The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บูรณาการการอกแบบสื่อวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบพิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้บนฐานชุมชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pornpimol.sak, 2019-08-23 01:00:36

ถอดองค์ความรู้

บูรณาการการอกแบบสื่อวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบพิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้บนฐานชุมชน

องคค์ วามรู้บรู ณาการการออกแบบสื่อวฒั นธรรมทางทัศน์

ประกอบพิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้เพือ่ สง่ เสรมิ การเรยี นรบู้ นฐานชุมชน
พรพมิ ล ศกั ดา

องค์ความรบู้ ูรณาการการออกแบบส่อื วฒั นธรรมทางทศั นป์ ระกอบพิพธิ ภณั ฑสถานพนื้ บ้านภาคใต้
เพ่อื สง่ เสริมการเรียนรบู้ นฐานชุมชน

ที่ปรกึ ษา : ศาสตราจารย์เกยี รติคณุ สชุ าติ เถาทอง และ อาจารย์ ดร.จินดา เน่ืองจำ� นงค์
ผเู้ ขียน : พรพิมล ศกั ดา
ออกแบบปก/ ภาพ/ กราฟกิ : พรพมิ ล ศักดา
จัดรปู เล่ม : ศรสวรรค์ โตเขียว
ชยั ยุทธ ตุม้ แสงทอง
พิสูจน์อักษร : วรารัตน์ วัฒนชโนบล
พมิ พ์ครงั้ แรก : กรกฎาคม 2562
พมิ พ์ท ี่ : แสนสุขปรน้ิ ติ้ง ต�ำบลแสนสุข อำ� เภอเมอื งชลบรุ ี จงั หวัดชลบรุ ี 20130
จำ� นวนที่พิมพ์ : 200 เล่ม
สงวนลขิ สทิ ธ ์ิ : พ.ศ.2562

ข้อมูลทางบรรณานุกรม : พรพมิ ล ศกั ดา. (2562). องคค์ วามร้บู ูรณาการการออกแบบส่ือวฒั นธรรมทางทัศนป์ ระกอบ
พพิ ิธภณั ฑสถานพน้ื บ้านภาคใตเ้ พ่อื ส่งเสริมการเรียนรบู้ นฐานชมุ ชน. พมิ พค์ ร้งั แรก.
ชลบรุ :ี แสนสุขปริน้ ติ้ง.



รายนามผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณากล่ันกรอง และประเมินหนังสือองค์ความรู้บูรณาการการออกแบบส่ือวัฒนธรรมทางทัศน์
ประกอบพพิ ิธภัณฑสถานพ้ืนบ้านภาคใตเ้ พื่อสง่ เสริมการเรยี นรบู้ นฐานชมุ ชน

รองศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ ทองทรัพย์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครสวรรค์
อาจารย์ ดร.ธนาทร เจียรกลุ มหาวิทยาลัยศิลปากร
อาจารย์ ดร.ชยั วัฒน์ สวุ รรณออ่ น มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเด็จเจา้ พระยา
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐปณี รัตนถาวร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร์
อาจารย์ ดร.กอ้ งเกยี รติ หริ ัญเกดิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสนิ ทร์

ค�ำนำ�

หนังสือองค์ความรู้บูรณาการการออกแบบส่ือวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบพิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้ เพ่ือส่งเสริม
การเรียนรู้บนฐานชุมชน เป็นส่วนหน่ึงของดุษฎีนิพนธ์เรื่อง การบูรณาการการออกแบบสื่อวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบ
พิพิธภัณฑสถานพ้ืนบ้านภาคใต้เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้บนฐานชุมชน ซ่ึงผู้เขียนได้รวบรวมองค์ความรู้ท่ีได้จากการศึกษาและ
บูรณาการส่ือวัฒนธรรมทางทัศน์ส�ำหรับประกอบพิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้ ท่ีจะใช้เป็นแนวทางในการประยุกต์เพื่อพัฒนา
พพิ ิธภัณฑสถานพน้ื บา้ นภาคใต้แหง่ อนื่ ๆ เปน็ แหล่งเรยี นรู้ในชุมชน ท่ีจะช่วยสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรทู้ มี่ คี ณุ ภาพและสนับสนุน
ปจั จยั ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ โดยทช่ี มุ ชนไดม้ สี ว่ นรว่ ม ตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของวถิ ชี วี ติ ดงั้ เดมิ ในชมุ ชน จนนำ� ไปสกู่ ารอนรุ กั ษ์
และสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตด้ังเดิมของชุมชน และเกิดเครือข่ายความร่วมมือในการอนุรักษ์ บริหารจัดการ
พพิ ิธภณั ฑสถานพื้นบา้ นเพอื่ ความย่ังยนื ต่อไป
ผู้เขียนหวังเป็นอย่างย่ิงว่า องค์ความรู้นี้จะเป็นประโยชน์ต่อกลุ่มของผู้สร้างสรรค์งานออกแบบส่ือ นักออกแบบ หรือ
ผู้สนใจศึกษาทั่วไปไม่มากก็น้อย รวมท้ังจะเป็นประโยชน์ต่อการท�ำงานของผู้เกี่ยวข้องเพ่ือร่วมมือกันในการผลักดัน
ให้เกิดพิพิธภัณฑสถานพ้ืนบ้านท่ีมีความน่าสนใจและดึงดูดความสนใจจากคนภายในชุมชนและนักท่องเที่ยวต่อไป
หากมีข้อผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไว้ ณ ที่น้ี ท้ังน้ีท่านมีข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม สามารถส่งข้อความมาได้ท่ี
[email protected] ผูเ้ ขยี นจะขอนอ้ มรบั ไว้และยินดจี ะปรับปรุงแกไ้ ขใหเ้ กดิ ความถกู ต้องสมบรู ณต์ ่อไป

พรพมิ ล ศักดา


สารบัญ

หนา้
ค�ำน�ำ
สารบญั
ค�ำนิยม

สว่ นท่ี 1 บทนำ� 9

ส่วนที่ 2 ขอ้ มูลเพ่อื การบรู ณาการการออกแบบสอื่ วัฒนธรรม ทางทัศนป์ ระกอบพพิ ธิ ภัณฑสถานพน้ื บา้ นภาคใต ้ 17
สว่ นที่ 3 การถอดอตั ลักษณพ์ ้ืนถน่ิ ภาคใตเ้ พื่อการออกแบบ 26
สว่ นท่ี 4 การบูรณาการการออกแบบส่ือวฒั นธรรมทางทศั น์ประกอบพพิ ิธภัณฑสถานพน้ื บา้ นภาคใต้ 34
เพือ่ สง่ เสริมการเรียนรบู้ นฐานชมุ ชน

สว่ นที่ 5 ตน้ แบบการบูรณาการการออกแบบสอ่ื วัฒนธรรมทางทัศนป์ ระกอบพิพธิ ภณั ฑสถานพื้นบา้ นภาคใต้ 68
เพื่อสง่ เสริมการเรียนรบู้ นฐานชุมชน

เอกสารอา้ งอิง 88
ประวัติผเู้ ขยี น 91

คำ� นยิ ม

การศึกษาเชิงวัฒนธรรมทางการเห็น (Visual Culture) เกี่ยวเน่ืองกับสังคมและวิถีชุมชนในแต่ละท้องถ่ิน ถือได้ว่า
เป็นสาระท่ีช่วยให้ผู้คนได้เกิดความตระหนักรู้ในความเป็นอัตลักษณ์และความมีรากเหง้าของความเป็นมาความมีอารยของชุมชน
ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างย่ิงในโลกยุคปัจจุบัน ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและสื่อสารสนเทศมีความทันสมัย
และก้าวหน้ามาก จนการรับรู้และการเรียนรู้ของผู้คนสามารถรู้เท่าทันและรู้เรื่องสื่อ ส่ิงและวิทยาการแบบใหม่ท่ีก้าวหน้า
และวัฒนธรรมทางการมองเห็นแบบใหม่จากวัฒนธรรมอื่นท่ีไหลผ่านเข้ามาจนเกิดความช่ืนชมศรัทธาในคุณค่าอันแปลกใหม่
และมองข้ามความเปน็ วัฒนธรรมของเรา และจิตวญิ ญาณของชาติไปอย่างนา่ เสยี ดาย
ในวิกฤตวัฒนธรรมทางการเห็นข้างต้น พรพิมล ศักดา ได้เห็นความส�ำคัญและคุณค่าของปัจจัยดังกล่าว โดยได้เขียน
หนังสือเร่ือง “องค์ความรู้บูรณาการการออกแบบส่ือวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบพิพิธภัณฑสถานพ้ืนบ้านภาคใต้เพ่ือส่งเสริม
การเรียนรู้บนฐานชุมชน” เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ถ่ายทอดเล่าผ่านหนังสือเล่มน้ีข้ึนมา ซ่ึงเป็นสาระของความรู้ที่ได้จาก
การสังเคราะหม์ าจากผลงานวิจยั ในระดับดุษฎบี ณั ฑติ ของเขามาอยา่ งตอ่ เน่ือง
ดังนั้นแก่นสารที่ได้รับรู้และเรียนรู้จากหนังสือเล่มน้ีจึงเป็นผลึกความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการระหว่างวัฒนธรรม
ทางการเห็นหรือทางทัศน์ประกอบกับพิพิธภัณฑสถานพ้ืนบ้านภาคใต้ และการออกแบบส่ือทางการเห็นในรูปแบบ และลักษณะ
ต่างๆ ท่ีผสมผสานเชื่อมโยงอย่างกลมกลืน ไม่ว่าจะเป็นภาษาทางทัศน์ ภาพ แสง เสียง รวมไปถึงสาระส�ำคัญในแต่ละเร่ือง
ซงึ่ จะช่วยใหผ้ ู้ชมเกิดการเรียนรบู้ นฐานชุมชนไดด้ ีขึ้น และเขา้ ใจ และเข้าถึงความเปน็ อัตลกั ษณพ์ นื้ บ้านภาคใต้ไดอ้ ยา่ งกระจา่ งชดั
จากสอื่ ทางทัศน์ทถ่ี กู ออกแบบไว้
จึงนับได้ว่าเป็นหนังสือท่ีมีสาระและคุณค่า อันจะเป็นประโยชน์ในการน�ำไปใช้ต่อยอดในการออกแบบพิพิธภัณฑสถาน
พืน้ บ้านอน่ื ๆ ต่อไปได้

ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ุณสุชาติ เถาทอง
ประธานหลกั สูตรปรัชญาดษุ ฎีบัณฑิต สาขาทัศนศิลป์และการออกแบบ

คำ� นยิ ม

หนังสือเร่ือง “องค์ความรู้บูรณาการการออกแบบสื่อวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบพิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้
เพอื่ สง่ เสรมิ การเรียนรู้บนฐานชมุ ชน” เล่มน้สี ำ� เร็จลุล่วงไดด้ ว้ ยความเพียรพยายาม ดว้ ยความตัง้ ใจให้เวลากับกระบวนการทำ� งาน
ศึกษาอยา่ งเต็มกำ� ลังความสามารถของอาจารยพ์ รพิมล ศักดา ผซู้ ึ่งมคี วามรกั และชืน่ ชอบในการออกแบบส่ือวัฒนธรรมทางทศั น์
และเสน่ห์ของพิพิธภัณฑ์พ้ืนบ้าน องค์ความรู้ที่ถ่ายทอดผ่านหนังสือเล่มน้ีเป็นการสังเคราะห์มาจากงานวิจัยในระดับดุษฎีบัณฑิต
ของตนเอง เน้ือหาเหมาะส�ำหรับกลุ่มนักออกแบบสื่อวัฒนธรรมทางทัศน์ท่ีหลากหลาย อาทิ นักออกแบบกราฟิก นักออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ นักออกแบบตกแต่งภายใน และนักศึกษาด้านการออกแบบ เป็นต้น ใช้อ่านเสริมแล้วอาจนำ� ไปใช้ประโยชน์ในบริบท
ของแต่ละงานตามความต้องการ งานออกแบบท่เี กดิ ขึน้ จากกระบวนการศกึ ษาล้วนแลว้ แต่เปน็ ชนิ้ งานท่ีมเี สนห่ ใ์ นตัวเอง มคี วาม
เชือ่ มโยงกับวิถีชวี ิตและภมู ปิ ญั ญา เหมาะแกก่ ารเลอื กไปประยุกตใ์ ช้ อา่ นแล้วเข้าใจได้งา่ ย มีภาพประกอบค�ำอธิบาย หรอื อาจนำ�
รูปแบบกระบวนการการศึกษาไปพฒั นาต่อยอดใหเ้ กดิ งานออกแบบสื่อวฒั นธรรมทางทศั นไ์ ดอ้ ีกมากมาย

โดย อาจารย์ ดร.จินดา เนอื่ งจำ� นงค์
ผอู้ ำ� นวยการศนู ยศ์ ิลปะ วัฒนธรรมท้องถ่ิน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏราชนครินทร์



ส่วนที่1

บทนำ�

10 องคค์ วามรบู้ ูรณาการการออกแบบสือ่ วัฒนธรรมทางทัศน์
ประกอบพพิ ธิ ภัณฑสถานพน้ื บ้านภาคใตเ้ พ่ือส่งเสริมการเรียนรบู้ นฐานชมุ ชน
พิพิธภัณฑสถานพื้นบ้าน...

เป็นสถานท่ีที่ใช้จัดแสดงเรื่องราวของท้องถิ่น และใช้จัดแสดงวัตถุหรือของตัวอย่างที่เก่ียวข้องกับท้องถ่ินอันเป็นท่ีตั้ง
ของพิพิธภัณฑ์ ท่มี คี วามหมายสะท้อนให้เห็นชวี ิตความเป็นอย่ขู องคนในท้องถ่ินน้นั ต้ังแตอ่ ดีตจนถงึ ปจั จุบนั เปน็ คลงั สะสมภูมปิ ญั ญาของ
บรรพบุรษุ ซง่ึ หนา้ ทห่ี ลักของพิพธิ ภัณฑ์ คอื การเช่อื มโยงความเปน็ มาของสงั คมระหวา่ งอดีตกับปัจจบุ ัน สะทอ้ นเสน้ ทางของผคู้ นในสงั คม
ใหม้ องเหน็ รากเหงา้ ของตนเอง เพอื่ นำ� ไปสคู่ วามรู้ ความเขา้ ใจ ทม่ี าทไ่ี ปของตนเองและชมุ ชน รวมทงั้ ชว่ ยใหม้ องเหน็ ความสมั พนั ธข์ องตนเอง
กับชมุ ชน สอดคล้องกบั คำ� กลา่ วของ ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล (2547) ท่ีกล่าวในงานพิพิธภัณฑ์เสวนา ครั้งที่ 6 เร่ืองสถานภาพ
พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในประเทศไทย ว่า “...พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเป็นมากกว่าสถานท่ีท่ีเก็บสิ่งของหรือวัตถุ แต่เป็นขบวนการทางสังคม
คอื ความคดิ อะไรบางอยา่ งเกยี่ วกบั สงั คมและการเปลย่ี นแปลงแลว้ เกดิ รปู แบบของการปฏบิ ตั ติ า่ งๆ ความคดิ อนั นที้ ำ� ใหเ้ กดิ การมองพพิ ธิ ภณั ฑ์
ดว้ ยความหมายอกี แบบหนง่ึ คอื มองวา่ พพิ ธิ ภณั ฑเ์ ปน็ กระบวนการที่ จะสนองตอ่ สง่ิ ทต่ี อ้ งการ ทำ� ใหค้ นในชมุ ชนใดชมุ ชนหนงึ่ เกดิ ความสำ� นกึ
และตระหนักถงึ ความสำ� คัญของประวตั ิศาสตร์ ของรากเหง้าของตัวเอง เพ่อื ให้เกิดความเขา้ ใจตวั เอง…” เชน่ เดยี วกบั ศรีศักร วัลลโิ ภดม
(2549) กล่าวไว้ว่า พิพิธภัณฑ์ เป็นแหล่งเรียนรู้อีกแหล่งหนึ่งท่ีไม่เพียงแต่จะสามารถปลูกฝังให้เราซึมซับถึงมรดกทางประวัติศาสตร์
และวัฒนธรรม ยังเช่ือมโยงผู้คนในสังคม และสะท้อนพัฒนาการในอดีตถึงปัจจุบัน ของอัตลักษณ์แห่งชาติพันธุ์พิพิธภัณฑ์มิใช่เป็นเพียง
สถานที่เก็บรวบรวมจัดหมวดหมู่และแสดงของเก่าอย่างท่ีรับรู้และเข้าใจแต่ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีเชิญให้ศึกษาเรียนรู้อย่างไม่มีวันส้ินสุด
และให้ผู้ชมเกิดความใฝ่รู้ และจินตนาการด้วยความสร้างสรรค์ของบรรพบุรุษในอดีตที่สร้างวตั ถแุ ตล่ ะสงิ่ ไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ อกี ทง้ั เปน็
ฐานความรู้ของการเกิดความคิดใหม่ๆ อย่างหลากหลายวิทยาการ ดังนั้นพิพิธภัณฑ์จึงเป็นขุมทรัพย์ท่ีส�ำคัญในการเปล่ียนแปลงสังคม
ที่เป็นอยสู่ ู่สงั คมแห่งการเรยี นรู้ นอกจากนัน้ พิพิธภณั ฑพ์ ้ืนบา้ น ยงั เปน็ กลไกท่ชี ว่ ยสนับสนนุ การรวมตัวกันของคนในชุมชน เพ่อื รว่ มกันคิด
ร่วมกันตัดสินใจ และร่วมกันด�ำเนินกิจกรรมของท้องถิ่น เพ่ือคนในท้องถ่ินเอง อันเป็นแนวทางในการสร้างความเข้มแข็งในชุมชน
เปน็ การขยายการมสี ่วนร่วมในการพฒั นาแกช่ มุ ชน อนั จะนำ� ไปส่กู ารพฒั นาอยา่ งยงั่ ยืนตอ่ ไป
นอกจากพิพิธภัณฑ์จะเป็นแหล่งการเรียนรู้ในชุมชนแล้ว ยังสามารถน�ำมาเป็นจุดดึงดูดหรือจุดขาย เพ่ือดึงดูดความสนใจ
จากนกั ทอ่ งเที่ยวตอบรบั กบั กระแสการท่องเทีย่ วเชิงวฒั นธรรม ท่กี �ำลงั ได้รับความสนใจจากนกั ท่องเทีย่ วทั้งชาวไทย และชาวตา่ งชาติ และ
ภาครัฐให้การสนับสนุนการน�ำความแตกต่างและความหลากหลายของวัฒนธรรมให้มีความส�ำคัญข้ึนมาในฐานะท่ีวัฒนธรรมน�ำมาซึ่ง
เงินตราเขา้ สู่ประเทศ โดยการที่วฒั นธรรมถกู ทำ� ใหก้ ลายเป็นสินคา้ ภาครฐั เองจงึ ไดเ้ ร่มิ เข้ามาสง่ เสรมิ การอนรุ กั ษ์ และฟนื้ ฟูวฒั นธรรมเดมิ
ของท้องถิ่นขึ้นอย่างจริงจงั ส่วนหน่งึ ก็เพอ่ื สง่ เสรมิ การท่องเทีย่ ว ขณะเดียวกันก็เพอื่ รักษาไว้ซ่งึ เอกลกั ษณท์ างวัฒนธรรมของท้องถิ่นต่าง ๆ
(สิริรัตน์ สีสมบัติ, 2552) โดยใช้พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านของชุมชน เป็นเครื่องมือหน่ึงในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูวัฒนธรรมท้องถ่ินของตน
เป็นจุดดึงดูดหรือจุดขายเพ่ือยกระดับความเป็นอยู่ของคนในชุมชนให้ดีขึ้นด้วยรากฐานทางวัฒนธรรมของตน โดยเฉพาะอย่างย่ิงชุมชน
ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน หากอยู่ในพ้ืนท่ีที่มีการส่งเสริมการท่องเท่ียวย่ิงสมควรให้การสนับสนุน เพราะพิพิธภัณฑสถานพ้ืนบ้าน
ไม่ได้เพียงแต่เป็นศูนย์รวมข้อมูลของท้องถ่ินต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบันเท่าน้ัน แต่จะเป็นแหล่งดึงดูดนักท่องเท่ียวเข้าสู่ชุมชน สร้างรายได้ให้แก่
ชุมชนตอ่ ไป สอดคลอ้ งกบั ผลการวจิ ยั ของศิริพร ศรีสินธอุ์ ุไรและอษุ ณีย์ พรหมสุวรรณ์ (2551 : 78-79) ทีว่ ่า พิพิธภณั ฑ์ท้องถิน่ เปน็ แหล่ง
ศกึ ษาเรียนร้เู รื่องราวท่เี ก่ยี วกบั ท้องถิน่ นนั้ ๆ เปน็ คลังสะสมภมู ิปัญญาความรสู้ �ำหรับคนในทอ้ งถนิ่ เปน็ แหล่งทอ่ งเทีย่ วท�ำให้คนรูจ้ กั มากขน้ึ
เป็นช่องทางได้มาซ่ึงรายได้ของชุมชน และส่งผลต่อการท่องเท่ียวที่ส่งผลกระทบต่อชุมชนในเชิงสร้างสรรค์งานอาชีพหรือเปล่ียนแปลง
ความเปน็ อยวู่ ัฒนธรรมของชุมชน

