร้างความมีคุณค่า
แก่สมาชิกอาวโุ สวิทยา
ส่ือประชาสัมพันธ์ : เชื่อมโยงอาวุโสวิทยาสู่สังคม โดยการผลักดันผ่านส่ือ เพื่อทา
ให้สมาชิกเกดิ ความภาคภูมิใจในการเข้ารว่ มกจิ กรรมสาธารณะ
ขนั้ ตอนที่ 9 ดำเนนิ กำรรว่ มกัน แก้ไขปัญหำร่วมกนั
การดาเนินการภายใต้ระบบที่ออกแบบใหม่ มักจะพบตัวแปรอิสระที่เข้ามา
ผลกระทบต่อกระบวนการท่ีออกแบบผ่านแผนปฏิบัติบนโต๊ะ ในระหว่างดาเนินการ
24
ต้องเก็บข้อมูลตัวแปรหรือปัญหาอุปสรรคท่ีมีผลต่อการดาเนินงานและร่วมกัน
ปรบั ปรุงแก้ไข โดยบนั ทกึ กิจกรรมทุกขั้นตอนไว้เปน็ บทเรียน
อุปสรรค ขาดการบันทึกปัญหาอุปสรรค หรือบทเรียนใหม่ๆที่ได้ระหว่าง
การดาเนนิ งาน
ตัวอย่าง สอน.ตาบลพะตง จังหวัดสงขลา“จากการระดมสมองกลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มติดสังคม พบว่า ปัญหาสุขภาพในช่องปากในกลุ่มนี้ คือ เรื่องของประสิทธิภาพ
ในการดูแลช่องปากในกลุ่มท่ีมีฟันครบและฟันปลอม เกิดความต้องการให้
มีการสอนให้ดูแลสุขภาพในช่องปากข้ึน ระหว่างการดาเนินการคร้ังแรก พบว่า
กลุ่มเป้าหมายผูส้ ูงอายมุ ีปัญหาสายตาไมส่ ามารถมองเห็นโมเดลฟนั ในการสอนได้ครบ
จึงเกิดการคืนข้อมูลการปรับเครื่องในการส่ือสารโดยทาโมเดลฟันขนาดใหญ่เพื่อให้
กลมุ่ เปา้ หมายเขา้ ถงึ การสอ่ื สารไดค้ รอบคลมุ ทุกคน”
ขั้นตอนท่ี 10 รับกำรตดิ ตำมเยยี่ มเสรมิ พลงั จำกทีมวชิ ำกำรและส่วนกลำง
การติดตามเย่ียมเสริมพลังเป็นการอานวย (Facilitate) ที่จะทาให้การ
ดาเนินงานมีความคมชัด จากการถอดบทเรียนผ่านเครื่องมือ HLO เป็นการสะท้อน
ผลลัพธ์จากบุคคลที่ 3 ที่ทาให้เห็นความสาเร็จบางอย่างที่ผู้ปฏิบัติงานประจา
อาจทาด้วยความเคยชินจนไม่คิดว่าเป็นความสาเร็จ หรือเห็นช่องว่าง (Gap) จาก
การดาเนนิ งานในมุมมองทห่ี ลากหลาย
อุปสรรค หากพนื้ ทีข่ ยายผลจานวนมาก ทมี วิชาการและสว่ นกลางอาจไม่เพียงพอ
ตัวอย่าง สอน.บ้านเมืองใหม่ จังหวัดขอนแก่น เลือกประเด็นการเรียนรู้ “ครอบครัว
รอบรู้สู้ OV” การลงพื้นที่เจ้าหนา้ ทผ่ี รู้ บั ผดิ ชอบงาน LTC สรุปบทเรยี นการดาเนินการ
25
ขอให้ทีมช่วยถอดบทเรียนเพ่ือพัฒนางาน LTC แบบองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ การ
จั ด ก า ร ง า น นี้ พ บ ว่ า เ ม่ื อ ที ม น า ผ ล ง า น ที่ ไ ด้ ม า ถ อ ด บ ท เ รี ย น ท า ใ ห้
เห็นความเข้าใจลึกซ้ึง (tacit knowledge) ท่ีเกิดขึ้นในทุกขั้นตอน เจ้าหน้าที่และ
ทีมงานมีการพัฒนางานแบบ PDSA (Plan-Do-Study-Act) อย่างเป็นธรรมชาติ
เมื่อถอดบทเรียนด้วยกระบวนการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพจากการออกแบบ
ระบบบริการอย่างใส่ใจ ผู้รับผิดชอบงานและทีมงานรู้สึกมีพลังและเห็นคุณค่า
ในงานประจาของตนเองมากข้ึน พบว่า key message สาคัญที่ทาให้งานนี้สาเร็จได้
1.ค้นหาเป้าหมายในชุมชนรวดเร็ว 2. ทีมวิชาชีพใส่ใจการออกแบบแผนการดูแล
(care plan) รว่ มกัน 3. ท้องถ่ินให้ความสาคัญในการขับเคลือ่ นงบประมาณ
ข้ันตอนที่ 11 ประเมินกำรนำนโยบำยไปสูก่ ำรปฏบิ ตั ิ
เมื่อรวบรวมบันทึกการดาเนินงาน ความสาเร็จ รวมท้ังปัญหาอุปสรรค
ได้แล้ว จะทาให้สามารถประเมินการนานโยบาย “องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ”
ไปสู่การปฏบิ ัติ ได้ 2 อย่างคือ
1. ประเมินกระบวนการ (process) ซึ่งสามารถแสดงให้เห็นถึงช่องทางของ
พฒั นากระบวนการ ให้ดขี ึ้นจากเดิมเพ่ือพัฒนาตอ่ เนือ่ งย่งั ยืนได้หรือไม่)
2. ประเมินผลลัพธ์จากการดาเนินโครงการ (output, outcome and
impact) ซึง่ จะสามารถแสดงใหเ้ หน็ ว่าทางานได้ผลหรือไม่
ตัวอย่าง สอน.บ้านนิคม กม.5 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พบว่า การดาเนินงาน HLO
เร่ืองพัฒนาการเด็กสมวยั ดว้ ยการใสใ่ จ พบวา่ มตี ัวแปรทเี่ ข้ามามีผลกบั พัฒนาการเด็ก
คือ การใช้รถหัดเดินเร็วเกินไป ทาให้พัฒนาการด้านการคว่าล่าช้า จึงผลิตส่ือ
26
เพื่อใช้ส่ือสารกับชุมชมระหว่างการดาเนินงาน คืนข้อมูลท่ีมีประโยชน์ เพื่อให้
กระบวนการดาเนินงานสมบูรณย์ ิง่ ขึน้
ขั้นตอนท่ี 12 ถอดบทเรยี นและสรุปกำรประเมินผลลัพธ์
เม่ือดาเนินการเสร็จส้ินกระบวนการ มีการทบทวน การดาเนินการท้ังระบบ
เพื่อถอดบทเรียน แต่ละข้ันตอนการดาเนนิ งาน
ผลผลิต (Output) ผลที่เกิดในระดับกิจกรรมกระบวนการการดาเนินโครงการ
ที่จะส่งผลตอ่ ผลลพั ธข์ องโครงการในทกุ มิติ ทง้ั ความสาเรจ็ และอปุ สรรค
ผลลพั ธ์ (Outcome) ผลทเ่ี กดิ ขึ้นของโครงการตามเปา้ หมายทก่ี าหนดไว้ HLO
ผลกระทบ (Impact) ประชาชนมี HL โครงการมีส่วนทาให้เกิด HL ของประชาชน
อยา่ งไร
ขนั้ ตอนที่ 13 วำงแผนกำรพัฒนำต่อเนอ่ื ง
การพัฒนาต่อเน่ืองจากบทเรียนการทางานในรูปแบบ HLO เป็นบทเรียนที่
