The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 22_2_2018

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Asian News Channel1, 2020-05-31 00:04:36

คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 22_2_2018

คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 22_2_2018

การเพาะเล้ยี งปลาบนพืน้ ท่ีสูง

พมิ พ์คร้ังที่ 27 มถิ ุนายน 2561
จานวน 500 เลม่

สงวนลิขสทิ ธ์ิตามกฎหมาย

การผลิตและลอกเลยี นแบบหนังสอื เลม่ น้ีไม่ว่ารปู แบบใดทง้ั ส้ิน
ตอ้ งได้รบั อนุญาตเป็นลายลักษณอ์ กั ษรจากผเู้ ขยี น

ISBN : 978-616-8146-09-5

จัดทาโดย: ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อภินนั ท์ สวุ รรณรักษ์
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้า มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290
โทร: 0 5387 5100-2, 0 5349 8178 โทรสาร 0 5387 5103

พมิ พท์ :ี่ บริษัท สมาร์โครท์ ติ้ง แอนด์ เซอรว์ สิ จากดั
29/18 ถ.สงิ หราช ต.ศรภี ูมิ อ. เมอื ง จ. เชยี งใหม่ 50200
โทร: 0 5321 1366 โทรสาร 0 5321 1367
อีเมลล์: [email protected] เว็บไซด์ www.smartcoating.net

พิมพ์ภายใต้โครงการการพัฒนาชุมชนต้นน้าต้นแบบเพื่อความยั่งยืนของทรัพยากร
(ดนิ น้า ป่า ปญั ญา อาชีพ)

ภาพวาดโดย ดร.โชคอนันต์ วาณิชย์เลศิ ธนาสาร

คำนำ

ปลำเป็นสตั วเ์ ลือดเย็นทีส่ ำมำรถปรบั ตวั เพื่อกำรเป็นอยู่ในเกือบสภำพทุก
พ้นื ท่ี ปลำเปน็ แหลง่ โปรตนี ชน้ั ยอดของประชำชนคนไทยมำยำวนำน ในสว่ นของพ้นื ที่
สูงทม่ี ีขอ้ จำกัดของพ้นื ทร่ี ำบในกำรขดุ บ่อเพื่อเล้ียงปลำ อำหำรที่จะมำให้ปล ำกิน
เนอ่ื งจำกอยไู่ กลและกำรคมนำคมลำบำก ลูกปลำอยู่ห่ำงไกลเดินทำงไปถึงก็อยู่ใน
สภำพที่ออ่ นแอมอี ัตรำกำรรอดตำ่ ปริมำณนำ้ มนี อ้ ย ดินไมค่ อ่ ยอมุ้ น้ำ และทส่ี ำคัญคือ
ควำมรู้เรอื่ งของกำรเลยี้ งปลำยงั เป็นเรอื่ งท่ียำกสำหรบั ผทู้ ่เี ร่ิมใหม่ จึงเปน็ ควำมท้ำทำย
ในกำรดำเนนิ กิจกรรมน้ี เป็นกิจกรรมทต่ี อ้ งใช้เวลำค่อนข้ำงมำกในกำรปรับควำม
เข้ำใจ จำกปแี รกเริ่มทำควำมรจู้ กั กันและรจู้ ักปลำ ปที ่สี องเร่ิมเลย้ี งและได้กนิ ปที สี่ ำม
และส่ีเร่ิมเรยี นรูเ้ รื่องของกำรเพำะขยำยพันธุ์ กำรอนบุ ำลและกำรเลย้ี งเพื่อเปน็ พอ่ แม่
พนั ธุ์

ในปจั จุบันมกี ำรเลี้ยงปลำในหลำกหลำยพนื้ ที่บนพ้ืนท่ีสงู เช่นท่ีอำเภออม
กอ๋ ยกว่ำ 500 บอ่ อำเภอแม่แจม่ อำเภอกัลยำนิวัฒนำ จงั หวดั เชียงใหม่ อำเภอแมล่ ำ
นอ้ ย อำเภอแมส่ ะเรยี ง อำเภอสบเมย และอำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน
สำมำรถเพ่ิมอำหำรโปรตีนให้ประชำชนโดยตรง และยังเป็นกำรลดเวลำในกำรหำ
อำหำรโปรตีนเพือ่ ครอบครวั ดงั นนั้ จึงมีเวลำเหลือเพื่อกำรประกอบอำชีพอื่น หรือ
เล้ยี งปลำและเพำะขยำยพันธ์ุปลำเปน็ อำชพี ไดด้ ้วย

อนึ่งเป็นกำรทำงำนภำยใตโ้ ครงกำรพัฒนำชุมชนต้นน้ำต้นแบบเพื่อควำม
ยั่งยืนของทรัพยำกร (ดิน น้ำ ปำ่ ปัญญำ อำชีพ) ในพนื้ ที่อำเภอแม่แจ่มและอำเภอ
กลั ยำณวิ ัฒนำ และโครงกำรควำมมั่นคงด้ำนอำหำรโปรตนี จำกสตั วน์ ้ำแก่ชำวเขำและ
กำรอนุรักษป์ ลำไทยพ้ืนเมอื ง ในอำเภอก๋อย จงั หวดั เชยี งใหม่

เชื่อมนั่ ศรทั ธำ

อภนิ นั ท์ สวุ รรณรกั ษ์

สำรบัญ หนำ้
1
เรื่อง 7
แนวคิดกำรเลย้ี งปลำบนพน้ื ทสี่ ูง 12
กำรเลอื กสถำนที่และกำรขดุ บ่อเล้ยี งปลำบนพ้นื ที่สูง
ชนดิ ของปลำทเ่ี ล้ยี ง 31
กำรเล้ียงปลำบนพนื้ ทสี่ ูง 55
กำรเพำะขยำยพันธ์ุปลำบนพนื้ ทส่ี งู 71
โรคและศตั รปู ลำบนพ้ืนทสี่ งู 75
กำรอนรุ ักษโ์ ดยไม่ต้องอนุรกั ษ์

ภาคเหนื อของประ เทศไทยเป็ นแหล่ง ต้น น้าท่ี ส้า คัญของ ประ เทศ
ประกอบดว้ ยภเู ขาสลบั ซบั ซ้อนจ้านวนมาก ในพื้นท่เี หล่าน้มี ีชาวบา้ นทอี่ าศยั อยู่ และ
ส่วนใหญย่ งั ใชช้ วี ิตแบบดง้ั เดิม นา้ ที่มจี ากพืน้ ทต่ี น้ น้ามคี วามส้าคัญลงมาหล่อเล้ียงชวี ติ
ของประชาชนจา้ นวนมากท่อี ยทู่ างดา้ นท้ายน้า การเปน็ อยู่ของประชาชนในบริเวณน้ี
ท่ีเป็นพื้นที่ห่างไกลการคมนาคมยงั ยากอยู่ การซ้ือขายอาหารโปรตีนยังเป็นเรือ่ งยาก
และราคาคอ่ นข้างสงู ความขาดแคลนอาหารโปรตนี ยงั พบเห็นได้โดยท่ัวไป และต้่า
กว่าเกณฑ์มาตรฐานของประเทศไทย อนั เนื่องมาจากต้องออกไปหาอาหารประเภท
โปรตนี จากธรรมชาตเิ ปน็ สว่ นใหญ่ และต้องใชเ้ วลาคอ่ นข้างยาวประมาณคอ่ นวนั เพื่อ
อาหาร 1 มอื้ ส้าหรับครอบครัว เวลาทเ่ี สียไปแทนทจี่ ะสามารถนา้ มาประกอบอาชีพ
เพือ่ ความเป็นอย่ทู ดี่ ขี ้ึนกลบั หายไปหมด ในสว่ นของการผลิตอาหารโปรตีนจากหมูท่ี
เลย้ี งเพอ่ื เป็นพิธกี รรม เชน่ งานแต่งงาน งานปีใหม่ เป็นต้น สว่ นไก่ทเ่ี ลยี้ งไว้ไม่มากนัก
ในขณะที่ปลาเองยังไมม่ กี ารเลีย้ ง หรอื มีน้อยมาก ซงึ่ ยงั มขี ้อจา้ กัดในเรอ่ื งของความรู้
อาจกลา่ วได้ว่าเร่ืองการเลีย้ งและการขยายพันธ์ุปลายังอยู่ในยุคการเกษตรก่อน
ประวตั ิศาสตร์ พน้ื ทท่ี ่ลี าดชันมาก มีปญั หาเร่ืองของน้าน้อยในชว่ งฤดูแล้ง การทา้ การ
เล้ยี งปลาจงึ ยงั ไม่ค่อยแพร่หลายนัก แตย่ ังมีผลประกอบการนอ้ ยมาก

ดังน้นั จึงยังเป็นสว่ นทม่ี คี วามสา้ คัญในการเร่ิมต้นเพื่อการเล้ียงปลาแบบ
ยัง่ ยืน ด้วยการสอนและเรยี นรู้รว่ มกัน เพ่ือใหส้ ามารถลดรายจา่ ยเพม่ิ รายได้ การที่มี
ความสามารถในการผลติ ลูกปลาไดด้ ว้ ยตนเอง การอนบุ าลดว้ ยตนเอง การเล้ียงเพ่ือ
เป็นปลาเน้อื หรอื เลี้ยงเพ่ือเปน็ การเปน็ ปลาพอ่ แมพ่ นั ธ์ุ นอกจากนี้ยังสามารถผลิต
อาหารไดด้ ว้ ยตัวเอง หรือจากในชุมชน ด้วยสงิ่ ของเหลือใช้จากการเกษตร เป็นการ
เลย้ี งเพ่ือสขุ ภาพเปน็ อาหารอินทรยี แ์ ละยงั เป็นการเก็บกวาดขยะให้เปน็ ส่งิ มีค่า ตาม
แนวพระราชด้ารเิ ศรษฐกจิ พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รชั กาลท่ี 9 ใน
อนาคตการสร้างความสามารถในการเลย้ี งปลานั้นจะเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนา
สังคม

โดยการเริ่มต้นจากการมีอาหารทเี่ พยี งพอในครัวเรอื น และประหยัดเงินใน
การนา้ ไปเพอ่ื ซอื้ อาหารจึงมเี งนิ เหลือเก็บทีจ่ ะน้าไปใชป้ ระโยชนอ์ ย่างอื่นได้ เม่ือไมต่ อ้ ง

1 การเพาะเล้ยี งปลาบนพืน้ ท่สี งู

ภาพที่ 1 ทศิ ทางการถา่ ยทอดเทคโนโลยเี พ่ือความย่ังยืนของการผลิตปลาเพ่ือเป็น
อาหารโปรตีนแกช่ าวเขาบนพนื้ ทส่ี ูง

ภาพท่ี 2 วงจรการทางานทป่ี ระสบความสาเร็จของการเล้ียงปลาบนพ้นื ท่ีสูง
2 การเพาะเล้ียงปลาบนพน้ื ทีส่ งู

พะวงเร่อื งของอาหารก็จะมีเวลาไปทา้ งานมากขน้ึ หรือสามารถใช้สว่ นท่เี ปน็ เรอื่ งของ
การสรา้ งอาชีพขนึ้ มาจากการเลยี้ งปลา เชน่ การเพาะขยายพันธ์ุลกู ปลา การอนุบาล
ลูกปลา การสรา้ งอาหารปลา การเลีย้ งปลาเนื้อ การเล้ยี งพอ่ แมพ่ นั ธ์ุ การแปรรปู การ
ขนส่ง และการตลาด เป็นตน้ นอกเหนือจากน้คี ือการที่ท้าใหเ้ กิดองค์ความรแู้ ละความ
ช้านาญในการเลย้ี งปลา รวมถงึ การมีเงนิ ทองเพียงพอท่ีจะสามารถส่งลูกหลานไป
เรยี นหนงั สือในระดับทสี่ งู ข้นึ ได้ เมือ่ เรียนจบกลับมากส็ ามารถเสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็

ของงานทีร่ ุ่นก่อนหน้าไดเ้ รม่ิ ไว้อย่างม่นั คงไปสู่ความมง่ั คงั่ และความยงั่ ยนื ในทีส่ ุด
ท้ังน้ีโครงการสามารถทา้ ใหส้ ังคมของพี่นอ้ งชาวบนพนื้ ท่ีสูงได้มีความรู้และ

สามารถด้าเนินการได้เองอยา่ งสมบูรณแ์ บบและมลี ู่ทางวา่ กิจกรรมการเลย้ี งปลานี้จะ
สามารถสร้างความย่งั ยนื ไดใ้ นหลาย ๆ ด้านทเี่ กีย่ วขอ้ ง ดังนี้

1. ความยั่งยืนของผลตอบแทนทีไ่ ดร้ ับและปริมาณโปรตีนทเี่ พิม่ ข้นึ จากการ
เลี้ยงปลา ผลผลิตปลาทีไ่ ดจ้ ากการทดลองเล้ียงจะถูกน้าไปใชใ้ นสองกรณีดว้ ยกัน ได้แก่
การบริโภคภายในครวั เรือนของอาสาสมัคร และการแลกเปลีย่ นซ้อื ขายภายในชุมชน
โดยในส่วนของการบรโิ ภคในครัวเรือน และในบางครงั้ ยงั ไดม้ ีการแจกจ่ายปลาไปยัง
ครอบครวั อ่นื ทเ่ี ป็นญาตกิ นั ในสว่ นของการซ้อื ขายแลกเปล่ยี นพบวา่ ไดม้ ีการน้าปลาท่ี
ซ้ือไดไ้ ปใชใ้ นสองกรณดี ้วยกัน ได้แก่ การซื้อเพ่ือบริโภค และการซือ้ เพ่ือนา้ ไปเลี้ยงต่อ
และมองเห็นช่องทางและมีแนวคดิ ท่ีจะนา้ เอาการเลยี้ งปลามาเป็นอาชีพหลักในการ

เล้ียงชพี ในหมบู่ ้าน
2. ความยั่งยนื ในชวี ติ ของชาวบ้านกบั การเลย้ี งปลา แมว้ ่าในระยะเร่ิมต้น

กล่มุ เล้ียงปลาจะมแี กนนา้ ทห่ี วั ไวใจส้เู ปน็ กลุ่มแรกไมม่ าก ดังนั้น ความสา้ เรจ็ ของการ
เล้ยี งปลาจึงขึ้นอย่กู ับความตั้งใจจริงและรับผิดชอบของแต่ละบุคคล ส้าหรับผู้ท่ี
ประสบความส้าเรจ็ น้นั เมื่อสามารถสร้างรายได้จากการเล้ยี งปลาได้ ก็มีเวลาเหลือท่ี
สามารถจะไปทา้ กิจกรรมอยา่ งอน่ื ได้ เน่ืองจากไม่จา้ เปน็ ตอ้ งเข้าป่าหรือลงล้าธารไปหา
อาหารโปรตีนทตี่ อ้ งเสียเวลาไปคร่ึงค่อนวัน ชาวบ้านกลุ่มน้ีจะมีสภาพชีวิตที่มี
หลกั ประกันทย่ี ง่ั ยนื มากขึ้นอันเป็นผลสบื เนอ่ื งมาจากการเลีย้ งปลา

3. ความย่ังยืนของการผลิตลูกปลา เมอื่ สามารถทจี่ ะเพาะพันธ์ุปลาได้ด้วย
ตนเองแล้ว เรมิ่ มีความกระตอื รอื ร้นในการปรบั ปรุงวิธีการในการเลีย้ ง รวมถงึ ปรับปรงุ

วางแผนในการดา้ เนนิ การเลีย้ งได้อยา่ งดี จงึ ได้ท้าการวางแผนในเรือ่ งการจัดการบ่อ

3 การเพาะเลีย้ งปลาบนพ้นื ทสี่ งู

โดยไดท้ า้ การขุดบอ่ เพ่มิ ขึ้นเพ่ือการอนุบาลลูกปลาโดยเฉพาะ อีกท้ังยังได้มีการ
วางแผนจัดการใช้บอ่ เพาะท่ีสร้างขึน้ โดยหมนุ เวียนกันไปตามจา้ นวนอาสาสมัครที่มี
พอ่ -แม่พันธุ์ปลา

