เพื่องานอาชีพ การคำ นวณต้นทุน
สื่อการเรียนรู้อิเล้กทรอนิกส์(E-book) การคำ นวณต้นทุนเพื่องานอาชีพ เล่มนี้ จัดทำ ขึ้นโดยมีจุดประสงค์ เพื่อการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับการคำ นวณ ต้นทุนเพื่องานชีพ-และเข้าใจจนเกิดทักษะความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับต้นทุนของ ธุรกิจในงานอาชีพ ต้นทุนวัตถุดิบ ต้นทุนค่าแรงงาน ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการ ผลิต การคำ นวณต้นทุนของธุรกิจในงานอาชีพ และการจัดทำ รายงาน ต้นทุนเพื่อการวางแผนและตัดสินใจ สามารถนำ ความรู้ไปใช้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ผู้เรียบเรียงขอขอบคุณผู้ทรงคูณวุฒิ เจ้าของเอกสารตำ ราทุกท่านที่ผู้ เรียบเรียงใช้ในการศึกษาค้นคว้าประกอบ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าสื่อการ เรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์(E-book) การคำ นวณต้นทุนเพื่องานอาชีพเล่มนี้ จะ เป็นประโยชน์กัน์ กับผู้สอน ผู้เรียนและผู้สนใจทั่วไป หากมีเนื้อหาส่วนใด บกพร่อง ผู้เรียบเรียงขอน้อน้นรับคำ แนะนำ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุง แก้ไขให้ถูกต้องสมบูรณ์ แณ์ละเพื่อเปป็นประโยชน์ต่น์ ต่อผู้ใช้งานต่อไป คำ นำ นางสาวศศิภา พรมภักดี
ความหมาย ความสำ คัญ และประเภทของงานอาชีพ 2 ความหมายของต้นทุนเพื่องานอาชีพ 4 ประเภทต้นทุนในงานอาชีพ 4 การจำ แนกต้นทุนในงานอาชีพ 5 ความหมายและประเภทของวัตถุดิบ 10 การรับจ่ายวัตถุดิบ 11 การคำ นวณต้นทุนวัตถุดิบ 18 ความหมายและการแบ่งประเภทค่าแรงงาน 24 การเก็บเวลาการทำ งาน 25 การคำ นวณค่าแรงงาน 28 ความหมายของค่าใช้จ่าการผลิต 36 ประเภทค่าใช้จ่ายการผลิต 36 การเกิดของค่าใช้จ่ายการผลิต 38 การคำ นวณต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิต 38 ความรู้เกี่ยวต้นทุนเพื่องานอาชีพ 1 ต้นทุนวัตถุดิบ 9 ต้นทุนค่าแรงงาน 23 ต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิต 35 สารบัญ
ความสำ คัญในการคำ นวณต้นทุนต่อการบริหารธุรกิจ 42 การคำ นวณต้นทุนของงานอาชีพธุรกิจบริการ 42 การคำ นวณต้นทุนของงานอาชีพซื้อขายสินค้า 43 การคำ นวณต้นทุนของงานอาชีพผลิตสินค้า 46 ความหมายของงบการเงิน 50 งบกำ ไรขาดทุน 50 กำ ไรส่วนเกิน 55 จุดคุ้มทุน 56 การคำ นวณต้นทุนของธุรกิจในงานอาชีพ 41 การจัดทำ รายงานต้นทุนเพื่อการวางแผนและตัดสินใจ 49
ความรู้เ รู้ กี่ยว กับต้นทุนเพื่อ พื่ งานอาชีพ ชี
1.ความหมาย ความสำ คัญ และประเภทของงานอาชีพ 1.1 ความหมายของงานอาชีพ อาชีพ (Careers or Occupation) การเลี้ยงชีวิต การทำ มาหากิน งาน ที่ทำ ดป็นประจำ เพื่อเลี้ยงชีพ สรุปได้ว่า อาชีพ หมายถึง การทำ มาหากินในงานที่ทำ เป็นประจำ เพื่อให้เกิด รายได้สำ หรับการเลี้ยงชีวิตตนเองและครอบครัว 1.2 ความสำ คัญของงานอาชีพ การประกอบอาชีพ เป็นการทำ มาหากินเพื่อดำ รงชีวิตของมนุษนุย์ มี ความจำ เป็นอย่างยิ่งสำ หรับทุกคน ความสำ คัญของงานอาชีพ มีดังนี้ 1.2.1 พัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น เช่น มีรายรายได้ในการศึกษา ซื้อ บ้านหรือสิ่งอำ นวยความสะดวกต่างๆ 1.2.2 เป็นจุดเริ่มต้นในการพัฒนาความก้าวหน้าน้ยิ่งขึ้น เช่น จาก ตำ แหน่งพนังานจัดส่งสินค้าก้าวขึ้นเป็นหัวหน้าน้ฝ่าฝ่ยจัดส่งสินค้า 1.2.3 ฝึกตนเองให้มีภาวะผู้นำ 1.2.4 สร้างความเจริญก้าวหน้าน้ให้แก่ประเทศชาติ 1.3ประเภทของงานอาชีพ งานอาชีพแบ่งออกได้ 3 ประเภท ดังนี้ 1.3.1 อาชีพราชการ เป็นอาชีพที่รัฐบาลจ้างเพื่อทำ หน้าน้ที่ให้บริการแก่ ประชาชนทั่วไป ได้แก่ แพทย์ พยาบาล ทหาร ตำ รวจ 1.3.2อาชีพอิสระหรืออาชีพส่วนตัว เป็นการประกอบอาชีพของตนเอง ลงทุนเอง เป็นผู้ดำ เนินการเอง และเป็นนายตนเอง แบ่งได้ 3 อาชีพ ดังนี้ 1)อาชีพธุรกิจบริการ (Service Career) 2)อาชีพซื้อขายสินค้า (Trading Career) 3)อาชีพผลิตสินค้าหรืออุตสาหกรรม (Manufacturing Career) ความรู้เกี่ยวต้นทุนเพื่องานอาชีพ 2
อาชีพซื้อขายสินค้า อาชีพผลิตสินค้าหรืออุตสาหกรรม ซื้อสินค้าสำ เร็จรูปมาจากผู้ผลิต หรือพ่อค้าส่งมาจำ หน่าย ซื้อวัตถุดิบมาเพื่อผลิตสินค้า สำ เร็จรูปออกจำ หน่าย ต้นทุนสินค้าประกอบด้วย มูลค่า สินค้าที่ซื้อมาและค่าใช้จ่ายในการ ซื้อสินค้า ต้นทุนสินค้าประกอบด้วย ต้นทุน วัตถุดิบ ค่าแรงงานและค่าใช้จ่าย การผลิต บัญชีซื้อสินค้าใช้บันทึกการซื้อ สินค้าสำ เร็จรูปมาเพื่อขาย บัญชีต้นทุนการผลิตใช้ในการ คำ นวณหาต้นทุนสินค้าที่ผลิตใน แต่ละงวดบัญชี สินค้าคงเหลือมีเพียงประเภทเดียว คือ สินค้าสำ เร็จรูป สินค้าคงเหลือมี 3 ประเภท คือ วัตถุดิบ งานระหว่างทำ และสินค้า สำ เร็จรูป รายงานทางการเงินประกอบด้วย งบกำ ไรขาดทุนและงบแสดงฐานะ การเงิน ราบงานทางการเงินประกอบด้วย งบต้นทุนการผลิต งบกำ ไร ขาดทุน และงบแสดงฐานะการเงิน หมายเหตุ อาชีพซื้อขายสินค้ากับอาชีพผลิตสินค้าเป็นอาชีพที่มีสินค้า ไว้เพื่อขาย แต่มีข้อแตกต่างกัน ดังนี้ 1.3.3 อาชีพลูกจ้าง เป็นอาชีพที่ไม่ได้เป็นเจ้าของกิจการ ทำ งานโดย ปฎิบัติตามคำ สั่งหรือหน้าน้ที่ที่ได้รับมอบหมาย ได้รับค่าตอบแทนเป็นราย เดือน เป็นชิ้นงานหรือรายวัน/สัปดาห์ 3
ต้นทุน(Cost) หมายถึง มูลค่าของทรัพยากรที่สูญเสียไปเพื่อให้ได้ สินค้าหรือบริการ โดยมูลค่านั้นสามารถวัดได้เป็นหน่วยเงินตรา ซึ่ง เป็นลักษณะของการลดลงในสินทรัพย์หรือเพิ่มขึ้นในหนี้สิน ต้นทุนในงานอาชีพธุรกิจบริการ หมายถึง จำ นวนค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นใน การให้บริการลูกค้า เช่น ต้นทุน ค่าบริการทำ สีรถ ประกอบด้วย ค่ อะไหล่ตัวถังรถ ค่าพ่นสีรถ ค่าแรงงานในการสี ต้นทุนในงานอาชีพซื้อขายสินค้า หมายถึง มูลค่าของสินค้าสำ เร็จรูปที่ ซื้อมารวมค่าขนส่งในการจัดซื้อสินค้า ค่าแรงงานของผู้จัดจำ หน่าย สินค้า และค่าใช้จ่ายในการดำ เนินการจัดจำ หน่ายสินค้า ต้นทุนในงานอาชีพผลิตสินค้าหรืออุตสาหกรรม หมายถึง จำ นวนเงินที่ จ่ายไปเพื่อการผลิตสินค้าทุกขั้นตอน ตั้งแต่การนำ วัตถุดิบเข้าสู่ กระบวนการผลิต แปรสภาพจนเป็นสินค้าสำ เร็จรุป ซึ่งประกอบด้วย ต้นทุน วัตถุดิบ แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการผลิต รวมเป็นต้นทุน สินค้าสำ เร็จรูปที่ผลิตเสร็จ 2.ความหมายของต้นทุนเพื่องานอาชีพ 3.ประเภทต้นทุนในงานอาชีพ จากการศึกษาต้นทุนในงานอาชีพ ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจปรพเภทใด จะมี การจัดทำ รายงานทางการเงินเพื่อรายงานผลการดำ เนินงานให้กับผู้ที่ ต้องการใช้ทั้งภายในและภายนอกธุรกิจ ธุรกิจแต่ละประเภทจะมี กระบวนการให้บริการ และการจัดหาสินค้าที่แตกต่างกัน ส่งผลให้เกิดการ สะสมต้นทุนที่ไม่เหมือนกัน ซึ่งจะมีการจำ แนกต้นทุนของธุรกิจแต่ละ ประเภทออกได้ ดังนี้ การจำ แนกประเภทต้นทุน การจำ แนกประเภทต้นทุนสามารถจำ แนกได้หลายแบบ แต่ที่นำ มา แสดงในที่นี้จะนำ เสนอบางส่วน ดังนี้ 3.1การจำ แนกตามส่วนประกอบของสินค้า ประกอบด้วย 3.1.1 วัตถุดิบทางตรง(Direct Materials) 3.1.2 ค่าแรงงานทางตรง(Direct Laboue) 3.1.3 ค่าใช้จ่ายการผลิต(Manufacturing Overhead) วัตถุดิบทางตรง หมายถึง วัตถุดิยที่เป้นป้ส่วนประกอบสำ คัญของสินค้า สำ เร็จรูปที่สามารถวัดจำ นวนได้ง่าย และสังเกตได้ชัดเจนว่าเป็นส่วน ประกอบของสินค้า เช่น โรงงานทำ รองเท้าหนัง หนังสัตว์จะเป็นวัตถุดิบทาง ตรง 4
ค่าแรงงานทางตรง หมายถึง ค่าตอบแทนที่จ่ายให้กับแรงงานที่ทำ หน้าน้ที่แปรสภาพวัตถุดิบให้เป็นสินค้าสำ เร็จรูป ซึ่งค่าตอบแทนนี้จะสามารถ ระบุได้ว่าค่าแรงที่เกิดขึ้นมาจากการผลอตสินค้าชนิดใด จำ นวนเท่าใด สามารถคำ นวณเป็นต้นทุนสินค้าได้ง่าย เช่น ค่าแรงงานเย็บรองเท้าใน โรงงานทำ รองเท้า ค่าใช้จ่ายการผลิต หมายถึง ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการผลิต สินค้าทั้งหมดยกเว้น วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง เช่น วัตถุดิบทาง อ้อม ค่าแรงทางอ้อม ค่าน้ำ ประปา ค่าไฟฟ้าฟ้ค่าโทรศัพท์ ค่าเช่าโรงงาน ค่า เสื่อมราคาของโรงงานและเครื่องจักร 3.2 การจำ แนกต้นทุนตามงวดเวลาที่ก่อให้เกิดประโยชน์ ประกอบด้วย 3.2.1 ต้นทุนที่ก่อให้เกิดประโยชน์ใน์นอนาคตหรือต้นทุนสินค้า (Product Cost) เป็นต้นทุนที่สะสมอยู่ในตัวสินค้า ได้แก่ วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง และค่าใช่จ่ายการผลิต ต้นทุนสินค้านี้จะถือเป็น สินทรัพย์จนกว่าจะถูกขายออกไป และจะแสดงเป็นสินค้าคงเหลือในงบ แสดงฐานะการเงิน 3.2.2 ต้นทุนที่ก่อให้เกิดประโยชน์ใน์นปัจจุบันหรือต้นทุนตามงวดเวลา (Period Cost) เป็นต้นทุนที่ไม่สะสมในตัวสินค้า ถือเป็นค่าใช้จ่าย เช่น ต้นทุนสินค้าที่ถูกขายออกไประหว่างงวด เรียกว่า ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายใน การดำ เนินงาน ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหารในงวด บัญชีนั้นๆ เป็นต้นทุนที่นำ ไปเปรียบเทียบกับรายได้ในงวดบัญชี เพื่อหาผล การดำ เนินงาน 4.การจำ แนกต้นทุนในงานอาชีพ การจำ แนกต้นทุนในงานอาชีพต่างๆมีดังนี้ 4.1 ต้นทุนในอาชีพธุรกิจบริการ -ต้นทุนที่ให้ประโยชน์ใน์นอนาคต เป็นต้นทุนในรูปแบบสินทรัพย์ ได้แก่ วัสดุสิ้นเปลืองที่ใช้ในการให้บริการ สินทรัพย์ถาวรในการให้บริการ เช่น อาคาร ยานพาหนะ อุปกรณ์สำณ์ สำนักงาน ซึ่งตัดจำ หน่ายเป็นต้นทุนค่าใช้ จ่ายตอนสิ้นงวดในรูปแแบค่าเสื่อมราคา เช่น ค่าเสื่อมราคาอาคาร ค่าเสื่อม ราคายานพาหนะ ค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์สำณ์ สำนักงาน -ต้นทุนตามงวดเวลาของธุรกิจบริการ เป็นต้นทุนในรูปของค่าใช้จ่าย ได้แก่ เงินเดือนฝ่าฝ่ยขายและฝ่าฝ่ยบริการ ค่าสาธารณูปโภค ค่าพาหนะ ค่า ซ่อมแซมและค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ใช้หมดไปในงวดบัญชีปัจจุบัน 5