สามารถนาบทเรียน เพ่ือขยายผลการออกแบบการจัดการสุขภาพ ในประเด็นอ่ืนๆ
หรอื กระบวนการจัดการสขุ ภาพอยา่ งมสี ่วนร่วม สามารถพัฒนาระดับความรอบรู้จาก
ระดบั บุคคล ครอบครวั ชุมชนจนถึงสงั คมแห่งการรอบรู้เป้าหมายสูงสดุ
27
III. ปัจจัยแห่งควำมสำเร็จ (Key success factor) ในกำรดำเนินงำนสร้ำง
HLO ของท้ัง 16 หน่วยงำน ประกอบด้วย
ผู้นาท่ที รงพลงั กดั ไม่ปล่อย และ ทางานอยา่ งต่อเนอ่ื ง (Powerful leader)
การมีเป้าหมายขององค์กร เพ่ือการเฉลิมพระเกียรติฯ และมีมูลนิธิฯ ดูแล
กบั การสนับสนนุ อยเู่ บอื้ งหลงั (Organizational commitment under the
supervision of the Foundation)
หน่วยงานและชุมชนถือเป็นปัญหาร่วม หากประเด็นท่ีเลือกมาทานาร่อง
ในการสร้าง HLO นั้น กลายเป็น “ทุกข์หน้าหมู่” เป็นปัญหา/ผลประโยชน์
ร่วมของชุมชนแล้ว ความร่วมมือจะเกิดอย่างแท้จริง ทาให้เกิดพลังใน
การเคลื่อนงาน
การมีผู้ช่วยเชิงวิชาการทาให้ไม่หลงทาง ไม่สับสน และ เป็นผู้ช่วยในการทา
ให้งานประจากลายเป็นงานวิชาการและงานสร้างสรรค์ที่สามารถเผยแพร่
ไปสู่สงั คมเพือ่ การแลกเปล่ยี นเรยี นรไู้ ด้ (Academic supporter)
จุดประสานงานร่วมที่ทาหน้าท่ีเป็นเลขานุการ ประสานงาน และ สื่อสาร
เครือข่ายใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ (Administrative center)
การเยีย่ มเสริมพลังอย่างสร้างสรรค์ จะเปน็ ตวั กระตุ้นงานทด่ี ี และยงั สามารถ
ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงวิชาการเพื่อการปฏิบัติการท่ีไม่สับสน
ไมห่ ลงทาง (Appreciative appraisal visit)
การดาเนินการอยา่ งตอ่ เนอื่ ง กดั ไม่ปลอ่ ย และบรู ณาการเขา้ ไปในงานประจา
(Continuous activities)
IV. คุณลักษณะของบคุ ลำกรทพี่ ึงประสงค์ในกำรสรำ้ ง HLO ทม่ี ีประสทิ ธิภำพ
“คุณลักษณะที่พึงมีของเจ้าหน้าที่ ที่จะสร้าง health Literacy ให้ประชาชน
ได้น้ัน ต้องเป็นคนพร้อมที่จะเรียนรู้และยอมรับพื้นฐานของคนว่า มีความเข้าใจใน
28
เรื่องสุขภาพแตกต่างกัน” นายศักดิ์ชัย กามโร เจ้าพนักงานสาธารณสุขชานาญงาน
สอน.บ้านเมืองใหม่ จังหวัดขอนแกน่
ในการสร้างความรอบรู้ให้กับประชาชนน้ัน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขต้องทา
บทบาทของ Facilitator คือ การเป็นผู้อานวยความสะดวก ช่วยสร้างโอกาส จัดการ
สิ่งแวดลอ้ มทช่ี ่วยสร้างความรอบรู้ทางสขุ ภาพให้กับประชาชนในพื้นท่ีและผรู้ ับบริการ
ได้ การปรบั ปรุงครง้ั ยงิ่ ใหญ่นี้ คอื การปรบั ทัศนคติ (mind set) และบคุ ลกิ การทางาน
ของเจ้าหน้าทีส่ าธารณสขุ ดังแสดงในตำรำงที่ 2
ตำรำงที่2: รูปแบบการทางานเดิมเทียบกับทัศนคติ (mind set) ใหม่เพ่ือการให้
บริการสาธารณสุขที่ช่วยเสริมสร้าง HL ให้กับประชาชนและผู้รับบริการ รวมถึง
บทบาทหนา้ ท่ีของ facilitator
รปู แบบกำรทำงำนเดิม ทศั นคติ (Mind set) ใหม่ บทบำท facilitator
-ทางานด้วยระบบถกู สงั่ -เรียนรสู้ ถานการณ์แวดล้อม -เจา้ หนา้ ทที่ กุ คนควร
การจากนโยบาย (Top
down) ทกุ มิติก่อนออกแบบ พัฒนาทกั ษะการเป็น
-เปา้ หมายของงานเปน็
เพยี งเป้าหมายระยะส้ัน ดาเนินงาน Facilitator
ตามกรอบการกากับ
ตดิ ตาม ตามตวั ช้ีวัด แมจ้ ะเป็นงานนโยบายกต็ าม - ดาเนินการเก็บและใช้
(KPI) แตล่ ะระดับทาให้
ขาดการบูรณาการเพื่อ จะทาใหเ้ หน็ ทิศทางของแผน ขอ้ มูล ด้านสุขภาพ
การทางานท่ีต่อเน่อื ง
ทจ่ี ะส่งผลดใี นระยะยาว ปฏบิ ตั งิ าน (Action Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ
ท่มี ีคุณภาพ ตัวอยา่ งของ ความสัมพนั ธเ์ ชิงสงั คม
วิธีการท่ีใช้ คือ SWOT สภาพแวดลอ้ มทางสงั คม
analysis รวมถึงระบบสนบั สนนุ
-การทางานเนน้ การมีส่วน - ฝกึ ทักษะการฟัง หาก
รว่ ม ต้องการทางานได้อย่าง
กับชมุ ชนจะทาให้เกิด เหมาะสมครอบคลุมทุก
ทิศทาง ด้าน คนทางานต้องเป็น
การทางานแบบ bottom –
29
รปู แบบกำรทำงำนเดิม ทัศนคติ (Mind set) ใหม่ บทบำท facilitator
เครือข่าย ระบบการ up โดยมีประชาชนเปน็ ผู้ ผู้ฟงั ทีด่ ี เปิดใจรับข้อมูล
เชื่อมโยงเนน้ ภาครัฐ
เปน็ หลักภาครัฐ รว่ มกาหนดทิศทางสุขภาพ ทกุ มุมมอง
ซึ่งมกั ประกอบดว้ ย อส
ม. เจ้าหนา้ ที่ รพช. -ฝกึ ทักษะการถาม นนั่
ท้องถ่ิน
คอื ตง้ั คาถามตรงประเดน็
ครู ก สว่ นใหญค่ อื บุคคล
ที่ถูกอบรม ไดร้ บั ความรู้ สามารถใช้ (การต้ัง
ทางทฤษฏี เพื่อสือ่ สาร
คาถามทีท่ รงพลงั )
powerful question
- วิเคราะห์ตน้ ทนุ ศักยภาพ สร้างเวทแี ห่งการแลก
ท้ังตน้ ทนุ มนุษย์ ต้นทนุ เปลี่ยนข้อมลู สาหรับ
สังคม และ ต้นทนุ ผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสียที่
ส่ิงแวดลอ้ ม ในทุกภาคส่วน หลากหลาย เพื่อการ
ทัง้ ภาครฐั ภาคเอกชน ภาค ดาเนินงานไปสเู่ ปา้ หมาย