11องค์ความรู้บูรณาการการออกแบบสื่อวัฒนธรรมทางทศั น์

ประกอบพิพิธภัณฑสถานพน้ื บา้ นภาคใตเ้ พอ่ื ส่งเสริมการเรยี นรูบ้ นฐานชุมชน

พพิ ธิ ภณั ฑสถานพนื้ บา้ นสว่ นใหญใ่ นประเทศ มกั จะมลี กั ษณะไมแ่ ตกตา่ งกนั โดยทว่ั ไปเรมิ่ จากการสะสม อนรุ กั ษ์ เกบ็ รกั ษา อปุ กรณ์
เคร่ืองมือ สิ่งของเคร่ืองใชพ้ นื้ บ้านตามวิถีชวี ติ ชาวบา้ นในอดีต เช่น เคร่อื งครวั โบราณ งานหัตถกรรมพนื้ บ้าน อปุ กรณ์ตวงขา้ ว เคร่อื งมอื
การท�ำนา เครอ่ื งมือจับสัตวน์ �้ำ และ เครอื่ งใชเ้ บด็ เตล็ด เป็นตน้ จึงท�ำใหถ้ ูกมองว่าเป็นเพียงสถานทีเ่ พอื่ เกบ็ ของเก่า ของทีเ่ ลกิ ใชแ้ ลว้ หรือ
อาจถกู มองวา่ สง่ิ ของสว่ นใหญท่ น่ี ำ� มาเกบ็ ตอ้ งมสี ภาพทช่ี ำ� รดุ ทรดุ โทรม และมคี วามเกา่ มากๆ เปน็ ตน้ จงึ ทำ� ใหพ้ พิ ธิ ภณั ฑพ์ นื้ บา้ นหลายแหง่
มสี ภาพน่ิงเฉย ขาดการจดั ระเบยี บ ขาดความน่าสนใจ ไรช้ วี ิตชีวา หรือเสอื่ มโทรมลง ผลจากการสำ� รวจพนื้ ทีจ่ รงิ พบวา่ พพิ ิธภัณฑสถาน
พ้ืนบ้านภาคใต้หลายแห่ง มีสภาพที่ช�ำรุด ทรุดโทรม ขาดการดูแลรักษาและปิดตัวลง แต่ยังคงท้ิงร่องรอยสภาพของการเป็นพิพิธภัณฑ์
มาก่อน หรือบางแห่งยังเปิดด�ำเนินการอยู่ โดยชุมชนดูแลการบริหารจัดการ บางแห่งขาดการสนับสนุนจากหน่วยงานในท้องถ่ิน หรือ
หน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อให้สามารถด�ำรงอยู่ได้ ขาดรูปแบบการน�ำเสนอท่ีน่าสนใจ ระบบการจัดแสดง ขาดองค์ประกอบของเรขศิลป์
ส่ิงแวดล้อมท่ีจะช่วยแสดงข้อมูลเพ่ือให้ความรู้ความเข้าใจที่ครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นเช่น การใช้งานไม่มีความเป็นเอกภาพ ไม่เป็นไป
ในรูปแบบเดียวกันท้ังหมด อาจมีป้ายจากหน่วยงานอื่นมาปะปนอยู่ ท�ำให้ไม่สามารถแสดงข้อมูลของสถานท่ีน้ันให้เป็นไปอย่างมีระบบ
ด้านวัสดุและรูปแบบของการน�ำไปใช้งาน ไม่สามารถตอบสนองความต้องการข้อมูลของนักท่องเที่ยวได้อย่างเต็มที่ เน่ืองจากบริเวณ
จุดตดิ ตั้งไม่เหมาะกบั ทัศนยี ภาพรอบบรเิ วณ วสั ดุที่น�ำมาใช้ในสถานทีบ่ างแหง่ เกิดการเลอื นลาง จากการตดิ ตั้งกลางแจ้ง ท�ำให้ผมู้ าเยย่ี มชม
ไมไ่ ด้รบั ความสะดวกในการรับข้อมลู เรขศลิ ปส์ ง่ิ แวดลอ้ มจะไมม่ ปี ระโยชน์ ถา้ ไม่ไดช้ ว่ ยบอกขอ้ มูลและอ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้มาเย่ยี มชม
สิ่งน้ีจึงเป็นปัญหาท่ีควรได้รับการแก้ไข หากได้รับการพัฒนาด้วยกระบวนการบูรณาการทางการออกแบบ โดยอาศัยศาสตร์องค์ความรู้
ต่าง ๆ มาบูรณาการกันในรูปแบบของสหวิทยาการ มาปรับใช้ในการออกแบบส่ือวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบพิพิธภัณฑ์ ดังท่ี สุชาติ
เถาทอง (2558) กล่าวว่า สหวิทยาการเป็นการเรียนรู้แบบหลายศาสตร์หลายวิชา เป็นการเรียนรู้ในลักษณะองค์รวม โดยความรู้แบบน้ี
มาจากการมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ต่างสาขาท่ีมีความเกี่ยวข้อง เช่ือมโยงกัน เพื่อให้ได้ความรู้ครอบคลุมขอบเขตมากขึ้น
กว่าเดิม และช่วยเสริมและแก้ไขความรู้จากการศึกษาแบบจ�ำกัดเฉพาะด้าน (สาขาวิชา) มากเกินไป จนไม่สามารถจะตอบโจทย์ หรือ
แกป้ ญั หาทางวชิ าการ การปฏบิ ตั สิ รา้ งสรรคท์ ม่ี คี วามสลบั ซบั ซอ้ นใหก้ ระจา่ งขน้ึ ได้ จะยงิ่ ชว่ ยสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ควรคา่ แกก่ ารอนรุ กั ษ์
ย่งิ ขึ้นไป นอกจากน้ีหากเกดิ ข้ึนด้วยฐานการมสี ่วนรว่ มของชุมชน ก็จะย่ิงท�ำใหพ้ พิ ิธภณั ฑ์ด�ำรงคงอย่ดู ว้ ยการหวงแหน รกั ษา และความเปน็
เจ้าของของคนในชุมชนด้วย โดยกระบวนการของการบูรณาการการออกแบบส่ือวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบพิพิธภัณฑสถานพ้ืนบ้าน
ที่มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันขององค์ประกอบศาสตรใ์ นสาขาต่างๆ ท่ีใชร้ ว่ มกันเพ่อื มุ่งเน้นการแก้ปญั หา แสวงหาความรู้ความเขา้ ใจ เพอื่
คน้ หาคำ� ตอบ เทคนคิ และวธิ กี ารในการดำ� เนนิ งานวจิ ยั ภายใตท้ รพั ยากรทจี่ ำ� กดั ทนุ ทางวฒั นธรรม การมสี ว่ นรว่ มและกลไกในการขบั เคลอื่ น
ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้ จึงมุ่งหวังให้เกิดการบูรณาการการออกแบบสื่อวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบพิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้เพื่อ
สง่ เสรมิ การเรยี นรบู้ นฐานชมุ ชน เพอื่ มงุ่ ประโยชนต์ อ่ การทำ� งานรว่ มกนั ของทกุ ฝา่ ยทเี่ กย่ี วขอ้ งทจ่ี ะผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การพฒั นาพพิ ธิ ภณั ฑสถาน
พื้นบ้านเพ่ือยังประโยชน์อย่างย่งั ยนื สืบตอ่ ไป