คชจ.ที่ได้จากการตัด จำ หน่าย คชจ.ที่เกิดขึ้นในงวด บัญชี ธุรกิจบริการ งบแสดงฐานะการเงิน งบกำ ไรขวดทุน ต้นทุน ต้นทุนที่ให้ประโยชน์ ในอนาคต ต้นทุนตามงวดเวลา สินทรัพย์ ใช้ประโยชน์ ตัดจำ หน่าย รายได้ค่าบริการ เท่ากับ กำ ไรสุทธิ ต้ นทุน ตามงวดเวลา 4.2 ต้นทุนในอาชีพซื้อขายสินค้า เป็นอาชีพที่ดำ เนินการจัดซื้อสินค้าเพื่อนำ ไปขายต่อโดยไม่มีการ เปลี่ยนแปลงสินค้าหรือนำ ไปผลิตต่อหรือเรียกธุรกิจแบบนี้ได้อีกอย่างหนึ่ง ว่า เป็นธุรกิจซื้อมาขายไป ทั้งการขายส่งและขายปลีก ขายตรง ขายแบบ อีคอมเมิร์ซ (E-Commerce) เป็นการซื้อขายผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ต้นทุนที่ใช้ประโยชน์ใน์นอนาคต ประกอบด้วย 1) ต้นทุนที่สะสมอยู่ในตัวสินค้า เป็นต้นทุนที่เกี่ยวกับการจัดหาสินค้า มาเพื่อขาย ประกอบด้วย ราคาสินค้าที่รวมค่าใช้จ่ายในการจัดหาสินค้า เช่น ค่าขนส่ง ค่าตรวจรับสินค้า ค่าเบี้ยประกัน 2) ต้นทุนที่ไม่สะสมในตัวสินค้า เป็นต้นทุนของสินทรัพย์ถาวรและ สินทรัพย์หมุนเวียน ที่ใช้ในการดำ เนินธุรกิจ เช่น อาคาร ยานพาหนะ วัสดุ สิ้นเปลืองที่ใช้ในการดำ เนินธุรกิจ จะคิดเป็นต้นทุนในรูปของค่าใช้จ่าย โดย การตัดจำ หน่ายตามระยะเวลาของการใช้สินทรัพย์ ต้นทุนตามงวดเวลา เป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในงวดบัญชี เช่น ค่า โฆษณา เงินเดือนฝ่าฝ่ยขายและฝ่าฝ่ยบริหาร ค่าสาะารณูปโภคค่าใช้จ่ายอื่นๆ รวมทั้งค่าใช้จ่ายการตัดจำ หน่ายต้นทุนของสินทรัพย์หมุนเวียนและ สินทรัพย์ถาวรเป็นค่าใช้จ่ายประจำ งวดของต้นทุนที่ไม่สะสมในตัวสินค้าดัง กล่าวข้างต้น 6
ต้นทุน ต้นทุนที่ สะสมในตัว สินค้า ซื้อ สินค้า คชจ.ที่ได้จากการตัด จำ หน่าย คชจ.ที่เกิดขึ้นในงวดบัญชี สินทรัพย์ ธุรกิจซื้อขายสินค้า งบแสดงฐานะการเงิน งบกำ ไรขาดทุน ขาย หัก สินค้าคงเหลือ ต้นทุนขาย ส่วนที่ขายได้ (ตัดจำ หน่าย) เก็บ กำ ไรขั้นต้น เท่ากับ หัก เท่ากับ กำ ไรสุทธิ ต้นทุนที่ไม่สะสมในตัวสินค้า ใช้ประโยชน์ (ตัดจำ หน่าย) ต้นทุนตามงวดเวลา 4.3 ต้นทุนในอาชีพผลิตสินค้าหรืออุตสาหกรรม เป็นอาชีพที่ต้องใช้เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ แณ์รงงานคน และ ทรัพยากรการผลิตต่างๆ มาแปรสภาพ วัตถุดิบให้เป็นสินค้าสำ เร็จรูป เช่น โรงงานผลิตเสื้อผ้าสำ เร็จรูปจะต้องจัดหาวัตถุดิบ ผ้า ด้าย กระดุม แรงงาน คนจัดตั้งโรงงาน ติดตั้งเครื่องจักร อุปกรณ์ใณ์นการตัดเย็บ และค่าใช้จ่ายที่ ปัจจัยการผลิตอื่นๆ ที่ใช้ในการผลิตสินค้า โดยการนำ ปัจจัยทั้ง 3 ประเภท คือ วัตถุดิบ แรงงาน และค่าใช้จ่ายการผลิต เข้าสู่กระบวนการผลิตในงาน ระหว่างทำ (Work in Process) จนผลอตเสร้จเป็นสินค้าเป็นสินค้าสำ เร็จ (Finished Goods) นำ ไปเก็บไว้ในคลังสินค้ารอการจำ หน่าย สินค้าสำ เร็จรูป ที่ขายได้ก็คือต้นทุนขายในระหว่างงวด ส่วนสินค้าที่ขายไม่ได้จะแสดงเป็น สินค้าคงเหลือ ดังนั้น สินค้าคงเหลือของธุรกิจผลิตสินค้า มี 3 ประเภท คือ 1) วัตถุดิบคงเหลือ (Materials Inventory) วัตถุดิบทางตรง วัตถุดิบ ทางอ้อม วัสดุโรงงานที่เหลืออยู่ ณ วันสิ้นงวด 2) งานระหว่างทำ คงเหลือ (Work in Proces Inventory) หมายถึง ต้นทุนในการผลิตสินค้าที่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ ณณ์วันสิ้นงวดบัญชี ต้นทุนงาน ระหว่างทำ จะเป็นผลรวมของวัตถุดิบ แรงงาน และค่าใช้จ่ายการผลิตที่ใส่ เข้าไปในงานตั้งแต่เริ่มการผลิตจนถึงวันสิ้นงวดที่ผลิตไม่เสร็จ 3) สินค้าสำ เร็จรูปคงเหลือ (Finished Goods Inventory) หมายถึง ต้นทุนของสินค้าที่ผลิตเสร้จคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด ต้ นทุน ตามงวดเวลา7
ต้นทุน ผลิตภัณฑ์ ต้นทุนที่ไม่สะสม ในตัวสินค้า ต้นทุนที่ไม่สะสม ในตัวสินค้า วัสดุคงเหลือ งานระหว่างทำ สินค้าสำ เร็จรูป ซื้อวัตถุดิบ ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่าย การผลิต ขาย กำ ไรขั้นต้น สินทรัพย์ การจำ แนกต้นทุนในอาชีพผลิตสินค้า ต้นทุนที่ให้ประโยชน์ใน์ยอนาคต เป็นต้นทุนของสินทรัพย์ดำ เนินงาน ต่างๆ ที่ให้ประโยชน์กัน์ กับธุรกิจเกินกว่า 1 งวดบัญชี เมื่อกิจการได้ใช้ ประโยชน์ใน์นตัวสินทรัพย์นั้นแล้ว จะตัดจำ หน่ายตามประโยชน์ที่น์ ที่ได้รับตาม งวดบัญชี เป็นค่าใช้จ่ายประจำ งวด ซึ่งประกอบด้วย 1) ต้นทุนที่สะสมในตัวสินค้า หมายถึง ต้นทุนที่กิจการจ่ายไปเพื่อให้ได้ มาซึ่งสินค้าเพื่อเตรียมไว้ขายซึ่งก็คือต้นทุนผลิตภัณฑ์ (Product Cost) ประกอบด้วย วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง และค่าใช้จ่ายการผลิต โดยเริ่มจากการนำ ปัจจัยการผลิตทั้ง 3 ชนิด เข้าสู้กระบวนการผลิตในงาน ระหว่างทำ จนกระทั่งผลิตเสร็จเป็นสินค้าสำ เร็จรุป เมื่อมีการขายสินค้า สำ เร็จรูปออกไป จะตัดจำ หน่ายส่วนที่จำ หน่ายออกเป็นต้นทุนขาย ซึ่งถือ เป็นค่าใช้จ่ายนำ ไปหักกับรายได้จากการขายในงวดบัญชีเดียวกันกับงบ กำ ไรขาดทุน ส่วนสินค้าที่ยังไม่ได้ขายที่เหลืออยู่จะแสดงในงบแสดงฐานะ การเงิน ณ วันสิ้นงวด 2) ต้นทุนที่ไม่สะสมในตัวสินค้า หมายถึง ต้นทุนที่กิจการได้จ่ายไปเพื่อ ให้ได้มาซื้อสินทรัพย์อื่นๆ นอกจากตัวสินค้าที่ผลิต เช่น สินทรัพย์ถาวร สินทรัพย์หมุนเวียน ได้แก่ อาคารสำ นักงาน ยานพาหนะ อุปกรณ์สำณ์ สำนักงาน วัสดุสิ้นเปลือง ฯลฯ เมื่อมีการใช้ประโยชน์ใน์นสินทรัพย์ดังกล่าว จะตัด จำ หน่ายเป็นค่าใช้จ่ายในงวดเวลาที่ใช้ประโยชน์นั้น์ นั้ นๆ ต้นทุนตามงวดเวลา หมายถึง ต้นทุนที่กิจการได้ใช้ประโยชน์ใน์นงวดที่ เกิดรายการซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่าย เช่น เงินเดือนฝ่าฝ่ยขายและบริการ ค่า โฆษณา ค่ารับรอง ค่าใช้จ่ายดำ เนินการอื่นๆ ฯลฯ รวมทั้งค่าใช้จ่ายจากการ ตัดจำ หน่ายต้นทุนของสินทรัพย์อื่นๆ ที่ไม่สะสมในตัวสินค้าดังกล่าวข้างต้น ธุรกิจผลิตสินค้า งบแสดงฐานะการเงิน งบกำ ไรขาดทุน ต้นทุน เบิกใช้ ส่วนที่ขายได้ (ตัดจำ หน่าย) ต้นทุนขาย หัก เท่ากับ ใช้ประโยชน์ (ตัดจำ หน่าย) คชจ.ที่ได้จากการ ตัดจำ หน่าย คชจ.ที่เกิดขึ้นในงวดบัญชี ต้ นทุน ตามงวดเวลา หัก เท่ากับ กำ ไรสุทธิ 8
ต้นทุนวัตถุดิ ถุ ดิ บ
1.ความหมายและประเภทของวัตถุดิบ 1.1 ความหมายของวัตถุดิบ วัตถุดิบ (Raw Materials) หมายถึงสิ่งของหรือทรัพยากรที่กิจการผลิต สินค้าหรืออุตสาหกรรมนำ มาใช้ประกอบหรือแปรสภาพให้เป็นสินค้าสำ เร็จรูป โดยผ่านกระบวนการผลิตอย่างมีขั้นตอน วัตถุดิบของกิจการหนึ่งอาจเป็น สินค้าสำ เร็จรูปของอีกกิจการหนึ่งได้ เช่น น้ำ ตาลเป็นวัตถุดิบของโรงงานทำ ขนม แต่เป็นสินค้าของโรงงานทำ น้ำ ตาล ฯลฯ วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสินค้า ชนิดใดชนิดหนึ่งหรือหลายชนิด อาจมีการใช้วัตถุดิบหลายชนิดบางชนิดใช้ วัตถุดิบชนิดหนึ่งมาก บางชนิดใช้อีกชนิดหนึ่งเล็กน้อน้ย เช่น การผลิตกระเป๋าป๋ หนังในโรงงานผลิตกระเป๋าป๋จะใช้หนังสัตว์เป็นส่วนประกอบหลักซึ่งใช้เป็น จำ นวนมาก ใช้กาว สี ตะปู จำ นวนเล็กน้อน้ย หรือโรงงานผลิตเสื้อสำ เร็จรูป วัตถุดิบหลัก คือ ผ้า ส่วนด้าย เข็มเย็บผ้า กระดุม ใช้ปริมาณเล็กน้อน้ย ฯลฯ 1.2 ประเภทของวัตถุดิบ วัตถุดิบแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1.2.1 วัตถุดิบทางตรง (Direct Materials) หมายถึง สิ่งที่เป็นส่วน ประกอบสำ คัญในการผลิตสินค้าที่สามารถระบุได้ชัดเจนว่าใช้ในการผลิต สินค้าชนิดใด จำ นวนเท่าไร และสามารถคำ นวณมูลค่าการใช้วัตถุดิบได้ง่าย เช่น หนังสัตว์เป็นวัตถุดิบทางตรงในการผลิคกระเป๋าป๋หนัง ผ้าเป็นวัตถุดิบทาง ตรงในการผลิตเสื้อสำ เร็จรูป ไม้เป็นวัตถุดิบทางตรงในการผลิตเฟอร์นิเจอร์ ฯลฯ 1.2.2 วัตถุดิบทางอ้อม (Indirect Materials) หมายถึง สิ่งที่ใช้ในการ ผลิตสินค้า แต่ใช้จำ นวนไม่มาก ปริมาณเล็กน้อน้ย แต่จำ เป็นต้องใช้ ซึ่งยากแก่ การคำ นวณเข้าเป็นต้นทุนสินค้า ใช้เพียงเป็นส่วนประกอบของการผลิตสินค้า โดยวัตถุดิบทางอ้อมนี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของค่าใช้จ่ายการผลิต เช่น กาว ตะปู ด้าย ซิป กระดุม ทินเนอร์ สี ฯลฯ ในการพิจารณาว่าวัตถุดิบชนิดใดเป็นวัตถุดิบทางตรง วัตถุดิบชนิดใด เป็นวัตถุดิบทางอ้อม จะมีองค์ประกอบ 2 ประการ คือ 1) เป็นส่วนประกอบสำ คัญของการผลิตสินค้า เห็นได้ชัดเจน 2) คำ นวณคิดเป็นต้นทุนสินค้าได้ง่าย หากเข้าองค์ประกอบทั้ง 2 ประการข้างต้น จะถือเป็นวัตถุดิบทางตรง แต่หาก ไม่เข้าหลักเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง จะถือเป็นวัตถุดิบทางอ้อม ต้นทุนวัตถุดิบ 10