ชมุ ชน เช่น ปราชญ์ คนรอบ สาคญั ทตี่ ัง้ ไว้
รู้ดา้ นสุขภาพ/คนตน้ แบบ
ฯลฯ ทีม่ ผี ล ต่องานที่
ดาเนินการอยู่ จากนัน้
ส่งเสรมิ การดาเนินการแบบ
มีส่วนร่วมทีเ่ น้นการรว่ ม
เรยี นรู้ ภายใต้ปจั จัยเฉพาะ
ตามบริบทของพน้ื ท่ี
- ปัจจัยสาคญั ทท่ี าให้เกดิ
การมีสว่ นรว่ ม คือ การมี
ความตอ้ งการร่วมกนั
ครู ก คือคนที่ปรบั เปลยี่ น ใชท้ กั ษะการตั้งคาถามท่ี
พฤติกรรมตนเองสาเรจ็ (คน ดี ใช้ powerful
V Shape: HLP) จนได้ความ question เพอื่ เปิด
30
รปู แบบกำรทำงำนเดิม ทัศนคติ (Mind set) ใหม่ บทบำท facilitator
ขยายผลสิ่งท่ีได้เรียนรู้ เขา้ ใจลกึ ซง้ึ (tacit โอกาสใหค้ น
จากการอบรม knowledge) ที่เกิดจากการ V Shape (HLP)
ปฏิบตั จิ รงิ สะท้อน บทเรยี นทไ่ี ด้
คนกลุ่มน้จี ะสามารถส่ือสาร จากความสาเรจ็ ของตน
บอกต่อเทคนคิ แห่ง ออกมาแล้ว facilitator
ความสาเรจ็ กร็ วบรวม จัดระบบ และ
ผ่านประสบการณ์ตรงของ สังเคราะห์เป็นชดุ ความรู้
ตนเองไดอ้ ย่าง insight และ เพอื่ นาไปใช้ขยายผลได้
มพี ลงั มากกวา่
เครอื่ งมอื ในการสร้าง การจัดโอกาสแห่งการ Facilitator ควรมี
การมสี ว่ นร่วมไมส่ ามารถ สอ่ื สารข้อเท็จจรงิ ซง่ึ เปน็ ทักษะกระบวนกร
สรา้ งการมีสว่ นรว่ มอย่าง การใช้ข้อมลู สถานการณ์ สามารถจัดกระบวนการ
แท้จริงไดส้ ่วนใหญ่เป็น ตา่ งๆ ที่เก็บรวบรวมไวแ้ ล้ว เรยี นรทู้ ่ีนาไปสกู่ ารสรา้ ง
แคส่ ร้างการรับรโู้ ดย มาสะท้อนกลับเพอื่ สรา้ งการ การมีส่วนรว่ มของทุก
อาศัยการประชาสมั พนั ธ์ รบั รูแ้ ละสรา้ งความตระหนัก ภาคสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
ตา่ งๆ เชน่ sport กบั ผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสีย หรอื
โฆษณา หอกระจายขา่ ว คนไข้ ให้เห็นความสาคัญ
ของประเด็นสขุ ภาพ จนเกดิ
การตกลงกาหนดทิศทาง
รว่ มกนั
การตัดสินใจในการ เปิดโอกาส สรา้ งเวทใี หท้ ุก ให้ขอ้ มูลปอ้ นกลับ
จัดบรกิ ารต่างๆ เปน็ ของ ภาคสว่ นท่ีเกี่ยวข้องได้มา เก่ยี วกับสถานการณ์
เจา้ หน้าทสี่ าธารณสุข กาหนดเป้าหมายและ สะท้อนขอ้ ดี ข้อเสีย ใน
เปน็ ส่วนใหญ่ วางแผนปฏิบัติการร่วมกัน แตล่ ะประเด็น รวมทั้ง
สอดแทรกความรู้
31
รปู แบบกำรทำงำนเดมิ ทศั นคติ (Mind set) ใหม่ บทบำท facilitator
เจา้ หน้าท่ีนิยมใชช้ ุด ทางวิชาการเพิ่มเตมิ เพื่อ
เครื่องมือสาเรจ็ รูป ส่งเสรมิ ให้ผมู้ สี ่วนไดส้ ่วน
ในการดาเนินงาน เสยี ทกุ ฝ่ายได้ตัดสนิ ใจ
รวมถึงกากับกจิ กรรม รว่ มกัน
การดาเนินงานให้ทนั
ปงี บประมาณนน้ั ๆ - ชุดเครอื่ งมือ ขั้นตอน เป็นท่ีปรกึ ษาท่ีดีตลอด
การดาเนนิ งาน ถูกออกแบบ กระบวนการ
ระบบการประเมนิ อย่างมีส่วนร่วม โดยใช้
โครงการ ประโยชนจ์ ากต้นทนุ
เปน็ ความสาเร็จใน ศักยภาพท่มี ีอยู่
ปงี บประมาณ - กลไกการดาเนินงานที่
ออกแบบร่วมกันนัน้ จะ
กลายเปน็ แรงหนุนเสรมิ การ
ใชจ้ ุดแข็ง (S) และ โอกาสใน
พฒั นา (O) โดยใช้ข้อมูลของ
พืน้ ทเ่ี ป็นฐาน
ระบบการประเมนิ โครงการ เป็นทป่ี รึกษาที่ดีตลอด
ทเ่ี ป็นพลวตั ซ่งึ ดูไดจ้ าก กระบวนการ
การประเมินความก้าวหน้า
ในการขบั เคลือ่ น
กระบวนการ HLO การ
เปลีย่ นแปลงพฤติกรรม
สุขภาพท่กี ่อเกดิ สขุ ภาพดี
ของทมี HLP
(คนรอบรู้สขุ ภาพท่ีมี
ลกั ษณะตาม V shape)
32
รปู แบบกำรทำงำนเดมิ ทัศนคติ (Mind set) ใหม่ บทบำท facilitator
ผลลพั ธ์ของงานเป็น ผลลัพธข์ องงานนอกจากจะ
ผลผลิต (Output) จาก เปน็ ผลผลิต (Output) และ ตดิ ตามข้อมลู ดาเนนิ การ
กิจกรรมในโครงการ ผลลัพธ์ (Outcome) จาก เก็บข้อมูลผลลพั ธใ์ นรูป
ในปีงบประมาณน้นั ๆ กจิ กรรมในโครงการ แบบทางสถติ ิทเ่ี หมาะสม
ตา่ งๆ แล้ว ยังมีความเขา้ ใจ รวมไปถึง ผลกระทบ
โครงการตา่ งๆจะมี ลึกซ้งึ (tacit knowledge) ต่างๆท่เี กดิ ขึ้น
การดาเนนิ งานอยา่ ง จานวนมากท่ีได้รบั การ -เครอ่ื งมือสาคัญ ที่
ตอ่ เนอื่ งหรอื ไมน่ นั้ ขึน้ อยู่ ถ่ายทอดออกมา เกิดเป็น ทมี งานนาร่องใช้ คือ
กับ นโยบายในแต่ละปี ชดุ ความรู้ใหมๆ่ ที่ “Teach me back”,
ถา้ ไม่ใชง่ านทีเ่ กี่ยวขอ้ ง เปล่ียนแปลงไปตาม “ask me three”
กบั นโยบายหลักในปี สถานการณ์และบริบm รายบุคคล เพื่อสอบทวน
นัน้ ๆ โครงการดงั กลา่ วก็ แวดลอ้ ม ความเขา้ ใจของ
จะสน้ิ สุดภายใน ผูร้ ับบริการ ที่สะท้อนถงึ
กระบวนการ (Process) คุณภาพของการสือ่ สาร
ของการสรา้ ง HLO จะเป็น ของเจา้ หนา้ ท่ี รวมไปถงึ
กระบวนการแห่งการพฒั นา การประเมินความรอบรู้
ทเ่ี ริ่มต้นจาก การพฒั นา ด้านสุขภาพของ
สุขภาพของคนกลมุ่ เลก็ ๆ ประชาชน/ผูใ้ ช้บริการใน
(Health Literate People) ประเดน็ เฉพาะต่างๆ
ทสี่ ามารถขยายผลไปถงึ
ครอบครวั (Health กระตนุ้ ทา้ ทาย และ
เสรมิ ศกั ยภาพกล่มุ แกน
