The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by แมวอ้วน แสนซน, 2022-08-31 08:28:34

o10

o10

แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 1



แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 2





คำนำ

การวางแผนเป็นหัวใจสาคัญของการทางานซ่ึงเป็นขั้นตอนหน่ึงของการบริหารการจัด
การศึกษา ในโรงเรียน หากมีการวางแผนล่วงหน้า มีการติดตาม การควบคุมดูแล การปฏิบัติงาน
อย่างสม่าเสมอเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ ย่อมทาให้ผลการดาเนินงานบรรลุเป้าหมายอย่าง
แนน่ อน

โรงเรียนพระบางวิทยาได้จัดทาแผนกลยุทธ์ระยะ 3 ปี ในปี 2562 -2564 และได้
ดาเนินการตาม แผนกลยุทธ์ ซ่ึงผลการดาเนินงานบรรลุเป้าหมาย จึงได้วิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ภายในและภายนอก แล้วนามาจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีในแต่ละปีการศึกษา เพื่อวางแผนการ
ดาเนินงานบริหารการจัดการศึกษาอีกท้ังได้ปรับทิศทางการดาเนินงานของโรงเรียน โดยแผนปฏิบัติ
การ ประจาปีการศึกษา 2563 เล่มนี้จะเป็นการวางกรอบแนวทางการบริหารจัดการการศึกษาของ
โรงเรียนพระบางวิทยาในปีการศึกษา 2564 และมีการปรับปรุงตัวช้ีวัดเพ่ิมเติมเพ่ือรองรับกับ
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

โรงเรียนได้จัดทาโครงการท่ีจะดาเนินการในปีงบประมาณ 2564 ตามภารกิจของ
โรงเรียนที่ได้รับมอบหมาย โดยได้แบ่งงาน/โครงการให้คณะครูรับผิดชอบตามความรู้ความสามารถ
เพื่อให้งานที่รับผิดชอบสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี และทางโรงเรียนขอขอบคุณคณะครูโรงเรียนพระบาง
วิทยา ที่ให้ความร่วมมือในการจัดทาแผนปฏิบัติการคร้ังนี้ให้สาเร็จด้วยดี และโรงเรียนจะใช้
แผนปฏิบัติการนี้ เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการบริหารพัฒนาโรงเรียน ให้มีประสิทธิภาพ และบรรลุ
จุดมุ่งหมายของการจดั การศึกษาต่อไป

งานแผนงาน โรงเรยี นพระบางวทิ ยา

แผนปฏิบัติการโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 3





หนังสือควำมเหน็ ชอบแผนปฏิบตั ิกำรโรงเรยี นพระบำงวิทยำประจำปีกำรศกึ ษำ 2565
ของคณะกรรมกำรสถำนศกึ ษำข้นั ศกึ ษำโรงเรียนพระบำงวทิ ยำ

ด้วยโรงเรียนพระบางวิทยาได้จัดทาแผนปฏิบัติการโรงเรียนพระบางวิทยา ประจาปี
การศึกษา 2565 เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาไปสู่ภาพลักษณ์ใหม่ ก้าวสู่
วิสัยทัศน์ท่ีต้องการในอนาคต รวมท้ังมีการวางมาตรการและแนวทางในการดาเนินงานเพ่ือบรรลุ
เปา้ หมายในถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID-19)

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานโรงเรียนพระบางวิทยาได้พิจารณาแล้วเห็นว่า
แผนปฏิบัติการโรงเรียนพระบางวิทยา ประจาปีการศึกษา 2565 เป็นแผนที่เหมาะสมกับบริบทใน
การพฒั นาโรงเรียน

จงึ มมี ติเหน็ ชอบใหใ้ ช้แผนปฏบิ ัติการโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ประจาปกี ารศกึ ษา 2565

(นายณรงค์ศกั ดิ์ วมิ ลมณี)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

โรงเรยี นพระบางวทิ ยา

แผนปฏบิ ตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 4





สำรบัญ

คำนำ ก

หนังสือควำมเห็นชอบแผนปฏบิ ตั กิ ำรโรงเรยี นพระบำงวิทยำประจำปกี ำรศึกษำ 2565 ข
สารบัญ ค
ส่วนที่ 1 บทนำ 1
2
ขอ้ มูลพืน้ ฐาน 6
ข้อมลู นักเรยี น 7
ข้อมลู บุคลากร 12
โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรียนพระบางวิทยา 13
ขอ้ มลู อาคารสถานท่ี 14
ข้อมลู สถานศึกษา 15
สภาพทวั่ ไปของชุมชน 20
สว่ นท่ี 2 ทศิ ทำงกำรพัฒนำกำรศึกษำประจำปกี ำรศกึ ษำ 2565 21
ทิศทางและนโยบายคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 49
ทิศทางและนโยบายสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา นครสวรรค์ 60
68
ทศิ ทางและนโยบายโรงเรียนพระบางวทิ ยา 69
สว่ นที่ 3 กำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อมสูก่ ำรจัดทำกลยุทธ์ ประจำปกี ำรศึกษำ 2565 71
81
การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อม(SWOTAnalysis)โรงเรยี นพระบางวทิ ยา 82
ผลการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อม(SWOT Analysis)โรงเรยี นพระบางวิทยา 82
สว่ นท่ี 4 รำยละเอียดแผนกำรใช้จ่ำยงบประมำณประจำปีกำรศึกษำ 2565 83
ประมาณการเงินอุดหนุนรายหัว ปีงบประมาณ 2565 84
การจัดสรรตามสดั ส่วน 84
ประมาณการเงินกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนตามโครงการเรยี นฟรี 15 ปี 85
ประมาณการเงนิ ระดมทรพั ยากร ปกี ารศึกษา 2565
ประมาณการจัดสรรเงินระดมทรพั ยากร
สรุปรายงะเอยี ดกจิ กรรมเสนอของบประมาณ

แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรียนพระบางวิทยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 5



รายละเอยี ดงบประมาณ/ช่วงเวลา/ผรู้ บั ผดิ ชอบ 98
รายละเอยี ดกิจกรรมในโครงการตามมาตรฐานโรงเรียน 106
คณะผจู้ ัดทา

แผนปฏิบตั ิการโรงเรียนพระบางวิทยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 6



แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 7



ข้อมูลพน้ื ฐาน

ประวัติโรงเรียนพระบำงวทิ ยำ

โรงเรียนพระบางวิทยา ท่ีตั้งเลขที่ 300 หมู่ท่ี 15 ตาบลหนองกระโดน อาเภอเมือง
จังหวัดนครสวรรค์ 60240 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน โทรศพั ท์ 0-5629-6109 โทรสาร 0-5629-6109
E-mail [email protected] website http://www.phrabang.ac.th เปิดสอนระดับ
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีเนื้อท่ี 40 ไร่ 2 งาน 65 ตารางวา เขตพื้นที่
บริการจานวน 33 หมู่บา้ น ไดแ้ ก่ หมู่ท่ี 1 – 16 ตาบลหนองกระโดน และหม่ทู ่ี 1-17
ตาบลหนองกรด

โรงเรียนพระบางวิทยาเป็นโรงเรียนสหศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 42 สานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศต้ัง
เม่ือ วันที่ 30 มีนาคม 2527 โดยคณะกรรมการจัดตั้งโรงเรียน ประกอบด้วยชาวตลาดหนองเบนได้
ร่วมกันบริจาคซื้อท่ีดิน 40ไร่ 2 งาน 65 ตารางวา มอบให้กรมสามัญศึกษา จัดต้ังโรงเรียนระดับ
มัธยมศกึ ษาสาหรบั เปิดรับนักเรียนในตาบลใกลเ้ คียง

ในปีแรกอาศยั เรยี นทอ่ี าคารเรียนของโรงเรยี นวัดศรีประชาสรรค์ เปน็ การช่ัวคราว
กรมสามัญศึกษาได้แต่งต้ังให้นายสุวัฒน์ ลีวุฒินันท์ รักษาการในตาแหน่งครูใหญ่ ภายหลังเมื่อกรม
สามญั ศกึ ษาอนุมตั งิ บประมาณสร้างอาคารเรียนแลว้ ไดย้ า้ ยมาเรียนในที่ดินของโรงเรียนเปน็ ตน้ มา

แผนท่โี รงเรยี น

แผนปฏิบัตกิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 8



โรงเรียนพระบางวิทยาจัดการเรียนการสอนต้ังแต่ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นถึงระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยโรงเรยี นไดจ้ ัดทาหลักสูตรโรงเรียนพระบางวทิ ยา พุทธศกั ราช 2553 ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของ
ผู้ปกครอง นักเรียน และชุมชน นักเรียนสามารถเลือกเรียนวิชาเลือกและเลือกกิจกรรมชุมนุมเสริม
หลกั สตู รไดต้ ามความถนัดและความสามารถของนักเรยี น นอกจากนัน้ โรงเรยี นยังเปน็ ศนู ย์บรกิ ารทาง
การศึกษาของการศึกษานอกโรงเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย เพื่อบริการชุมชนที่
ขาดโอกาสทางการศกึ ษาในตาบลนี้

โรงเรียนพระบางวิทยามีสิ่งอานวยความสะดวกแก่นักเรียนครบถ้วนมีไฟฟ้า โทรศัพท์
โทรสาร เครือข่ายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ทุกห้องเรียนมีเครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องรับโทรทัศน์
ประจาห้องโดยต่อระบบอินเทอร์เน็ต เพอ่ื ใหค้ รแู ละนักเรยี นไดค้ ้นคว้าหาข้อมูลและสามารถนาส่ือการ
เรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้ มีห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
ห้องปฏิบตั กิ ารภาษาตา่ งประเทศ ห้องปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ หอ้ งสมดุ เปน็ ตน้

ภาพรวมในอนาคตของโรงเรยี นพระบางวทิ ยา คือ ม่งุ มนั่ ที่จะพัฒนาโรงเรียนใหไ้ ด้มาตรฐาน
และนักเรียนต้องมีคุณภาพ มีคุณธรรมนาความรู้ มีสภาพแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ท่ีเอื้อต่อการเรียน
การสอน ในปีการศึกษา 2549 โรงเรียนได้รับการรับรองมาตรฐานรอบ 2 จากการประเมินคุณภาพ
ภายนอกของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และ ในปีการศึกษา
2554 โรงเรียนได้รับการรับรองมาตรฐานรอบ 3 จากการประเมินคุณภาพภายนอกของสานักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา

สภำพท่ัวไป

เปดิ สอนต้งั แตร่ ะดบั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ถงึ ระดบั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 42

ปรัชญำโรงเรยี น

“ ปฺญญำ นรำน รตน ”

ดวงปัญญาพาสรา้ งทางชนะ เป็นรตั นนรชนผลสนอง

เปน็ ดวงแก้วแววใสไร้ละออง สอดสอ่ งขุมทรัพยก์ ลบั ร่ารวย

แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรียนพระบางวทิ ยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 9



ปรัชญาของโรงเรียนท่ีใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้มีความรู้ ควบคู่
ความดี หมายความวา่ เมื่อได้รับความรู้มีความคิดสร้างสรรค์รเิ ริ่ม เปรียบประดุจแก้ววิเศษ ซ่งึ สามารถ
จะสรา้ งประโยชน์ให้แก่ตนเองและพลเมืองดขี องชาตสิ บื ไป

อกั ษรยอ่ ของโรงเรียน พ.บ.

สีของโรงเรยี น เหลอื ง – ดำ คณุ ธรรม ความเจริญรงุ่ เรือง
ความเข้มแข็ง อดทน
คตพิ จน์ประจำโรงเรยี น เหลอื ง หมายถึง
คำขวัญประจำโรงเรียน ดำ หมายถึง
สัญลกั ษณ์โรงเรยี น
รักเรียน เพยี รธรรม นำควำมเจริญสทู่ อ้ งถน่ิ

“กฬี ำดี ICT เด่น เป็นลกู พระบำง“

คำ่ นยิ ม เทียนส่องสวา่ งภายใตม้ งกฎุ ทเ่ี ปล่งรัศมี มแี ถบช่อื โรงเรียนและอักษรย่อ
"แสงเทยี นนำทำง ลกู พระบำงก้ำวหนำ้ "

เทยี น หมายถึง แสงสว่างแห่งปญั ญา
มงกุฎ หมายถงึ ความสง่างาม มีเกียรตยิ ศ ศักด์ศิ รี
รศั มี หมายถงึ ความเจรญิ รุ่งเรอื ง

“พระบำงวิทยำน่ำอยู่ เชดิ ชูคณุ ธรรม“

แผนปฏิบัตกิ ารโรงเรียนพระบางวิทยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 10



ดอกไม้ประจำโรงเรยี น

ตน้ นนทรี

ช่ือสามัญ Yellow Flamboyant,

ช่ืออ่นื กระถนิ ป่า กระถนิ แดง (ตราด), นนทร(ี ทว่ั ไป) สารเงิน

(แมฮ่ ่องสอน)

ลักษณะทัว่ ไป เป็นไมย้ นื ตน้ ทรงพุ่มสูงได้ถึง 25 เมตร ก่งึ ผลดั ใบ ใบเป็นใบ

ประกอบขนนกสองชัน้ รูปไข่ ออกดอกเปน็ ช่อตั้งขนาดใหญท่ ปี่ ลายก่ิง สเี หลอื ง มีกลิ่น

หอมอ่อนๆ ออกดอกในฤดูแลง้ ช่วง เดอื นมีนาคม- มถิ นุ ายน



ทำเนยี บผูบ้ ริหำรโรงเรยี นพระบำงวทิ ยำ

ลำดบั ท่ี ชื่อ – สกลุ ระยะเวลำทีด่ ำรงตำแหนง่

1 นายสวุ ฒั น์ ลีวฒุ ินนั ท์ พ.ศ. 2527 – พ.ศ. 2532
พ.ศ. 2532 – พ.ศ. 2535
2 นายประจวบ นลิ เนตร์ พ.ศ. 2536 – พ.ศ. 2540
พ.ศ. 2540 – พ.ศ. 2544
3 นายจานงค์ ฤทธิเรอื งเดช พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2547 – พ.ศ. 2551
4 นายธวชั ชยั ทองเจริญ พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2556
5 นายประสิทธิ์ คันซอทอง พ.ศ. 2556 – พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2557 – พ.ศ. 2558
6 นายหิรญั สถาพรพิบลู ย์ พ.ศ. 2558 – พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2562 – ปจั จุบัน
7 น.ส.จไุ รรตั น์ มณรี ตั น์

8 นายพนั ศักด์ิ ศรที อง

9 นายประมวล อ่วมงาม

10 นายนิพนธ์ สรอ้ ยสุวรรณ

11 นายไพบูลย์ เขยี นประเสริฐ

12 นายอิทธริ ฐั น้อยเกิด

แผนปฏบิ ตั ิการโรงเรียนพระบางวิทยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 11



ประเภท/ลักษณะของโรงเรยี น

โรงเรียนพระบางวทิ ยาไดร้ ับการประเมนิ ระบบประกนั คุณภาพภายนอกจากสมศ. เป็น
โรงเรยี นคุณภาพประจาตาบลและโรงเรียนพระบางวิทยาเป็นโรงเรียนในโครงการ ตา่ งๆ ดงั น้ี
โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม โครงการโรงเรียนวีถพี ุทธ โครงการโรงเรียนสขี าว โครงการขับเคลอ่ื น
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการสถานศึกษาปลอดภยั สถานศึกษา โครงการโรงเรียนสุจริต

เว็บไซต,์ E - mail www.phrabang.ac.th.

[email protected]

เบอรโ์ ทรศัพท์ เบอรโ์ ทรศพั ท์ 056 - 296109

ขอ้ มลู นกั เรยี น

จำนวนนักเรียน

ตำรำงท่ี 1 แสดงจานวนห้องเรียนและจานวนนักเรียนมัธยมศกึ ษาตอนต้นและมธั ยมศึกษาตอน

ปลาย จาแนกตามชัน้ และเพศ ปกี ารศกึ ษา 2565 (ณ วนั ท่ี 10 มิถุนายน ของปกี ารศึกษา 2565)

ระดับชนั้ จำนวนหอ้ งเรยี น จำนวนนักเรยี น
ตำมแผน ตำมจดั เพศชำย เพศหญิง รวม

มัธยมศึกษาปีที่ 1 4 4 61 77 138
มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 4 4 83 66 149
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 5 5 77 45 122

รวมมธั ยมศึกษำตอนต้น 12 12 221 188 409

มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 2 2 31 29 60

มัธยมศึกษาปีที่ 5 2 2 25 54 79

มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 3 3 34 38 72

รวมมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย 7 7 90 121 211

รวมท้ังหมด 19 19 311 309 620

แผนปฏิบัติการโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 12



ตำรำงที่ 2 จานวนนกั เรยี นเฉลีย่ ต่อห้องเรยี น จาแนกตามระดับการศึกษาระดบั มัธยมศึกษา

จำนวนนักเรียน : ห้อง ลกั ษณะของโรงเรยี นพระบำงวิทยำ

น้อยกว่า 30 คน : หอ้ ง -
30 – 35 คน : หอ้ ง -

35 คนขน้ึ ไป : หอ้ ง

ข้อมูลบุคลำกร

จำนวนบคุ ลำกร ประจาปกี ารศึกษา 2565 (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 30 ธันวาคม 2564)

ตำรำงที่ 3 แสดงจานวนและวุฒทิ างการศึกษาของครู

เพศ ระดบั กำรศกึ ษำสงู สุด

ประเภทบคุ ลำกร ชำย หญิง รวม ตำ่ กว่ำ ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวม

ป.ตรี

ผอู้ านวยการ 1 - 1 - - 1 - 1

รองผ้อู านวยการ 1 - 1 - - 1 - 1

ข้าราชการครู 7 26 33 - 20 13 - 33

ครูอตั ราจา้ ง 3 3 6 - 6 - - 6

ลูกจ้างประจา - - - - - - - -

ลกู จา้ งชัว่ คราว 3 1 4 4 - - - 4

รวม 15 30 45 4 26 15 - 45

แผนปฏบิ ัติการโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 13



ตำรำงท่ี 4 แสดงจานวนครู ตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ เพศ เพศ รวม
ชำย หญิง
กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้
2-2
1. ผูบ้ ริหาร
2. กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย 134
3. กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
4. กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี -55
5. กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
6. กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศึกษา และพลศึกษา 279
7. กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ิลปะ
8. กลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพ 145
9. กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ
10. กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน 3-3
11. หอ้ งสมุด
12. ครพู ีเ่ ลี้ยงเด็กพิการ 134

รวม 213

257

-11

---

-11

14 31 45

แผนปฏิบตั ิการโรงเรียนพระบางวิทยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 14



รำยชือ่ บคุ ลำกร ประจาปกี ารศึกษา 2565 (ขอ้ มูล ณ วันที่ 30 ธนั วาคม 2564)

ผ้บู รหิ ำร

1) ผอู้ านวยการโรงเรียน นายอารมณ์ น้อยเกิด เบอร์โทรศพั ท์ 08 1045 6336
วฒุ ิการศกึ ษาสูงสุด ปรญิ ญาโทสาขาการบริหารการศึกษา ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนพระ
บางวทิ ยา จนถึงปัจจุบนั เป็นเวลา 3 ปี

2) รองผู้อานวยการโรงเรยี น นายอภเิ ชษฐ์ บญุ พยอม เบอรโ์ ทรศพั ท์ 08 5725 3708
วฒุ กิ ารศึกษาสงู สุด ปรญิ ญาโทสาขาการบริหารการศึกษา ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนพระ
บางวิทยา จนถึงปจั จุบนั เป็นเวลา 1 ปี

ตำรำงท่ี 5 แสดงรายชอ่ื ครูประจาการ

ที่ ชอื่ – ช่ือสกลุ ตำแหน่ง/ วุฒิ วิชำ เอก
วิทยฐำนะ

1 นายไพฑรู ย์ ไวยธัญกิจ ครู/ คศ.2 ค.บ. เกษตรศาสตร์

2 นางลาวลั ย์ สมบตั ิปนั ครู/ คศ.2 วท.บ. สุขศกึ ษา

3 นายกติ ตพิ ฒั น์ ศรแกว้ ครู/ คศ.2 ค.บ. พลศกึ ษา
4 นายภคพล ศรพี ลอย ครู/ คศ.2 กศ.ม. วิทยาศาสตรศ์ กึ ษา
5 นางยพุ นิ มชี ื่น ครู/ คศ.2 ค.บ.
6 นางสกุ ญั พร สวุ รรณเศรษฐ์ ครู/ คศ.3 ค.บ. ภาษาไทย
7 นางเครือวัลย์ ยศเมธากุล ครู/ คศ.3 วท.บ ภาษาไทย
8 นางนิสกลุ เหลา่ สขุ ไพศาล ครู/ คศ.3 ค.บ.
9 น.ส. สมุ าลี ผะอบเงนิ ครู/ คศ.2 ค.บ. เคมี
ชีววทิ ยา
คณติ ศาสตร์

แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวิทยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 15



10 นางดวงเดือน อาจหาญ คร/ู คศ.3 กศ.ม. เคมี

ท่ี ชื่อ – ชือ่ สกุล ตำแหนง่ / วฒุ ิ วิชำ เอก
วทิ ยฐำนะ

11 น.ส.ลดั ดา เพ็ชสังฆาต ครู/ คศ.2 กศ.ม. เทคโนโลยีและสอื่ สารศึกษา

12 นายมาโนช พันธเ์ุ ขียน ครู/ คศ.2 ค.บ. สงั คมศึกษา

13 นางวันเพญ็ สม้ ฉนุ ครู/ คศ.2 ค.บ. สงั คมศึกษา

14 น.ส.กมลรตั น์ อนงคณะศักดิ์ ครู/ คศ.3 ค.ม. การบรหิ ารการศึกษา

15 นางธฤษฎา ศรลมั พ์ คร/ู คศ.3 ศษ.ม. การบริหารการศึกษา

16 น.ส. รมณภัทร มตั ิโก คร/ู คศ.2 กศ.บ. คณติ ศาสตร์

17 น.ส. วิมลพนั ธ์ สามเกษร ครู/ คศ.2 ค.บ. คณิตศาสตร์

18 น.ส. ฐภิ าพรรณ เกง่ เขตรวิทย์ คร/ู คศ.3 ค.บ. สังคมศึกษา

19 นายสิทธิพร สงิ ห์โห ครู/ คศ.3 กศ.ม. ภาษาไทย

20 น.ส. สดุ ารัตน์ งามวลิ ยั คร/ู คศ.1 ค.บ. คณติ ศาสตร์

21 น.ส.ศริ ริ ตั น์ ศรวี ิจิตร ครู/ คศ.1 ค.บ. สงั คมศึกษา

22 นายดนสุ รณ์ คอนดี ครู/ คศ.1 ศศ.บ. ภาษาองั กฤษ

23 น.ส.อัญชลี พูลทอง คร/ู คศ.2 กศ.ม. คณติ ศาสตร์

24 นางพจนา ชูช่วย คร/ู คศ.3 ค.บ. ภาษาไทย

25 นางสาวณรรฐวรรณ วสยางกูร คร/ู คศ.1 ศศ.ม. ภาษาอังกฤษ

แผนปฏบิ ตั กิ ารโรงเรียนพระบางวทิ ยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 16



ท่ี ชือ่ – ชื่อสกลุ ตำแหนง่ / วฒุ ิ วิชำ เอก
วทิ ยฐำนะ

24 นางสาวกญั ญภคั จฑุ พลกลุ คร/ู คศ.1 กศ.บ. คณติ ศาสตร์

25 นายสมพงษ์ ป่ินทอง ครู/คศ.1 คบ. พลศกึ ษา

26 นางสาวหทัยชนก ตระกูลจาลอง ครู/คศ.1 คม. หลักสูตรและการสอน

27 นางจุฑามาศ ภูร่ อด คร/ู คศ.2 ศศ.บ. ภาษาจนี

28 นางสาวณัฐฑกิ า อนิ ดี คร/ู คศ.1 ค.ม. สังคมศึกษา

29 นางสาววสั ยา จนั ทร์ดิษฐ์ คร/ู คศ.1 ศษ.บ. ภาษาอังกฤษ

30 นางแสงเดอื น กางจติ ร ครูผู้ช่วย ค.ม. แนะแนว

31 นายนคิ ม สุวรรณรัตน์ ครผู ู้ช่วย วท.บ. วทิ ยาศาสตร์การกีฬา

32 นายพงษเ์ ดช ชชั วาลพงศ์ ครูผชู้ ว่ ย อส.บ. อตุ สาหกรรม

33 นางสาวแกว้ กัลยา มณเทยี ร ครูผู้ชว่ ย คบ. ภาษาองั กฤษ

ตำรำงท่ี 6 แสดงรายช่ือ ครูอัตราจ้าง

ท่ี ชอื่ – ชื่อสกลุ วุฒิ วชิ ำ เอก

1 นางสาววลิ าวรรณ หลากสขุ ถม บธ.บ. การบัญชี
ภาษาองั กฤษ
2 Francis Kelley Deligen BSED นเิ ทศ(วารสาร)
นาฎศลิ ป์ไทย
3 น.ส. มาลัย สุขเกษม ศศ.บ. คอมพวิ เตอร์ศกึ ษา

4 น.ส. ทศั นยี ์ คงไทย ศศ.ม.

5 นายศราวุธ คงเจริญ คบ.

แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรียนพระบางวิทยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 17



แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 18



ข้อมลู อำคำรสถำนท่ี

ตำรำงท่ี 5 แสดงข้อมลู อาคารสถานที่ โรงเรยี นพระบางวทิ ยา

ลำดับ รำยกำร ปี พ.ศ. จำนวน จำนวน
ท่ีสร้ำง (สง่ิ ปลกู สรำ้ ง) ห้องนำ้ - ห้องส้วม

1 อาคารโรงฝึกงานแบบ ชค.104 2528 2 1
1 2
2 อาคารเรยี นแบบ 108 ล 2528 1 2
1 8
3 อาคารเรยี นแบบ 108 ล 2531 2 4
2 1
4 อาคารหอประชุมแบบ 100/27 2535 2 1
2 1
5 อาคารเรียนแบบ 216 (ปรับปรุง 29) 2536 1 6
1 6
6 บ้านพักครโู สด 5 หอ้ งนอน 2533 1 6
1 6
7 บ้านพักครแู บบ 203/27 2532 1 ชดุ 3 ถัง -
1 ชดุ 3 ถงั -
8 บา้ นพกั นักการภารโรง 2528 1 ชดุ 3 ถัง -
1 -
9 ห้องสว้ มนักเรยี นแบบ 6 ท่ี 2528 1 -
1 -
10 หอ้ งสว้ มนกั เรียนแบบ 6 ที่ 2531 1 -
- -
11 หอ้ งส้วมนักเรยี นแบบ 6 ที่ 2533 1 -
1 -
12 ห้องส้วมนกั เรยี นแบบ 6 ที่ 2536 1 -
1
13 ถังเก็บน้าฝนแบบ ฝ 33 2528

14 ถงั เกบ็ นา้ ฝนแบบ ฝ 33 2529

15 ถงั เกบ็ น้าฝนแบบ ฝ 33 2530

16 ร้านคา้ สหกรณ์ -

17 โรงอาหาร(ช่ัวคราว) -

18 สนามฟุตบอล 2529

19 สนามบาสเก็ตบอล 2528

20 ลานเอนกประสงค์ -

21 หอถงั ประปา 2559

22 โรงจอดรถจกั รยานยนต์ 2559

23 อาคารเรียน ดนตรี/ศลิ ปะ 2559

24 โรงอาหาร 500 ที่นั่ง 2563

แผนปฏบิ ตั กิ ารโรงเรียนพระบางวทิ ยา ปีการศึกษา 2565 หนา้ 19



ข้อมลู สถำนศกึ ษำ

1. หน่วยงำนภำครฐั เอกชน วัด องค์กรชุมชนตำ่ ง ๆ ทอ่ี ยู่ในเขตพนื้ ที่บริกำรของโรงเรยี น
1. เทศบาลตาบลหนองเบน
2. สถานอี นามัยเฉลมิ พระเกียรตหิ นองเบน
3. ธนาคารเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.) สาขายอ่ ยหนองเบน
4. ธนาคารออมสนิ สาขาย่อยหนองเบน
5. สถานีตารวจภูธรตาบลหนองเบน
6. สถานตี ารวจทางหลวงตาบลหนองเบน
7. องค์การบริหารสว่ นตาบลหนองกระโดน
8. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลหนองกรด
9. วดั ศรอี ุทมุ พร
10. วัดศรปี ระชาสรรค์
11. วดั หนองกระโดน
12. ร้านแม่กหุ ลาบ
13. วดั ใหมบ่ วรประชาราษฎร์

2) สถำนศึกษำในเขตพน้ื ท่บี ริกำรโรงเรยี น

โรงเรียนในเขตบริกำรของโรงเรยี นพระบำงวิทยำ

ตาบลหนองกระโดน ตาบลหนองกรด

หมู่ 1 ร.ร.บ้านพรหมเขต, หมู่ 4 -
ร.ร.วัดสมานประชาชน
หมู่ 6 ร.ร.วัดดอนใหญ่
หมู่ 2 ร.ร.วดั เนินมะขามงาม หมู่ 11 ร.ร.วดั สวรรคป์ ระชากร
หมู่ 3 ร.ร.วัดเขามโน หมู่ 12 ร.ร.วดั หนองเขนง
หมู่ 8 ร.ร.วดั ศรีอัมพวัลย์ หมู่ 13 ร.ร.บา้ นสามัคคธี รรม
หมู่ 10 ร.ร.วัดบรริ ักษ์ประชาสาร หมู่ 14 -
หมู่ 12 ร.ร.วดั ศรพี ูลราษฎรส์ ามัคคี หมู่ 15 ร.ร.บ้านสวุ รรณประชาพฒั นา
หมู่ 15 ร.ร.วดั ศรปี ระชาสรรค์ หมู่ 17 ร.ร.วัดหนองโรง
หมู่ 16 ร.ร.วัดวงั สวัสดี

แผนปฏบิ ัติการโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 20



3) กำรใช้ประโยชนข์ องโรงเรียนพระบำงวทิ ยำต่อชุมชนและศนู ย์เครือข่ำยหนองกรดเก้ำภวิ ัตต์
- เปน็ ศูนยเ์ ครอื ขา่ ย หนองกระโดนสามคั คี จดั กิจกรรม /การประชมุ ของโรงเรยี นภายใน

เครอื ข่าย
- เป็นสถานทจ่ี ดั อบรมสัมมนาบุคลากรภายในเครือข่าย และ ให้บริการกบั บุคคลภายนอก

ทว่ั ไป เชน่ การใหบ้ รกิ ารหอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอรใ์ นการอบรมบุคลากร นักเรยี น ภายใน
เครือข่าย และให้บริการแก่ สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์ อบรมบุคลากรครใู น
เขตพ้ืนทด่ี ว้ ย

- ให้บรกิ ารแก่โรงเรียนในเครือขา่ ย ชุมชน ทัง้ ด้านบุคคล สถานทแี่ ละวัสดุอุปกรณ์ เช่น จดั
งานกฬี าชมุ ชน โต๊ะเกา้ อ้ี และอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์ตา่ ง ๆ

สภำพทว่ั ไปของชุมชน

โรงเรียนพระบางวทิ ยา ตั้งอยู่ในเขตองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลหนองกระโดน อาเภอเมือง
จังหวดั นครสวรรค์ มสี ภาพทวั่ ไปดังนี้

ลักษณะทต่ี ้ังองค์กำรบรหิ ำรส่วนตำบลหนองกระโดน

ชุมชนองค์การบริหารส่วนตาบลหนองกระโ ดนเป็นชุมชนเมืองขนาด กล าง
กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตาบล เม่ือปี พ.ศ. 2539 ตามประกาศ
ราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 111 ตอนที่ 53 ก ลงวันที่ 2 ธันวาคม 2537 และโดยผลของการ
ประกาศใช้พระราชบัญญัติเปล่ียนแปลงสภาตาบลเป็นองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ 2537 ได้ยก
ฐานะสภาตาบลหนองกระโดน เป็นองค์การบริหารส่วนตาบลหนองกระโดนเมื่อวันที่ 1 มกราคม
2539

ที่ตั้ง อาณาเขต เขตการปกครอง องค์การบริหารส่วนตาบลหนองกระโดน อยู่ในเขต
การปกครองของอาเภอเมืองนครสวรรค์ ตัง้ อยรู่ มิ ถนนทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน
) ท้ังสองฝ่ัง บริเวณหลักกิโลเมตรท่ี 253.219 ถึงหลักกิโลเมตรที่ 264.300 อยู่ทิศเหนือห่างจาก
ที่ว่าการอาเภอเมืองนครสวรรค์ประมาณ 23 กิโลเมตร และมีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานคร
ประมาณ 260 กิโลเมตร องค์การบริหารส่วนตาบลหนองกระโดนมีเขตพื้นท่ีการปกครองซึ่งวัดจาก
เส้นขอบเขตตาบลตามราชกิจจานุเบกษา ท้ังส้ิน 122.43 ตารางกิโลเมตรหรือ 76,518 ไร่

แผนปฏิบัติการโรงเรียนพระบางวิทยา ปีการศึกษา 2565 หนา้ 21



ประกอบด้วยหมู่บ้านจานวน 16 หมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 16.36 ของพื้นท่ีอาเภอเมืองนครสวรรค์ มี
อาณาเขตติดต่อดังนี้

ทิศเหนอื ตดิ ต่อกับ ตาบลอ่างทอง ตาบลหูกวาง อาเภอบรรพตพิสัย
ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กบั ตาบลหนองกรดอาเภอเมอื งนครสวรรค์
ทิศตะวันออก ติดตอ่ กับ ตาบลบ้านแกง่ อาเภอเมอื งฯ ตาบลเขาดนิ อาเภอเกา้ เล้ยี ว
ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ กบั ตาบลเนนิ ขีเ้ หลก็ และตาบลหนองนมววั อาเภอลาดยาว

กำรคมนำคม / กำรจรำจร

การคมนาคมขนสง่ ในเขตตาบลและพื้นที่ใกลเ้ คียงทาได้อย่างสะดวกมเี สน้ ทางเชื่อมตอ่
และเสน้ ทางตดั ผา่ นไดห้ ลายทาง ทางสายหลกั ของชมุ ชนคือ ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 1 (ถนน
พหลโยธิน ) ซึง่ ผ่านกลางชมุ ชน และแบง่ ชุมชนออกเปน็ สองฝง่ั และมีทางคู่ขนานกบั ถนนพหลโยธิน
เปน็ ถนนภายในชมุ ชนอีกสองสาย โดยทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 1 เปน็ ถนนทีม่ เี ขตทาง 70 เมตร
ผวิ จราจรราดยาง ความยาวท่ผี ่านชุมชนองค์การบริหารส่วนตาบลหนองกระโดน ประมาณ 9.39
กิโลเมตร

แม่นำ้ /คลอง ทใี่ ชเ้ ป็นทำงสญั จรทำงนำ้

ในเขตตาบลหนองกระโดนไม่มแี มน่ า้ หรอื ลาคลองทใ่ี ช้เปน็ ทางสัญจรทางน้า มีเพียงลา
เหมือง และลาคลองสาธารณะ ขนาดกวา้ งประมาณ 3-10 เมตร ใชป้ ระโยชน์ด้านการระบายน้า และ
การเกษตรการจัดการขนส่งมวลชน การจดั การขนส่งมวลชนของชมุ ชนตาบล ทาไดเ้ พียงการขนสง่
ทางบกโดยรถยนต์ แต่สามารถทาไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเรว็ เน่อื งจากมที างหลวงแผ่นดินหมายเลข 1
(ถนนพหลโยธิน) และทางหลวงจังหวดั หมายเลข 1072 (หนองเบน-ลาดยาว) ผ่านกลางชมุ ชน

กำรประปำ

การบริการทางดา้ นการประปาในเขตองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลหนองกระโดนอยู่ในความ
รับผดิ ชอบของการประปานครสวรรคอ์ อก (การประปาส่วนภูมิภาค) เปน็ บางสว่ น( หมทู่ ี่ 15 ) สว่ นที่
เหลอื องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลหนองกระโดนได้ดาเนินการกอ่ สร้างเอง โดยไดข้ องบประมาณจาก

แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรียนพระบางวิทยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 22



หน่วยงานอ่ืนๆ อีกประมาณ 13 แห่งในหมู่ที่ 1,2,3,4,5,6,7,9,10,11,12,13,14 และจาหน่ายน้า
ใหบ้ ริการแก่ประชาชนทวั่ ไป

กำรส่ือสำร

กำรไปรษณีย์โทรเลข ในเขตองค์การบรหิ ารส่วนตาบลหนองกระโดน อยตู่ ดิ กบั เขต
เทศบาลหนองเบนซึ่งมีทท่ี าการไปรษณยี ์ของการส่ือสารแห่งประเทศไทยให้บรกิ าร จานวน 1 แหง่

ระบบเสียงตำมสำย/หอกระจำยข่ำว ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลหนองกระโดน ยัง
ไม่ได้ดาเนนิ การติดตัง้ ระบบเสียงตามสายการให้บริการข่าวสารแก่ประชาชน กระทาโดยผา่ นหอ
กระจายข่าวประจาหมู่บ้านแต่ละหมบู่ ้าน ให้บรกิ ารครอบคลุมพน้ื ท่ีทง้ั หมด

เทศบำลตำบลหนองเบน

ชมุ ชนเทศบำลตำบลหนองเบนเป็นชุมชนเมืองขนำดเล็ก กระทรวงมหำดไทยได้ประกำศ
จัดตั้งเป็นสุขำภิบำลเม่ือปี พ.ศ. 2499 ตำมประกำศรำชกิจจำนุเบกษำ เล่มที่ 73 ตอนที่ 99 ลง
วันท่ี 28 พฤศจิกำยน 2499 และโดยผลของกำรประกำศใช้พระรำชบัญญัติเปลยี่ นแปลงฐำนะของ
สุขำภิบำลเป็นเทศบำล พ.ศ.2542 ได้ยกฐำนะสุขำภิบำลหนองเบนเป็นเทศบำลตำบลหนองเบน
พ.ศ. 2542 เมอื่ วนั ท่ี 25 พฤษภำคม 2542

ชมุ ชนเทศบาลตาบลหนองเบน อยใู่ นเขตปกครองของอาเภอเมืองนครสวรรค์ ตัง้ อยู่รมิ
ถนนทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ทงั้ สองฝั่ง บริเวณหลกั กิโลเมตรท่ี 253.219 ถงึ
หลักกโิ ลเมตรที่ 254.750 อยทู่ างทิศเหนือห่างจากท่ีว่าการอาเภอเมืองนครสวรรค์ ประมาณ 18
กโิ ลเมตร และมีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 255 กิโลเมตร เทศบาลตาบลหนองเบน
มเี ขตพน้ื ท่ีการปกครองซ่ึงวดั จากเส้นขอบเขตสุขาภิบาลตามราชกิจจานุเบกษา ท้งั สนิ้ 1.12 ตาราง
กิโลเมตร หรือ 700 ไร่ ประกอบด้วยพืน้ ทบ่ี างส่วนของหมู่ท่ี 7 ตาบลหนองกรด และพืน้ ที่บางส่วน
ของหมู่ที่ 15 ตาบลหนองกระโดน มีอาณาเขตตดิ ต่อดังนี้

ทิศเหนือ ตดิ ต่อกับองค์การบริหารส่วนตาบลหนองกระโดน
ทศิ ใต้ ติดตอ่ กับองค์การบริหารส่วนตาบลหนองกรด
ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกบั องค์การบรหิ ารส่วนตาบลหนองกรด
ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกับองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลหนองกระโดน

แผนปฏิบัตกิ ารโรงเรียนพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 23



ลักษณะพ้ืนทขี่ องเทศบาลตาบลหนองเบน เป็นที่ราบบรเิ วณท่ีราบลุ่มแมน่ ้าเจ้าพระยา ท้งั น้ี
เน่ืองจากน้าได้ไหลจากทิศตะวันตกลงมาทางทิศตะวันออก ผ่านพ้ืนท่ีของเทศบาลลงสู่แม่น้า
เจา้ พระยา พน้ื ทีบ่ รเิ วณนี้มีความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลางประมาณ 15 - 50 เมตร ไมม่ พี ้ืนที่ป่า
ไม้ไม่มีลาคลอง หรือแหล่งน้าตามธรรมชาติขนาดใหญ่ที่ใช้ประโยชน์ได้อย่างชัดเจน การตั้งบ้านเรือน
จะหนาแนน่ บรเิ วณทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 1 (ถนนพหลโยธนิ ) ซ่งึ เป็นย่านการคา้ ของชุมชน

สภำพภมู ิอำกำศ

ลกั ษณะภมู ิอากาศโดยท่ัวไปของพ้ืนทเ่ี ขตเทศบาลตาบลหนองเบน เป็นแบบร้อนชนื้ แบบสะ
วันนา คือมีช่วงฤดูฝน และฤดูแล้ง เห็นเด่นชัด โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
อากาศแห้งแล้ง และบางระยะมอี ากาศเย็น ในรอบปีประกอบด้วย 3 ฤดู คือ ฤดฝู น ฤดูหนาว ฤดูร้อน
อุณหภูมิสูงสุดประมาณ 36.23 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่าสุดประมาณ 19.82 องศาเซลเซียส และ
อุณหภูมิโดยเฉลี่ยในรอบปีประมาณ 28.3 องศาเซลเซียส ปริมาณฝนตกโดยเฉล่ียอยู่ระหว่าง 60-80
วันต่อปี ปริมาณน้าฝนโดยเฉล่ียตลอดปี ประมาณ 1,258.10 มิลลิเมตร ความชื้น-สัมพัทธ์เฉล่ีย
ประมาณร้อยละ 75.10
สภำพเศรษฐกจิ และสังคมโดยภำพรวม

สภาพโดยทั่วไปของเทศบาลตาบลหนองเบนเป็นชุมชนขนาดเล็กที่อยู่ติดกับเส้น -ทาง
คมนาคมสายสาคัญ สภาพเศรษฐกิจโดยรวมอยู่ในลักษณะเป็นตลาดผลผลิตทางการเกษตรในระดับ
ท้องถิ่น และตลาดจาหน่ายสินค้าอาหารที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตประจาวัน สภาพทางสังคมความ
เป็นอยู่ของชุมชนได้รับอิทธิพลจากเขตเมืองนครสวรรค์ เนื่องจากตาแหน่งท่ีตั้งใกล้เคียงกัน ชุมชนมี
ความเข้มแข็งมีปญั หาทางสังคมบ้าง โดยเฉพาะปญั หายาเสพติด เนอ่ื งจากเปน็ เมอื งผ่านจากภาคเหนือ
สู่ภาคกลาง การตั้งบ้านเรือนในชุมชนจะหนาแน่นบรเิ วณริมถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนน
พหลโยธนิ ) ท้งั สองฝ่ังซ่ึงเป็นยา่ นการคา้ ของชุมชน

กำรคมนำคม/ขนสง่

การคมนาคมขนส่งในเขตตาบลและพน้ื ทใี่ กล้เคียงทาได้อย่างสะดวกมีเส้นทางเชื่อมต่อ และ
เส้นทางตัดผ่านได้หลายทาง ทางสายหลักของชุมชนคือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนน
พหลโยธิน) ซ่ึงผ่านกลางชุมชน และแบ่งชุมชนออกเป็นสองฝ่ัง และมีทางคู่ขนานกับถนนพหลโยธิน

แผนปฏบิ ัติการโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 24



เปน็ ถนนภายในชุมชนอีกสองสาย โดยทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 1 เปน็ ถนนทม่ี ีเขตทาง 70 เมตร
ผิวจราจรราดยาง ความยาวท่ีผ่านชุมชนองค์การบริหารส่วนตาบลหนองกระโดน ประมาณ 9.39
กิโลเมตร

อำณำเขตชมุ ชนเทศบำลตำบลหนองเบน

ชุมชนเทศบาลตาบลหนองเบนเป็นชุมชนเมืองขนาดเล็ก กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศ
จัดตั้งเป็นสุขาภิบาลเมื่อปี พ.ศ. 2499 ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 73 ตอนท่ี 99 ลงวันที่
28 พฤศจิกายน 2499 และโดยผลของการประกาศใช้พระราชบัญญัติเปล่ียนแปลงฐานะของ
สุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ.2542 ได้ยกฐานะสุขาภิบาลหนองเบนเป็นเทศบาลตาบลหนองเบน พ.ศ.
2542 เม่ือวันที่ 25 พฤษภาคม 2542 อยู่ในเขตปกครองของอาเภอเมืองนครสวรรค์ ต้ังอยู่รมิ ถนนทาง
หลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ท้ังสองฝั่ง บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 253.219 ถึงหลัก
กโิ ลเมตรท่ี 254.750 อยูท่ างทิศเหนือห่างจากทว่ี า่ การอาเภอเมืองนครสวรรค์ ประมาณ 18 กิโลเมตร
และมรี ะยะทางห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 255 กโิ ลเมตร เทศบาลตาบลหนองเบนมีเขตพื้นท่ี
การปกครองซ่งึ วดั จากเสน้ ขอบเขตสขุ าภิบาลตามราชกิจจานเุ บกษา ทัง้ สนิ้ 1.12 ตารางกโิ ลเมตร หรอื
700 ไร่ มอี าณาเขตตดิ ตอ่ ดงั น้ี

ทศิ เหนือ ติดต่อกบั องคก์ ำรบริหำรส่วนตำบลหนองกระโดน
ทิศใต้ ตดิ ต่อกับองค์กำรบรหิ ำรสว่ นตำบลหนองกรด
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กับองคก์ ำรบริหำรสว่ นตำบลหนองกรด
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั องค์กำรบริหำรส่วนตำบลหนองกระโดน

แผนปฏิบัตกิ ารโรงเรยี นพระบางวิทยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 25



แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 26



นโยบำยสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พ้นื ฐำน
ปงี บประมำณ พ.ศ. 2565

1. ทิศทำงและนโยบำยคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพืน้ ฐำน

รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ไดบ้ ญั ญตั ไิ ว้ในมาตรา 54 วา่ “รัฐต้อง
ดาเนินการใหเ้ ด็กทุกคนได้รับการศกึ ษาเป็นเวลาสบิ สองปี ต้ังแต่ก่อนวัยเรยี นจนจบการศึกษาภาค
บงั คับอย่างมคี ุณภาพโดยไม่เก็บคา่ ใช้จา่ ย” และคาสั่งหวั หน้าคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ ที่
28/2559 เร่อื ง ใหจ้ ัดการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 15 ปี โดยไมเ่ ก็บคา่ ใช้จ่าย ได้มีคาส่งั ไว้ในขอ้ 3 ว่า “ให้
สว่ นราชการทีเ่ ก่ียวข้องกับการจัดการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานดาเนินการจัดการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน 15 ปี ให้มี
มาตรฐานและคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใชจ้ ่าย”

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานไดต้ ระหนกั ถึงภารกจิ ที่สาคัญในการพัฒนา
ประชากรของชาตใิ ห้เป็น “คนไทยในอนาคตจะต้องมีความพรอ้ มทั้งกาย ใจ สติปญั ญา มีพฒั นาการที่
ดีรอบดา้ นและมสี ขุ ภาวะที่ดใี นทุกชว่ งวัย มีจติ สาธารณะ รับผดิ ชอบตอ่ สังคมและผู้อ่ืน มัธยสั ถ์ อด
ออม โอบอ้อมอารี มีวินยั รกั ษาศีลธรรม และเปน็ พลเมืองดขี องชาติ มหี ลักคิดท่ีถูกต้อง มีทักษะที่
จาเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสอื่ สารภาษาองั กฤษและภาษาที่ 3 และอนุรักษภ์ าษาท้องถิน่ มนี ิสัย
รกั การเรียนรู้และการพฒั นาตนเองอย่างต่อเนอื่ งตลอดชวี ิต สู่การเปน็ คนไทย ทมี่ ีทกั ษะสูง เปน็
นวัตกร นักคิด ผปู้ ระกอบการ เกษตรกรยุคใหมแ่ ละอืน่ ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนดั ของตนเอง”
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 โดยได้ทาการศกึ ษา
วเิ คราะห์ นโยบายการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ของรัฐบาลจากยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) ซง่ึ
จะตอ้ งนาไปสู่การปฏิบตั เิ พ่ือใหป้ ระเทศไทยบรรลุวิสยั ทัศน์ “ประเทศไทย มีความมนั่ คง มง่ั คัง่ ยง่ั ยืน
เปน็ ประเทศพฒั นาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน จงึ ไดก้ าหนดนโยบายสานกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เพ่ือเปน็ การเตรียมความพร้อมทจ่ี ะเขา้ สู่ยุคของการ
เปลยี่ นแปลงการจัดการศกึ ษาของประเทศครั้งสาคญั ท่ีจะพัฒนาประชากรในวัยเรยี นทุกคนและทุก
กลุม่ เปา้ หมาย ซึ่งหมายรวมถึง กลมุ่ ผ้เู รียนทม่ี ีความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ กลมุ่ ชาติพันธ์ุ กลมุ่
ผดู้ ้อยโอกาส และกลุ่มทีอ่ ยใู่ นพ้นื ท่ีห่างไกลทุรกันดาร ใหม้ ีความพร้อมท้งั กาย ใจ สติปัญญา มสี ขุ
ภาวะที่ดใี นทุกช่วงวยั มีจิตสาธารณะ รบั ผดิ ชอบต่อสังคมและผ้อู ่ืน มธั ยสั ถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มี
วินยั รักษาศีลธรรม และเปน็ พลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกทด่ี ีมหี ลักคิดทถ่ี กู ต้อง มที กั ษะท่ี

แผนปฏบิ ัติการโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 27



จาเป็นในศตวรรษท่ี 21 มที กั ษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และอนรุ ักษภ์ าษาท้องถนิ่ มีนสิ ัย

รักการเรยี นรแู้ ละการพฒั นาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวติ สู่การเปน็ คนไทยและพลโลกทมี่ ีทักษะ

การคดิ ข้ันสูง เป็นนวตั กร นักคดิ ผ้ปู ระกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของ

ตนเอง โดยได้กาหนดนโยบาย วิสัยทศั น์ พันธกิจ กลยทุ ธ์ เป้าประสงค์ และแนวทางในการดาเนินการ

ดังนี้

ก. วิสัยทัศน์ (Vision)
สร้างคณุ ภาพทุนมนุษย์ สสู่ ังคมอนาคตท่ียง่ั ยืน

ข. พันธกิจ (Mission)

1. จดั การศึกษาเพ่ือเสรมิ สรา้ งความมั่นคงของสถาบนั หลกั ของชาติและการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ
2. พัฒนาศักยภาพผู้เรียนเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันโดยพัฒนาคุณภาพ

ผู้เรียนใหม้ ีความรู้ ทักษะวิชาการ ทกั ษะชวี ิต ทกั ษะวิชาชีพ คณุ ลักษณะในศตวรรษ
ท่ี 21
3. ส่งเสรมิ การพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใหเ้ ป็นมืออาชพี
4. สร้างโอกาส ความเสมอภาคลดความเหลื่อมล้า ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทาง
การศกึ ษาอย่างทั่วถึงและเท่าเทยี ม
5. ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ยึดหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และเป้าหมายโลกเพอื่ การพฒั นาทยี่ งั่ ยนื (SDGs)
6. พัฒนาระบบบริหารจัดการแบบบูรณาการ และส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมใน
การจดั การศกึ ษา
ค. เปำ้ หมำย (Goals)
1. ผู้เรียน เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดริเร่ิมและสร้างสรรค์นวัตกรรม มีความรู้ มี
ทักษะและคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวัย มี
ความสามารถในการพ่ึงพาตนเอง และปรับตัวตอ่ เป็นพลเมอื งและพลโลกที่ดี
2. ผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ กลุ่มชาติพันธ์ุ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มท่ีอยู่ใน
พ้ืนที่ห่างไกลทุรกันดารได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพ พร้อม
กา้ วสู่สากล ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3. ครู เป็นผู้เรียนรู้ มีจิตวิญญาณความเป็นครู มีความแม่นยาทางวิชาการ และมีทักษะ
การจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลายตอบสนองผู้เรียนเป็นรายบุคคล เป็นผู้สร้างสรรค์
นวตั กรรม และทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยี

แผนปฏบิ ตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวิทยา ปีการศึกษา 2565 หนา้ 28



4. ผู้บริหารสถานศึกษา มีความเป็นเลิศส่วนบุคคล คิดเชิงกลยุทธ์และนวัตกรรม มี
ภาวะผู้นาทางวิชาการ มีสานึกความรับผิดชอบ (Accountability) และการบริหาร
แบบร่วมมือสถานศึกษา มีความเป็นอิสระในการบริหารงานและจัดการเรียนรู้
ร่วมมือกับชุมชน ภาคเอกชน และผู้เก่ียวข้องในการจัดการศึกษาระดับพื้นที่ จัด
สภาพแวดล้อมในโรงเรียนเพือ่ การเรยี นรู้ในทกุ มติ ิ เปน็ โรงเรยี นนวัตกรรม

5. สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา มกี ารบริหารงานเชงิ บูรณาการ เปน็ สานักงานแห่ง
นวัตกรรมยุคใหม่ ใช้ข้อมูลสารสนเทศและการวิจัยและพัฒนาในการขับเคลื่อน

คณุ ภาพ กากบั ตดิ ตามประเมินและรายงานผลอย่างเป็นระบบ
6. สานักงานส่วนกลาง ปรบั เปลี่ยนวฒั นธรรมการทางาน โดย กระจายอานาจการ

บริหารงานและการจัดการศกึ ษาให้สถานศึกษา บริหารเชงิ บรู ณาการ มีระบบขอ้ มูล
สารสนเทศท่ีมีประสิทธิภาพ กากับ ติดตาม ประเมินผล และการรายงานผลอย่าง
เป็น ระบบ ใชว้ ิจยั และนวัตกรรมในการขับเคลอ่ื นคุณภาพ
ง. นโยบำย สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพ้นื ฐำน (Policy)
นโยบายที่ 1 จดั การศึกษาเพ่ือความมัน่ คง
นโยบายท่ี 2 พฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น
นโยบายท่ี 3 พฒั นาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา
นโยบายที่ 4 สร้างโอกาสในการเขา้ ถึงบรกิ ารการศึกษาท่ีมคี ุณภาพ มมี าตรฐาน

และลดความเหล่อื มล้าทางการศกึ ษา
นโยบายท่ี 5 เพิ่มประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การ

จ. กลยุทธเ์ ชงิ นโยบำย
นโยบำยท่ี 1 จัดกำรศกึ ษำเพ่อื ควำมมั่นคง

เปำ้ ประสงค์
1. ผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพ้ืนท่ีพิเศษ

เฉพาะ ได้รับการบรกิ ารการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีมีคุณภาพเหมาะสมกับสังคมพหุ
วัฒนธรรม
2. เสริมสร้างคุณภาพประชากรวัยเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มท่ีด้อยโอกาส และกลุ่ม
ท่ีอยู่ในพื้นท่ีห่างไกลสูงในถ่ินทุรกันดาร อาทิ พื้นท่ีสูง ชายแดน ชายฝ่ังทะเล
และเกาะแก่ง เพอ่ื สรา้ งความมัง่ คงของประเทศในระยะยาว

แผนปฏิบัตกิ ารโรงเรยี นพระบางวิทยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 29



ประเดน็ กลยทุ ธ์
2.1 พฒั นาการศกึ ษาของสถานศึกษาในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวดั
ชายแดนภาคใต้
ตัวช้ีวดั
(1) ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นสูงข้นึ
(2) ร้อยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด
ชายแดนภาคใต้จัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนโดยการบูรณาการ
หลกั สตู รให้สอดคล้องกับสงั คม วฒั นธรรม และภาษาของท้องถนิ่
(3) ผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับ
บริการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานท่มี คี ณุ ภาพ
แนวทำงกำรดำเนินกำร
ดาเนินการตามยทุ ธศาสตรก์ ารศึกษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จงั หวัด
ชายแดนภาคใต้ (พ.ศ. 2560 - 2579) ของกระทรวงศึกษาธิการ 6 ยทุ ธศาสตร์
ได้แก่
(1) การศึกษาเพอื่ เสริมสร้างความมัน่ คง
(2) การผลติ และพฒั นากาลังคนใหม้ ีสมรรถนะในการแขง่ ขัน
(3) การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการ
เรยี นรู้
(4) การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกนั ทางการศึกษา
(5) การศกึ ษาเพอื่ เสริมสรา้ งคุณภาพชวี ติ ทเี่ ป็นมติ รกับสิง่ แวดล้อม
(6) การพฒั นาระบบการบริหารจดั การศึกษา

ท้งั น้ดี าเนินการในลักษณะบรู ณาการรว่ มกนั ของหนว่ ยงานกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

และหน่วยงานท่เี กยี่ วข้องในพ้ืนทจี่ ังหวัดชายแดนภาคใต้

2.2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนในเขตพ้ืนท่ีเฉพาะ กลุ่มชาติพันธ์ุ กลุ่มท่ีด้อย
โอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพื้นท่ีห่างไกลทุรกันดาร เช่น พ้ืนที่สูง ชายแดน
ชายฝั่งทะเล และเกาะแก่ง ได้รับการบริการด้านการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ที่มี
คณุ ภาพ และเหมาะสมตรงตามความตอ้ งการ
2.2.1 ตัวชี้วดั
(1) จานวนผู้เรียนบา้ นไกลไดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษาจากการไดเ้ ข้า
พัก

แผนปฏบิ ตั ิการโรงเรียนพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 30



ในโรงเรียนทีม่ หี อพกั นอน หรือการสนับสนนุ การเดินทางจาก
บ้านถงึ โรงเรยี นอยา่ งปลอดภัย
(2) จานวนโรงเรียนได้รับการสนบั สนุนงบประมาณเพ่ือใช้ในการ
ประกอบอาหาร การพัฒนาทักษะชวี ิต และการพัฒนาสภาพ
หอพักนอนให้มคี ุณภาพทดี่ ี อย่างเหมาะสม
(3) จานวนผู้เรียนไดร้ ับการพฒั นาคุณภาพทั้งด้านทักษะวชิ าการ
ทกั ษะชีวิต และทักษะอาชีพ ที่เหมาะสมกับบริบท
(4) จานวนผบู้ รหิ าร ครู ในสถานศึกษา/หอ้ งเรียนสาขา และที่ดูแล
หอพักนอน ที่มนี ักเรียนกลุ่มชาตพิ นั ธุ์ กลุ่มทด่ี ้อยโอกาส กลุ่มที่
อยใู่ นพืน้ ทหี่ ่างไกลทุรกนั ดาร ได้รับการพฒั นาและสวัสดกิ ารท่ี
เหมาะสมกับบรบิ ท
(5) จานวนผู้เรียนกล่มุ ชาตพิ ันธ์ุ กลุม่ ทีด่ อ้ ยโอกาส และกลุ่มท่ีอยู่ใน
พืน้ ท่หี ่างไกลทุรกันดาร ไดร้ บั การสง่ เสรมิ การเรียนรู้ที่มคี ุณภาพ
และเกิดจติ สานึกรักในสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
(6) การบริหารจัดการศึกษาในโรงเรยี นทม่ี ผี ้เู รียนกลมุ่ ชาติพนั ธุ์ กลุม่
ท่ดี อ้ ยโอกาส และกลุม่ ที่อยใู่ นพนื้ ทห่ี า่ งไกลทุรกนั ดาร ได้รับการ
ปรับปรุงและมรี ูปแบบท่ีมีประสทิ ธิภาพ
(7) ผู้เรียนกลมุ่ ชาตพิ ันธุ์ กลุ่มทดี่ ้อยโอกาส และกลมุ่ ทีอ่ ยู่ในพื้นท่ี
ห่างไกลทรุ กันดาร มผี ลสัมฤทธ์สิ ูงข้ึน
2.2.2 แนวทำงกำรดำเนนิ กำร
(1) สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ในพนื้ ทส่ี งู ในถ่นิ ทรุ กนั ดาร ชายแดน ชายฝั่ง ทะเล และเกาะแก่ง
ตามความจาเปน็ และ เหมาะสมกบั บรบิ ท
(2) สนับสนนุ งบประมาณในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ทดี่ ูแลหอพกั นอนตามความจาเปน็ และเหมาะสมกับบริบท
(3) จดั สรรงบประมาณเพิ่มเติมให้โรงเรยี นในกลมุ่ โรงเรียนพ้นื ท่ีสูงใน
ถน่ิ ทุรกนั ดาร ชายแดน ชายฝั่งทะเล และเกาะแก่ง ให้จัดการ
เรยี นรู้ทม่ี ีคณุ ภาพ และเกิดจิตสานึกรักในสถาบนั ชาติ ศาสนา
พระมหากษัตรยิ ์
(4) สร้างเวทีการแลกเปล่ียนเรยี นรใู้ นประเดน็ “การพัฒนาการจัด
การศกึ ษา

แผนปฏบิ ตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 31



ที่เหมาะสมกับสภาพบริบทของพนื้ ท่สี ูงใน ถิ่นทรุ กนั ดาร ชายแดน
ชายฝงั่ ทะเลและ เกาะแก่ง ควรทาอย่างไร” ผา่ นชอ่ งทาง จดั เวที
เสวนา การแสดงนิทรรศการ การติดตอ่ ส่ือสารผา่ นช่องทางออนไลน์
ตา่ ง ๆ เช่น การสรา้ ง Website Facebook และ Line เป็นต้น
(5) พัฒนารูปแบบและวิธีการจัดการเรยี นรู้ ส่ือการเรียนรู้ และการ
วัดและประเมนิ ผลท่ีเหมาะสมสาหรบั การพฒั นาศกั ยภาพสูงสุด
ผเู้ รยี นกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ กลุ่มท่ีด้อยโอกาส และกลุม่ ทอี่ ยู่ในพ้ืนท่ี
หา่ งไกลทุรกันดาร
(6) พฒั นาครใู ห้มีทกั ษะการสอนภาษาไทยสาหรับเด็กทใี่ ชภ้ าษาไทย
เป็นภาษาที่ 2
(7) สง่ เสริมการจดั การเรยี นรูโ้ ดยใช้ชุมชนเปน็ ฐาน ในการพัฒนา
ทักษะวชิ าการ ทักษะชีวติ ทักษะอาชีพ และภาษาท่ี 3 ที่
สอดคลอ้ งและเหมาะสมกับสังคมพหุวฒั นธรรม
นโยบำยที่ 2 พฒั นำคุณภำพผเู้ รยี น

1. เป้ำประสงค์
ผ้เู รียนทุกคนมีความรักในสถาบนั หลกั ของชาติ และยดึ มัน่ การปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ มีทศั นคติท่ีถูกต้องต่อบา้ นเมือง
มีหลักคิดที่ถกู ต้อง และเปน็ พลเมอื งดีของชาติ และการพลเมืองโลกที่ดี (Global
Citizen)
(1) ผ้เู รียนทุกคนมีคณุ ธรรม จริยธรรม มคี ่านยิ มท่ีพงึ ประสงค์ มีจิตสาธารณะ
รบั ผิดชอบต่อสังคมและผู้อน่ื มธั ยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวนิ ัย รักษา
ศลี ธรรม
(2) ผูเ้ รียนทุกคนไดร้ ับการพฒั นาและสรา้ งเสริมศักยภาพในแต่ละช่วงวัยอย่างมีคุณภาพมี
ทักษะท่จี าเปน็ ในศตวรรษที่ 21 มคี วามเป็นเลศิ ทางดา้ นวชิ าการ มีทักษะส่ือสาร
ภาษาอังกฤษและภาษาท่ี 3 มนี ิสัยรักการเรียนรู้และการพฒั นาตนเองอยา่ ง
ต่อเน่อื งตลอดชวี ิต และมีทักษะอาชีพตามความต้องการและความถนัด
(3) ผูเ้ รยี นทม่ี คี วามต้องการจาเป็นพิเศษ มีพัฒนาการตามศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล
ทงั้ ในดา้ นท่ีมพี ัฒนาการปกตแิ ละดา้ นทม่ี ีความบกพร่องหรือความแตกตา่ งทางการ
เรียนรู้ หรือความสามารถพเิ ศษ ตามทร่ี ะบุไว้ในแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล
หรอื แผนการใหบ้ รกิ ารช่วยเหลอื เฉพาะครอบครัว ซึง่ จัดทาขึ้นบนพน้ื ฐานความ
ตอ้ งการจาเป็นเฉพาะของผู้เรยี น

แผนปฏบิ ตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 32



(4) ผเู้ รียนทมี่ คี วามต้องการจาเป็นพเิ ศษ มคี วามพร้อมสามารถเข้าสบู่ ริการช่วง
เชอ่ื มต่อ(Transitional Services) หรือการส่งต่อ (Referral) เขา้ สู่การศึกษาใน
ระดบั เดียวกันและทสี่ ูงขน้ึ หรอื การอาชพี หรือการดาเนนิ ชวี ิตในสงั คมไดต้ าม
ศักยภาพของแต่ละบุคคล

(5) ผูเ้ รยี นทกุ คนมีทกั ษะชีวติ มสี ุขภาวะท่ีเหมาะสมตามวยั มคี วามเข้มแข็ง อดทน
และสามารถพึง่ ตนเองไดใ้ นสังคมอนาคตท่ีซบั ซอ้ นและการป้องกนั ตนเองจากภัย
คุกคามรปู แบบใหม่ สามารถปอ้ งกันตนเองจากปญั หายาเสพตดิ ได้

2. ประเด็นกลยุทธ์
2.1 ปรับปรงุ และพัฒนาหลกั สูตรทุกระดับการศึกษา ใหเ้ อื้อต่อการพัฒนา
สมรรถนะผ้เู รยี นเปน็ รายบุคคล มที ักษะที่จาเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 นาไปส่กู าร
จดั การศึกษาเพ่ือการมีงานทา (Career Education)
2.1.1 ตัวชี้วดั
(1) ร้อยละของสถานศึกษาพัฒนาหลักสตู รการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ให้
สอดคลอ้ งกบั ทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นการพัฒนา
สมรรถนะผ้เู รยี นเป็นรายบุคคล เพอื่ ส่งเสริมให้ผูเ้ รยี นมหี ลักคิดท่ี
ถูกต้อง รกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ และยึดม่นั การปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ เป็นพลเมืองดี
ของชาติ และพลเมืองโลกท่ีดี มีความเปน็ เลิศทางด้านวชิ าการ มี
ทกั ษะชีวติ และทักษะอาชีพตามความต้องการ และมีทักษะในการ
ปอ้ งกนั ตนเองจากภยั คกุ คามรปู แบบใหม่
(2) รอ้ ยละของสถานศึกษาที่มกี ารพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาให้
สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผ้เู รียนและพน้ื ที่
2.2.2 แนวทำงกำรดำเนินกำร
(1) พัฒนาหลักสูตรระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ให้สอดคล้องกับทกั ษะ
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนเปน็
รายบุคคล เพื่อส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นมีหลักคิดท่ีถูกต้อง รักในสถาบันหลัก
ของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข และเปน็ พลเมืองดีของชาติ และ
พลเมืองโลกทีดี มีความเป็นเลิศทางด้านวชิ าการ มที ักษะชีวิตและ
ทักษะอาชีพตามความต้องการได้ และมีทักษะชวี ิตในการป้องกนั
ตนเองจากภยั คุกคามรูปแบบใหม่

แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรียนพระบางวิทยา ปีการศึกษา 2565 หนา้ 33



(2) ปรบั ปรุงหลักสูตรปฐมวยั เพ่ือให้เดก็ ไดร้ ับการพัฒนา ทั้ง 4 ด้าน
สอดคล้องกับทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21

(3) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษาและ
ปรบั เปลยี่ นการจดั การเรยี นรู้ให้ตอบสนองต่อความต้องการของ
ผเู้ รยี นและบรบิ ทของพ้นื ที่

(4) สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหส้ ถานศกึ ษา จดั ทาแผนการจดั การศึกษาเฉพาะ
บุคคลหรือแผนการให้บริการชว่ ยเหลือเฉพาะครอบครวั ซ่ึงจดั ทาขึน้ บน
พน้ื ฐานความต้องการจาเปน็ เฉพาะของผู้เรยี นทม่ี ีความตอ้ งการจาเปน็
พเิ ศษ หรือความสามารถพิเศษ

2.2 พัฒนาผู้เรียนทุกคนใหม้ ีความรักในสถาบนั หลกั ของชาติ และยึดม่ันการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข มีทศั นคติ
ทด่ี ตี ่อบ้านเมือง มีหลกั คิดท่ีถูกตอ้ ง เปน็ พลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลก
ทด่ี ี มีคณุ ธรรม จริยธรรม
2.2.1 ตวั ชีว้ ดั
(1) ร้อยละของผเู้ รียนทม่ี ีพฤติกรรมทีแ่ สดงออกถึงความรกั ในสถาบัน
หลกั ของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข
(2) รอ้ ยละของผเู้ รยี นท่ีมพี ฤติกรรมทแ่ี สดงออกถงึ การมีทศั นคติท่ีดตี ่อ
บ้านเมอื ง มหี ลกั คดิ ทถี่ ูกตอ้ ง เป็นพลเมืองดขี องชาติ มีคุณธรรม
จรยิ ธรรม
(3) ร้อยละของสถานศึกษาท่ปี รบั ปรุงหลกั สตู ร จดั บรรยากาศ
ส่ิงแวดล้อม และจดั กจิ กรรมการเรียนร้ใู ห้ผู้เรยี นแสดงออกถึง
ความรกั ในสถาบันหลักของชาติ ยึดมัน่ การปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มที ศั นคตทิ ดี่ ี
ตอ่ บ้านเมือง มีหลักคดิ ทีถ่ กู ตอ้ ง เป็นพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม
จรยิ ธรรม
(4) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่น้อมนาพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษา
ของในหลวงรัชกาลท่ี 10 และหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ไปพฒั นาผู้เรยี นให้มคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ตามท่ีกาหนดได้
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