2.การรับจ่ายวัตถุดิบ กิจการที่ผลิตสินค้าส่วนมากจะมีแผนกจัดซื้อ ทำ หน้าน้ที่ในการจัดหา วัตถุดิบและสิ่งต่างๆ นำ มาในการผลิตสินค้า โดยผู้จัดการฝ่าฝ่ยจัดซื้อมีหน้าน้ ที่ในการจัดซื้อให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์มาตรฐานและระเบียนปฏิบัติของ กิจการที่กำ หนดไว้ ไม่ว่าจะเป้นป้เงื่อนไข คุณภาพ ราคาของวัตถุดิบ และ วัตถุดิบที่จัดซื้อ ซึ่งกิจการจะตรวจสอบเมื่อมีการจัดซื้อและรับวัตถุดิบจากผู้ ขาย โดยใช้เอกสารสำ คัญที่เกี่ยวข้องการรับจ่ายวัตถุดิบ เอกสารที่ใช้ในการจัดซื้อและการรับจ่ายวัตถุดิบ 1) ใบขอซื้อวัตถุดิบ (Purchase Requisition) คือ เอกสารที่จัดทำ เพื่อ ให้ผู้ที่ต้องการใช้วัตถุดิบและวัสดุต่างๆ ส่งไปยังฝ่าฝ่ยจัดซื้อเพื่อสั่งซื้อวัสดุ นั้นๆ โดยอาจมอบหมายให้ฝ่าฝ่ยคลังพัสดุทำ หน้าน้ที่ตรวจสอบว่ามีวัตถุดิบที่ ขอวื้อในคลังพัสดุหรือไม่ ฝ่าฝ่ยพัสดุจะตรวจสอบวัตถุดิบคงเหลือว่ามีอยู่หรือ ไม่ จำ นวนเพียงพอหรืไม่ ซึ่งใบขอซื้อนี้ไม่ว่าผู้ต้องการใช้วัตถุดิบหรือฝ่าฝ่ย คลังพสดุเป็นผู้จัดทำ ขึ้นเพื่อการจัดหาวัตถุดิบและวัสดุต่างๆ ก็ตามเอกสาร นี้จะทำ ขึ้นเป็นชุด ประกอบด้วยเอกสาร 3 ฉบับ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ต้นฉบับส่งไปยังฝ่าฝ่ยจัดซื้อ ฉบับที่ 2 สำ เนาฉบับที่ 1 ส่งไปยังแผนกบัญชี ฉบับที่ 3 สำ เนาฉบับที่ 2 แผนกที่ต้องการใช้หรือคลังพัสดุจัดเก็บ ตัวอย่างแบบฟอร์มใบขอซื้อวัตถุดิบ 11
2) ใบสั่งซื้อ (Purchase Order) เมื่อแผนกจัดซื้อได้รับใบขอซื้อแล้ว จะ จัดทำ ใบสั่งซื้อ โดยตรวจสอบรายการวัตถุดิบและรายละเอียดต่างๆ ที่จะจัด ซื้อว่าจะจัดซื้อจากผู้ขายหรือผู้จัดจำ หน่าย (Supplier) รายใดที่จะให้ ประโยชน์ทั้น์ ทั้ งคุณภาพและราคาที่ดีที่สุด ใบสั่งซื้อที่จัดทำ เป็นชุดประกอบ ด้วยเอกสาร 5 ฉบับ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ต้นฉบับส่งไปยังผู้ขาย ฉบับที่ 2 สำ เนาฉบับที่ 1 ส่งไปแผนกตรวจรับของสำ หรับตรวจสอบกับ วัตถุดิบที่ได้รับ ฉบับที่ 3 สำ เนาฉบับที่ 2 ส่งไปแผนกบัญชีเจ้าหนี้เพื่อเตรียมชำ ระเงิน ฉบับที่ 4 สำ เนาฉบับที่ 3 ส่งไปแผนกที่ขอซื้อวัตถุดิบ ฉบับที่ 5 สำ เนาฉบับที่ 4 แผนกจัดซื้อจัดเก็บ ตัวอย่างใบสั่งซื้อวัตถุดิบ 12 3) ใบตรวจรับวัตถุดิบหรือรายงานการรับของ (Receiving Report) เมื่อ วัตถุดิบส่งมายังกิจการแผนกตรวจรับวัตถุดิบจะทำ หน้าน้ที่ตรวจสอบรายการ วัตถุดิบว่า ถูกต้อง มีคุณภาพและปริมาณตรงตามใบสั่งซื้อหรือไม่ รวมทั้ง ตรวจสอบความสมบูรณ์ขณ์องวัตถุดิบว่า ไม่ชำ รุดเสียหายระหว่างขนส่ง จาก นั้นแผนกตรวจรับวัตถุดิบจะทำ รายงานการรับวัตถุดิบตามปริมาณและ รายการของที่ได้รับจริง โดยจัดทำ ใบตรวจรับวัตถุดิบ 1 ชุด ประกอบด้วย เอกสาร 5 ฉบับ ดังนี้
ฉบับที่ 1 ต้นฉบับแผนกตรวจรับวัตถุดิบเก็บไว้ ฉบับที่ 2 สำ เนาฉบับที่ 1 ส่งไปยังแผนกบัญชีพร้อมกับใบกำ กับสินค้า ฉบับที่่ 3 สำ เนาฉบับที่ 2 ส่งไปยังแผนกบัญชีเจ้าหนี้ ฉบับที่ 4 สำ เนาฉบับที่ 3 ส่งไปยังแผนกคลังพัสดุพร้อมกับวัตถุดิบที่ได้ รับ ฉบับที่ 5 สำ เนาฉบับที่ 4 ส่งไปยังแผนกจัดซื้อเพื่อจัดซื้อเพื่อยืนยันว่า ได้รับวัตถุดิบที่แล้ว ตัวอย่างใบตรวจรับวัตถุดิบ (ด้านหน้าน้) 13 บันทึกการตรวจรับวัตถุดิบ (ด้านหลัง)
14 4) บัตรวัตถุดิบ (Stock Card) เมื่อแผนกตรวจรับวัตถุดิบได้ตรวจรับ วัตถุดิบเรียบร้อยแล้ว จะนำ ส่งวัตถุดิบพร้อมกับใบตรวจรับวัตถุดิบให้กับ แผนกคลังพัสดุ แผนกคลังพัสดุจะบันทึกวัตถุดิบไว้ในบัตรวัตถุดิบแต่ละ ชนิด เพื่อบันทึกเกี่ยวกับรายละเอียดวัตถุดิบที่ได้รับมาและจ่ายออกไป ส่วน วัตถุดิบจะเก็บไว้ในคลังรอการเบิกจ่าย ตัวอย่างบัตรวัตถุดิบ
5) ใบเบิกวัตถุดิบ (Material Requisiton) เอกสารนี้จัดทำ ขึ้นให้แผนก ผลิตที่ต้องการเบิกวัตถุดิบไปใช้ในการผลิตสินค้า และเพื่อป้อป้งกันการ ทุจริตหรือสูญหาย จึงต้องมีการบันทึกการเบิกบันทึกการเบิกวัตถุดิบทุกครั้ง ตามรายการที่ระบุไว้ในใบเบิกวัตถุดิบ ตัวอย่างใบเบิกวัตถุดิบ 15
16 6) การส่งคืนวัตถุดิบ การส่งคืนวัตถุดิบแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ (1) การส่งคืนวัตถุดิบให้ผู้ขาย เกิดขึ้นเมื่อแผนกตรวจรับวัตถุดิบ ตรวจพบว่าวัตถุดิบมีตำ หนิ ชำ รุดเสียหาย มีคุณภาพไม่ตรงตามต้องการ หรือไม่ใช่วัตถุดิบที่สั่งซื้อ ฝ่าฝ่ยตรวจรับวัตถุดิบจะส่งวัตถุดิบคืนกลับไปให้ผู้ ขาย โดยจะหักบัญชีวัตถุดิบและจัดทำ ใบหักหนี้ (Debit Memorandum) พร้อมจัดทำ ใบส่งคืนวัตถุดิบเพื่อให้แผนกจัดซื้อได้ส่งคืนวัตถุดิบที่ชำ รุด หรือบกพร่องคืนไปให้ผู้ขาย ตัวอย่างใบส่งคืนวัตถุดิบ
17 (2) การส่งคืนวัตถุดิบให้คลังวัตถุดิบ เมื่อมีการเบิกวัตถุดิบไปใช้ใน การผลิตมากเกินความต้องการใช้ในการผลิต แผนกผลิตจะส่งคืนวัตถุดิบ ให้กับแผนกคลังพัสดุ โดยจัดทำ รายงานการนำ ส่งวัสถุดิบ โดยระบุสาเหตุ การคืนวัตถุดิบ
3.การคำ นวณต้นทุนวัตถุดิบ การคำ นวณต้นทุนวัตถุดิบตามมาตรฐานบัญชี ฉบับที่ 2 เรื่อง สินค้าคงเหลือ กำ หนดให้มีวิธีการคำ นวณต้นทุนวัตถุดิบ 3 วิธี ดังนี้ 3.1 วิธีราคาเจาะจง (Specific Identification Method) 3.2 วิธีเข้าก่อน-ออกก่อน (First in - out Method) 3.3 วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ หนัก (Weighted Average Method) การบันทึกบัญชีวัตถุดิบ มี 2 วิธี คือ 1 ) บันทึกบัญชีวัตถุดิบแบบสิ้นงวด (Periodic Inventory Method) วิธีนี้เหมาะกับกิจการขนาดเล็กมีรายการค้าไม่สลับซับซ้อนมาก เป็นวิธีที่ง่ายและสะดวก การซื้อวัตถุดิบ ในการซื้อวัตถุดิบจะบันทึกบัญชีไว้ในบัญชีซื้อ วัตถุดิบ ถ้ามีค่าขนส่ง การส่งคืนวัตถุดิบให้ผู้ขายหรือได้รับส่วนลดจากการ ชำ ระหนี้ จะบันทึกไว้ในบัญชีตามรายการนั้นๆ คือ บัญชีค่าขนส่งเข้า ส่งคืน วัตถุดิบ และส่วนลดรับ การเบิกใช้วัตถุดิบ เมื่อมีการเบิกใช้วัตถุดิบหรือส่งคืนวัตถุดิบ ที่เหลือใช้คืนคลัง กิจการจะไม่มีการบันทึกบัญชี วัตถุดิบที่เบิกใช้ระหว่าง งวดจะทราบจำ นวนที่เบิกใช้ได้จากการตรวจนับวัตถุดิบคงเหลือในคลัง วัตถุดิบในตอนสิ้นงวด แล้วนำ มาคำ นวณโดยใช้สูตรในการคำ นวณ 2 ) บันทึกบัญชีวัตถุดิบแบบต่อเนื่อง (Perpetual Inventory Method) วิธีนี้เหมาะกับกิจการขนาดใหญ่ที่ต้องการทราบต้นทุนตลอดเวลา การซื้อวัตถุดิบ ในการซื้อวัตถุดิบจะบันทึกไว้ในบัญชีวัตถุดิบ ทันที เมื่อได้รับวัตถุดิบมา รายการที่เกี่ยวข้องกับการซื้อวัตถุดิบ คือ หากมี ค่าขนส่งเข้า ส่งคืนวัตถุดิบเหลือใช้ หรือส่วนลดจากการชำ ระหนี้ จะบันทึก ไว้ในบัญชีวัตถุดิบเพียงบัญชีเดียว การเบิกใช้วัตถุดิบ เมื่อมีการเบิกใช้วัตถุดิบหรือส่งคืน วัตถุดิบเหลือใช้คืนคลัง จะบันทึกบัญชีวัตถุดิบทั้งหมด ดังนั้น วิธีนี้บัญชี วัตถุดิบจะมีการเคลื่อนไหวทุกครั้งที่มีการรับหรือเบิกจ่ายวัตถุดิบ ทำ ให้ สามารถทราบต้นทุนของวัตถุดิบคงเหลืออดปลายงวดและวัตถุดิบที่เบิก ใช้ได้ทันทีโดยไม่ต้องมาคำ นวณ ซึ่งดูจากบัญชีวัตถุดิบ หมายเหตุ ในการคำ นวณต้นทุนวัตถุดิบในที่นี้จะมุ่งเน้นน้ ไปที่การ คำ นวณต้นทุนวัตถุดิบตามวิธีการบันทึกวัตถุดิบแบบสิ้นงวด การคำ นวณต้นทุนวัตถุดิบ มี 2 กรณี คือ 1) คำ นวณต้นทุนซื้อวัตถุดิบ 2) คำ นวณต้นทุนวัตถุดิบคงเหลือปลายงวดและวัตถุดิบที่เบิกใช้ 18
วัตถุดิบคงเหลือปลายงวดและวัตถุดิบที่เบิกใช้ไป การคำ นวณวัตถุดิบคงเหลือปลายงวด มีวิธีการคำ นวน 3 วิธี 1 ) วิธีเจาะจง (Specific Identification Method) วิธีนี้จะต้อง ทราบว่าจำ นวนวัตถุดิบที่เบิกใช้หรือคงเหลือนั้นเป็นวัตถุดิบชนิดใด ราคา เท่าไร ระบุชัดเจน 2 ) วิธีเข้าก่อน - ออกก่อน (First in-First out Method) วิธีนี้เป็น วิธีที่วัตถุดิบใดเข้าใาในคลังวัตถุดิบก่อนจะถูกเบิกออกไปใช้ก่อน 3 ) วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ หนัก (Weighted Average Method) วิธีนี้จะ เป็นการถัวเฉลี่ยวัตถุดิบทั้งหมดเพื่อคำ นวณ ต้นทุนของวัตถุดิบ การคำ นวณวัตถุดิบที่เบิกใช้ไป ได้จากการใช้สูตรมาคำ นวณต้นทุน หลังจากมีการตรวจนับจำ นวนคงเหลือและตีราคาวัตถุดิบคงเหลือปลายงวด แล้ว สูตรการคำ นวณ 19 การคำ นวณต้นทุนซื้อวัตถุดิบ ในทางปฏิบัติถือเป็นต้นทุนและค่า ใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นเพื่อให้ได้มาซึ่งวัตถุดิบถือเป็นต้นทุนของวัตถุดิบ เช่น ค่าขนส่งและค่าใช้จ่ายในการจัดหาวัตถุดิบ ได้แก่ ค่าใช้จ่ายแผนกจัด ซื้อ แผนกตรวจรับวัตถุดิบ และแผนกคลังพัสดุ และหากมีส่วนลดจากการ ชำ ระหนี้ค่าวัตถุดิบ ส่วนลดนี้จะนำ ไปลดต้นทุนวัตถุดิบที่ซื้อ ซึ่งสามารถ คำ นวณต้นทุนวัตถุดิบที่ซื้อได้จากสูตร ดังนี้ ซื้อวัตถุดิบสุทธิ = ซื้อวัตถุดิบ + ค่าขนส่งเข้า - ส่งคืนวัตถุดิบ - ส่วนลด รับ ซื้อวัตถุดิบใช้ไป = วัตถุดิบต้นงวด + ซื้อวัตถุดิบสุทธิ - วัตถุดิบปลายงวด ตัวอย่างที่ 2.1 บริษัท โรงงานอุตสาหกรรมไทย จำ กัด มีรายละเอียดเกี่ยวกับ วัตถุดิบในเดือนมิถุนายน 25X1 ดังนี้ มิ.ย. 1 ยอดคงเหลือยกมา 30,000 บาท 3 ซื้อวัตถุดิบ เงื่อนไข 2/10,n/30 จำ นวน 250,000 บาท พร้อมจ่ายค่าขนส่ง วัตถุดิบ 10,000 บาท 4 ส่งคืนวัตถุดิบที่ซื้อเมื่อวันที่ 3 มิ.ย. เนื่องจากชำ รุด จำ นวน 18,000 บาท 10 จ่ายชำ ระหนี้ค่าวัตถุดิบทั้งหมด ได้รับส่วนลดตามเงื่อนไข