นาด้านสขุ ภาพ ซ่งึ กค็ ือ
กลุ่มของคนต้นแบบ (V
shape) ไปสู่ การเป็น
ผู้นำกำร
เปลี่ยนแปลง ท่ี
สามารถ การพฒั นาให้
33
รปู แบบกำรทำงำนเดิม ทศั นคติ (Mind set) ใหม่ บทบำท facilitator
ปีงบประมาณ ไม่มีการ Literate Family) ชุมชน เกิดความสาเร็จในระดบั
ดาเนินงานต่อเนอ่ื ง (Health Literate ท่ีสูงขน้ึ และขยายผลไปสู่
Community) และ สังคม สงั คมได้
(Health Literate Society)
จุดคานงัด (tipping point) สาหรับความสาเร็จในการสร้างองค์กรรอบรู้ทางสุขภาพ
คือ การดาเนนิ งานเพ่ือปรับทัศนคติ (mindset) ของผู้ปฏบิ ัตงิ านให้กลายเป็นบุคลากร
ผู้สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพทั้งในระดับประชาชนและระดับองค์กร บทเรียนของ
16 หนว่ ยงานนารอ่ งสร้าง HLO คน้ พบ “วิธกี าร” (how to) ดงั น้ี
จากบริบทเดิม การทางานการสร้างความรู้ทางสุขภาพด้วยการให้สุขศึกษา
สรา้ งความสบั สนในใจคนทางานว่าน่ันคือการสร้างความรอบรู้ ซ่งึ กไ็ มแ่ ปลก เพราะว่า
มีกระบวนการทางานท่ีคล้ายคลึงกัน จึงเป็นการยากท่ีจะอธิบายด้วยวาจาให้เข้าใจ
การดาเนนิ งานดว้ ยทัศนคติ (mindset) ใหม่ ในแบบบุคคลากรทส่ี ร้างความรอบรู้ด้าน
สุขภาพ และส่ิงท่เี ป็นภาพลวง ทสี่ าคญั อีกอยา่ งหนึ่งคือ การทางานในลักษณะเวทีที่มุ่ง
ใช้ในการออกแบบสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดาเนินงานรูปแบบเดิม ท่ีมีกรอบ
ตัวช้ีวัดกากับไว้ ส่งผลให้เกิดการยึดติดทางความคิด (fix idea) ในการออกแบบกลไก
การดาเนินงานให้เพียงเพื่อสนองความต้องการของบุคลากรสุขภาพ จนกลายเป็น
บุคลกิ ของเจ้าหน้าทแี่ ละเปน็ วัฒนธรรมการทางานท่ปี รบั ได้ยาก
วิธีการปรับทัศนคติ (mind set) ท่ี 16 หน่วยงานนาร่องลองใช้แล้วได้ผลคือ
กระบวนกำรสื่อสำรเชิงวิเครำะห์สถำนกำรณ์จำกหน้ำงำนจริง (authentic
analytical communication) เพ่ือสร้างความเข้าใจในรูปแบบการทางานที่
สามารถสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพได้ ท่ีต้องอธิบายพร้อมยกตัวอย่าง โครงสร้าง
เคร่ืองมือ 13 ขั้นตอน ในการสร้าง HLO และ 10 คุณลักษณะของ HLO ให้ชัดเจนวา่
กลไกของแต่ละขั้นตอน มีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกันและกันอย่างไร เน้ือหาสาระ
ที่ต้องเน้นจุดแตกต่างและกลไกที่ทาให้เกิดความรอบรู้อยู่ตรงไหนของแต่ละขั้นตอน
ซ่ึงวิธีการน้ีเป็นบทบาทท่ีสาคัญของคนสนับสนุนวิชาการ (Academic supporter)
34
ที่ต้องทาให้เกิดในข้ันตอนของการติดตามเย่ียมเสริมพลัง (Appreciative appraisal
visit)
บทสรุปเพื่อกำรเร่ิมงำนสรำ้ ง HLO
ผู้นาการเปล่ียนแปลง ท่ีน่าจะเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดของหน่วยงาน ต้องทา
ความเข้าใจเกี่ยวกับ HL และ HLO เพ่ือให้สามารถแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และดาเนินการส่ือสารภายในองค์กรเพื่อเตรียมความพร้อม
ใหก้ บั บุคลากรในหนว่ ยงาน
นอกจากน้ีในภาพรวมของหน่วยงานพบว่า การสร้าง HLO ของ 16
หน่วยงานนาร่องน้ัน จะเริ่มท่ีการจัดการกับวิสัยทัศน์ โครงสร้างและแผนของ
หน่วยงานเพื่อเป็นร่องรอยหลักฐานที่แสดงเจตนารมณ์ของการสร้าง HLO
แล้วจัดการกับสภาพแวดล้อมเชิงโครงสร้างของหน่วยงาน ให้เอื้อต่อการเข้าถึง
บรกิ ารโดยเฉพาะในกลุ่มเปราะบาง เช่น ผ้พู ิการ ผ้สู ูงอายุ เด็กและสตรีมคี รรภ์ รวมถึง
กลมุ่ ผ้ใู ช้บรกิ ารทมี่ บี ริบทเฉพาะ เช่น แรงงานต่างดา้ วท่ีไมร่ ูภ้ าษาไทย คนทอี่ า่ นไม่ออก
เขียนไม่ได้ หลังจากนั้นก็หยิบงานบางงานที่มีต้นทุนศักยภาพสูงอยู่แล้ว มาเป็น
แบบฝึกหัดในการออกแบบบริการ การสื่อสารเพื่อการปรับเปล่ียนพฤติกรรมที่ช่วย
เสรมิ สร้างความรอบรู้ (literacy) ในผ้รู บั บรกิ าร เพ่อื เปน็ งานนารอ่ งในการสรา้ ง HLO
จากนัน้ กร็ ะดมทมี งานรวบรวมขอ้ มูล สถานการณ์ เรียนรบู้ ริบท เพอ่ื วเิ คราะห์
สถานการณ์ในพื้นท่ี แล้วย่อยสกัดข้อมูลการวิเคราะห์สถานการณ์ที่ได้ เตรียมความ
พร้อมไปให้ข้อมูลป้อนกลับกับเครือข่าย สร้างความเข้าใจร่วมกันเพ่ือให้เห็น
ความสาคัญของการดาเนินการในคร้ังนี้ (win-win situation) ที่สามารถนาไปสู่
การสร้างนโยบายร่วม
จากนั้นทีมงานย่อยๆในแต่ละงาน ควรดาเนินการประเมินองค์กรย่อยของ
ตนเองเทยี บเคียงกับคุณลักษณะ HLO โดยให้ผู้รบั บริการเข้ามามสี ่วนร่วม สะทอ้ นผล
การให้บริการทั้งด้านกระบวนการให้บริการ การส่ือสารของเจ้าหน้าท่ี ส่ือสุขภาพ
ต่างๆ ท่ีใช้ รวมไปถึงความยากง่ายในการเข้าถึงบริการ จะทาให้ผู้ให้บริการพบจุดที่
ต้องพัฒนา ส่วนในการค้นหาวิธีการปรับปรุงพัฒนางานนั้น ก็ควรเปิดโอกาสให้
ผูร้ ับบริการได้เสนอแนะรปู แบบวธิ ีการที่เขาคิดวา่ เหมาะสมและดีกับเขาทส่ี ุด
35
