45
หนว่ ยงำน สนิ คำ้ /จดุ ขำย
อาการไม่ได้จะต้องถูกส่งกลับไปรักษาต่อท่ีรพช. เป็นจุด
ต่อรองที่ได้ผลเพ่ือนาสู่ การตัดสินใจปรับเปล่ียนพฤติกรรม
ดว้ ยชุด “โปรแกรมสขุ ภาพ”
การเรียนรู้เพื่อปรับระดับความรอบรู้ควบคู่กับการใช้ โป
รมแกรมสุขภาพ ให้เหมาะกับสุขภาพของตนเองนาไปสู่
สถานะสุขภาพท่ีเปลย่ี นให้อยใู่ นเกณฑ์ปกติ
เขตสขุ ภาพที่ 9 Service design การจัดบริการ สาธารณสุข ในเขตเมือง
สถานอี นามยั “โมบายสขุ ภาพ”
เฉลมิ พระเกยี รตฯิ ด้วยสภาพภูมิศาสตร์ส่ิงแวดล้อมท่ีเปล่ียนแปลงไป ได้
นคิ มลาตะคอง สร้างอุปสรรคต่อการเข้าถึงทั้งบริการสุขภาพท่ีจาเป็นและ
จงั หวัดนครราชสมี า โอกาสในการแลกเปลย่ี นเรียนรปู้ ญั หาสุขภาพได้
ถนน 12 เลน ท่ีตัดผ่านพื้นที่จนกลายเป็นชุมชนอกแตก
มีอาคารบ้านเรือนพาณิชย์ ธุรกิจท่องเที่ยว รีสอร์ท ที่พัก
กิจการห้างร้านผุดขึ้นเป็นดอกเห็ด สภาพเศรษฐกิจ
เปล่ียนแปลง อีกทั้งพ้ืนท่ีรับผิดชอบของหน่วยงานก็อยู่ใน
พื้นที่ ทับซ้อน 2 ท้องถิ่น แต่ก็มี อสม. ท่ีเข้มแข็ง จึงได้
ออกแบบเครือข่ายบริการสุขภาพ เชื่อมโยงภาคีเครือข่าย
ท้องถ่นิ อสม. ชุมชน และ พระสงฆ์ โดยดาเนนิ งานในรปู ของ
หน่วยบรกิ ารสุขภาพเคลือ่ นท่ี
จากการถอดบทเรียน ความสาเร็จ ชมรมผู้สูงอายุ วิถี
ธรรม วิถีไทยเคลื่อนท่ี ไปสู่คลินิกเร้ือรังเคล่ือนที่ คลินิก
สขุ ภาพเดก็ ดีเคล่ือนที่ เป็นตน้ เมื่อเทียบการจดั บรกิ ารในเขต
เมืองอื่นๆ ท่ีต้องอาศัย คลินิกเอกชนมาช่วย จึงจะเพียงพอ
กับความต้องการ ก็ถือได้ว่า สอน.นิคมลาตะคอง ใช้
กระบวนการ HLO ในการออกแบบบริการให้เกิดความ
46
หน่วยงำน สินค้ำ/จุดขำย
เขตสขุ ภาพท่ี 10 ครอบคลุมโดยมีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วม ได้อย่างมี
สถานอี นามัย ประสิทธภิ าพ
เฉลมิ พระเกียรติฯ
ภูมิซรอล Service design “สอน.พูดได้”
จงั หวดั ศรสี ะเกษ พ้ืนฐานประชาชนผู้รับบริการ มีหลายเชื้อชาติ รวมไปถึง
เขตสุขภาพท่ี 11 ค น พื้ น ถ่ิ น ที่ เ ป็ น ก ลุ่ ม ป่ ว ย ม า รั บ บ ริ ก า ร ที่ ส อ น . มี ร ะ ดั บ
สถานอี นามัยเฉลมิ การศึกษาต่า อ่านได้น้อย เจ้าหน้าท่ีจึงร่วมกัน ปรับส่ือป้าย
พระเกียรติฯ คลอง ต่างๆ ในสอน. เพื่อส่ือสารให้ผู้รับบริการมีความเข้าใจ ใน
พน จังหวดั กระบี่ บริการ แม้จะอ่านไม่ออกหรือไม่เจอบุคคลากรก็สามารถ
เข้าถึงบริการท่ีต้องการได้ด้วยตนเอง โดย การออกแบบทุก
จุดบริการ มีการออกแบบร่วมกัน แล้วทาการทดสอบกับ
กลุ่มตัวอย่างผู้รับบริการจากนั้นก็ปรับปรุงจน สามารถ