20 กิจการใช้วัตถุดิบในการผลิต จำ นวน 150,000 บาท 25 ส่งคืนวัตถุดิบที่เบิกใช้คืนคลัง จำ นวน 39,040 บาท 30 ตรวจนับวัตถุดิบคงเหลือปลายงวดและตีราคา มีจำ นวน 156,400 บาท ให้ทำ 1. คำ นวณต้นทุนซื้อวัตถุดิบ 2. คำ นวณต้นทุนวัตถุดิบเบิกใช้ไป ส่วนลดรับ = (ซื้อ - ส่งคืนผู้ขาย) x 2% = (250,000 - 18,000) x 2% = 4,640 บาท 1. คำ นวณต้นทุนซื้อวัตถุดิบ สูตร ซื้อวัตถุดิบสุทธิ = ซื้อวัตถุดิบ + ค่าขนส่งเข้า - ส่วนลดรับ = 250,000 + 10,000 - 18,000 - 4,640 = 237,360 บาท 2. คำ นวณหาต้นทุนวัตถุดิบที่เบิกใช้ไป สูตร วัตถุดิบใช้ไป = วัตถุดิบต้นงวด + ซื้อวัตถุดิบสุทธิ - วัตถุดิบปลายงวด = 30,000 + 237,360 - 156,400 = 110,960 บาท นอกจากนี้ ยังสามารถแสดงการคำ นวณในรูปแบบรายงานได้ ดังนี้ การคำ นวณต้นทุนวัตถุดิบที่ซื้อมาและใช้ไป วัตถุดิบคงเหลือต้นงวด บวก ซื้อวัตถุดิบสุทธิ xx ซื้อวัตถุดิบ xx บวก ค่าขนส่งเข้า xx หัก ส่งคืนวัตถุดิบ xx ส่วนลดรับ. xx xx xx วัตถุดิบที่มีไว้เพื่อการผลิต xx หัก วัตถุดิบคงเหลือปลายงวด xx วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต xx จากตัวอย่างที่ 2.1 สามารถแสดงได้ ดังนี้ วัตถุดิบคงเหลือต้นงวด 30,000 บวก ซื้อวัตถุดิบสุทธิ ซื้อวัตถุดิบ 250,000 บวก ค่าขนส่งเข้า 10,000 260,000 หัก ส่งคืนวัตถุดิบ 18,000 ส่วนลดรับ 4,640 22,640 237,360 วัตถุดิบที่มีไว้เพื่อการผลิต 267,360 หัก วัตถุดิบคงเหลือปลายงวด 156,400 วัตถุดิบที่ใช้ไปในการผลิต 110,960 20
ตัวอย่างที่ 2.2 บริษัท โรงงานอุตสาหกรรมไทย จำ กัด มีข้อมูลเกี่ยวกับการรับจ่าย วัตถุดิบในดือนกรกฎาคม 25x1 ดังนี้ 25x1 ก.ค. 1 ยอดคงเหลือยกมา 2,000 หน่วย หน่วยละ 10 บาท 3 ซื้อวัตถุดิบตามใบสั่งวื้อ เลขที่ 71 จำ นวน 2,500 หน่วย หน่วย ละ 11 บาท 7 เบิกวัตถุดิบตามใบเบิก เลขที่ 701 เพื่อใช้ในการผลิตจำ นวน 2,200 หน่วย 9 เบิกวัตถุดิบตามใบเบิก เลขที่ 702 เพื่อใช้ทางอ้อมจำ นวน 500 หน่วย 14 ซื้อวัตถุดิบตามใบสั่งซื้อ เลขที่ 72 จำ นวน 50,000 หน่วย หน่วยละ 12.50 บาท 18 ส่งคืนวัตถุดิบที่เบิกเมื่อวันที่ 7 ก.ค. จำ นวน 200 หน่วย เพราะใช้ไม่หมดตาม ใบนำ ส่ง เลขที่ 32 20 ส่งคืนวัตถุดิบที่ซื้อเมื่อวันที่ 14 ก.ค. จำ นวน 200 หน่วย เพราะชำ รุดตามใบส่ง คืน เลขที่ 76 25 เบิกวัตถุตามใบเบิก เลขที่ 703 เพื่อใช้ในการผลิต จำ นวน 4,200 หน่วย 28 ซื้อวัตถุดิบตามใบสั่งซื้อ เลขที่ 73 จำ นวน 2,000 หน่วย หน่วยละ 14 บาท 31 จ่ายชำ ระหนี้ค่าวัตถุดิบที่ซื้อทั้งหมด ได้รับส่วนลด 2,160 บาท และตรวจนับ วัตถุดิบคงเหลือปลายงวดมีจำ นวน 4,600 หน่วย ซื้อมีจำ นวน 3,000 หน่วย จากการซื้อ เมื่อวันที่ 14 ก.ค. และ 1,600 หน่วย จากการซื้อเมื่อ 28 ก.ค. ให้ทำ คำ นวณหาต้นทุนวัตถุดิบคงเหลือปลายงวดและวัตถุดิบใช้ไปตามวิธี 1.วิธีราคาเจาะจง 2.วิธีเข้าก่อน-ออกก่อน 3.วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ หนัก การคำ นวณต้นทุนวัตถุดิบคงเหลือปลายงวดและวัตถุดิบใช้ไป วันที่ รายการ ปริมาณ(หน่วย) ราคาต่อหน่วย จำ นวนเงิน(บาท) ก.ค 1 ยอดยกมา 2,000 10 20,000 3 ซื้อครั้งที่ 1 2,500 11 27,500 14 ซื้อครั้งที่ 2 5,000 12.50 62,500 20 ส่งคืนที่ซื้อครั้งที่ 2 (200) 12.50 (2,500) 28 ซื้อครั้งที่ 3 2,000 14 28,000 31 ส่วนลดรับ_______ (2,160) รวมวัตถุดิบที่มีไว้เพื่อผลิต 11,300 133,340 หัก คงเหลือปลายงวด 4,600 วัตถุดิบที่เบิกใช้ไป 6,700 1.วิธีราคาเจาะจง ต้นทุนวัตถุดิบคงเหลือปลายงวด = (3,000 x 12.50) + (1,600 x 14) = 37,500 + 22,400 = 59,900 บาท ต้นทุนวัตถุดิบใช้ไป = ต้นทุนวัตถุดิบทั้งหมด - ต้นทุนวัตถุดิบปลายงวด = 133,340 - 59,900 = 73,440 บาท 21
2.วิธีเข้าก่อน-ออกก่อน วิธีนี้วัตถุดิบที่เข้ามาก่อนจะถุกเบิกไปใช้ก่อน ดังนั้น ปลายงวด คือ วัตถุดิบที่เข้ามาที่หลังสุด ต้นทุนวัตถุดิบคงเหลือปลายงวด = (2,000 x 14) + (2,600 x 12.50) = 28,000 + 32,500 = 60,500 บาท ต้นทุนวัตถุดิบใช้ไป = 133,340 - 60,500 = 72,840 บาท 3.วิธีถั่วเฉลี่ยถ่วงน้ำ หนัก ต้นทุนถัวเฉลี่ยต่อหน่วย = ต้นทุนวัตถุดิบทั้งหมด จำ นวนหน่วยทั้งหมด = 133,340 11,300 = 11.80 บาท/หน่วย ต้นทุนวัตถุดิบคงเหลือปลายงวด = 4,600 x 11.80 = 54,280 บาท ต้นทุนวัตถุดิบใช้ไป = 133,340 - 54,280 = 79,060 บาท 22
ต้นทุนค่าแรง งาน
1.ความหมายและการแบ่งประเภทค่าแรงงาน 1.1 ความหมายของค่าแรงงาน ค่าแรงงาน หมายถึง ค่าจ้าง (Wage) และเงินเดือน (Salaries) ที่ กิจการจ่ายให้พนักงานเป็นค่าตอบแทนในการทำ งาน วึ่งค่าจ้างจะมีลักษณะ การจ่ายเป็นรายชั่วโมง (Hourly) รายวัน (Daily) หรือตามจำ นวนหน่วยที่ ผลิต (Piecework) ส่วนเงินเดือนจะมีลักษณะการจ่ายเป็นประจำ เท่าๆกันทุก เดือน ซึ่งความแตกต่างของค่าจ้างและเงินเดือน คือ ค่าจ้างมักจะมีลักษณะ การจ่ายให้กับพนักงานที่มีลักษณะเป็นลูกจ้างชั่วคราว มิใช่ลูกจ้างประจำ หรือได้รับค่าตอบแทนเป็นรายวัน รายชั่วโมงหรือรายชิ้น ส่วนเงินเดือน เป็นการจ่ายค่าตอบแทนให้กับพนักงานประจำ ที่ปฏืบัติงานตามเวลาที่ กำ หนดเป็นเดือน ดังนั้น ค่าแรงงานที่จ่ายให้กับพนักงานเหล่านี้มีลักษณะ การจ่ายเป็นเงินเดือน 1.2 ประเภทของค่าแรงงาน โดยปกติะุรกิจในปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นธุรกิจให้บริการ ะุรกิจซื้อขาย สินค้า หรือธุรกิจผลิตสินค้า ต้องอาศัยแรงงานคนในการดำ เนินธุรกิจ ดังนั้น กิจการจึงไม่ค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนค่าแรงงานที่ต้องจ่ายให้กับพนักงานของ กิจการ ซึ่งค่าแรงงานที่เกิดขึ้นของธุรกิจต่างๆ แบ่งได้ ดังนี้ 1.2.1 ธุรกิจให้บริการและธุรกิจวื้อขายสินค้า ค่าตอบแทนที่จ่ายให้ กับพนักงานจะเป็นในรูปแบบเงินเดือนและค่าจ้างที่เป็นส่วนหนึ่งของค่าใช้ จ่ายดำ เนินงาน 1.2.2 ธุรกิจผลิตสินค้า เป็นธุรกิจผลิตสินค้าออกจำ หน่าย ค่าแรง งานที่เกิดขึ้นจึงแบ่งเป็นค่าแรงงานในฝ่าฝ่ยผลิตกับฝ่าฝ่ยจัดจำ หน่ายและฝ่าฝ่ย ดำ เนินงาน ซึ่งค่าแรงงานในฝ่าฝ่ยผลิตเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนสินค้า สำ เร็จรูปส่วนค่าแรงงานในฝ่าฝ่ยจัดจำ หน่ายและฝ่าฝ่ยดำ เนินงานเป็นส่วนหนึ่ง ของค่าใช้จ่ายดำ เนินงาน ดังนั้น ค่าแรงงานของธุรกิจต่างๆ สรุปได้ ดังนี้ 24 ต้นทุนค่าแรงงาน
โดยปกติกิจการผลิตสินค้ามักมีการแบ่งหน่วยงานในฝ่าฝ่ยผลิตออก เป็น 2 ประเภท คือ แผนกที่ทำ หน้าน้ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตโดยตรง (Production Department) และแผนกที่ไม่เกี่ยวข้องกับการผลิตที่ทำ หน้าน้ที่สนับสนุนนุหรือให้บริการแก่แผนกผลิต (Service Department) เช่น แผนกคลังพัสดุทแผนกซ่อมบำ รุง ฯลฯ ค่าแรงงาน ที่เกิดขึ้นในแผนกมักเป้ นค่าแรงงานทางตรง และค่าแรงงานที่เกิดขึ้นในแผผนกบริการจะเป็น ค่าแรงงานทางอ้อม ดังนั้น ต้นทุนค่าแรงงานจึงแบ่งออกได้ ดังนี้ 1) ค่าใช้จ่ายดำ เนินงาน หมายถึง แรงงานที่ใช้ในการให้บริการและจำ จำ หน่ายสินค้าของการดำ เนินธุรกิจ เช่น เงินเดือนฝ่าฝ่ยบริหาร เงินเดือนฝ่าฝ่ย ขาย ฯลฯ 2) ค่าแรงงานทางตรง (Direct Labour) หมายถึง แรงงานที่ใช้ใน การแปรสภาพวัตถุดิบให้เป็นสินค้าสำ เร็จรูป เช่น ค่าแรงงานพนักงาน แผนกผลิต ค่าแรงงานผู้ควบคุมเครื่องจักร ฯลฯ 3) ค่าแรงงานทางอ้อม (Indirect Labour) หมายถึง ค่าแรงงานอื่นๆ ที่มใช่แรงงานผลิตสินค้าโดยตรง เช่น ค่าเเรงงานของพนักงานแผนก บริการ เงินเดือนผู้ควบคุมงาน ผู้จัดการโรงงาน หัวหน้าน้คนงาน ฯลฯ หลักเกณฑ์ในการพิจารณาว่าค่าแรงงานใดเป็นแรงงานทางตรง ต้อง เข้าทั้ง 2 ลักษณะ ประกอบด้วย 1) เป็นงานที่ทำ หน้าน้ที่ผลิตสินค้าโดยตรง 2) สามารถคำ นวรค่าแรงงานเข้าเป็นต้นทุนสินค้าได้ชัดเจนโดยง่าย หากไม่เข้าหลักเกณฑ์ทั้ง 2 ข้อ จะถือเป็นค่าแรงงานทางอ้อม 2. การเก็บเวลาการทำ งาน ในการวางแผนและควบคุมเกี่ยวกับค่าแรงงานของพนักงานในกิจการ โดยมากจะผ่านแผนกบุคคล (Personnel Department) ซึ่งมีหน้าน้ที่ในการ จัดหาการว่าจ้างแรงงาน การฝึกอบรม จัดสวัสดิการให้พนักงาน และอีก หน้าน้ที่หนึ่ง คือ คิดค่าแรงงานให้กับพนักงาน ในบางธุรกิจที่มีขนาดใหญ่อาจ จะเเบ่งแยกหน้าน้ที่ของฝ่าฝ่ยคิดค่าแรงงานออกเป็นแผนกเก็บเวลาทำ งาน (Time-keeping Department) และแผนกคิดค่าแรงงาน (Payroll Department) ส่วนกิจการขนาดเล็กอาจจะไม่มีการแบ่งแผนกชัดเจน เพียง แต่จัดให้มีพนักงานประจำ สำ หรับทำ หน้าน้ที่โดยเฉพาะ แผนกเก็บเวลาการทำ งาน มีหน้าน้ที่บันทึกเวลาที่ใช้ไปในการทำ งานของ พนักงานทุกคนของกิจการ รวบรวมข้อมุลเกี่ยวกับชั่วโมงการทำ งาน โดย เก็บรายละเอียดทั้งส่วนรวมและแยกตามแผนก 25