ในการดาเนินการเพื่อพัฒนางานต่างๆนั้น ควรค้นหาทุนมนุษย์และทุนสังคม
เพื่อสร้างทีมงานและระดมทรัพยากร ค้นหาคนรอบรู้ด้านสุขภาพท่ีมีลักษณะ
V shape แล้วเสริมพลัง เพ่ือสร้างคนต้นแบบและทีมสื่อสาร และอย่าลืมว่า
การดาเนินงานทุกอย่าง ควรเน้นการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้มากท่ีสุด
ดังนั้น จึงควรค้นหากลวิธีท่ีเหมาะสมในบริบทของตน เพื่อกระตุ้นการมีส่วนร่วมของ
ชุมชน ในการร่วมกันค้นหา key message และสร้างส่ือท่ีทุกคนเข้าใจ ตัดสินใจ
ในประเด็นต่างๆ จัดทากลไกการทางาน ดาเนินการและแก้ไขปัญหาร่วมกัน
จนสามารถพดู ไดว้ า่ “ร่วมคิด ร่วมทา รว่ มรับผดิ ชอบ”
จากการถอดบทเรียน 16 หน่วยงานนาร่อง พบว่า การเยี่ยมเสริมพลัง
(Appreciative appraisal visiting) จากทีมวิชาการและส่วนกลาง นั้น เป็นแรง
กระตุ้นการสร้าง HLO ที่ดี อีกท้ังยังช่วยให้เห็นแนวทางการดาเนินงานที่ควรจะเป็น
ช่วยเสริมพลังสร้างความม่ันใจในการดาเนินงาน เพื่อสร้าง HLO ซึ่งบทเรียนท่ีถอดมา
แสดงให้เห็นว่า ควรเปิดรับการตรวจเยี่ยม 3 ระยะ ตั้งแต่ระยะ 1) การวางแผนการ
ดาเนินงาน 2) ดาเนินงานไปได้ระยะหน่ึงแลว้ รสู้ ึกตอ้ งการข้อเสนอแนะเพ่ือแก้ปัญหา
หรือต้องการเสริมสร้างความเชื่อม่ัน และ 3) เม่ือต้องการประเมินผลการนานโยบาย
ไปสู่การปฏิบัติ ถอดบทเรียนและสรุปประเมินผลลัพธ์ รวมไปถึงการวางแผนการ
พฒั นาตอ่ เนอ่ื ง
ผลงำนของ 16 หนว่ ยงำนนำรอ่ งสร้ำง HLO
ในตารางถัดไปได้นาเสนอผลงานของ 16 สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯและสถานี
อนามัยทไี่ ด้รับพระราชทานนาม นารอ่ งสร้าง HLO
36
ตำรำงท่ี ๓. ผลงานของ 16 สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ และสถานีอนามัย
พระราชทานนามนาร่องสร้าง HLO
หน่วยงำน สินค้ำ/จุดขำย
เขตสขุ ภาพท่ี 1 สร้าง HLC
สถานีอนามัย การขับเคล่ือนนโยบายสุขภาพระดับ ชุมชน “ชุมชนรอบรู้
เฉลิมพระเกยี รติฯ ดา้ นสุขภาพ จัดการฟลอู อไรด์เกินมาตรฐานในน้าดื่ม” มีการ
อนาลโย ใช้ข้อมูลชุมชน เป็นฐานในดาเนินการเพื่อจัดการปัญหา
จังหวดั พะเยา สุขภาพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง และ มีการค้นหาและใช้
ต้นทุนทรงพลังที่ทาให้สามารถขับเคลื่อนนักวิจัยชุมชน เช่น
สกว. กองทันตะระหว่างประเทศ สถาบันการศึกษาในพื้นท่ี
ผู้นาท้องถ่ิน ผู้ตัดสินใจกาหนดทิศทางนโยบายชุมชน มีการ
ขับเคลื่อนกลไกทั้งองคาพยพ จนทาให้ประชาชนเข้าถึง
ขอ้ มูลทีจ่ าเป็นมากพอท่ีจะตดั สินใจ เปลย่ี นความเชื่อท่วี ่าฟัน
ตกกระเป็นกรรมพันธ์ุ มาเป็นสาเหตุแหง่ ฟันตกกระที่แท้จรงิ
คือผลจากบริโภคน้าที่มีฟลูออไรด์เกินมาตรฐาน จนสามารถ
ผลักดันให้เกิดการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณสุขสู่การ
แกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ระบบ
เขตสขุ ภาพท่ี 1 การออกแบบบริการ Service design และ การจัดการการ
สถานอี นามยั เปลี่ยนแปลง change management
เฉลมิ พระเกยี รตฯิ ออกแบบการบริการภายในสถานพยาบาล โดยการ
แมป่ ืม ค้นหาข้อมูลความพึงพอใจของผู้รับบริการ ทั้งน้ี เพราะ
จงั หวดั พะเยา ผู้รับบริการส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ตามองไม่เห็น หูไม่ได้ยิน
และมีข้อมูลเดิมท่ีว่า เคยมีการพัฒนาการใช้ป้ายสัญลักษณ์
ในการสื่อสาร แต่ก็ยังคงเกิดการสับสนในการใช้บริการ จึง
ริเริ่ม ใช้ อสม.Reception มาดูแลผู้รับบริการจากจุดแรก
จนถึงจุดสุดท้าย มีการกาหนดเป็นนโยบายการดาเนินงาน
ขององค์กร มีการจัดเวร อสม. มาให้บริการ นอกจากได้
หนว่ ยงำน 37
เขตสขุ ภาพที่ 2 สนิ ค้ำ/จุดขำย
สถานอี นามยั ผลลัพธ์ระดับความพึงพอใจขอผู้รับบริการสูงขึ้นแล้ว ยังทา
เฉลมิ พระเกียรตฯิ ให้ อสม. Reception ได้มีโอกาสทบทวนความรู้เพ่ือส่ือสาร
งวิ้ งาม กับประชาชนทีม่ ารับบรกิ ารได้อกี ทางหนง่ึ
จงั หวัดอุตรดิตถ์
นอกจากนี้ ยังได้บทเรียนว่าการพัฒนาการดาเนินงาน
องค์กรรอบรู้ทางสุขภาพ เป็นเร่ืองใหม่ ต้องปรับ แนวคิดใน
การทางาน แทรกแซงนโยบาย แล้วการบริหารการ
เปล่ียนแปลงโดยแบ่งเจ้าหน้าที่ออกเป็นกลุ่ มย่ อย
ประกอบด้วยกลุ่มเจ้าหน้าท่ี รุ่นใหม่ๆที่ยอมรับการ
เปล่ียนแปลงได้ง่าย ไปจนถึง บุคคลากรที่อาจปรับตัวยาก
จากนั้นให้เริ่มสร้าง HL ในงานประจาท่ีรับผิดชอบเป็น
ประเด็นเล็กๆ เพื่อใช้เป็นแบบฝึกหัดให้เกิดความเข้าใจ แล้ว
เน้นย้าว่า แนวทางการทางานสาธารณสุขที่ย่ังยืนคือ “การ
สร้างความรอบรู้ให้ประชาชนผู้รบั บริการ” และถอื เป็นหัวใจ
สาคัญขององค์กร
สร้าง HLC
การคน้ หาตน้ ทุนมนษุ ย์ในการขบั เคลื่อนงานชมุ ชน โดยเลือก
บุคคลที่มีศักยภาพ มีความพร้อม ท้ังทางด้าน ความรู้ ความ