4. ความย่ังยืนของแนวทางการเลยี้ งปลา ภายหลงั จากที่คนแรก สามารถ
เพาะพนั ธปุ์ ลาส้าเร็จได้ดว้ ยตนเองภายในชุมชน คนอนื่ ๆ ก็เรม่ิ มองเห็นความส้าเร็จ
และเร่ิมเก็บพอ่ แมพ่ นั ธไุ์ วเ้ ปน็ ของตัวเอง และมีการเรียนรู้ ก็มีประชาชนจากต่าง

หมู่บ้านเขา้ มาสอบถามหาความร้แู ละเข้ารว่ มฝึกอบรมดว้ ย สว่ นคนท่ีได้เลิกล้มความ
ตง้ั ใจไปแล้วนน้ั กไ็ ด้หนั กลบั มาสนใจการเพาะพันธุ์ปลาอีกครั้งหน่ึง โดยได้มีการ
วางแผนจดั การบอ่ เพาะพนั ธุ์ปลา และต้งั ความหวังในการเพาะพนั ธุป์ ลาอ่ืน ๆ ท่ีมีอยู่
ในพ้ืนท่ี เช่น ปลาพลวง ปัจจบุ ันนี้ หลงั จากการเพาะพันธ์สุ า้ เร็จในครงั้ แรกพบว่า และ
เกดิ การแลกเปลี่ยนความรู้ระหวา่ งชมุ ชน ทง้ั เป็นการช่วยสรา้ งความสัมพันธ์ระหว่าง
ชมุ ชนให้มากยง่ิ ขึ้น

5. ความย่งั ยืนเพอ่ื การประกอบอาชีพอ่ืน ชาวบ้านท่ีเล้ียงปลาได้ส้าเร็จ
สามารถใช้เวลาวา่ งท่เี หลอื เพ่ือการสรา้ งอาชีพใหม่อย่างถูกต้อง ซึ่งเป็นหน้าท่ีของ
ชาวบา้ นต่อไปในการพัฒนาตัวเอง เชน่ การพฒั นาอาชีพอย่างอน่ื ควบคไู่ ปกบั การเลย้ี ง
ปลา เช่น การปลูกบุกเพอื่ รักษาปา่ บุก การปลกู สมนุ ไพร การแปรรูปสมุ นไพร การ
ปลกู กาแฟและการแปรรูป และอ่ืน ๆ อกี มากมาย และได้เงินจากการขายผลผลิต

เหล่านมี้ าเพมิ่ รายไดข้ องครอบครัว
6. ความยงั่ ยนื ดา้ นการป้องกนั ยาเสพติด ความยากจนเปน็ สาเหตุหลักส่วน

หน่งึ ของปัญหายาเสพตดิ เมอ่ื ไมม่ เี งินเพราะไมม่ ีทางออกเร่อื งอาชพี ก็ตอ้ งมีการด้ินรน
หาทางออกอื่น ๆ และเม่ือไม่มีทางออก เนอ่ื งจากไม่มีการศึกษา ไม่มีโอกาสหรือ
โอกาสไมเ่ คยเปดิ ให้ ประกอบกบั ระยะทางทีห่ า่ งไกล การคมนาคมลา้ บากมาก ไม่มี
เงินสง่ ลกู เรยี นหนังสือ การปลกู พชื ทใ่ี หส้ ารเสพตดิ ให้โทษจึงเป็นเพียงทางออกทาง
เดียวที่เหลือสา้ หรับการแกป้ ญั หาความยากจน แต่เม่ือเราสามารถแก้ปัญหาปากท้อง
ได้ ปัญหายาเสพติดก็เป็นเรอ่ื งทีส่ ามารถแก้ไขได้แบบทางออ้ ม

7. ความยั่งยนื ดา้ นสถาบันครอบครวั และวัฒนธรรมพ้ืนถิ่น เมื่อมีอาชีพ มี
รายได้ มอี าหาร ปจั จัย 4 กส็ ามารถหาได้แลว้ การอพยพลงมาสู่พื้นราบของชาวเขาก็

จะลดลงหรือแทบจะไมม่ ี ทงั้ นีเ้ พราะความจรงิ ชาวเขากไ็ ม่ได้ตอ้ งการลงมาอาศัยหรอื

4 การเพาะเล้ียงปลาบนพืน้ ท่ีสงู

รบั จ้างอย่ทู ่พี ืน้ ราบเน่ืองจากสภาพแวดล้อมทุกอยา่ งผดิ แผกไปจากวถิ ีแห่งชีวิตของพ่ี
นอ้ งชาวกะเหรีย่ งหรอื ชนเผา่ อน่ื ดว้ ยเช่นกนั เม่อื สมาชิกในครอบครวั สามารถมชี ีวิตอยู่
ร่วมกนั ได้ สถาบนั ครอบครัวกม็ ีความเข้มแขง็ ปัญหาอน่ื ๆ ท่อี าจจะเกิดขึน้ ตามมาอีก
มากกไ็ ม่สามารถเข้ามาพังทลายก้าแพงแห่งความรักและผกู พนั ในครอบครัวได้ เมื่อ
บา้ นเขม้ แขง็ ชมุ ชนก็เขม้ แข็ง ประเทศชาติกเ็ ขม้ แขง็ ตามมา นอกจากนี้การท่ีมีการ
เคล่ือนยา้ ยแรงงานน้อยลงสง่ ผลให้วฒั นธรรมท่มี ีการสบื ทอดกันมาเป็นรอ้ ยเป็นพันปี

ยังคงได้รับการถ่ายทอดจากร่นุ สู่รนุ่ ได้
8. ความยงั่ ยนื ดา้ นการศกึ ษา การส่งเสรมิ การเรยี นรจู้ ากวิถีชีวิตของตัวเอง

เปน็ การตอบโจทย์การเรียนการสอนด้วยการปฏิบัติจริง เพื่อใช้ประโยชน์จาก
ทรพั ยากรในท้องถ่นิ และปกป้องดแู ลทรพั ยากรไปในเวลาเดียวกัน ในระยะเริ่ มแรก
ทางโครงการได้สนับสนุ น ด้ า น กา ร ศึ กษา ด้ วย กา ร จั ดต้ั ง กอง ทุ น ข น า ดเ ล็ กเ พื่ อใ ห้
ลูกหลานชาวเขาไดล้ งมาเรยี นหนงั สือ ซ่ึงในช่วงเวลาน้ันยังคงมีความจ้าเป็นอยู่
อยา่ งเชน่ กองทนุ “อภนิ ันทอ์ ภินนั ทนาการ” เพือ่ ใหท้ ุนกบั นักเรียนท่ีจบช้ันประถม
หรือมัธยมต้นจากโรงเรยี นในหม่บู ้านลงมาเรยี นหนังสือในระดบั ทส่ี ูงขน้ึ เพื่อกลับไป
เป็นก้าลังของการพฒั นาชมุ ชนในอนาคต แตห่ ลังจากทนี่ กั เรยี นทุนรุ่นแรก ๆ ได้จบ
การศึกษาและสามารถกลับไปช่วยการพัฒนาท้องถ่ินแล้วนั้น (เช่น การเป็น
อาสาสมคั รกลุม่ เล้ียงปลา) รูปแบบการชว่ ยเหลือแบบใหก้ องทุนการศึกษาก็มีความ

จ้าเป็นน้อยลง
9. ความยั่งยืนของทรพั ยากรธรรมชาติทางน้า ในอนาคต เมื่อชาวบ้านมี

ความรแู้ ละความชา้ นาญในการเพาะขยายพนั ธุ์ปลา ก็สามารถท่ีจะเพาะขยายพันธุ์
ปลาทอ้ งถนิ่ เพอ่ื การคา้ ท้งั เพ่ือการเลีย้ งเป็นปลาเนือ้ และเพอ่ื เปน็ ปลาสวยงาม หรือ
การเพาะขยายพนั ธุเ์ พอื่ ปลอ่ ยลงสูแ่ หล่งนา้ เพ่อื รกั ษาความสมบูรณข์ องแหลง่ นา้ อย่าง
ถกู ต้อง โดยไมป่ ล่อยปลาชนิดพันธุ์ตา่ งถิ่นลงไปท้าร้ายทรพั ยากรธรรมชาติของไทย
หรือการปลอ่ ยปลาชนดิ ใดชนิดหนึง่ ตามท่ีสามารถหาไดจ้ ากโรงเพาะฟกั เท่าน้ัน และ
เม่ือความรเู้ รือ่ งของการเพาะขยายพันธไุ์ ดร้ บั การถา่ ยทอดออกไปมากขึ้น องค์ความรู้
ในเรอื่ งนกี้ ็จะถกู น้าไปใชอ้ ย่างจริงจงั มากขึ้น ในชุมชนก็จะมีจ้านวนของมืออาชีพ
ทางด้านการเพาะขยายพันธุเ์ พิม่ พูนมากขึ้น หรือมีการเพาะขยายพนั ธุ์ปลาชนิดที่หา

ยากหรือใกล้สูญพนั ธ์ุเพือ่ ใช้ในการอนุรักษต์ ่อไป และเมื่อถงึ จดุ หมายปลายทางของ

5 การเพาะเลี้ยงปลาบนพืน้ ทสี่ ูง

การอนุรักษ์ กจ็ ะมกี ลุ่มคนท่ีเข้าใจในธรรมชาติของปลาแต่ละสายพันธ์มาช่วยกัน
ท้างานอนุรกั ษ์ธรรมชาติโดยไม่เบยี ดเบียนปลาชนดิ พันธ์ดุ ้ังเดิมทม่ี ีอยแู่ ล้ว

10. การเกิดขึ้นของปราชญช์ มุ ชนด้านการเพาะเล้ียงปลา ซึ่งได้ผ่านการ
ฝกึ อบรมจากประสบการณ์การจริง และสามารถถ่ายทอดไปยงั พ่นี ้องชาวกะเหร่ียงทุก
คนดว้ ยความยนิ ดแี ละปิติ

ดว้ ยแนวทางการท้างานด้วยแนวทาง “อาหาร อาชีพ และอาวธุ (ปัญญา)”
ที่เริ่มตน้ จากการสรา้ งอาหาร พัฒนาต่อเป็นอาชพี และสร้างปัญญาใหก้ ับตวั เอง และ
มอบปญั ญาใหก้ ับรนุ่ ต่อไป แนวทางทีก่ าลงั ดาเนนิ การนีน้ ่าจะเกิดการบูรณาการกัน
ของท้ังสามสว่ น คอื ดา้ นสงั คม ด้านสงิ่ แวดลอ้ ม และด้านเศรษฐกิจ ที่จะส่งผลไปยัง
ความยงั่ ยนื ของทรัพยากรและความเป็นอยทู่ ่ีดขี ึ้นภายใต้แนวทาง “เศรษฐนิเวศ”
“ECONECO= ECONomic ECOlogy”

6 การเพาะเลี้ยงปลาบนพน้ื ท่ีสงู

การเลยี้ งปลามปี ระโยชน์ทห่ี ลากหลาย ที่ส้าคัญมเี ปา้ หมายทชี่ ดั เจนในเร่ือง
การเพิม่ อาหารโปรตนี ใหก้ ับตัวเอง แต่กม็ ขี อ้ กา้ กดั อยูห่ ลายประการ เช่น การไม่มี
ประสบการณ์ในการเลยี้ ง การไมม่ ีพ้ืนท่ีราบมากพอเพ่อื การขุดบ่อ อาหารปลามีราคา
สงู ไม่มอี าหารปลาขาย ไม่มีลกู พนั ธ์หุ รอื ต้องขนสง่ ไกล และยังมคี วามรู้ในการเลี้ยง
ปลาน้อยมาก หรือแทบไมม่ ีเลย การกา้ วข้ามข้อจา้ กดั เหลา่ น้จี งึ เป็นเร่ืองที่ต้องการ
แก้ปญั หาสูค่ วามยั่งยืน

ภาพที่ 3 การเลือกพนื้ ท่บี อ่ เลี้ยงปลา

การเลือกสถานที่

ด้วยบนพ้นื ที่สูงเป็นพนื้ ที่ท่ีมีปริมาณน้านอ้ ยและแห้งแล้งในช่วงฤดูแล้ง มี
พื้นทล่ี าดชันสูง ดงั นัน้ จึงต้องเลือกพนื้ ที่ใหเ้ หมาะสม (ภาพที่ 3) ดงั นี้

7 การเพาะเลยี้ งปลาบนพื้นท่ีสูง

1. พื้นท่ลี ดเอยี งเลก็ น้อย แตส่ ามารถขุดบ่อเพื่อการเล้ียงปลาได้ เป็นบ่อ
ขนาดเลก็ ประมาณ 3 x 5 เมตร หรือส่วนใหญ่ในพ้ืนที่ของเกษตรกรทีท่ า้ นาสว่ นใหญ่
จะมบี อ่ เพอื่ การเกบ็ กกั นา้ ไวใ้ ช้ในกจิ กรรมของตนเองแทบทกุ บา้ น

2. อยใู่ กลก้ บั ตานา้ หรอื ขนานกับลา้ ธาร
3. อยู่ใกล้บา้ น หรือไมห่ ่างมากนกั เพือ่ ความสะดวกในการดูแล และการ
ป้องการลกั ขโมย
4. นา้ สามารถถา่ ยเทไดบ้ า้ งเป็นบางครั้ง
5. ไมต่ ้ังอยู่ใกลพ้ ้ืนท่ีน้าหลาก เพราะจะท้าให้เสยี หายได้

ภาพท่ี 4 บอ่ ปลาและขนาดประมาณ 3 x 5 เมตรท่ีขุดไดด้ ้วยแรงงานในครอบครัว
สามารถเลยี้ งปลากินไดต้ ลอดทง้ั ปี
ดงั นัน้ การใช้พ้ืนทสี่ ว่ นน้เี พอ่ื การเริม่ ตน้ เลย้ี งปลาจึงเปน็ เร่อื งท่ียงั ไมส่ ามารถ

ท้าการส่งเสรมิ ไดใ้ นทันที เพราะสาเหตุตา่ ง ๆ ดงั กล่าวขา้ งตน้ และเกษตรกรส่วนใหญ่
8 การเพาะเลี้ยงปลาบนพ้นื ท่สี ูง

ไม่มีประสพการในการเลย้ี งปลามากอ่ น จงึ จ้าเป็นตอ้ งเลอื กกลุ่มตัวแทนอาสาสมัครท่ี
เป็นคนหวั ไวใจสู้ มคี วามเป็นผ้นู ้าโดยธรรมชาติ สามารถเป็นตัวอย่างและให้การ
แนะนา้ คนอ่นื ได้ทนั ท่วงที และมีการจบั ขน้ึ มาเพ่ือบริโภค หรือแจกจ่ายไปตามหมู่ญาติ
มิตร และน้าไปขายในตลาดทอ้ งถิ่น

การขุดบอ่ ปลาบนพ้ืนทส่ี งู

เนื่องดว้ ยพืน้ ท่สี งู มปี จั จัยที่จ้ากัดมากในการขุดบ่อ เช่นการเข้าถึงของ
เครอื่ งจักรขนาดใหญค่ อ่ นขา้ งลา้ บาก เน่ืองจากอยู่ในพ้ืนท่ีห่างไกลการคมนาคม
ลา้ บาก ชาวบา้ นจงึ ใช้วิธีการขุดดว้ ยมือจอบ การใช้เคร่ืองจกั รขนาดใหญ่เป็นเร่ืองที่
ต้องมคี ่าใช้จา่ ยสูง (ภาพที่ 5)