แผนกคิดค่าแรงงาน มีหน้าน้ที่คำ นวณค่าแรงงานของพนังงานทุกคน แล้ว จำ แนกคิดเข้าเป็นต้นทุน รวมทั้งเตรียมรายละเอียดเกี่ยวกับการจ่ายค่าแรง งานให้พนักงาน เอกสารที่ใช้ในการจัดเก็บเวลาการทำ งาน มีดังนี้ 1) บัตรลงเวลา (Clock Card) คือ บัตรที่ใช้บัตรบึกเวลาการทำ งานของ พนักงานแต่ละคนในกิจการ ไม่ว่าพนักงานจะทำ งานอยุ่ในแผนกใด ซึ่งรุป แบบของบัตรลงเวลาจะแสดงเวลาเข้าและออกของเวลาทำ งานทุกวัน ซึ่ง พนักงานทุกคนจะนำ บัตรประจำ ตัวของตัวเองมาลงบันทึกเวลาการทำ งาน โดยใช้นาฬิกาลงเวลาอัตโนมัติ กิจการจะมีการควบคุมการลงเวลา โดยจัด ให้เจ้าหน้าน้ที่ควบคุมดูแลการบันทึกเวลา หรืออาจใช้กล้องวงจรปิดเพื่อ ป้อป้งกันการลงบันทึกเวลาแทนกัน ปัจจุบันกิจการขนาดใหญ่นิยมใช้บัตร ประจำ ตัวพนักงาน (Smar Card) เป็นบัตรลงเวลาการปฏิบัติงาน เพื่อความ สะดวกและรวดเร็วในการคิดคำ นวณค่าแรงงานและตรวจสอบการทำ งาน ของพนักงานการลงเวลาทำ งานนี้ใช้ได้กับธุรกิจทุกประเภท หน่วยงานของ รัฐ รัฐวิสาหกิจ ตัวอย่างบัตรลงเวลา 2) บัตรบันทึกเวลาการทงาน (Time Ticket) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า บัตรจำ แนกเวลา บัตรนี้จะใช้เป็นหลักฐานในการทำ งานของพนักงานว่าได้ ใช้เวลาทำ งาานอย่างไร นิยมใช้กับธุรกิจประเภทผลิตสินค้าในฝ่าฝ่ยผลิต ซึ่ง จะระบุว่าพนักงานทำ งานไปกับการผลิตในลักษณะใด ประเภทอะไร ใช้เวลา เท่าใด โดยหัวหน้าน้ผู้ควบคุมงานจะเป็นผู้กรอกเวลาลงในบัตร โดยปกติ พนักงานที่ทำ งานในฝ่าฝ่ยผลิต ค่าแรงงานจะถือเป็นค่าแรงงานทางตรง 26
ส่วนค่าแรงงานในฝ่าฝ่ยบริการ จะถือเป็นค่าแรงงานทางอ้อม ลักษณะของบัตรบันทึกเวลาการทำ งาน แบ่งเป็น 2 ประเภท 1) บัตรบันทึกเวลาประจำ งาน (Job Time Ticket) บัตรนี้จะแสดง ข้อมูลเวลาประจำ งานเริ่มต้นและเวลาสิ้นสุดในลักษณะงานที่ทำ เป็นประจำ อัตราค่าแรงงานและต้นทุนรวมของค่าแรงงานที่ใช้ในการทำ งานประเภทใด ชิ้นใด ฯลฯ ตัวอย่างบัตรบันทึกเวลาประจำ งาน 27 2) บัตรบันทึกเวลาประจำ วัน (Daily Time Tiicket) บัตรนี้จะแสดง การทำ งานของพนักงานในกรณีที่พนักงานต้องเปลี่ยนงานที่ทำ ในหลายๆ ใบ ตามลักษณะหรือประเภทของงานที่เปลี่ยนไป ก็จะใช้บัตรบันทึกเวลา ประจำ วันแทน ตัวอย่างบัตรบันทึกเวลาประจำ วัน
28 3. การคำ นวณค่าแรงงาน ในการคำ นวณค่าแรงงาน พนักงานแผนกบัญชีค่าแรงงานจะนำ ข้อมูล เวลาทำ งานของพนักงานที่ทำ มาตรวจสอบและคำ นวณค่าแรงงานของ พนักงานแต่ละคน ซึ่งการคำ นวณค่าแรงงานจะประกอบด้วยส่วนสำ คัญ 2 ส่วน คือ การคำ นวณค่าแรงงานขั้นต้น (Gross Payrolls) และการคำ นวณ ค่าแรงงานสุทธิ (Net Payrolls) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 3.1 การคำ นวณค่าแรงงานขั้นต้น (Gross Payrolls) เมื่อพนักงานที่เก็บเวลาการทำ งานได้รวบรวมเวลาการทำ งานของ พนักงานทุกคนได้ครบถ้วนแล้ว จะส่งให้กับแผนกบัญชีค่าแรงงานเพื่อคิด ค่าแรงงานของพนักงาน การคำ นวณจะพิจารณาจากชั่วโมงการทำ งงานของ คนงาน โดยได้รับค่าตอบแทนเป็นรายชั่วโมงหรือรายเดือน ฯลฯ ซึ่งการ คำ นวณค่าแรงงานขั้นต้นประกอบด้วยการคำ นวณค่าแรงปกติและการ คำ นวณค่าแรงล่วงเวลา 3.1.1 การคำ นวณค่าแรงงานปกติ การคำ นวณค่าแรงงานปกติ จะคิดจากเวลาทำ งานในวัน ทำ การปกติและในเวลาทำ การ เช่น วันทำ การปกติวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา ทำ การปกติ 08.00 น. - 17.00 น. ฯลฯ โดยใช้สูตรในการคำ นวณ ดังนี้ การคำ นวณตามชั่วโมงการทำ งาน ค่าแรงงานปกติ = จำ นวณชั่วโมงการทำ งาน x อัตราค่าแรงงานต่อชั่วโมง การคำ นวณตามชิ้นงาน ค่าแรงงานปกติ = จำ นวณชิ้นงานที่ผลิตได้ x อัตราค่าแรงงานต่อชิ้น การจ่ายตามลักษณะเงินเดือน ค่าแรงงานปกติ = อัตราเงินเดือนที่กำ หนด ตัวอย่างที่ 3.1 นายสนิท ทองสิมา ทำ งานในแผนกตัดของโรงงานผลิตเสื้อผ้าสำ เร็จรูป วันทำ งานปกติ วันจันทร์-วันศุกรื เวลาทำ งานปกติ 08.00 - 17.00 น. ได้รับค่าจ้างแรงงาน ในอัตราชั่วโมงละ 50 บาท ข้อมูลการทำ งานรายสัปดาห์ในบัตรบันทึกเวลาการทำ งาน มี ดังนี้
การคำ นวณค่าแรงงานปกติคำ นวณได้ ดังนี้ สูตร ค่าแรงงานปกติ = จำ นวนชั่วดมงการทำ งาน x อัตราค่าแรงงานต่อชั่วโมง = 37 x 50 = 1,850 บาท 3.1.2 การคำ นวณค่าแรงงานล่วงเวลา (Over Time) ตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2562 ได้บัญญัติไว้เกี่ยวกับ การกำ หนดเวลาทำ งานว่า นายจ้างจะกำ หนดเวลาทำ งานปกติไว้เท่าใดก้ได้ แต่ต้องไม่เกินสัปดาห์ละ 48 ชั่วโมง ในกรณีที่ลูกจ้างทำ งานเกินกว่าเวลา และชั่วโมงทำ งานปกติที่กำ หนดไว้ นายจ้างจะต้องจ่ายค่าแรงงานล่วงเวลา ให้แก่ลูกจ้าง ซึ่งการคำ นวรค่าแรงงานล่วงเวลา มีดังนี้ 1) ค่าแรงงานล้วงเวลาในวันทำ งานปกติ เมื่อลูกจ้างทำ งานนอก เวลาปกติหรือเกินชั่วโมงการทำ งานในวันทำ การปกติ โดยจะคำ นวณตาม ชั่วโมงการทำ งานส่วนที่เกินเวลาทำ งานหรือชั่วโมงทำ งานปกติจ่ายค่าแรง งานเป็น 1.5 เท่าของอัตราปกติ 2) ค่าแรงงานล่วงเวลาในวันหยุด เมื่อลูกจ้างทำ งานในวันหยุด หรือนอกเหนือจากวันทำ งานปกติ นายจ้างจะต้องจ่ายค่าแรงงานล่วงเวลาให้ แก่ลูกจ้างตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ (1) ทำ งานในวันหยุดในเวลาทำ งานปกติ เช่น วันทำ งานปกติ คือ วันจันทร์ถึงวันศุกร์เวลาทำ งานปกติตั้งแต่เวลา 08.00-17.00 น. ดังนั้น หากลูกจ้างมาทำ งานในวันเสาร์หรืออาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 08.00-17.00 น. จะถือว่าเป็นการล่วงเวลาทำ งานปกติ ในกรณีกฎหมายกำ หนดให้นายจ้าง ต้องจ่ายค่าแรงงานเพิ่มขึ้นอีกไม่น้อน้ยกว่า 1 เท่าของค่าแรงในอัตราปกติ หรือถือว่าจ่ายค่าแรงเป็น 2 เท่าของอัตราปกติ (2) ทำ งานล่วงเวลาในวันหยุดนอกเวลาทำ งานปกติ เช่น ลุก จ้างมาทำ งานในวันเสาร์หรือวันอาทิตย์ และในเวลาหลัง 17.00 น. จะถือว่า ทำ งานล่วงเวลาในวันหยุดในช่วงเวลานอกเวลาทำ งานปกติซึ่งเกินเวลา ทำ งานปกติ กำ หมายกำ หนดให้นายจ้างต้องจ่ายค่าแรงงานเพิ่มขึ้นอีกไม่ น้อน้ยกว่า 2 เท่าของอัตราปกติหรือจ่ายค่าแรงงานเป้นป้ 3 เท่าของอัตราปกติ 29 วันทำ งาน ชั่วโมงการทำ งาน จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ 8 8 8 7 6
หมายเหตุ กรณีที่ลุกจ้างได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือน การคำ นวณอัตราชั่วโมงล่วง เวลาตามกฎหมายกำ หนดไว้ ดังนี้ สูตร อัตราค่าแรงงาน = เงินเดือน / 30วัน / 8ชม. เช่น เงินเดือน 30,000 บาท อัตราค่าแรงงาน = 30,000/ 30 / 8 = 125 บาท/ชั่วโมง ดังนั้น หากพนักงานทำ ล่วงเวลาในวันปกติ อัตราค่าแรงงานล่วงเวลาในวันปกติ = 125 / 1.5 = 187.50 บาท/ชั่วโมง ตัวอย่างที่ 3.2 บริษัท สุวรรณบริการ จำ กัด กำ หนดเวลาการทำ งานของพนักงานและลุก จ้าง คือ วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 08.00-17.00 น. พักเที่ยง 1 ชั่วโมง ดังนั้น เวลาทำ งาน ปกติเท่ากับวันละ 8 ชั่วโมง นายนรินทร์ มาเสมอ พนักงานของกิจการมีชั่วโมงการทำ งาน สัปดาห์แรกของเดือนกรกฎาคม 25x1 ดังนี้ 30 สรุปอัตราค่าแรงงานปกติและค่าแรงงานล่วงเวลา วันทำ งาน อัตราค่าแรงงาน ค่าแรงงานปกติ ในเวลาทำ งาน ค่าแรงงานล่วงเวลา ในเวลาทำ งาน นอกเวลาทำ งาน วันปกติ วันหยุด - 1 เท่าของอัตราปกติ - 2 เท่า ของอัตราปกติ 1.5 เท่า ของอัตราปกติ 3 เท่า ของอัตราปกติ สรุป ค่าแรงงานขั้นต้น = ค่าแรงงาน + ค่าแรงงานล่วงเวลา วันทำ งาน เวลาทำ งาน ชั่วโมงการทำ งาน วันจันทร์ วันอังคาร วันพุธ วันพฤหัสบดี วันศุกร์ 08.00-17.00 น. 08.00-18.00 น. 08.00-16.00 น. 08.00-17.00 น. 08.00-19.00 น. 8 9 7 8 10
ค่าแรงงานปกติ (39 x 50) 1,950 บาท ค่าแรงงานล่วงเวลา -ในวันปกติ (3x50x1.5) = 225 -ในวันหยุดในเวลาทำ งานปกติ (12x50x2) =1,200 -ในวันหยุดนอกเวลาทำ งานปกติ (1x50x3) = 150 1,575 บาท รวมค่าแรงงานขั้นต้น 3,525 บาท 3.2 การคำ นวณค่าแรงงานสุทธิ (Net Peyrolls) การคำ นวณค่าแรงงานสุทธิหรือเงินได้สุทธิของพนังงานและลูกจ้าง ไม่ว่าจะได้ค่าแรงงานในรูปแบบของเงินเดือนหรือรายชั่วโมง การทำ งาน ตามชิ้นงาน นายจ้างจะต้องหักรายการหักต่างๆ ก่อนจ่ายเงินได้ให้กับ พนักงานและลูกจ้าง ซึ่งรายการหักต่างๆ ได้แก่ ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย เงิน ประกันสังคม เงินสะสม เงินกองทุนต่างๆ พฤหัสบดี 8 - - - ศุกร์ 8 2 - - เสาร์ - - 8 1 31 วันทำ งาน เวลาทำ งาน ชั่วโมงการทำ งาน วันเสาร์ วันอาทิตย์ 08.00-18.00 น. 08.00-12.00 น. 4 9 นายนรินทร์ มาเสมอ ได้ัรบค่าแรงงานอัตราชั่วโมงละ 50 บาท ให้ทำ คำ นวณค่าแรงงานขั้นต้นของนายนรินทร์ มาเสมอ ตารางการคำ นวรชั่วโมงการทำ งาน วันทำ งาน ชั่วโมงปกติ ชั่วโมงล่วงเวลา 1.5 เท่า 2 เท่า 3 เท่า จันทร์ 8 - - - อังคาร 8 1 - - พุธ 7 - - - อาทิตย์ - - 4 - รวม 39 3 12 1