สามารถ และความพร้อมทางเศรษฐกิจ ท่ีมีแรงบันดาลใจ
มาเป็นผู้นา แล้ววางจังหวะในการเสริมพลัง ให้กับผู้นาและ
ทมี คืนความเปน็ เจ้าของงานส่งเสริมสขุ ภาพให้กับเจา้ ของตัว
จริง เพื่อให้มีอิสระในการออกแบบ เจ้าหน้าท่ีคอยให้การ
สนับสนุนโดยจัดหาเวทีการเสริมแรงจูงใจตลอดเวลาเพ่ือคง
สภาพมาตรฐานท่ีดีในการดาเนินงานไว้เสมอ จนปัจจุบัน
สามารถผลิตส่อื ส่งเสริมสขุ ภาพผา่ น ช่องทาง youtube (ท่า
ราไม้พลอง อาจารย์รุ่งเรือง เกษแก้ว) ท่ีถือได้ว่าเป็นการ
หนว่ ยงำน 38
เขตสุขภาพท่ี 2
สถานีอนามยั สนิ คำ้ /จุดขำย
เฉลิมพระเกยี รตฯิ สื่อสารกิจกรรมสุขภาพให้กับผู้คนท่ีสนใจเข้าร่วมเครือข่าย
บ้านงิว้ งาม จานวนมาก
จังหวดั เพชรบรู ณ์ สรา้ ง HL ด้วยเครื่องมอื digital
เขตสขุ ภาพที่ 3 แนวโน้มสุขภาพท่ีเป็นกระแสสังคม ถูกนามาใช้สร้าง
สถานอี นามยั แรงผลักดันในการทากจิ กรรมให้ย่งั ยืน ผนู้ าการเปล่ียนแปลง
เฉลมิ พระเกยี รตฯิ เร่ิมต้นจากตนเอง ทาตนให้เป็นแบบอย่างก่อนด้วยการออก
กาลังกายจน น้าหนักลด รูปร่างดีขึ้น จึงกลายเป็นจดุ สนใจท่ี
ดึงดูดเครือข่ายสุขภาพที่เห็นการเปลี่ยนแปลงเข้ามามีส่วน
รว่ ม
จุดแข็งของการดาเนินงานอยู่ที่การมีจุดเร่ิมต้นจากกลุ่ม
ที่ตัดสินใจเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมจริงๆ
กลไกกระตุ้นให้เกิดการทากิจกรรมอย่างต่อเนื่อง คือ
แอปพลิเคชั่น Samsung health ท่ีสร้างกระแสการแข่งขัน
แรงกดดันจากเพื่อน (peer pressure) เพราะทุกคนต้องส่ง
จานวน “ก้าว” เข้าไปใน line กลุ่มทุกวัน และต่างไม่มีใคร
ยอมใคร ทาใหเ้ รยี นรู้การโกงแอปพลเิ คช่ัน
จุดเร่ิมต้นจากผู้ตัดสินใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 30 วัน
แรก สามารถทาให้ พฤติกรรมการออกกาลังกายเกิดเป็น
นิสัยท่ีต้องทาเป็นประจา แม้โครงการจะแล้วเสร็จ เพราะ
เห็นผลลัพธ์ทางสุขภาพที่เกิดข้ึนกับตนเอง จนต้องขยายผล
โครงการและเพมิ่ เครอื ขา่ ย
ขณะน้ีเกิดการส่ือสารเพื่อบอกต่อ โครงการระยะที่ 2 ท่ี
เป็นภารกจิ ขยายผลจากคนตน้ แบบในโครงการแรก
RDU community
การลดการใช้ยาสเตียรอยด์ และ NASIDs ในผู้ป่วยเข่า
เสื่อมเรื้อรัง มาเป็นสูตรยา 5:2:1 สูตรยาที่เจ้าหน้าที่แพทย์
39
หน่วยงำน สินคำ้ /จุดขำย
บ้านหนองเบน
จงั หวัดนครสวรรค์ แผนไทยในสอน.ได้ปรับเปลี่ยนประยุกต์จาก ภูมิปัญญาของ
ปราชญ์ชาวบ้านในชุมชน ที่ใช้สูตรยาดั้งเดิม ท่ีมส่วประกอบ
เขตสุขภาพท่ี 3 เป็นสมุนไพรหายาก 11 ชนิด มาปรับสูตรบนฐานความรู้
สถานีอนามยั หลักวิชาแผนไทยท่ีเรียนมา จนได้สูตรยาตารับ ท่ีผลิตจาก
เฉลมิ พระเกียรตฯิ สมุนไพรราคาถูก และหาได้ง่ายในพื้นท่ีบ้านหนองเบน เป็น
ตาบลห้วยกรด อกี ทางเลือกด้านสขุ ภาพ ทป่ี ลอดภัย
จงั หวดั ชัยนาท
นอกจากน้ียังหากลวิธีส่งเสริมการใช้ในกลุ่ม เป้าหมาย
โดยการสาธิตและทดลองใช้ เพ่ือให้เห็นผลสัมฤทธ์ิด้วย
ตนเอง เพ่ิมความถี่ของกิจกรรม เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ได้มี
โอกาสซักถาม และอยู่ในกระบวนการคุณภาพเพื่อ ส่งเสริม
ให้ปรับเปล่ียนพฤติกรรมที่ย่ังยืน บนระดับความรู้มากขึ้น
จากการซักถามพูดคุยผ่าน คนต้นแบบที่ตัดสินใจแล้วได้
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรอบรู้ทางสุขภาพซ่ึงกันและ
กัน
RDU community
การลดการใช้ยาเสตียรอยด์ และ NASIDs ในผู้ป่วยมี
ปัญหากล้ามเนื้อ ยึดตึงจากการประกอบอาชีพ โดยการ
ค้นพบคนต้นแบบในพื้นที่ที่เคยซ้ือหานวัตกรรมสุขภาพผ่าน
ตลาดออนไลน์ เพ่ือแก้ปัญหา แต่ว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าว
สามารถผลิตเองได้ เพราะมีต้นทุนมากมายในพื้นที่ตาบล
ห้วยกรด (ทางตาลต้านตึง) จึงเกิดเวทีการขยายเครือข่าย
นวัตกรรมช้ินงานจาก ช้ินงานต้นแบบ ออกแบบใหม่ให้
หลากหลาย สามารถขยายผลการแกป้ ัญหาความยดึ ตงึ ได้ใน
หลายอวัยวะ ผลพวงที่ตามมาคือสามารถลดการใช้ยา
NASIDs แล้วก็ขยายผลนวัตกรรมจนกลายเป็นธุรกิจสุขภาพ
หน่วยงำน 40
เขตสุขภาพท่ี 4
สถานอี นามยั สนิ ค้ำ/จุดขำย
เฉลมิ พระเกียรติฯ โดยชุมชนขยายผลเป็นผลติ ภัณฑ์สินค้าชุมชน เพื่อลดอาการ
ตาบลพกิ ุลทอง ปวด ในกลุม่ เปา้ หมายท้งั ในพ้ืนท่ีและนอกพ้นื ท่ี
จงั หวดั สงิ ห์บุรี Aging enterprise – humanized health care
เขตสุขภาพท่ี 5 แรงบีบคั้น จากการดาเนินชีวิต ในสังคมผู้สูงอายุมาเป็น
เวลานานกว่า 15 ปี และรับการสนับสนุนช่วยเหลือจาก
ภาครัฐที่ทุกภาคส่วนพยายามยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
แบบสาเร็จรูป เหมือนตัดเส้ือโหลไม่พอดีตัว ทาให้มีจุด
เปลี่ยนของการนา แนวคิดและการออกแบบการจัดการเชิง
ระบบจากระดับครอบครัว สู่การเปล่ียนสังคม เพื่อยกระดับ
คณุ ภาพชวี ิตตนเอง ด้วย key massage สาคญั เตรยี ม 5 ต.