ภาพท่ี 5 การขดุ บ่อเลี้ยงปลา

9 การเพาะเลยี้ งปลาบนพนื้ ทส่ี งู

คุณสมบตั ขิ องน้าที่นา้ มาใช้เล้ียงปลา

น้าท่ใี ช้เลีย้ งปลาบนพื้นทีส่ งู จะไมม่ ปี ัญหา เนื่องมาจากน้าเป็นน้าสะอาดเป็น
ส่วนใหญ่ ท้งั นเี้ ป็นนา้ ทมี่ าจากตาน้า หรือตน้ นา้ อณุ หภูมิคอ่ นขา้ งตา่้ ทา้ ใหก้ ารละลาย
ของออกซิเจนมสี ูง การปนเปอื้ นของตะกอนนอ้ ย น้าใส ต้นทนุ คา่ น้าต้า่ สามารถเปิด
ให้ไหลเขา้ บอ่ ได้ตามต้องการ ประกอบกับการปล่อยปลาทีก่ ินอาหารแตกต่างกัน หรือ
มกี ารกนิ อาหารหลายระดับทา้ ให้สง่ิ ท่ตี กคา้ งอย่ใู นบ่อมีน้อย และถกู ย่อยสลายไปจน

หมด รวมถึงการปล่อยปลาทม่ี ีขนาดท่แี ตกตา่ งกัน หรอื เป็นชนิดที่แตกต่างกัน ด้วย
เหตุและปจั จัยดงั กลา่ วข้างตน้ จึงทา้ ใหไ้ ม่มปี ัญหาเรือ่ งของคณุ ภาพน้าตลอดการเลี้ยง

1. อุณหภูมิ หากอุณหภูมสิ ูงปริมาณออกซิเจนจะละลายได้น้อย และน้าที่
อุณหภูมติ ้่าปริมาณออกซิเจนจะละลายไดส้ งู ปกติปลาชอบอาศัยอุณหภูมิระหว่าง
25-32 องศาเซลเซียส อุณหภูมทิ ่บี นพื้นท่ีสูงส่วนใหญ่ตา้่ กว่า 25 องศา

2. ความขนุ่ ความขุ่นของน้าตามธรรมชาติเกิดจากสารอินทรีย์สาร เช่น
ตะกอน โคลนตมซงึ่ เปน็ อปุ สรรคตอ่ การสงั เคราะห์แสงของพืชน้าความขุน่ ของน้าจะ
ประกอบดว้ ย แพลงกต์ อนสีเขยี ว หากมมี ากเกนิ ไปกจ็ ะเปน็ อันตรายต่อปลาได้ ส่วน
ในพ้นื ทสี่ งู มคี วามขนุ่ นอ้ ยมากเนื่องจากเป็นบริเวณต้นน้า และบ่อมี ขนาดเล็กจึง
สามารถปล่อยใหน้ า้ ท่มี ีคุณภาพดไี หลผา่ นไดโ้ ดยตลอด ยกเว้นในช่วงฤดูฝนที่มีน้าบ่า

จะทา้ ให้น้าขุน่
3. ความเปน็ กรดด่าง ควรเปน็ กลางเป็นน้าทีม่ ีคา่ pH อยู่ระหว่าง 6.5-8.5

กอ่ นพระอาทิตยข์ นึ้ เหมาะแก่การเล้ียงปลามากทีส่ ดุ หากน้าเป็นกรดมากปลาจะไม่
อยากกินอาหาร ความต้านทานโรคต้า่ หากน้าเป็นดา่ งมากปลาจะตาย ควบคุมด้วย
การใชป้ ูนขาว บอ่ เล้ียงปลาทีพ่ ืน้ ก้นบอ่ เน่าจะเกดิ กรดสงู

4. คารบ์ อนไดออกไซด์ โดยทั่วไปคาร์บอนไดออกไซด์จะมาจากการหายใจของ
พืชและสัตว์ และการสลายอินทรียสาร ปลาจะหลีกเล่ียงไม่อยู่ในน้าท่ีมีระดับ
คารบ์ อนไดออกไซดส์ งู เกินกว่าระดับ 5 ส่วนในพนั

5. ก๊าซแอมโมเนยี เปน็ ก๊าซท่ีมพี ิษตอ่ ปลามากเกดิ จากเศษอาหารทห่ี ลงเหลือ
อยู่และมูลต่าง ๆ ทป่ี ลาขับถา่ ยออกมา ทา้ ให้ปลาเบ่ืออาหาร เคล่อื นไหวช้าลง จะมี
ความสัมพนั ธโ์ ดยตรงกับปริมาณออกซิเจนท่ลี ะลายในนา้ ดังนั้นจงึ ไมม่ ีปญั หาในพ้ืนท่ี

สูง

10 การเพาะเลยี้ งปลาบนพ้นื ท่สี ูง

6. กา๊ ซไขเ่ น่า เกิดจากการหมกั หมมและการยอ่ ยสลายอนิ ทรียสารในก้นบ่อ
จะเกิดปญั หานี้ถา้ ให้อาหารปรมิ าณมาก แมเ้ พียง 0.1-0.2 ส่วนในพัน ก็อาจท้าให้
ปลาตายได้ ไมม่ ปี ัญหาเช่นเดียวกนั กบั กา๊ ซแอมโมเนีย มกั เกิดขน้ึ กับบอ่ เล้ียงท่ีมีการ
เล้ยี งมาหลายปแี ล้ว หรือบอ่ ท่ีเล้ยี งโดยการใช้มลู สตั ว์ลงไปในน้า

11 การเพาะเล้ียงปลาบนพืน้ ทีส่ ูง

ชนิดปลาที่นา้ มาเลย้ี งแล้วมีผลดีตอ่ การเปล่ียนแปลงการเล้ียงปลาในอนาคต
นั้นยอ่ มเปน็ ผลมาจากการเล้ียงแบบผสมผสาน การเลอื กชนิดปลาควรเป็นชนิดท่ีไม่
เปน็ ปลาที่กนิ เนอื้ และเป็นปลาต่างถนิ่ ท้งั นเ้ี ปน็ การปอ้ งกนั การรกุ รานของสัตวต์ ่างถ่ิน
ปลาจ้าแนกตามตามนิสยั ของการกินอาหารปลาสามารถจ้าแนกได้ แตใ่ นปลาส่วนใหญ่
จะไม่ไดเ้ ลอื กกนิ อยา่ งชัดเจน เช่นปลาตะเพยี นสามารถกินไดท้ ั้งพืชและสตั ว์

การคัดเลือกปลาทจี่ ะเลยี้ ง

ควรมลี กั ษณะดงั ต่อไปน้ี คอื
1. เล้ียงง่าย สามารถกนิ อาหารธรรมชาตไิ ด้อย่างเต็มท่ี
2. โตเร็ว มปี ระสิทธิภาพในการเปลย่ี นจากอาหารมาเป็นเนือ้ สูง
3. มีลกู ดกและขยายพันธ์ไุ ด้ หาพันธมุ์ าเล้ียงได้ง่าย การวางไข่หลายครั้ง
เพาะพันธุไ์ ด้ง่าย เพอื่ การพัฒนาต่อในการเรยี นรู้เพ่อื เพาะขยายพันธป์ุ ลาพ้ืนเมือง ท่ีมี
ศกั ยภาพ
4. อดทน มีความทนทานสามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ดี ท่ี
สามารถเล้ียงไดท้ ้งั ในน้าไหล ในกระชงั และในบ่อน้านิ่ง
5. สามารถเล้ียงรว่ มกบั ปลาอ่นื ได้ ไม่รบกวนซ่ึงกนั และกนั ควรเป็นปลาที่
กินพชื หรือกินแพลงก์ตอน
6. เนอ้ื มีรสดีปลามีเนอ้ื รสชาตดิ ี ปรุงอาหารได้ง่าย
7. มีตลาดจา้ หน่าย เพราะปลาบางชนดิ มตี ลาดแคบไม่เปน็ ท่ีนิยม
8. ไดร้ าคาดี ควรจะคุ้มคา่ ทนุ ที่เลี้ยงมา
9. สามารถเลี้ยงเป็นปลาอินทรีย์
10. เป็นชนิดพนั ธ์ุทีเ่ ป็นปลาประจา้ ท้องถิ่น ไดแ้ ก่ปลากาด้า เปน็ ชนดิ ส้าคัญ
ในการพฒั นาเพอื่ เป็นปลาเลี้ยงท่คี รบวงจร
11. สามารถแปรรปู ไดด้ ี

12 การเพาะเล้ียงปลาบนพนื้ ทส่ี งู

12. ไม่เป็นชนดิ พันธุ์ต่างถ่ินทร่ี กุ ราน เนอ่ื งจากในพน้ื ที่สงู เป็นพนื้ ที่มีมคี วาม
เปราะบางในเรื่องของชนดิ เฉพาะถน่ิ หากมีปลาต่างถน่ิ ทเี่ ป็นผลู้ ่าหลุดลงไปจะค่อนข้าง
เสยี่ งต่อการเกดิ ผลกระทบทีร่ ้ายแรงต่อไป

รูปแบบของการปลอ่ ยปลาลงเล้ียงในบ่อ

กลมุ่ ของปลาทจี่ ะเล้ียงควรเนน้ ไปทปี่ ลากนิ พืช และรปู แบบการเลีย้ งควรเปน็
แบบผสมผสาน เพอ่ื ใหส้ ามารถวางแผนการผลติ ปลาใหเ้ พียงพอต่อการบรโิ ภคภายใน
ครวั เรือนตลอดทั้งปี ในพน้ื ที่ทจี่ า้ กดั ประมาณ 20 ตารางเมตร โดยจะมวี ิธีการปล่อย
ออกเป็น สองรูปแบบ นอกเหนือจากนีย้ งั มกี ารจัดการในรปู แบบของการเพิ่มลกู ปลาลง
ไปในบ่อเพิ่มเตมิ ด้วยการผลิตลกู ปลาเอง

1. ปล่อยปลาชนิดเดียวแต่หลายขนาด เนื่องจากการให้อาหารแบบ
ธรรมชาติ ปลาท่ีมขี นาดตวั โตกว่า ยอ่ มมีความสามารถในการเจรญิ เติบโตเร็วกว่า จงึ มี
โอกาสถกู เลอื กไปบรโิ ภคกอ่ น ปลาตวั เลก็ กว่าจงึ มโี อกาสได้รับอาหารมากขึ้นจึงโต
ตามมา (ภาพท่ี 6) แต่ส่วนใหญพ่ ฤติกรรมมนุษยไ์ มค่ ่อยนิยมบริโภคปลาชนิดเดียว
ตดิ ตอ่ กัน จึงไมค่ ่อยไดร้ บั ความนิยมมากนกั

ภาพท่ี 6 ปล่อยปลาชนดิ เดียวแต่หลายขนาดลงในบอ่ เดยี วกนั เพอ่ื การเจริญเติบโตที่
แตกตา่ งกัน

13 การเพาะเลีย้ งปลาบนพืน้ ทส่ี งู

2. การปล่อยปลาหลายชนิด เพือ่ ให้ปลามีการเจริญเติบโตอย่างพอเหมาะ
กับความตอ้ งการบริโภคของครอบครวั (ภาพท่ี 7) เป็นรูปแบบที่ได้รับความนิยม
มากกวา่ แบบแรก การเจรญิ เตบิ โตแต่ละชว่ งอายขุ องปลาแตกตา่ งกนั การกนิ อาหารท่ี
แตกตา่ งกนั ทา้ ใหป้ ลาแตล่ ะชนิดสามารถตอบโจทยข์ องการเปน็ อาหารโปรตีนท่สี า้ คญั
ของพี่นอ้ งชาวเขา

ภาพที่ 7 ตวั อยา่ งการปล่อยปลาหลายชนิด เช่น ปลาไน ปลาตะเพียน และปลา
นวลจันทร์เทศ ซึง่ จะมคี วามแตกต่างกันเร่ืองการเจริญเติบโต เพ่ือให้ได้
ผลผลิตตลอดท้ังปี

กลมุ่ ของปลาที่เหมาะสมในการเลี้ยงตามการกินอาหาร

การกนิ อาหารของปลาเป็นเร่ืองส้าคญั ในการจดั หมวดหมกู่ ารปล่อยปลาลง
บ่อเพอื่ เลยี นแบบระบบนเิ วศวทิ ยา ไดแ้ ก่

1. ปลาประเภทกินพืช เชน่ ปลาจีน ปลาตะเพยี นขาว ปลาไน ปลานลิ ปลา
จา้ พวกนช้ี อบกนิ อาหารทเ่ี ป็นพชื เช่น รา้ ปลายขา้ ว แหนเป็ด เศษผัก หญ้าขน ปลา
ประเภทนส้ี ามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 2 พวก คอื

1.1 พวกท่กี ินพชื ขนาดใหญ่ เชน่ ปลาแรด ปลาสลิด ปลาเฉา และปลา
ตะเพียน

14 การเพาะเล้ียงปลาบนพืน้ ทสี่ งู

1.2 พวกปลากนิ พชื ขนาดเล็ก เช่น ปลาล่ิน ปลาซ่ง ปลาหมอตาล ปลา
นวลจันทร์น้าจืด และปลาย่สี กเทศ

2. ปลาประเภทกนิ เนื้อ เชน่ ปลาดุก ปลาบู่ ปลาชอ่ น แบ่งออกเป็นพวกท่ี
กินสตั วท์ ีต่ ายแล้ว แตย่ งั ไม่เนา่ เปอ่ื ย เช่น ปลาไหลนา พวกที่กนิ แมลงเป็นอาหาร เช่น
ปลาหมอ และพวกที่กินเนื้อหรือลกู ปลาทีย่ ังมชี วี ติ อยู่ เช่น ปลาช่อน ปลากระสูบขีด
และปลาชะโด เปน็ ต้น

3. ปลาประเภทกนิ ตะไคร่น้า ปลาชนดิ นีจ้ ะกนิ ตะไคร่นา้ สาหรา่ ย และพืชสี
เขยี วเล็ก ๆ เชน่ ปลาลิน่ ปลาซง่ ปลาสลิด ปลากาด้า และปลายีส่ ก

4. ปลาประเภทกนิ เนื้อและพชื เช่น ปลาสวาย ปลายส่ี ก และปลาเทโพ

การแบง่ ตามระดับของการกินอาหาร

ปลาจะมีการวิวฒั นาการมาเป็นระยะเวลายาวนาน เพ่ือการกินอาหารที่
แตกต่างกนั

1. ปลาหากินผิวน้า จะมีปากอยู่ทางด้านบนของส่วนหัว ปลายของ
ขากรรไกรบนมักเปน็ ตะขอ เชน่ ปลาซวิ ปลาแปบ ปลาซวิ ใบไผ่ และปลาดาบลาวเป็น
ต้น

2. ปลาที่หากินกลางน้า มักมีปากเสมอกันอยู่ดา้ นหน้า เชน่ ปลาตะเพยี นขาว
ปลานลิ ปลาตะเพยี นทอง เป็นตน้

3. ปลาที่หากนิ ท่พี น้ื ท้องนา้ ปากจะอยู่ทางดา้ นล่างของสว่ นหวั กินอาหารท่ี
พ้ืนทอ้ งน้าเปน็ หลกั หรอื เกาะดดู กินบนก้อนหิน เชน่ ปลากาดา้ ปลาสรอ้ ยนกเขา และ
ปลาเลยี หิน เปน็ ต้น

การแบง่ ตามความส้าคัญทางเศรษฐกิจ แบ่งเปน็ 2 กล่มุ คอื
1. กลมุ่ ปลาเศรษฐกจิ ทเ่ี ลี้ยงกนั โดยท่ัวไป เช่น ปลาตะเพยี น ปลานิล ปลา
ยสี่ กเทศ และปลานวลจนั ทร์เทศ เปน็ ต้น
2. กลุ่มปลาท้องถน่ิ ท่สี ามารถพัฒนาต่อยอดเป็นปลาเศรษฐกิจและปลา
สวยงาม เชน่ ปลาเลยี หิน ปลาพลวง และปลาซวิ ใบไผ่ เป็นต้น

15 การเพาะเลีย้ งปลาบนพน้ื ท่สี งู

1. กลุ่มปลาทเี่ ป็นปลาเศรษฐกจิ

ปลาตะเพียนขาว
ชอ่ื สามญั Silver barb, Common Barb
ชอื่ วิทยาศาสตร์ Barbobymus gonionotus (Bleeker, 1850)

ลกั ษณะทั่วไป: ตัวมีสีเงินแวววาว ดา้ นหลงั มีสีคล้าเลก็ น้อย ด้านท้องสีจาง ครีบอื่น ๆ
มีสเี หลอื งอ่อน มลี กั ษณะลา้ ตัวแบนขา้ ง ขอบหลังโคง้ ยกสงู ขึ้น หวั เล็ก ปาก
เล็ก จะงอยปากแหลม มีหนวดเส้นเล็ก ๆ 2 คู่ ล้าตัวมสี เี งนิ

การใช้ประโยชน์: นา้ มาปรงุ สดได้หลากหลายรูปแบบ ปลาส้ม เล้ียงเปน็ ปลาเศรษฐกิจ
มานานมาก เล้ยี งในน้าขา้ ว เล้ยี งในบ่อ และเลยี้ งในกระชงั

ขนาดใหญท่ ่ีสุด: 40.5 เซนตเิ มตร พบทว่ั ไป 20-25 เซนตเิ มตร
การกระจายพันธ์ุ: อาศัยอยใู่ นลมุ่ น้าตา่ ง ๆ ท่วั ประเทศ และเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้
ถิ่นอาศัย: ปรับตวั อาศยั อย่ใู นแหลง่ น้าที่ไหลและน้านิ่งได้เปน็ อย่างดี
อาหารธรรมชาติ: กินพชื เปน็ หลัก และสามารถกินอาหารชนดิ อ่ืนได้เชน่ กัน เปน็ ปลาที่

เลี้ยงงา่ ยกินพชื เป็นอาหาร อาศยั อยูไ่ ดด้ ใี นแหลง่ นา้ น่งิ
สถานภาพ: พบอย่ทู ั่วไปมกี ารเพาะขยายพนั ธุ์เพือ่ เลีย้ งเปน็ ปลาเศรษฐกิจคู่บ้านคู่เมือง

เป็นปลาชนิดหลกั ของการเลี้ยงบนพื้นท่สี งู
16 การเพาะเลย้ี งปลาบนพ้ืนทสี่ งู

ปลายี่สกเทศ ปลาโรฮู
ชอ่ื สามญั Rohu
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Labeo rohita (Hamilton, 1822)

ลกั ษณะท่ัวไป: รปู ร่างล้าตวั ทรงกระบอก ส่วนหวั สน้ั ปากเล็ก มีหนวดส้ัน 2 คู่ ริม
ฝปี ากเปน็ ชายครุยเลก็ น้อย และมีแผน่ ขอบแข็งท้งั ริมฝีปากบนและล่าง มี
เกลด็ เล็กตามแนวเสน้ ข้างตวั ปรบั ตวั ได้ดใี นประเทศไทย ในแหล่งน้าน่ิงแต่
จะไม่วางไข่ อาศยั ในระดบั กลางน้าถงึ พ้ืนท้องน้าโดยใช้ปากแทะเล็มพชื และ
สัตว์ขนาดเลก็ ทีเ่ กาะติดรวมท้ังอินทรีย์สาร

การใชป้ ระโยชน:์ เล้ียงเป็นปลาเพอ่ื บริโภค ทา้ ปลาส้มได้ดี
ขนาดใหญ่ท่สี ดุ : 100 เซนติเมตร พบท่ัวไป 60-80 เซนติเมตร
การกระจายพนั ธุ์: ปากสี ถาน แม่น้าคงคาถงึ พมา่ ตะวนั ตกและเนปาล ถกู น้าเขา้ มาจาก

อนิ เดยี เมื่อปี พ.ศ. 2511 เพือ่ เล้ียงเป็นอาหาร และเลยี้ งอยา่ งแพรห่ ลายท่วั
ประเทศ มกี ารปลอ่ ยลูกปลาขนาดเลก็ ลงสู่แหลง่ น้าธรรมชาติเพื่อเพ่มิ อาหาร
โปรตีนใหแ้ กช่ าวบา้ น มกี ารนา้ มาปลอ่ ยลงสูแ่ หล่งน้าธรรมชาติเพื่อเพ่ิมพูน
อาหารโปรตนี
อาหารธรรมชาติ: เปน็ ปลาที่ปรบั ตัวง่าย กินพชื เป็นหลกั ปรบั ตัวกนิ อาหารเม็ด และ
สามารถกนิ อาหารชนดิ อนื่ ไดเ้ ชน่ กัน
สถานภาพ: เปน็ ชนดิ พนั ธต์ุ ่างถ่ินท่มี ีการเพาะเลี้ยงในประเทศไทยยงั ไม่พบรายงานการ
รุกรานของปลาชนิดน้ี เปน็ ปลาชนิดหลกั ของการเลย้ี งบนพ้ืนทีส่ ูง

17 การเพาะเล้ียงปลาบนพน้ื ทส่ี ูง

ปลานวลจันทร์เทศ
ชอ่ื สามัญ Mrigla
ชื่อวิทยาศาสตร์ Cirrhinus cirrhosa (Bloch, 1795)

ลักษณะทว่ั ไป: มีรูปร่างเรียวยาว ล้าตัวกลม หวั สนั้ ปากเลก็ ริมฝีปากบางมีชายครุย
เลก็ นอ้ ย ครบี หลงั และครบี กน้ สั้น ครีบหางเวา้ ลกึ หวั และล้าตัวด้านบนมีสี
เงนิ หรอื เงินอมน้าตาลอ่อน ดา้ นทอ้ งสจี าง ครีบมีสสี ม้ หรอื สีชมพู ตามสี ีทอง
ปลานวลจันทร์เทศถกู น้าเขา้ มาคร้ังแรกในประเทศไทยเม่อื ปี พ.ศ. 2533
นา้ ไปเล้ยี งและแพร่พันธ์อุ ยา่ งแพร่หลายเพื่อเปน็ อาหาร ท้ังในบ่อและแหล่ง
น้าต่าง ๆ กินอาหารโดยการแทะเล็มพชื น้าขนาดเล็กและอินทรีย์สาร ถูก
น้ามาปลอ่ ยลงส่แู หล่งน้าธรรมชาติเชน่ เดียวกบั ปลาโรฮู สว่ นใหญน่ ิยมเล้ียง
ในบอ่ ดนิ ร่วมกบั ปลาชนิดอนื่ ๆ ท้งั ปลาจีนและปลาอนิ เดีย

การใชป้ ระโยชน์: เล้ียงเป็นปลาเพอ่ื บริโภคท้ังปลาสดและเพอื่ ท้าปลาสม้
ขนาดใหญ่ที่สดุ : 70 เซนติเมตร พบทว่ั ไป 50-60 เซนตเิ มตร
การกระจายพนั ธ์ุ: ในแม่น้าคงคา สินธุ ถึงแมน่ ้าอิระวดขี องพมา่
ถนิ่ อาศัย: ปรับตวั อาศัยอยู่ในแหลง่ น้าที่ไหลและนา้ น่งิ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
อาหารธรรมชาติ: กินพชื เป็นหลัก ปรับตัวเพื่อกินอาหารเม็ดได้เป็นอย่างดีและ

สามารถกินอาหารชนดิ อืน่ ได้เช่นกัน
สถานภาพ: เป็นปลาชนดิ หลกั ของการเลีย้ งบนพืน้ ท่ีสูง

18 การเพาะเลยี้ งปลาบนพื้นทส่ี งู

ปลาไน
ชอื่ สามญั Common carp
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Cyprinus carpio Linnaeus, 1758

ลกั ษณะทว่ั ไป: มีรูปร่างป้อมแบนข้างเลก็ น้อย ส่วนหวั ลาด มปี ากเล็กและหนวดสนั้ ๆ
2 คู่ ครบี หลังค่อนขา้ งยาวมีจ้านวนก้านครีบมาก ครีบหางเว้าแฉกลึก มีสี
คล้าอมนา้ ตาลทองหรือนา้ ตาลออ่ น ท้องสจี าง บางตวั มสี สี ้ม กินอาหารทั้ง
พชื และสัตว์ แต่ส่วนมากจะกนิ พชื และอนิ ทรียวตั ถตุ ามพนื้ ท้องน้าเป็นหลัก
วางไข่ไดต้ ลอดปีเปน็ ไขต่ ิดวสั ดุใต้นา้ เป็นปลาชนิดเดียวกบั ปลาคาร์ฟ ซ่ึงคัด
พันธุ์มาจากปลาไน แตม่ ีสีสันไมส่ วยนัก จึงเลี้ยงเพ่ือเป็นปลาเน้ือ สามารถ
เลยี้ งไดบ้ นพ้นื ทสี่ ูงและสามารถทนตอ่ อณุ หภูมติ ่้าไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

การใช้ประโยชน:์ เล้ยี งเปน็ ปลาสวยงามได้ เลยี้ งเป็นปลาเพือ่ บริโภค
ขนาดใหญ่ทส่ี ุด: 60 เซนติเมตร พบท่วั ไป 20-30 เซนติเมตร
การกระจายพันธุ์: มกี ารกระจายพันธด์ุ ั้งเดิมในตอนกลางของจีน แม่น้าแยงซีเกียง

ฮวงโห ถงึ ประเทศญป่ี นุ่ แตถ่ กู น้าไปเล้ยี งท่ตี า่ ง ๆ ทวั่ โลก ประเทศไทยได้
น้าเข้ามาเล้ยี ง พ.ศ. 2455 ในนามวา่ ปลาหลีฮื้อ
ถน่ิ อาศยั : ปรับตวั อาศยั อยู่ในแหล่งน้าที่ไหลและน้านิ่งไดเ้ ป็นอยา่ งดี
อาหารธรรมชาติ: กนิ พชื เป็นหลกั และสามารถกินอาหารชนดิ อื่นไดเ้ ชน่ กนั
สถานภาพ: เปน็ ชนดิ พนั ธุ์ต่างถ่ินที่มกี ารเพาะเลีย้ งในประเทศไทย ยังไม่พบว่ามีการ
รุกราน เป็นปลาชนดิ หลกั ของการเล้ยี งบนพน้ื ที่สูง

19 การเพาะเลี้ยงปลาบนพื้นท่สี งู

ปลานิล
ชอ่ื สามญั Nile tilapia, Nilotica
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Oreochromis niloticus (Linnaeus, 1758)

ลกั ษณะทวั่ ไป: ปลานิลมเี ป็นรูปร่างคลา้ ยปลาหมอเทศ แตล่ ักษณะพเิ ศษของปลานิลมี
ดงั นี้คอื รมิ ฝีปากบนและลา่ งเสมอกัน ท่ีบริเวณแก้มมีเกล็ด 4 แถว ตาม
ลา้ ตัวมีลายพาดขวางจ้านวน 9-10 แถบ ลา้ ตัวมีสีเขียวปนนา้ ตาล ตรงกลาง
เกล็ดมสี เี ข้ม

การใชป้ ระโยชน:์ เลยี้ งเป็นปลาเพ่ือบริโภคเล้ียงเพ่ือเป็นปลาเศรษฐกิจหลักของ
ประเทศไทย มีการปรบั ปรุงสายพนั ธุ์และมลี กู ผสมจ้านวนมาก รวมถึงกลุ่ม
ของปลาทบั ทมิ ปจั จบุ นั ท้าเปน็ ปลาหมนั

ขนาดใหญท่ สี่ ดุ : ความยาวประมาณ 20-25 เซนติเมตร
การกระจายพันธ์ุ: มถี ่นิ ก้าเนิดเดมิ อยู่ในทวปี แอฟริกา พบท่ัวไปตามหนอง บึง และ

ทะเลสาบ ในประเทศซูดาน อแู กนดา แทนแกนยกิ า
อาหารธรรมชาติ: ไรน้า ตะไคร่นา้ ตัวออ่ นของแมลง ก้งุ ฝอย ผกั บุ้ง
สถานภาพ: เป็นชนิดพนั ธุ์ตา่ งถิน่ ท่ีมกี ารเพาะเล้ียงในประเทศไทย มกี ารรายงานการ

รุกรานบา้ ง เลี้ยงรว่ มกบั ปลาชนดิ อน่ื ๆ ได้ดี
20 การเพาะเล้ยี งปลาบนพ้นื ทส่ี ูง

ปลาช่อน ปลาหลิม (ภาคเหนือ) คอ้ (ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ)
ชือ่ สามญั Striped snake-head fish
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Channa striata (Bloch, 1793)

ลกั ษณะทั่วไป: ปลาช่อนเป็นปลามเี กล็ด ลา้ ตัวอ้วนกลมและยาวเรียว ท่อนหางแบน
ข้าง หัวแบนลงเกลด็ มีขนาดใหญ่และเกล็ดตามล้าตวั เป็นสีเทาจนถงึ น้าตาล
อมเทา ปากกว้างมาก มุมปากยาวถึงตา รมิ ฝีปากล่างยน่ื ยาวกว่ารมิ ฝีปากบน
ครีบทุกครีบไมม่ กี า้ นครบี แข็ง ครบี หลังและครบี กน้ ยาวจนเกอื บถึงโคนหาง
ครบี อกมขี นาดใหญ่ ครบี ทอ้ งมขี นาดเล็ก ครีบหางกลม โคนครีบหางแบน
ขา้ งมาก ลา้ ตวั ส่วนหลังมีสดี า้ ทอ้ งสีขาว ด้านขา้ งล้าตัวมีลายด้าพาดเฉียง
เกลด็ ตามเสน้ ขา้ งลา้ ตวั มจี า้ นวน 49-55 เกลด็ และมอี วยั วะพิเศษช่วยใน
การหายใจ ปลาชอ่ นจึงมคี วามอดทนตอ่ สภาพแวดล้อมไดด้ ี อยใู่ นท่ชี น้ื ๆ ได้
นาน และสามารถเคล่ือนท่ีบนบกเพือ่ อพยพข้ามบ่อได้เมือ่ ฝนตกหนัก

การใชป้ ระโยชน:์ เลย้ี งเพือ่ การบรโิ ภค เพ่ือการค้า เป็นปลาท่ียังไม่สามารถเพาะ
ขยายพนั ธไ์ุ ด้เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ยังคงมีการเก็บรวมรวบลูก
ปลาจากธรรมชาติ

ขนาดใหญท่ ส่ี ุด: ขนาดลา้ ตัวประมาณ 30-40 เซนตเิ มตร
การกระจายพันธ์ุ: พบอาศยั อย่ใู นแหล่งน้าทว่ั ประเทศไทย พบไปจนถึงเอเชีย

ใต้ พมา่ และอนิ โดนีเซยี
ถนิ่ อาศัย: พบอาศัยแพร่กระจายทัว่ ไปตามแหลง่ นา้ ทั่ว
สถานภาพ: พบได้บอ่ ยในสภาพเกอื บทุกแหลง่ นา้ เป็นปลาท่ีนิยมบริโภค เป็นปลากิน

เน้อื ทพ่ี บไดใ้ นบ่อเลย้ี งเชน่ เดียวกับปลาก้าง ท่ีมีการอพยพมาดว้ ยการคลาน
มากับน้า เชน่ เดยี วกับปลาหมอ

21 การเพาะเลี้ยงปลาบนพืน้ ทส่ี ูง

ปลาสลิด
ชื่อสามัญ Snakeskin gourami
ชอื่ วิทยาศาสตร์ Trichopodus pectoralis (Regan, 1910)

ลกั ษณะท่ัวไป: มีรูปรา่ งคล้ายปลากระดห่ี มอ้ ทม่ี ีแต้มกลมขนาดใหญท่ ี่บริเวณดา้ นข้าง
ตวั และทีโ่ คนหาง ซ่งึ เป็นปลาในสกลุ เดียวกนั แต่มลี า้ ตวั ทห่ี นาและยาวกว่า
หัวโต ครีบหลงั ในตัวผ้มู สี ว่ นปลายยืน่ ยาวเช่นเดียวกบั ครบี ก้น ครีบอกใหญ่
ปากเล็กอยู่สดุ ปลายจะงอยปาก ครีบหางเว้าตื้นปลายมน ตัวมีสีเขยี วมะกอก
หรือสีน้าตาลคลา้ มแี ถบยาวตามลา้ ตวั ตง้ั แต่ข้างแก้มจนถึงกลางล้าตัวสีด้า
และมีแถบเฉยี งสีคลา้ ตลอดแนวล้าตวั ด้านข้างและหวั ครีบมีสีคลา้ เกล็ดบน
เส้นขา้ งลา้ ตวั ประมาณ 42-47 เกลด็

การใชป้ ระโยชน์: เล้ียงเพ่ือการบรโิ ภค มไี ข่จา้ นวนมาก เพื่อการค้าในหลายพื้นที่ ที่มี
ชื่อเสียงมาจากบางบ่อ

ขนาดใหญท่ ีส่ ุด: ขนาดโดยเฉลี่ย 10-16 เซนติเมตร พบขนาดใหญ่สุดถึง 25
เซนติเมตร

การกระจายพันธุ์: พบมากแถบเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
ถน่ิ อาศัย: พบในแมน่ า้ และล้าคลองสายใหญ่ ทวั่ ประเทศไทย
อาหารธรรมชาติ: ปากมีขนาดคอ่ นข้างเลก็ กนิ แพลงกต์ อนพืช แพลงกต์ อนสัตว์ต่างๆ
สถานภาพ: พบน้อยบนพื้นที่สูง แตส่ ามารถเติมลงในบอ่ เลี้ยงได้ เน่ืองจากเป็นปลาที่

ชอบกนิ แมลง
22 การเพาะเลีย้ งปลาบนพ้นื ทส่ี งู

ปลาล่นิ ปลาเกล็ดเงนิ ปลาจีน
ชอ่ื สามัญ Striped snake-head fish
ชื่อวิทยาศาสตร์ Hypophthalmaichthys molitrix (Val., 1844)

ลักษณะท่วั ไป: มลี กั ษณะท่ีคล้ายกันมากกบั ปลาซง่ แตม่ ีส่วนหวั ทีโ่ ตกว่า ไม่มีหนวด
และส่วนทอ้ งคมยาวตัง้ แต่คอหอยไปจนถึงรูก้น ครีบก้นมีก้านครีบที่แตก
ปลายจ้านวน 12-13 กา้ น มีซ่กี รองเหงอื กท่ยี าวเรียวจ้านวน 650-820 ซ่ี
สว่ นหวั มคี วามยาว 24-29% ของความยาวมาตรฐาน ลา้ ตัวเปน็ สีเงินทงั้ ตวั
ครีบตา่ ง ๆ เป็นสขี นุ่ ไมม่ จี ุดประอยา่ งเชน่ ปลาหวั โต (Skelton, 1993)

การใช้ประโยชน์: เลย้ี งในบอ่ และปลอ่ ยลงในแหลง่ น้าที่สร้างขึน้ เพาะพันธ์ุไดโ้ ดยการ
ผสมเทยี มเท่านัน้ ไมพ่ บการแพร่พนั ธ์ใุ นแหล่งน้าของไทย

ขนาดใหญ่ท่สี ดุ : 100 เซนติเมตร ทว่ั ไป 50-60 เซนติเมตร
การกระจายพันธุ์: ในธรรมชาติพบในบริเวณภาคตะวันออกของประเทศจีนและ

ประเทศรสั เซยี มีรายงานผลกระทบทางสงิ่ แวดล้อมในหลายประเทศ
ถิน่ อาศัย: พบในแมน่ ้าและล้าคลองสายใหญ่ และอา่ งเก็บน้า
อาหารธรรมชาติ: แพลงกต์ อน
สถานภาพ: พบไดบ้ ่อยในสภาพเกือบทกุ แหลง่ น้า เปน็ ปลาทีน่ ยิ มบริโภค เป็นปลาชนิด

หลกั ของการเลย้ี งบนพนื้ ท่สี ูงทป่ี ลอ่ ยร่วมกันกับปลาไน ปลาตะเพียน ปลา
ยสี่ ก ปลานวลจันทรเ์ ทศ มีความสามารถในการกนิ แพลงก์ตอนท่ีเกิดขึ้นใน
น้า จึงทา้ ให้โตเร็วกว่าปลาชนิดอ่นื

23 การเพาะเล้ยี งปลาบนพื้นทส่ี ูง

2. กลมุ่ ปลาทอ้ งถิ่น
ปลาน้าหมึกเหลอื ง
ชอื่ สามญั Yellow Baril
ชือ่ วิทยาศาสตร์ Barilius pulchellus (Smith, 1931)

ลักษณะทว่ั ไป: ล้าตัวค่อนขา้ งยาวแบนขา้ ง ในฤดผู สมพันธุม์ ตี ุ่มสิวจา้ นวนมากบนแกม้
และขากรรไกรลา่ ง มปี มขนาดเลก็ ที่ปลายของขากรรไกรล่าง เส้นข้างตัว
สมบูรณ์และมีจดุ สิน้ สุดต้่ากวา่ กงึ่ กลางคอดหาง มีเหงือกเทียม มีแถบบน
ล้าตัวในแนวขวางเปน็ สีด้า สพี ้นื บนลา้ ตวั เปน็ สเี งิน ครบี หลังเปน็ สีส้ม ครี บ
หางและครีบกน้ มสี ีเหลอื ง (Smith, 1945; และ Taki, 1974) แถบของ
จุดสีดา้ ของครีบหลังอย่ใู นต้าแหน่งพังผดื ระหว่างก้านครีบแต่ละก้าน ต่าง
จาก B. infrafasciatus (Tejavej, 2013) ท่ีแถบของจดุ สดี า้ อยตู่ ิดกบั ก้าน
ครบี หลัง

การใช้ประโยชน์: บริโภคกนั ภายในบางท้องที่ เป็นท่ีนยิ มเปน็ ปลาสวยงาม
ขนาดใหญท่ ่สี ดุ : 10 เซนติเมตร
การกระจายพันธ์ุ: ตัวเล็กอาศยั อย่บู ริเวณน้าค่อนข้างนิ่งของล้าธาร พบมากแถบ

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ถิ่นอาศยั : พบในแมน่ ้าและลา้ คลองสายใหญ่
อาหารธรรมชาติ: แมลงนา้ แมลงบก
สถานภาพ: พบไดบ้ อ่ ย เปน็ ชนดิ ท่ีมศี ักยภาพเชิงพานิชย์ โดยเฉพาะการเลีย้ งเพือ่ เป็น

ปลาสวยงาม แตย่ ังต้องท้าการศกึ ษาต่อไป
24 การเพาะเลี้ยงปลาบนพ้ืนทสี่ งู

ปลาซิวใบไผ่แถบขาว
ชอื่ สามัญ Pearl Danio
ช่อื วิทยาศาสตร์ Danio albolineatus (Blyth, 1860)

ลกั ษณะทว่ั ไป: ลา้ ตวั คอ่ นขา้ งยาว สันท้องกลม ปากเล็กช้ีข้ึนทางด้านบน กระดูก
ขากรรไกรบนยาวไมถ่ ึงกงึ่ กลางตา มีฟนั ในหลอดคอ 3 แถว มหี นวด 1-2 คู่
ครบี หลังสัน้ ครบี กน้ มกี ้านครบี ออ่ นทีแ่ ตกปลาย 12-13 ก้าน (Jayaram,
1981) ล้าตัวมีสชี มพู มีแถบสขี าวเงนิ อยู่ดา้ นขา้ งตวั จากครีบหลังไปหาส่วน
หางจ้านวนสองแถบ จะคลา้ ยกับปลาซวิ ใบไผก่ ุหลาบ (D. roseus) ต่างกนั ท่ี
สีของชนดิ หลังเปน็ สชี มพู (Fang และ Kottelat, 1999 และ Kottelat,
2001) สามารถนา้ มาปรงุ อาหารในบางพืน้ ท่ี

การใช้ประโยชน์: เป็นทนี่ ิยมในตลาดปลาสวยงาม สามารถเพาะเลีย้ งได้ไม่ยาก แตย่ ัง
ไมม่ กี ารเพาะเล้ียงเชิงการค้าไม่มากนัก

ขนาดใหญ่ท่ีสดุ : 2.5-3.0 เซนตเิ มตร
การกระจายพันธุ์: อาศยั อยใู่ นลา้ ธารบนภเู ขา และพื้นราบทัว่ ประเทศ
ถิ่นอาศยั : พบในแมน่ ้าและล้าคลองสายใหญ่ ทัว่ ประเทศไทย
อาหารธรรมชาติ: แมลงนา้ แมลงบก
สถานภาพ: พบไดบ้ ่อย ในสภาพเกอื บทุกพนื้ ทท่ี ่มี ีนา้ จากบนพน้ื ท่ีสูงในล้าธารน้าใส

น้าขุน่ รวมถงึ ในอ่างเก็บน้า เป็นปลาที่มีความอดทนสูง เป็นชนิดท่ีมี
ศกั ยภาพเปน็ ปลาสวยงาม

25 การเพาะเล้ยี งปลาบนพนื้ ทีส่ งู

ปลาซวิ ใบไผล่ าว
ช่ือสามญั Laos Danio
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Devario laoensis (Pellegrin & Fang, 1940)

ลกั ษณะทัว่ ไป: ลา้ ตัวยาวแบนขา้ ง สันท่ีบรเิ วณใต้ตาพฒั นาดี ครีบหลังมกี า้ นครบี อ่อน
ทแี่ ตกปลายจา้ นวน 8-9½ กา้ น ครีบกน้ มีก้านครีบอ่อนท่แี ตกปลายจา้ นวน
12-14½ ก้าน มแี ถบสดี า้ ทางด้านข้างล้าตวั หรือมจี ดุ สีเป็นแถบในแนวด่ิง
บริเวณจดุ เริ่มต้นของครบี หลังและแถบสีจะมคี วามเข้มและขนาดเพ่ิมขึ้น
ทางดา้ นท้ายของลา้ ตวั จนถึงโคนหาง มลี กั ษณะคล้ายกันกับปลาซิวใบไผ่
ชนดิ D. chryssotaenia ท่ีไมม่ ีสันบรเิ วณใตต้ า มีแถบสีรูปตัวพีในอักษร
ภาษาอังกฤษบรเิ วณโคนหาง สว่ นปลาซิวใบไผล่ าวมีฟนั ในหลอดคอจ้านวน
3-4 แถว

การใชป้ ระโยชน์: เป็นอาหาร และปลาสวยงาม
ขนาดเมื่อโตเต็มท่ี: 8 เซนติเมตร
การกระจายพนั ธ์ุ: พบในล่มุ น้าเจ้าพระยา แม่นา้ สาละวนิ และแมน่ า้ โขง
ถ่ินอาศยั : พบในพ้ืนท่ีตน้ น้า ล้าธารขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ทางภาคเหนือของ

ประเทศไทย
อาหารธรรมชาติ: แมลงน้า แมลงบก
สถานภาพ: พบไดบ้ อ่ ย

26 การเพาะเล้ยี งปลาบนพน้ื ที่สูง

ปลาซวิ ใบไผแ่ ม่แตง
ชอ่ื สามญั Maetang Danio
ชอื่ วิทยาศาสตร์ Devario maetangensis (Fang, 1997)

ลักษณะทว่ั ไป: ลา้ ตวั ยาวแบนขา้ ง สันท้องกลม ครีบหลงั มีจุดเริม่ ตน้ อยู่หนา้ จุดเริม่ ตน้
ของครีบกน้ เลก็ นอ้ ย ครบี หางเวา้ ลึกแบบสอ้ ม สีสนั สวยงาม มแี ถบสนี ้าเงิน
เทาตามแนวยาวของลา้ ตัวเร่มิ จากจุดเริ่มต้นของครบี หลัง ไปสิน้ สุดบริเวณ
โคนหาง ด้านบนเปน็ สที อง บรเิ วณกลางตัวเริม่ จากบรเิ วณหน้าครีบหลัง มี
แถบสีฟา้ เทาในแนวตง้ั สลับกบั แถบสีส้มทองอย่างเป็นระเบยี บจนถงึ แผ่นปดิ
เหงือก ปลาท่พี รอ้ มผสมพันธจุ์ ะมสี เี ขม้ เปน็ สสี ม้ เหลอื ง (ชวลติ , 2545 และ
อภินันท์, 2547)

การใช้ประโยชน์: มีการจบั ขายเพอื่ เปน็ ปลาสวยงาม
ขนาดเม่อื โตเต็มท่ี: 6 เซนติเมตร พบท่ัวไปขนาด 2.5-3.0 เซนตเิ มตร
การกระจายพนั ธ์ุ: พบเฉพาะในลุ่มน้าแม่แตง ล้าน้าสาขาของแม่น้าปิง ต้องมี

มาตรการเพอื่ การอนุรกั ษ์
ถิน่ อาศัย: พบในล้าธาร
อาหารธรรมชาติ: แมลงน้า แมลงบก
สถานภาพ: พบได้นอ้ ยในสภาพธรรมชาติ และมกี ารเปล่ยี นแปลงการใชป้ ระโยชนข์ อง

ทด่ี ินท่มี ีผลกระทบต่อจา้ นวนประชากรของปลาซวิ ใบไผ่แม่แตง

27 การเพาะเลยี้ งปลาบนพน้ื ทสี่ งู

ปลาเพา้ ปลาแก้มนวล
ชือ่ สามญั Stone Lapping Barb
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Bangana sinkleri (Fowler, 1934)

ลกั ษณะทว่ั ไป: ล้าตวั เรยี วยาว สันท้องกลม หวั ใหญ่ จะงอยปากโคง้ ส่วนปลายแหลม
รมิ ฝีปากบนเรียบแยกจากขากรรไกรล่างด้วยรอ่ งลึก ริมฝีล่างบาง พบได้
บริเวณมมุ ปาก หนวดบริเวณปาก 2 คู่ ขนาดใกลเ้ คยี งกนั ครบี หลังไมม่ ีกา้ น
ครบี แขง็ มกี า้ นครบี ออ่ น 10-13 กา้ น จะงอยปากหักเวา้ เลก็ นอ้ ย บริเวณ
หน้ารจู มกู ล้าตัวสีเขยี วมะกอก ในฤดูผสมพนั ธลุ์ ้าตัวจะเป็นสีม่วงอ่อน มี
แต้มสดี ้าตามแนวขวางของลา้ ตัวบรเิ วณแผ่นปดิ กระพุ้งแก้ม และโคนหาง
(Fowler, 1934; Rainboth, 1996 และ Kotellat, 2001)

การใช้ประโยชน์: บริโภคสด พบไดน้ อ้ ยลงมาก เป็นปลาทมี่ รี สชาตดิ ี เป็นท่ีนิยมของ
ชาวบ้าน คอ่ นข้างหายากในปัจจบุ ัน ต้องมีการศกึ ษาความเปน็ ไปได้ในการ
เพาะขยายพันธเุ์ พอ่ื เป็นอาหาร และเพื่อการอนรุ กั ษ์

ขนาดใหญท่ ่ีสดุ : 10 เซนตเิ มตร
การกระจายพันธ์ุ: อาศัยอยู่เฉพาะในล่มุ น้าแม่แตง และล่มุ น้าแม่แจม่
ถิน่ อาศยั : พบในล้าธารขนาดใหญ่ มีหนิ ก้อนอยู่ใตน้ า้ นา้ ใส
อาหารธรรมชาติ: แมลงนา้ แมลงบก
สถานภาพ: พบได้ไม่บ่อยนัก แต่นอ้ ยลงเนอ่ื งจากมีการเปลยี่ นแปลงการใช้ท่ีดินเพื่อ

การเกษตร และการสรา้ งทอ่ี ยอู่ าศยั จะกระทบกับแหลง่ อาหารบนกอ้ นหิน

28 การเพาะเลย้ี งปลาบนพนื้ ทส่ี งู

ปลาเลยี หิน ปลามัน
ชื่อสามญั Stone Sucker
ช่อื วิทยาศาสตร์ Garra cambodgiensis (Tirant, 1834)

ลกั ษณะทวั่ ไป: ล้าตัวส้นั ค่อนขา้ งกลม พบตุม่ สิวขนาดเล็กบริเวณจะงอยปาก ปากอยู่
ทางดา้ นล่างของส่วนหวั รมิ ฝีปากหนา รมิ ฝีปากลา่ งแผอ่ อกเป็นรูปจาน มี
แถบสีดา้ ตามแนวยาวของลา้ ตวั สลับกบั สีเหลอื ง ครบี หางมขี อบสีแดง ครีบ
หลงั มีสแี ดงอยขู่ อบนอก มสี เี หลอื งรองลงมาและมีสดี า้ อยทู่ ี่ฐานครีบ ครีบ
อ่ืนมีสีเหลือง หนวดมีสีแดง (Fowler, 1934; Smith, 1945; และ
Rainboth, 1996) ปัจจุบนั สามารถผสมเทียมได้

การใช้ประโยชน:์ นา้ มาปรุงเป็นอาหาร หลายแห่งนิยมน้ามาท้าเป็นลาบปลา
เนือ่ งจากมรี สชาตขิ องล้าไดท้ ีข่ ม หรอื เป็นปลาไข่ในช่วงฤดูวางไข่ทอดให้
กรอบ ราคากิโลกรมั ละ 300-400 บาท

ขนาดใหญท่ ่ีสุด: 15 เซนติเมตร พบทัว่ ไป 8-12 เซนติเมตร
การกระจายพันธ์ุ: แมน่ ้าขนาดกลางและขนาดใหญ่ ยกเวน้ ลุม่ น้าสาละวิน
ถิ่นอาศัย: พบในลา้ ธารขนาดใหญ่ มหี นิ ก้อนอยใู่ ตน้ ้า น้าใส
อาหารธรรมชาติ: สาหรา่ ยบนกอ้ นหิน
สถานภาพ: พบไดบ้ ่อย สามารถพัฒนาเพ่ือการเพาะเล้ยี งท้ังเพื่อบรโิ ภคและสวยงาม

29 การเพาะเล้ียงปลาบนพ้ืนทส่ี ูง

ปลาปลาพลวง ปลาพงุ
ชอ่ื สามญั Blue Mahseer
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Neolissocheilus stracheyi (Day, 1871)

ลักษณะทว่ั ไป: ด้านหนา้ ของลา้ ตัวคอ่ นข้างกลม ขากรรไกรลา่ งมขี อบคม ริมฝีปากไม่
หนามากนัก ไม่มสี นั เนอ้ื จากปลายของขากรรไกรล่างลงไปบริเวณคาง
บริเวณแกม้ มตี มุ่ สิวจา้ นวนมาก แผน่ หนงั ทมี่ มุ ปากแยกออก ฟนั ในหลอดคอ
มจี า้ นวน 3 แถว ครีบหลังส้นั มกี ้านครบี ทแ่ี ตกปลาย 8-9 ก้าน ก้านครีบ
เดี่ยวกา้ นสุดทา้ ยของครบี หลังออ่ นไมม่ ีหยกั ทางดา้ นใน เกลด็ มีขนาดใหญ่มี
จา้ นวนเกลด็ น้อยกวา่ 30 เกลด็ ในแนวเสน้ ขา้ งตวั เกลด็ คอดหาง 12 เกล็ด
(Jayaram, 1999; Rainboth, 1985 และ Kottelat, 1998, 2001)
สามารถเพาะขยายพันธ์ุได้ แต่ยังมปี ริมาณน้อย เปน็ ปลาเศรษฐกิจชนิดหนง่ึ
ในอนาคต

การใชป้ ระโยชน:์ น้ามาปรุงสด มีการจบั เพอ่ื นา้ มาเล้ียงเป็นปลาสวยงาม
ขนาดใหญท่ ี่สุด: 60 เซนตเิ มตร
การกระจายพนั ธ์ุ: พบบริเวณตน้ น้า ทัว่ ทกุ ภาคของไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ตวั ออ่ นอาศัยอยู่ในลา้ นา้ สาขาขนาดเล็ก และอพยพลงไปท่ีมขี นาดใหญ่ขึ้น
ถิ่นอาศัย: พบในล้าธารขนาดใหญ่ มหี ินกอ้ นอย่ใู ต้นา้ น้าใส
อาหารธรรมชาติ: ผลไม้ ลกู ปลา ลกู อ๊อด แมลงน้า แมลงบก
สถานภาพ: พบได้คอ่ นขา้ งบอ่ ย พฒั นาเปน็ ปลาเศรษฐกจิ ได้

30 การเพาะเล้ยี งปลาบนพื้นท่สี ูง

การเลยี้ งปลาบนพน้ื ทสี่ งู เป็นการเลยี้ งที่ตอ้ งอาศัยความเข้าใจในเร่ืองของ
ระบบนเิ วศวทิ ยาเทียมของบ่อเลย้ี งปลาที่เกิดขึ้นเพ่ือใชเ้ ป็นอาหารและอยูร่ ่วมกนั อย่าง
สงบสขุ ของปลากับสิง่ แวดล้อม

ภาพที่ 8 ขนาดและลักษณะของบ่อเลย้ี งปลาบนพนื้ ท่ีสงู

การเตรยี มบ่อ

บอ่ ควรเปน็ บอ่ ดนิ รปู สเี่ หล่ียมผนื ผ้า เนือ่ งจากเปน็ การงา่ ยตอ่ การลากอวนจบั
ปลาในอนาคต หรือในพืน้ ท่ีท่ีจ้ากดั สามารถขดุ เป็นรปู แบบไหนก็ได้ ขนาดข้ึนอยู่กับ

31 การเพาะเล้ยี งปลาบนพ้นื ท่ีสูง

พ้นื ที่ ระดับของนา้ ในบอ่ ควรลึกประมาณ 1-1.5 เมตร ทง้ั นี้บางครั้งสามารถใชเ้ ป็นบ่อ
สา้ หรบั อนบุ าลลูกปลาและใช้เลีย้ งปลาซึง่ มีขนาดโตพร้อมกันไปด้วย คันบ่อไม่ควรมี
หญ้ามากนักเพราะจะเป็นแหล่งซ่อนตัวของงู บางแห่งท่ีมงี มู ากจะตอ้ งหาอวนมากั้น
รอบ ๆ เพ่อื ดักงทู ีจ่ ะลงไปกินลูกปลา หากเป็นบ่อชุมชนจะต้องมีการวัดรูปแบบ
รบั ผิดชอบเพื่อใหท้ ุกคนสามารถเป็นเจ้าของร่วมกนั เชน่ บ่อปลานลิ ควรมขี นาดใหญข่ ึ้น
ทง้ั นใ้ี นช่วงทปี่ ลาออกไขจ่ ะต้องมกี ารขุดหลมุ เพื่อเลย้ี งตวั อ่อนได้

ควรเลอื กบรเิ วณขดุ บอ่ ท่ีใกลก้ บั ตาน้า หรือร่องล้าธารทีส่ ามารถนา้ น้าเข้ามา
ไดโ้ ดยสะดวก ไมจ่ า้ เป็นท่ีจะต้องวดิ น้าเข้าออก เพยี งแตท่ า้ ท่อระบายน้าแล้วกรุด้วย
ตะแกรงตาถเ่ี พ่ือปอ้ งกนั ไมใ่ หป้ ลาท่เี ล้ียงไว้หลบหนีออกไปก็ใช้ได้ และยังเป็นการ
ปอ้ งกันไม่ให้ศัตรูของปลาท่เี ล้ยี งไวห้ ลบหนีออกมาอีกดว้ ย แตถ่ ้าบอ่ นน้ั ไมส่ ามารถจะ
ท้าทอ่ น้าน้าด้วยระบบประปาภูเขาท่ใี ช้ไม้ไผเ่ ป็นตวั ทา้ ทอ่ สง่ ตรงลงมาถึงพื้นทีไ่ ดเ้ ลย

1. บ่อใหม่ เปน็ บ่อดนิ ทช่ี ุดใหมจ่ ึงไม่ค่อยมปี ัญหาเก่ยี วกบั เร่ืองโรคปลา แต่การ
ค้านงึ ความเปน็ กรดเป็นดา่ งและความอดุ มสมบรู ณ์ของดิน ท้ังน้ีข้ึนกับสภาพแต่ละ
พื้นทขี่ องดิน ต้องระวังเรอ่ื งของการเกบ็ น้าไมอ่ ยู่ เพราะบางพ้ืนท่ีมีก้อนหินอย่ขู า้ งใต้ท่ี
อาจซมึ ได้ ต้องเก็บเอาก้อนหนิ ออก หรือบางคร้งั ดินในบริเวณนัน้ ไม่สามารถเก็บน้าได้
ทนั ที มวี ิธกี ารแก้ไขดว้ ยการใช้ มูลวัวแห้งใส่ลงในกระสอบปุ๋ยประมาณ 2 กระสอบต่อ
พน้ื ทป่ี ระมาณ 20 ตารางเมตร ปลอ่ ยให้เกิดนา้ เขยี วและเปลี่ยนเพ่ิมเติมเม่ือละลาย
หมด ดงั น้นั บอ่ ใหม่ควรพจิ ารณาท้าสง่ิ ตอ่ ไปนี้

1.1 ตอ้ งมีการวัด pH และปรับ pH ของนา้ ใหอ้ ยู่ในชว่ ง 6.5–8.5 ซึง่ ดิน
โดยท่วั ไปจะใส่ปนู ขาวประมาณ 100–150 กิโลกรมั /ไร่

1.2 ใส่ปุ๋ยคอกเพ่ือเพิ่มความอุดมสมบรู ณข์ องดินอัตราทค่ี วรใส่ คอื 200–
250 กโิ ลกรมั /ไร่ หรอื มากกว่าน้ัน เน่ืองจากหนา้ ดินท่ีถูกเปิดใหม่จะมีความอุดม
สมบรู ณ์นอ้ ย และเปน็ การแก้ปัญหาเรื่องของรั่วซึมจากการใช้ให้แพลงก์ตอนท่ี
เจรญิ เติบโตเปน็ อย่างหนาแนน่ ไดแ้ ทรกซมึ เข้าไปในช่องว่างระหวา่ งเมด็ ดิน เมื่อมาก
ขนึ้ ก็จะเปน็ การตรงึ แนวที่จะร่ัวซึมให้แข็งแรงและอุดรอยรั่วได้เป็นอย่างดี ไม่
จ้าเปน็ ตอ้ งใช้ปูนหรือวสั ดุปพู น้ื อย่างอ่นื ทีม่ รี าคาสงู เพยี งแค่ตอ้ งใชเ้ วลา ในกรณีที่ใช้

32 การเพาะเลย้ี งปลาบนพน้ื ทส่ี ูง

เพื่ออดุ รูร่ัวจ้าเปน็ ท่จี ะต้องเติมปยุ๋ คอกท่ีมัดใสถ่ งุ แล้วลงไปอกี เมอื่ ถงุ เก่ามีเฉพาะน้า
อยูข่ ้างใน เติมจนกวา่ จะสามารถเก็บน้าได้

ภาพที่ 9 บอ่ ทีม่ หี นิ อยู่กลางบอ่ ไม่เป็นอุปสรรคส้าหรับการเลีย้ งปลาบนพน้ื ทส่ี ูง
1.3 ปลอ่ ยนา้ เข้าบ่อดว้ ยร่องน้า หรอื การใชร้ ะบบประปาภเู ขา หรือสูบน้า

ใสบ่ ่อ ปลอ่ ยท้ิงไว้ประมาณ 1–2 สัปดาห์ เพอื่ ให้เกดิ อาหารธรรมชาติอย่างสมบูรณ์
และปรับสภาพให้เหมาะสมแก่การเลี้ยงปลา หรอื อาจน้าพนั ธุไ์ รแดงมาปล่อยเพื่อเป็น
การเพิ่มปริมาณอาหารธรรมชาติ ในกรณีทีเ่ ติมฟางขา้ วแห้งหรือมูลวัวลงไปก็จะเร่ง
การเกดิ อาหารขนาดเลก็ ของปลาทง้ั ส่วนของไรแดงและโรติเฟอร์ หรือหนอนแดง
หรอื แมลงน้าอืน่ ๆ

1.4 การปล่อยลูกปลาควรปล่อยในตอนเช้า เพราะอากาศและน้ามี
อุณหภูมติ ่้าทา้ ใหป้ ลาไม่ตายในขณะปลอ่ ยควรจะนา้ ถงุ บรรจุปลาแชน่ า้ ทิ้งไว้ 10–20

33 การเพาะเลี้ยงปลาบนพนื้ ที่สูง

นาที หรอื ค่อย ๆ เติมน้าเข้าไปในถงุ เพ่ือใหอ้ ุณหภูมิใกล้เคยี งกนั แลว้ จึงคอ่ ย ๆ เทลูก
ปลาลงบ่อ

ภาพท่ี 10 ประปาภเู ขาดว้ ยทอ่ จากไมไ้ ผ่
กรณีเป็นดนิ เหนยี วหรือดินพรจุ ะตอ้ งเติมปูนขาวมากขึ้น หากเปน็ ดินทีม่ ีนา้

สนมิ เหลก็ ภาคเหนอื เรยี ก “นา้ ฮาก” มีสีเหลอื งและมีฝา้ ลอยอยทู่ ี่ผิวนา้ สามารถแก้ให้
น้าใสได้ดว้ ยการหวา่ นร้าหรือแกรบออ่ น เพอื่ จบั ตัวแล้วท้าใหจ้ มตวั ลง

2. บ่อเกา่ เปน็ บ่อซึ่งผ่านการเล้ียงมาแล้วก่อนปล่อยลูกปลาลงบ่อ ควร
ปฏบิ ตั ดิ งั นี้

2.1 ระบายน้าออกและจบั ปลาที่ยงั คงเหลืออยู่ออกให้หมด
2.2 ลอกเลนพร้อมก้าจัดวัชพชื ออกให้หมด เพราะเป็นท่ีอยู่ของศัตรูปลา
เลนจะเป็นที่หมักหมมของอนิ ทรีย์วัตถแุ ละโรคปลา และตกแต่งบริเวณคันบ่อท่ีไม่
สมบรู ณ์ให้สมบูรณ์
2.3 ควรตากบ่อท้ิงไวป้ ระมาณ 5–10 วัน แสงแดดจะชว่ ยฆ่าเช้อื โรคต่าง ๆ
ทีส่ ะสมอยใู่ นบอ่ ให้หมดไป

34 การเพาะเลีย้ งปลาบนพน้ื ท่สี ูง

2.4 ใชป้ นู ขาวอัตราสว่ น 50–100 กิโลกรัม/ไร่ หรือมากกว่า ถ้าดินเป็น
กรด ปนู ขาวจะชว่ ยฆ่าเช้ือโรคศัตรปู ลาและช่วยปรบั สภาพดิน โดยหวา่ นปนู ขาวให้ทั่ว
บ่อ ปนู ขาวจะชว่ ยปรับสภาพความเป็นกรดด่างใหอ้ ยู่ในระดบั ที่เหมาะสมต่อการเล้ียง
ปลาระหว่าง 6.5-8.5 ช่วยกา้ จดั เชอื้ โรคและศตั รูปลาและชว่ ยเพ่มิ ประสิทธภิ าพของ
ปุ๋ยท่ีใสใ่ นบอ่ ปลา ควรรอให้น้าเหลือน้อยท่ีสดุ ในบอ่ หากเปน็ บอ่ น้าซมึ ใหเ้ อาน้าออก
ให้มากท่ีสุดแลว้ ลงปขู าวทันทดี ว้ ยการหว่านให้ทั่วทงั้ บอ่

การใชป้ นู ขาวในขณะทมี่ ีปลาอยใู่ นบ่อ ควรใช้วิธีละลายปูนในถังน้าทีละ
เล็กน้อย แลว้ สาดให้ทัว่ ไม่ต้องรบี ร้อนเพราะปลาจะค่อย ๆ ปรับตวั ไมค่ วรเทเป็นผง
ๆ ลงในน้า

2.5 ใส่ปุ๋ยคอก มลู วัวแห้งเปน็ หลกั อัตรา 100–200 กิโลกรัม/ไร่ การใส่
ปุย๋ ในบอ่ ปลามีผลตอ่ พชื นา้ เพือ่ เพิ่มธาตุอาหารให้แกพ้ ชื น้าในการเจริญเติบโต เพ่ิม
ธาตุอาหารประเภทแพลงตอนพชื ช่วยปรับสภาพน้า เชน่ ความขุ่นใสและความเป็น
กรดดา่ ง อีกทั้งปยุ๋ บางชนดิ ยังใชเ้ ปน็ อาหารปลาโดยตรงอกี ดว้ ย

ภาพท่ี 11 บ่อท่ีขุดใหม่

35 การเพาะเลยี้ งปลาบนพ้นื ท่สี งู

การใส่ปุ๋ย โดยท่วั ๆ ไปแลว้ ปลาจะกนิ อาหารซง่ึ เกดิ ข้นึ โดยธรรมชาติและ
จากทใี่ ห้สมทบเป็นจา้ นวนเกอื บเทา่ ๆ กัน ดังนั้นในบอ่ เลยี้ งปลา ควรดแู ลให้มีอาหาร
ธรรมชาติเกิดขึ้นอยเู่ สมอ จงึ จ้าเปน็ อยเู่ องทจี่ ะตอ้ งมีการใสป่ ยุ๋ ลงไปเพ่ือให้เกิดอาหาร
ธรรมชาติ ปยุ๋ ทีใ่ ชไ้ ด้แก่ มูลวัว มลู ควาย มลู หมู มูลเป็ดและมูลไก่ นอกจากปุ๋ยมูลสัตว์
ดังกล่าวแล้ว ปยุ๋ หมกั และปุ๋ยพชื สดต่าง ๆ กใ็ ช้ได้ แตต่ อ้ งระวงั เรื่องของการทน่ี ้าขุ่นเรว็
เนือ่ งมาจากการย่อยของปุ๋ยพืชสด อาจเปน็ ผลท้าให้ปลาตายได้เนื่องจากการขาก
ออกซิเจนในทนั ที

ภาพท่ี 12 การกน้ั คอกเพื่อเป็นทีใ่ สฟ่ างและปุ๋ยคอก
อัตราการใส่ปุ๋ยคอกแห้ง ในระยะแรกนั้นควรใส่ประมาณ 250-300

กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ ในระยะหลงั ๆ ควรใสใ่ นอัตราคร้ังละคร่งึ หน่งึ ของระยะแรกวธิ ีการใสป่ ยุ๋
ถ้าเปน็ ป๋ยุ คอก ควรตากใหแ้ ห้งเสยี ก่อน เพราะถา้ เปน็ ปยุ๋ ท่ียงั สดอยู่ จะท้าให้นา้ ในบ่อมี

36 การเพาะเลีย้ งปลาบนพ้นื ท่สี งู

แก๊สพวกแอมโมเนียละลายอยใู่ นน้ามาก ซึ่งจะเป็นอันตรายตอ่ ปลา การใสป่ ุ๋ยคอกควร
ใชว้ ิธหี ว่านลงไปในบอ่ ใหล้ ะลายไปทั่ว ๆ อยา่ โยนให้ตกอยู่ในท่ีเดยี วกัน สว่ นปยุ๋ พืชสด
หรอื ฟางขา้ วนั้น ควรเทสมุ เป็นกองไว้ตามมุมบอ่ 1 หรือ 2 แหง่ โดยมีไม้ไผ่ปกั ลอ้ มไว้
เป็นคอกรอบกองฟางนั้น และมีช่องว่างเผอื่ เอาไว้ใหป้ ลาว่ายน้าเขาออกและสามารถ
หาอาหารกินได้ เพ่ือป้องกนั มิใหส้ ่วนท่ียังไม่สลายตัวลอยกระจัดกระจาย แล้วไม่
สามารถทา้ ให้เกิดอาหารธรรมชาตไิ ด้ (ภาพท่ี 12)

บอ่ ท่มี อี าหารธรรมชาติมากหรอื นอ้ ย จะสังเกตได้โดยการดสู ขี องนา้ ถา้ น้าใน
บ่อมีสเี ขียวแสดงวา่ มอี าหารจ้าพวกพืชเล็ก ๆ ปนอย่มู าก แต่ถ้าน้าในบ่อมีสีค่อนข้าง
คล้า มักจะมีอาหารจ้าพวกไรน้ามาก พวกพืชเลก็ ๆ และไรนา้ มาก พวกพชื เล็ก ๆ และ
ไรนา้ เหลา่ น้ัน นับวา่ เป็นอาหารธรรมชาตทิ ม่ี ปี ระโยชน์ตอ่ การเลย้ี งปลาเป็นอย่างดี

2.6 เติมน้าใสบ่ อ่ ท้งิ ไว้ 10–15 วนั อาหารธรรมชาติส้าหรับลูกปลาจะมี
ปรมิ าณเพยี งพอ ด้วยการเติมปยุ๋ ลงไป

2.7 บอ่ เกา่ ถ้าสูบน้าออกไม่หมดให้ฆา่ ศตั รูพืชปลาด้วยโล่ติน้ หรอื หางไหลท่ี
สามารถพบได้โดยทวั่ ไป หรอื กากชา อัตรา 5–10 กิโลกรัมต่อบ่อขนาด 10x10
เมตร จะทา้ ใหศ้ ตั รปู ลาตาย ท้งิ ไว้ 5–7 วัน พษิ ของสารพษิ จะสลายตัวท้ังน้ีข้ึนอยู่กับ
อุณหภูมิของนา้ ซง่ึ อาจนานขึ้นเนื่องจากบนพ้ืนที่สงู มอี ณุ หภูมติ า้่

2.8 ในกรณีทต่ี อ้ งการปรับปรงุ บ่อเกา่ หลังการจบั ปลาและฆ่าศัตรูปลาแล้วแต่
ไมไ่ ด้ระบายนา้ ท้งิ เพราะขาดนา้ ควรใชป้ ูนขาวในอตั รา 250–300 กโิ ลกรัม/ไร่

2.9 บ่อเกา่ ท่ปี ล่อยปลาเพ่ิมเติมแต่ไม่มีการล้างบ่อ ปลาท่ีปล่อยลงเพ่ิ ม
สามารถปลอ่ ยลงเพ่ิมเตมิ ไมค่ วรปลอ่ ยลงทันที เน่ืองมาจากมขี นาดเล็กมาก จึงควร
อนบุ าลในกระชงั ในระยะหน่งึ กอ่ น เมอ่ื มีขนาดประมาณ 2 นิ้ว จึงค่อยปล่อยลงไป
ในขณะทอ่ี ยใู่ นกระชงั ให้มกี ารใหอ้ าหารปลาด้วย เพื่อให้ปลาได้เจรญิ เตบิ โต ในช่วงนี้
หากมอี าหารพเิ ศษ เช่นปลวก หรือแมลงท่ีปลาชอบก็สามารถให้กินได้ หรือเป็น
อาหารเมด็ จะท้าให้ลูกปลาโตดี

การปล่อยปลาลงเลีย้ ง

ก. จา้ นวนปลาและชนิดของปลาที่ปล่อย การปล่อยปลาลงเลี้ยงจะต้องมี
ความเหมาะสมไม่หนาแน่นจนเกินไป ขน้ึ อยูก่ ับชนิดของปลา โดยทว่ั ไปในปลากินพืช

37 การเพาะเลี้ยงปลาบนพ้นื ที่สูง

จะปล่อยประมาณ 5-15 ตวั ต่อ 1 ตารางเมตร โดยปกตจิ ะมีการปลอ่ ยลงไปเลี้ยงท่ี
ประมาณ 5 ตวั ตอ่ 1 ตารางเมตร ซึ่งมีความหนาแน่นค่อนข้างสูง แต่เน่ืองจากเป็น
พนื้ ท่สี งู มีปรมิ าณของออกซเิ จนท่ีละลายในน้าสูงกว่าพน้ื ทรี่ าบ

1. การปล่อยปลาชนดิ เดียวกนั แต่มขี นาดแตกตา่ งกัน รวมถึงปลามีขนาดเลก็
ไปจนถงึ ปลาท่ีมขี นาดโตกว่า จงึ สามารถซ้ือลูกปลาคละมาเลย้ี งได้ ท้าให้ต้นทุนค่าลูก
ปลาถกู ลง

2. การปล่อยปลาตา่ งชนดิ กนั เช่นปลาตะเพยี นขาว ปลาจีน ปลาย่ีสกเทศ
ปลานวลจนั ทรเ์ ทศ และปลาไน เปน็ ต้น ปลาจะเจริญเติบโตตามสภาพของสิ่งแวดลอ้ ม
และลักษณะการกนิ อาหารของปลาเปน็ หลกั

ข. เวลาปล่อยปลา เวลาทเี่ หมาะสมที่สดุ สา้ หรับปลอ่ ยปลา ควรเปน็ เวลาเช้า
หรอื เวลาเยน็ แต่ในชว่ งเชา้ จะเป็นเวลาทเี่ หมาะสมทส่ี ุด เพราะระยะเวลาดังกล่าวนี้
อุณหภูมิของนา้ ไมร่ อ้ นเกินไป ก่อนทีจ่ ะปลอ่ ยปลา ควรเอาน้าในบ่อใส่ปนลงไปใน
ภาชนะทบ่ี รรจปุ ลาแล้วปล่อยทง้ิ ไว้ประมาณ 2-3 นาที เพ่ือให้ปลาคุ้นกับน้าใหม่
เสียกอ่ น จากน้ันจึงคอ่ ย ๆ จ่มุ ปากภาชนะหรือถงุ ทีบ่ รรจุปลาลงบนผวิ นา้ พรอ้ มตะแคง
ภาชนะปลอ่ ยใหป้ ลาแหวกว่ายออกไปอย่างชา้ ๆ อาจมีปลาบางสว่ นที่ออ่ นแอหรอื ตาย
ใหน้ ้าออกมาเพื่อใหป้ ลาวา่ ยออกไปด้วยตวั เอง

ภาพที่ 12 การวกั น้าเขา้ ถงุ ปลาเพอ่ื ปรบั อุณหภมู ิให้เท่ากนั ก่อนปล่อยปลา จะท้าให้
ปลามอี ัตรารอดสูง

38 การเพาะเล้ยี งปลาบนพ้นื ท่สี งู

ภาพที่ 13 การเลี้ยงปลาในบ่อดนิ บรเิ วณที่ลาดชันสงู

วิธีการเลย้ี ง

การเล้ยี งปลาบนพ้นื ทส่ี งู สว่ นใหญเ่ ป็นการเลย้ี งแบบบอ่ ดนิ เนือ่ งจากมีพื้นที่
กรขุดเป็นบอ่ นัน้ นอ้ ย สถานทเี่ ลย้ี งปลาทีน่ ิยม มี 2 ลกั ษณะคือ

1. การเลีย้ งปลาในบอ่ ดิน (ภาพท่ี 13) อตั ราการปล่อยที่เหมาะสม เช่น
ปลาตะเพียน ปลาไน ปลาย่สี กเทศ ปลานวลจนั ทร์เทศ ปลากาด้า ปลานิล ปลาล่ิน
และปลาสร้อยขาว การเลี้ยงปลาในบอ่ จะปลอ่ ยปลาลงเล้ียงรวมกับปลากินพืช อ่ืน ๆ
ในบอ่ ทม่ี พี ืชนา้ หรือ วัชพืชขึ้น ปลาจะกินและช่วยกันท้าความสะอาดบ่อไปในตัว ปลา
ชอบกนิ พืชน้า ไข่นา้ แหน ผักพงั พวย ผักบุ้ง เศษอาหารทีเ่ หลอื จากโรงครัว แมลงใน
น้า ตวั หนอน ไสเ้ ดอื น ฟางข้าว หญ้าท่ีตดั แลว้ และปลวก เปน็ อาหาร เป็นการเล้ียง
สว่ นใหญ่ของชาวบา้ นทีอ่ ยู่บนพื้นท่สี งู ท้ังน้เี นอื่ งจากมีพ้นื ทจ่ี า้ กดั และไม่มีเงินซ้ือหา
กระชงั

2. การเลยี้ งปลาในกระชงั การเล้ยี งปลาในกระชังไดร้ ับความนยิ มน้อยกว่า
พื้นราบ โดยใชเ้ ล้ยี งในบ่อที่มีขนาดใหญ่ กระชังไม้มาเปน็ กระชังเนือ้ อวน เหมาะสมกบั
ภาวะปจั จุบันซึ่งขาดแคลนไมใ้ นการสร้างกระชงั ดังนนั้ การเตรยี มสถานทีเ่ ล้ยี งปลาใน

39 การเพาะเลย้ี งปลาบนพ้นื ทส่ี งู

กระชังจะตอ้ งสร้างแพพร้อมทัง้ มงุ หลังคากันแดด แพที่สร้างใช้ไมไ้ ผ่มัดรวมกนั และเว้น
ทีต่ รงกลางใหเ้ ป็นชอ่ งส่เี หล่ยี ม เพ่ือนา้ กระชังตาข่ายไปผูก กระชงั ตาข่ายกว้าง 2 เมตร
ยาว 4 เมตร ลึก 1.8 เมตร ปลาสามารถเลี้ยงเป็นปลาเน้ือ และปลาสวยงาม
โครงสร้างกระชังทีใ่ ชเ้ ลยี้ ง ปลา ประกอบดว้ ย

1. โครงร่างกระชัง เปน็ รูปสเี่ หลยี่ มผนื ผา้ อาจทา้ ดว้ ยไมไ้ ผ่ ไม้ท่อเหล็กชุบ
หรือทอ่ นา้ พ.ี ว.ี ซ.ี

2. ตัวกระชัง เป็นสว่ นที่รองรบั และกกั กนั สัตวน์ ้าให้อยใู่ นพืน้ ท่จี า้ กัด วัสดุที่
ใช้ได้แก่ เนือ้ อวนจา้ พวกไนลอน โพลีเอทีลีน หรอื วัสดจุ ้าพวกไม้ไผ่ ไม้เน้ืออ่อน ไม้เนื้อ
แขง็

ภาพท่ี 14 การเลี้ยงปลาบนพื้นท่ีสูงและการเล้ียงปลาในพ้นื ราบ
3. ทนุ่ ลอย เป็นส่วนหน่งึ ท่ีชว่ ยพยงุ ใหก้ ระชงั สามารถลอยนา้ อยไู่ ด้ สามารถ

รับนา้ หนกั ของตวั กระชัง สัตว์น้าทเ่ี ล้ยี งและเกษตรกรผู้เล้ยี งปลาทลี่ งไปปฏบิ ตั ิงานบน
กระชัง อาจใชถ้ ังนา้ มัน 200 ลิตร หรือแกลลอน 20 ลติ รที่ซื้อมาจากรา้ นขายของเกา่
ผูกกนั เป็นพวงเพ่ือเพิ่มแรงยก

40 การเพาะเล้ยี งปลาบนพนื้ ทส่ี งู

ภาพที่ 15 กระชังเนือ้ อวน

ส้าหรบั อายุการใชง้ านน้ัน ขึ้นอยกู่ บั วัสดทุ ใ่ี ชด้ งั นี้ เชน่ กระชังไม้ไผ่ จะมีอายุ
การใชง้ าน 1-2 ปี กระชงั ไม้เน้ือแขง็ จะมอี ายุการใช้งานไมน่ อ้ ยกวา่ 5 ปี และกระชัง
อวน จะมีอายกุ ารใชง้ านประมาณ 3-4 ปี

บริเวณทีเ่ หมาะสมแกก่ ารวางกระชังน้นั จ้าเป็นต้องตง้ั อยใู่ นบริเวณทม่ี สี ภาพ
ดีนา้ มคี ณุ สมบตั ิเหมาะสมในการเลยี้ งปลา หา่ งไกลจากแหล่งระบายน้าเสยี หรอื น้าทิ้ง
และแหลง่ น้านัน้ ไม่ควรมปี ญั หาการเกดิ โรคปลา บางครัง้ สามารถเล้ยี งรว่ มกันกับปลาที่
กินตะไคร่น้า หรอื หอยฝาเดียว

ข้อกา้ จัดของการเลีย้ งในกระชัง

1. สภาพแวดลอ้ มในบริเวณท่ีต้งั กระชังต้องเหมาะสม เชน่ คุณภาพของน้า
ต้องดีมีปรมิ าณออกซเิ จน พอเพยี งกระแสน้าไหลในอัตราท่ีพอเหมาะ และไม่เกิด

41 การเพาะเลีย้ งปลาบนพื้นทสี่ งู

ปญั หาโรคปลาตลอดระยะเวลาที่เลย้ี งสถานท่ตี งึ กระชังควรต้ังอยู่ในบริเวณที่กา้ บังลม
หรอื คล่ืนแรง ในกรณที ีเ่ กดิ พายุหรอื นา้ ทว่ มโดยเฉยี บพลัน การวางกระชังท่ชี ิดกันมาก
เกนิ ไป กม็ ีผลทา้ ให้น้าไม่ดไี ด้เช่นกนั รวมถงึ การหมกั หมมของของเสีย

2. ปลาทปี่ ลอ่ ยเลยี้ งควรมีขนาดใหญก่ วา่ ตาหรอื ชอ่ งกระชัง หากปลามีขนาด
เล็กหรอื เท่ากบั ขนาด ของชอ่ งกระชงั ปลาจะลอดหนีจากจากกระชงั ไป หรือถ้าไมล่ อด
ก็จะเขา้ ไปตดิ ตายอยูใ่ นระหว่างช่องกระชงั ได้

3. ปลาทเ่ี ลีย้ งควรมลี ักษณะรวมกินอาหารพรอ้ ม ๆ กันในทันทีที่ให้อาหาร
เพือ่ ใหป้ ลากนิ อาหารให้ มากท่สี ุดกอ่ นที่อาหารจะถูกกระแสน้าพัดพาออกไปนอก
กระชัง

4. ในกรณีทแี่ หลง่ น้าเลีย้ งผดิ ปกติ เช่น เกดิ สารพิษ น้ามีปริมาณมากหรือ
น้อยในทนั ที อาจจะเกิด ปัญหากับปลาท่เี ล้ียงซงึ่ ยากต่อการแก้ไข หากประสบปัญหา
ดงั กลา่ วควรขนย้ายปลาไปเลยี้ งที่อ่นื ซง่ึ เปน็ การยากสา้ หรับการเล้ยี งปลาบนพื้นที่สูง
เนอื่ งจากมพี ้นื ทนี่ ้อย

5. ตอ้ งมกี ารทา้ ความสะอาดกระชงั บ่อย ๆ เนื่องจากมตี ะไคร่เกาะ และเกิด
การอุดตัน

6. ไม่คอ่ ยเหมาะกับการเล้ียงปลาบนพ้นื ทสี่ งู เน่ืองจากราคาตน้ ทุนกระชงั สูง
และบอ่ มขี นาดเลก็

7. กระชังอนุบาลจะมคี วามเหมาะสมกับการเพาะขยายพันธป์ุ ลาบนพื้นทีส่ ูง
เนื่องจากมีบอ่ เลี้ยงท่ถี กู จ้ากดั ด้วยพน้ื ทีร่ าบ

นิสยั การกนิ อาหารของปลา

ปลาจะกนิ อาหารแตกตา่ งกนั ไปตามระดบั ความลึกของน้า ซ่งึ เปน็ การปรับตัว
เพื่อการอย่รู อดภายในมวลนา้ แบง่ ออกเป็น 3 แบบ คือ

1. ปลาที่กินอาหารตามผิวน้า ไดแ้ ก่ ปลานิล ปลาตะเพียนขาว ปลาสลิด ปลา
เฉา ปลาสวาย ปลาแรด และปลาช่อน เปน็ ตน้

2. ปลาท่ีกนิ อาหารกลาง ๆ น้า ได้แก่ ปลาสวาย ปลาแล่ง ปลาหมอตาล
3. ปลาทกี่ ินอาหารตามพื้นทอ้ งนา้ เปน็ ปลาท่กี ินอาหารจ้าพวกสัตว์หน้าดิน
ได้แก่ ปลาหลด ปลาไน ปลาซ่ง และปลาดกุ เป็นต้น

42 การเพาะเลย้ี งปลาบนพื้นท่ีสูง

การใหอ้ าหาร

ปลาทีเ่ ลีย้ งบนที่สงู ไมม่ ีความจา้ เป็นตอ้ งใหอ้ าหารเม็ด เพียงแค่การสร้าง
ระบบนเิ วศวิทยาเทียมให้เกดิ ข้นึ ในบ่อ ปลากินพืชเป็นปลาท่ีกินอาหารได้ทุกชนิด
ดงั นน้ั ปลาชนดิ น้ีจึงเป็นปลาที่ให้ผลผลติ สงู โดยเฉพาะพวกอาหารธรรมชาติท่ีมีอยู่ใน
บ่อ เชน่ ไรน้า ตะไคร่น้า ตัวอ่อนของแมลงและสัตว์เล็ก ๆ ที่อยู่ในบ่อ ตลอดจน
สาหร่ายและแหน ถ้าต้องการให้ปลาโตเร็วควรให้อาหารสมทบ เชน่ รา้ ปลายขา้ ว กาก
ถั่วเหลอื ง กากถว่ั ลสิ ง กากมะพร้าว แหนเปด็ และปลาป่น เปน็ ต้น การใหอ้ าหารแต่ละ
คร้งั ไม่ควรใหป้ ริมาณมากจนเกินไปควรกะใหม้ ีปริมาณเพยี งพอต่อความต้องการของ
ปลาเทา่ นนั้ สว่ นมากควรเปน็ นา้ หนักราว 5% ของน้าหนักปลาท่ีเลี้ยง ถ้าให้อาหาร
มากเกนิ ไป ปลาจะกนิ ไมห่ มด เสยี คา่ อาหารไปโดยเปล่าประโยชน์ และยงั ท้าใหน้ า้ เน่า
เสยี เปน็ อันตรายแกป่ ลาได้

สว่ นปลากินเนอ้ื สามารถปรบั เล้ยี งไดด้ ว้ ยอาหารหมักหรือเป็นอาหารเม็ด
ส้าเรจ็ รูป หรือการกินปลาสดน้ามาสับแตไ่ ม่ควรเลี้ยงเนือ่ งจากอาหารที่ต้องการหายาก
การใหอ้ าหารในช่วงวนั ที่มีฝนตกไม่มีแสงแดด ไมค่ วรให้อาหารมาก หรอื งดให้อาหาร
จะท้าให้พน้ื บอ่ เน่าไดง้ า่ ย และการให้อาหารควรมีแสงแดด

การให้อาหารด้วยการสรา้ งระบบนเิ วศวิทยาเทียมข้ึนมาในบ่อเล้ียง ที่มี
แนวคิดมาจากปลาไมไ่ ด้กนิ อาหารสามม้ือแต่ปลาหากินทั้งวัน ดงั นั้นปลาจะเคลื่อนท่ีไป
ตลอดเวลา แตไ่ มม่ ีความจ้าเป็นตอ้ งใหอ้ าหารทกุ วัน เป็นการประหยัดเวลา แค่มาเติม
ฟางขา้ วและมูลวัวแหง้ เป็นครัง้ คราวเมอ่ื หมดไปหรือยุบตวั ลง และเปน็ การเล้ียงแบบ
อนิ ทรีย์ ดงั นัน้ จงึ ไมต่ ้องมกี ารซอื้ อาหารเม็ดจากภายนอก

การผลติ อาหารปลาในท้องถิน่

หลกั การตามธรรมชาตนิ น้ั ส่งิ มชี วี ิตจะหากนิ ตลอดเวลา ไม่ได้เลือกการกิน
อาหารเปน็ มอ้ื จงึ เป็นแนวทางของการสรา้ งระบบนเิ วศวทิ ยาในบอ่ เลีย้ ง ดว้ ยการเพิ่ม
อาหารทีเ่ ปน็ อาหารของสงิ่ มชี วี ติ ขนาดเลก็ เชน่ จุลนิ ทรยี ์ แบคทเี รยี หนอนแดง และ
ไส้เดอื นน้า เป็นตน้ เพือ่ เปน็ อาหารของสิ่งมชี ีวติ ขนาดใหญ่ และเปน็ อาหารของปลา
ทีม่ คี วามสุขกบั การหากนิ ท้งั วนั ดว้ ยระบบนเิ วศท่ีมอี ยู่ จงึ เป็นท่มี าของการเลย้ี งอยา่ ง
ย่ังยืนและต้นทนุ ต้่า

43 การเพาะเลยี้ งปลาบนพื้นท่สี งู

1. การให้อาหารปลากนิ พืช ใชใ้ บพชื ทอ้ งถิ่นได้ เช่น ใบผกั กาด กระถิน ร้า
ปลายขาว เศษผกั หญา้ ขน ใบถว่ั ฝกั ยาว ใบถัว่ เหลือง หรอื อน่ื ๆ ทปี่ ลกู และกินได้ ใน
กรณขี องผกั ทน่ี ้ามาจากตลาดหรือทป่ี ลกู เป็นอุตสาหกรรมตอ้ งลา้ งน้าให้สะอาด เพ่ือ
ป้องกนั สารเคมีตกค้าง ทา้ ให้มผี ลกระทบกบั ปลาที่เลี้ยงในบ่อ ถ้ามีปริมาณมากปลา
อาจตายได้ทนั ที หรอื แบบตายสะสม

วิธใี ช้ ใชโ้ ยนลงในบ่อโดยตรง แต่ตอ้ งกน้ั คอกเพื่อไม่ใหใ้ บผกั ลอยกระจายไป
ทัว่ บอ่ สามารถใชเ้ ลยี้ งปลากินพชื

ข้อระวัง อยา่ ให้มากเกินไปจนน้าเนา่ เก็บก้านและกิ่งของใบไม้ออกเพ่ือ
ป้องกันน้าเนา่ หรืออาจเก็บก่งิ ไม้ไว้ในบ่อเพื่อป้องกนั ขโมย แตต่ อ้ งระวังอย่าใช้ใบไม้
และกิง่ ไม้ทีม่ ยี าง หรือชนดิ ท่ีมีพิษจะทา้ ใหป้ ลาตายได้ ดังนน้ั จึงเลือกใบไม้ท่ีคนกินได้
ระวงั เรื่องใบกระถนิ ไมค่ วรให้มากจนเกนิ ไปและต่อเน่ือง ซ่งึ อาจมพี ษิ ตอ่ ปลาได้

2. ฟางข้าวหมกั กับมลู ววั แห้ง เป็นวิธีการตามหลักการนิเวศวทิ ยาบอ่ เลี้ยง
โดยการสรา้ งระบบนเิ วศวิทยาขึน้ มาในบอ่ เลี้ยงและสรา้ งความสมดุลกบั จ้านวนปลาท่ี
อยู่ในบ่อเลี้ยง วิธีทา้ ฟางหมัก เพ่อื เพิ่มอาหารธรรมชาติให้กับปลา การใช้ฟางหมัก
ร่วมกบั มลู สัตว์ จะเป็นวิธเี พม่ิ อาหารธรรมชาติ เช่น แพลงกต์ อนพชื ไรแดง ให้กับปลา
ชว่ ยลดต้นทุนด้านอาหาร อัตราการใช้ บ่อ 1 ไร่ ใชฟ้ างประมาณ 20-30 ก้อน หรือ
ฟางไมม่ ดั ประมาณ 1-2 เกวยี น (ภาพที่ 23) สามารถท้าได้หลายจุดในบอ่ เลย้ี งปลา
เพราะปลาเปน็ สตั ว์นา้ ท่กี ินอาหารตลอดเวลา เพอื่ ให้มอี าหารกนิ อยา่ งเพียงพอ ไมแ่ ยง่
กันระหวา่ งปลาตัวเลก็ และปลาตัวใหญ่

การสรา้ งระบบนิเวศวิทยาเทียมในบ่อเล้ียงปลาด้วยวัสดุเหลือใช้ทาง
การเกษตร เชน่ ฟางขา้ ว หญา้ แห้ง ใบไม้ มลู สัตว์แหง้ เปน็ การลดต้นทุนทส่ี รา้ งความ
เป็นอย่ทู ่นี า่ อยอู่ าศัยของปลา และประกอบการตอบสนองตอ่ พฤตกิ รรมของปลา ปลา
ท่ีเล้ยี งเป็นปลากินพืชที่มีพฤตกิ รรมการกินอาหารทแี่ ตกตา่ งกนั ออกไป จงึ ท้าใหไ้ มแ่ ยง่
อาหารซ่งึ เปน็ ผลดตี อ่ ระบบนเิ วศวิทยาในบอ่ เลี้ยง การเกดิ ระบบนิเวศวทิ ยา (ภาพท่ี
9) มีกระบวนการดงั น้ี คือ

44 การเพาะเลยี้ งปลาบนพื้นท่ีสูง

1. ฟางข้าวจะเรม่ิ ส่งกลิน่ หอมออกมาให้แมลงกลุม่ ของริ้นนา้ จดื และอ่ืน ๆ
ลงมาวางไข่ ในขณะเดยี วกันราน้าเร่มิ กระบวนการยอ่ ยสลายฟางข้าวและแบคทีเรีย
เข้ามาสมทบ และมีการย่อยสลายฟางขา้ ว เริ่มอ่อนตัวที่สามารถเป็นอาหารของ
แบคทเี รยี และกลุ่มปลาไน ปลาย่ีสกเทศ

2. มลู วัวแห้งเปน็ ปุ๋ยให้เกิดน้าเขียวและแพลงกต์ อนพืช ท่ีเป็นอาหารของ
แพลงก์ตอนสัตวแ์ ละตัวอ่อนแมลงน้า

3. แมลงนา้ เริม่ เตบิ โตกินแบคทีเรีย แพลงก์ตอนที่เกาะอยู่บนฟางข้าวท่ี
ก้าลงั ยอ่ ยตวั เอง และกินแพลงกต์ อนสัตว์

4. ปลาเร่มิ มอี าหารกนิ ด้วยการกินท้ังแพลงก์ตอนพืช แพลงก์ตอนสัตว์
แบคทีเรยี ตะกอนดินทพ่ี น้ื ท้องน้า ตวั ออ่ นแมลงน้า และสว่ นหนึ่งของฟางข้าวที่ปลา
กินเข้าไป และสามารถเตมิ ไดต้ ลอดเวลาเมือ่ สว่ นของฟางข้าวแหง้ และมูลวัวแห้งตามท่ี
ปลากินไป หากเตมิ ลงไปมากจนเกนิ ไปจะท้าใหน้ า้ ในบอ่ เล้ียงเนา่

ภาพที่ 16 กิจกรรมทีเ่ กดิ ขนึ้ ของระบบนเิ วศวทิ ยาจ้าลองในบอ่ เล้ยี งปลาแบบอินทรี
บนพน้ื ท่สี งู ดว้ ยฟางขา้ วและมูลสตั วแ์ ห้ง ปรับตัวสู่ความมั่นคงด้านอาหาร
โปรตีน

45 การเพาะเลยี้ งปลาบนพ้นื ทีส่ งู

ภาพที่ 17 การสรา้ งระบบนิเวศวิทยาบ่อเลี้ยงเทียมอาหารธรรมชาตดิ ว้ ยฟางขา้ วและ
มลู สัตว์แห้งในบอ่ เล้ียงปลา

วธิ ีการท้า
สามารถดา้ เนนิ การไดโ้ ดยไม่ยาก ดว้ ยการเตรียมวตั ถุดิบ ให้พรอ้ ม (ภาพท่ี
10) แลว้ ด้าเนนิ การตามขั้นตอน หมดหรือยุบลงกเ็ ตมิ ใหม่
1. น้าฟางก้อนมาตัดเชอื กออก หรอื นา้ มาจากกองฟางที่แห้งแล้ว เพราะ
ฟางท่ยี ังสดหรอื มสี เี ขยี ว อาจยังคงมีเคมี หรอื ยาฆา่ แมลงตดิ มากบั ฟาง)

46 การเพาะเลีย้ งปลาบนพืน้ ทส่ี ูง


Click to View FlipBook Version