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย คือ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่หัก ณ ที่ จ่ายตามกฎหมาย โดยการคำ นวณจากเงินเดือนหรือค่าจ้างหักด้วยค่าใช้จ่าย และค่าลดหย่อนตามกฎหมายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากำ หนดไว้มา คำ นวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย จากนั้นนำ ยอดที่คำ นวณได้มาหักจากเงิน เดือนและค่าจ้างที่ต้องจ่ายให้กับพนักงาทุกคน เงินประกันสังคม (Social Security) ตามพระราชบัญญัติประกัน สังคม พ.ศ.2533 กำ หนดให้หน่วยงานที่มีลูกจ้างต้องยื่นจดทะเบียนเข้า กองทุนประกันสังคม โดยมีการจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม 3 ฝ่าฝ่ย คือ รัฐบาล นายจ้าง และผู้ประกันตนในอัตราเท่ากัน เงินสมทบที่จ่ายเข้ากองทุนประกันสังคม คือ เงินที่รัฐบาล นายจ้าง และผู้ประกันตนจ่ายสมทบเข้ากองทุนฝ่าฝ่ยละ 5% โดยคิดจากฐานเงินเดือน หรือค่าจ้างที่คิดจากค่าแรงงานปกติ โดยฐานเงินเดือนหรือค่าจ้างไม่ต่ำ กว่า 1,650 บาทต่อเดือน และฐานสุงสุดไม่เกิน 15,000 บาทต่อเดือน (เงิน สมทบขั้นต่ำ เดือนละ 83 บาทและไม่เกินเดือนละ 750 บาท) ตัวอย่าง 3.3 จากตัวอย่างที่ 3.2 จากค่าแรงงานขั้นต้นของนายนรินทร์ มาเสมอ บริษัท กำ หนดหักภาษี ณ ที่จ่าย 10% ของค่าแรงงานขั้นต้น เงินกองทุนประกันสังคม 5% ของ ค่าแรงงานปกติ ให้ทำ คำ นวณหาค่าแรงงานที่บริษัทต้องจ่ายให้นายนรินทร์ มาเสมอ ค่าแรงงานขั้นต้น = ค่าแรงงานปกติ + ค่าแรงงานล่วงเวลา = 1,950 + 1,575 = 3,525 บาท ค่าแรงงานขั้นต้น 3,525 บาท หัก ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย(3,525 x 10%) 352.50 เงินประกันสังคม(1,950 x 5%) 97.50 450 บาท ค่าแรงงานสุทธิ 3,975 บาท ดังนั้น ในสัปดาห์แรกของเดือนกรกฎาคม นายนรินทร์ได้รับค่าจ้างจำ นวณ 3,975 บาท ตัวอย่างที่ 3.4 ต่อไปนี้เป็นรายการเกี่ยวกับการทำ งานการทำ งานของพนักงานและ ลูกจ้างของร้านอิ่มอร่อย โดยสรุปจำ นวณเงินเดือนและค่าจ้างของพนักงานสำ หรับเดือน มิถุนายน 25x1 ดังนี้ 32 สรุป ค่าแรงงานสุทธิ = ค่าแรงงาน - รายการหักต่างๆ ชื่อ ตำ แหน่ง ระยะเวลาทำ งาน อัตราค่าตอบแทน นายกัปตัน สอนดี น.ส.มารวย จริงนะ น.ส.อนงค์ เกิดดี นายสนั่น บุญมี 1. 2. 3. 4. หัวหน้าน้คนงาน คนงาน คนงาน คนงาน 1-30 มิ.ย. 22-30 มิ.ย. 22-30 มิ.ย. 22-30 มิ.ย. 30,000บาท/เดือน 45 บาท/เดือน 45 บาท/เดือน 50 บาท/เดือน
ร้านอิมอร่อยวิเคราะห์ชั่วโมงการทำ งานของพนักงานทุกคนได้ ดังนี้ *เงินประกันสังคมหักได้สูงสุดจากฐานเงินได้ 15,000 บาท ไม่เกิน 750 บาท/เดือน สรุป ค่าแรงงานขั้นต้นรวม 41,765 บาท รายการหัก -ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย 4,176.50 -เงินประกันสังคม 1,030 5,206.50 บาท จำ นวณเงินที่จ่ายให้กับพนักงานทุกคน 36,558.50 บาท จากตารางการคำ นวณข้างต้น สามารถแยกแสดงการคำ นวณเป็นรายบุคคลได้ ดังนี้ 1.นายกัปตัน สอนดี ค่าแรงงานปกติ 3,000 บาท ค่าแรงงานล่วงเวลา - (8 x 125 x 1.5) 1,500 - (8 x 125 x 2) 2,000 3,500 บาท ค่าแรงงานขั้นต้น 33,500 บาท หัก ภาษีหัก ณ ที่จ่าย (33,500 x 10%) 3,350 เงินประกันสังคม (15,000 x 5%) 750 4,100 บาท เงินที่ต้องจ่ายให้นายกัปตัน 29,400 บาท 2.น.ส.มารวย จริงนะ ค่าแรงงานปกติ (40 x 45) 1,800 บาท ค่าแรงงานล่วงเวลา - (6 x 45 x 1.5) 405 - (4 x 45 x 2) 360 765 บาท ค่าแรงงานขั้นต้น 2,565 บาท 33 ชื่อ ตำ แหน่ง ระยะเวลาทำ งาน อัตราค่าตอบแทน นายกัปตัน สอนดี น.ส.มารวย จริงนะ น.ส.อนงค์ เกิดดี นายสนั่น บุญมี 1. 2. 3. 4. - 40 40 40 8 6 8 8 8 4 4 4 ข้อมูลเพิ่มเติม ร้านอิ่มอร่อยจ่ายค่าแรงงานให้กับพนักงานโดยหักภาษี ณ ที่จ่าย 10% ของค่าแรงงานขั้นต้น เงินประกันสังคม 5% ของค่าแรงงานปกติ ให้คำ นวณหา เงินเดือนและค่าจ้างแรงงานที่ร้านอิ่มอร่อยจ่ายให้พนักงานทุกคน อัตราค่าแรงงานรายชั่วโมงของนายกัปตัน สอนดี = 30,000 * 30 * 8 = 125 บาท/ชั่วโมง
หัก ภาษีหัก ณ ที่จ่าย (2,565 x 10%) 256.50 เงินประกันสังคม (1,800 x 5%) 90 346.50 บาท เงินที่ต้องจ่ายให้ น.ส.มารวย 2,218.50 บาท 3.น.ส.อนงค์ เกิดดี ค่าแรงงานปกติ (40 x 45) 1,800 บาท ค่าแรงงานล่วงเวลา - ( 8 x 45 x 1.5) 540 - ( 4 x 45 x 2) 360 900 บาท ค่าแรงงานขั้นต้น 2,700 บาท หัก ภาษีหัก ณ ที่จ่าย (2,700 x 10%) 270 เงินประกันสังคม (1,800 x 5%) 90 360 บาท เงินที่ต้องจ่ายให้ น.ส.อนงค์ 2,340 บาท 4.นายสนั่น บุญมี ค่าแรงงานปกติ (40 x 50) 2,000 บาท ค่าแรงงานล่วงเวลา - (8 x 50 x 1.5) 600 - (4 x 50 x 2) 400 1,000 บาท ค่าแรงงานขั้นต้น 3,000 บาท หัก ภาษีหัก ณ ที่จ่าย (3,000 x 10%) 300 เงินปนะกันสังคม (2,000 x 5%) 100 400 บาท เงินที่ต้องจ่ายให้นายสนั่น 2,600 บาท 34
ต้นทุนค่าใช้จ่ ช้ า จ่ ย การผลิต
1.ความหมายของค่าใช้จ่ายการผลิต ค่าใช้จ่ายการผลิต (Manufacturing Overhead ro Facturing Overhead) คือ บรรดาค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้า ทั้งหมด ยกเว้นวัตถุดิบทางตรงและค่าแรงงานทางตรงซึ่งเป็นปัจจัยการ ผลิตที่สำ คัญอีกอย่างหนึ่ง นอกจากนี้ ยังเป็นปัจจัยการผลิตที่ยากในการ คำ นวณเข้าเป็นต้นทุนให้กับหน่วยสินค้าที่ผลิตเสร็จ ค่าใช้จ่ายการผลิตเป็น ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการผลิตในโรงงานและเครื่องจักร เช่น วัตถุดิบทาง อ้อม วัสดุโรงงาน ค่าแรงงานทางอ้อม ค่าซ่อมแซมและบำ รุงรักษาโรงงาน และเครื่องจักร สิทธิบัตรตัดบัญชี ค่าเสื่อมราคาโรงงานและค่าเครื่องจักร ฯลฯ 2.ประเภทค่าใช้จ่ายการผลิต ค่าใช้จ่ายการผลิตแบ่งเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ 2.1 แบ่งตามลักษณะของต้นทุน 2.2 แบ่งตามพฤติกรรมของต้นทุน การแบ่งค่าใช้จ่ายการผลิตตามลักษณะของต้นทุน เป็นการพิจารณา ลักษณะของต้นทุนที่ประกอบเข้าด้วยกันเป็นค่าใช้จ่ายการผลิต ได้แก่ วัตถุดิบทางอ้อม ค่าแรงงานทางอ้อม และต้นทุนการผลิตทางอ้อม ตัวอย่างค่าใช้จ่ายการผลิตตามลักษณะของต้นทุน ได้แก่ วัตถุดิบทางอ้อม (Indirect Material) เช่น วัสดุโรงงาน (Factory supplies) วัสดุสำ นักงานประจำ โรงงาน (Factory office Supplies) น้ำ มัน เชื้อเพลิง (Fuel) น้ำ มันหล่อลื่น (Lubricants) เครื่องมือขนาดเล็ก (Small Tools) ฯลฯ ค่าแรงงานทางอ้อม (Indirect Labour) เช่น ผู้ควบคุมงาน (Supervisor) ผู้ควบคุมพัสดุ (Storekeepers) เจ้าหน้าน้ที่ธุรการโรงงาน (Factory Clerical Workers) หัวหน้าน้ผู้ควบคุมโรงงานทั่วไป (Superintendence) เจ้าหน้าน้ที่ตรวจสอบคุณภาพ (Quality Control Inspectors) ค่าแรงงานล่วงเวลา (Over Time) ฯลฯ ต้นทุนทางอ้อมอื่น เช่น ค่าว่อมแซมบำ รุงรักษา-อาคารโรงงาน เครื่องจักร ค่าสาธารณูปโภคของโรงงาน ค่าเสื่อมราคาอาคารโรงงาน ค่า เบี้ยประกันอาคารโรงงาน ค่าเช่าอาคารโรงงาน ค่าเช่าเครื่องจักร ฯลฯ 36 ต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิต
การแบ่งค่าใช้จ่ายการผลิตตามพฤติกรรมของต้นทุน เป็นการพิจารณา ที่ประกอบเป็นค่าใช้จ่ายการผลิต ได้แก่ ต้นทุนคงที่หรือค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ (Fixed costs or Fixed Overhead) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ไม่มีความสัมพันธ์กับปริมาณการผลิต คือ ไม่ว่ากิจการจะผลิตสินค้ามากหรือน้อน้ย แม้กระทั่งไม่ผลิตสินค้าเลย ค่าใช้ จ่ายชนิดนี้ก็ยังคงเกิดขึ้นอยู่ตลอดและเท่าเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เช่น ค่าเช่า อาคารโรงงานที่กิจการที่ต้องจ่าย ค่าเสื่อมราคาโรงงานและเครื่องจักร ฯลฯ ซึ่งค่าใช้จ่ายการผลิตที่คงที่ ต้นทุนรวมจะเท่าเดิมตลอดไม่เปลี่ยนแปลงดัง นั้นจึงมีผลทำ ให้ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ต่อหน่วยจะเปลี่ยนแปลง คือ ยิ่ง ผลิตมาก ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ต่อหน่วยยิ่งลดลง แต่หากผลิตสินค้าน้อน้ย ลง ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ที่ต่อหน่วยจะสูงขึ้น ตัวอย่าง กิจการแห่งหนึ่งจ่ายค่าเช่าโรงงานเดือนละ 20,000 บาท ในเดือนมกราคม ผลิตสินค้าได้ 10,000 หน่วย เดือนกุมภาพันธ์ผลิตสินค้าได้ 15,000 หน่วย ดังนั้น ค่าเช่าโรงงานต่อหน่วยเดือนมกราคม = 20,000*10,000 = 2 บาท/หน่วย ค่าเช่าโรงงานต่อหน่วยเดือนกุมภาพันธ์ = 20,000*15,000 = 1.33 บาท/หน่วย ต้นทุนผันแปรหรือค่าใช้จ่ายการผลิต (Variable Costs or Variable Overhead) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่มีความสัมพันธ์กับปริมาณการผลิต