ก่อนตาย สู่ enterprises aging เป็นการเตรียมส่ิงแวดล้อม
ภายในจนถึงเตรียมความพร้อมของคนในครอบครวั วางแผน
การเงินในระบบ และเช่ือมโยงกับตลาดงานหมู่บ้าน
ท่องเที่ยว เพ่ือให้เกิดสังคมสูงอายุที่ลดการพ่ึงพาจากภาครัฐ
หันมาพ่ึงพาระบบครอบครัวที่มีการวางแผน ภายใต้ชุมชนท่ี
มรี ะบบสนบั สนนุ ในสดั ส่วนท่ีเหมาะสม
ระบบการคิด การคิดครบ loop-systematic thinking
การดึงเครือข่าย เพ่ือการแก้ไขปัญหา ทักษะกา ร
ประสานงานท่ยี อดเยี่ยม
Critical thinking – ค้นหาเหตุแห่งปัญหาสาธารณสุข ที่
แท้จริง ( root cause analysis) ที่ไม่ได้อยู่ในมุมของ
สาธารณสุขเท่านนั้
** Health literate staffs – health literate
organization – V 6 person – health literate
community
RDU community ที่สามารถรว่ มสร้าง RDU country
41
หนว่ ยงำน สนิ คำ้ /จดุ ขำย
สถานอี นามัย การท่ีเจ้าหน้าที่เปิดใจเพื่อรับรู้ข้อมูลและการยอมรับว่า
เฉลิมพระเกยี รตฯิ ระดับการรบั รู้อุปสรรคและขีดจากัดของการรับร้ดู า้ นสุขภาพ
บ้านดอนไร่ คอื กญุ แจสาคัญ
จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี จากการดาเนินการคลินิกโรคเร้ือรัง พบพฤติกรรม
สุขภาพท่ีไม่เหมาะสม จึงกระบวนการจัดการสุขภาพราย
กรณี นวัตกรรมการส่ือสารทางสุขภาพถูกผลิตเป็นชิ้นงาน
คุณภาพ ท่ีเหมาะสมกับขีดจากัดของผู้ป่วยเฉพาะราย ได้
อยา่ งลงตวั
แม้จะมีงานหรือเง่ือนไขต่อการดาเนินงานมากมายแต่
กลับทาให้คณะเจ้าหน้าที่ร่วมมือกัน ท้ังเครือข่ายวิชาชีพ
จาก รพ. และ สอน.บ้านดอนไร่ ทีมงานไม่ได้รู้สึกว่าการ
จัดการคณุ ภาพผู้ปว่ ยรายกรณี เปน็ การทางานคลนิ ิกที่สักแต่
ว่าต้องทาให้เสร็จ แต่ว่าต้องทาจนสาเร็จ เพราะผลลัพธ์จาก
การลงทุนน้ี ทาให้คนไข้ตัดสินใจดูแลสุขภาพด้วยความรู้ที่
จาเปน็ และเข้าถงึ อยา่ งแทจ้ ริง
การเชื่อมโยง เครือข่ายการทางาน primary care unit-
secondary care unit เพอ่ื สร้าง Community literacy
** Health literate staffs + Humanized care – health
literate organization – V 6 person – health literate
community
เขตสขุ ภาพที่ 5 1) 1) อาวุโสวิทยา โรงเรียนผู้สูงอายุท่ีพัฒนาจากงาน
สถานอี นามัย นโยบาย จนกลายเป็นโรงเรียนผ้สู งู อายขุ องเขตสุขภาพที่ 5
เฉลิมพระเกียรตฯิ การทางานท่ีมีความต่อเนื่องแต่ไมจ่ บตามนโยบายส่ังการ
บ้านนิคม กม.5 รายปี ทาให้เกิดการออกแบบใหม่จากหลักสูตรท่ีได้ใน
จงั หวดั ลักษณะบทเรียน มาปรับใช้ให้สอดคล้องกับสถานการณ์จริง
ประจวบคีรีขันธ์ ค้นพบ สาระสาคัญท่ีเกิดข้ึนกับผู้สูงอายุจนนาไปสู่ภาวะ
หน่วยงำน 42
สินคำ้ /จดุ ขำย
ซึมเศรา้ และอาจฆ่าตัวตายได้ น่นั คือ “จัดการเวลาว่างเปล่า
ให้หมด คนแก่จะเลิกซึมเศร้า” กิจกรรม อาวุโสวิทยา มี
ความถี่ที่ถูกออกแบบ โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความถ่ี
เหมาะสมกับภารกิจชีวิต และมีการบ้านไปทาท่ีบ้าน เพื่อใช้
เวลาว่างให้หมดไป รวมถึงการสร้างพลังชีวิตจากการสร้าง
ประโยชน์ให้สังคม เพ่ือให้สังคมอ่าวน้อยเห็นคุณค่าของกลุ่ม
ผู้สูงอายุ เป็นแรงพลักดันท่ีท้าทายการเรียนรู้นวัตกรรมใหม่
ในการเข้าสู่สังคมยุคดิจิตอลได้ดี เสนอความต้องการด้วย
ตนเองในการกาหนดหลักสูตร การพัฒนาเทคโลโนยี การ
เล่น line Facebook หรือ การผลิตสื่อต่างๆ รวมถึงค้นหา
ความรู้เพ่ือนามาเผยแพร่บอกต่อกับเครือข่าย ผู้สูงอายุ
ดว้ ยกัน
2) พัฒนาสมวยั ด้วยความใส่ใจของครอบครวั
การพัฒนางานประจาเร่ืองพัฒนาการเด็ กด้ว ย
กระบวนการสร้างความรอบรู้กับภาคีเครือข่าย “การคัด
กรอง ดักจับ ปรับปรุง รักษา” การดาเนินงานจนค้นพบ
ข้อมูล อุปสรรคและสามารถประกาศเป็นสื่อสาธารณะ
ร่วมกัน ในเร่ือง 2.1) การงดใช้ รถหัดเดินก่อน 2 ปี จาก
ผลกระทบท่เี กิดขึ้นกบั เด็กในพื้นที่ เร่อื งคว่าชา้ และเท้าเกร็ง
จิก และ 2.2) การสะท้อน ผลกระทบการเล้ียงลูกด้วยมือถอื
ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กอย่างไร ผ่านคน V shape ที่เป็น
เครือข่ายดักจับและเฝ้าระวังสังคมและส่ือ กับกลุ่มท่ีพบเห็น