12 องคค์ วามรู้บรู ณาการการออกแบบสอ่ื วฒั นธรรมทางทศั น์
ประกอบพพิ ธิ ภณั ฑสถานพืน้ บา้ นภาคใตเ้ พ่ือส่งเสริมการเรยี นรูบ้ นฐานชุมชน
วัตถุประสงค์
1. เพ่ือศึกษาข้อมูลท่ีเก่ียวข้องเพื่อการบูรณาการการออกแบบส่ือวัฒนธรรม
ทางทศั น์ประกอบพพิ ิธภัณฑสถานพืน้ บา้ นภาคใต้
2. การบูรณาการการออกแบบส่ือวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบพิพิธภัณฑสถาน
พ้นื บ้านภาคใตเ้ พ่ือสง่ เสริมการเรียนรู้บนฐานชมุ ชน
3. เพื่อประเมินต้นแบบการบูรณาการการออกแบบสื่อวัฒนธรรมทางทัศน์
ประกอบพพิ ิธภัณฑสถานพื้นบา้ นภาคใตเ้ พ่อื ส่งเสรมิ การเรยี นรูบ้ นฐานชมุ ชน

13องคค์ วามรู้บูรณาการการออกแบบสื่อวัฒนธรรมทางทศั น์

ประกอบพพิ ธิ ภณั ฑสถานพ้ืนบา้ นภาคใตเ้ พื่อสง่ เสริมการเรียนรู้บนฐานชมุ ชน

กรอบแนวคิด

14 องค์ความรู้บรู ณาการการออกแบบส่อื วัฒนธรรมทางทศั น์
ประกอบพพิ ธิ ภัณฑสถานพน้ื บา้ นภาคใตเ้ พื่อสง่ เสรมิ การเรียนรู้บนฐานชุมชน

ขอบเขตการวิจัย

วัตถุประสงค์ พื้นที่ เนื้อหา ประชากรและตัวอย่าง

1. เพื่อศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อการบูรณาการการออกแบบสื่อวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบพิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้

1.1เพื่อศึกษาบริบททั่วไป องค์ประกอบ ( 1 ) พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ พื้ น บ้ า น เ มื อ ง ไช ย า - ส่วนนิทรรศการและงานตกแต่ง ได้แก่ - ผู้นำ�ชุมชน
และรูปแบบสื่อวัฒนธรรมทางทัศน์เดิม จ.สุราษฎร์ธานี ระบบสัญจร การจัดวางและเนื้อหา - ผู้รู้ในชุมชน
ของพิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้ (2) พิพิธภัณฑ์ของชาติวัดเขียนบางแก้ว การจัดแสดง และงานตกแต่งประกอบ - ผู้ดูแลพิพิธภัณฑสถานพื้นบ้าน
จ.พัทลุง นิทรรศการ (วัสดุกราฟิก และวัสดุ 3 มิติ)
- ระบบป้ายและสัญลักษณ์

1.2 เพื่อศึกษาองค์ประกอบและรูป พิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านที่มีแนวปฏิบัติ - องค์ประกอบและรูปแบบเดิมของส่วน - ผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์
แบบของพิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านที่มี ที่ดี จำ�นวน 4 แห่ง ได้แก่ นิทรรศการและงานตกแต่ง ได้แก่ ระบบ
แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practices) - พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดม่วง จังหวัด สัญจร การจัดวางและเนื้อหาการจัดแสดง
ราชบุรี และงานตกแตง่ ประกอบนิทรรศการ (วสั ดุ
- พิพิธภัณฑ์จันเสน จังหวัดนครสวรรค์ กราฟิก และวัสดุ 3 มิติ) ระบบป้ายและ
- พิพิธภัณฑ์หนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี สัญลักษณ์ และสื่อส่งเสริมการเรียนรู้
- พิพิธภัณฑ์ภูเก็ตไทยหัว จังหวัดภูเก็ต - การวิเคราะห์ SWOT/SWOC (จุดแข็ง
จุดอ่อน โอกาส และความท้าทาย)

1.3 เพื่อศึกษามรดกทางวัฒนธรรม - ชุมพร - ม ร ด ก ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ด้ แ ก่ - เจ้าหน้าที่วัฒนธรรมจังหวัด
และวัฒนธรรมแห่งวิถีชีวิตภาคใต้ และ - สุราษฎร์ธานี สถาปัตยกรรม ประติมากรรม ศิลปกรรม - เจ้าหน้าที่วัฒนธรรมอำ�เภอ
อัตลักษณ์พื้นถิ่นภาคใต้ - นครศรีธรรมราช - วฒั นธรรมแหง่ วถิ ชี วี ติ ไดแ้ ก่ การดำ�เนนิ - เจ้าหน้าที่วัฒนธรรมตำ�บล
- พัทลุง ชีวิต วิถีชีวิต ประเพณีท้องถิ่น ภูมิปัญญา - ปราชญ์ชาวบ้าน
ท้องถิ่น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้อม อาหารพื้นบ้าน

2. เพื่อสร้างรูปแบบการบูรณาการการออกแบบสื่อวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบพิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้เพื่อส่งเสริม
การเรียนรู้บนฐานชุมชน

2.1 เพื่อสังเคราะห์องค์ประกอบ และ - 1. รูปร่าง รูปทรง การใช้สี และโทนสี -

รูปแบบสื่อวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบ 2. ส่วนนิทรรศการและงานตกแต่ง ได้แก่
พิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านเพื่อส่งเสริม ระบบสัญจร การจัดวางและเนื้อหา
การเรียนรู้บนฐานชุมชน การจัดแสดง และงานตกแต่งประกอบ
นิทรรศการ (วัสดุกราฟิก และวัสดุ 3 มิติ)
3. ระบบป้ายและสัญลักษณ์
4. สื่อส่งเสริมการเรียนรู้

2.2 เพื่อสร้างรูปแบบการบูรณาการ - องค์ประกอบและรูปแบบสื่อวัฒนธรรม -
การออกแบบสื่อวัฒนธรรมทางทัศน์ ท า ง ทั ศ น์ ป ร ะ ก อ บ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น
ป ร ะ ก อ บ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น พื้ น บ้ า น พื้นบ้านภาคใต้ ประกอบด้วย ส่วน
ภาคใต้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้บนฐาน นิทรรศการและงานตกแต่ง ได้แก่ ระบบ
ชุมชน สัญจร การจัดวางและเนื้อหาการจัดแสดง
และงานตกแต่งประกอบนิทรรศการ
(วัสดุกราฟิก และวัสดุ 3 มิติ) และ
ระบบป้ายและสัญลักษณ์ ตามขั้นตอน
การออกแบบ ดังนี้
1. แบบร่าง (SKETCH)
2. แบบร่าง 2 มิติ และ 3 มิติ ด้วย
คอมพิวเตอร์
3 . ต้ น แ บ บ แ ส ด ง สื่ อ วั ฒ น ธ ร ร ม ท า ง
ทัศน์ ทัศนียภาพประกอบพิพิธภัณฑ์
ด้วยคอมพิวเตอร์

15องค์ความรูบ้ ูรณาการการออกแบบส่อื วฒั นธรรมทางทัศน์

ประกอบพพิ ิธภัณฑสถานพ้นื บา้ นภาคใต้เพ่อื ส่งเสริมการเรียนรู้บนฐานชุมชน

วัตถุประสงค์ พื้นที่ เนื้อหา ประชากรและตัวอย่าง

2.3 เพ่ือประเมินผลรูปแบบการบูรณา - การประเมินรูปแบบการบูรณาการ - กลมุ่ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ผเู้ ชย่ี วชาญ นกั วชิ าการ
การการออกแบบส่ือวัฒนธรรมทางทัศน์ การออกแบบส่ือวัฒนธรรมทางทัศน์ ดา้ นพพิ ธิ ภณั ฑท์ อ้ งถน่ิ
ประกอบพิพิธภัณฑสถานพ้ืนบ้านภาคใต้ พพิ ธิ ภณั ฑสถานพน้ื บา้ นภาคใตเ้ พอ่ื สง่ เสรมิ - กลุ่มผู้นำ�ชุมชน ผู้รู้ในชุมชน ผู้ดูแล
เพอ่ื สง่ เสรมิ การเรยี นรบู้ นฐานชมุ ชน การเรยี นรบู้ นฐานชมุ ชน โดยแบบสอบถาม พพิ ธิ ภณั ฑพ์ น้ื บา้ น