คือ ค่า ใช้จ่ายที่ต้นทุนรวมเปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณการผลิตหากผลิตมากค่าใช้ จ่ายก้มาก ผลิตน้อน้ยค่าใช้จ่ายก็น้อน้ย และหากไม่ผลิตเลย ค่าใช้จ่ายการผลิต ผันแปรก้จะไม่เกิดขึ้นเลย แต่ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปรต่อหน่วยจะเท่าหัน ทุกหน่วยการผลิต เช่น วัสดุโรงงาน วัตถุดิบทางอ้อม ค่าน้ำ มันเชื้อเพลิง ค่าแรงงานทางอ้อมที่จ่ายเป็นรายช่ัวโมง ฯลฯ ตัวอย่าง กิจการแห่งหนึ่งเบิกใช้วัสดุโรงงานในการผลิตสินค้า 1 หน่วย ใช้วัสดุโรงงาน จำ นวน 3 บาท หากในเดือนมกราคมผลิตสินค้า 10,000 หน่วย ต้นทุนวัสดุโรงงานเท่ากับ 30,000 บาท หรือผลิตสินค้า 15,000 หน่วย ต้นทุนวัสดุโรงงานเท่ากับ 45,000 บาท ดังนั้น ต้นทุนวัสดุโรงงานต่อหน่วย = 30,000*10,000 = 3 บาท/หน่วย หรือ = 45,000*15,000 = 3 บาท/หน่วย ต้นทุนผสมหรือค่าใช้จ่ายการผลิตผสม (Mixed Costs or Mixed Overhead) หมายถึง ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่และผันแปรรวมอยู่ด้วยกัน กล่าวคือ ค่าใช้จ่ายนี้แบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นค่ามช้จ่ายคงที่ และ ส่วนที่ 2 เป็นค่าใช้จ่ายผันแปรที่เพิ่มขึ้นตามปริมาณการผลิต ดังนั้น ค่าใช้จ่าย ประเภทนี้แม้ว่ากิจการไม่ผลิตสินค้าเลย แต่ก็ยังต้องจ่ายค่าใช้จ่ายนี้ เพราะ มีส่วนที่คงที่รวมอยู่ เช่น ค่าค่าน้ำ ประปาโรงงาน ค่าไฟฟ้าฟ้โรงงาน ฯลฯ 37
38 ตัวอย่างการแบ่งค่าใช้จ่ายการผลิตตามพฤติกรรมของต้นทุน ได้แก่ ต้นทุนคงที่ (Fixed Costs) เช่น ค่าเช่าอาคารโรงงาน ภาษีทรัพย์สิน ค่า เบี้ยประกันโรงงาน ค่าเสื่อมราคา (คิดวิธีเส้นตรง) เงินเดือนฝ่าฝ่ยบริหาร โรงงาน ฯลฯ ต้นทุนผันแปร (Variable Costs) เช่น ค่าวัสดุโรงงาน เครื่องมือขนาด เล็ก ค่าใช้จ่ายในการตรวจนับวัตถุดิบ ฯลฯ ต้นทุนผสม (Mixed Costs) เช่น ค่าสาธารณูปโภคโรงงาน เงินเดือนผู้ ควบคุมงาน เงินเดือนพนักงานตรวจสอบคุณภาพ ค่าเช่าอุปกรณ์โรณ์งงาน ค่า เบี้ยประกันอุบัติเหตุสำ หรับคนงาน ฯลฯ 3.การเกิดของค่าใช้จ่ายการผลิต ลักษณะการเกิดค่าใช้จ่ายการผลิต ค่าใช้จ่ายการผลิตเป็นค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นจริงในการผลิตสินค้า ซึ่งค่าใช้จ่ายการผลิตมีหลายชนิดขึ้นอยู่กับกระบวนารผลิตของแต่ละกิจการ ที่ไม่เหมือนกัน โดยค่าใช้จ่ายการผลิตเป็นต้นทุนที่เกิดขึ้นจากรายการ ต่างๆ หลายประเภทรวมกัน และเป็นรายการที่ไม่สามารถถือเป็นวัตถุดิบ ทางตรงหรือค่าแรงงานทางตรงได้ ลักษณะการเกิดค่าใช้จ่ายการผลิต แบ่งได้ 3 ลักษณะ คือ 1) เกิดจากการจ่ายเงิน กิจการอาจจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆ เช่น จ่ายซื้อวัสดุ โรงงาน จ่ายค่าสาธารณูปโภคโรงงาน ค่าเบี้ยประกันโรงงานและเครื่องจักร ฯลฯ เมื่อเกิดรายการขึ้นก็จะบันทึกรายการไว้ เมื่อถึงสิ้นเดือนก็จะโอนตัด บัญชีไปบัญชีค่าใช้จ่ายการผลิตตามลักษณะของค่าใช้จ่ายการผลิตที่เกิด ขึ้น 2) เกิดจากการโอนบัญชี กิจการอาจโอนต้นทุนมาจากบัญชีอื่นมาเป็น ค่าใช้จ่ายการผลิตได้ เช่น การเบิกวัตถุดิบไปใช้ทางอ้อม หรือจำ แนกค่าแรง งานไปเป็นค่าแรงงานทางอ้อม 3) เกิดจากการปรับปรุงรายการเมื่อสิ้นงวด เป็นการปรับปรุงรายการ สินทรัพย์ที่มีไว้ในการผลิตจะตัดบัญชีออกเป็นค่าใช้จ่ายตามระยะเวลาที่ใช้ เช่น การปรับปรุงรายการค่าเสื่อมราคาโรงงานหรือเครื่องจักร วัสดุสำ นักงาน ใช้ไป สิทธิบัตรตัดบัญชี ค่าเบี้ยประกันโรงงสน เมื่อถึงสิ้นงวดจะรวมยอดไป เป็นค่าใช้จ่ายการผลิต 4. การคำ นวณต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิต จากลักษณะของค่าใช้จ่ายการผลิตที่เกิดขึ้นจากการดำ เนินการในการ ผลิตสินค้าของกิจการ สามารถนำ มาคำ นวณเป็นต้นทุนของค่าใช้จ่ายการ ผลิตที่เกิดขึ้น่ช่นเดียวกับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นของสำ นักงานหรือธุรกิจ
ประเภทอื่นๆ ซึ่งค่าใช้จ่ายการผลิตที่เกิดขึ้น ได้แก่ วัตถุดิบทางอ้อม ค่าแรง งานทางอ้อม ค่าสาธารณูปโภคโรงงาน ค่าภาษีเครื่องจักร สิทธิบัตรตัดบัญชี และวัสดุโรงงานใช้ไป การคำ นวณต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิต สรุปได้ดังนี้ 4.1 ค่าใช้จ่ายการผลิตเกิดขึ้นจากการจ่ายเงิน เช่น - จ่ายค่าซ่อมแซมโรงงานเป็นเงินสด 20,000 บาท - ได้รับใบแจ้งหนี้ค่าน้ำ โรงงาน 1,000 บาท ค่าใช้จ่ายการผลิต 1,250 บาท 4.2 ค่าใช้จ่ายการผลิตเกิดขึ้นจากการโอนบัญชี เช่น - เบิกใช้วัตถุดิบทางอ้อม 250 บาท - จำ แนกค่าแรงงานเป็นค่าแรงงานทางอ้อม 1,000 บาท ค่าใช้จ่ายการผลิต 1,250 บาท 4.3 ค่าใช้จ่ายการผลิตเกิดขึ้นจากการปรับปรุงรายการ เช่น - ปรับปรุงค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคา (Depreciation) คือ ค่าใช้จ่ายที่ตัดจากมูลค่าของ สินทรัพย์ที่กิจการใช้ประโยชน์ปน์ระจำ งวด ทั้งนี้ เพราะสินทรัพย์ประเภท อาคาร อุปกรณ์ เครื่องจักร รถบรรทุก ฯลฯ เป็นสินทรัพย์ที่มีไว้ใช้งานเป็น ระยะยาวนานและมักมีมูลค่าสูง จึงมีการประมาณประโยชน์จน์ากสินทรัพย์ เหล่านี้เฉลี่ยเป็นค่าใช้จ่ายแต่ละงวด ตามอายุการใช้ประโยชน์ กน์ารตัดค่า เสื่อมราคาของสินทรัพย์มีหลายวิธี ซึ่งวิะีที่นิยมใช้ คือ วิธีเส้นตรง โดยใช้ สูตรในการคำ นวณ ดังนี้ สูตร ค่าเสื่อมราคารายปี = ราคาทุน - ราคาขาย อายุการให้ประโยชน์เน์ชิงเศรษฐกิจ ราคาทุน = มูลค่าของสินทรัพย์ ณ วันที่ซื้อ ราคาซาก = มูลค่าประมาณการของสินทรัพย์ที่คาดว่าจะ ขายได้ในวันสิ้นสุดอายุการให้ประโยชน์เน์ชิงเศรษฐกิจ อายุการให้ประโยชน์เน์ชิงเศรษฐกิจ = อายุการให้ประโยชน์ที่น์ ที่ คาดว่าจะสามารถใช้สินทรัพย์นั้นได้ - ปรับปรุงวัสดุโรงงานใช้ไป วัสดุโรงงานเป็นสินทรัพย์ที่กิจการผลิตสินค้าใช้ในการผลิตสินค้า เพียงเล็กน้อน้ย ในทางปฏิบัติถือว่าวัสดุโรงงานส่วนที่ใช้แล้วหมดไปในงวด หนึ่งๆ เป็นค่าใช้ค่าจ่ายการผลิต วัสดุโรงงานที่เหลือจะแสดงเป็นสินทรัพย์ หมุนเวียน 39
40 - ปรับปรุงตัดบัญชีสิทธิบัตร สิทธิบัตร (Patent) เป็นหนังสือสำ คัญที่รัฐของให้เพื่อคุ้มครองการ ประดิษฐ์คิดค้นหรือออกแบบผลิตภัณฑ์ เป็นสินทรัพย์ทางปัญญา มีอายุ ตามประเภทของสิทธิบัตร เช่น สิทธิบัตรประดิษฐ์คิดค้นมีอายุ 20 ปี ส่วน สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์มีอายุ 10 ปี นับจากวันที่ยื่นคำ ร้องขอรับ สิทธิบัตร
การคำ นวณต้นทุน ของธุร ธุ กิจในงาน อาชีพ ชี
1.ความสำ คัญในการคำ นวณต้นทุนต่อการบริหารธุรกิจ 1.1 เพื่อให้ทราบถึงต้นทุนกรผลิตและต้นทุนขายของธุรกิจ 1.2 เพื่อสามารถนำ ต้นทุนทั้งหมดของธุรกิจมาเปรียบเทียบกับรายได้ ทำ ให้ทราบผลกำ ไรขาดทุนจากการดำ เนินธุรกิจ 1.3 เพื่อคำ นวณหรือตีราคาสินค้าคงเหลือปลายงวด 1.4 เพื่อใช้ในการวางแผนและควบคุมเกี่ยวกับการดำ เนินธุรกิจ การคำ นวณต้นทุนของงานอาชีพต่างๆ แบ่งเป็น 3 งานอาชีพ ดังนี้ 1) การคำ นวณต้นทุนของงานอาชีพธุรกิจบริการ 2) การคำ นวรต้นทุนของงานอาชีพซื้อขายสินค้า 3) การคำ นวณต้นทุนของงานอาชีพผลิตสินค้า 2.การคำ นวณต้นทุนของงานอาชีพธุรกิจบริการ งานอาชีพธุรกิจบริการ เป็นธุรกิจที่ดำ เนินงานให้บริการตามคำ สั่งของลุก ค้า โดนเน้นน้ความต้องของลูกค้าเป็นหลัก ธุรกิจบริการนี้ไม่มีสนค้าไว้แลก เปลี่ยน เมื่อธุรกิจให้บริการเสร็จแล้ว ลูกค้าจะได้รับความพึงพอใจหรือไม่พึง พอใจทันที หรือในขณะที่ลูกค้ารับบริการอยู่ ตัวอย่างธุรกิจบริการ เช่น ธุรกิจธนาคาร ะุรกิจโรงแรม เสริมสวย บริการ ต่างๆ ธุรกิจสื่อสาร ธุรกิจขนส่ง สำ นักงานบัญชี สำ นักงานทนายความ ธุรกิจ สปา นวดแผนไทย ธุรกิจรับจัดอบรมสัมมนา ฯลฯ ต้นทุนของธุรกิจบริการ คือ บรรดาค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการดำ เนินการให้ บริการกับลูกค้า ไม่ว่าจะเป็นต้นทุนที่ให้ประโยชน์ใน์นอนาคตหรือต้นทุนตาม งวดเวลา ตามที่กล่าวมาแล้วในหน่วยที่ 1 ยังสามารถจำ แนกต้นทุนของธุรกิจ บริการได้ ดังนี้ 2.1 ต้นทุนคงที่ (Fixed Costs) เป้นป้ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่ไม่เปลี่ยนแป ลงใดๆ ตามการให้บริการไม่ว่าจะมีการให้บริการหรือไม่ จะต้องเกิดค่าใช้ จ่ายในอัตร่เดิมอยู่ตลอด เช่น ค่าเสื่อมราคาอาหาร ค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์ สำ นักงาน ค่าเช่า เงินเดือนพนักงาน ฯลฯ 2.2 ต้นทุนผันแปร (Variable Costs) เป็นต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่ เปลี่ยนแปลงไปตามการใหบริการหากมีการให้บริการมาก ค่าใช้จ่ายชนิดนี้ จะมาก ถ้ามีการให้บริการน้อน้ย ค่าใช้จ่ายจะน้อน้ย หรือหากไม่มีการให้บริการ จะไม่เกิดค่าใช้จ่ายนี้เลย เช่น ค่าสาธารณูปโภค ค่าซ่อมแซม ค่าน้ำ ค่ามัน เชื้อเพลิง ค่าดูแลทำ ความสะอาด ฯลฯ 42 การคำ นวณต้นทุนของธุรกิจ ในงานอาชีพ