ในชุมชนได้ด้วยตนเอง
การสื่อสารผ่านคน V shape เป็นการส่ือสารที่ทาให้แม่
ท่ีกาลังเผชิญปัญหาเดียวกันตัดสินใจปรับเปล่ียนพฤติกรรม
การเล้ยี งดไู ดด้ ีกว่าการทเ่ี จ้าหนา้ ท่ีสอนในคลนิ กิ เด็กดี รวมถึง
43
หนว่ ยงำน สนิ ค้ำ/จุดขำย
การเช่ือมโยงศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเข้ามามีส่วนร่วมในการ
คิดค้นออกแบบนวัตกรรม ท่าออกกาลังกาย ที่ใช้เป็น
เคร่ืองตรวจพัฒนาการเด็ก ส่งผลให้การดักจับและปรับปรุง
พฒั นา พัฒนาการเด็ก ที่ทาได้รวดเรว็ ทันเหตุการณ์
เขตสุขภาพที่ 6 RDU community
สถานีอนามยั การขบั เคลอื่ นงานสขุ ภาพ จาก งานนโยบายท่ีเปน็ ปัญหา
เฉลิมพระเกียรติ ในองค์กร สืบเนอ่ื งจากสถานพยาบาล มีผลงานตัวช้วี ดั ท่ีเป็น
พระบาทสมเด็จ ปัญหา เม่ืออัตราการจ่าย antibiotic เกินจากท่ีตัวช้ีวัด
พระเจ้าอยูห่ ัวฉลอง กาหนด และอัตราการจ่ายสมุนไพรตกเกณฑ์ ทาให้ผู้บริหาร
สิรริ าชสมบตั ิ 50 ปี และผู้รับผิดชอบตัวช้ีวัด ขยับแผนการบริการต้ังรับ ผู้ป่วย
บา้ นมาบลาบิด ด้วยการ กลไก "การใชส้ มนุ ไพรทดแทนยาแผนปัจจุบนั " เกิด
จงั หวดั ชลบุรี ผลผลิต ทางการบริการ แนวปฏิบัติ(guideline) การใช้ยา
สมุนไพรทดแทนยาแผนปัจจุบัน การบริการคู่ขนานของ
พยาบาลเวชปฏิบัติและแพทย์แผนไทย เพ่ือให้ผู้ให้บริการ
แผนปัจจุบันมีความรอบรู้ การรักษายาสมุนไพรทดแทน
รวมถึงขับเคล่ือนการสร้างความรอบรู้ การปลูกและใช้
สมุนไพร 10 ชนิดในครัวเรือน ในการรักษาโรคเบ้ืองต้นด้วย
ตนเองที่บ้าน การดาเนินการคู่ขนาน การลดการใช้ยา จน
ส่งผลให้ปัญหาจากภาระงานประจา ผ่านตัวชวี้ ดั ทั้งสองเร่ือง
ในระดับท่ีดีเยี่ยมเป็นต้นแบบของจังหวัดชลบุรี และได้
นวัตกรรมทางการบริการ รวมถึงการสร้างความรอบรู้ที่
ยั่งยืนในชุมชน เป็นกาไรทางสุขภาพในกระบวนการทางาน
ในครั้งนี้
เขตสุขภาพท่ี 7 ครอบครวั รอบร้สู ู้ OV (พยาธิใบไม้ตบั )
สถานอี นามัย การดาเนินงานแก้ปัญหาความเช่ือผิดๆ เรื่องวัฒนธรรม
เฉลิมพระเกียรติฯ การกินอยู่ผิด เช่น แค่บีบมะนาวก็ทาให้อาหารสุก (สีเปล่ียน
หนว่ ยงำน 44
บา้ นเมอื งใหม่
จังหวดั ขอนแกน่ สินค้ำ/จุดขำย
คล้ายสีท่โี ดนความรอ้ น) หรอื การกนิ ดิบอร่อยกว่าการกินสุก
เขตสุขภาพที่ 8 เป็นปัญหาท่ีเป็นมาช้านาน การระดมกลวิธีของภาคี
สถานีอนามัย เครือข่ายการประเมินระดับการตัดสินใจแล้วใชเ้ ป็นข้อมูลใน
เฉลิมพระเกยี รตฯิ การพัฒนาส่ือ สามารถนาเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์มาใช้
บา้ นขาม จงั หวดั เพ่ือใหก้ ลุม่ เปา้ หมาย เห็นผลลัพธ์เชงิ ประจกั ษ์ดว้ ยข้อมลู ของ
สกลนคร ตนเอง จงึ เออื้ ต่อการตดั สินใจปรับเปล่ยี นพฤติกรรมในระดับ
บุคคล ในขณะเดียวกัน การตัดสินใจเลือกผู้มีอิทธิพลต่อการ
กินดิบในครอบครัว เช่น ผู้ประกอบอาหารในบ้าน เป็น
กลุ่มเป้าหมายในการเข้ารับความรู้ รวมถึง ผู้มีอิทธิพลทาง
จิตใจในการ กาหนดทิศทาง สุขภาพของคนในครอบครัว
เช่น เด็กในบ้าน “ไม่รักหนูเหรอถึงทาอาหารดิบให้หนูกิน”
ส่งผลให้คนในครอบครัวตัดสินใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภ าพ ด้ว ยตนเอง ภ ายใต้คว ามรักคว ามห่วงใย
เป็นผลลัพธเ์ กดิ ข้ึนในระดับครอบครวั
การออกแบบบริการ Service design
การจัดบริการคลินิกโรคเรื้อรัง ในส่วนการปรับเปล่ียน
พฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย พบว่าการใส่ intervention
เพื่อปรับเปล่ียนพฤติกรรมต้องมีการปรับปรุง และออกแบบ
ใหม่ รวมถึงสร้างบรรยากาศและใช้ชุดเครื่องมือในจังหวะที่
เหมาะสม และมีความทันสมัย เป็นเงื่อนไขท่ีตรงกับจุดคาน
งดั ของการตัดสินใจปรับเปล่ยี นพฤติกรรม จึงจะส่งผลต่อการ
ปรับเปล่ียนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง สอน.บ้านขามเลือกใช้
เครื่องมือ สมาธิ SKT เป็นชุดเครื่องมือท่ีเกิดจากงานวิจัย
ใหม่ๆมาใช้กับ ผู้ป่วยทาให้เกิดความตื่นเต้น และสร้างความ
สนใจในการปรับเปล่ียนพฤติกรรม รวมถึงการสร้างเง่ือนไข
ในการใส่ใจสุขภาพและการรักษา ด้วยเงื่อนไขหากควบคุม