The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by แมวอ้วน แสนซน, 2022-08-31 08:28:34

o10

o10

(4) ส่งเสริมให้ทกุ ภาคสว่ นของสงั คมมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษาแบบ
บูรณาการท่ีตอบสนองความต้องการของประชาชนและพื้นท่ี

(5) ส่งเสริม สนบั สนุน ผูป้ กครอง ชมุ ชน สังคม และสาธารณชน ให้มี
ความรู้ ความเขา้ ใจ และ มสี ว่ นรว่ มรบั ผดิ ชอบ (Accountability) ใน
การบริหารจดั การศึกษา

(6) ส่งเสริมให้ทกุ ภาคสว่ นของสังคมเขา้ มามีส่วนรว่ มสนบั สนนุ ทรพั ยากรเพื่อ
การศกึ ษา

2.2 ยกระดับการบริหารงานของสถานศกึ ษาให้มอี ิสระ นาไปสู่การกระจายอานาจ
4 ดา้ น ให้สถานศกึ ษาเป็นศูนยก์ ลางในการจดั การศึกษาตามบรบิ ทของพน้ื ท่ี
2.2.1 ตัวชว้ี ัด
(1) มรี ปู แบบและแนวทางในการบริหารจัดการของโรงเรียนให้เกิดคณุ ภาพ
(2) มีขอ้ เสนอเชิงนโยบายในการกระจายอานาจท้ังระบบ
(3) มรี ปู แบบและแนวทางในการบริหารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็กใหเ้ กิด
คณุ ภาพ
(4) ร้อยละของสถานศึกษามีคณุ ภาพ และมาตรฐาน (มาตรฐานการศกึ ษา
ระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน/ปฐมวยั /ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ) และพัฒนา
สู่ระดับสากล
(5) จานวนโรงเรียนขนาดเล็กลดลง
(6) รอ้ ยละของผู้เรียนท่ีอยู่ในโรงเรียนขนาดเล็กมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
สงู ขึน้
2.2.2 แนวทำงกำรดำเนนิ กำร
(1) ศกึ ษา วิเคราะห์ ปรบั ปรุง เปล่ยี นแปลง ระบบการบรหิ ารงานของ
หน่วยงาน บทบาทหน้าทที่ ้ังระดับปฏิบัติ และรบั การกากับติดตาม
(2) ศกึ ษา วเิ คราะห์ ออกแบบ และพฒั นารปู แบบการกระจายอานาจการจดั
การศึกษา 4 ดา้ น ใหส้ ถานศึกษา โดยในปงี บประมาณ 2562 ให้ศึกษานา
รอ่ งรปู แบบการกระจายอานาจ เชน่
1) เขตพ้ืนท่นี วตั กรรมการศึกษา
2) โรงเรียนรว่ มพัฒนา (Partnership School)
3) Autonomous School
4) ศกึ ษา วิเคราะห์ ออกแบบโครงสรา้ งของสถานศึกษา
(Enterprise Architecture) ในฐานหนว่ ยงานระดบั ปฏบิ ตั ิ

แผนปฏบิ ตั กิ ารโรงเรียนพระบางวิทยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 51



และหนว่ ยงานระดับกากับตดิ ตามให้เหมาะกับบรบิ ทการ
เปล่ยี นแปลงของโลกปจั จบุ นั
5) ศึกษา วเิ คราะห์ ออกแบบ พัฒนา Digital Technology ใช้
ในการจัดการศึกษาท้ังระบบ (Digital Transformation)
6) สนับสนุน สง่ เสริมใหส้ ถานศกึ ษาจัดหาเจา้ หน้าที่เพื่อปฏิบตั ิ
หนา้ ท่สี นบั สนุนการจัดการเรียนรู้ เพอื่ ให้ครูสายผ้สู อนปฏบิ ัติ
หน้าท่ีเฉพาะด้านทีเ่ ก่ียวข้องกับการจดั การเรยี นรใู้ ห้แก่
ผเู้ รยี นเท่านัน้
7) ยกระดบั สถานศึกษาให้เปน็ แหลง่ เรยี นร้ตู ลอดชวี ิต เปน็
ศนู ย์กลางในการพัฒนาทักษะ และคณุ ภาพชวี ติ ของชุมชน
8) สรา้ งความเขม้ แขง็ และยกระดับคุณภาพสถานศึกษาตาม
บรบิ ทของพน้ื ที่ เชน่ โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียน
นวตั กรรม โรงเรยี นรว่ มพัฒนา โรงเรียนประชารัฐ โรงเรยี น
คณุ ธรรม โรงเรียนห้องเรียนกีฬา ฯลฯ
9) นาผลการประกนั คุณภาพการศึกษามาใชใ้ นการวางแผนการ
ปฏบิ ตั กิ ารตรวจสอบติดตามเพื่อการปรับปรุงพัฒนา
สถานศกึ ษาใหม้ ีคณุ ภาพและเปน็ ไปตามมาตรฐานการศกึ ษา
10) สร้างมาตรฐาน และกาหนดแนวทางในการเพ่ิมประสิทธิภาพ
การบรหิ ารจดั การโรงเรียนขนาดเล็ก
11) ส่งเสริม สนบั สนนุ ใหโ้ รงเรยี นขนาดเลก็ มรี ะบบการบรหิ าร
จัดการท่หี ลากหลาย เชน่ การบรหิ ารจดั การแบบกลมุ่
โรงเรียน การสอนแบบคละชนั้
12) พิจารณาแต่งตัง้ ผบู้ ริหารทม่ี ีศักยภาพในโรงเรยี นขนาดเล็ก
พจิ ารณาค่าตอบแทนพเิ ศษและสวสั ดกิ ารอนื่ ๆ สาหรบั
ผปู้ ฏบิ ตั ิงานในโรงเรยี นขนาดเลก็
13) ปรบั ปรุงกฎหมายระเบียบข้อปฏบิ ัติใหส้ อดคล้องกบั การ
กระจายอานาจ
14) สถานศึกษามีอสิ ระในการบริหารงาน และจัดการเรียนรู้ เพอื่
พฒั นาผู้เรียนให้ได้ตามมาตรฐานคณุ ภาพผู้เรยี น สอดคล้อง
กบั ความต้องการท้องถน่ิ นาไปสกู่ ารพฒั นาทักษะชีวติ
ทักษะอาชีพของผเู้ รยี นไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

แผนปฏิบตั ิการโรงเรยี นพระบางวิทยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 52



2.3 ปรับเปล่ียนระบบงบประมาณเพือ่ สนบั สนนุ ผเู้ รยี นและสถานศกึ ษาอย่าง
เหมาะสม เพียงพอ
2.3.1 ตวั ช้วี ัด
(1) มีรปู แบบหรอื แนวทางในการจัดสรรงบประมาณให้กบั ผู้เรียน และ
สถานศึกษาโดยตรงอย่างเหมาะสม
(2) ผเู้ รียนทุกคนและสถานศึกษาได้รับการจดั สรรงบประมาณสนบั สนุน
การเรียนรู้อยา่ งเหมาะสมและเพียงพอต่อการพฒั นาคุณภาพ
การศกึ ษา
(3) จานวนโครงการ/กจิ กรรมทไี่ ด้รับความรว่ มมือจากกองทุนความเสมอ
ภาคทางการศกึ ษา
2.3.2 แนวทำงกำรดำเนนิ งำน
(1) ศึกษา วิเคราะห์ วิธกี ารจัดสรรงบประมาณใหก้ ับผู้เรยี น และ
สถานศึกษา ทง้ั ด้านความเหมาะสม เพยี งพอ
(2) จัดสรรงบประมาณใหผ้ ้เู รยี น และสถานศึกษาโดยตรง
(3) ประสานความรว่ มมือกับกองทุนความเสมอภาคทางการศึกษา เพ่ือลด
ความเหล่อื มล้าทางการศึกษา เพ่อื สนับสนนุ งบประมาณเพ่ือ
สนบั สนนุ การจดั การเรียนรู้ให้แกผ่ ู้เรียน

2.4 ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้สถานศึกษา หนว่ ยงานทุกระดับนา Digital
Technology มาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการบรหิ ารอย่างเปน็ ระบบ
นาไปสู่การนาเทคโนโลยี Big Data เพ่อื เชือ่ มโยงข้อมลู ด้านตา่ ง ๆ ต้งั แต่
ขอ้ มูลผเู้ รยี น ข้อมูลครู ข้อมูลสถานศึกษา ข้อมูลงบประมาณ และข้อมลู อื่น ๆ
ทจ่ี าเปน็ มาวเิ คราะห์เพือ่ ให้สถานศึกษา สามารถจัดการเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นา
ผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคลตามสมรรถนะ และความถนัด และสามารถวเิ คราะห์เปน็
ขอ้ มูลในการวางแผนการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ของประเทศตอ่ ไป
2.4.1 ตวั ชีว้ ัด
(1) สถานศกึ ษาทุกแห่งมีระบบข้อมลู สารสนเทศทส่ี ามารถใช้ในการวาง
แผนการจดั การศึกษาได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
(2) สถานศึกษาทุกแห่งมีข้อมลู ผู้เรียนรายบคุ คลทส่ี ามารถเชอื่ มโยงกับ
ขอ้ มลู ต่าง ๆ นาไปสู่การวเิ คราะหเ์ พ่ือวางแผนการจดั การเรยี นรใู้ ห้ผเู้ รียน
ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
2.4.2 แนวทำงกำรดำเนินงำน

แผนปฏบิ ตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวิทยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 53



(1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลทรัพยากรมนุษยด์ ้านการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ที่
สามารถเช่ือมโยง และบูรณาการข้อมูลดา้ นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ระหวา่ งกระทรวง หน่วยงานที่เก่ียวข้อง โดยการเชื่อมโยงข้อมูล
รายบุคคลท่ีเก่ียวกับการศึกษา การพฒั นาตนเอง สุขภาพและการพฒั นา
อาชีพในตลอดช่วงชีวิต เปน็ ฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของ
ประเทศไทยที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถประเมินจุดอ่อน
จุดแขง็ และศักยภาพบุคคลของประเทศ นาไปสกู่ ารตดั สินใจระดับ
นโยบายและปฏิบัติ

(2) พัฒนา Digital Platform ด้านการเรยี นรผู้ เู้ รยี น และบคุ ลากรทางการ
ศึกษา เพอ่ื ให้สถานศึกษา และหน่วยงานในสงั กดั ใช้ในการปฏิบตั งิ าน
ตามภารกิจ

(3)พัฒนา Digital Platform ด้านการบริหารงาน เพ่อื สนองตอบตอ่ การ
ปฏบิ ัตงิ านของบคุ ลากรตามภารกจิ ท่รี บั ผดิ ชอบ นาไปสกู่ ารพัฒนา
ฐานข้อมูลบุคลากร ท่ีเชอ่ื มโยงกันทัง้ ระบบตงั้ แตก่ ารคดั สรร บรรจุ
แตง่ ต้งั ตลอดจนเช่ือมโยงถงึ การพฒั นาครู เพอื่ ใหส้ อดคล้องกบั
ความกา้ วหน้าในอาชีพ

(4) พฒั นา Digital Platform ระบบข้อมลู สารสนเทศของผู้เรยี นเปน็
รายบุคคลตงั้ แตร่ ะดบั ปฐมวยั จนจบการศึกษาข้นั พื้นฐาน ท่ีสามารถ
เช่ือมโยงกบั หน่วยงานที่เกยี่ วข้อง นาไปสู่การพัฒนาฐานขอ้ มูล
ประชากรดา้ นการศึกษาของประเทศ

(5) พัฒนา Big Data เพือ่ เช่ือมโยง วเิ คราะห์ข้อมลู ทุกมติ ิ นาไปสูก่ ารวาง
แผนการจดั การเรียนรู้ให้แกผ่ เู้ รยี นเป็นรายบคุ คล

แผนปฏบิ ัติการโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 54



2. ทศิ ทำงและนโยบำยสำนกั งำนเขตพืน้ ทีก่ ำรศึกษำมัธยมศกึ ษำนครสวรรค์

ก. วสิ ยั ทัศน์ (Vision)
ภายในปี 2565 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์เป็นองค์กร

คุณภาพบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน พัฒนาผู้เรียนได้มาตรฐานสากลและมี
ทกั ษะอาชีพ เพอ่ื ดารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของ
โลกศตวรรษที่ 21

ข. พนั ธกิจ (Mission)
1. สง่ เสริมสนบั สนุนและประสานงานกับทกุ ภาคสว่ นท่ีเก่ียวข้องเพื่อพฒั นาโรงเรยี น
มธั ยมศึกษาให้มคี วามเข้มแข็งดว้ ยระบบคณุ ภาพ
2. สง่ เสรมิ สนบั สนุนและกากับตดิ ตามใหส้ ถานศึกษาน้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงไปใชใ้ นการจัดการศึกษา ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและ
การเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวติ
3. สง่ เสริม สนบั สนุน และพฒั นานักเรยี น ให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานสากล มีคุณธรรม
จริยธรรม มีทกั ษะทางด้านวชิ าชพี และมีภูมคิ ุ้มกนั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงและการพฒั นา
ประเทศในอนาคต
4. สง่ เสรมิ สนับสนุน การพัฒนาครู และบุคลากรทางการการศึกษา ให้จดั การเรยี น
การสอนอยา่ งมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับการเปล่ยี นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21
5. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล ม่งุ สอู่ งค์กรคุณภาพ

ค. เป้ำประสงค์ (Goals)
1. โรงเรียนมัธยมศึกษามคี วามเขม้ แข็งด้วยระบบคุณภาพ
2. นกั เรยี น ครู และบุคลากรทางการศึกษาดาเนินชีวิต ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ไดร้ ับบรกิ ารทางการศึกษาและการจัดการเรยี นรู้ตลอดชีวิต
3. นักเรยี นมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล มคี ุณธรรม จริยธรรม มีทักษะทางดา้ นวชิ าชพี
และมีภูมคิ มุ้ กันต่อการเปลีย่ นแปลงและการพัฒนาประเทศในอนาคต
4. ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีความก้าวหนา้ ในวิชาชีพ มีศักยภาพในการปฏบิ ัตงิ า
จัดการเรยี นการสอนได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพสอดคล้องกบั การเปล่ียนแปลงของโลก
ศตวรรษที่ 21

แผนปฏบิ ัติการโรงเรยี นพระบางวิทยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 55



5. ระบบบรหิ ารจัดการมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล
ง. ค่ำนิยมองค์กร

เปน็ องคก์ รขยนั บริการเย่ียม เป่ยี มคณุ ธรรม เลศิ ลา้ ท่ีผลงาน บริหารจัดการแบบมสี ่วนรว่ ม
จ. ประเด็นกลยุทธ์ (Strategy)

กลยทุ ธท์ ี่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทุกระดบั ตามหลักสตู รส่งเสรมิ ทักษะ
อาชีพ และความสามารถดา้ นเทคโนโลยีเพือ่ เปน็ เคร่ืองมอื ในการเรยี นรู้
กลยุทธท์ ่ี 2 ปลูกฝงั คณุ ธรรม ความสานกึ ในความเป็นชาติไทย และวิถีชวี ิตตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธท์ ่ี 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาใหท้ ว่ั ถงึ และลดความเลอ่ื มลา้ ผู้เรยี นได้รับโอกาสใน
การพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพ
กลยทุ ธ์ท่ี 4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาท้ังระบบ ใหส้ ามารถจัดการเรียนการสอน
ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ มุ่งสศู่ ตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ท่ี 5 พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศึกษา และส่งเสริมให้ทุกภาคสว่ นมสี ว่ นรว่ มใน
การจดั การศกึ ษา

แผนปฏบิ ัติการโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 56



ฉ. จุดเนน้ กำรพัฒนำ

1. จดั การศึกษา เพ่อื ความม่ันคง

กลยุทธ์ แนวทำง ตัวชีว้ ัดควำมสำเรจ็

1. เสรมิ สร้างความ 1.1 น้อมนาแนวพระราชดาริ สบื สาน 1. รอ้ ยละ 100 ของสถานศกึ ษานา

ม่นั คงของสถาบัน พระราชปณธิ าน และพระบรมราโชบาย หลักสตู รแกนกลางการศึกษา

หลัก และการ ด้าน การศกึ ษา หรือ “ศาสตร์ ขัน้ พื้นฐานไปสู่การปฏิบตั ิให้เกิด

ปกครองในระบอบ พระราชา”มาใช้ ในการจัดกระบวนการ ประสิทธิภาพ

ประชาธิปไตย อนั มี เรยี นรู้ อย่างย่งั ยนื

พระมหากษัตรยิ ์ 1.2 ปลกู ฝังและเสริมสร้างวิถี 2. รอ้ ยละ 100 ของสถานศกึ ษา

ทรงเปน็ ประมุข ประชาธิปไตย ความสามัคคี สมานฉนั ท์ ปลูกฝังและเสรมิ สร้างวถิ ี

สนั ตวิ ิธี ตอ่ ต้าน การทุจรติ คอรปั ชน่ั และ ประชาธิปไตย ความสามัคคี

ยดึ มั่นในการปกครองระบอบ สมานฉันท์ สนั ตวิ ธิ ี ตอ่ ต้านการทจุ ริต

ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรง คอรปั ชัน่ และยดึ ม่ันใน

เป็น ประมขุ การปกครองระบอบประชาธิปไตย

อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ

1.2.3 เสริมสร้างความรู้ ความเขา้ ใจที่ 3. รอ้ ยละ 100 ของผู้เรียนมีความรู้

ถกู ต้องเกี่ยวกับสถาบันชาติ ศาสนา ความเขา้ ใจที่ถูกต้องเก่ยี วกับสถาบนั

พระมหากษัตรยิ ์ ผ่านหลกั สูตรและ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ผ่าน

กระบวนการเรียนรู้ ประวัตศิ าสตร์ และ หลกั สตู รและกระบวนการเรียนรู้

ความเป็นพลเมือง ประวัติศาสตร์และความเป็นพลเมือง

2. ปลกู ฝังผู้เรยี น 2.1 ส่งเสรมิ สนับสนนุ การจัดกจิ กรรมทั้ง 4. รอ้ ยละ 100 ของผู้เรียน มี

ด้านคุณธรรม ในและนอกห้องเรียน ทเี่ อื้อต่อการ คณุ ธรรม จริยธรรม คณุ ลักษณะอัน

จรยิ ธรรม พฒั นา คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คุณลักษณะ พึงประสงคต์ ามหลักสูตร และ

และคา่ นยิ มท่ีพงึ อนั พงึ ประสงค์ตามหลกั สูตรและค่านิยม ค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ

ประสงค์ หลักของคนไทย 12 ประการ

2.2 เสรมิ สร้างความรู้ความเข้าใจ 5. รอ้ ยละ 100 ของผู้เรียนที่มีความรู้

เกย่ี วกบั ภัยคกุ คามในรปู แบบใหม่ เช่น ความเขา้ ใจ เก่ียวกบั ภัยคกุ คาม

อาชญากรรม และความรนุ แรงใน ในรปู แบบใหม่

รปู แบบต่างๆ สงิ่ เสพติด ภัยพิบัติจาก

ธรรมชาติ ภยั จากโรคอุบตั ใิ หม่

แผนปฏิบตั ิการโรงเรยี นพระบางวิทยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 57



กลยทุ ธ์ แนวทำง ตัวช้วี ัดควำมสำเร็จ

3. พฒั นาการจดั พฒั นาการจดั การศึกษาโรงเรียนที่ 6. รอ้ ยละ 80 ของสถานศึกษา

การศกึ ษาโรงเรยี น ตอ้ งการความช่วยเหลือจาเป็นเร่งดjวน ท่ีตอ้ งการความช่วยเหลือเร่งดj

ท่ตี อ้ งการความ ในเรอ่ื งตา่ ง ๆ ให้เหมาะสมตามบริบท วนพเิ ศษแต่ละประเภทมีการ

ช่วยเหลือเร่งด่วน ของพื้นที่ เช่น โรงเรยี นขนาดเลก็ พฒั นาการจดั การศึกษาตาม

พเิ ศษให้ โรงเรยี นประสบภัยซา้ ซากโรงเรียนท่ีมี บรบิ ทของพืน้ ท่ี

เหมาะสมตาม ผลการพฒั นาคุณภาพต่าจากเกณฑ์

บรบิ ทของพ้ืนที่ มาตรฐาน ฯลฯ

2. พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนและสง่ เสรมิ การจดั การศึกษา เพอ่ื สร้างขีดความสามารถในการ

แขง่ ขัน

กลยทุ ธ์ แนวทำง ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ
1. เสริมสร้างความ 1.1 นาหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้น 1. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษา
เขม็ แข็งในการ พนื้ ฐานไปสู3การปฏบิ ตั ิให้เกิด นาหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา
พัฒนาผู้เรียนอย่าง ประสทิ ธิภาพ และ ข้นั พ้ืนฐานไปสู3การปฏิบตั ใิ ห้
มคี ุณภาพ ดว้ ยการ จดั การเรยี นรู้ให้สอดคล้องกบั หลกั สูตร เกดิ ประสทิ ธิภาพ
ปรับหลักสูตร การ ตามความจาเป็นและ ความต้องการ 2. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษา
วดั และประเมนิ ผล ของผู้เรยี น จดั การเรียนรู้สอดคล้องกบั
ทีเ่ หมาะสม ชุมชน ท้องถิ่น หลกั สูตรตามความจาเป็นและ
ความตอ้ งการของผ้เู รียน
1.2 ส่งเสริมการเรียนการสอนให้ผู้เรียน 3. รอ้ ยละ 80 ของผู้เรยี นผ่าน
มีความมั่นใจในการสื่อสารภาษาองั กฤษ เกณฑ์การประเมนิ
ภาษาประเทศคู่ค้า และภาษาอาเซียน ความสามารถ
อย่างน้อย ๑ ภาษา ดา้ นการใช้ภาษาอังกฤษ
4. รอ้ ยละ 80 ของสถานศกึ ษา
1.3 พัฒนาระบบการวดั และประเมินผล จัดการเรยี นการสอนภาษา
ทุกระดับ ให้มีคุณภาพและมาตรฐาน อาเซียนอย่างน้อย 1 ภาษา
นาไปสู่การพฒั นาคุณภาพผู้เรียนเตม็ 5. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษา
ตามศกั ยภาพ มีระบบการวัดและประเมนิ ผล
ที่มคี ุณภาพและมาตรฐาน

แผนปฏิบัตกิ ารโรงเรียนพระบางวิทยา ปีการศึกษา 2565 หนา้ 58



กลยุทธ์ แนวทำง ตัวชี้วดั ควำมสำเร็จ
2. พฒั นาคุณภาพ
กระบวนการ เรีนรู้ 2.1 ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้ผู้เรยี นมี นิสยั 6. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษา

รักการอ่าน จัดกิจกรรมส่งเสริมรักการอ่าน

2.2 ส่งเสริมการจดั การเรียนรู้ท่ี ให้ 7. ผู้เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3

ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกจิ กรรม และ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 มี

การปฏบิ ัตจิ ริง (Active Learning) คะแนนสอบ O-NET ตง้ั แตร่ อ้ ย

เน้นทกั ษะกระบวนการ ให้เกิดทกั ษะ ละ 50 ข้นึ ไปในแต่ละกลุ่มสาระ

การคดิ วิเคราะห์ คิดแกป้ ัญหา และคดิ มจี านวนเพ่มิ ขนึ้ จากปีการศึกษา

สร้างสรรคใ์ นทุกกลุ่ม สาระการเรยี นรู ทีผ่ ่านมา

ท้ังในและนอกห้องเรียน 8. รอ้ ยละ 70 ของผู้เรยี นมี

ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์คดิ

แก้ปัญหา และคดิ สร้างสรรค์

จากการเรียนรู้ผ่านกจิ กรรมการ

ปฏบิ ตั จิ ริง (Active Learning)

2.3 ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ 9. รอ้ ยละ 100 ของผู้เรียนมี

ในศตวรรษที่ ๒๑ สมรรถนะสาคัญตามหลกั สตู ร

แกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

สอดคล้องกับทักษะการเรยี นรู้

ในศตวรรษที่ 21

2.4 ปลกู ฝังทักษะกระบวนการ 10. รอ้ ยละ 100 ของ

วิทยาศาสตร์ และจิตวทิ ยาศาสตร์ สถานศึกษาปลูกฝังทักษะ

กระบวนการวิทยาศาสตร์และ

จติ วิทยาศาสตร์ให้กบั นักเรียน

2.5 สนบั สนนุ การผลติ จัดหาและใช้สอ่ื 11. รอ้ ยละ 100 ของ

การเรยี นการสอน เทคโนโลยี สถานศึกษา ผลิต จดั หาและใช้

นวัตกรรม และส่งิ อานวยความสะดวก ส่อื การเรียนการสอน

ท่หี ลากหลายรวมทง้ั การพัฒนา เทคโนโลยี นวตั กรรม หอ้ งสมุด

หอ้ งสมดุ และแหล่งเรยี นรู้ภายใน และแหล่งเรียนรู้

สถานศกึ ษาในการจดั การเรยี นรู้ได้ ทง้ั

ในห้องเรยี น และนอกห้องเรยี น เพือ่ ให้

ผู้เรยี นได้เรียนรู้

แผนปฏบิ ัติการโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปีการศึกษา 2565 หนา้ 59



กลยทุ ธ์ แนวทำง ตัวชีว้ ดั ควำมสำเร็จ
2. พัฒนาคณุ ภาพ 2.7ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนาผู้เรยี น 13. รอ้ ยละ 100 ของผู้เรียนที่มที ่ีมี
กระบวนการ ท่ีมีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ (ผู้พิการ ความตอ้ งการจาเป็นพิเศษ (ผู้พกิ าร
เรียนรู้ (ตอ่ ) ผู้ดอ้ ยโอกาส และผู้มีความสามารถ ผู้ดอ้ ยโอกาส และผู้มีความสามารถ
พิเศษ) ให้เต็มตามศักยภาพด้วยรูปแบบ พเิ ศษ) ไดร้ บั การส่งเสรมิ สนบั สนุน
3. สร้างขีด ทเี่ หมาะสม และพัฒนาเต็มตามศักยภาพด้วย
ความสามารถใน รูปแบบที่เหมาะสม
การแข่งขัน 2.8 ส่งเสรมิ สนับสนนุ การจดั กจิ กรรม 14. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษา
แนะแนวเพ่ือการศึกษาต่อและการ จัดกิจกรรมแนะแนวเพ่ือการศกึ ษา
4. ส่งเสริม ประกอบอาชีพอย่างเข้มแข็งต่อเนอื่ ง ตอ่ และการประกอบอาชีพ
สนบั สนนุ การทา และเปน็ รปู ธรรม
วจิ ยั และนา 3.1 ยกระดบั ผลการประเมนิ ระดบั 15. คะแนนเฉล่ยี ผลการประเมิน
ผลการวจิ ยั ไปใช้ นานาชาติตามโครงการ PISA ระดับนานาชาตติ ามโครงการ PISA
พัฒนาคณุ ภาพ (Programme for International (Programme for International
Student Assessment) Student Assessment) สูงขึน้
3.2 ส่งเสริมการพฒั นาศักยภาพผู้เรยี นสู่ 16. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษา
ความเป็นเลิศในด้านต่างๆ ส่งเสรมิ การพฒั นาศักยภาพผู้เรยี น
สู่ความเป็นเลิศในด้านต่างๆ
3.3 ส่งเสรมิ การเรยี นรู้เชิงบรู ณาการ 17. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษาที่
แบบสหวทิ ยาการ เช่น สะเต็มศึกษา จัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเตม็
(Science Technology Engineering ศึกษา (STEM Education) มี
and Mathematics Education : นวตั กรรมเพื่อสร้างมลู ค่าเพิ่ม
STEM Education) เพื่อพัฒนา สอดคล้องกบั ประเทศไทย 4.0
กระบวนการคิด และการสร้างสรรค์
นวตั กรรมเพื่อสร้างมลู ค่าเพิ่ม 18. รอ้ ยละ 80 ของหน่วยงานทกุ
สอดคล องกบั ประเทศไทย4.0 ระดบั มีผลงานวจิ ัยและนา
4.1 ส่งเสริมการทาวจิ ยั เพื่อพัฒนาการ ผลการวจิ ยั ไปใช้ในการพฒั นา
บริหารจัดการศึกษา คุณภาพการจดั การศึกษา

แผนปฏบิ ัตกิ ารโรงเรียนพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 60



การจัดการศึกษา 4.2 ส่งเสรมิ การทาวิจยั เพื่อพัฒนา 19. รอ้ ยละ 100 ของครแู ละ

หลกั สูตร กระบวนการเรยี นรู้การวดั และ บคุ ลากรทางการศึกษามีวจิ ัยในชน้ั

ประเมินผล โดยเน้นให้มกี ารวิจัยในชัน้ เรยี นและนาผลการวจิ ัยไปใช้พฒั นา

เรียน หลักสตู ร กระบวนการเรียนรู้การ

วดั และประเมินผล

3. ส่งเสริมสนบั สนนุ การพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

กลยทุ ธ์ แนวทำง ตวั ชว้ี ัดควำมสำเรจ็

1. พฒั นาครูและ 1.1 พฒั นาครูและบุคลากรทางการ ๑.รอ้ ยละ 80 ของครแู ละ บคุ ลากร

บุคลากรทางการ ศกึ ษา ให้สามารถจดั การเรียนรู้อย่างมี ทางการศึกษาเข้ารบั

ศึกษา ให้สามารถ คณุ ภาพทั้งระบบเชอ่ื มโยงกับการ การพัฒนาผ่านส่ือเทคโนโลยี

จดั การเรยี นรู้ เลื่อนวิทยฐานะในรูปแบบที่ สารสนเทศและการสอื่ สารที่

อย่างมีคณุ ภาพ ใน หลากหลาย เช่น ทันสมัย

รปู แบบท่ี TEPE Online (Teachers and 2. รอ้ ยละ 80 ของครูและบุคลากร

หลากหลาย Educational Personals ทางการศึกษาได้รับ

Enhancement Based on Mission การพัฒนาการจัดการเรยี นรู้อย่างมี

and Functional Areas as Majors) คณุ ภาพ ในรปู แบบ

ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี ที่หลากหลาย

(Professional Learning

Community : PLC) การเรียนรู้ผ่าน

กิจกรรมการ ปฏบิ ตั ิจริง (Active

Learning) ฯลฯ

๒. พัฒนาระบบ 2.1 พฒั นาระบบการบริหารงานบุคคล 3. สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา มี

การบรหิ ารงาน ให้มปี ระสิทธภิ าพ โดยเชอื่ มโยงกับ แผนอัตรากาลงั ในการ

บุคคลให้มี หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องในการกาหนด สรรหาและบรรจแุ ต่งตง้ั ตรง ความ

ประสทิ ธภิ าพ โดย แผนอัตรากาลัง การสรรหา การบรรจุ ตอ้ งการของสถานศึกษา

เชอื่ มโยงกับ แตง่ ต้งั การประเมนิ และการพัฒนา 4. สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามี

หนว่ ยงานที่ การสร้างแรงจูงใจให้ ครแู ละ ระบบการประเมนิ และการพัฒนาครู

เกย่ี วขอ้ ง บคุ ลากร ผู้ชว่ ย

ทางการศกึ ษามีขวญั และกาลังใจใน 5. รอ้ ยละ 100 ของครูและบุคลากร

การทางาน ทางการศึกษา

มคี วามสุขในการปฏิบัติงาน

แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรียนพระบางวทิ ยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 61



4. ขยายโอกาสความเสมอภาค และความเทา่ เทยี มการเข้าถึงบรกิ ารทางการศกึ ษา

กลยุทธ์ แนวทำง ตวั ช้ีวดั ควำมสำเรจ็
1. เพิม่ โอกาสการ 1.1 ส่งเสรมิ ประชากรวยั เรียนทุกคน 1. รอ้ ยละ 100 ของนักเรียนใน
เขา้ ถึงการศึกษาที่ ให้ไดร้ ับโอกาสในการเข้ารับบรกิ าร สงั กดั ทจี่ บการศึกษาภาคบงั คับ
มคี ุณภาพ ทางการศกึ ษาอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ ไดร้ บั การศกึ ษาต่อ
และเสมอภาค ๒. รอ้ ยละ 90 ของประชากร
2. ลดความเหล่อื ม วยั เรยี นได้รับการศึกษา
ล้าทางการศึกษา 1.2 สร้างความเข้มแข็งของระบบการ ขัน้ พนื้ ฐาน ไดร้ บั โอกาสในการ
ดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น ระบบส่งเสรมิ เขา้ รับบริการทางการศกึ ษา
ความประพฤตินักเรยี น ระบบ อย่างท่วั ถึง มคี ุณภาพและ
คมุ้ ครองนกั เรยี น และการสร้าง เสมอภาค
ภูมิคุ้มกันทางสังคม 3. รอ้ ยละ ๑๐๐ ของผู้เรยี น
ไดร้ ับการพฒั นาเต็มตาม
2.1 ประสานหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง ใน ศกั ยภาพในระบบการดแู ล
การจดั การศกึ ษาท่ีเหมาะสม สาหรบั ชว่ ยเหลือนกั เรียน
เด็กดอ้ ยโอกาส ทไ่ี ม่อยู่ในทะเบยี น 4. รอ้ ยละ ๑๐๐ ของผู้เรียน
ราษฎร เช่น เดก็ ไร้สญั ชาติ เด็กพลดั ไดร้ ับการพัฒนาเต็มตาม
ถ่ินเด็กต่างด้าว เดก็ ไทยท่ีไม่มีเลข ศกั ยภาพในระบบส่งเสรมิ ความ
ประจาตวั ประชาชน เป็นต้น ประพฤตินกั เรยี น
5. รอ้ ยละ ๑๐๐ ของผู้เรียน
ไดร้ บั การพฒั นาเตม็ ตาม
ศกั ยภาพในระบบคุ้มครอง
นักเรียน
7. รอ้ ยละ ๑๐๐ ของผู้เรยี นได
รบั การสนับสนุนส่งเสริม
การจดั การศกึ ษาท่เี หมาะสม
เตม็ ตามศักยภาพ

แผนปฏบิ ตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 62



กลยุทธ์ แนวทำง ตวั ชี้วดั ควำมสำเร็จ

2. ลดความเหลอ่ื ม 2.2 ส่งเสรมิ สนับสนนุ การใช้เทคโนโลยี 8. รอ้ ยละ 100 ของผู้เรยี น

ล้าทางการศกึ ษา ในการจดั การศึกษาให้ครอบคลุมทุก ไดร้ บั การสนับสนุนการใช้

(ต่อ) พื้นที่อย่างท่วั ถึงเช่น การพฒั นา เทคโนโลยีในการจัดการศึกษา

คณุ ภาพศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยี อย่างทั่วถึง

สารสนเทศ (Distance learning

information technology : DLIT),

การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาด้วย

เทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกลผ่าน

ดาวเทียม (Distance Learning

Television : DLTV)ฯลฯ

5. จัดการศึกษาเพ่ือเสรมิ สร้างคณุ ภาพชวี ิต ทเ่ี ป็นมติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม

กลยุทธ์ แนวทำง ตัวชวี้ ดั ควำมสำเร็จ
1. จดั การศกึ ษา 1.1 ส่งเสริม สนับสนุนการสร้าง 1. รอ้ ยละ 100 ของหน่วยงาน
เพื่อสร้างเสรมิ จติ สานกึ รักษส์ ่ิงแวดล้อม มคี ณุ ธรรม ทุกระดับจดั กิจกรรมส่งเสริม
คุณภาพชวี ิต จริยธรรม และนอ้ มนาแนวคิดตาม สนบั สนนุ การสร้างจติ สานกึ
หลัก ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง สู่การ รักษ์ ส่ิงแวดล้อมมีคุณธรรม
ปฏิบัติในการดาเนนิ ชวี ิต จรยิ ธรรม และน้อมนาแนวคิด
ตามหลัก
1.2 ส่งเสริม สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษา ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
พัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรยี นรู้ 2. รอ้ ยละ 100 ของหน่วยงาน
แหล่งเรียนรู้ และส่อื การเรยี นรู้ตา่ งๆ ทกุ ระดับมหี ลกั สูตร
ทเ่ี กี่ยวข้องกบั การสร้างเสริมคุณภาพ กระบวนการเรียนรู้การสร้าง
ชวี ติ ท่ีเป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อม เสริมคณุ ภาพชวี ิตทเ่ี ป็นมิตรกับ
1.3 สร้างเครอื ข่ายความร่วมมือกบั สิ่งแวดล้อม
ภาคส่วนต่างๆ ในการอนุรักษ์ 3. รอ้ ยละ 100 ของหน่วยงาน
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทุกระดับมเี ครือข่ายความ
รว่ มมอื กบั ภาคส่วนต่าง ๆ ใน
การอนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติ

แผนปฏบิ ัตกิ ารโรงเรียนพระบางวิทยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 63



6. พฒั นาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมใหท้ ุกภาคสว่ นมสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษา

กลยทุ ธ์ แนวทำง ตัวชีว้ ัดควำมสำเรจ็
1. พัฒนาระบบ
บรหิ ารจัดการ 1.1 พัฒนาระบบการวางแผน การนา 1. รอ้ ยละ 100 ของหน่วยงาน
ให้มีประสิทธภิ าพ
แผนไปสู่การปฏิบัติ การกากับ ตดิ ตาม ทกุ ระดับใช้จา่ ยงบประมาณ

ตรวจสอบ และประเมินผล เพ่อื การ เพอ่ื การบริหารจัดการทม่ี ี

บรหิ ารจดั การที่มปี ระสิทธิภาพ โดย ประสทิ ธิภาพมีการ กากับ

ยดึ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และ

หลกั ธรรมาภิบาล ประเมนิ ผลโดยยึดหลัก

ธรรมาภบิ าล

1.2 พัฒนาระบบงบประมาณและการ 2. รอ้ ยละ 100 ของหน่วยงาน

สนับสนนุ ค่าใช้จา่ ยเพ่ือการศึกษา ทุกระดับจัดทาแผนการใช้จา่ ย

ขนั้ พ้นื ฐาน งบประมาณสอดคล้องแนว

ทางการดาเนินงานโครงการ

สนบั สนนุ ค่าใช้จ่ายในการจัด

การศึกษาตั้งแต่ระดับอนบุ าล

จนจบการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

1.3 พฒั นาระบบเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพื่อ 3. รอ้ ยละ 100 ของหน่วยงาน

การจดั การศึกษา ทีม่ ีมาตรฐาน ทกุ ระดับไดร้ ับการพัฒนา

เช่ือมโยงและเข้าถึงได ระบบเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพื่อการ

จดั การศึกษา

1.4 สร้างความเขม้ แขง็ และยกระดับ ๔. รอ้ ยละ 80 ของสถานศึกษา

คุณภาพสถานศกึ ษาตามบรบิ ทของ ในเขตพน้ื ทพ่ี ิเศษแต่ละ

พืน้ ที่ เช่น โรงเรยี นทป่ี ระสบปัญหา ประเภทมีการพฒั นาการจัด

วกิ ฤตทางการศึกษา (ICU), โรงเรยี น การศึกษาตามบรบิ ทของพืน้ ที่

ประชารฐั (ดใี กล้บา้ น) , โรงเรยี น

คณุ ธรรม, โรงเรยี นห้องเรียนกีฬา,

โรงเรยี นมาตรฐานสากล ฯลฯ

1.5 ส่งเสริมระบบประกันคุณภาพ ๕. รอ้ ยละ 80 ของสถานศึกษา

ภายในของสถานศึกษาให้เขม้ แขง็ มีระบบประกนั คุณภาพภายใน

ทม่ี ีประสทิ ธผิ ล

แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรียนพระบางวิทยา ปีการศึกษา 2565 หนา้ 64



กลยทุ ธ์ แนวทำง ตัวชี้วดั ควำมสำเร็จ

2. สร้างความ 2.1 ส่งเสริมการบริหารจัดการเขต 1. สานักงานเขตพ้ืนท่ี

เขม้ แข็งในการ พื้นท่ี การศึกษาโดยใช้พื้นท่เี ป็นฐาน การศกึ ษามีการบริหารจัดการ

บริหารจดั การแบบ (Area-base Management), รปู แบบ แบบมีส่วนร่วมอย่างเขม้ แข็ง

มีส่วนร่วม การบริหารแบบกระจายอานาจ

“CLUSTERs” เป็นต้น

2.2 เขตพ้นื ท่ีการศึกษาจัดทาแผน 2. สานักงานเขตพื้นที่

บรู ณา การจัดการศึกษาร่วมกับ การศกึ ษา มแี ผนบรู ณาการ

สานกั งาน จดั การศึกษา

ศกึ ษาธิการจงั หวดั และสานกั งาน

ศกึ ษาธิการภาค

2.3 สร้างความเข้มแขง็ ในการยกระดบั ๓. รอ้ ยละ 100 ของหน่วยงาน

คุณภาพการศึกษารปู แบบเครือข่าย ทกุ ระดับมเี ครือข่ายสร้าง

เช่น เครือขา่ ยส่งเสรมิ ประสิทธิภาพ ความเขม้ แขง็ ในการยกระดับ

การ จดั การศึกษา ศูนยพ์ ฒั นากลุ่ม คุณภาพการศึกษาอย่างน้อย

สาระการ 1 เครือข่ายขึน้ ไป

เรียนรู้ สหวทิ ยาเขต กลมุ่ โรงเรยี นฯลฯ

2.4 ส่งเสริมและพฒั นาโรงเรยี นด้วย 4. สานกั งานเขตพนื้ ท่ี

พลัง ประชารัฐอย่างต่อเนื่องและยัง่ ยืน การศกึ ษามีการสร้างความ

เขม้ แข็ง

ในการบรหิ ารจดั การแบบมี

ส่วน รว่ มดว้ ยพลงั ประชารฐั

3. ส่งเสรมิ การมี 3.1 ส่งเสริม สนบั สนุนผู้ปกครอง 1. รอ้ ยละ 100 ของหน่วยงาน

ส่วนร่วมพฒั นา ชุมชน สังคม และสาธารณชน ให้ มี ทุกระดับส่งเสรมิ สนับสนุน

คุณภาพผู้เรยี น ความรู้ ความเขา้ ใจ สร้างความ ผู้ปกครอง ชมุ ชน สงั คม และ

ตระหนักในการจัดการศึกษาขน้ั สาธารณชนให้มีความรู้ ความ

พื้นฐาน การกากบั ดแู ล ตลอดจนการ เขา้ ใจ สร้างความตระหนักใน

ส่วนร่วมรับผิดชอบในการพัฒนา การจดั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

คุณภาพผู้เรียน การกากบั ดแู ล

แผนปฏบิ ัตกิ ารโรงเรยี นพระบางวิทยา ปีการศึกษา 2565 หนา้ 65



3.2 ประสานสถาบนั หรือหน่วยงาน 3.2 ประสานสถาบันหรือ
ทางการศกึ ษาให้คัดเลือกผู้เรียนเข้า หนว่ ยงานทางการศกึ ษาให้
ศึกษาต่อด้วยวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย คัดเลอื กผเู้ รียนเข้าศึกษาต่อ
ดว้ ยวิธกี ารทีห่ ลากหลาย

3. ทิศทำงและนโยบำยโรงเรยี นพระบำงวิทยำ

ก. วิสัยทศั น์ (Vision)
ภายในปี 2567 โรงเรียนพระบางวทิ ยาจัดการเรยี นรู้ตามมาตรฐานสากล บนพื้นฐาน

ความเปน็ ไทย พฒั นาใหผ้ ้เู รยี นมคี วามรู้คู่คุณธรรม มที ักษะอาชพี ก้าวทนั เทคโนโลยี ดารงชีวติ ตาม
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ข. พันธกจิ (Mission)
1. พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนกั เรียน
2. พฒั นานักเรียนให้มีทักษะอาชพี เพื่อดารงชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
3. ส่งเสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยี การใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร และการเรยี นรตู้ าม

มาตรฐานสากล
4. ส่งเสริม สนับสนนุ การพฒั นาครู และบคุ ลากรทางการการศกึ ษา ให้จดั การเรยี นการ

สอน
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
5. พฒั นากระบวนการการบริหารและการจดั การสถานศกึ ษา
6. สง่ เสริมชมุ ชนและภาคเี ครือขา่ ยให้มีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา

ค. เป้ำประสงค์ (Goals)
1. นกั เรยี นมีคุณธรรมจรยิ ธรรม
2. นักเรยี นมที ักษะอาชีพเพื่อดารงชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. นักเรยี นมีทักษะการใช้เทคโนโลยี การใช้ภาษาเพ่อื การส่ือสาร และมคี ุณภาพการตาม

มาตรฐานสากล
4. ครู และบคุ ลากรทางการการศกึ ษา มีการจดั การเรยี นการสอนอยา่ งมีประสิทธิภาพ
5. โรงเรียนมีกระบวนการการบริหารและการจัดการสถานศึกษาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
6. ชุมชนและภาคเี ครอื ข่ายมสี ่วนร่วมในการจดั การศกึ ษา

แผนปฏิบัติการโรงเรียนพระบางวิทยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 66



ง. คำ่ นยิ มองคก์ ร
“ยมิ้ ง่าย ไหว้สวย รวยนา้ ใจ ใฝเ่ รยี นรู้ คู่คณุ ธรรม”

จ. ประเดน็ กลยุทธ์ (Strategy)
กลยทุ ธท์ ่ี 1 พฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น
กลยทุ ธ์ที่ 2 พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษา
กลยทุ ธท์ ่ี 3 พฒั นาผู้บริหาร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา

และ
มาตรฐานสากล
กลยุทธ์ท่ี 4 สง่ เสริมให้ชมุ ชนและภาคีเครือขา่ ยมีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษา

ฉ. มำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ ระดบั กำรศึกษำขนั้ พ้นื ฐำน โรงเรียนพระบำงวิทยำ
มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พ.ศ.2561 มีจานวน 3 มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผูเ้ รยี น
1.2 คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ของผเู้ รียน
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ

แผนปฏิบตั ิการโรงเรยี นพระบางวิทยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 67



แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 68



กำรวเิ ครำะห์สภำพแวดล้อม (SWOT Analysis)
โรงเรียนพระบำงวทิ ยำ

SWOT Analysis เป็นเทคนิคในการวิเคราะห์สภาวการณ์ขององค์กร เพื่อการกาหนดกล
ยุทธใ์ นการทางาน โดยจะพิจารณาสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกขององค์กร คาว่า SWOT เป็น
ตัวอักษรย่อ ท่ีมาจากอักษรตัวแรกของคาต่าง ๆ ท่ีใช้เป็นปัจจัยหลักในการวิเคราะห์สภาวการณ์ ซ่ึง
ไดแ้ ก่

S คือ Strength หรือจุดแข็งด้านทรัพยากรท่ีมีศักยภาพและความสามารถทางการแข่งขัน
ประกอบ ไปด้วย ทักษะการทางานที่ดีและความเช่ียวชาญในการทางาน สภาพการเงินที่แข็งแกร่ง
ภาพพจน์ท่ีดี ช่ือเสียง การเป็นผู้นาในตลาด เป็นท่ียอมรับอย่างกวา้ งขวาง ความสามารถในการจูงใจ
การเป็นเจ้าของเทคโนโลยี การมีนวัตกรรมท่ีแปลกใหม่มีประสิทธิภาพ คุณภาพเหนือกว่าคู่แข่ง มี
พันธมิตรที่ดีและเหนยี วแน่น เป็นต้น

W คือ Weakness หรือจุดอ่อนด้านทรัพยากรและความเสียเปรียบทางการแข่งขัน
ประกอบด้วย การขาดทิศทางการทางานที่ชัดเจน ส่ิงอานวยความสะดวกท่ีล้าสมยั ปัญหาด้านงบการ
ลงทุน ภาระหน้ีสิน การมีต้นทุนต่อหน่วยสูง การขาดทักษะและความชานาญ ขาดการจัดการที่เป็น
ระบบ การมีภาพพจน์หรอื ชอื่ เสียง ทีไ่ มด่ ี ผลิตภัณฑ์ท่ีขาดคณุ ภาพ มีปญั หาในดา้ นการวจิ ัยและพัฒนา
ขาดพันธมติ รทางการคา้ ทเี่ ขม้ แข็ง เปน็ ต้น

O คอื Opportunity หรือโอกาสขององค์กร ประกอบดว้ ย โอกาสในการขยายตลาดเดิมหรือ
เขา้ ไปสูต่ ลาดใหม่ การขยายสายการผลิตทีส่ ามารถตอบสนองความต้องการของลกู ค้าได้มากข้ึน การที่
อปุ สงค์ของตลาดมเี พม่ิ มากขึ้น ความไดเ้ ปรยี บเก่ยี วกบั ข้อกีดกันทางการคา้ ระหว่างประเทศ เปน็ ต้น

T คือ Threat หรืออุปสรรคขององค์กร ประกอบไปด้วย การเข้ามาของคู่แข่งรายใหม่ การมี
ผลิตภัณฑ์ท่ีสามารถทดแทนสินค้าของเราได้ในตลาด การปรับเปลี่ยนทิศทางในอัตราแลกเปลี่ยน
เงินตราระหว่างประเทศ การอ่ิมตัวของธุรกิจที่เราอยู่ การเปล่ียนแปลงความต้องการและรสนิยมของ
ผบู้ ริโภค การมีขอ้ กาหนดหรอื กฎหมายซ่งึ ทาให้ต้นทนุ ในการผลิตของบริษัทเพ่ิมมากขึน้ เปน็ ต้น

แผนปฏิบัติการโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 69



ในการเปรียบเทียบจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค จะช่วยทาให้เกิดความเข้าใจถึง
ปัจจัยต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการทางาน จุดแข็งเป็นความสามารถท่ีจะต้องใช้เพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ี
กาหนดไว้ ในขณะท่ีจุดอ่อนเป็นลักษณะที่เราต้องทาการแก้ไข โอกาสเป็นสถานการณ์ที่ทาให้เรามี
ความได้เปรียบคู่แข่งและช่วยสนับสนุนองค์กรให้บรรลุเป้าหมาย ส่วนอุปสรรคก็เป็นวิกฤตที่ทาให้
บรษิ ทั ไม่สามารถบรรลเุ ป้าหมายที่ตั้งไว้

การประเมินสภาพแวดล้อมภายใน (จุดอ่อน-จุดแข็ง) ใน 6 ด้าน คือ การบริการ
(Service) นักเรียน (Student) บุคลากร (Man) เงิน (Money) การจัดการ (Management)
ทรัพยากร (Material) การประเมินสภาพแวดล้อมภายใน (จุดอ่อน-จุดแข็ง) ใน 6 ด้าน คือ การ
บริการ (Service) นักเรียน (Student) บคุ ลากร (Man) เงิน (Money) การจัดการ (Management)
ทรพั ยากร (Material)

การประเมินสภาพแวดล้อมภายนอก (โอกาส-อุปสรรค) ใน 4 ด้าน คือ สังคม (Social)
เทคโนโลยี (Technology) เศรษฐกจิ (Economic) นโยบาย (Political)

แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวิทยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 70



โรงเรียนได้ดาเนินการวิเคราะห์สภาพองค์กร โดยให้ครูผู้รับผิดชอบโครงการ/
กิจกรรม ทาการวิเคราะห์ในส่วนท่ีตนรับผิดชอบ จากสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กรที่
ส่งผลต่อการดาเนินงานของกิจกรรมต่างๆ หลังจากนั้นคณะกรรมการวิเคราะห์สภาพองค์กร
ประกอบด้วยฝ่ายบริหาร คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ หัวหน้างาน หัวหน้ากลุ่มสาระ
การเรยี นรู้

โดยองค์ประกอบของการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของหน่วยงานโดย SWOT
Analysis ประกอบด้วยสภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นโอกาส (Opportunities) หรืออุปสรรค
(Threats) และสภาพแวดล้อมภายในท่ีเป็นจุดแข็ง(Strengths) หรือจุดอ่อน(Weakness) โดยทาการ
วิเคราะห์เฉพาะปัจจัยที่มีอิทธิพล/สภาพปัจจุบัน ปัญหาต่อการปฏิบัติงานตามภารกิจและพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษา มีข้ันตอนการวเิ คราะห์ ดังนี้

แต่งตงั้ คณะกรรมการดาเนนิ การจดั ทาแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา

คณะกรรมการวเิ คราะหส์ ภาพองค์กร

การวเิ คราะห์องค์กรภายนอก การวิเคราะห์องค์กรภายใน
โอกาส/อปุ สรรค (STEP) จุดแข็ง/จุดออ่ น (2S4M)

ลงคะแนนให้ค่าน้าหนักคะแนนของกรรมการแตล่ ะคน หนา้ 71

สรปุ ผลการวเิ คราะห์องค์กร

ผลการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกแบะภายใน

แผนปฏบิ ัตกิ ารโรงเรียนพระบางวิทยา ปกี ารศึกษา 2565



1. กำรวิเครำะห์สภำพแวดลอ้ มภำยนอก

1.1 ด้านสังคมและวัฒนธรรม

สญั ลกั ษณ์ ประเดน็ โอกำส อปุ สรรค

SO01 การประกอบอาชพี ของผู้ปกครองสง่ ผลในการดูแล 
อบรมบุตร

SO02 การมอี ยู่และความหลากหลายของแหล่งเรียนรู้ 

SO03 การมอี ยู่และความหลากหลายของภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน 

SO04 นักเรยี นบางส่วนไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ แต่อย่กู ับ 
ผ้ปู กครอง

SO05 ผนู้ าชมุ ชนมองเหน็ ความสาคัญของการศึกษา 

SO06 การแยกทางและหย่าร้างของผู้ปกครอง 

SO07 ความรู้ความเข้าใจในระบบการจัดการศึกษาของ 
ผปู้ กครอง

SO08 การใหค้ วามรว่ มมือในการเข้ารว่ มกจิ กรรมระหวา่ ง 
โรงเรียนและชุมชน

SO09 ชมุ ชนมีการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณใี นท้องถิน่ 

SO10 ชมุ ชนยงั มคี วามเสีย่ งดา้ นยาเสพติดบางชนิด 

SO11 ความเช่อื ถือในการบริหารจัดการศกึ ษาของโรงเรียน 

SO12 ความตระหนักของผู้ปกครองในการอบรมดูแล 
ลูกหลานเรอ่ื งการมีเพศสัมพันธก์ อ่ นวยั อันควร

SO013 การแพรร่ ะบาดของโรคติดต่อตา่ งๆ 

แผนปฏบิ ตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวิทยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 72



1.2 ดา้ นเทคโนโลยี ประเดน็ โอกำส อปุ สรรค
สัญลักษณ์

T01 นโยบายรัฐบาลสนับสนุนงบประมาณพฒั นา 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการศกึ ษา

T02 ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีในยุคปจั จบุ นั 

T03 การควบคมุ ดูแล ของผู้ปกครองในการใช้ส่อื Social 
ของนักเรียน

T04 การมรี า้ นอินเตอร์เน็ตใหบ้ ริการอยู่ในชุมชน 

T05 ความตระหนักของชุมชนถึงโทษภัยของการนา 
เทคโนโลยที ี่ทันสมยั มาใช้

T06 การควบคมุ ส่ือลามกที่แฝงมาทางอินเทอร์เนต็ 
ตลอดจนโฆษณาชวนเชอ่ื แฝงมาทางวทิ ยุและ
โทรทัศน์

T07 ครวั เรอื นสว่ นใหญ่มีเครื่องอานวยความสะดวกทั้งใน 
ด้านการอุปโภคและบรโิ ภคท่ีทันสมัย

T08 การใหบ้ รกิ ารเครอื ขา่ ยสญั ญาณอินเตอรเ์ นต็ ของค่าย
ตา่ งๆครอบคลุมเกือบทุกพ้ืนที่ของจังหวัดนครสวรรค์ 

1.3 ดา้ นเศรษฐกิจ ประเดน็ โอกำส อปุ สรรค
สญั ลักษณ์ 

E01 การสนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาจากชมุ ชน/องคก์ ร
ปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ /สถานประกอบการในชมุ ชน

แผนปฏิบัตกิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปีการศึกษา 2565 หนา้ 73



สัญลกั ษณ์ ประเด็น โอกำส อุปสรรค

E02 รายไดข้ องผูป้ กครองในการใหก้ ารสนับสนุน 
การศกึ ษาแกน่ ักเรียน 

E03 ภาวะเศรษฐกจิ ของชุมชนในการจัดการศึกษา

E04 การจัดสรรงบประมาณในการบริหารจดั การศกึ ษา 
จากหน่วยงานตน้ สงั กัด 

E05 การประกอบอาชีพต่างถ่ินของผ้ปู กครอง

E06 การขยายตวั ทางเศรษฐกิจของชุมชน

E07 การจดั สรรทุนปจั จัยพน้ื ฐานให้นักเรียนดอ้ ยโอกาส

1.4 ดา้ นการเมืองและกฎหมาย

สญั ลักษณ์ ประเดน็ โอกำส อปุ สรรค

P01 การเปลย่ี นแปลงนโยบายการจดั การศึกษา 

P02 วสิ ัยทัศนข์ องผบู้ ริหารกระทรวงศึกษาธิการ 

P03 นโยบายเรยี นฟรี 15 ปขี องรฐั บาล 

P04 การสนับสนุนการศึกษาขององค์กรปกครองสว่ น 
ทอ้ งถ่นิ

P05 การกาหนดแนวปฏิบัตติ ามนโยบายของต้นสังกัด

P06 นโยบายการศึกษาภาคบงั คบั และข้ันพนื้ ฐาน

P07 นโยบายการใหก้ ยู้ มื เงนิ เพื่อการศกึ ษา (กยศ.)

แผนปฏิบัตกิ ารโรงเรียนพระบางวิทยา ปีการศึกษา 2565 หนา้ 74



สญั ลกั ษณ์ ประเด็น โอกำส อุปสรรค

P09 การกาหนดมาตรฐานทางการศึกษาที่หลากหลาย ท้ัง 

ในระดบั ชาติ ระดับกระทรวง ระดับเขตพื้นที่

P10 นโยบายกระจายอานาจการจัดการศึกษาสู่ภมู ภิ าค 

1. กำรวิเครำะห์สภำพแวดลอ้ มภำยใน
1.1 ดา้ นโครงสรา้ งและนโยบายของสถานศกึ ษา

สญั ลกั ษณ์ ประเด็น จุดแข็ง จดุ ออ่ น

SP01 ความชัดเจนของโครงสร้างการบรหิ ารงาน 5 ฝ่ายของ 
โรงเรียน

SP02 การกาหนดนโยบายการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี น 

SP03 การจดั ทาแผนพัฒนาและแผนกลยุทธ์ของโรงเรยี น 

SP04 การกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกจิ ยทุ ธศาสตร์ และ 
เป้าหมายของโรงเรียน

SP05 การกาหนดแนวปฏบิ ตั ิในการดาเนินงานต่างๆ 

1.2 ดา้ นผลผลติ และการบรกิ าร

สัญลกั ษณ์ ประเด็น จดุ แขง็ จดุ อ่อน

P01 การศกึ ษาต่อของนักเรยี นทจ่ี บ ม.3 และ ม.6 ในระดับ 
ทสี่ งู ขึ้น

P02 นกั เรยี นได้รบั รางวัลทางวิชาการระดับเขต/ภาค/ 
ประเทศ/นานาชาติ

แผนปฏบิ ตั ิการโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 75



สญั ลกั ษณ์ ประเดน็ โอกำส อุปสรรค

P04 ความสามารถในการใช้เครอ่ื งมือสื่อสาร และสอ่ื 
เทคโนโลยี

P05 นักเรียนสว่ นใหญม่ คี วามรบั ผิดชอบตอ่ หน้าทใ่ี นการ 
เรียน

P06 นกั เรียนส่วนใหญ่เห็นความสาคัญของการศกึ ษา 

P07 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเป็นไปตามค่า 
เปา้ หมายทีโ่ รงเรยี นกาหนด

P08 ทกั ษะการทางานรว่ มกับผอู้ นื่ ของนักเรียน 

P09 ความใฝ่เรียน ใฝ่รู้ แสวงหาความรจู้ ากแหล่งเรยี นรู้ 
ต่าง ๆทงั้ ในและนอกห้องเรียน

P10 ทกั ษะทางดา้ นกีฬาของนักเรียน 

P11 ทักษะการอ่าน การเขยี น การส่อื สาร 
ภาษาตา่ งประเทศ

P12 ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ
อภิปราย แลกเปลยี่ นความคิดเห็น และแกป้ ัญหาของ 
นกั เรยี น

P13 ความพร้อมในการศึกษาต่อ 

P14 การมคี ุณลกั ษณะและค่านยิ มทีด่ ตี ามท่สี ถานศึกษา
กาหนด โดยไมข่ ัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดขี อง 
สงั คม

แผนปฏิบตั ิการโรงเรียนพระบางวิทยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 76



สญั ลกั ษณ์ ประเด็น โอกำส อปุ สรรค

P15 การยอมรบั ท่จี ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกตา่ งและ 
หลากหลาย

P16 การรักษาอารมณ์และสุขภาพจติ ให้ดีอยูเ่ สมอ 

P17 ความภาคภูมใิ จในทอ้ งถิ่นในความเป็นไทย และเห็น 
คุณคา่ เกีย่ วกบั ภูมปิ ัญญาไทยและแสดงออกได้อยา่ ง
เหมาะสมในชีวติ ประจาวนั

P18 การยอมรบั เหตผุ ลความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทง้ั การมี 

มนษุ ยสัมพนั ธ์ดี

P19 ทักษะและความสามารถทางการคดิ คานวณของ 
นักเรยี น

P20 การฝึกงานหรือการทางานของนักเรียน



1.3 ดา้ นบุคคลากร

สญั ลักษณ์ ประเดน็ จดุ แขง็ จุดอ่อน

M101 ความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนของ 
ครู

M102 การใหค้ วามร่วมมือของครกู บั นโยบายของโรงเรยี น 

M103 ความร้คู วามสามารถในการนา ICT มาใชจ้ ัดการเรียน 
การสอนของครู

แผนปฏบิ ัตกิ ารโรงเรียนพระบางวิทยา ปีการศึกษา 2565 หนา้ 77



สญั ลกั ษณ์ ประเด็น จดุ แขง็ จดุ ออ่ น

M104 ครูมคี วามรูต้ รงตามวุฒกิ ารศกึ ษาและสอนตรงตาม 
วิชาเอก

M105 บคุ ลากรมีความรกั ความสามัคคี ทางานร่วมกันเป็น 
หมคู่ ณะ

M106 ครมู ีจติ วิญญาณ และความศรัทธาในอาชีพครู 

M107 บคุ ลากรมีการพัฒนาตนเองในการเข้ารบั การอบรม 
สมั มนาอย่างต่อเนื่อง

M108 ครูจัดการเรียนการสอนให้มีประสทิ ธิภาพตาม 
นโยบายของโรงเรียน

M109 ครูเอาใจใส่ดูแลด้านพฤติกรรมและการเรียนของ 
นักเรียน

M110 ครมู ภี าระงานที่ไดร้ บั มอบหมายพิเศษนอกเหนอื จาก 
งานสอน

M111 ครูมีความสารมารถในการจัดการเรียนการสอนด้วย 
เทคโนโลยีการสอนทางไกล

แผนปฏบิ ตั ิการโรงเรียนพระบางวทิ ยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 78



1.4 ดา้ นประสทิ ธิภาพทางการเงนิ

สัญลกั ษณ์ ประเดน็ จดุ จดุ อ่อน
แข็ง

M201 การจัดทาแผนปฏบิ ตั ิการประจาปี 

M202 การใชจ้ า่ ยเงินงบประมาณเป็นไปตามแผนปฏบิ ตั ิการ 

M203 การจดั ทาแผนการใช้จ่ายงบประมาณโดยทุกฝ่ายมีส่วน 
ร่วม

M204 ระบบการเบิกจา่ ยถูกต้องเป็นไปตามระเบยี บ 

M205 การบริหารการเงินและงบประมาณโปรง่ ใส ตรวจสอบ 
ได้

M206 ความคลอ่ งตัวในการเบิกจา่ ยเงินตามโครงการ 

M207 การจัดเก็บเงินระดมทรัพยากรประจาภาคเรยี น 

M208 การจดั สรรเงนิ ทุนให้กับนกั เรียนฐานะยากจน 

แผนปฏบิ ตั ิการโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 79



1.5 ด้ำนวสั ดุทรพั ยำกร ประเดน็ จุดแข็ง จดุ ออ่ น
สญั ลกั ษณ์

M301 ความเพยี งพอของ สือ่ วัสดุ อุปกรณ์ ท่ีใช้ในการ 
จดั การเรยี นการสอน

M302 ความสะดวกในการนาส่ือ ICT เทคโนโลยี มาใชใ้ นการ 
จัดการเรียนการสอน

M303 วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้จัดการเรียนการสอนมีความทันสมัย 
และมีประสทิ ธิภาพ

M304 อาคารเรยี นที่ใชใ้ นการจัดทาเป็นหอ้ งเรียนและห้อง 
พิเศษ

M305 การใหบ้ ริการเครอื ขา่ ยอนิ เตอร์เน็ต อยา่ งทัว่ ถงึ และ 
ครอบคลุม

M306 ความเพยี งพอของวัสดุอุปกรณท์ างดา้ นเทคโนโลยี 
สาหรับการบรหิ ารจดั การ

M307 ความหลากหลายของแหล่งเรียนรใู้ นโรงเรยี น 

M308 สภาพแวดลอ้ มของโรงเรียนท่ีเอ้ือต่อการเรยี นรู้ 

แผนปฏิบัตกิ ารโรงเรยี นพระบางวิทยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 80



1.6 ดา้ นการบริหารจดั การ

สัญลกั ษณ์ ประเดน็ จดุ แขง็ จดุ ออ่ น

M401 การบริหารจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศ 

M402 บุคลากรมีส่วนรว่ มในการบริหารสถานศึกษา 

M403 การวางแผนการบรหิ ารงานอยา่ งเป็นระบบ และ 
ดาเนินการตามแผน

M404 การบริหารงานโดยการจัดทาแผนงาน/โครงการ เปน็ 
กรอบทิศทาง

M405 มกี ารนเิ ทศ กากับตดิ ตาม ผลการปฏบิ ัติงาน 

M406 การประชาสัมพนั ธข์ ่าวสาร ข้อมูล ให้กบั บุคลากร 
อยา่ งทว่ั ถึง

M407 คณะกรรมการสถานศึกษาฯ และเครือขา่ ยผู้ปกครอง 

มีสว่ นรว่ มในการบริหารสถานศึกษา

M408 ผู้บริหารมภี าวะผูน้ า และมีวสิ ยั ทัศน์ 

M409 บรหิ ารงานโดยมอบหมายงานให้บคุ ลากรตามความ 
ถนัด และเหมาะสม

M410 สนับสนนุ การพฒั นาตนเองของบุคลากรและนักเรียน 

แผนปฏบิ ตั กิ ารโรงเรียนพระบางวทิ ยา ปีการศึกษา 2565 หนา้ 81



สรปุ ผลกำรวิเครำะหภ์ ำยนอกและภำยใน
2.1 ตำรำงแสดงกำรกำหนดสภำพนำ้ หนกั ของสภำพแวดล้อมภำยนอกองคก์ ร

ประเดน็ ตัวชว้ี ัดปัจจยั สภำพแวดล้อมภำยนอก (STEP)/ผลกำรประเมนิ

รำยกำรปัจจยั คำ่ เฉลี่ยคะแนนจริง

1. ดา้ นสังคม-วฒั นธรรม (Social = S) 0.11

2. ด้านเทคโนโลยี (Technology = T ) -0.42

3. ด้านเศรษฐกิจ ( Economic = E ) 0.26

4. ดา้ นการเมอื งและกฎหมาย (Politic = P) 1.79

สรปุ กำรประเมินสถำนภำพปัจจัยสภำพแวดล้อมภำยนอก (STEP) 1.73

2.2 ตำรำงแสดงกำรกำหนดสภำพน้ำหนกั ของสภำพแวดลอ้ มภำยในองคก์ ร

2.3 ตำรำงแสดงสรุปผลกำรวเิ ครำะหส์ ภำพแวดล้อมภำยนอก (STEP)

นา้ หนกั ค่าคะแนน คะแนนจรงิ

ประเด็นตัวช้วี ัด คะแนน โอกาส อุปสรรค โอกาส อปุ สรรค สรปุ ผล

1. ด้านสงั คม-วัฒนธรรม (S) 0.25 5.19 4.75 1.30 1.19 0.11
-0.42
2. ดา้ นเทคโนโลยี (T ) 0.20 4.64 6.75 0.93 1.35 0.26
1.79
3. ดา้ นเศรษฐกิจ (E) 0.25 5.84 4.81 1.46 1.20 1.73

4. ด้านการเมอื งและกฎหมาย (P) 0.30 5.95 0.00 1.79 0.00

สรุปปจั จัยภำยนอก 5.47 3.74

แผนปฏิบัติการโรงเรียนพระบางวทิ ยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 82



ประเดน็ ตัวชี้วัดสภำพแวดล้อมภำยใน ( 2S4M )/ผลกำรประเมนิ

รำยกำรปจั จัย ค่ำเฉล่ยี คะแนนจรงิ

1. ด้านโครงสร้างและนโยบาย (Structure =S1 ) 0.41

2. ดา้ นผลผลิตและการบริการ (Service and Products = S2 ) 0.35

3. ดา้ นบุคลากร (Man = M1) 0.77

4. ด้านประสทิ ธิทางการเงิน (Money = M2) 0.94

5. ดา้ นวสั ดุ และอุปกรณ์ (Materials = M3 ) -0.13

6. ด้านการบริหารจดั การ ( Management = M4 ) 0.16

สรุปกำรประเมนิ สถำนภำพปัจจัยสภำพแวดล้อมภำยใน (2S4M) 2.50

เฉลี่ยปัจจัยภำยนอก EX =

2.4 ตำรำงแสดงสรปุ ผลกำรวิเครำะห์สภำพแวดลอ้ มภำยใน (2S4M)

นา้ หนัก คา่ คะแนน คะแนนจริง
จดุ แขง็ จุดออ่ น
ประเด็นตวั ช้ีวดั คะแนน จดุ แขง็ จดุ ออ่ น สรปุ ผล

1.ดา้ นโครงสรา้ งและนโยบาย (S1 ) 0.20 2.05 0.00 0.41 0.00 0.41

2.ดา้ นผลผลติ และการบรกิ าร ( S2 ) 0.10 7.40 3.88 0.74 0.39 0.35

3.ด้านบุคลากร (M1) 0.25 6.15 3.06 1.54 0.77 0.77

4.ด้านประสทิ ธิทางการเงนิ (M2) 0.15 6.25 0.00 0.94 0.00 0.94

5.ดา้ นวสั ดุ และอปุ กรณ์ (M3 ) 0.10 4.95 6.25 0.49 0.63 -0.13

6.ดา้ นการบรหิ ารจดั การ (M4 ) 0.20 5.19 4.38 1.04 0.88 0.16

แผนปฏบิ ตั ิการโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปีการศึกษา 2565 หนา้ 83



สรปุ ปจั จยั ภำยใน 5.16 2.65 2.50
2.5 กรำฟแสดงผลกำรประเมนิ สถำนภำพของโรงเรยี น

กรำฟแสดงผลกำรประเมินสถำนภำพของโรงเรยี นพระบำงวทิ ยำ
ปีกำรศกึ ษำ 2565 บนแกนควำมสัมพนั ธข์ อง SWOT

อธิบำยผลจำกกรำฟ
ผลจากการวเิ คราะหอ์ งคก์ ร จะเห็นว่า จุดไข่แดงพร้อมลูกศรจะปรากฏอยู่ทางดา้ นจุด

แข็งและอุปสรรค ซงึ่ ถือว่าเป็น STAR หรอื ดาวรงุ่ แสดงให้เห็นวา่ โรงเรียนมีสมรรถนะภายในที่
เข้มแข็งและไดร้ ับโอกาสสนบั สนนุ จากภายนอก ควรมกี ารขยายและส่งเสรมิ สิง่ ที่เข้มแข็งให้มีการ
พัฒนาตอ่ ไป

3. อภปิ รำยผลกำรประเมินสภำพแวดลอ้ มภำยนอกและภำยในโรงเรียนพระบำงวิทยำ

1. สภำพแวดลอ้ มภำยนอก
1.1 ดา้ นสังคมและวัฒนธรรม (Socio – Factors: S)
สรุปผลการวเิ คราะห์ พบวา่ เปน็ โอกาสมากกว่าอปุ สรรค เน่ืองจากโรงเรียนเปน็ ศนู ย์กลาง

และ เป็นท่ียอมรับของชุมชนและสังคม คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผู้ปกครอง และชุมชน
ใหค้ วาม ร่วมมอื ในการดาเนินงานและกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรยี นอยา่ งสม่าเสมอ อกี ทั้งบรเิ วณรอบๆ
โรงเรียนยังมีแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ถือได้ว่าปัจจัยด้านสังคมและ วัฒนธรรมเป็นปัจจัยท่ีเป็น
โอกาสมากกว่าอปุ สรรคต่อการดาเนนิ ภารกจิ ของโรงเรียน

แผนปฏิบตั ิการโรงเรยี นพระบางวิทยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 84



ในส่วนของอุปสรรคนั้น พบว่าผู้ปกครองบางส่วนมีอาชีพที่ไม่ม่ันคง มีฐานะยากจน มี
ปัญหาครอบครัวแตกแยกและย้ายท่ีอยู่เพื่อประกอบอาชีพบ่อยๆ ส่งผลกระทบต่อการเรียน นักเรียน
บางส่วนต้องอยู่กับญาติพ่ีน้องซึ่งส่วนใหญ่ไม่สามารถดูแลนักเรียนได้อย่างเต็มที่เนื่องจากต้องทางาน
และนักเรียนบางส่วนไม่ได้อาศัยอยู่กับบิดามารดา ซึ่งปัญหาเหล่านี้ล้วนส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน
และการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนโดยรวม ตลอดจนปัญหาด้านสังคมที่ทาให้นักเรียนอยู่
ในภาวะเสยี่ งต่อการเก่ียวข้อง เช่น ปัญหายาเสพติด นอกจากน้ันปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดตอ่
เชน่ การแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรน่า-2019 ยังถือเปน็ อุปสรรคในการบรหิ ารจัดการศึกษาอกี ประเด็น
นงึ ด้วย

1.2 ดา้ นเทคโนโลยี (Technological Factors: T)
สรุปผลการวิเคราะห์แล้วเป็นอุปสรรคมากกว่าโอกาส แม้วา่ การตดิ ต่อส่ือสารและความ

ทันสมัยของเทคโนโลยีทางสังคม รวมท้ังการให้บริการอินเตอร์เน็ทที่ครอบคลุมท่ัวทั้งจังหวัด
นครสวรรค์นั้นจะส่งผลให้นักเรียนเกิดความรอบรู้และสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเองแล้วน้ัน แต่
ยังพบว่านักเรียนยังจาเป็นต้องอาศัยการควบคุม ดูแล ของผู้ปกครองในการใช้สื่อ Social รวมถึงการ
ควบคุมสื่อลามกท่ีแฝงมาทางอินเทอร์เน็ต ตลอดจนโฆษณาชวนเชื่อแฝงมาทางวิทยุและโทรทัศน์ของ
นักเรียนยังถือเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาคุณภาพนักเรียน ซึ่งโรงเรียนจะต้องพัฒนา ปรับปรุงและ
แก้ไขต่อไป

ในขณะทด่ี า้ นโอกาสพบว่า โงเรียนมีเวบ็ ไซตท์ เ่ี ผยแพรข่ ้อมูล ผลงาน ขา่ วสารของสถานศึกษา
ให้กับหน่วยงานภายนอก และนักเรียนสามารถนา ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้อย่างคล่องแคล่ว รวมทั้งสถานศึกษามีการปรับหลักสูตรให้สอดคล้องกับยุค
เทคโนโลยี

1.3 ดา้ นเศรษฐกิจ (Economic Factors: E)
สรุปผลการวิเคราะห์แล้วเป็นโอกาสมากกว่าอุปสรรค เนื่องจากชุมชน องค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิ่น และสถานประกอบการในชุมชน มีส่วนร่วมในการสนับสนุนการศึกษาหลากหลาย
หน่วยงานต้นสังกัดมีการสนับสนุนงบประมาณในการจัดการศึกษา อีกทั้งนักเรียนยังได้รับจัดสรร
เงินทุนต่างๆ เชน่ เงินทุนปัจจัยพืน้ ฐาน

ในส่วนของอปุ สรรคนนั้ พบว่า ผ้ปู กครองบางส่วนมีรายได้น้อยและยังประกอบอาชีพต่าง
ถิ่นทาให้รายไดไ้ ม่แน่นอน ไมส่ ามารถสนับสนุนบางกิจกรรมของโรงเรยี นได้อย่างเต็มท่ี

1.4 ดา้ นการเมอื งและการกฎหมาย (Political and legal factor :P)
สรุปผลการวิเคราะห์แล้วเป็นโอกาสมากกว่าอุปสรรค ในส่วนของโอกาสนั้น พบว่า

รัฐบาลมีการสนับสนุนงบประมาณในการจัดการศึกษา ได้แก่ เงินปัจจัยพ้ืนฐานนักเรียนยากจน การ

แผนปฏิบัตกิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 85



กู้ยืม กยศ. นอกจากนั้นยังมีนโยบายเรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพ พระราชบัญญัติการศึกษา การ
กระจายอานาจทางการศึกษาท่ีเอื้อต่อการเรียนการสอนและการให้การศึกษาภาคบังคับและภาคพื้น
ฐาน รวมถึงนโยบายเพ่ือส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษาให้มี
ประสทิ ธภิ าพมากข้ึน

ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกตามปัจจัย 4 ด้าน ดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า
โรงเรียนพระบางวิทยา มีปัจจัยที่เป็นโอกาสมากกว่าปัจจัยท่ีเป็นอุปสรรค กล่าวคือ มีความพร้อมใน
การจัดการศึกษา โดยได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนจากชุมชนและหน่วยงานต้นสังกัด สามารถ
พัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้เกิดผลตามเป้าหมายของโรงเรียน แต่ก็ยังมีอุปสรรคอยู่บ้างคือ การ
เปล่ียนแปลงทางด้านสังคมและวัฒนธรรม เทคโนโลยีการส่ือสาร ทาให้พฤติกรรมของเยาวชน
ปรบั เปลีย่ นตามไปด้วย

2. สภำพแวดล้อมภำยใน
2.1 ดา้ นโครงสรา้ งและนโยบายของโรงเรียน (Structure and Policy: S1)
สรุปผลการวิเคราะห์แล้วเป็นจุดแข็ง กล่าวคือ โรงเรียน มีการบริหารงาน กาหนด

วิสัยทัศน์ นโยบาย เป้าหมาย และภารกิจท่ีชัดเจน มีการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ
แผนปฏิบัติการประจาปีทาให้บคุ ลากรมีการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและเป็นไปในแนวทางเดยี วกนั
เน้นการทางานเป็นหมู่คณะ ทุกคนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างขวัญและกาลังใจลดการขัดแย้ง ทาให้
การดาเนนิ งานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ

2.2 ดา้ นการใหบ้ ริการและคณุ ลกั ษณะของผเู้ รียน (Service and Produce: S2)
สรุปผลการวิเคราะห์แล้วเป็นจุดแข็งมากกว่าจุดอ่อน กล่าวคือ คุณภาพของนักเรียนซ่ึง

ถือว่าเป็นผลผลิตจากการใหบ้ ริการโดยเฉลีย่ มีคุณภาพตามมาตรฐาน นักเรียนมีผลงานได้รบั รางวัลใน
ระดับต่างๆ นักเรียนท่ีจบการศึกษาจากโรงเรียนท้ังในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 สามารถเข้า
ศึกษาต่อในระดับที่สูงข้ึน นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีสมรรถนะ นักเรียนมีสุขภาพอนามัย
ท้ังด้านร่างกายและจติ ใจเป็นไปตามทโ่ี รงเรียนคาดหวงั

ในส่วนของจุดอ่อน ได้แก่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนบางรายวิชายังไม่บรรลุเป้าหมาย
นักเรยี นยงั ขาดทักษะการคดิ คานวณ และการใชภ้ าษาต่างประเทศเพ่อื การสอ่ื สาร

2.3 ด้านบุคลากร (Man: M1)
สรุปผลผลการวิเคราะห์แล้วเป็นจุดแข็ง เนื่องจากผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ สามารถบริหาร

จัดการครูและบุคลากรให้จัดการเรียนการสอนแก่นักเรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ ครูและบุคลากร
ทางการศึกษามีความรู้ความสามารถความเชี่ยวชาญในวิชาท่ีสอน สอนตรงวิชาเอก มีคุณวุฒิ

แผนปฏิบตั ิการโรงเรียนพระบางวิทยา ปีการศกึ ษา 2565 หนา้ 86



การศึกษาในระดับปริญญาตรีขึ้นไป เหมาะสมกับการปฏิบัติงานและมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง
ทาให้สามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งครูสามารถปรับตัวและพัฒนา
ความสามารถตนเองในการจัดการเรียนการสอนทางไกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครูมีจิตวิญญาณของ
ความเป็นครูและมีความศรัทธาในวิชาชีพครู มีการดูแลเอาใจใส่พฤติกรรมและการเรียนของนักเรียน
เปน็ อยา่ งดี

ในขณะที่การมีภาระงานอื่นๆนอกเหนือจากงานสอนและงานประจาช้ันค่อนข้างมาก ทา
ใหเ้ ป็นจุดอ่อนในด้านบคุ ลากร

2.4 ดา้ นประสทิ ธภิ าพการเงนิ (Money: M2)
สรุปผลการวิเคราะห์แล้วเป็นจุดแข็ง การบริหารจดั การด้านการเงินและการบัญชี เป็นไป

ตาม ขั้นตอนอย่างมีระบบ ตรวจสอบได้ และถูกต้องตามระเบียบ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก
รัฐบาล และ ได้รับเงินสนับสนุนการระดมทรัพยากรจากผู้ปกครองอย่างต่อเน่ือง มีการวางแผนใช้
จ่ายเงินงบประมาณ อย่างเป็นระบบตรงตามแผนงาน/โครงการ โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วมทาให้ใช้จ่ายได้
ตรงตามความตอ้ งการ

2.5 ด้านวสั ดุทรัพยากร (Material: M3)
สรุปผลการวิเคราะห์แล้วพบว่ามีจุดแข็งหลายด้าน ท้ังการมีสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่

เออื้ ต่อการเรียนรู้ การมอี ุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สื่อเทคโนโลยที เ่ี พยี งพอต่อการจัดการเรียนการสอน มี
ส่ือ วัสดุ อุปกรณ์เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน มีความสะดวกในการนาส่ือ ICT มาใช้ในการ
จดั การเรยี นการสอน มีระบบเครอื ขา่ ยอินเตอรเ์ นต็ ไร้สายครอบคลุมพน้ื ท่ีรอบบรเิ วณโรงเรยี น มี

ในส่วนของจุดอ่อนนัน้ ไดแ้ ก่ ขาดความหลากหลายของแหลง่ เรยี นรภู้ ายในโรงเรียนและ
อาคารเรยี นเพอ่ื รองรบั จานวนนกั เรยี นทเี่ พ่มิ ขึ้น

2.6 ดา้ นการบริหารจัดการ (Management: M4)
สรปุ ผลการวิเคราะห์แล้วเปน็ จุดแขง็ มากกวา่ จุดอ่อน ผ้บู รหิ ารมีภาวะผู้นาและมีวสิ ัยทัศน์

โดยการบริหารจัดการมีเป้าหมาย และทิศทางท่ีชัดเจนทาให้บุคลากรรู้ทิศทางในการดาเนินงานและ
ร่วมกันพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายได้ มีการวางแผนการทางานชัดเจน มีการมอบหมายงานให้ครูและ
บุคลากรทางการศึกษาตามความถนัดและเหมาะสม มีการกากับติดตามการดาเนินงาน สนับสนุนให้
ครู บุคลากร และนักเรียนมีการพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ มีการประชาสัมพันธ์ข่าวสารต่างๆให้กับ
บุคลากรทราบอยา่ งท่วั ถึง บุคลากรให้ความร่วมมอื ในการดาเนินการตามนโยบายของโรงเรียน รวมท้ัง
การมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาและเครือข่ายผู้ปกครอง ใน
ส่วนของจดุ ออ่ นนั้น พบวา่ โรงเรียนยังต้องปรับปรงุ การบรหิ ารจดั การสารสนเทศ

ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ตามปัจจัยท้ัง 6 ด้านข้างต้น สรุปได้ว่าโรงเรียนพระ
บางวิทยา มีจุดแข็งมากกว่าจุดอ่อน กล่าวคือ โรงเรียนมีโครงสร้างการบริหาร นโยบาย แผนปฏิบัติ

แผนปฏบิ ตั ิการโรงเรยี นพระบางวิทยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 87



งานท่ีส่งเสริมสนับสนุนให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ คุณภาพของนักเรียน
เป็นไปตามแนวทางท่ีโรงเรียนกาหนดและได้มาตรฐาน บุคลากรมีความเช่ียวชาญในวิชาเอก และ
สามารถนาเทคโนโลยีมาใช้เพ่ือการจัดการเรียนการสอน โรงเรียนมีประสิทธิภาพทางการเงินท่ีพร้อม
จะสนับสนุนการบริหารจัดการศึกษา มีความพร้อมในด้านวัสดุ อุปกรณ์ และสามารถระดมทุน
ทรัพยากรต่างๆมาสนับสนุนกิจกรรมการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี แต่มีจุดอ่อนคือ ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนบางรายวิชายังไม่บรรลุเป้าหมาย นักเรียนยังขาดทักษะการคิดคานวณ และการใช้
ภาษาต่างประเทศเพื่อการส่ือสาร รวมทั้งโรงเรียนขาดความหลายหลายของแหล่งเรียนรู้ภายใน
โรงเรียนและการจดั การข้อมูลสารสนเทศอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

แผนปฏิบัติการโรงเรียนพระบางวิทยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 88



แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 89



ประมำณกำรเงนิ อุดหนนุ รำยหวั
ปีงบประมำณ 2565

รำยกำร จำนวนคน จำนวนเงนิ หมำยเหตุ
ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 447 1,564,500
(คนละ 3,500 บาท)
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 173 657,400
(คนละ 3,800 บาท)

รวมทัง้ สน้ิ 620 2,221,900

ประมำณกำรเงินกิจกรรมพัฒนำผเู้ รยี นตำมโครงกำรเรียนฟรี 15 ปี
อยำ่ งมีคุณภำพ ปีงบประมำณ 2565

รำยกำร จำนวนเงิน
คา่ จัดการเรยี นการสอน 2,263,900
ค่าหนงั สอื เรียน 606,500
ค่าอุปกรณ์การเรียน 134,000
คา่ เครื่องแบบนักเรยี น 280,000
คา่ กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี น 532,910
3,817,316
รวมทง้ั ส้ิน

แผนปฏบิ ัติการโรงเรียนพระบางวิทยา ปกี ารศกึ ษา 2565 หนา้ 90



ประมำณกำรเงินระดมทรัพยำกร ปกี ำรศกึ ษำ 2565

ภำคเรยี น จำนวนนกั เรยี น อัตรำกำรจดั เก็บ จำนวนเงินตอ่ หมำยเหตุ
ภำคเรยี น
ภาคเรยี นท่ี 1 686 1,310 898,660
ภาคเรียนที่ 2 686 1,150 788,900
รวม 1,687,560

ประมำณแจกแจงเงินระดมทรัพยำกร ปกี ำรศกึ ษำ 2565

ลำดับท่ี รำยกำร อตั รำกำรจัดเกบ็ จำนวนเงิน
ภำคเรียนที่ 1 ภำคเรียนท่ี 2
1.
2. คา่ จ้างครตู ่างประเทศ(ฟิลปิ ปินส)์ 250 บาท/ภาคเรียน 250 บาท 250 บาท
3. 300 บาท 300 บาท
4. คา่ จา้ งครทู ่ีมีความเช่ยี วชาญเฉพาะสาขา 300 บาท/ภาคเรียน 300 บาท 300 บาท
5. 100 บาท 100 บาท
6. ค่าจ้างบุคลากรทป่ี ฏิบตั งิ านในสถานศึกษา 300 บาท/ภาคเรียน 100 บาท 100 บาท
7.
ค่าสอนคอมพวิ เตอร์ 100 บาท/ภาคเรียน

คา่ สาธารณูปโภคสาหรับหอ้ งเรยี นปรับอากาศ 100 บาท/ภาคเรียน

คา่ ตอบแทนวทิ ยากรภายนอก 100 บาท/ภาคเรยี น 100 บาท 100 บาท
ค่าประกนั ชีวติ /ประกันอุบตั เิ หตุ -
160 บาท/ปี 160 บาท 1,150 บำท
รวม
1,310 บำท

แผนปฏบิ ตั ิการโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศึกษา 2565 หนา้ 91



สรปุ รำยละเอียดกิจกรรมเสนอของบประมำณ ป

ท่ี กิจกรรม

เงนิ

อดุ หนุน วิชาการ คณุ ธรร

งบบริหำรงำนส่วนกลำง

1 ค่าสาธารณูปโภค 700,000

-ไฟฟ้า-นา้ ประปา

-โทรศัพท์

2 คา่ น้ามนั รถยนตส์ ว่ นกลาง 80,000

3 คา่ ดูแลรถยนตส์ ่วนกลาง 40,000

4 ปรับปรงุ ซ่อมแซมอาคาร 70,000

สถานท่ี

5 พฒั นาบคุ ลากร 200,000

6 ปากกา Healthy board 10,000
7 ค่าหมึกเคร่ืองพมิ พแ์ ละถ่าย 60,000

เอกสาร งานอานวยการ
รวม

แผนปฏบิ ัติการโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปกี ารศึกษา 2565



ปีกำรศึกษำ 2565 จำแนกตำมงำน/กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้

จานวนเงิน

เรียนฟรี 15 ปี ผู้รับผิดชอบ กิจกรรมท่ี
ดาเนนิ การ
รม ทัศนศึกษา ICT โควิด

ครูนสิ กุล

ครูไพฑรู ย์
ครูพงษเ์ ดช
ครูสมพงษ์

ครรู มณภัทร

ครกู มลรตั น์
ครณู รรฐวรรณ

1,160,000 บาท

หนา้ 92

ที่ กิจกรรม เงนิ วิชาการ คณุ ธรรม
อดุ หนุน 20,000
งบบริหำรงำนวชิ ำกำร
1 กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี น 70,000

การสอน 10,000
2 จดั ซ้ือวัสดงุ านหลกั สตู รและ
3,000
พฒั นาการเรียนการสอน 7,000
3 ทศั นศึกษา 7,000
4 ทาบตั รประจาตัวนักเรียน 10,000
5 การพฒั นางานทะเบยี น 20,000
6 พิธีมอบใบประกาศณียบัตร
7 พฒั นาระบบงาน GPA 10,000
8 จัดซ้ือวสั ดุงานวดั ผล

ประเมนิ ผล
9 กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความร้แู ละ

ทักษะทีจ่ าเปน็ ตามหลักสตู ร
10 การเพิ่มผลสมั ฤทธท์ิ างการ

เรียนนักเรียนทง้ั ระบบ

แผนปฏิบัติการโรงเรียนพระบางวิทยา ปกี ารศกึ ษา 2565



จานวนเงนิ ผ้รู ับผดิ ชอบ กิจกรรมท่ี
เรียนฟรี 15 ปี โควิด ดาเนนิ การ
ม ทัศนศึกษา ICT
ครูอญั ชลี
250,000
ครูอัญชลี

ครกู ลมรัตน์
ครูวสั ยา
ครวู ันเพ็ญ
ครูวันเพ็ญ
ครอู ญั ชลี
ครูเครอื วลั ย์

ครูกมลรัตน์

ครกู มลรตั น์

หนา้ 93

ท่ี กจิ กรรม เงิน วชิ าการ คณุ ธรรม
อดุ หนุน 131,000
งบบริหำรงำนวชิ ำกำร 70,000
11 บรกิ ารสบื ค้นความรู้ 6,000 45,000
2,000
เครือข่ายอินเทอร์เน็ท และ 5,000
บารุงรักษาเครื่องคอมฯ
12 งานประกนั คุณภาพภายใน 1,000
สถานศกึ ษา
13 จัดกจิ กรรมโครงงาน
นักเรียน
14 รบั นกั เรียนใหม่
15 ส่งเสริมคุณธรรม ม. 1
16 สง่ เสริมคณุ ธรรม ม. 4
17 กิจกรรมการนิเทศแบบ
Coaching & Mentoring
18 กิจกรรมลูกเสือ

แผนปฏบิ ตั กิ ารโรงเรยี นพระบางวทิ ยา ปีการศกึ ษา 2565



จานวนเงิน ผรู้ ับผดิ ชอบ กจิ กรรมที่
เรียนฟรี 15 ปี ดาเนินการ
โควดิ
ทัศนศึกษา ICT

117,000 ครหู ทัยชนก

ครดู วงเดือน

ครูกมลรตั น์

ครกู มลรตั น์ -จัดเขา้ ค่าย
ครมู าโนช คณุ ธรรม
ครวู ันเพ็ญ
ครูวัสยา

ครไู พฑูรย์

หนา้ 94

ที่ กจิ กรรม เงนิ วชิ าการ คณุ ธรรม
อดุ หนนุ
งบบรหิ ำรงำนวิชำกำร
17 กจิ กรรมนักศกึ ษาวิชา 2,000

ทหาร

18 กิจกรรมส่งเสริมลดเวลา 4,000
เรียนเพ่ิมเวลารู้

19 กิจกรรมโคกหนองนา 30,000
โมเดล

20 กิจกรรมชมุ นมุ 2,000

21 คา่ ยเยาวชนสศู่ ตรวรรษท่ี 20,000
21

รวมจดั สรรกลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ เป็นเงนิ เงินกิจก

แผนปฏิบตั กิ ารโรงเรียนพระบางวิทยา ปีการศึกษา 2565



จานวนเงนิ ผรู้ ับผิดชอบ กิจกรรม
เรียนฟรี 15 ปี
โควดิ
ทัศนศึกษา ICT
ครลู ดั ดา

ครวู สั ยา

ครไู พฑูรย์

ครูจฑุ ามาศ
ครูกมลรตั น์

กรรมพัฒนาผเู้ รียน 653,000 บาท เงินอดุ หนุน 189,00 บาท

หนา้ 95

ท่ี กิจกรรม

เงนิ เรยี นฟ
คุณธรรม
อดุ หนนุ วชิ าการ

กลุ่มสำระกำรเรียนรูก้ ำรงำนอำชพี

1 พฒั นาการเรียนการสอน 8,000

วชิ างานช่าง

2 พฒั นาการเรียนการ 7,000

สอนคหกรรม

3 พัฒนาการเรยี นการสอน 5,000

งานเกษตร

กลมุ่ สำระกำรเรยี นร้สู งั คมศึกษำ

1 วันสาคัญทางศาสนา 10,000

2 การยกผลสมั ฤทธิท์ างการ 10,000

เรียนกล่มุ สาระการเรียนรู้

สังคม

3 ส่งเสริมวัฒนธรรมไทย 5,000

4 โรงเรียนวิถีพทุ ธ 20000

แผนปฏบิ ตั ิการโรงเรียนพระบางวทิ ยา ปีการศึกษา 2565


Click to View FlipBook Version