3. เพื่อประเมินผลการบูรณาการการออกแบบสื่อวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบพิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้เพื่อส่งเสริม
การเรียนรู้บนฐานชุมชน

3.1 เพ่ือสร้างต้นแบบการบูรณาการ พพิ ธิ ภณั ฑพ์ น้ื บา้ นเมอื ง ไชยา จ.สรุ าษฎรธ์ านี องค์ประกอบและรูปแบบส่ือวัฒนธรรม -

การออกแบบส่ือวัฒนธรรมทางทัศน์ ทางทัศน์ประกอบพิพิธภัณฑสถานพน้ื บ้าน
ประกอบพิพิธภัณฑ์พ้ืนบ้านเมืองไชยา ภาคใต้ ประกอบดว้ ย สว่ นนทิ รรศการและ
จ.สุราษฎร์ธานี เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ งานตกแตง่ ไดแ้ ก่ ระบบสญั จร การจดั วาง
บนฐานชมุ ชน และเน้ือหาการจัดแสดง และงานตกแต่ง
ประกอบนทิ รรศการ (วสั ดกุ ราฟกิ และวสั ดุ
3 มติ )ิ และระบบปา้ ยและสญั ลกั ษณ์ ตาม
ขน้ั ตอนการออกแบบ ดงั น้ี
(1) แบบรา่ ง (SKETCH)
(2) แบบร่าง 2 มิติ และ 3 มิติ ด้วย
คอมพวิ เตอร์
( 3 ) ต้ น แ บ บ แ ส ด ง ส่ื อ วั ฒ น ธ ร ร ม
ทางทัศน์ ทัศนียภาพประกอบพิพิธภัณฑ์
ดว้ ยคอมพวิ เตอร์
(4) ตน้ แบบทศั นยี ภาพประกอบพพิ ธิ ภณั ฑ์
สามมติ ิ

3.2 เพ่ือประเมินผลต้นแบบการบูรณา พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านเมือง ไชยา ความพึงพอใจต้นแบบการบูรณาการ - กลุม่ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ ผ้เู ช่ียวชาญ นกั วชิ าการ
การการออกแบบส่ือวัฒนธรรมทางทัศน์ จ.สุราษฎร์ธานี การออกแบบส่ือวัฒนธรรมทางทัศน์ ด้านพิพธิ ภัณฑท์ อ้ งถิน่ ผ้นู ำ�ชมุ ชน ผูร้ ู้
ประกอบพิพิธภัณฑ์พ้ืนบ้านเมืองไชยา ประกอบพิพิธภัณฑสถานพ้ืนบ้านภาคใต้ ในชุมชน ผ้ดู แู ลพพิ ิธภัณฑพ์ ้ืนบ้าน
จ.สุราษฎร์ธานี เพ่อื ส่งเสริมการเรียนร้บู น เพ่อื ส่งเสริมการเรียนรู้บนฐานชุมชน โดย - คนในชมุ ชนและนกั ท่องเทีย่ วที่มา
ฐานชมุ ชน แบบสอบถาม เยีย่ มชมพิพิธภัณฑท์ อ้ งถ่ิน

16 องค์ความรูบ้ รู ณาการการออกแบบสื่อวัฒนธรรมทางทศั น์
ประกอบพพิ ธิ ภัณฑสถานพ้นื บ้านภาคใตเ้ พือ่ สง่ เสรมิ การเรียนรูบ้ นฐานชุมชน
วิธีดำ�เนินการวิจัย

ส่วนที่ 2

ขอ้ มลู การบรู ณาการการออกแบบ
สื่อวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบ
พิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต ้

18 องค์ความรูบ้ ูรณาการการออกแบบสอื่ วัฒนธรรมทางทศั น์
ประกอบพิพธิ ภณั ฑสถานพนื้ บ้านภาคใตเ้ พื่อสง่ เสรมิ การเรยี นรบู้ นฐานชุมชน
ข้อมูลการบูรณาการการออกแบบสื่อวฒั นธรรมทางทศั น ์
ประกอบพิพิธภัณฑสถานพืน้ บ้านภาคใต้

การศึกษามรดกทางวัฒนธรรม และวัฒนธรรมแห่งวิถีชีวิตภาคใต้ และอัตลักษณ์พื้นถิ่นภาคใต้ โดยการศึกษาจากหนังสือ
วารสาร งานวจิ ัยท่เี ก่ยี วข้อง การสัมภาษณก์ ล่มุ ผู้ใหข้ อ้ มูลหลกั ได้แก่ เจา้ หนา้ ที่วฒั นธรรมจงั หวัด เจ้าหน้าทีว่ ฒั นธรรมอำ�เภอ เจ้าหน้าที่
วัฒนธรรมตำ�บล และปราชญ์ชาวบ้าน และการระดมสมองจากผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับการยอมรับว่า เป็นผู้ที่มีความเช่ียวชาญด้านอัตลักษณ์
พ้ืนถิ่นภาคใต้ จากนั้นนำ�ข้อมูลท่ีได้มาสู่กระบวนการถอดอัตลักษณ์พ้ืนถิ่นภาคใต้ โดยการกล่ันกรองวิเคราะห์แยกแยะองค์ประกอบ
และเปรียบเทียบความโดดเด่นใน 4 ด้าน แบ่งด้านตามเกณฑ์ของสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และสำ�นักงาน
ศลิ ปวัฒนธรรมรว่ มสมยั กระทรวงวัฒนธรรม ประกอบดว้ ย ดา้ นศลิ ปวัฒนธรรม ประกอบด้วย สถาปตั ยกรรม จติ รกรรม ภาษา วรรณกรรม
นาฏศลิ ป์ และดนตรี ด้านทรัพยากรและสงิ่ แวดลอ้ ม ประกอบด้วย สิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มทางสังคมประวตั ิศาสตร์ ดา้ น
ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ ประกอบด้วย อุตสาหกรรม หตั ถกรรม การแพทยแ์ ผนไทย การเกษตรกรรม และดา้ นวถิ ีชุมชนและสังคม ประกอบด้วย
การดำ�เนนิ ชีวติ วถิ ชี ีวิต ศาสนา และประเพณี ความเชื่อทอ้ งถน่ิ ค่านยิ มรว่ ม การละเล่น และอาหาร
จากข้อมูลแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย ส่งผลให้มีการสืบทอดประเพณี และวัฒนธรรมประจำ�ท้องถิ่นใน
พ.ศ. 2561 - 2564 ของสำ�นักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด กลุ่มจงั หวัด มาจนถงึ ปัจจุบนั ได้แก่ จงั หวัดชุมพร เช่น ประเพณีงาน
ภาคใต้ฝ่ังอา่ วไทย (2559 : 3) กลา่ วไว้วา่ กลุ่มจังหวัดประกอบด้วย เทิดพระเกียรติเสด็จในกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์และงาน
จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และพัทลุง มีทำ�เล กาชาด งานประเพณีแห่พระแข่งเรือ งานโลกทะเลชุมพร งาน
ท่ีต้ังท่ีมีความเก่ียวข้องกับศูนย์กลางของความเจริญรุ่งเรืองของ แข่งขันเรือยาวขึ้นโขนชิงธง ชิงถ้วยพระราชทานคลองในหลวง
อาณาจกั รโบราณในอดตี ของคาบสมทุ รมลายู คอื อาณาจกั รตามพร (หัววงั - พนงั ตัก) งานวนั ผลไม้หลังสวน ลอ่ งแพอำ�เภอพะโตะ๊ งาน
ลงิ ค์ และอาณาจกั รศรวี ชิ ยั ซงึ่ มคี วามสำ�คญั เปน็ เสน้ ทางการเชอื่ มโยง สง่ เสรมิ ประเพณขี น้ึ เบญจา งานขนึ้ ถำ�ร้ บั รอ่ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี เชน่
ทางการคา้ และการเผยแผศ่ าสนาจากอนิ เดยี อาหรับ เปอร์เซีย และ ประเพณีชักพระหรือลากพระ กีฬาชนควาย งานวันเงาะโรงเรียน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ จังหวัดนครศรีธรรมราช เช่น ประเพณีสารทเดือนสบิ แหผ่ า้ ขนึ้ ธาตุ
ของความเจริญรุ่งเรืองในอดีตมากมาย ได้แก่ โบราณสถานเขาคา ลากพระ จงั หวดั พทั ลงุ เชน่ งานประเพณแี ขง่ โพนลากพระ (ชกั พระ)
โบราณสถานโมคลาน และวดั พระบรมธาตุ จังหวดั นครศรีธรรมราช การละเล่นซัดต้ม ประเพณีชิงเปรต งานวันอนุรักษ์มรดกไทยและ
วดั พระบรมธาตไุ ชยา อำ�เภอไชยา แหลง่ โบราณคดเี ขาศรวี ชิ ยั อำ�เภอ งานมหกรรมชงิ แชมปห์ นังตะลงุ และโนรานาฏศลิ ปเ์ มืองใต้ เปน็ ต้น
พุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี และวัดเขียน จังหวัดพัทลุง เป็นต้น