ส่ือสาร กับผู้รับบริการได้ทุกกลุ่มวัย รวมไปถึง ผู้รับบริการ
ใช้ภาษาพื้นถ่ิน ภาษากัมพูชา และเม่ือมีภาวะคุกคามจาก
โ ร ค อุ บั ติ ใ ห ม่ โ ค วิ ด 19 ก็ ไ ด้ ข ย า ย ง า น โ ด น ส ร้ า ง
ผู้ส่ือสารระดับชุมชน เพ่ือสื่อสารมาตรการเร่งด่วน และ
ขอ้ ปฏบิ ัติตน ท่มี ีการปรับเนื้อหาใหส้ อดคลอ้ งกับสถานการณ์
โรค เช่น “หากมารับบริการอนามัย ต้องสวมผ้าปิดจมูกทุก
ครั้ง หากลืมแต่ไม่สะดวกกลับไปเอาที่บ้าน มีผ้าปิดจมูก
จาหน่าย” และได้สร้างเป็นข้อตกลงบริการร่วมกัน ของ
ประชาชนในพื้นที่
“ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เป็น อิบำดะฮ์
”عبادة
HLC การขับเคลือ่ นสขุ ภาพในสังคมท่ีเปน็ ชุมชนมุสลมิ
ประเด็นการปรับเปลย่ี นพฤติกรรมสุขภาพที่มีขีดจากัด ของ
ทัศนคติ ความเช่ือที่ผิดๆ ทางศาสนาอิสลามท่ีถูกสืบทอด
ติดตอ่ กันมาจากร่นุ สู่รุ่นเป็นเวลายาวนาน เช่น 1) การออก
หน่วยงำน 47
สนิ ค้ำ/จดุ ขำย
กาลังกายกลางแจ้งหรือที่สาธารณะ โดยมีเสียงเพลง
ประกอบการเต้นรา สวมใส่เครื่องแต่งกายที่ไม่ปกปิดมิดชิด
สตรีไม่มีผ้าโพกศีรษะ จะเป็นบาป 2) การเจ็บป่วยเป็นเรื่อง
ของอัลลอฮ์ ส่งผลให้กลุ่มมุสลิมไม่ปรับเปล่ียนพฤติกรรม
และส่วนใหญ่เจ็บปว่ ยด้วยโรคเรอื้ รัง
การแก้ไขปัญหาใช้โดยใช้กระบวนการสร้างความรอบรู้
เพื่อให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยการสร้างความ
เ ข้ า ใ จ ใ น ทั ศ น ค ติ ใ น ห ลั ก ก า ร ศ า ส น า ท่ี ถู ก ต้ อ ง กั บ ก า ร
ปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ ทีมสขุ ภาพจึงได้คน้ หาต้นทุน
มนุษย์และต้นทุนทางสังคมท่ีส่งผลเพ่ือส่งเสริมการตัดสินใจ
ปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมท่ีไม่ตดิ ขัดกับหลกั การทางศาสนา โดย
การดึงโต๊ะอิหม่ามที่เป็น อสม.มีความรู้เช่ียวชาญหลักการ
ศาสนาที่ชาวบ้านเชื่อม่ัน ศรัทธา ภายใต้ ผอ.สอน.และ
บุคลากรสถานีอนามัยฯ ส่วนหนึ่งที่เป็นมุสลิม เป็นแกนนา
ห ลั ก ใ น ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข้ า ใ จ แ ล ะ ผู้ ช้ี ข า ด เ จ ต น า ข อ ง
พฤติกรรมอันส่งผลดีต่อสุขภาพ ถือว่าเป็นการออก ซะกาต
(เป็นบุญ) เป็นการสักการะ อิบำดะฮ์ عبادةต่ออัลลอฮ์
เพราะหลักการที่แท้จริงของศาสนาอิสลาม ได้ระบุไว้ชัดเจน
ว่า “มุสลิมทุกคนที่เกิดมามีหน้าท่ีดูแลสุขภาพตนเองให้
สมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ” ใครปฏิบัติได้ถือ
ว่าเป็น อิบำดะฮ์ عبادةจะได้บุญ การออกกาลังกายถือว่า
เป็นการรกั สุขภาพ แต่ขอใหแ้ ต่งกายปกปดิ รา่ งกายให้มิดชิด