แผนปฏบิ ตั ิการโรงเรยี นพระบางวิทยา ปีการศึกษา 2565 หนา้ 34



2.2.2. แนวทำงกำรดำเนินกำร
(1) สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษาปรบั ปรุงหลกั สตู รปรบั ปรงุ
หลักสูตรจดั บรรยากาศสิ่งแวดล้อม และจดั กิจกรรมการเรียนรู้ให้
ผูเ้ รยี นแสดงออกถึงความรกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ ยึดมัน่ การ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็น
ประมขุ มีทศั นคติทดี่ ีต่อบา้ นเมอื ง มหี ลักคดิ ที่ถกู ต้อง เป็นพลเมือง
ดีของชาติ และพลเมืองโลกที่ดี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม
(2) สง่ เสริม สนับสนุนให้ สถานศกึ ษาน้อมนาพระบรมราโชบายด้าน
การศกึ ษาของในหลวงรชั กาลที่ 10 และหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปบรู ณาการจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พื่อพัฒนา
ผูเ้ รยี นมีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ตามทีก่ าหนด

2.3 พฒั นาคณุ ภาพของผู้เรยี น ใหม้ ที ักษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 มคี วามเปน็
เลิศดา้ นวชิ าการ นาไปสกู่ ารสร้างขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั
2.3.1 ตวั ช้ีวดั
(1.1) ดำ้ นผู้เรยี น
1) ร้อยละของผเู้ รยี นระดับปฐมวัย ไดร้ ับการพฒั นาร่างกาย
จติ ใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญา และมคี วามพร้อม
ทจี่ ะเข้ารับการศึกษาในระดบั ท่สี งู ขึน้
2) รอ้ ยละของผู้เรียนระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐานได้รับการ
พฒั นารา่ งกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา มี
พฒั นาการทีด่ ีรอบด้าน
3) รอ้ ยละของผเู้ รียนท่ีอ่านออกเขียนได้ คดิ เลขเป็น และมีนิสัย
รกั การอ่าน
4) รอ้ ยละของผ้เู รียนท่ีมีทักษะการคิด วเิ คราะห์
5) ร้อยละของผู้เรียนทผ่ี า่ นการประเมินสมรรถนะท่จี าเป็นดา้ น
การรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy)
6) รอ้ ยละของผเู้ รียนทีผ่ ่านการประเมินสมรรถนะที่จาเปน็ ด้าน
การรเู้ ร่อื งคณติ ศาสตร์ (Mathematical Literacy)
7) ร้อยละของผ้เู รยี นทผ่ี ่านการประเมินสมรรถนะท่จี าเป็นดา้ น
การร้เู รอื่ งวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Literacy)

แผนปฏบิ ัตกิ ารโรงเรียนพระบางวิทยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 35



8) ร้อยละของผูเ้ รียนที่มีทักษะสื่อสารอังกฤษ และส่อื สารภาษา
ท่ี 3 ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ

9) รอ้ ยละของผู้เรยี นที่มีทักษะด้าน Digital Literacy ในการ
เรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ

10) รอ้ ยละของผเู้ รยี นท่ีมีความรู้ และทกั ษะในการป้องกัน
ตนเองจากภยั คกุ คามรปู แบบใหม่

11) ร้อยละของผู้เรยี นท่ีมคี ะแนนผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET) มากกวา่ ร้อยละ 50 ในแตล่ ะ
วชิ าเพม่ิ ขึน้ จากปีการศึกษาท่ีผ่านมา

12) ร้อยละ 60 ของผเู้ รยี นระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้นมีสมรรถนะ
การเรยี นรู้เร่ืองการอ่านตัง้ แต่ระดบั ขน้ั พืน้ ฐานขึ้นไป
(ระดับ 2) ตามแนวทางการประเมิน PISA

13) รอ้ ยละ 80 ของผเู้ รียนทั้งหมดไดร้ ับการประเมนิ ทกั ษะการ
คดิ แก้ปัญหาตามแนวทางการประเมิน PISA

(1.2) ด้านสถานศกึ ษา
1) ร้อยละของสถานศึกษาจดั การเรียนรู้ทีใ่ หผ้ เู้ รยี นไดเ้ รียนรู้
ผ่านกจิ กรรม การปฏบิ ัตจิ รงิ (Active Learning)
2) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่มกี ารจดั การเรยี นรูใ้ ห้ผเู้ รียนใน
ลักษณะของ STEM ศกึ ษา
3) รอ้ ยละของสถานศึกษาท่ีการจัดการเรียนรูต้ ามกระบวนการ
5 ข้นั ตอน หรอื บนั ได 5 ข้นั (IS: Independent Study)
4) ร้อยละของสถานศึกษาท่จี ัดการเรยี นรู้ และบรรยากาศ
สิ่งแวดล้อมทีส่ ่งเสรมิ สนบั สนุนให้ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรแู้ ละฝึก
ทักษะด้านภาษาองั กฤษและภาษาที่ 3 ไดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธิภาพ

2.3.2 แนวทำงกำรดำเนนิ กำร
(1) พัฒนาผเู้ รียนระดบั ปฐมวัยมีความพรอ้ มด้านร่างกาย อารมณ์
สังคม สติปญั ญา เพื่อที่จะเขา้ รับการพฒั นาการเรียนรใู้ นระดบั ท่ี
สงู ข้นึ
(2) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาจัดสภาพแวดล้อมทั้งในและนอก

ห้องเรียนให้เออ้ื ต่อการพัฒนาการเรยี นรู้ของเดก็ ปฐมวัย

แผนปฏบิ ตั ิการโรงเรยี นพระบางวิทยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 36



(3) ส่งเสริม สนับสนนุ ให้สถานศึกษาจดั การเรยี นรู้ระดับปฐมวยั ในรปู แบบ
ที่หลากหลาย

(4) สง่ เสริมการสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจแก่พ่อแม่ผปู้ กครองเกยี่ วกบั
การเลีย้ งดูเดก็ ปฐมวยั ทีถ่ กู ตอ้ งตามหลักจิตวทิ ยาพฒั นาการ

(5) จดั ให้มโี รงเรยี นต้นแบบการจัดการศึกษาปฐมวัย ใหส้ ามารถ
พฒั นา
เดก็ ก่อนประถมใหม้ ีพฒั นาการความพร้อม เพื่อเตรยี มตวั ไปสูก่ าร
เรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21

(6) พฒั นาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเน้นการพัฒนา
สมรรถนะท่ีจาเป็น 3 ดา้ น
1) การรเู้ รอ่ื งการอ่าน (Reading Literacy)
2) การรเู้ รอ่ื งคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy)
3) การรู้เรอื่ งวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy)

(7) พฒั นาผูเ้ รียนให้มสี มรรถนะด้านดจิ ิทัล (Digital Competence)
และสมรรถนะดา้ นการสอ่ื สารภาษาอังกฤษ และภาษาที่ 3

(8) มีความรู้ และทกั ษะในการป้องกนั ตนเองจากภยั คุกคามรูปแบบ
ใหม่

(9) ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาจดั การเรยี นรูท้ ่ีใหผ้ เู้ รยี นได้เรยี นรู้
ผา่ นกิจกรรมการปฏิบตั ิจริง (Active Learning)

(10) สง่ เสรมิ สนับสนุนสถานศกึ ษาทีม่ ีการจดั การเรียนรใู้ ห้ผ้เู รียนใน
ลักษณะของ STEM ศึกษา

(11) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาจดั การเรยี นรตู้ ามกระบวนการ
5
ขน้ั ตอน หรอื บันได 5 ขั้น (IS: Independent Study)

(12) สง่ เสรมิ ใหส้ ถานศึกษาจดั การเรยี นร้อู ย่างเป็นระบบมุง่ เนน้ การใช้
ฐานความรู้และระบบความคิดในลกั ษณะสหวทิ ยาการ เช่น
1) ความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์และการต้งั คาถาม
2) ความเขา้ ใจและความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
3) ความรู้ทางวศิ วกรรม และการคดิ เพ่ือหาทางแกป้ ัญหา
4) ความรูแ้ ละทักษะในด้านศิลปะ

แผนปฏบิ ตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 37



5) ความรดู้ า้ นคณิตศาสตร์ และระบบคิดของเหตผุ ลและการหา
ความสัมพันธ์

(13) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาประเมินสมรรถนะตามแนว
ทางการ ประเมนิ PISA ด้วยระบบการสอบ แบบ Online ให้กับ
ผูเ้ รยี นทกุ คนตง้ั แตร่ ะดับชน้ั ประถมศึกษาตอนปลาย จนถงึ
มธั ยมศึกษาตอนต้น

(14) สง่ เสรมิ สร้างความรู้ความเข้าใจในทางการประเมินทักษะการคิด
แกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมิน PISA ใหแ้ กศ่ ึกษานเิ ทศก์
และ ครผู สู้ อน

(15) ให้บรกิ ารเครื่องมือการวดั และประเมนิ องิ สมรรถนะตามแนว
ทางการประเมนิ ผลผ้เู รยี นรว่ มกับนานาชาติ (PISA) ด้วยระบบ
Online Testing

(16) สง่ เสริมให้สถานศึกษาจัดหลกั สูตรและแผนการเรยี นนาไปสู่
ความเปน็ เลศิ ในแตล่ ะดา้ น

(17) สง่ เสรมิ ผ้เู รียนท่มี ีความสามารถพิเศษ ดา้ นศลิ ปะดนตรีและกฬี า
โดยจัดเปน็ หอ้ งเรียนเฉพาะดา้ น

(18) พัฒนาศักยภาพของผูเ้ รียนตามความถนัด และเป็นนวัตกร
ผูส้ รา้ งนวัตกรรม

2.4 พฒั นาผเู้ รยี นให้มีทกั ษะอาชีพและทักษะชีวติ มีสขุ ภาวะท่ดี ีสามารถ
ดารงชีวติ อย่ใู นสังคมได้อย่างมคี วามสุข
2.4.1 ตัวชี้วดั
(1) รอ้ ยละของผ้เู รยี น มี ID plan และ Portfolio เพื่อการศึกษาต่อและ
การประกอบอาชีพ
(2) รอ้ ยละของสถานศึกษาทจ่ี ัดการเรียนรู้ และบรรยากาศสงิ่ แวดล้อมท่ี
เอื้อต่อการพฒั นาทักษะอาชพี ตามความถนดั
(3) ร้อยละของผูเ้ รยี นท่ีมีสุขภาวะท่ีดีทกุ ช่วงวัย
(4) รอ้ ยละของสถานศึกษาท่ีมรี ะบบป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาใน
สถานศกึ ษา

แผนปฏบิ ัติการโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 38



2.4.2 แนวทำงกำรดำเนินกำร
(1) สร้างกลไกของระบบแนะแนวทางการศึกษาเพื่อส่งเสริม
กระบวนการเรียนรู้อิงสมรรถนะและเตรยี มความพรอ้ มสู่การ
ประกอบสมั มาอาชีพ
(2) พัฒนารายวชิ าทส่ี ่งเสริมการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ
(3) สง่ เสรมิ ใหส้ ถานศึกษาจดั หลกั สูตรทกั ษะอาชีพควบคู่กับวิชาสามัญ
เชน่ ทวศิ กึ ษาหลักสูตรระยะสั้น
(4) สง่ เสรมิ สนับสนุนใหส้ ถานศึกษาจดั การเรียนรู้แกผ่ เู้ รียนตามความ
สนใจในทักษะอาชพี ที่ตนเองถนดั เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่
ตลาดแรงงานและการพฒั นาประเทศ
(5) ส่งเสริมให้นกั เรียนทุกคนไดร้ ับประทานอาหารตามหลกั โภชนาการ
และเปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐานของอนามยั
(6) สง่ เสรมิ การเรียนรู้และพฒั นาด้านอารมณแ์ ละสงั คม (Social and
Emotional Learning : SEL) ในทกุ ชว่ งวยั
(7) สถานศกึ ษามรี ะบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาในสถานศกึ ษา

2.5 การจดั การศึกษาเพอ่ื การบรรลุเปา้ หมายโลกเพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยนื
(SDGs) เพื่อสรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ติ ทีเ่ ปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม ตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2.5.1 ตวั ชว้ี ดั
(1) ร้อยละของผเู้ รียนท่ีมพี ฤติกรรมแสดงออกถึงการดาเนินชีวิตที่เป็น
มติ รกบั สงิ่ แวดล้อม และการประยกุ ต์ใชป้ รัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
(2) ร้อยละของสถานศึกษาทีม่ ีการจดั สภาพแวดล้อมทส่ี อดคล้องกับ
มาตรฐานสิง่ แวดล้อม สงั คม และเศรษฐกจิ เพื่อการพัฒนาทีย่ ่งั ยืน
(Environmental Education Sustainable Development: EESD)
(3) ทกุ สถานศกึ ษาจดั การศึกษาเพอ่ื ใหบ้ รรลุเปา้ หมายโลก เพ่ือการ
พัฒนาอย่างยั่งยนื (Global Goals for Sustainable
Development)
2.5.2 แนวทำงกำรดำเนินกำร
(1) ส่งเสรมิ สนับสนุนให้สถานศกึ ษาจัดการเรยี นรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรยี นตาม
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

แผนปฏบิ ัตกิ ารโรงเรียนพระบางวทิ ยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 39



(2) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษาการจัดการศึกษาเป้าหมายโลกเพ่อื
การพฒั นาอย่างยั่งยนื (Global Goals for Sustainable
Development)

(3) ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาและหนว่ ยงานทกุ สงั กดั จัด
สิง่ แวดลอ้ ม สังคม และเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับหลกั Zero waste
และมาตรฐานสิ่งแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาที่ย่งั ยืน(Environmental
Education Sustainable Development: EESD)

(4) ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้สถานศึกษาจดั กิจกรรมการอนุรักษส์ ิ่งแวดล้อม
และการประยกุ ต์ใชป้ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอย่างต่อเน่อื ง

2.6 พฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นที่มคี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ
2.6.1 ตวั ชวี้ ัด
(1) ร้อยละของผเู้ รียนท่ีมคี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษ มีคณุ ภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐานของแต่ละระดบั
(2) ร้อยละของผู้เรยี นที่มีความต้องการจาเปน็ พิเศษ ได้รบั การพัฒนาดา้ น
ทักษะอาชพี ทักษะการดารงชวี ิต มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมจี ติ
สาธารณะ
(3) รอ้ ยละของผู้เรียนที่มคี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ ได้รบั การส่งเสริมให้มี
ความสามารถพิเศษด้านต่าง ๆ อาทิ ดนตรี กีฬา ศิลปะ และเทคโนโลยี
เป็นต้น
2.6.2 แนวทำงกำรดำเนินกำร
(1) ใหบ้ ริการช่วยเหลือระยะแรกเร่มิ (Early Intervention: EI) ที่ศนู ย์
การศกึ ษาพเิ ศษ หน่วยบรกิ ารและทีบ่ า้ นอย่างมีประสทิ ธิภาพ
(2) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นาการจัดการศึกษาสาหรบั ผเู้ รียนทม่ี คี วาม
ตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ ดว้ ยระบบและรปู แบบทหี่ ลากหลาย
(3) ส่งเสรมิ สนบั สนุนการจัดการศกึ ษาในโรงเรยี นเรียนรวมและศนู ยก์ าร
เรยี นเฉพาะความพิการ
(4) ปรับปรุงและพัฒนากระบวนการวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริง
(5) ส่งเสรมิ สนับสนนุ การจัดกจิ กรรมเพ่ือพัฒนาทักษะการอา่ น การเขียน การ
สื่อสาร การคดิ คานวณ การคิดวเิ คราะห์ และการคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณ

แผนปฏบิ ตั ิการโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 40



(6) ส่งเสรมิ สนับสนนุ การจัดการเรยี นการสอนเพ่อื พฒั นาทักษะอาชีพ
ทกั ษะการดารงชวี ติ ปลกู ฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม จติ สาธารณะและการ
ดารงชวี ติ ทีเ่ ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง

(7) ส่งเสรมิ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนตามโครงการอันเน่ืองมาจาก
พระราชดารฯิ

(8) สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้ผเู้ รยี นมที ศั นคติท่ีถูกต้องต่อการปกครองตาม
ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข

(9) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การใชส้ อ่ื เทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สาร
อยำ่ งถกู ต้อง เหมำะสม และสร้ำงสรรค์

(10) ส่งเสริม สนบั สนุน เทคโนโลยี สงิ่ อานวยความสะดวก ส่ือ บรกิ าร
และความชว่ ยเหลืออนื่ ใดทางการศึกษา

(11) ส่งเสรมิ และพฒั นาผเู้ รยี นที่มีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ ที่มี
ความสามารถพเิ ศษในด้านวิชาการ ดนตรี กฬี า ศลิ ปะ และอน่ื ๆ
เพือ่ ยกระดบั สู่ความเปน็ เลิศพร้อมก้าวสสู่ ากล

(12) ส่งเสรมิ สนับสนุนการนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการ
จดั การเรียนการสอน

(13) จดั ใหม้ รี ะบบการนเิ ทศ กากบั ติดตาม ประเมินผลการจดั การศึกษาเชิง
บรู ณาการ

(14) จดั ให้มีกลมุ่ งานระบบประกันคณุ ภาพในสานักบรหิ ารงานการศึกษา
พิเศษ เพื่อสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้สถานศึกษามรี ะบบประกันคณุ ภาพ
ภายในทีเ่ ขม้ แข็ง

(15) สง่ เสริม สนบั สนุนใหห้ นว่ ยงานและสถานศกึ ษาจดั ทา รวบรวม ผลติ
พัฒนา และเผยแพร่ สื่อ นวตั กรรม งานวิจัยทางการศึกษา

(16) สารวจสภาพอาคารสถานที่ และส่งิ แวดลอ้ มในสถานศกึ ษา จัดทา
ผังบรเิ วณ จดั ทาแบบรปู และรายการสิ่งก่อสร้าง

(17) ส่งเสริม สนับสนนุ ให้มีแนวทางปฏิบัติ และมาตรการรกั ษาความ
ปลอดภยั ของสถานศึกษาอย่างมีประสทิ ธิภาพ

(18) สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหเ้ ครือขา่ ยส่งเสรมิ ประสิทธภิ าพและกลุ่ม
สถานศกึ ษา ขบั เคลื่อนการจัดการศึกษาให้มีประสทิ ธิภาพ

(19) สง่ เสริม สนบั สนุน การดาเนนิ งานของคณะอนกุ รรรมการสง่ เสรมิ

แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 41



การจัดการศึกษาสาหรับคนพกิ ารจังหวัด
(20) สง่ เสริม สนับสนนุ สถานศึกษารว่ มมือกับผปู้ กครอง ชุมชน และ

องคก์ รปกครองในพนื้ ท่ี พัฒนาระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นและ
ระบบแนะแนวให้มปี ระสิทธิภาพ
(21) สง่ เสรมิ สนบั สนุนการจัดสภาพแวดล้อมและแหลง่ เรียนรู้ให้เออ้ื ต่อ
การจัดการศึกษา
2.7 สง่ เสริม สนับสนนุ ให้สถานศึกษา นา Digital Technology มาใช้ในการ
จดั การเรียนรู้ให้แก่ผ้เู รยี นเป็นรายบคุ คลตามสมรรถนะ ความต้องการ และ
ความถนัด สร้างสังคมฐานความรู้ (Knowledge-Based Society) เพ่ือการ
เรียนรู้อย่างต่อเนอื่ งตลอดชีวิต
2.7.1 ตัวชว้ี ัด
(1) ร้อยละของผูเ้ รียนท่เี รยี นรผู้ า่ น Digital Platform
(2) ร้อยละของสถานศกึ ษาทีจ่ ัดการเรียนร้เู พ่ือให้พัฒนาตนเองผา่ น
Digital Platform
2.7.2 แนวทำงกำรดำเนินกำร
(1) พฒั นาระบบคลงั ข้อมูล องค์ความรู้ เพื่อให้บริการ Digital
Textbook ตามเน้อื หาหลกั สูตรท่กี บั หนด สือ่ วดิ โี อ และองค์ความรู้
ประเภทตา่ ง ๆ และใหบ้ ริการแกผ่ เู้ รียนให้การพฒั นาตนเองอย่าง
ต่อเนอื่ งตลอดชีวิต
(2) พฒั นา Digital Platform เพอื่ ตอบสนองต่อการพฒั นาการเรียนรู้
ของผู้เรียนเปน็ รายบุคคล
(3) สถานศึกษาสนับสนุน สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนเรียนรดู้ ้วยตนเองผ่าน Digital
Platform
นโยบำยท่ี 3 พัฒนำผู้บรหิ ำร ครู และบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ

1. เปำ้ ประสงค์
ผบู้ รหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกประเภท เปน็ บุคลากรท่ีมคี ุณภาพ มี

ประสทิ ธภิ าพ เป็นมอื อาชีพ และมีทักษะวิชาชพี ข้ันสูง

2. ประเด็นกลยุทธ์
2.1 สรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมือกับสถาบนั ทางการศึกษาท่ีผลิตครู ในการผลติ
และ
พัฒนาครใู หต้ รงกับสาขาวิชา และสอดคล้องกับการพัฒนาในศตวรรษท่ี 21

แผนปฏบิ ัตกิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปีการศึกษา 2565 หนา้ 42



2.1.1 ตวั ช้วี ัด
(1) สถานศกึ ษามีแผนความต้องการครรู ะยะ 20 ปี
(2) สถานศกึ ษามีกรอบสมรรถนะครูทส่ี อดคลอ้ งกบั การพฒั นาในศตวรรษ
ที่ 21 และสอดคล้องกบั บริบทของพ้นื ที่
(3) สถานศึกษาทุกแห่งมจี านวนครูอย่างเหมาะสม และพอเพียงตอ่ การ
พัฒนาคุณภาพของผู้เรียน

2.1.2 แนวทำงกำรดำเนนิ กำร
(1) ประสานความร่วมมือกับสถาบนั การศกึ ษาในการวิเคราะห์ความ
ขาดแคลน และความต้องการครู
(2) ประสานความรว่ มมือกบั สถาบนั การศกึ ษาในการกาหนดสมรรถนะครู
ให้สอดคลอ้ งกบั การพฒั นาในศตวรรษที่ 21
(3) ประสานความร่วมมือ ในการวางแผนในการผลติ ครูท้ังระบบ
(4) สถาบนั การศึกษาผลติ ครูตามความต้องการและความขาดแคลนครู
ระยะ
20 ปี
(5) ประสานความร่วมมือ ติดตาม ประเมินผล การผลิตครู

2.2 พฒั นาผูบ้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาทุกประเภท ใหม้ ีสมรรถนะตาม
มาตรฐานวิชาชีพ มศี กั ยภาพ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม
2.2.1 ตวั ช้ีวดั
(1) ผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาทุกประเภท มีศกั ยภาพในการ
ปฏบิ ตั ิงานครบตามความจาเป็น ในการจัดการเรียนรู้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ
(2) ผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาสามารถพฒั นาหลกั สูตร
สถานศึกษา การจดั การเรียนรู้ และการวดั ประเมนิ ผลอยา่ งมีคณุ ภาพ
ในรูปแบบทีห่ ลากหลาย ตามศกั ยภาพของผ้เู รียนแตล่ ะบุคคล
2.2.2 แนวทำงกำรดำเนนิ กำร
(1) ศกึ ษาวิเคราะห์ ความต้องการจาเป็นในการพฒั นาตนเอง (Need
Assessment) ของผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา เพอื่ วาง
แผนการพฒั นาอย่างเป็นระบบและครบวงจร
(2) กาหนดกรอบและวิเคราะห์หลักสูตรเพ่ือพัฒนาผบู้ รหิ าร ครู และ
บุคลากร

แผนปฏบิ ตั ิการโรงเรียนพระบางวทิ ยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 43



ทางการศึกษา ให้เชื่อมโยงกับความก้าวหน้าในวิชาชีพ (Career Path)
(3) ประสานกบั สถาบันการศึกษา สถาบันครุ พุ ัฒนา หรือหน่วยงานอน่ื ๆ

จดั ทาหลกั สตู รทีม่ ีคุณภาพใหส้ อดคลอ้ งกบั กรอบหลกั สูตรท่กี าหนด
(4) สนับสนุนใหผ้ ู้บรหิ าร ครูและบุคลากรทางการศึกษา วางแผนและเข้ารั
(5) สง่ เสริมและพฒั นาบคุ ลากรในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ

(Professional Learning Community: PLC)
(6) ส่งเสริมและพัฒนาครใู ห้ออกแบบการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้

ใหส้ อดคล้องกบั การวดั ประเมินผลที่เน้นทักษะการคดิ ขนั้ สูง (Higher
Order Thinking) ผ่านกิจกรรมการปฏิบตั จิ รงิ (Active Learning)
(7) สง่ เสรมิ และพฒั นาผูบ้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาทกุ
(8) สง่ เสริมพัฒนาและยกระดบั ความรู้ภาษาอังกฤษของครูทส่ี อน
(9) ภาษาอังกฤษ โดยใช้ระดบั การพัฒนาทางด้านภาษา (CEFR) ตามเกณฑ์
(10) สง่ เสริมและพฒั นาครใู หม้ ีความรแู้ ละทักษะในการจัดการเรยี นร้สู าหรับ
ผ้เู รียนท่มี ีความแตกตา่ ง (Differentiated Instruction)
(11) สง่ เสริมและพัฒนาครใู หม้ ีความรู้และทักษะในการสรา้ งเคร่ืองมือ
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนร้ดู ้านทกั ษะการคดิ ขั้นสงู (Higher
Order Thinking)
(12) ส่งเสริมและพฒั นาครูและผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาโรงเรียนขนาดเลก็ ใหม้ ี
ความรู้ความสามารถจดั การเรียนรู้เป็นรายบคุ คล และการสอนแบบ
คละช้ันสง่ เสรมิ และพัฒนาครใู นการจดั การเรยี นร้สู าหรบั ผูเ้ รียนที่มี
ความ ตอ้ งการจาเป็นพิเศษ ตามศักยภาพของผู้เรยี นแต่ละบุคคล และ
ตามสภาพและประเภทของความพกิ าร
(13) ส่งเสริมสนับสนุนให้ครพู ัฒนาตนเองผ่านระบบ Online และแบบ Face-to- Face
Training
(14) ปรับเปลย่ี นกระบวนการวิธีการประเมนิ ครู โดยเนน้ การประเมนิ
สมรรถนะในการจดั การเรยี นการสอนโดยผลสมั ฤทธ์ิของผ้เู รียน
เป็นหลกั และประเมนิ จรรยาบรรณของครู ทุก ๆ 5 ปี
(ประเมิน 360 องศา)
2.3 นา Digital Technology มาใชใ้ นการพัฒนาผ้บู รหิ าร ครู และบคุ ลากร
ทางการศึกษาทกุ ประเภททงั้ ระบบ
2.3.1 ตวั ชวี้ ดั

แผนปฏิบัตกิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 44



(1) สถานศึกษา และหน่วยงานในสังกัดทกุ แหง่ มรี ะบบฐานข้อมูลผบู้ รหิ าร
ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา เพอ่ื วางแผนการผลิตและพัฒนาครูทงั้
ระบบ

(2) รอ้ ยละของบุคลากรในสังกัดที่พฒั นาตนเองผ่านระบบ Digital
Technology

(3) รอ้ ยละของ Digital Content เกยี่ วกับองค์ความรู้ในสาขาที่ขาดแคลน
2.3.2 แนวทำงกำรดำเนินกำร

(1) พัฒนา Digital Platform เพอื่ ใช้ในการพฒั นาผูบ้ รหิ าร ครูและ
บคุ ลากร

ทางการศึกษาทุกประเภททั้งระบบ
(2) พฒั นา Digital Platform ระบบบริหารจัดการผู้บรหิ าร ครู และ

บุคลากรทางการศึกษาทุกประเภทท้ังระบบ
(3) พฒั นา Digital Content ในองค์ความรู้การจัดการศกึ ษาในสาขาท่ี

ขาดแคลน เชน่ การพัฒนาทักษะการคดิ ขน้ั สงู การจดั การศึกษา
สาหรบั

ผ้เู รียนทม่ี ีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ และผูเ้ รียนท่ีมคี วามแตกต่าง
เปน็ ต้น
(4) สง่ เสรมิ สนบั สนุน ใหผ้ ู้บริหาร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทกุ
ประเภทพฒั นาตนเองอย่างต่อเนื่องผ่านระบบ Digital Technology

นโยบำยท่ี 4 สร้ำงโอกำสในกำรเขำ้ ถึงบรกิ ำรกำรศกึ ษำทม่ี ีคุณภำพ มีมำตรฐำน และลด

ควำมเหลื่อมลำ้ ทำงกำรศกึ ษำ

1. เปำ้ ประสงค์
สร้างโอกาสให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงการบริการการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ มี

มาตรฐานเสมอกัน และลดความเหลือ่ มล้าดา้ นการศกึ ษา

2. ประเด็นกลยทุ ธ์
2.1 รว่ มมอื กับองคก์ รปกครองระดบั ท้องถ่นิ ภาคเอกชน หนว่ ยงานที่เก่ยี วข้องใน
การจัดการศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับบริบทของพนื้ ท่ี
2.1.1 ตัวช้วี ัด
(1) ร้อยละของเด็กวยั เรียนทเ่ี ขา้ รบั การศกึ ษาในแต่ละระดบั การศึกษา

แผนปฏิบัตกิ ารโรงเรียนพระบางวิทยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 45



(2) รอ้ ยละของนักเรยี นออกกลางคนั
(3) รอ้ ยละของสถานศึกษาทมี่ รี ะบบการดแู ลชว่ ยเหลอื และคุ้มครอง

นักเรยี นและการแนะแนวที่มปี ระสิทธิภาพ
(4) ร้อยละของสถานศึกษาทมี่ รี ะบบฐานข้อมลู ประชากรวยั เรียนและ

สามารถนามาใช้ในการวางแผนจัดการเรยี นรู้ให้แก่ผู้เรียนไดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ
2.1.2 แนวทำงกำรดำเนินกำร
(1) สถานศึกษารว่ มกับองค์กรปกครองระดับพื้นท่ี ภาคเอกชน และ
หนว่ ยงาน
ท่ีเก่ียวข้อง วางแผนการจดั การศึกษาใหส้ อดคล้องเหมาะสมกบั บรบิ ท
ของพ้นื ที่
(2) สถานศึกษาร่วมกับองคก์ รปกครองระดับพ้นื ที่ จดั ทาสามะโนประชากร
วยั เรยี น (0-6 ปี)
(3) สถานศกึ ษาร่วมมือกบั องค์กรปกครอง ชมุ ชน เอกชน และหน่วยงาน
ทีเ่ กี่ยวข้องระดับพืน้ ท่ี จดั ทาแผนการนักเรียนทุกระดบั
(4) สถานศึกษาร่วมกบั องค์กรปกครองระดบั พื้นท่ี ตดิ ตาม ตรวจสอบ
เด็กวยั เรียนได้เข้าถงึ การบรกิ ารการเรยี นรู้ได้อยา่ งทว่ั ถงึ ครบถว้ น
(5) สถานศกึ ษาจัดทาฐานข้อมูลประชากรวัยเรียน เพื่อเกบ็ รวบรวม
เชอื่ มโยงข้อมลู ศกึ ษา วเิ คราะห์ เพ่ือวางแผนการจัดบริการการ
เรยี นรใู้ หแ้ ก่ผ้เู รยี น
2.2. ยกระดบั สถานศึกษาในสงั กัดทกุ ระดับ และทุกประเภท ให้มีมาตรฐานตาม
บริบทของพื้นท่ี เพ่ือให้พัฒนาผเู้ รยี น มคี ณุ ภาพ มมี าตรฐานเสมอกัน
2.2.1 ตัวชวี้ ดั
(1) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษามกี รอบมาตรฐานสถานศึกษา
(2) ร้อยละของสถานศึกษาที่ผา่ นการประเมินมาตรฐานสถานศกึ ษา

ตามทก่ี าหนด
2.2.2 แนวทำงกำรดำเนินกำร

(1) จัดทามาตรฐานสถานศึกษาโดยพจิ ารณาจากปจั จยั หรือ
องคป์ ระกอบข้ันพืน้ ฐาน เพือ่ สรา้ งโอกาสให้ผ้เู รยี นเข้าถึงบริการ
การเรยี นรทู้ ่ีจะพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นให้มีมาตรฐานเสมอกัน ตาม
บรบิ ทเชิงพืน้ ที่ เชน่

แผนปฏบิ ตั ิการโรงเรยี นพระบางวิทยา ปีการศึกษา 2565 หนา้ 46



1) ปัจจัยด้านโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวก เชน่
อาคารเรียน อาคารประกอบ หอประชุม สนามกีฬา ห้องเรยี น
หอ้ งพเิ ศษ วสั ดุ ครุภณั ฑ์ เปน็ ต้น

2) ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
3) ด้านการบริหารจดั การ
4) ด้านงบประมาณ
5) ดา้ นความปลอดภยั และ
6) ดา้ น Digital Technology
(2) ส่งเสรมิ สนับสนุน ปรับปรงุ พฒั นาสถานศึกษาใหม้ มี าตรฐาน
ตามที่กาหนด
2.3 สร้างความเข้มแข็งในการบริหารจดั การศกึ ษาสาหรับผูเ้ รียนท่ีมคี วามต้องการ
จาเปน็ พเิ ศษ
2.3.1 ตัวชี้วัด
(1) มขี ้อมลู สารสนเทศของการจัดการศึกษาพเิ ศษ ท่เี ชือ่ มโยงกับ
หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องทุกระดับ
(2) สานักงานบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษมียุทธศาสตร์ แผนการ
ดาเนินงาน และแผนปฏิบตั ิการทต่ี อบสนองสาหรับผเู้ รยี นที่มคี วาม
ตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ ตามศักยภาพของผู้เรียนแตล่ ะบุคคล และตาม
สภาพและประเภทของความพกิ าร
(3) ทกุ สถานศึกษาในสงั กดั มคี วามพร้อมทัง้ ระบบ เพ่ือสามารถการจัด
การศึกษาแบบเรียนรวม
2.3.2 แนวทำงกำรดำเนนิ กำร
(1) จัดทาระบบข้อมลู สารสนเทศของการจดั การศึกษาพิเศษ ทเ่ี ชือ่ มโยงกบั
หนว่ ยงานท่เี ก่ยี วขอ้ งทุกระดบั และนามาใช้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
(2) ส่งเสรมิ สนบั สนุน สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษจดั ทากลยุทธศาสตร์
แผนการดาเนินงาน และแผนปฏิบตั ิเชงิ รุก เน้นการใชน้ วตั กรรมและ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการทางานแบบมสี ว่ นรว่ ม
(3) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ระบบการจัดการศกึ ษาพิเศษ ท่ีผู้เรยี นสามารถเขา้ สู่
บริการชว่ งเชื่อมต่อ (Transitional Services) หรือการส่งตอ่ (Referral)
เข้าสู่การศึกษาในระดับเดยี วกนั และท่สี งู ขึ้น หรือการอาชีพ หรอื การ
ดาเนินชวี ติ ในสังคมไดต้ ามศักยภาพของแต่ละบุคคล

แผนปฏบิ ตั กิ ารโรงเรียนพระบางวิทยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 47



(4) ส่งเสริม สนับสนุน ให้ทุกสถานศึกษาในสังกัดมีความพร้อมท้ังระบบ เพื่อ
สามารถการจัดการศกึ ษาแบบเรยี นรวม

(5) จัดให้มีศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบการจัดการศึกษาพิเศษ ในการติดตาม
ช่วยเหลือ และสนับสนุนให้สถานศึกษาดาเนินการจัดการศึกษาพิเศษได้
อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

2.4 จัดสรรงบประมาณสนบั สนุนผู้เรยี น และสถานศึกษาอยา่ งเหมาะสม เพียงพอ
2.4.1 ตัวชวี้ ดั
(1) มรี ูปแบบหรือแนวทางในการจัดสรรงบประมาณใหก้ ับผูเ้ รยี น และ
สถานศกึ ษาโดยตรงอย่างเหมาะสม
(2) ผู้เรียนทกุ คน และสถานศึกษาได้รับการจัดสรรงบประมาณสนบั สนนุ การ
เรียนรู้อยา่ งเหมาะสมและเพียงพอตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
(3) จานวนโครงการ/ กจิ กรรมท่ีไดร้ ับความร่วมมือจากกองทุนความเสมอ
ภาคทางการศึกษา
2.4.2 แนวทำงกำรดำเนินงำน
(1) ศึกษา วเิ คราะห์ วิธีการจัดสรรงบประมาณใหก้ บั ผ้เู รยี น และ
สถานศกึ ษาทง้ั ด้านความเหมาะสม เพียงพอ
(2) จดั สรรงบประมาณให้ผ้เู รยี น และสถานศึกษาโดยตรง
(3) ประสานความรว่ มมือกบั กองทนุ ความเสมอภาคทางการศึกษา เพ่ือ
ลดความเหลือ่ มลา้ ทางการศึกษา เพื่อสนบั สนุนงบประมาณเพอื่
สนบั สนุนการจดั การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรยี น

2.5 ส่งเสริม สนับสนุน ให้ สถานศึกษา หน่วยงานทุกระดับนา Digital
Technology

มาใช้เปน็ เคร่อื งมอื ในการพัฒนาคุณภาพของผเู้ รียน
2.5.1 ตวั ช้ีวดั

(1) สถานศกึ ษาทุกแห่งมีระบบโครงข่ายส่ือสารโทรคมนาคมท่ีสามารถ
เช่อื มต่อกับโครงข่ายอินเทอรเ์ นต็ ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และ
ปลอดภัย

(2) สถานศกึ ษามี Digital Device เพอื่ ใชเ้ ป็นเครือ่ งมือในการเรียนรู้ของ
ผู้เรียน และเป็นเครอ่ื งมือในการจัดการเรียนรไู้ ด้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

แผนปฏิบตั ิการโรงเรยี นพระบางวิทยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 48



2.5.2 แนวทำงกำรดำเนนิ งำน
(1) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหส้ ถานศกึ ษามีโครงข่ายส่ือสารโทรคมนาคมท่ีมี
ประสิทธภิ าพ และปลอดภยั
(2) สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษามีระบบคอมพวิ เตอร์ และอปุ กรณ์ท่ี
ใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือในพัฒนาทักษะด้าน Digital Literacy แก่ผู้เรียน
(3) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาปรบั ปรุงพฒั นาห้องเรียนใหเ้ ปน็
ห้องเรยี น Digital
(4) ส่งเสรมิ สนับสนุน Digital Device สาหรบั ผู้เรยี นทุกระดับอย่าง
เหมาะสม เพือ่ เป็นเครอื่ งมือในการพฒั นาการเรียนรขู้ องตนเอง อยา่ ง
ต่อเนอื่ งตลอดชวี ิต
(5) ส่งเสริม สนับสนุน Digital Device และพัฒนา Digital Pedagogy
สาหรับครูอย่างเหมาะสม เพื่อเปน็ เครื่องมือในการจัดกระบวนการ
เรียนรูเ้ พือ่ พฒั นาผู้เรยี นได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
(6) โครงการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ
(Distance Learning Information Technology: DLIT)
(7) โครงการพฒั นาคุณภาพการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่าน
ดาวเทียม

นโยบำยที่ 5 เพ่มิ ประสทิ ธภิ ำพกำรบริหำรจดั กำร

1. เปำ้ ประสงค์
สถานศึกษา และหน่วยงานระดบั ภูมภิ าคมีความอิสระในการจัดการศึกษา เพื่อ

พัฒนา

ผเู้ รียนให้มีคณุ ภาพ มมี าตรฐานสอดคล้องกบั บรบิ ทของพ้ืนที่

2. ประเด็นกลยุทธ์
2.1 เพ่มิ ประสิทธภิ าพในการบริหารจดั การศึกษาของสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา และสถานศกึ ษา
2.1.1 ตัวชีว้ ดั
(1) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐานมผี ลการดาเนนิ งาน
ผ่านเกณฑ์การประเมินส่วนราชการทสี่ านักงานคณะกรรมการพฒั นา
ระบบราชการกาหนด

แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวิทยา ปีการศึกษา 2565 หนา้ 49



(2) ร้อยละของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาผ่านเกณฑ์การประเมิน
คุณภาพมาตรฐานสานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา

(3) ร้อยละของสถานศกึ ษาท่ีมีผลการประเมินภายนอกในระดบั ดขี ้นึ ไป
(4) รอ้ ยละของหนว่ ยงานผ่านการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ

ดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั (ITA: Integrity & Transparency
Assessment)
2.1.2 แนวทำงกำรดำเนินกำร
(1) กากับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพื่อการบริหารจัดการที่มี
ประสิทธิภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล
(2) สง่ เสริมระบบประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาให้เข้มแข็ง
(3) ยกย่องเชิดชเู กียรติสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สานักบรหิ ารงาน
การศึกษาพิเศษ สถานศึกษา และองคค์ ณะบุคคลที่มีผลงานเชงิ
ประจกั ษ์
(4) กาหนดใหห้ นว่ ยงานในสงั กัดทกุ หน่วยงานใชร้ ะบบการบริหารจัดการ
ท่มี ่งุ เนน้ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการทางานตามหลกั การ
ประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงาน
ภาครฐั (ITA: Integrity & Transparency Assessment)
2.2 สรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมือและส่งเสริมใหท้ กุ ภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วน
ร่วมบริหารจัดการศึกษา
2.1.1 ตวั ชี้วัด
(1) ร้อยละของสถานศึกษาหน่วยงานมีการบรหิ ารจัดการแบบมสี ว่ นรว่ ม
2.1.2 แนวทำงกำรดำเนนิ งำน
(1) ส่งเสริมการบริหารจัดการเขตพ้นื ท่ีการศึกษาโดยใช้พืน้ ทเ่ี ป็นฐาน (Area-
based Management) รปู แบบการบริหารแบบกระจายอานาจ
“CLUSTERs”
(2) สง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ ม จัดทาแผนบูรณาการจัดการศึกษา ในระดับ
พ้นื ที่
(3) สร้างความเข้มแข็งในการยกระดับคุณภาพการศึกษารูปแบบเครือข่าย
เช่น เครอื ขา่ ยส่งเสรมิ ประสทิ ธภิ าพการจดั การศึกษา ศนู ยพ์ ฒั นากล่มุ
สาระการเรียนรู้ สหวทิ ยาเขต กลุ่มโรงเรียน ฯลฯ

แผนปฏบิ ตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 50


Click to View FlipBook Version