19องคค์ วามรบู้ รู ณาการการออกแบบส่อื วัฒนธรรมทางทัศน์

ประกอบพพิ ธิ ภัณฑสถานพ้นื บ้านภาคใตเ้ พอื่ ส่งเสริมการเรยี นรบู้ นฐานชุมชน

มรดกทางวฒั นธรรม และวฒั นธรรมแหง่ วถิ ชี วี ติ ภาคใตด้ า้ นศลิ ปวฒั นธรรมทพ่ี บในพน้ื ทจี่ งั หวดั นครศรธี รรมราช ไดแ้ ก่ วดั มหาธาตุ
วรมหาวิหาร และมโนราห์ จังหวดั สุราษฎร์ธานี ไดแ้ ก่ พระบรมธาตุไชยา และมโนราห์ จงั หวัดพทั ลุง ได้แก่ มโนราห์ และวดั เขยี นบางแก้ว
และจงั หวัดชมุ พร ได้แก่ มโนราห์ และพระธาตสุ วี

20 องค์ความร้บู ูรณาการการออกแบบสื่อวฒั นธรรมทางทัศน์
ประกอบพิพิธภัณฑสถานพื้นบา้ นภาคใตเ้ พื่อส่งเสรมิ การเรียนร้บู นฐานชุมชน

มรดกทางวฒั นธรรม และวฒั นธรรมแหง่ วถิ ชี วี ติ ภาคใตด้ า้ นทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอ้ มทพ่ี บในพน้ื ทจ่ี งั หวดั นครศรธี รรมราช ไดแ้ ก่
อุทยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง ครี ีวง และน�้ำตกกรงุ ชิง จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี ได้แก่ ดอกบัวผุด และเขาสก จังหวัดพทั ลงุ ไดแ้ ก่ ทะเลน้อย และ
อทุ ยานแหง่ ชาติเขาป-ู่ เขายา่ (ป่าพรหมจรรย์) ส่วนจังหวดั ชมุ พร ไม่พบมรดกทางวัฒนธรรม และวัฒนธรรมแห่งวถิ ชี วี ติ ภาคใต้ที่เหมือนกัน
ในทุกแหลง่ ขอ้ มูล

21องคค์ วามรบู้ รู ณาการการออกแบบสอื่ วฒั นธรรมทางทัศน์

ประกอบพิพิธภณั ฑสถานพืน้ บา้ นภาคใตเ้ พ่อื สง่ เสริมการเรียนรู้บนฐานชุมชน

มรดกทางวัฒนธรรม และวัฒนธรรมแห่งวิถีชีวิตภาคใต้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นที่พบในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้แก่
เครื่องถม หนังตะลุง ย่านลิเภา ผ้ายกเมืองนคร และสร้อยนะโม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้แก่ หนังตะลุง ผ้าไหมพุมเรียง และจักสาน
กระจูด จังหวัดพัทลุง ได้แก่ หนังตะลุง และจักสานกระจูด ส่วนจังหวัดชุมพร ได้แก่ หนังตะลุง

22 องคค์ วามรูบ้ ูรณาการการออกแบบสอื่ วัฒนธรรมทางทัศน์
ประกอบพิพิธภัณฑสถานพื้นบา้ นภาคใตเ้ พ่อื สง่ เสรมิ การเรยี นรู้บนฐานชุมชน

มรดกทางวัฒนธรรม และวัฒนธรรมแห่งวิถีชีวิตภาคใต้ด้านวิถีชุมชนและสังคมที่พบทุกจังหวัด ได้แก่ ประเพณีชักพระ/
ลากพระ ประเพณีสารทเดือนสิบ และผักเหนาะ ส่วนที่แตกต่างที่พบเพิ่มเติม ในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้แก่ กรงนกหัวจุก
จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้แก่ ไข่เค็มไชยา เงาะโรงเรียนนาสาร หอยนางรม และพระพุทธทาส จังหวัดพัทลุง ได้แก่ วัวชน ส่วนจังหวัด
ชุมพร ได้แก่ กล้วยเล็บมือนาง และกรมหลวงชุมพรฯ

23องค์ความรบู้ ูรณาการการออกแบบสอื่ วัฒนธรรมทางทศั น์

ประกอบพพิ ธิ ภณั ฑสถานพื้นบา้ นภาคใต้เพ่อื สง่ เสรมิ การเรยี นรู้บนฐานชุมชน

24 องคค์ วามรูบ้ ูรณาการการออกแบบสือ่ วัฒนธรรมทางทศั น์
ประกอบพิพธิ ภณั ฑสถานพ้ืนบา้ นภาคใตเ้ พือ่ ส่งเสริมการเรียนรู้บนฐานชุมชน

ดังน้ันสามารถสรุปมรดกทางวัฒนธรรม และวัฒนธรรมแห่งวิถีชีวิตภาคใต้
ที่มีความสอดคล้องกัน ดังน้ี มโนราห์ คือสิ่งที่แสดงถึงมรดกทางวัฒนธรรม และวัฒนธรรมแห่ง
วถิ ชี วี ติ ภาคใตด้ า้ นศลิ ปวฒั นธรรมไดอ้ ยา่ งชดั เจน สว่ นทางดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม
ในแต่ละจังหวัดจะมีลักษณะเด่นเป็นเฉพาะของตนเอง จึงไม่สามารถสรุปมรดกทางวัฒนธรรม
และวัฒนธรรมแห่งวิถีชีวิตภาคใต้ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมร่วมกันได้ นอกจากนี้
หนังตะลุง คอื สิ่งทแ่ี สดงถงึ มรดกทางวฒั นธรรม และวฒั นธรรมแห่งวิถชี ีวติ ภาคใต้ดา้ นภมู ิปญั ญา
ท้องถิน่ ได้อยา่ งชดั เจน สว่ นดา้ นวิถีชุมชนและสงั คม พบวา่ ประเพณีชกั พระ/ลากพระ ประเพณี
สารทเดือนสิบ และผักเหนาะที่ใช้เป็นเคร่ืองเคียงในอาหารพื้นถ่ินภาคใต้ เป็นส่ิงท่ีแสดงถึง
มรดกทางวัฒนธรรม และวัฒนธรรมแห่งวิถชี ีวติ ภาคใต้ด้านวถิ ชี มุ ชนและสงั คม ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

อตั ลกั ษณร์ ว่ มพน้ื ถน่ิ ภาคใต้

อัตลักษณ์ร่วมพื้นถิ่นภาคใต้นำ�เสนอในผลการศึกษา ได้แก่ มโนราห์ หนังตะลุง
ประเพณีสารทเดือนสิบ ผักเหนาะ ประเพณีชักพระ/ลากพระ การวิเคราะห์ลักษณะเด่น
ทางกายภาพของอัตลักษณ์ ประกอบด้วย เส้น รูปร่าง รูปทรง สี

25องค์ความร้บู รู ณาการการออกแบบสอ่ื วฒั นธรรมทางทศั น์

ประกอบพิพธิ ภัณฑสถานพ้ืนบ้านภาคใต้เพ่อื สง่ เสริมการเรียนรูบ้ นฐานชุมชน

อตั ลกั ษณเ์ ฉพาะถน่ิ เมอื งไชยา

อัตลักษณ์เฉพาะถิ่นเมืองไชยานำ�เสนอในผลการศึกษา ได้แก่ พระบรมธาตุไชยา
ผ้าไหมพุมเรียง ไข่เค็มไชยา พระพุทธรูปนาคปรก พระอวโลกิเตศวร พระพุทธทาสภิกขุ
สวนโมกขพลาราม และมวยไชยา การวิเคราะห์ลักษณะเด่นทางกายภาพของอัตลักษณ์
ประกอบด้วย เส้น รูปร่าง รูปทรง สี

ส่วนที่ 3

การถอดอัตลักษณ์พื้นถิ่นภาคใต้
เพื่อการออกแบบ 

27องคค์ วามรบู้ รู ณาการการออกแบบส่อื วัฒนธรรมทางทศั น์

ประกอบพิพิธภณั ฑสถานพื้นบา้ นภาคใต้เพือ่ สง่ เสริมการเรียนร้บู นฐานชุมชน

วธิ กี ารจดั เตรยี มขอ้ มลู รปู รา่ งเพอื่ ใชใ้ นการออกแบบ ผวู้ จิ ยั สามารถแบง่ รปู รา่ งได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ รปู รา่ งเพอื่ การสอื่ ความหมาย
และรปู รา่ งนามธรรม เพอ่ื ใชใ้ นการออกแบบตอ่ ยอดตอ่ ไป โดยกระบวนการหรอื วธิ กี ารทนี่ ำ� เสนอนี้ จะเปน็ การลดทอนรปู ทรงจากรปู ธรรม
สูน่ ามธรรมเพือ่ ความเปน็ สากลและจดั เตรียมไว้ใช้ในการออกแบบจากรปู รา่ งสู่รปู ทรงต่อไป หรอื จาก 2 มติ ิ สู่ 3 มติ ิ
มีขั้นตอนการสรา้ งรูปรา่ งใหม่ด้วยวิธีการ ดังนี้
1. การเปล่ียนภาพลายเสน้ สภู่ าพเงาอตั ลักษณ์ (Silhouette) ทีม่ รี ูปรา่ ง 2 มติ ิ
2. การจัดรูปรา่ ง (Transform) เพ่อื ให้เกดิ รปู รา่ งใหม่ (New Shape) จากการหมนุ การพลกิ การบิด การรวมการแยกย่อย ฯลฯ
3. การเรียง การทำ� ซำ�้ รปู รา่ ง ให้เกดิ ลวดลาย (Pattern) หรือลวดลายใหม่ (New pattern)
4. รูปร่างใหม่ทเ่ี กิดข้นึ จากการตัดกันของรูปร่าง (Intersect)
5. วนซำ้� (Loop) ส่กู ารเรียงลวดลาย (Pattern) และการตัดกนั ของรูปร่าง จนกลับมาท่ีรปู ร่างเดิมหรือได้ฐานขอ้ มูลรปู ร่างทเี่ พียง
พอต่อการใชใ้ นการออกแบบตอ่ ไป

กระบวนการถอดอัตลกั ษณพ์ น้ื ถิน่ ภาคใตเ้ พ่อื การออกแบบรปู รา่ งเพอ่ื ใชใ้ นการออกแบบจ�ำแนกตามอัตลักษณ์พนื้ ถน่ิ ภาคใต้ ดงั นี้

2288 อองงคคค์ ค์ ววาามมรรู้บู้บูรรู ณณาากกาารรกกาารรออออกกแแบบบบสสื่อ่อื ววัฒฒั นนธธรรรรมมททาางงททัศัศนน์ ์
ปปรระะกกออบบพพิพพิ ิธธิ ภภณั ณั ฑฑสสถถาานนพพ้ืน้นื บบา้ า้ นนภภาาคคใใตต้เพเ้ พ่ือ่อื สสง่ ง่เสเสรริมิมกกาารรเรเรียียนนรร้บู ้บู นนฐฐาานนชชุมมุ ชชนน

2299อองงคค์คค์ ววาามมรรู้บบู้ รู ูรณณาากกาารรกกาารรออออกกแแบบบบสสื่ออ่ื ววัฒัฒนนธธรรรรมมททาางงททศั ัศนน์ ์

ปปรระะกกออบบพพพิ ิพิธิธภภณั ณั ฑฑสสถถาานนพพื้นนื้ บบ้าา้ นนภภาาคคใใตต้เพ้เพ่อื ่ือสสง่ ่งเสเสรรมิ ิมกกาารรเรเรยี ียนนรรูบ้ ู้บนนฐฐาานนชชมุ มุ ชชนน

3300 อปปองรงรคะคะค์กค์กวอวอาบาบมมพพรรพิู้บิพูบ้ ธิูริธูรภณภณัณณัาากฑกฑาาสสรรถถกกาาาานนรรพอพออื้นอ้นื กบกบแา้แา้ บนบนบภบภสาสาคื่อค่อื ใวใวตตัฒฒั ้เ้เพนพน่ือธ่อืธรสรสรง่รง่ มเมเสสททรราาิมิมงงกทกทาาัศัศรรนนเเรร์ ์ียียนนรร้บู ้บู นนฐฐาานนชชุมุมชชนน

3311ปปรระะกกออบบพพพิ ิพิธิธภภณั ณั ฑฑออสสงงถถคคาาค์ ์คนนววพพาา้ืนมน้ืมบรบรบู้้าูบ้้านูรนูรณภณภาาาาคกคกใาใาตรตรเ้กเ้กพพาาื่อรือ่รสอสอ่งอ่งอเเกสกสแรแรบิมบิมกบกบาสาสรรอ่ื อื่ เเวรวรยีฒัียฒั นนนนรรธธู้บบู้รรนรนรมฐมฐาทาทนนาาชงชงทมุทมุ ัศชศัชนนนน์ ์

3322 อปปองรงรคะคะค์กค์กวอวอาบาบมมพพรรพิู้บิพูบ้ ธิูริธูรภณภณัณณัาากฑกฑาาสสรรถถกกาาาานนรรพอพออื้นอ้นื กบกบแา้แา้ บนบนบภบภสาสาคื่อค่อื ใวใวตตัฒฒั ้เ้เพนพน่ือธ่อืธรสรสรง่รง่ มเมเสสททรราาิมิมงงกทกทาาัศัศรรนนเเรร์ ์ียียนนรร้บู ้บู นนฐฐาานนชชุมุมชชนน

3333ปปรระะกกออบบพพพิ ิพิธิธภภณั ณั ฑฑออสสงงถถคคาาค์ ์คนนววพพาา้ืนมน้ืมบรบรบู้้าูบ้้านูรนูรณภณภาาาาคกคกใาใาตรตรเ้กเ้กพพาาื่อรือ่รสอสอ่งอ่งอเเกสกสแรแรบิมบิมกบกบาสาสรรอ่ื อื่ เเวรวรยีฒัียฒั นนนนรรธธู้บบู้รรนรนรมฐมฐาทาทนนาาชงชงทมุทมุ ัศชศัชนนนน์ ์

34 องคค์ วามร้บู รู ณาการการออกแบบส่อื วัฒนธรรมทางทัศน์
ประกอบพพิ ิธภัณฑสถานพ้นื บา้ นภาคใต้เพ่ือส่งเสรมิ การเรยี นรบู้ นฐานชมุ ชน
ส่วนที่ 4
การบูรณาการการออกแบบ

สื่อวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบ
พิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้

เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้
บนฐานชุมชน

35องค์ความรูบ้ รู ณาการการออกแบบส่ือวัฒนธรรมทางทัศน์

ประกอบพพิ ิธภัณฑสถานพน้ื บา้ นภาคใตเ้ พือ่ สง่ เสรมิ การเรยี นรู้บนฐานชุมชน

นำ�ผลการศึกษาที่ได้ข้างต้นมากำ�หนดแนวทางการออกแบบองค์ประกอบและรูปแบบสื่อวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบ
พิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้ ประกอบด้วย ส่วนนิทรรศการและงานตกแต่ง ได้แก่ ระบบสัญจร การจัดวางและเนื้อหา
การจัดแสดง และงานตกแต่งประกอบนิทรรศการ (วัสดุกราฟิก และวัสดุ 3 มิติ) และระบบป้ายและสัญลักษณ์ โดยการจัดทำ�
แบบร่าง (SKETCH) แบบร่าง 2 มิติ และ 3 มิติ ด้วยคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย ส่วนนิทรรศการและงานตกแต่ง ได้แก่ ระบบ
สัญจร การจัดวางและเนื้อหาการจัดแสดง และงานตกแต่งประกอบนิทรรศการ (วัสดุกราฟิก และวัสดุ 3 มิติ) และระบบป้าย
และสัญลักษณ์ ดังนี้

ขั้นตอนการบูรณาการการออกแบบสื่อวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบพิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้บนฐานชุมชน

1. ขน้ั การออกแบบร่าง ทำ�การออกแบบสือ่ วฒั นธรรม Design Concept...
ทางทศั นป์ ระกอบพิพธิ ภณั ฑสถานพืน้ บ้านภาคใต้ จำ�นวน 3 รปู
แบบ รวมกนั เปน็ 1 ชุด และใหช้ มุ ชนเปน็ ผ้เู ลอื ก เพือ่ เลอื กเพียง จากการนำ�วถิ ชี วี ติ ความเปน็ อยมู่ าใชใ้ นการออกแบบ ซงึ่ คนภาคใตม้ ี
แนวทางเดยี วสำ�หรบั การพัฒนาสู่การออกแบบขัน้ ต่อไป ความเปน็ อยทู่ เี่ รยี บงา่ ย และมคี วามสมั พนั ธก์ บั สภาพแวดลอ้ มโดย
2. ข้ันการพัฒนาแบบร่าง นำ�แบบร่างส่ือวัฒนธรรม รอบทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณ์ มแี นวคดิ การนำ�อาคารเกา่ มาปรบั ปรงุ อาคาร
ทางทัศน์ประกอบพิพิธภัณฑสถานพ้ืนบ้านภาคใต้ท่ีผ่านการ ดว้ ยบรรยากาศในรปู แบบรว่ มสมยั นำ�เสนอแกน่ เรอื่ งราวแทนการ
คัดเลือกมาพัฒนาต่อ ให้สมบูรณ์ขึ้น ทั้งหลักองค์ประกอบศิลป์ เน้นแต่วัตถุ ซ่ึงผลจากการลงพนื้ ท่พี พิ ธิ ภัณฑพ์ ้ืนบ้านภาคใตไ้ ด้ข้อ
การสื่อสาร และความถูกต้อง โดยในข้ันตอนนี้จะมีผู้เชี่ยวชาญ สรปุ วา่ อาคารสว่ นใหญท่ เี่ ปน็ ทตี่ ง้ั ของพพิ ธิ ภณั ฑส์ ว่ นใหญค่ อื ไมไ่ ด้
ดา้ นการออกแบบสอื่ วฒั นธรรมทางทศั น์ และตวั แทนชมุ ชน จำ�นวน กอ่ สรา้ งมาเพอื่ การใชป้ ระโยชนใ์ นการจดั ทำ�พพิ ธิ ภณั ฑต์ งั้ แตต่ น้ สว่ น
5 คน มาช่วยให้คำ�แนะนำ�เพ่ิมเติม เพ่ือพัฒนาสื่อวัฒนธรรม ใหญเ่ ปน็ อาคารทส่ี รา้ งขนึ้ เพอ่ื วตั ถปุ ระสงคก์ ารใชง้ านทต่ี า่ งกนั ไปใน
ทางทศั นป์ ระกอบพพิ ธิ ภณั ฑสถานพนื้ บา้ นภาคใตต้ อ่ ใหส้ มบรู ณม์ ากขน้ึ อดตี จะเป็นอาคารชัน้ เดยี ว ดังทปี่ รากฎในพิพิธภณั ฑข์ องชาตวิ ัด
3. ข้ันตอนผลิตสื่อวัฒนธรรมทางทัศน์ประกอบ เขยี นบางแกว้ จงั หวดั พทั ลงุ หรอื สองชน้ั ดงั ทป่ี รากฎในพพิ ธิ ภณั ฑ์
พิพิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้ต้นแบบ เป็นขั้นตอนหลังจาก พน้ื บา้ นเมอื งไชยา จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี สว่ นใหญม่ ีประตเู ขา้ -ออก
การพัฒนาปรับปรุงจนสมบูรณ์แล้ว จะเป็นขั้นตอนท่ีจะต้องทำ� เพยี งทางเดียว ทม่ี ีลกั ษณะเป็นอาคารสองช้นั และเป็นทีม่ าของ
ตน้ ฉบบั ทสี่ มบรู ณ์ (Art Work) เพอื่ ใหก้ บั ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี สามารถ ตัวอย่างในการจดั ทำ�ต้นแบบพิพธิ ภณั ฑ์พืน้ บา้ นภาคใต้
นำ�ไปใช้ประโยชนต์ ่อไป

36 องค์ความรู้บรู ณาการการออกแบบสือ่ วฒั นธรรมทางทศั น์
ประกอบพพิ ิธภัณฑสถานพืน้ บ้านภาคใตเ้ พ่ือส่งเสริมการเรยี นรูบ้ นฐานชุมชน
จากภาพผูว้ จิ ัยทำ� การออกแบบ โดยเลอื กใชอ้ าคาร 2 ชนั้ แบบมปี ระตเู ข้าและออกเพียงทางเดียวเพ่อื ใหก้ ารเลา่ เรือ่ งมกี ารเชื่อมโยงกนั
จึงควรเดนิ เปน็ วงกลม ในการจดั ระเบยี บของหอ้ งจัดแสดงได้คำ� นงึ ถึงลักษณะของห้องจัดแสดงเป็นหลกั

3377อองงคค์คค์ ววาามมรรบู้ บู้ รู ูรณณาากกาารรกกาารรออออกกแแบบบบสสอ่ื ่อื ววัฒฒั นนธธรรรรมมททาางงททศั ศั นน์ ์

ปปรระะกกออบบพพิพพิ ิธธิ ภภัณณั ฑฑสสถถาานนพพ้นื น้ื บบา้ ้านนภภาาคคใใตตเ้ พ้เพ่อื ือ่ สส่งง่เสเสรรมิ ิมกกาารรเรเรียยี นนรรู้บู้บนนฐฐาานนชชมุ มุ ชชนน

การบูรณาการการออกแบบสอ่ื วฒั นธรรมทางทศั น์
ประกอบพพิ ิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้ รูปแบบที่ 1

38 องคค์ วามร้บู ูรณาการการออกแบบส่ือวัฒนธรรมทางทัศน์
ประกอบพิพธิ ภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้เพอ่ื สง่ เสริมการเรียนรบู้ นฐานชมุ ชน

39องคค์ วามรูบ้ ูรณาการการออกแบบสอ่ื วัฒนธรรมทางทัศน์

ประกอบพพิ ิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้เพอ่ื สง่ เสริมการเรยี นรบู้ นฐานชมุ ชน

แผนผังพิพธิ ภัณฑ์ (Master Plan)

40 องคค์ วามร้บู ูรณาการการออกแบบสอ่ื วฒั นธรรมทางทศั น์
ประกอบพิพธิ ภณั ฑสถานพ้ืนบ้านภาคใต้เพอ่ื สง่ เสริมการเรยี นรบู้ นฐานชุมชน
ส่วนนิทรรศการและงานตกแตง่ ไดแ้ ก่ ระบบสัญจร การจัดวางและเนอ้ื หาการจดั แสดง
และงานตกแตง่ ประกอบนทิ รรศการ (วสั ดุกราฟกิ และวัสดุ 3 มิติ)

41องค์ความรู้บูรณาการการออกแบบส่อื วัฒนธรรมทางทศั น์

ประกอบพพิ ธิ ภณั ฑสถานพื้นบ้านภาคใต้เพอ่ื สง่ เสริมการเรียนรู้บนฐานชมุ ชน

ระบบป้ายและสัญลักษณ์

42 องคค์ วามรู้บรู ณาการการออกแบบสอ่ื วฒั นธรรมทางทศั น์
ประกอบพิพธิ ภณั ฑสถานพน้ื บ้านภาคใต้เพื่อส่งเสริมการเรยี นรบู้ นฐานชมุ ชน
ส่อื สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ : แผ่นพบั

43องค์ความรบู้ ูรณาการการออกแบบสอื่ วฒั นธรรมทางทศั น์

ประกอบพิพิธภัณฑสถานพ้นื บา้ นภาคใตเ้ พอื่ สง่ เสริมการเรียนรบู้ นฐานชมุ ชน

สอ่ื สง่ เสรมิ การเรียนรู้ : โปสเตอร์

4444 อปปองรงรคะคะ์คก์คกวอวอาบาบมมพพรริพบู้ิพ้บู ิธรูธิูรภณภณณั ณัาากฑกฑาาสสรรถถกกาาาานนรรพอพออื้นอนื้ กบกบแา้แ้าบนบนบภบภสาสาค่อืคอ่ื ใวใวตตฒั ฒั เ้ ้เพนพนือ่ธ่อืธรสรสร่งร่งมเมเสสททรราามิ มิงงกทกทาาศั ศัรรนนเเรร์ ์ียียนนรรู้บบู้ นนฐฐาานนชชุมมุ ชชนน
สอ่ื สง่ เสริมการเรียนรู้ : ค่มู ือนำ� ชมพพิ ธิ ภัณฑสถานพื้นบา้ น

45องคค์ วามรู้บรู ณาการการออกแบบส่ือวัฒนธรรมทางทศั น์

ประกอบพิพธิ ภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใตเ้ พื่อส่งเสริมการเรยี นรู้บนฐานชุมชน

การบรู ณาการการออกแบบสอ่ื วฒั นธรรมทางทัศน์
ประกอบพิพิธภณั ฑสถานพนื้ บา้ นภาคใต้ รปู แบบที่ 2

46 องคค์ วามร้บู ูรณาการการออกแบบส่ือวัฒนธรรมทางทัศน์
ประกอบพิพธิ ภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้เพอ่ื สง่ เสริมการเรียนรบู้ นฐานชมุ ชน

47องคค์ วามรูบ้ ูรณาการการออกแบบสอ่ื วัฒนธรรมทางทัศน์

ประกอบพพิ ิธภัณฑสถานพื้นบ้านภาคใต้เพอ่ื สง่ เสริมการเรยี นรบู้ นฐานชมุ ชน

แผนผังพิพธิ ภัณฑ์ (Master Plan)

48 องคค์ วามร้บู ูรณาการการออกแบบสอ่ื วฒั นธรรมทางทศั น์
ประกอบพิพธิ ภณั ฑสถานพ้ืนบ้านภาคใต้เพอ่ื สง่ เสริมการเรยี นรบู้ นฐานชุมชน
ส่วนนิทรรศการและงานตกแตง่ ไดแ้ ก่ ระบบสัญจร การจัดวางและเนอ้ื หาการจดั แสดง
และงานตกแตง่ ประกอบนทิ รรศการ (วสั ดุกราฟกิ และวัสดุ 3 มิติ)

49องค์ความรู้บูรณาการการออกแบบส่อื วัฒนธรรมทางทศั น์

ประกอบพพิ ธิ ภณั ฑสถานพื้นบ้านภาคใต้เพอ่ื สง่ เสริมการเรียนรู้บนฐานชมุ ชน

ระบบป้ายและสัญลักษณ์

50 องคค์ วามรู้บรู ณาการการออกแบบสอ่ื วฒั นธรรมทางทศั น์
ประกอบพิพธิ ภณั ฑสถานพน้ื บ้านภาคใต้เพื่อส่งเสริมการเรยี นรบู้ นฐานชมุ ชน
ส่อื สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ : แผ่นพบั


Click to View FlipBook Version