พร้อมใส่ผ้าคลุมศีรษะมีเส่ียงเพลงประกอบการเต้นราได้
โดยไม่มีเจตนาอื่นใด นอกเสียจากทาให้ตนเองมีสุขภาพดี
ยังให้ความรู้เชื่อมโยงถึงการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
ต่อร่างกายและเป็นอาหารฮาลาล สูตรอาหารของ อ.วินัย
หนว่ ยงำน 48
เขตสุขภาพท่ี 12 สินคำ้ /จดุ ขำย
สถานอี นามัย ดะ๊ ลัน และคณุ บง่ บง๊ สมาชกิ เวบ็ ไซตพ์ นั ทิปดอทคอม มาเป็น
เฉลิมพระเกยี รตฯิ ชุดความรู้ขับเคล่ือนด้านอาหารในครัวเรือนและร้านอาหาร
ตาบลพะตง อิ ส ล า ม ใ น ชุ ม ช น ซ่ึ ง ป ร ะ เ ด็ น สุ ข ภ า พ เ ห ล่ า นี้
จังหวดั สงขลา หากปล่อยให้เจ้าหน้าที่ขับเคลื่อนเพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถ
ทาให้กลุ่มเป้าหมายติดสินใจปรับเปล่ียนพฤติกรรม รูปแบบ
การส่ือสารใช้กลไกที่เป็นทุนเดิมในหมู่บ้าน ได้แก่ เสียงตาม
สาย เวทีประชุมชาวประจาเดือนหมู่บ้าน งานบุญ งานพิธี
ทางศาสนาในหมู่บ้าน ที่สาคัญจะสอนแทรกทุกวันศุกร์หลัง
เสรจ็ พธิ ลี ะหมาด ให้สามไี ดก้ ลับไปสอนและชกั ชวนภรรยาได้
ปฏิบัตใิ หถ้ ูกต้อง การตดั สินใจขับเคล่อื นระบบสขุ ภาพภายใต้
สังคมมีแรงผลักดันเกิดการเปลี่ยนแปลงสุขภาพในชุมชน
สขุ ภาพท้งั ในภาพบคุ คลและชุมชนไปพร้อมๆ กนั อยา่ งเป็น
รปู ธรรม
HLC
การขับเคล่ือนสุขภาพชุมชน ภายใต้เวทีการคืนข้อมูล
ปัญหาสุขภาพ ในเวทีที่มีผู้มีบทบาทหน้าท่ี มีอานาจ มีส่วน
ไดส้ ่วนเสยี รวมกันเปน็ วงใหญ่
การขับเคลื่อนงานสุขภาพ โดยใช้ต้นทุนท่ีมีศักยภาพสูง
โดยเฉพาะต้นทุนมนุษย์ท่ีดึงมามีส่วนร่วม ก็มีระดับความ
รอบรู้ด้านสุขภาพสูง (มีระดับการศึกษา ป.เอก ป.โท
ข้าราชการ หัวหน้าส่วน เจ้าของกิจการห้างร้านบริษัท)
บุคคลเหล่าน้ี มีต้นทุนการคิดออกแบบเช่ือมโยงเชิงระบบ
ทาให้การคิดกระบวนการการแก้ปัญหาจึงถูกออกแบบมา
อยา่ งเป็นระบบ เช่ือมโยงได้ครบวงจร จงึ ประสบความสาเร็จ
เป็นตน้ แบบได้
หน่วยงำน 49
สินคำ้ /จดุ ขำย
การขับเคล่ือน ปัญหาสุขภาพในพื้นท่ีตาบลพะตง เป็น
network ท่ีตอบโจทย์ปัญหาสุขภาพ และปิดช่องว่าง (gap)
ของระบบสุขภาพในพื้นท่ีได้ และมีประสิทธิภาพสูง เช่น
หากมีปัญหางบประมาณทีมงานก็สามารถดึงงบอุดหนุน
CSR จากภาคเอกชนได้จานวนมาก หากต้องขับเคลื่อนเชิง
นโยบาย ผู้นา นายอาเภอ สสอ. ให้ความสาคัญ ด้วยเหตุ
ท่ีว่าทางสอน.สามารถคืนข้อมูลปัญหาได้ลึกซึ้งในระดับ
งานวิจัย มีแนวคิดการทางาน ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA ใน
ทุกประเด็นสุขภาพ จนเป็นวัฒนธรรมการจัดการระบบ
สขุ ภาพระดับตาบลอยา่ งสมบรู ณ์