ตัวอย่าง ต่อไปนี้เป็นค่าใช้จ่ายของร้านบัวหลวง ดำ เนินธุรกิจให้บริการนวดและสปาใน เดือนกรกฎาคม 25x1 เงินเดือนพนักงาน 100,000 บาท ค่าน้ำ ประปา-ไฟฟ้าฟ้ 9,500 บาท ค่าอินเทอร์เน็ตน็ 1,500 บาท ค่าวัสดุในการนวดและสปาใช้ไป 7,800 บาท ค่าจ้างบริษัททำ ความสะอาด 120,000 บาทต่อปี ค่าคอมมิชั่นพนักงาน 48,000 บาท ค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์ 36,000 บาท ค่าเสื่อมราคาอาคาร 300,000 บาท ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 1,300 บาท ให้ทำ คำ นวณหาค่าใช้จ่ายของร้านบัวหลวงในเดือนกรกฎาคม 25x1 คำ นวณค่าใช้จ่ายของร้านบัวหลวง ค่าใช้จ่าย เงินเดือนพนักงาน 100,000 ค่าอินเทอร์เน็ตน็ 1,500 ค่าจ้างบริษัททำ ความสะอาด (120,000*12) 10,000 ค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์ (36,000*12) 3,000 ค่าเสื่อมราคาอาคาร (300,000*12) 25,000 139,500 บาท ค่าใช้จ่ายผันแปร ค่าน้ำ ประปา-ไฟฟ้าฟ้ 9,500 ค่าวัสดุในการนวดและสปาใช้ไป 7,800 ค่าคอมมิชชั่นพนักงาน 48,000 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 1,300 66,600 บาท รวมค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นในเดือน ก.ค. 206,100 บาท 3.การคำ นวณต้นทุนของงานอาชีพซื้อขายสินค้า งานอาชีพซื้อขายสินค้าหรือธุรกิจซื้อมาขายไป เป็นธุรกิจที่ซื้อสินค้ามา เพื่อขาย โดยไม่มีการเปปลี่ยนแปลงสินค้าหรือนำ ไปผลิตต่อ เช่น วื้อผลไม้ จากตลาดไท แล้วนำ มาขายให้กับผู้บริโภค ฯลฯ ซึ่งต้นทุนของธุรกิจซื้อขาย สินค้าจะเป็นต้นทุนของสินค้าที่ซื้อมาเป็นส่วนใหญ่ รวมค่าใช้จ่ายในการซื้อ สินค้ามาเพื่อขาย ตัวอย่างธุรกิจขายสินค้า เช่น ธุรกิจขายส่ง ขายปลีก ขายสินค้าอนไลน์ ฯลฯ ต้นทุนของธุรกิจของธุรกิจซื้อขายสินค้า เป็นต้นทุนของตัวสินค้าที่ซื้อมา รวมกับบรรดาค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการจัดหาสินค้ามาเพื่อขาย และค่าใช้จ่า ยอื่นๆ ในการดำ เนินงาน ไม่ว่าจะเป็นต้นทุนที่สะสมในตัวสินค้า ต้นทุนที่ไม่ สะสมในตัวสินค้า และต้นทุนตามงวดเวลาที่ได้กล่าวมาแล้วในหน่วยที่ 1 นอกจากนี้ ยังสามารถจำ แนกต้นทุนของธุรกิจซื้อขายสินค้าได้ ดังนี้ 43
3.1 ต้นทุนคงที่ (Fixed Costs) เป็นต้นทุนที่ไม่มีการการเปลี่ยนแปลงไป ตามปริมาณการขาย เช่น ต้นทุนของสินค้าที่ซื้อมาเพื่อขาย เงินเดือน พนักงาน ค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์สำณ์ สำนักงาน ฯลฯ 3.2 ต้นทุนผันแปร (Variable Costs) เป็นต้นทุนที่เปลี่ยนแปลงไปตาม ปริมาณการขาย เช่น ค่าขนส่งออก ค่าสาธารณูปโภค ค่าซ่อมแซม ฯลฯ การคำ นวณต้นทุนสินค้าที่ซื้อมาเพื่อขาย จะใช้สูตร ดังนี้ 1) ซื้อสินค้าสุทธิ = ซื้อ + ค่าขนส่งเข้า - ส่งคืน - ส่วนลดรับ 2) ต้นทุนสินที่ขาย = สินค้าคงเลือต้นงวด + ซื้อสุทธิ(สูตร 1) -สินค้าคงเหลือปลายงวด หรือ = สินคงเหลือต้นงวด + ซื้อ + ค่าขนส่งเข้า - ส่งคืน - ส่วนลดรับ - สินค้าคงเหลือปลายงวด ซื้อ เป็นรายการที่บันทึกราคาทุนของสินค้าที่ซื้อมาขายในระหว่างงวด ค่าขนส่งเข้า เป็นการบันทึกค่าใช้จ่ายต่างๆ เกี่ยวกับการขนส่งสินค้าเข้า ร้าน ถือเป็นต้นทุนของสินค้าที่ซื้อมาเพื่อขาย ส่งคืนสินค้า เป็นรายการของราคาสินค้าที่ส่งคืนให้ผู้ขาย เนื่องจากสินค้า ชำ รุดเสียหาย ผิดขนาด ฯลฯ เป็นรายการลดยอดซื้อสินค้า ส่วนลดรับ เป็นรายการของจำ นวนส่วนลดที่เจ้าหนี้ลดให้เมื่อกิจการจ่าย ชำ ระหนี้ค่าสินค้าที่ซื้อมาภายในกำ หนดเวลาที่จะได้ส่วนลด สินค้าคงเหลือต้นงวด หมายถึง สินค้าคงเหลือจากงวดบัญชีก่อนยกมา เมื่อเริ่มงวดบัญชีใหม่ สินค้าคงเหลือปลายงวด หมายถึง สินค้าคงเหลือ ณ วันสิ้นงวดบัญชี จะ ได้มาจากการตรวจนับจำ นวนคงเหลือ และนำ มาตีราคาคิดเป็นต้นทุนของ สินค้าคงเหลือปลายงวด แสดงการคำ นวณซื้อสุทธิ จากสูตรข้างต้นสามารถแสดงได้ ดังนี้ ซื้อ xxx บวก ค่าขนส่งเข้า xxx xxx หัก ส่งคืนสินค้า xxx ส่วนลดรับ xxx xxx ซื้อสุทธิ xxx แสดงการคำ นวณต้นทุนสินค้าที่ขาย จากสูตรข้างต้นสามารถแสดงได้ ดังนี้ สินค้าคงเหลือต้นงวด xxx บวก ซื้อสินค้าสุทธิ ซื้อ xxx บวก ค่าขนส่งเข้า xxx xxx หัก ส่งคืนสินค้า xxx ส่วนลดรับ xxx xxx xxx 44
สินค้าที่มีไว้เพื่อขาย xxx หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด xxx ต้นทุนสินค้าที่ขาย xxx องค์ประกอบต้นทุนสินค้าที่ขาย แสดงได้ ดังนี้ สินค้าคงเหลือต้นงวด ต้นทุนสินค้าที่ขาย ซื้อสุทธิ สินค้าคงเหลือปลายงวด สินค้าที่มีไว้ เพื่อขาย 45 ตัวอย่าง ต่อไปนี้เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการซื้อสินค้าชนิดหนึ่งของร้านวานิชในเดือน มกราคม 25x1 ซึ่งดำ เนินะุรกิจจำ หน่ายสินค้า มีดังนี้ 1. ซื้อสินค้าจำ นวน 1,000 หน่วย ราคาหน่วยละ 95 บาท 2. จ่ายค่าจ้างขนส่งสินค้าที่ซื้อ 1,000 บาท 3. ส่งคืนสินค้าที่สั่งเนื่องจากชำ รุด จำ นวน 10 หน่วย พร้อมชำ ระค่าสินค้าที่เหลือทั้งหมด ได้รับส่วนลดรับ 2% ให้ทำ คำ นวณหาต้นทุนสินค้าที่ซื้อมาเพื่อขาย ยอดซื้อสินค้า ( 1,000 x 95 ) 95,000 บาท บวก ค่าขนส่งเข้า 1,000 บาท 96,000 บาท หัก ส่งคืนสินค้า ( 10 x 95 ) 950 ส่วนลดรับ {( 990 x 95 ) x 2% } 1,881 2,831 ต้นทุนซื้อสุทธิ 93,169 บาท ต้นทุนสินค้าต่อหน่วย (93,160 * 990) = 94.11 บาท การคำ นวณต้นทุนสินค้าคงเหลือปลายงวดและสินค้าที่ขาย การคำ นวณต้นทุนสินค้าคงเหลือและสินค้าที่ขาย จะใช้วิธีการคำ นวณ เช่นเดียวกับการคำ นวรต้นทุนวัตถุดิบที่กล่าวมาแล้วในหน่วยที่ 2 นั่นคือ สินค้าคงเหลือที่ตรวจนับแล้วจะต้องนำ มาคำ นวณราคา และจะนำ ไปคำ นวณ ต้นทุนสินค้าที่ขาย การคำ นวณราคาสินค้าคงเหลือมีหลายวิธี แต่นิยมใช้ คือ การตีราคาสินค้าคงเหลือโดยใช้ราคาต้นทุนเดิม เพราะมีหลักฐานจาก การซื้อขายที่แน่นอน ที่สามารถพิสูจน์ไน์ด้ มีวิธีใช้ทั่วไป 3 วิธี ดังนี้ 1) วิธีราคาเจาะจง (Specific Identifcation Method) 2) วิธีเข้าก่อน - ออกก่อน (First in-First out Method) 3) วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ หนัก (Weighted Average Method) 1) วิธีราคาเจาะจง เป็นวิธีที่กำ หนดต้นทุนที่เจาะจงได้กับสินค้าแต่ละ รายการ คือ ทราบว่าสินค้าที่เหลืออยู่และสินค้าที่ขายไปเป็นสินค้าที่ซื้อมาใน ราคาใด วิธีนี้เหมาะสมกับสินค้าที่ไม่อาจสับเปลี่ยนได้ หรือสินค้าที่มีลักษณะ พิเศษที่สามารถแยกได้ชัดเจน วิธีนี้ไม่เหมาะกับสินค้าที่เหมือนกัน
ราคาทุนถัวเฉลี่ยต่อหน่วย = มูลค่าสินค้าที่มีไว้เพื่อขายทั้งสิ้น จำ นวนหน่วย 46 2) วิธีเข้าก่อน - ออกก่อน วิธีนี้จะยึดหลักข้อสมมติเกี่ยวกับการหมุนเวียน ของสินค้าที่ว่า สินค้าที่ซื้อมาก่อนจะถูกนำ ไปขายก่อน แล้วจึงขายสินค้าที่ซื้อ มาภายหลังเป็นลำ ดับต่อไป ทั้งนี้ เพราะว่าสินค้ามีอายุจำ กัด เก็บไว้นาน สินค้าอาจเสื่อมสภาพหรือล้าสมัยไปตามกาลเวลา อีกประการหนึ่ง สินค้าจะ ถูกซื้อเข้ามาตามลำ ดับในจำ นวนเพียงพอกับการขายในช่วงเวลาอันสมควร เท่านั้น ดังนั้น สินค้าที่เหลืออยู่ ณ วันสิ้นงวดบัญชี จึงเป็นสินค้าที่ซื้อมาหลัง สุดตามลำ ดับ 3) วิธ๊ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ หนัก วิธีนี้มีข้อสมมติฐานว่า สินค้าทุกหน่วยที่กิจการ มีอยู่จะมีราคาต้นทุนต่อหน่วยเท่ากันหมด เป็นการเฉลี่ยราคาต้นทุนสินค้า คงเหลือ ณ วันต้นงวด และสินค้าที่ซื้อมาในระหว่างงวดซึ่งมีราคาต่างกัน ให้ เป็นราคาเดียวกัน วิธีนี้เหมาะสมกับสินค้าที่มีลักษณะเหมือนๆกัน ไม่แตก ต่างกัน เช่น น้ำ มัน ข้าว น้ำ ตาล ฯลฯ โดยวิธีการนำ ปริมาณสินค้าแต่ละครั้ง มาคำ นวณ ซึ่งสูครในการคำ นวณราคาต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ หนักต่าหน่วย จะเป็นดังนี้ 4.การคำ นวณต้นทุนของงานอาชีพผลิตสินค้า งานอาชีพผลิตสินค้า เป็นธุรกิจที่ผลิตสินค้ามาเพื่อขาย ต้นทุนการผลิต สินค้าของกิจการอุตสาหกรรมจึงเป็นสิ่งสำ คัญที่กิจดารจำ เป็นต้องทราบ เพื่อเปรียบเทียบระหว่างการผลิตสินค้าเองกับการซื้อสินค้าสำ เร็จรูปมา จำ หน่ายในการกำ หนดราคาขาย การคำ นวณต้นทุนสินค้าสำ หรับกิจการ อุตสาหกรรมจึงมีความยุ่งยากเนื่องจากจะต้องซื้อวัตถุดิบมาผลิตสินค้าจึงมี ต้นทุนที่สะสมในตัวสินค้า ซึ่งประกอบด้วย วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทาง ตรง และค่าใช้จ่ายในการผลิต ต้นทุนที่ไม่สะสมในตัวสินค้าและต้นทุนตาม งวดเวลา ซึ่งกล่าวมาแล้วในหน่วยที่ 1 นอกจากนี้ยังสามารถแยกต้นทุนของ ธุรกิจผลิตสินค้าหรือธุรกิจอุตสาหกรรมได้ ดังนี้ 4.1 ต้นทุนคงที่ (Fixed Costs) เป็นต้นทุนที่ไม่เปลี่ยนปลงใดๆ ไปตาม ปริมาณการผลิตหรือการขายซึ่งมีลักษณะเหมือนกันกับธุรกิจซื้อขายสินค้า เช่น ค่าเสื่อมราคาโรงงาน-เครื่องจักร ค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์สำณ์ สำนักงาน เงิน เดือนพนักงานต่างๆ ฯลฯ 4.2 ต้นทุนผันแปร (Variable Costs) เป็นต้นทุนที่เปลี่ยนแปลงไปตาม ปริมาณกิจกรรมการผลิตหรือการขายเช่นเดียวกันกับธุรกิจบริการและธุรกิจ ซื้อขายสินค้า เช่น ต้นทุนวัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายการ