The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยตามหลัก SIMPLE

SIMPLE Patient@SSR2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by IPZPREAW, 2021-11-03 04:28:55

แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยตามหลัก SIMPLE

แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยตามหลัก SIMPLE

SIMPLE Patient@SSR2564

Keywords: แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยตามหลัก SIMPLE,SIMPLE Patient@SSR2564,แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย,SIMPLE Patient

48

ง. อันตรายจากการใช้ยาโดยขาดความระมัดระวังต่อประชากรกลุ่มพิเศษ ได้แก่ ผู้สูงอายุ เด็ก หญิง
มีครรภ์ มารดาให้นมบุตร ผู้ป่วยโรคตับ ผู้ป่วยโรคไต และผู้ป่วยที่มีโรคร่วม (unsafe
prescription in special population)

จ. อันตรายจากการใช้ยาต้านจุลชีพเกินความจำเป็น ซึ่งส่งเสริมให้เกิดการด้ือยาท่ีรักษาได้ยาก ต้อง
อยู่โรงพยาบาลนานข้ึน และเสียคา่ ใชจ้ ่ายสูงข้ึน และเพิ่มความเส่ียงตอ่ การติดเชอื้ ท่ีมคี วามรุนแรง
สูงทเ่ี พิม่ อตั ราการเสียชีวิตของผปู้ ่วย (unawareness of drug resistant burden)

Process

โรงพยาบาลได้ดำเนินการเพ่ือให้สอดคล้องกับกุญแจสำคัญ 6 ประการตามแนวทาง RDU Hospital
PLEASE ดังนคี้ ือ

1. การสร้างความเข้มแข็งให้กับคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด (Pharmacy and Therapeutic
Committee-PTC strengthening)
1.1. จัดต้ัง PTC ตรงตามหลักการ (principle) ท่ีระบุไว้โดยองค์การอนามัยโลกโดยมีเป้าหมาย (goal)
วัตถุประสงค์ (objective) หน้าที่ (duty) และบทบาท (role) ตามแนวทางขององคก์ ารอนามยั โลก
ไดแ้ ก่
ก. บริหารจัดการให้สถานพยาบาลมีรายการยาเท่าที่จำเป็น สอดคล้องกับปัญหาการเจ็บป่วยของ
ประชาชน และไมม่ ีรายการยาซ้ำซ้อน
ข. คดั เลอื กยาโดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ทีเ่ ชื่อถอื ได้ โดยพจิ ารณาจากประสิทธิผล ความปลอดภัย
ความสะดวกในการใช้ การหาได้ง่าย (availability) คุณภาพของยา ราคายา ความคุ้มค่า และ
ความสามารถในการจ่ายของสังคม
ค. รายการยาสอดคลอ้ งกับบัญชียาหลักแหง่ ชาติ
1.2. ตรวจตดิ ตาม (monitor) การใช้ยาที่ไม่สมเหตผุ ล
1.3. จัดทำตัวชี้วัดหลัก ตัวชี้วัดรอง อ้างอิงจากคู่มือ RDU Hospital และจากแนวทางปฏิบัติของ
กระทรวงสาธารณสุข และจดั ทำตัวช้ีวัดเฉพาะตามบรบิ ทและศักยภาพของโรงพยาบาล

2. บุคลากรผู้ส่ังจ่ายยา > 80% ผ่านการฝึกอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจต่อเหตุผลและหลักฐานเชิง
ประจักษ์ท่ีเป็นพื้นฐานของตัวช้ีวัดต่างๆ และมีทักษะ (skill) ในการใช้ยาอย่างสมเหตุผลได้ตามตัวชี้วัด
ต่างๆ และมีทกั ษะ (skill) ในการใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ลไดต้ ามตวั ชว้ี ัด

49

Monitoring

1. ตรวจติดตามอตั ราการใช้ยาทีไ่ มส่ มเหตุผลตามตัวชวี้ ดั หลักทเ่ี ปน็ มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสขุ

ลำดบั ตวั ชี้วดั เกณฑ์

1 ร้อยละของรายการยาทีส่ ัง่ ใชย้ าในบัญชียาหลกั แหง่ ชาติ รพ.ระดบั A

> ร้อยละ 75

2 ประสิทธิผลการดำเนินงานของคณะกรรมการ PTC ในการชี้นำ ระดับ 3
สื่อสาร และส่งเสริมเพ่ือนำไปสู่การเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้
ยาอยา่ งสมเหตุผล

3 การดำเนินงานในการจัดทำฉลากยามาตรฐาน ฉลากยาเสริมและ ร า ย ก า ร ย า 13 ก ลุ่ ม

เอกสารข้อมลู ยาใน 13 กลุ่มทีม่ ีรายละเอยี ดครบถ้วน ระดบั 3

4 รายการยาท่ีควรพิจารณาตัดออก 8 รายการ ซ่ึงยังคงมีอยู่ในบัญชี < 1 รายการ
รายการยาของโรงพยาบาล

5 การดำเนินงานเพ่ือส่งเสริมจริยธรรมในการจัดซ้ือและส่งเสริมการ ระดบั 3
ขายยา

6 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเขื้อท่ีระบบการหายใจช่วงบน < ร้อยละ 20
และหลอดลมอกั เสบเฉยี บพลันในผ้ปู ว่ ยนอก

7 ร้อยละการใช้ยาปฏชิ ีวนะในโรคอจุ จาระรว่ งเฉียบพลัน < ร้อยละ 20

8 รอ้ ยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอบุ ตั ิเหตุ < รอ้ ยละ 40

9 ร้อยละของผู้ป่วยความดันเลือดสูงท่ัวไป ท่ีมีการใช้ RAS blockage

(ACEIs/ARBs/Renin inhibitor) 2 ชนิดร่วมกัน ในการรักษาภาวะ ร้อยละ 0
ความดันโลหิตสูง

10 ร้อยละของผู้ปว่ ยที่ใช้ glibenclamide ในผปู้ ่วยทม่ี ีอายุมากกว่า 65 < ร้อยละ 5
ปี หรอื มี eGFR นอ้ ยกวา่ 60 มล./นาท/ี 1.73 ตารางเมตร

11 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ใช้ยา metformin เป็นยาชนิดเดียว > ร้อยละ 80
หรอื ร่วมกับยาอ่ืนเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล โดยไม่มีข้อห้ามใช้ (ห้าม
ใชห้ าก eGFR น้อยกว่า 30 มล./นาท/ี 1.73 ตารางเมตร)

50

ลำดบั ตัวชวี้ ดั เกณฑ์

12 ร้อยละของผปู้ ่วยทม่ี ีการใช้ยากล่มุ NSAIDs ซ้ำซ้อน < รอ้ ยละ 5

13 ร้อยละของผู้ปว่ ยโรคไตเรอ้ื รังระดบั 3 ขึ้นไปท่ไี ด้รบั ยา NSAIDs < ร้อยละ 10

14 ร้อ ย ล ะ ข อ งผู้ ป่ ว ย น อ ก สู งอ ายุ ท่ี ใช้ ย าก ลุ่ ม long acting < รอ้ ยละ 5
benzodiazepine ไ ด้ แ ก่ chlordiazepoxide, diazepam,
dipotassium chlorazepate

15 จำนวนสตรตี ัง้ ครรภ์ท่ีได้รับยาทีห่ ้ามใช้ ได้แก่ ยา warfarin*, statin, 0 คน
ergots เมื่อรู้ว่าต้ังครรภ์แล้ว (*ยกเว้นใส่ mechanical heart
valve)

2. ทบทวนเภสชั ตำรับ (formulary list) อย่างสมำ่ เสมอ ภายใต้แนวทางปฏิบตั ิ ดังน้ี
2.1. โรงพยาบาลไม่ควรมีรายการยาซ้ำซ้อน เช่น ยาแต่ละ generic name ควรมียาเพยี ง 1 รายการ
2.2. โรงพยาบาลไม่ควรมยี าในแต่ละกลุ่มมากชนิดจนเกนิ ไป
2.3. โรงพยาบาลไม่ควรมียาท่ีขาดประสิทธิผล หรือมีอันตรายเหนือกว่าประโยชน์ของยา โดย
โรงพยาบาลได้ตัดยาที่อยู่ในกรอบยา 8 รายการที่คู่มือการดำเนินการงานโครงการการใช้ยาอย่าง
สมเหตุผลเสนอแนะให้ตดั ออกจากเภสชั ตำรับ

3. มมี าตรการในการตรวจสอบ และป้องกันไม่ให้ผปู้ ่วยได้รับยาที่เป็นขอ้ ห้ามใช้หรือเป็นยาท่ีควรหลีกเลี่ยง
เนอื่ งจากมีความเสี่ยงสูงในการก่ออนั ตรายต่อผปู้ ว่ ย ท้ังผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน
3.1. ยาทีเ่ ป็น fatal drug interaction ไดแ้ ก่ คยู่ าทีร่ ะบไุ วใ้ น M 1.3
3.2. ห้ามใช้ etoricoxib กับผู้ป่วยความดันเลือดสูงท่ียังควบคุมความดันเลือดได้ไม่ดีท่ียังคงมีความดัน
เลือดสูงกว่า 140/90 mmHg
3.3. ยาที่ห้ามใช้กับสตรีมีครรภ์หรือหญิงให้นมบุตร ยาที่จัดอยู่ใน category D และ X ได้แก่ ergot,
statin และ warfarin เปน็ ต้น
3.4. ยาทีห่ า้ มใชห้ รอื ควรหลกี เล่ียงกบั ผู้ปว่ ยโรคตับ เช่น major และ minor tranquilizer เป็นตน้
3.5. ยาที่ห้ามใช้หรือควรหลีกเล่ียงกับผู้ป่วยโรคไต ได้แก่ metformin ในผู้ท่ีมี eGFR < 30 ml/
นาท/ี 1.73 ตารางเมตร
3.6. ย า ที่ ห้ า ม ใช้ ห รื อ ค ว ร ห ลี ก เลี่ ย งใน ผู้ สู งอ า ยุ ต าม Beers criteria ได้ แ ก่ long acting
benzodiazepine

4. ตรวจติดตามอัตราการจ่ายยาด้วยขนาดยา ความถ่ีในการให้ยา วิธีการให้ยา และระยะเวลาการให้ยาท่ี
เหมาะสม ดำเนินการแก้ไขและป้องกันการเกิดซ้ำ

51

5. ตรวจติดตามอัตราการใช้ยาท่ีมีลักษณะเปน็ ยาหลายขนานเกินจำเป็นตามข้อบ่งชี้ ทั้งน้ี polypharmacy
หมายถึงการที่ผู้ป่วยไดร้ ับยามากกวา่ 5 ชนิดในการรักษาโรค และ/หรอื เขา้ ข่ายตามคำจำกัดความท่ีได้มี
การระบไุ วใ้ นงานวิจยั ต่างๆ ขอ้ ใดขอ้ หนึ่งดังน้ี
5.1. Medication does not match the diagnosis
5.2. Duplication of medication
5.3. Inappropriate drugs (i.e., lack of proven benefit, etc.)
5.4. Two or more medicines to treat the same condition
5.5. Unnecessary use of medicine
5.6. Use of contraindicated medicine in the elderly
5.7. Prescription of multiple meds by different specialists for treating concurrent
conditions
5.8. Complicated drug regimen effecting compliance
5.9. Availability of an equally effective, lower-cost alternative

Pitfall

ข้อบกพร่องที่ทำให้การดำเนินงานไม่ประสบความสำเร็จ และไม่สามารถผลักดันให้โรงพยาบาลผ่าน
ตัวชี้วัดตา่ งๆ ประกอบด้วย

1. ขาดระบบสารสนเทศทดี่ ี
2. การส่ือสารและการฝึกอบรมให้เกดิ ความรู้ ความเข้าใจต่อเป้าประสงค์ของการใช้ยาอย่างสมเหตุผล

ตลอดจนการสร้างความตระหนักรู้ต่อผลเสียของการใชย้ าท่ีไม่สมเหตุผล ยงั ไม่เกิดขึ้นอยา่ งทัว่ ถึงใน
องคก์ ร

52

P1 P: Patient Care Process
P2
Patients identification
P 2.1 Communication
P 2.2
P 2.3 Effective communication - ISBAR
P 2.4 Communication During Patient care Handovers
P 2.5 Communicating critical test Results
Verbal or telephone Order/Communication
P3 Abbreviations, Acronyms, Symbols & Dose and Proportion Designation
P4
Reduction of Diagnostic Errors
P 4.1 Preventing Common Complications
P 4.2
P 4.3 Preventing suicidal attempt
P 4.4 Preventing Patient Falls
P 4.5 Preventing violence behavior
P 4.6 Preventing escape attempt
Preventing swallowing problems
Specific Clinical Risk

53

P1 : Patients Identification (พัฒนาการบง่ ช้ผี ู้ป่วยให้ถูกต้อง)

Definition

การบ่งช้ีตัวผู้ป่วย หมายถึง แนวทางการระบุตัวผู้ป่วย ให้สามารถแยกแยะผู้ป่วย แต่ละคนได้ชัดเจน
ทำให้สามารถประเมนิ วางแผนการดูแลท่ตี รงตามความตอ้ งการและเรง่ ด่วนได้ถูกต้อง ตรงตัวบุคคล

Goal

เพ่ือให้เกิดการบง่ ชี้ตัวผปู้ ่วยดว้ ยวธิ กี ารเดียวกนั และป้องกันการบง่ ช้ีตวั ผปู้ ว่ ยผิด

Why

การบ่งช้ีตัวผู้ป่วยผิดสามารถเกิดข้ึนได้ในทุกขั้นตอนในกระบวนการการดแู ลผปู้ ่วย ซึ่งเกิดได้จากหลาย
สาเหตุ ทั้งจากสภาวะของผู้ป่วยเองเชน่ ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวหรอื สูญเสียการรับรู้และปัจจัยที่เก่ียวกับกิจกรรมตา่ งๆ
ท่เี กิดขึ้นในกระบวนการดูแล เช่นการยา้ ยผปู้ ่วยในโรงพยาบาล ปจั จยั เหล่าน้ีกอ่ ให้เกิดความเส่ียงในการบ่งชต้ี ัว
ผิดและนำมาซึง่ ความเสยี หายและอันตราย ทจ่ี ะเกิดกบั ผปู้ ว่ ย

Process

1. โรงพยาบาลกำหนดนโยบายเร่ืองการระบุตัวผู้ป่วยจัดเป็นประเด็นสำคัญเพ่ือความปลอดภัยของ
ผู้ป่วย โดยถือเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรท่ีจะต้องตรวจสอบและระบุตัวผู้ป่วยให้
ถูกต้องก่อนการรักษา เช่น การทำหัตการ การให้ยา ก่อนการส่งต่อ การเปล่ียนผ่าน การ
รายงาน และการให้ข้อมูล รวมถึงก่อนการตรวจสอบผลตรวจทางห้องปฏิบัติการและสิ่งส่งตรวจ
ต่างๆ

2. กำหนดให้มีการใช้ตัวบ่งช้ีตัวผู้ป่วย ดังน้ี ชื่อ นามสกุล hospital number วัน เดือน ปีเกิด
และเลขบัตรประชาชน เพ่ือยืนยันตัวบุคคลเม่ือแรกรับ/ส่งต่อไปโรงพยาบาลอื่นและก่อนให้การ
ดูแล

3. จัดให้มีการตรวจสอบซ้ำและทบทวนเพ่ือป้องกันการบันทึกข้อมูลซ้ำอัตโนมัติโดยเคร่ือง
คอมพิวเตอร์

4. กำหนดใหห้ น่วยงานจัดทำแนวปฏบิ ัตกิ ารบ่งช้ีตวั ผปู้ ่วย ดงั น้ี

1. การบ่งช้ีตัวผปู้ ่วยทง่ี านเวชระเบียนผปู้ ่วย
แนวทางปฏิบตั ิ
1.1 ผู้ป่วยมารับบริการท่ีโรงพยาบาล เจ้าหน้าท่ีงานเวชระเบียนตรวจสอบหลักฐานจากผู้ป่วย เช่น

บตั รประจำตัวประชาชน สตู บิ ตั ร สำเนาทะเบยี นบ้าน บัตรรับรองสิทธิหรอื หลักฐานทท่ี างราชการออกให้
1.2 กรณีผู้ป่วยไม่นำหลักฐานใด ๆ มาเลย ให้ผู้ป่วยหรือญาติเขียนชื่อ – สกุล ผู้ป่วย นำมา

ตรวจสอบคน้ หาในฐานขอ้ มูล

54

• หากพบว่า เคยมารักษา ให้ถามช่ือ-สกลุ บิดา มารดา ให้ถามประวัติ การมารบั การ
รกั ษาครั้งสดุ ทา้ ยเพือ่ เป็นการยนื ยนั ตัวบุคคล

• หากพบว่า ไมเ่ คยมารักษา ให้ผู้ป่วยหรือญาติกรอกประวัติผู้ป่วยใหม่ เพ่ือจัดทำแฟ้ม
ประวัตผิ ู้ป่วยใหม่

1.3 การค้นหา แฟ้มเวชระเบียน เพื่อให้บริการ ต้องตรวจสอบชื่อ-สกุล หน้า OPD card ตรงกับ
หลักฐานทร่ี บั มาจากผปู้ ว่ ย ว่าเปน็ บคุ คลคนเดยี วกัน

1.4 ค้นหา Hospital Number ในระบบ HIS เพ่ือส่งตรวจ พร้อมตรวจสอบสิทธิทุกราย และส่งไป
ตามคลนิ ิกตา่ งๆ
1.5 กอ่ นนำแฟม้ เวชระเบยี นใส่กล่องแยกไปตามคลนิ กิ ต่าง ๆ ตรวจสอบแฟม้ เวชระเบยี น ชื่อ-สกลุ
หน้าเวชระเบียนผู้ปว่ ยนอก (OPD card) ตรงกบั หลักฐานที่รับมาจากผู้ปว่ ยว่า เป็นบุคคลเดียวกันหรือไม่ เพ่ือ
เป็นการตรวจสอบอกี ครัง้ (Double Check)
1.6 กรณี ช่ือ-สกลุ เหมือนกัน ใหป้ ฏบิ ตั ดิ ังนี้

• ตรวจสอบเลขประจำตัวประชาชน ,วนั เดอื น ปี เกิด, อายุ, ช่ือ-สกลุ บดิ า มารดา, ท่ี
อยู่

• บันทึกทะเบียนผ้ปู ว่ ย ชอ่ื -สกุล เหมอื นกัน

• บันทึกข้อความในแบบบนั ทึกประวตั ผิ ูป้ ่วยนอก ในสว่ น บันทกึ เพม่ิ เตมิ ว่า
“ตรวจสอบก่อนให้บริการทุกครง้ั ” เขียนด้วยปากกาสีแดง
และช่อื -สกลุ เหมอื นกับ HN. ……… เขยี นดว้ ยปากกาสีนำ้ เงนิ

• ติดสติกเกอร์สีชมพู ชื่อ-สกุล เหมือนกันไว้ท่ีหน้าปกแฟ้มเวชระเบียนผู้ป่วยนอก
ด้านลา่ งซา้ ย

• แสดง POP-UP ในคอมพิวเตอร์เตือนเมื่อเรียกใช้งาน HN. ของผู้ป่วย ชื่อ-สกุล
เหมือนกนั ในฐานขอ้ มูลระบบ HIS (Hospital Information system)

1.7 กรณีผู้ป่วยไม่มีญาติ ไม่มีบัตรประชาชน จะเขียนบรรยายว่า ชายไม่ทราบช่ือ–สกุล, หญิงไม่
ทราบชอ่ื – สกุล, อายปุ ระมาณ......ปี

2. การบ่งชตี้ ัวผปู้ ว่ ยในการใหย้ า (Drug Administration)
แนวทางปฏบิ ัติ

1. เมื่อแพทย์มีคำสั่งการรักษาพยาบาลรับคำสั่งโดยใช้ปากกาแดง ลงชื่อ วันที่และเวลาไว้ให้ชัดเจน
พร้อมส่งสำเนาไปให้ห้องยา เพ่ือจ่ายยา แบบ Unit does โดยท่ีสายยาปกตจิ ะเริ่มในวันถดั ไป แต่
ถา้ เปน็ order one day หรอื ยา Antibiotic ห้องยาจะจัดใหใ้ นมื้อถัดไป พยาบาลคดั ลอกยาลงใน
ใบ MAR โดยมีรายการดงั นี้ชือ่ ยาขนาดยาทใ่ี ช้ วธิ ีบริหาร(O, m) ความถี่ (tid, bid)

2. กรณีแพทย์สั่ง review treatment ใหม่ ให้ทำปีกการายการยาทุกรายการ และเขียน review
treatment ใหม่ดว้ ยปากกาสแี ดง พรอ้ มลอกรายการยาใหมท่ กุ ตัวลงในใบ MAR ทกุ ครัง้

3. กรณีแพทย์สั่ง OFF ยา ให้เขียนคำว่า OFF ในใบ MAR ด้วยปากกาแดง แล้วขีดเส้นยาว เมื่อ
แพทย์สัง่ ยาใหม่ ให้เขียนยาใหม่ทุกครงั้

4. พยาบาลรับสายยาจากห้องยานำมาตรวจสอบกับ Doctor’s order sheet สีชมพูกับใบ MAR
ใหต้ รงกัน ถ้าพบไม่ตรงกนั ใหป้ ระสานหอ้ งยาทนั ที เพอื่ แก้ไขใหถ้ กู ตอ้ ง

55

5. ขณะจ่ายยาให้ผู้ป่วย จะต้องตรวจ cheek อีกครั้งว่าสายยา Doctor’s order sheet และใบ
MAR ตรงกันหรือไม่ และต้องถามช่ือ –สกุล เพื่อยืนยันตัวผู้ป่วยและความถูกต้องครอบคลุม โดย
คำนึงถึง 6 Right และไมค่ วรฉกี สายยาก่อนจา่ ยยาใหผ้ ู้ป่วย ดังนี้

• ถูกคน โดยยนื ยนั จากการถาม ชอ่ื – สกลุ

• ถูกยา โดยตรวจสอบกบั ใบ MAR และสำเนา Doctor’s order sheet สีชมพู

• ถกู ขนาด เปน็ ไปตามขนาดท่แี พทย์ระบุ

• ถกู วธิ บี ริหาร ให้เฝา้ ระวังยาทมี่ เี ทคนคิ พเิ ศษ

• ถูกเวลา ตามท่กี ำหนดไวใ้ นข้อ 6

• ถกู เทคนคิ โดยเฉพาะยาทีม่ ีความเส่ียงสูง
6. การเรียกชื่อผู้ป่วยขณะจ่ายยาให้เรียกตามลำดับเตียง ยกเว้นผู้ป่วยท่ีต้องดูแลเป็นพิเศษ เช่น

ผู้ปว่ ยถกู จำกดั พฤติกรรม
7. พยาบาลลงชื่อการให้ยาผู้ป่วยในใบ MAR ตามเวลาที่จ่ายจริง ในการบริหารยาแต่ละครั้ง โดย

กำหนดชว่ งเวลาดังน้ี

• ยากอ่ นอาหาร = ก่อนอาหาร 30 นาที-1 ช่ัวโมง ยกเว้น ยาบางชนิดที่มี
ขอ้ แนะนำพเิ ศษ

• ยาหลังอาหาร = หลงั อาหาร 15 นาที ถงึ ครึ่งช่ัวโมง

• ยาหลังอาหารทันที = หลงั อาหารทันที

• ยาพร้อมอาหาร = พร้อมกับอาหารในมอ้ื นั้น ๆ
8. เมื่อพบว่ามีการลมื ให้ยาผ้ปู ่วยสามารถใหก้ ่อนเวลาม้ือตอ่ ไป 2 ช่ัวโมง

9. กรณีผู้ปว่ ยนำยามาจากบ้าน ใหเ้ ขียนลงใน Doctor’s order sheet พรอ้ มท้งั รายงานแพทย์และส่ง

ยาใหห้ อ้ งยาตรวจ เพอ่ื จัดเขา้ สายยาตอ่ ไป

10. กรณีพบอุบัติการณ์เกี่ยวกับการบริหารยา ให้รายงานเป็นอุบัติการณ์เข้าระบบ NRLS ทุกคร้ังท่ี

เกดิ อบุ ัติการณ์

3. การบ่งชี้ตัวผูป้ ว่ ยในการเก็บสิง่ ส่งตรวจ (Specimen Collection)/การบ่งช้สี ิง่ สง่ ตรวจ
แนวทางปฏบิ ัติ

3.1 รับคำสั่งตรวจในระบบ HIS (Hospital Information system) ระบุชื่อ-สกุล, HN, เพศ, อายุ,
รายการตรวจ, วนั ท่ี, เวลา, พิมพบ์ ารโ์ ค้ดสตกิ เกอรต์ ดิ ที่ภาชนะเกบ็ สงิ่ สง่ ตรวจ

3.2 เรียกชื่อผู้ปว่ ย เขา้ มาในหอ้ งเจาะเลือดเกบ็ /สงิ่ สง่ ตรวจ

3.3 ผู้เก็บส่ิงส่งตรวจ ตรวจสอบพิจารณาความเป็นไปได้ของเพศ อายุ และถามชื่อผู้ป่วยซ้ำ โดยให้

ผู้ปว่ ยบอกชอ่ื โดยไมถ่ ามนำวา่ ช่อื ... ใช่หรอื ไม่

3.4 เก็บสง่ิ ส่งตรวจทีละราย

56

3.5 การตรวจวิเคราะห์ ต้องทำจาก Primary tube หากจำเป็นต้องแบ่งส่ิงส่งตรวจเพ่ือการตรวจ
วิเคราะห์หลายอย่างต้องบ่งช้ีด้วยการติดบาร์โค้ดสติกเกอร์ที่ tube ตัวอย่างน้ันและบ่งชี้ทุกขั้นตอนการตรวจ
วิเคราะห์

3.6 เคร่ืองตรวจวิเคราะห์อัตโนมัติอ่านข้อมูลจากบารโ์ ค้ดโดยตรงและรายงานผลเข้าระบบปฏิบัติการ
ห้องปฏิบัติการ LIS โดยไม่คัดลอกรายงานผล

3.7 ผู้ตรวจวิเคราะห์ ตรวจสอบความถูกต้องและรายงานด้วยการเข้ารหัสทุกรายเพื่อป้องกันการใช้
โดยบคุ คลอนื่

3.8 ผู้ตรวจสอบรับรองผล ตรวจสอบความถูกต้องซ้ำอีกคร้ังด้วยการเข้ารหัสส่วนตัวทุกรายก่อนการ
อนมุ ัตผิ ล

3.9 พมิ พ์ใบรายงานผล มอบให้ผู้ปว่ ยและส่งขอ้ มูลเข้าระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
3.10 ในกรณีพบค่าวิกฤต ตรวจสอบซ้ำ ทุกข้ันตอน และโทรแจ้งคา่ วิกฤตให้พยาบาลประจำหอผู้ป่วย
ทันที พรอ้ มบนั ทกึ ชอื่ เวลารายงานคา่ วกิ ฤติในระบบ LIS

4. การบ่งชีต้ วั ผปู้ ่วยในการทำหัตถการ (Procedure)
แนวทางปฏบิ ัติ

4.1 กรณีแพทย์ส่งทำหัตถการในทุกกรณีให้ตรวจสอบคำส่ังแพทย์ใน Doctor order sheet / ระบบ
HIS (Hospital Information system) เพื่อยืนยนั ตวั ผู้ปว่ ยโดย ตรวจสอบ ชอ่ื - สกลุ , วนั เดอื น ปี เกิด,
เลขประจำตัวโรงพยาบาล (Hospital Number)ในแฟม้ เวชระเบยี น ให้ตรงกบั ตวั ผปู้ ว่ ย

4.2 ก่อนทำการหัตถการผู้ป่วย ให้ตรวจสอบชื่อ- สกุลผู้ป่วย โดยการซักถามจากผู้ป่วย/ญาติ โดยให้
ตรงกับป้ายช่ือที่เส้ือบริเวณหน้าอกซ้ายทุกรายในผู้ป่วยใน กรณีที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ให้สอบถามจากญาติ หรือ
เจ้าหนา้ ทีท่ ี่นำส่ง

4.3 งดใชห้ มายเลขเตียง หรอื หอ้ ง/หมายเลขลำดบั เข้าตรวจ เปน็ ตวั ชี้บง่ ตัวผู้ปว่ ย

5. การบง่ ชี้ตัวผปู้ ว่ ยในการเอกซเรย์
แนวทางปฏบิ ัติ

5.1 แพทย์ ตรวจประเมนิ อาการ สั่งตรวจทางรงั สี
5.2 รับคำส่ังตรวจทางรังสีในระบบ HIS ตรวจสอบความถูกต้อง ลงทะเบียนตรวจ ก่อนส่งข้อมูลเข้า
เครอ่ื ง CR

5.2.1 ตรวจสอบช่ือ-สกุล ของผู้ป่วย ให้ตรงกับคำสั่งตรวจ โดยสอบถามจากผู้ป่วย หรือ
เจ้าหน้าท่ีผ้นู ำสง่

5.2.2 ทบทวนคำส่ังตรวจ อวัยวะส่วนใด ด้านไหน ตรวจสอบว่าผู้ป่วยสามารถให้ความ
ร่วมมือในการถ่ายภาพรังสีได้หรือไม่ ถ้าผู้ป่วยไม่ให้ความร่วมมือต้องแจ้งให้พยาบาลประจำตึกทราบ
เพื่อดำเนินการตอ่ ไป

5.2.3 กรณีสตรีวยั เจริญพนั ธ์ (อาย1ุ 4-49ป)ี ให้สอบถามถึงการมคี รรภห์ รือสงสยั ตั้งครรภ์ ถ้า

57

ทราบว่าผปู้ ว่ ยมคี รรภต์ อ้ งแจง้ แพทยเ์ พ่ือขอการยืนยันการตรวจอีกคร้ัง หากแพทย์ยงั คงยืนยนั ให้ตรวจ
ต้องจัดหาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากรังสีบริเวณท้องให้ผู้ป่วย ยกเว้นจำเป็นต้องถ่ายภาพบริเวณ
หน้าท้องและถา่ ยภาพเพียงคร้ังเดยี ว
5.3 เตรียมผู้ป่วย เตรียมเครื่องมือ ตามรายละเอียด ท่ีระบุไว้ในวิธีปฏิบัติงานเรื่อง การถ่ายภาพ
รังสีทั่วไป กรณีที่ต้องช่วยจับผู้ป่วย ให้เตรียมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากรังสี เช่นเส้ือตะก่ัวและปฏิบัติตาม
วิธีการปฏบิ ัติงานเรอื่ ง การปอ้ งกันอันตรายจากรงั สี
5.4 ถ่ายภาพรังสีผู้ป่วยตามคำส่งั แพทย์ ตามวิธีการปฏิบัติงานเรื่องการถ่ายภาพรังสีท่ัวไป ถ่ายภาพ
รงั สีจากหนงั สอื เอกซเรยเ์ ทคโนโลยกี ารถ่ายภาพรังสี นำแผ่นรับภาพเข้าเครื่อง CR Reader
5.5 ตรวจสอบคุณภาพ/ความถกู ต้อง พร้อมปรับแต่งแก้ไขภาพรงั สีกอ่ นส่งภาพเขา้ สู่ระบบ PACS และ
ตรวจสอบภาพในระบบ PACS ชือ่ สกุล อวัยวะส่วนทต่ี รวจ ดา้ นซ้าย-ขวา ใหถ้ กู ตอ้ ง

6. การบง่ ช้ใี นการใหอ้ าหารเฉพาะโรค

แนวทางปฏิบัติ

6.1 รับคำส่งั อาหารเฉพาะโรคแต่ละหอผปู้ ว่ ยจากระบบ HIS
6.2 ตรวจสอบ ทบทวน และคัดแยกคำส่ังอาหารเพื่อทำใบสั่งจ่ายอาหารเฉพาะโรคพิเศษและสามัญ
(QF-NUT-01.49 และ QF-NUT-01.13)
6.3 ตรวจสอบใบสง่ั จา่ ยโดยนกั โภชนาการ/โภชนากรเพ่อื ให้หนว่ ยผลติ อาหารเฉพาะโรค
6.4 ปฏิบัตติ ามวธิ ีปฏิบัตกิ ารผลิตอาหารเฉพาะโรค (QW-NUT-01.12)
6.5 ตดิ บัตรอาหารแสดง ชื่อ-สกลุ หอผปู้ ่วย ชนดิ ของอาหารทภ่ี าชนะของผ้ปู ่วยแตล่ ะรายก่อนตกั จ่าย
บตั รอาหารมีการแยกสีตามชนดิ คำสงั่ อาหาร เพอื่ ให้ผู้ปฏิบัติงานจำแนกชนิดอาหารได้ชัดเจนขนึ้
6.6 จัดอาหารพรอ้ มบรกิ ารผปู้ ว่ ยโดยแยกใส่ตะกร้าของแตล่ ะหอผปู้ ่วย
6.7 ตรวจสอบอาหารเฉพาะโรคก่อนนำส่งหอผปู้ ่วยโดยนกั โภชนาการ/โภชนากร
6.8 สง่ มอบอาหารพรอ้ มใบส่งมอบอาหารเฉพาะโรค (QF-NUT-01.34)

ตารางการใชต้ ัวบง่ ชี้เพ่อื ระบตุ วั ผปู้ ่วยเพือ่ ความปลอดภยั

หนว่ ยงาน ตวั บง่ ช้ี หมายเหตุ

อบุ ตั ิเหตุ ฉกุ เฉิน ชอื่ – สกลุ , HN., อายุ กรณีไม่รู้สึกตัว ระบุด้วย เพศ ไม่
ทราบชอื่ อายุประมาณ....ปี

ผปู้ ว่ ยใน ชื่อ – สกุล, อายุ, HN., ปา้ ยชือ่ ผปู้ ว่ ย

เทคนคิ การแพทย์ สิ่งส่งตรวจระบดุ ้วย ชื่อ – สกุล, HN., วันท่ี, เวลา กรณสี งสัยตรวจสอบกบั พยาบาล
งานรงั สีเทคนคิ ทเี่ กบ็ ส่ิงส่งตรวจ, LN
ชื่อ – สกุล, อายุ, HN., อวัยวะทีต่ ้องการตรวจ กรณสี งสัยตรวจสอบกบั พยาบาล

ทนั ตกรรม ช่ือ – สกลุ , อายุ, HN.

58

หน่วยงาน ตวั บ่งชี้ หมายเหตุ
ฟืน้ ฟู ชอ่ื – สกุล, อายุ, HN. กรณสี งสยั ตรวจสอบกับพยาบาล
หอ้ งจ่ายยา ชอ่ื – สกลุ , อายุ, HN.
เวชระเบียน ช่อื – สกลุ , อายุ, HN.
โภชนาการ ชื่อ – สกลุ , อายุ, หอผปู้ ่วย, คำส่ังอาหาร

Training

1. สร้างความตระหนักถึงความรับผิดชอบของผู้ให้บริการในการตรวจสอบ การบ่งชี้ตัวผู้ป่วยว่า
ถูกต้องกับบุคคลท่ีจะให้การดูแลตามแผน ก่อนท่ีจะให้การดูแล ให้ข้อมูลและสื่อสารแนวทาง
ปฏบิ ตั ิขององคก์ รใหเ้ ข้าใจตรงกนั

2. ส่งเสริมการให้ความรู้ และแนวทางในการบ่งช้ีตัวผู้ป่วยกับผู้ป่วยและญาติเพื่อเข้าใจ และมีส่วน
รว่ มในการระบุตวั ตามแนวทางท่กี ำหนด

3. สงเสริมให้มีการรายงานอุบัติการณ์ท่ีเกิดขึ้นเพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์และหาแนวทาง ในการ
ป้องกันไม่ให้เกดิ กับผู้ป่วยรายอนื่

Monitoring

1. จำนวนอบุ ัตกิ ารณ์การเกดิ การระบตุ ัวผดิ พลาด misidentification

Pitfall บคุ ลากรขาดความตระหนกั สำคญั ในการระบตุ ัวผ้ปู ว่ ย
บคุ ลากรไม่ไดร้ ะบุตัวผปู้ ว่ ยตามทก่ี ำหนด ไมไ่ ดป้ ฏิบัตติ าม WI
- บคุ ลากรมคี วามเร่งรีบในการปฏบิ ตั ิงานให้ทนั เวลา
- ขาดการอบรมให้ความรู้แก่พยาบาลที่จบใหม่ก่อนการปฏิบัติงานเกี่ยวกับนโยบายความสำคัญใน
- การระบุตวั ผู้ปว่ ย
-

59

P 2: Communication

P 2.1: Effective communication – ISBAR (พฒั นาการส่ือสารทีม่ ีประสิทธิภาพ)

Definition

ประสิทธิผลการสื่อสารโดยใช้ ISBAR หมายถึงการกำหนดกรอบการสนทนา ISBAR (Identify-
Situation-Background-Awareness-Recommendation) ทำให้เกิดความเข้าใจในจุดประสงค์ของการ
ส่ือสารในเวลาท่ีรวดเรว็ เพ่อื เพม่ิ ความปลอดภัยในการวางแผนการดแู ลผู้ปว่ ยรว่ มกนั

Goal

เพื่อเพ่ิมประสิทฺธิภาพการสื่อสารในภาวะวิกฤติ กับแพทย์ท่ีมีสาระสำคัญครอบคลุมประเด็นที่มีผลต่อ
การพจิ ารณาการรักษา

Why

ความคลาดเคลื่อนของการส่ือสารเป็นสาเหตุรากของหลายๆ ปัญหาในการดูแลผู้ป่วย Institute for
Healthcare Improvement (IHI) ได้แนะนำให้ แก้ปัญหาการส่ือสารเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยโดยใช้
SBAR (Situation-Background- Assessment-Recommendation) ซ่ึงง่ายต่อการจดจำ เป็นกลไกท่ีชัดเจน
และมีประโยชน์ในการกำหนดกรอบการสนทนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาวะวิกฤติซึ่งต้องการความสนใจ และ
การลงมือปฏิบัติโดยทันทีและต่อมามีการพัฒนาเพิ่มเติมเป็น ISBAR โดยเพ่ิมตัว I (Identify) เพื่อยืนยันตัว
บคุ คลในการสือ่ สารขอ้ ความสำคัญซง่ึ กนั และกนั

Process

การรายงานแพทย์เมื่อผู้ป่วยมีอาการเปลี่ยนแปลง เช่น ผู้ป่วยหลบหนี,อุบัติเหตุ หรืออาการวิกฤติที่
ต้องขอความช่วยเหลือจากผู้ชำนาญกว่าเม่ือผู้ป่วยมี Criteria คือ 1. ผู้ป่วยมีอาการทางคลินิกท่ีมีผลการตรวจ
ทางห้องปฏิบัติการวิกฤติ 2. ผู้ป่วยจิตเวชท่ีมีอาการทางจิตวิกฤติรุนแรง 3. ผู้ป่วยจิตเวชที่มีโรคร่วมทางกายท่ี
อาการโรคทางกายวิกฤตรนุ แรง ดงั นี้
1. เม่อื แพทยไ์ มอ่ ยใู่ นหนว่ ยงานท่ดี ูแลผปู้ ่วย การสื่อสารกบั แพทยเ์ มื่อต้องการรายงานอาการผปู้ ่วยปฏบิ ตั ิดงั นี้

1.1 กรณีไมฉ่ กุ เฉิน
1) โทรศัพท์ภายในโรงพยาบาล
2) โทรศัพท์เคล่ือนท่ี
3) ใหเ้ จา้ หน้าท่ีรายงานท่บี ้านพัก / หอ้ งพักแพทย์

1.2 กรณีฉุกเฉินใช้โทรศัพทเ์ คลื่อนที่/ผา่ นoperator
2. กอ่ นจะรายงานแพทยใ์ ห้ปฏิบัติดงั นี้

2.1 ตรวจและประเมินรา่ งกายผปู้ ว่ ยดว้ ยตนเอง
2.2 ทบทวนเวชระเบยี น และพจิ ารณารายงานแพทย์

60

2.3 ทราบการวินจิ ฉัยอาการแรกรับ และวนั ทรี่ ับผปู้ ว่ ย
2.4 ศกึ ษาอาการและการดำเนินโรคของอาการผู้ป่วย
2.5 เตรยี มสง่ิ ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการตรวจของแพทยใ์ ห้พร้อม

1) เวชระเบียน
2) รายการยา สารนำ้ ที่ผู้ปว่ ยได้รบั และผลการตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ าร
3) สัญญาณชพี ครั้งล่าสดุ
4) ผลการตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ าร วนั เวลาทต่ี รวจและผลการตรวจครงั้ กอ่ นเพ่ือเปรียบเทียบ
3. ในการรายงานแพทย์ใชห้ ลัก ISBAR เป็นลำดบั หวั ขอ้ ในการรายงาน
I = Identification : การระบชุ ื่อ

• ระบุตัวผู้รายงาน: ระบุชื่อพยาบาล หนว่ ยงาน
• ระบชุ ่ือผู้ป่วย อายุ เพศ หอผูป้ ่วย
S = Situation : สถานการณ์ท่ีทำใหต้ ้องรายงาน

• ระบเุ หตกุ ารณส์ น้ั ๆ กระชับ เวลาที่เกิดความรุนแรง
B = Background : ขอ้ มูลภูมิหลงั เกยี่ วกับสถานการณ์

• การวินจิ ฉัยเมอื่ แรกรับและวนั ทร่ี ับไว้

• บญั ชีรายการยา สารน้ำทีไ่ ดร้ บั การแพย้ า การตรวจสอบทางห้องปฏบิ ัตกิ าร

• สัญญาณชพี ลา่ สดุ

• ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ วัน เวลาท่ีตรวจ และผลการตรวจครั้งก่อนเพื่อ
เปรียบเทียบกบั ปจั จบุ นั

• ขอ้ มลู ทางคลินกิ อื่น ๆ
A = Assessment : การประเมนิ สถานการณ์ของพยาบาล

• ระบุสิ่งท่ีเกิดข้ึนตามความคิดของตนเอง เช่น ดูเหมือนผู้ป่วยจะทรุดลงคิดว่า
น่าจะเกิดจาก......................

R = Recommendation : ขอ้ แนะนำหรือความต้องการของพยาบาล เช่น

• ผูป้ ่วยควรได้รับการดูแลจากแพทย์โดยดว่ น

• การเปลีย่ นแปลงคำสัง่ การรกั ษา
4. การบันทึกการเปลย่ี นแปลงสภาวะของผ้ปู ว่ ยและการรายงานแพทย์

มีการบันทึกการเปล่ียนแปลงของผู้ป่วยและการรายงานแพทย์ใน Doctor ’s order และ Nurse ’s
note

61

Training

1. กำหนดเป็นนโยบายการนำไปใชใ้ นองคก์ ร และขอบเขตการนำ ISBAR ไปปฏิบัติ
2. จัดโครงการให้ความรู้บคุ ลากรทางทางคลินกิ เก่ยี วกับ ISBAB โดยเฉพาะ พยาบาล และแพทยแ์ ละ

ประเมินความสามารถในการนำ ISBAR ไปใช้ โดยเฉพาะในการนำ ISBAR ไปใช้เมื่อเกิดภาวะ
วกิ ฤต
3. กำหนดใหแ้ พทยร์ ว่ มมีส่วนกระตุ้นให้เกดิ การสอื่ สารด้วยรูปแบบ ISBAR

Monitoring

จำนวนบคุ ลากรที่ใช้ ISBAR ในการรายงานในแต่ละเดอื น

Pitfall

องค์กรไม่ได้กำหนดนโยบายท่ีชัดเจนในการนำ ISBAR มาใช้ ทำให้ไม่ได้รับความร่วมมือจากบุคลากร
ท้งั องคก์ ร

P 2.2 : Communication During Patient care Handovers
(พฒั นาการส่ือสารข้อมลู ระหว่างการส่งมอบการดแู ลผปู้ ่วย )

Definition

การสอ่ื สารขณะส่งมอบข้อมูลการดูแลผู้ปว่ ย หมายถงึ การส่ือสารข้อมูลสำคญั เก่ียวกับการดูแลผู้ป่วย
เมอ่ื ต้องมีการเปล่ยี นตวั ผ้ดู ูแลผู้ป่วย เช่น เม่ือมีการเปลย่ี นเวร หรือการเปลี่ยนหน่วยงาน

Goal

1. เพ่ือสื่อสารข้อมูลของผู้ป่วยที่ถูกต้อง ครบถ้วน ลดความผิดพลาดท่ีเกิดจากการส่ือสารข้อมูล
ของผปู้ ว่ ย

2. ผปู้ ว่ ยได้รบั การดแู ลต่อเน่ือง ปลอดภยั และเหมาะสมตามสภาพปัญหา

Why

การสื่อสารที่ไม่มีประสทิ ธผิ ลส่งผลให้ผปู้ ่วย ได้รับอนั ตรายได้ และมีการวจิ ยั หลายการวิจัยชีป้ ัญหาการ
ส่ือสารที่ส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับ อันตรายมักเกิดท่ีคลินิกขณะมีการส่งมอบข้อมูลผู้ป่วยตอนเปลี่ยนเวร หรือ
ระหว่าง หน่วยงาน การกำหนดกรอบการสื่อสารข้อมูลจะช่วยทำให้การสื่อสารระหว่างผู้รับ และผู้ส่งข้อมูล
ผูป้ ว่ ยมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลมากข้ึน

62

Process

1. ใช้ ISBAR เป็นกรอบแนวคดิ ในการส่งเวร / ส่อื สารขอ้ มลู
2. จดั สถานทใี่ หเ้ หมาะสมกบั การสื่อสารทีม่ ีประสิทธิภาพ
3. มีเอกสารบนั ทึกกจิ กรรมและประเดน็ สำคญั ที่มกี ารส่ือสาร
4. มีการทวนซ้ำเพื่อตรวจสอบความถกู ตอ้ งเข้าใจตรงกนั ระหวา่ งผสู้ ่ือสารและผรู้ ับข้อมูล
5. มีการสื่อสารข้อมูลที่ต้องการให้ดำเนินการต่อเนื่อง ส่ือสารให้ครอบคลุมผู้ที่เก่ียวข้องในการดูแล
ผปู้ ว่ ย ได้แก่ ตัวผู้ปว่ ย ครอบครัว ชมุ ชนทใี่ ห้การดแู ลและบคุ ลากรสขุ ภาพผูด้ แู ลในชุมชน
6. ผู้ป่วยจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ผู้ป่วยและญาติจะต้องได้รับข้อมูลสำคัญเก่ียวกับการ
วนิ จิ ฉยั โรคเม่อื จำหน่าย แผนการรักษา ยาท่ใี ช้ และผลการตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร

Training

ฝกึ ทักษะการสอื่ สารในรูปแบบ ISBAR ในสถานการณต์ ่างๆ แกบ่ ุคลากรทีด่ ูแลผูป้ ่วย

Monitoring

จำนวนอุบัตกิ ารณ์ทีเ่ กิดจากการสง่ มอบข้อมูลผดิ พลาดหรือไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ของผ้ปู ่วย

Pitfall องค์กรไม่ได้กำหนดนโยบายท่ีชัดเจนในการส่ือสารขณะส่งมอบข้อมูลการดูแลผู้ป่วยขณะ
เปล่ยี นตัวผดู้ แู ล ทำให้ไม่ได้รบั ความร่วมมอื จากบคุ ลากรทัง้ องค์กร
- ขาดการอบรมให้ความรู้แก่พยาบาลที่จบใหม่ก่อนการปฏิบัติงานเก่ียวกับนโยบายความสำคัญใน
การส่ือสารขณะสง่ มอบขอ้ มลู การดแู ลผ้ปู ว่ ยขณะเปลย่ี นตวั ผูด้ แู ล
- บุคลากรมคี วามเรง่ รีบในการปฏิบตั ิงานให้ทันเวลาในขณะเปล่ียนตัวผู้ดแู ลผปู้ ่วย

-

P 2.3: Communicating critical test Results (พฒั นาการส่อื สารผลการตรวจทีม่ คี า่ วิกฤต)

Definition

การส่อื สารผลการตรวจที่มคี ่าวกิ ฤติ หมายถึง การส่ือสารระหว่างบุคลากรห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
กบั ทมี ที่ดูแลผู้ปว่ ย เมอื่ ผลการตรวจส่ิงส่งตรวจน้นั เป็นคา่ วกิ ฤติ

Goal

เพอ่ื ใหแ้ พทยแ์ ละทีมบุคลากรทีด่ ูแลผู้ปว่ ยไดท้ ราบผลการตรวจทางห้องปฏิบตั ิการท่ีเป็นค่าวกิ ฤตโิ ดยดว่ น
เพ่อื เปน็ ขอ้ มลู พจิ ารณาแผนการรกั ษาผปู้ ่วยอย่างทนั ทว่ งที สร้างความปลอดภยั ต่อผู้ปว่ ย

63

Why

การแจ้งผลการทดสอบค่าวิกฤตที่รวดเร็วมีความสำคัญอย่างย่ิงต่อการให้การดูแลรักษาผู้ป่วย The
Clinical Laboratory Improvement Amendments (CLIA 1988) กำหนดให้ มีการรายงานผลการทดสอบ
ค่าวิกฤตแก่แพทย์ทันทีหากผลการทดสอบทางห้อง ปฏิบัติการบ่งช้ีสภาวะวิกฤตของผู้ป่วย หากแพทย์ไม่ได้
รบั ทราบโดยเร็วหรือได้รับทราบแล้วแต่ไม่ได้ดำเนินการทันทีจะทำให้ผู้ป่วยเส่ียงอันตรายต่อชีวิต นอกจากน้ัน
แล้ว การที่แพทย์ทราบผลการตรวจของผู้ป่วยและใช้เป็นข้อมูลท่ีสะท้อนสภาวะสุขภาพของผู้ป่วยมาปรับ
แผนการรักษา ยังแสดงถึงการดูแลท่ีคำนึงถึงความรวดเร็ว ปลอดภัย เป็นไปตามมาตรฐานทางการแพทย์ซึ่ง
สร้างความไว้วางใจ มน่ั ใจตอ่ ผปู้ ่วยและญาตไิ ด้

Process

1. กำหนดเกณฑ์การรายงานผลการทดสอบทางห้องปฏิบัติการท่ีเป็นค่าวิกฤติ ร่วมกับองค์กรแพทย์,

หอ้ งปฏิบัตกิ ารและคณะกรรมการทมี นำทางคลนิ ิกดังนี้

ตารางแสดงค่าวกิ ฤต (Critical Value)

ทบทวนร่วมกบั องคก์ รแพทย์ และเข้าทปี่ ระชมุ PCT วนั ที่ 12 ตลุ าคม 2564

สาขา ค่า หนว่ ย
Low Hight

Hematology

1. WBC <3.0 >20.0 103 /L

2. Platelet count <50 >700 103 /L

3. Hct <25 >55 %

4. Hb <8 >20 g/dL

5. Absolute neutrophil count (ANC) <1.5 - 103 /L

Biochemistry

1. Glucose <70 >350 mg/dL

2. BUN - >25 mg/dL

3. Creatinine - >2.0 mg/dL

4. Na+ =/<125 =/> 150 mmol/L

5. K+ =/<2.8 =/>5.5 mmol/L

6. Chloride =/<80 =/>120 mmol/L

7. Magnesium =/<1.2 =/>3.2 U/L

8. Calcium =/<7 =/>12 mg/dL

9. CPK - =/>1000 U/L

Drug level

1. Lithium - >1.5 mmol/L

2. Valproic acid - >120 g/mL

64

สาขา ค่า หน่วย
Low Hight
3. Dilantin - >25 g/mL
4. Phenobarbital g/mL
5. Carbamazepine - >40 g/mL

- >12

การสอ่ื สารคา่ วิกฤตของโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ ดำเนินการดังตอ่ ไปน้ี
1. งานเทคนิคการแพทย์หารือร่วมกับองค์กรแพทย์ เพ่ือกำหนดรายการทดสอบที่ต้องแจ้งค่าวิกฤต
และช่วงค่าวกิ ฤตของแตล่ ะรายการทดสอบ
2. นำผลสรปุ รายการทดสอบท่ีตอ้ งแจง้ ค่าวกิ ฤตและช่วงค่าวกิ ฤตของแต่ละรายการทดสอบ เสนอต่อ
ที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบดูแลผู้ป่วยโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ (PCT) เพ่ือให้ที่
ประชมุ รับรอง
3. จดั ทำเแนวปฏบิ ัติการรายงานคา่ วกิ ฤต ซ่ึงประกอบด้วยรายการค่าวิกฤตและขั้นตอนการปฏบิ ตั ใิ น
การรายงานค่าวิกฤตเสนอต่อประธานคณะกรรมการพัฒนาระบบดูแลผู้ป่วยโรงพยาบาลสวน
สราญรมย์ (PCT) ประกาศใชแ้ ละแจกจ่ายให้หน่วยงานท่ีเก่ยี วข้องไวใ้ ชง้ าน
4. เมื่อผลการตรวจวิเคราะห์อยู่ในระดับค่าวิกฤต ห้องปฏิบัติการทำการตรวจสอบความถูกต้องแล้ว
จึงสง่ รายงานผลการตรวจท่วี กิ ฤตนัน้ ไปทนั ทใี นระบบ Hospital Information System (HIS)
5. ห้องปฏิบัติการโทรรายงานค่าวิกฤตโดยตรงต่อพยาบาลประจำหน่วยงาน ภายในไม่เกิน 5 นาที
นับจากทีต่ รวจสอบความถกู ตอ้ งของการตรวจแลว้
6. กำหนดให้พยาบาลประจำหน่วยงาน เปน็ ผู้รบั แจ้งค่าวกิ ฤตเบอื้ งตน้ และรายงานแพทย์ผู้ดแู ลรกั ษา
ผปู้ ว่ ยทันที
7. ทำการบนั ทึกข้อมูลรายละเอียดค่าวกิ ฤตท่รี ายงาย ผู้รายงาน เวลาทรี่ ายงาน ผ้รู บั รายงานเพ่ือเป็น
ขอ้ มูลหลกั ฐานในระบบและสามารถสอบกลบั ไดห้ ากมีความคลาดเคลื่อนในการสอื่ สารเกิดขน้ึ
8. ห้องปฏิบัติการโทรติดตาม เพอ่ื ให้เกิดความมนั่ ใจว่าพยาบาลรายงายแพทย์และแพทย์ได้รับทราบ
แล้วได้ดำเนินการรักษาผู้ป่วยรักษาทันเวลา ภายใน 30 นาที พร้อมท้ังบันทึกเวลาที่รายงานและ
เวลาทีแ่ พทย์รักษา

Training

1. จัดให้มกี ารปฐมนเิ ทศและการศกึ ษาตอ่ เน่ืองเกีย่ วกับวิธีการส่อื สารผลการตรวจสอบท่ีมีค่าวิกฤต
2. ทดลองปฏิบตั ติ ามแนวปฏบิ ตั ิ
3. ทบทวนผลการปฏิบตั ิและปัญหาอุปสรรคท่เี กิดขึ้นเพื่อพฒั นาแนวทางการรายงานอย่างตอ่ เน่อื งทุก

3 เดือน

Monitoring

ร้อยละการรายงานค่าวิกฤตไิ ปท่ีพยาบาลประจำหน่วยงานภายในเวลา 5 นาที
ร้อยละของการพจิ ารณาปรบั การรกั ษาเม่อื แพทย์ทราบผลคา่ วิกฤตภิ ายใน 30 นาที

65

Pitfall

1. รายการทดสอบที่กำหนดเป็นค่าวิกฤตบางรายการ ไม่สะทอ้ นความเรง่ ด่วนฉุกเฉินทางการแพทย์
2. บุคลากรทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องบางรายยังไม่ตระหนักและยงั ไม่ได้ให้ความสำคัญกบั การรายงาน

ค่าวิกฤตว่ามีผลกระทบต่อผูป้ ่วยและเปน็ ภาระเร่งดว่ นท่ตี อ้ งรบี รายงานแพทย์
3. ไมส่ ามารถแจ้งผลค่าวิกฤต เนอ่ื งจากระบบโทรศัพทข์ ดั ขอ้ ง

P 2.4: Verbal or Telephone Order/Communication
(พฒั นาการรบั คำส่ังทางวาจาหรือทางโทรศพั ท์)

Definition

การส่ือสารหรือส่ังการรักษาด้วยวาจาหรือส่ังการรักษาทางโทรศัพท์หมายถึง การสื่อสารโดยใช้วิธีพูด
หรือสื่อสารทางโทรศัพท์ในการสั่งการรักษาหรือการรับรายงาน ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการแทนการส่ัง
การรกั ษาลงในใบคำสงั่ การรกั ษาหรอื ใบรายงานผลทางห้องปฏิบัติการทีใ่ ช้กนั ตามปกติ

Goal

ส่ือสารถูกตอ้ ง และลดความคลาดเคลื่อนจากการสัง่ การรกั ษา

Why

การสั่งการรักษาโดยการใช้คำพูด หรือทางโทรศัพท์มีความเส่ียงสูงท่ีจะเกิดความคลาดเคล่ือน
เนื่องจากความไม่ชัดเจนที่อาจเกิดจากปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่รบกวนการสื่อสารเช่น เสียงความวุ่นวายของ
ส่งิ แวดล้อม

Process

1. การสง่ั การรกั ษาด้วยวาจา หรอื ทางโทรศัพท์กระทำในกรณีท่จี ำเป็นหรือเร่งด่วน
2. พยาบาลหวั หน้าเวรรายงานอาการผู้ปว่ ยตามหลัก ISBAR
3. แพทยส์ ัง่ การรกั ษาด้วยถ้อยคำท่ีชัดเจน ไม่ใชค้ ำยอ่ ท่ีไมเ่ ปน็ สากล
4. พยาบาลทวนสอบคำสั่งการรักษากบั แพทยอ์ ีกครัง้
5. เมื่อแพทย์ผู้สั่งการรักษายืนยันคำส่ังพยาบาลผู้รับคำสั่งบันทึกคำส่ังใน Doctor Order Sheet ให้
สมบรู ณแ์ ละบนั ทกึ ใน Nurse ’s note ดังนี้
- สถานการณ์ และการรายงานอาการผู้ป่วย............ จึงรายงานแพทย์WARD/แพทย์ประจำเวร ทาง
โทรศพั ท์ สั่งการรักษาคือ ……………………………………………………………………….

น.ส. กมลวรรณ พยาบาลวิชาชพี ผูร้ ายงาน
6. แพทย์ผูส้ ัง่ การจะต้องลงลายมอื กำกบั คำสงั่ ภายใน 24 ชั่วโมง หลังมคี ำสงั่ นั้นๆ

66

7. กรณีเกิดสถานการณ์การระบาด เช่น การระบาดของโรคโควิด-19 ให้ใช้การรายงานตามการตกลง
ร่วมกันระหว่างแพทย์กับทีมพยาบาลประจำหอผู้ป่วยน้ันๆ โดยยังคงยึดหลักความรัดกุมปลอดภัยของข้อมูล
ความเจบ็ ปว่ ยของผปู้ ่วยเปน็ สำคัญ

Training

1. ปฐมนิเทศแนวทางการปฏิบัติในทุกสาขาวิชาชีพท่ีเก่ียวข้องเกี่ยวกับปัจจัยเส่ียงท่ีจะเกิดความ
คลาดเคล่อื น

2. ฝึกการปฏิบตั ิตามแนวทางทก่ี ําหนดสําหรบั ผ้เู กย่ี วข้อง

Monitoring

จำนวนความคลาดเคลอื่ นจากการรายงาน

Pitfall การสั่งการรักษาโดยการใชค้ ำพดู หรือทางโทรศพั ท์ อาจทำใหฟ้ ังคลาดเคล่ือนได้
ไม่มีการอ่านทวนกลับ (read back) หรือผู้ส่ังไม่รอให้มีการอ่านทวนกลับบันทึกการส่ังการรักษา
- โดยการใช้คำพูด หรอื ทางโทรศพั ท์ลงในกระดาษโนต้ โดยไม่บันทึกในคำสั่งการรกั ษา
- ผสู้ ง่ั การรกั ษาไม่มาเซ็นกำกับในเวลาที่เหมาะสม
บุคลากรมีความเรง่ รีบในการปฏิบตั ิงานให้ทันเวลาทำให้ขาดความรอบคอบ
-
-

P 2.5: Abbreviations, Acronyms, Symbols & Dose and Proportion Designation

Definition

การใช้คำย่อ อักษรย่อ สัญลักษณ์ ขนาดและสัดส่วน หมายถึง แนวทางท่ีองค์กรกำหนดการใช้คำย่อ
อักษรย่อ สัญลักษณ์ ขนาดและสัดส่วนท่ีเก่ียวกับการรักษา สำหรับให้บุคลากรท่ีเก่ียวข้องนำไปใช้ในการ
ส่ือสารใหเ้ ป็นทศิ ทางเดยี วกัน

Goal

ลดความผิดพลาดจากการสอ่ื สารโดยการใชค้ ำย่อ

Why

การใช้คำย่อทำให้เกิดความสบั สนหรืองา่ ยต่อการเข้าใจผิด ทำให้บคุ ลากรหรือผู้ให้บริการมีโอกาสเกิด
ความคลาดเคลือ่ นในการดแู ลรักษาผูป้ ว่ ย อันนำมาสอู่ ุบัติการณห์ รอื เหตกุ ารณไ์ ม่พึงประสงค์ต่าง ๆ ได้

67

Process

1. หากองค์กรอนุญาตให้ใช้คำย่อ ช่ือย่อ สัญลักษณ์ จะต้องมีแนวทางปฏิบัติท่ีตกลงทำความเข้าใจ และ
สอ่ื สารรับรู้ท้ังองคก์ ร โดยตวั ย่อทอ่ี นุญาตใหใ้ ช้ ต้องเป็นตัวยอ่ ทม่ี คี วามหมายเดยี วเท่าน้ัน

2. ตอ้ งกำหนดคำย่ออันตรายที่ห้ามใช้ในโรงพยาบาล เชน่ บัญชรี ายการคำย่อท่ีไมอ่ นญุ าตให้ใช้
3. องค์กรนำบญั ชรี ายการที่ไม่อนญุ าตใหใ้ ช้ไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิกับคำสงั่ ทุกคำส่ัง และเอกสารที่เก่ยี วกบั การใช้

ยาทัง้ หมด ไม่วา่ จะเปน็ การบันทกึ ในกระดาษหรอื บันทึกในคอมพวิ เตอร์
4. แบบฟอร์มท่จี ดั พมิ พไ์ วล้ ว่ งหนา้ (preprinted forms) จะตอ้ งไม่มีรายการที่ไมอ่ นญุ าตให้ใช้ดงั กลา่ ว
5. ห้ามใช้คำย่อในใบเซ็นต์ยินยอมการบอกกล่าว (informed consent) และเอกสารใดๆท่ีโรงพยาบาล

ให้กับผ้ปู ่วยและญาติ

Training

• บรรจุเน้อื หาในการปฐมนเิ ทศทมี ผู้ดแู ลที่เกยี่ วข้อง
• สนับสนนุ ใหม้ ีการเตอื นหรือทักทว้ งถ้าปฏบิ ัตไิ ม่เปน็ ไปตามแนวทาง

Monitoring

• การใช้คำย่อทไ่ี มอ่ นญุ าตใหใ้ ช้
• อุบตั ิการณ์ความคลาดเคล่ือนท่ีเกดิ จากการใช้คำย่อ

Pitfall

ความเกรงใจกนั ในทมี ดูแลผูป้ ่วยเม่อื มกี ารใช้คำยอ่ เมอื่ ไมเ่ ข้าใจไม่กล้าถามหรอื ทักท้วง ใชก้ ารคาดเดา

คำย่อท่ีใช้ในการเขียนใบส่ังยา

ช่ือย่อ คำแปล
od Once daily (วนั ละคร้ัง)
bid Twice a day (วนั ละสองครง้ั )
tid Three times a day (วันละสามครง้ั )
qid Four times a day (วันละสี่คร้ัง)
hs Bed time (ก่อนนอน)
ac before meals (ก่อนอาหาร)
pc after meals (หลงั อาหาร)
q....h Every...hours (ทกุ ๆ...ชวั่ โมง)
po Per Oral (ใหร้ ับประทานยา)
Inj Injection (ยาฉีด)

68

ชื่อย่อ คำแปล
IV Intravenous
IM Intramuscular
ID Intradermal
SC subcutaneous
D/C discharge

P 3: Reduction of Diagnostic Errors

Definition

Diagnostic Error คือการไมสามารถอธิบายปญหาสุขภาพของผูปวยไดอยางถูกตองและทันเวลา ซ่ึง
แบ่งไดเ้ ปน 3 ประเภท คือ

1. Missed Diagnosis หมายถึงผูปวยมีอาการชดั เจนแตไมไดรับการวนิ ิจฉัยโรค

2. Wrong Diagnosis หมายถงึ กรณที ่ีใหการวนิ จิ ฉยั ทไี่ มถกู ตองและมาพบสาเหตทุ ่ีแทจรงิ ภายหลงั

3. Delayed Diagnosis หมายถงึ กรณที ่ีผูป้ ่วยควรได้รบั การวินิจฉัยที่เรว็ กวา่ น้ี

Goal

ลดขอผดิ พลาดในการวินจิ ฉัยโรคทางกายทเี่ กิดร่วมกับผูป้ ่วยสุขภาพจติ และจติ เวช

Why

ผูป้ ่วยสุขภาพจติ และจติ เวช เป็นผู้ป่วยท่มี ีขอ้ จำกัดจากความเจบ็ ป่วยทางจติ สง่ ผลต่อความสามารถใน
การดูแลตนเองรวมถึงสุขภาพกายด้วย การวินิจฉัยโรคทางกายท่ีเกิดร่วมในผู้ป่วยจิตเวชที่ถูกตองและทันเวลา
เปนรากฐานของการดูแลผูปวยท่ีมีคุณภาพและปลอดภัย เพราะหากละเลยเร่ืองน้ีแลวอาจเกิดอันตรายตอผูป
วยจิตเวชเนื่องจากไมไดรับการรักษาโรคทางกายทันท่วงทีหรือเหมาะสม อาจก่อการใชทรัพยากรอยางไม
เหมาะสม นอกจากน้ันการปรับปรุงกระบวนการวินิจฉัยโรค ยังเปนการแสดงถึงคุณธรรม และความเปนมือ
อาชีพของผูใหบรกิ ารอกี ดวย

69

Process

การจดั การในโรงพยาบาล
Assess & Entry :

1. มีการกำหนดแนวทางการซกั ประวัตแิ ละประเมินเบ้ืองต้นเพ่ือค้นหาอาการที่สงสยั วา่ มีภาวะโรคทางกายแล้ว
จดั บริการตามระดบั ความเร่งด่วน

2. มีการกำหนดค่า vital sign การดูแลเบ้ืองต้นและการตรวจทางห้องปฏิบัติการเบ้ืองต้นในระหว่างการ
รายงานแพทยเ์ พื่อตรวจประเมนิ อาการ

3. จัดระบบแพทยร์ บั ปรกึ ษาเป็นชอ่ งทางดว่ นให้พยาบาลได้ปรึกษา

4. วางระบบรายงานค่าวกิ ฤตทิ างห้องปฏิบตั ิการทีร่ วดเร็ว ลดขั้นตอนเพื่อใหก้ ารรกั ษาไดโ้ ดยเรว็

5. จัดตั้งศูนย์ refer (Referral center) วางระบบการรับข้อมูลของผู้ปว่ ยจิตเวชจากเครือข่ายรวมถึงระบบการ
ปรึกษาแพทยเ์ ฉพาะทางอืน่ ๆเพื่อทราบแผนการรกั ษาก่อนรบั การส่งต่อ

6. มีการติดตามขอ้ มลู การรกั ษาของผู้ปว่ ยจากสถานพยาบาลอืน่ มาประกอบการวางแผนการรักษา

7. มีการตกลงบริการกับสถานพยาบาลภายนอกในการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการนอกเวลาราชการหรือการ
ตรวจบางรายการซ่งึ ไม่สามารถตรวจเองได้

Patient Assessment

1. มีการประเมินผู้ป่วย Triage ชัดเจนและให้การดูแลตามความเร่งด่วน (Emergency Urgency Non-
urgency)
2. ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและญาติเร่ืองแผนการดูแลรวมถึงให้ญาติมีส่วนร่วมตัดสินใจเลือกการรักษาภายใต้การ
รับทราบข้อมลู สถานะสขุ ภาพทเ่ี พยี งพอ
3. จัดระบบการสง่ ต่อทป่ี ลอดภัยกรณีผปู้ ่วยจิตเวชมีโรคร่วมทางกาย จำเป็นต้องสง่ ต่อไปสถานพยาบาลอ่ืนโดย
ผู้ปว่ ยและญาตริ ว่ มตัดสินใจ
4. การปรับระบบการวินิจฉัยเป็น problem list เพื่อความครอบคลุมของปัญหาสุขภาพของผู้ป่วยทั้งทางกาย
และทางจติ
5. สงเสริมใหมีการใชความเหน็ ทส่ี อง (second opinions) ในการวนิ จิ ฉยั โรค

6. กำหนดรูปแบบการสอื่ สารและปฏิสัมพันธระหว่างบุคลากร

7. จัดใหมีเครือ่ งมอื สนบั สนนุ การตดั สินใจในการวนิ ิจฉยั โรค ใหแพทยสามารถใชได ณ จดุ ใหบรกิ าร

70

8. สรางบรรยากาศที่เออื้ ตอการวินจิ ฉยั โรคท่เี หมาะสม เชน การมีเวลามากพอในการประเมินผูปวยใหมโดยไม
มกี ารรบกวนสมาธิ

9. เสริมพลังใหพยาบาลมีสวนรวมในการปรับปรุงการวินิจฉัยโรค เชน การติดตาม การทุเลาของอาการหรือ
อาการใหมที่เกิดขึ้น การติดตามใหมั่นใจวามีการตรวจทางหองปฏิบัติการ การอํานวยความสะดวกในการ
สอ่ื สารระหวางผูปวยกบั แพทย

Patient Care process

1. พฒั นาและปรบั ปรงุ แนวทางการดแู ลภาวะแทรกซ้อนทางกายในผปู้ ว่ ยจิตเวชด้วยองค์ความรทู้ มี ีหลักฐานเชิง
ประจักษ์และสอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ปจั จุบนั

2. กำหนดชอ่ งทางการสือ่ สารเพ่อื สง่ ต่อแผนการรกั ษาทั้งในเวลาราชการและนอกเวลาราชการ

3. รว่ มกำหนดยาและเวชภณั ฑ์ฉกุ เฉนิ อย่างต่อเน่อื งใหพ้ ร้อมใช้งานตลอดเวลา

4. กำหนดให้องคก์ รแพทย์มีกิจกรรมวิชาการทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับโรคทางกายที่พบบ่อยในผู้ป่วยจติ เวช
อย่างสม่ำเสมอ

5. ทบทวนอบุ ัติการณ์ท่ีเกดิ ในเวที Peer group review , Grand round และ inter-hospital conference

6. วางระบบการติดตามข้อมูลอาการ การวินิจฉัยและผลการรักษาของผป.ท่ีถูกส่งต่อไปด้วยภาวะแทรกซ้อน
ทางกายและนำข้อมูลมาทบทวนหาโอกาสพฒั นาการดูแลผู้ปว่ ยจิตเวชต่อไป

7. การปรบั ใหม้ ี Observe ward เพ่อื ดแู ลผปู้ ่วยที่มอี าการท้งั ทางกายและอาการทางจิตในระยะ Acute care

การจัดการภายนอกโรงพยาบาล

1. รว่ มวางระบบการรับ-ส่งต่อผู้ปว่ ยจิตเวชในเขตสุขภาพที่ 11

2. สร้างช่องทางการสอ่ื สารเพื่อทราบขอ้ มูลของผป.จิตเวชทีจ่ ะรับมาดูแลตอ่ ผ่าน line refer SSR โดยกำหนด
ทะเบียนบุคลากรผรู้ บั ผิดชอบทีร่ ดั กมุ ชดั เจนและเปน็ กลุ่มปิดเพ่ือปกป้องขอ้ มูลความเจบ็ ปว่ ยของผู้ปว่ ย

3. การคืนขอ้ มูลผู้ป่วยจิตเวชทมี่ ีโรคร่วมทางกายทีไ่ ดร้ ับการส่งต่อมาจากเครือขา่ ยเพอ่ื พฒั นาแนวทางการสง่ ต่อ
ท่ีปลอดภัยในเวทีการประชมุ ร่วม tract สขุ ภาพจติ จิตเวชและสารเสพติด

4. การสือ่ สารเชิงรุกเพื่อแนะนำระบบบริการของโรงพยาบาลผ่านโครงการ Roadshow ในเขตสุขภาพท่ี 11

71

Training

การสรางความตระหนกั ใหแกผูเกยี่ วของ ทง้ั แพทย์ พยาบาล และผ้ปู ่วย

Monitoring

แหลงขอมูลเพ่อื ใหไดสถานการณปญหาขอผดิ พลาดในการวินจิ ฉัยโรค ไดจ้ าก
1. จำนวนอบุ ัติการณ์ Misdiagnosis or delay diagnosis จนเกิดความรนุ แรงระดับ E ขนึ้ ไป*
2. รอ้ ยละของการวินิจฉัยผู้ปว่ ยจิตเวชท่ีมโี รคร่วมทางกายสอดคล้องการวนิ จิ ฉยั จากโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี
3. จำนวนผู้ป่วยทต่ี ้อง refer out ใน 24 ชม. หลังรบั ไว้ในโรงพยาบาลด้วยภาวะแทรกซ้อนทางกาย
4. จำนวนผู้ป่วยท่ีรับการส่งต่อมาจากเครือข่ายแล้วต้องส่งกลับด้วย uncontrolled-medical condition ท่ี
ตรวจพบท่ี ER
5. ผู้ป่วยเสยี ชวี ิตในโรงพยาบาลด้วยภาวะแทรกซ้อนทางกาย

Pitfall

1. โรคทางจิตเวช เป็นโรคที่อาศัยทั้งประวัติและการดำเนินโรคเป็นเวลานานระยะหนึ่งจึงจะสามารถให้การ
วินิจฉัยทีแ่ ม่นยำได้

2. ผปู้ ่วยจิตเวชถูกตตี ราจากสงั คม ก่อให้เกิดการเลือกปฏิบตั โิ ดยใช้เง่ือนไขของอาการทางจิตนำ ทำให้เกดิ การ
ละเลยต่อการประเมินภาวะสขุ ภาพกายได้

3. ปญหาขอผิดพลาดในการวินิจฉัยโรคทางกายในผู้ป่วยจิตเวช พบไดท้ังกับผูปวยนอกและผูปวยใน โดยมี
สาเหตุท้ังจาก cognitive error เช่น การขาดความรู้และประสบการณ์ การแปลความหมายและการไม่ได้นำ
ข้อมูลทง้ั หมดมาสรปุ เปนการวนิ จิ ฉัยโรคที่ครอบคลมุ ทส่ี ุด และ systems error เชน การสือ่ สารทคี่ ลาดเคล่อื น

4. ขอผิดพลาดในการวินิจฉัยโรคมักจะเกิดในโรคทางกายที่อาการแสดงไม่ปรากฏชัดและผู้ป่วย/ญาติไม่
สามารถให้ขอ้ มลู จดุ เรม่ิ ต้นของความผิดปกติท่ีชดั เจนได้ เช่น โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคทางระบบต่อมไรท้ อ่

5.การส่งต่อขอ้ มูลท่ีไม่ครบ ขาดการเช่อื มโยง ส่งผลใหเ้ กดิ diagnostic errors ได้

72

P4: Preventing Common Complications (แนวทางการปอ้ งกันภาวะแทรกซ้อนตา่ งๆ)

P 4.1 Preventing suicidal attempt (การป้องกนั ผู้ปว่ ยทีม่ ีความเสย่ี งตอ่ การฆ่าตวั ตาย)

Definition

การป้องกันผู้ป่วยที่มีความเส่ียงต่อการฆ่าตัวตาย หมายถึง การป้องกันผู้ป่วยจิตเวชที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัว
ตายใหป้ ลอดภัยจากการทำรา้ ยตนเอง ผู้ป่วยจติ เวชทเ่ี สย่ี งตอ่ การฆา่ ตวั ตายสามารถประเมินอาการไดด้ ังนี้

1. สหี น้าเปน็ ทุกข์ หม่นหมอง หรอื ร้องไห้บอ่ ยๆ ไมส่ บายใจ ซมึ เศรา้ ท้อแท้ เบอ่ื หน่าย สิ้นหวงั
2. รสู้ ึกผิด/ไมด่ ีกับตนเอง คดิ วา่ ตนเองลม้ เหลว ไรค้ า่ หรอื ทำใหต้ นเองหรอื ครอบครัวผิดหวงั
3. คดิ /พูดบ่นอยากตาย/มแี ผนทจ่ี ะฆ่าตัวตายหรอื พยายามหาวิธฆี า่ ตัวตาย
4. มหี แู วว่ เสยี งสัง่ ใหท้ ำรา้ ยตวั เอง
5. ใน 1 ปีทผี่ า่ นมาเคยพยายามฆา่ ตวั ตาย
หมายเหตุ: ถ้ามีข้อใดข้อหนง่ึ ถอื วา่ มีความเสย่ี งฆ่าตัวตาย จากนั้นให้ประเมิน 8Q เพอ่ื ดูระดับความรุนแรง และ
ใหค้ วามชว่ ยเหลอื

คะแนน < 17 = ระดับ ต่ำ หรือปานกลาง
คะแนน ≥17 = ระดบั สูง

Goal

ป้องกนั ผ้ปู ่วยทำรา้ ยตนเองในกลมุ่ ผ้ปู ่วยเส่ียงตอ่ การฆา่ ตวั ตาย

Why

ปัญหาการฆ่าตัวตายมีความสำคัญ ส่วนหน่ึงเกิดจากผู้มีปัญหาด้านสุขภาพจิต หรือโรคทางจิตเวช
ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต และอาจได้รับอันตรายร้ายแรง จนถึงกับเสียชีวิต การป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยทำร้าย
ตนเองจงึ เป็นมาตรการเชิงรุกท่ดี ที ี่สุดสำหรับผเู้ ก่ียวขอ้ งท้ังหมด

Process

1. ดูแลให้ผู้ปว่ ยอยู่ในสายตาตลอดเวลา โดยไมใ่ หผ้ ูป้ ่วยรู้สึกว่าถกู ติดตาม
2. จัดเตยี งใหอ้ ย่หู นา้ เคาน์เตอร์พยาบาล /จัดให้ผู้ป่วยอยูห่ ้องแยก และอธิบายใหเ้ ขา้ ใจถงึ เหตผุ ล
3. ให้สวมเสอื้ SAFEและติดป้ายชื่อทมี่ สี ญั ลักษณ์SAFE-S
4. จบั คู่ Buddy คอยดแู ลชว่ ยเหลอื และอย่เู ปน็ เพ่ือน

73

5. จัดส่ิงแวดล้อมให้ปลอดภัย ห้องนอนและห้องน้ำท่ีปราศจากอุปกรณ์ท่ีเส่ียงต่อการทำร้ายตัวเอง เช่น
ประตูห้องน้ำไม่มีกลอน ไม่มีข่ือ อ่างน้ำ/ถังน้ำที่ปากแคบและตื้นพอจะบรรจุน้ำจำนวนแค่พอใช้ ใช้
กอ๊ กนำ้ แบบฝังหรือหัวก๊อกชนิดอ่อน

6. เก็บวัสดุอุปกรณ์ท่ีสามารถนำมาเป็นเครื่องมือในการทำร้ายตัวเองไว้ให้มิดชิด เช่น ใบมีดโกน ดินสอ
ปากกา น้ำยาทำความสะอาด แปรงสฟี นั ผ้าผกู ยึด ช้อนกินข้าวฯลฯ

7. ตรวจสอบวสั ดอุ ุปกรณใ์ นตวั ผปู้ ่วยทุกคนทุกเวร
8. เฝ้าระวังทกุ 15-30 นาทีและบันทกึ ทกุ 1ชว่ั โมงลงในแบบเฝ้าระวังความเส่ียงอยา่ งต่อเนอ่ื ง
9. ส่งตอ่ ขอ้ มูลผู้ป่วยใหเ้ วรต่อไปได้ทราบเพื่อเฝ้าระวังตามแผนการดูแล

Training

1. ให้ความรู้เพ่ือสร้างความตระหนักในการป้องกันความเส่ียง การใช้เครื่องมือประเมิน ความ
เสี่ยง การประเมินความต้องการโดยเฉพาะ การจัดสงิ่ แวดล้อม

2. จดั เวทีแกป้ ัญหาการเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย แก่ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อการ
พัฒนา แนวทางการดูแลให้เหมาะสมในแตล่ ะช่วงเวลา

Monitoring

- จำนวนผปู้ ่วยทีท่ ำร้ายตนเองซ้ำขณะรักษาตวั ในโรงพยาบาล
- จำนวนผปู้ ่วยเสียชวี ติ จากการฆ่าตวั ตายสำเรจ็

Pitfall

- ชว่ งเวลาที่มีบุคลากรปฏิบัติงานน้อยหรือมีภารกิจเรง่ รีบทำให้การเฝ้าระวังผู้ป่วยฆ่าตัวตายอาจไม่
เปน็ ไปตามแผนหรอื แนวปฏิบตั ทิ วี่ างไว้

74

P 4.2 Preventing Patient Falls
(การปอ้ งกนั ผปู้ ว่ ยทีม่ คี วามเส่ียงต่อการเกดิ อุบตั ิเหตุ,พลดั ตก หกล้ม)

Definition

การป้องกันผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ หมายถึง การป้องกันผู้ป่วยจิตเวชท่ีมีความเสี่ยง
ต่อการเกิดอุบัติเหตุไม่ให้ได้รับอันตรายใดๆขณะรับการรักษาพยาบาล ซ่ึงผู้ป่วยจิตเวชที่เส่ียงต่อการเกิด
อุบัตเิ หตุ มลี ักษณะได้ดงั นี้

1. การทรงตวั ไม่ดี สายตาไม่ดี มีอาการงว่ งนอน เดินเซ หลังได้รบั ยาทางจติ เวช
2. ผู้ป่วยไดร้ บั การรกั ษาดว้ ยไฟฟ้า มนึ งง การทรงตวั ไมด่ ี
3. ผู้ป่วยสมองเสือ่ ม (Dementia)
4. ผู้ป่วยที่มีภาวะเพ้อ (Delirium) ภาวะถอนพิษสุราหรือผู้ป่วยท่ีขาดสารเสพติด สับสน งุนงง
กระสับกระส่าย อย่ไู มน่ งิ่
5. ผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคทางกายร่วม /ลมชัก ผู้ป่วยล้มขณะเกิดอาการชัก,วูบโดยไม่มีอาการนำก่อน
หรอื ผูป้ ว่ ยท่ีมีปัญหาการขบั ถา่ ยผิดปกติ ควบคุมการปัสสาวะไมไ่ ด้ หรือผ้ปู ่วยท้องเสีย ตอ้ งเข้าหอ้ งน้ำบอ่ ย
6. ผู้ป่วยมีอาการทางจิต :ก้าวร้าว อยู่ไม่น่ิง ประสาทหลอนหูแว่วได้ยินเสียงสั่งให้หกล้ม พยายาม
หลบหนี
7. ผูป้ ่วยพกิ าร /ประสาทสมั ผสั ผิดปกติ เชน่ ตาบอด, หูตึง, หูหนวก ,แขนขาด้วน เป็นต้น

Goal

ปอ้ งกนั ผูป้ ว่ ยเกิดอบุ ตั เิ หตุในกลุ่มผู้ปว่ ยจิตเวชท่มี ีการทรงตวั ไมด่ ี

Why

ผู้ป่วยท่ีได้รับการรักษาด้วยยาทางจิตเวช ในช่วงแรกๆมักจะมีอาการข้างเคียงของยา เช่น ง่วงซึม
เวียนศีรษะ สับสน มึนงง เดินเซ คล่ืนไส้ อาเจียน ส่งผลให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่ายและอาจอันตรายร้ายแรงถึง
เสียชีวิตได้ การป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยท่ีได้รับยาทางจิตเวช เกิดการพลัดตก หกล้ม จึงเป็นมาตรการสำคัญสําหรับ
ผู้เกีย่ วข้องทง้ั หมด

Process

1.พยาบาล/ผู้ช่วยเหลือคนไข้ ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุตามแบบประเมิน SAFE-D ทุกราย ตาม
ปัจจยั เสย่ี ง

2.เม่ือพบว่าผู้ป่วยมีความเสี่ยง A ดูแลให้ผู้ป่วยสวมเสื้อ SAFE และติดป้ายชื่อที่มีสัญลักษณ์สีแดง
ในช่อง A

3. เฝ้าระวังความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ โดยมอบหมายให้พยาบาล/ผู้ช่วยเหลือคนไข้ ดูแลผู้ป่วย
อย่างใกลช้ ิด เช่น ขณะผู้ป่วยเขา้ ห้องน้ำตอ้ งตดิ ตามผปู้ ่วยทุกคร้งั จนกว่าเสร็จภารกจิ หรอื จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในที่ท่ี

75

จัดไว้เฉพาะ ซึ่งบุคลากรสามารถมองเห็นผู้ป่วยได้ตลอดเวลากรณีท่ีผู้ป่วยสวมผ้าถุงให้ชายผ้าถุงสูงข้ึนหรือ
เปลย่ี นเปน็ สวมกางเกง

4. ผู้ป่วยท่ีได้รับการรักษาด้วยยาหรือไฟฟ้า ให้ผู้ป่วยนอนพักอย่างเพียงพอและแนะนำการเปล่ียนท่า
อย่างชา้ ๆเพอ่ื ปอ้ งกนั อบุ ัติเหตุจากอาการหน้ามืด

5. แขวนปา้ ย (ระวังหกล้ม) ไวท้ ป่ี ลายเตยี งผปู้ ่วยทีม่ ีความเสี่ยง

6. จดั สิ่งแวดลอ้ มใหป้ ลอดภัย โดย

- บุคลากรต้องตรวจในจุดที่เกิดอุบัติเหตุบ่อย ได้แก่ ห้องน้ำผู้ป่วย บันได บริเวณพ้ืนห้องท่ี
เปยี กน้ำ ฯลฯ ทกุ 1 ชวั่ โมง

- ตรวจสอบความเรียบร้อย หลีกเล่ียงการวางอุปกรณ์ที่ไม่จำเป็นต่อการให้การพยาบาลที่
เร่งด่วนไว้ในห้องผ้ปู ว่ ย

- จัดหาวางแผน่ กันลน่ื ในห้องนำ้ ผู้ป่วยแทนผ้าเชด็ เท้า

- นำราวก้ันเตียงข้นึ ทุกคร้ังท่ีผูป้ ่วยอยู่บนเตียง กรณีท่ีไมม่ ีราวก้นั เตียง ให้จัดเตยี งชิดกัน เพ่ือ
ป้องกนั ผ้ปู ว่ ยตกเตยี ง หากกรณีผูป้ ว่ ยทีไ่ มค่ นุ้ เคยกบั การนอนเตยี ง ใหน้ ำทีน่ อนวางบนพื้นหอ้ งนอน

- จัดหาอุปกรณเ์ พือ่ หุ้มเหลก็ ทีล่ ้อเตียงเพอ่ื ป้องกนั อุบตั ิเหตุ

- กรณีท่ีผู้ป่วยมีอาการสับสน งุนงง มากๆ มีอาการกระสับกระส่าย อยู่ไม่น่ิง บุคลากร
สามารถจำกัดพฤติกรรมด้วยการผกู ยดึ ผปู้ ว่ ยตามความจำเป็นและเหมาะสม

- ดูแลให้ผู้ป่วยสวมรองเท้าขณะออกไปทำกิจกรรมนอกตึกเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ เช่น การ
สะดุดหรือเหยียบส่ิงของท่ีอาจทำให้บาดเจ็บได้ และรองเท้าควรใส่ขนาดพอดีเท้าไม่หลวมหรือใหญ่เกินไป
เพราะอาจเดนิ สะดุดรองเท้าเองแล้วหกลม้ ได้

- กรณีผู้ป่วยที่ต้องออกกำลังกายหรือเล่นกีฬากลางแจ้ง นอกจากบุคลากรต้องดูแลให้ผู้ป่วย
สวมรองเท้าที่เหมาะสมแล้วต้องดูแลให้ใกล้ชิดและคอยเตือนให้ผู้ป่วยเล่นกีฬาอย่างระมัดระวัง เพราะอาจ
กระแทกหรือชนกันหกลม้ ได้รับบาดเจ็บได้

- กรณที ีญ่ าตขิ อนำผปู้ ว่ ยออกนอกตกึ ให้ดูแลใกลช้ ิดเพื่อป้องกนั อบุ ตั ิเหตุ

7.ผู้ช่วยเหลือคนไขล้ งบันทึกการสังเกต/การเยยี่ มผู้ป่วย ตามแบบบนั ทึกตารางเวลาการเฝา้ ระวังผู้ปว่ ย
ที่มคี วามเสี่ยงทกุ 1ช่ัวโมง เพอ่ื เปน็ การเฝ้าระวงั ผปู้ ว่ ยอย่างต่อเน่ือง

76

Training

1. ให้ความรู้เพื่อสร้างความตระหนักในการป้องกันความเสี่ยง การใช้เครื่องมือประเมิน ความ
เส่ยี ง การประเมินความต้องการเฉพาะ การจัดสิ่งแวดล้อม
2. จดั เวทีแกป้ ัญหาการเกิดอุบัติเหตุโดยเฉพาะการหกล้ม เพือ่ นำไปพัฒนาและปรับแนวทางการ
ดูแลให้เหมาะสมในแตล่ ะช่วงเวลา

Monitoring

จำนวนผู้ปว่ ยเกิดอุบตั เิ หตุจากการพลัดตกหกลม้

Pitfall
- บคุ ลากรขาดความตระหนกั สำคัญในการปอ้ งกันอุบตั ิเหตุพลดั ตกหกลม้
- บุคลากรไมไ่ ดป้ ฏิบตั ิตามแนวทางการป้องกันอุบัติเหตุครบทกุ ข้นั ตอน
- ชว่ งเวลาท่ีมีบุคลากรปฏิบัติงานน้อยหรอื มีภารกิจเร่งรบี ทำให้การเฝ้าระวงั ผู้ปว่ ยเสี่ยงตอ่ การ
พลัดตกหกลม้ อาจไม่เปน็ ไปตามแผนหรอื แนวปฏบิ ัติท่ีวางไว้

P 4.3 Preventing violence behavior (การป้องกันผู้ปว่ ยทม่ี คี วามเส่ียงต่อการทำรา้ ยผอู้ ื่น)

Definition

การป้องกันผู้ป่วยท่ีมีความเส่ียงต่อการทำร้ายผู้อื่น หมายถึง การป้องกันและเฝ้าระวังผู้ป่วยจิตเวชท่ี
เส่ียงต่อการเกิดพฤติกรรมรุนแรง อาการสงบ และปลอดภัย ซ่ึงผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการเกิดพฤติกรรมรุนแรง มี
ลักษณะได้ดังน้ี

1. แสดงออกถึงพฤตกิ รรมก้าวรา้ ว ไดแ้ ก่ หงุดหงิด ไมเ่ ป็นมติ ร พดู ขม่ ขู่ เสียงดงั กระวนกระวาย
เดินไป-มา กำหมัด

2. พกอาวธุ หรอื สิง่ ของทอ่ี าจใชเ้ ปน็ อาวุธ
3. มที ่าทางหวาดระแวงชัดเจน เช่น ทา่ ทางหวาดกลัว มองซ้ายมองขวา บอกวา่ มคี นจะมาทำร้าย
4. มปี ระวตั กิ า้ วรา้ ว ทำลายของ/ทำรา้ ยผูอ้ ื่น ภายใน 24 ชวั่ โมงกอ่ นมา โรงพยาบาล
5. มีความบกพร่องของบุคลิกภาพหรือสติปัญญา เช่น บุคลิกภาพแบบต่อต้านสังคม บุคลิกภาพแบบ
แปรปรวน (Borderline ) ผู้บกพรอ่ งด้านสติปญั ญา ผูป้ ว่ ยลมชกั เป็นต้น
6. เครียด วติ กกังวล พดู ซำ้ ๆในสิ่งที่เกยี่ วกบั ความอดึ อัดในการอยู่ในห้องพกั การไมไ่ ด้กลบั บ้าน

ตามกำหนดเวลา
7. มอี าการเมาสุราหรอื มีอาการอยากยา (สารเสพตดิ )/ มคี ำพดู ความต้องการสบู บหุ รีต่ ลอดเวลา

77

Goal

ป้องกันการบาดเจ็บจากพฤติกรรมรุนแรงท้ังต่อตนเองและผู้ป่วยอื่น ตลอดจนบุคลากรที่ปฏิบัติงาน
ดแู ลผปู้ ว่ ย

Why

ผู้ป่วยจิตเวชท่ีมีอาการทางจิตรุนแรง สามารถเกิดพฤติกรรมรุนแรงท้ังจากอาการทางจิตที่ยังไม่สงบ
พอ บุคลิกภาพท่ีผิดปกติหรือปัญหาด้านสติปัญญา หากผู้ป่วยมีพฤติกรรมท่ีรุนแรงขึ้น อาจก่อให้เกิดอันตราย
ทั้งต่อตนเอง ผู้ป่วยอื่นหรือบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน การป้องกันการก่อพฤติกรรมรุนแรงในผู้ป่วยจิตเวชน้ัน
นอกจากจะสร้างความปลอดภัยแล้ว ยังสร้างความเชื่อมั่นให้เกิดต่อองค์กรด้วย ดังน้ันการป้องกันความรุนแรง
จากผู้ป่วยท่ีมคี วามเส่ียงต่อการทำรา้ ยผู้อ่ืนจึงเป็นมาตรการเชิงรกุ ท่ีสำคัญและเกี่ยวข้องกับบุคลากรท่ีร่วมดูแล
หลายฝ่าย

Process

1. ประเมินระดับความรุนแรงของพฤติกรรมก้าวร้าว โดยใช้แบบประเมิน (The Overt Aggression
Scale [OAS]) ในการแบง่ ระดับ ความรนุ แรง 4 ระดับดังน้ี
ระดบั ความความรนุ แรงระดบั 1 คอื นอ้ ย เฝา้ ระวงั ทุก 4 ช่วั โมง
ระดับความความรนุ แรงระดับ 2 คอื ปานกลาง เฝา้ ระวงั ทุก 2 ชัว่ โมง
ระดบั ความความรนุ แรงระดบั 3 คือ หนกั เฝ้าระวังใกลช้ ดิ ตลอดเวลา

2. ให้การดแู ลตามระดับอาการดงั นี้
ระดบั ความความรนุ แรงระดบั 1

1. จัดส่ิงแวดล้อมที่เอื้อให้ผู้ป่วยสงบ โดยแยกผู้ป่วยออกจากสถานที่กระตุ้น แยกผู้ป่วยอื่นไม่ให้เข้า
ใกล้ผู้ป่วย หรืออาจนำผปู้ ่วยไวห้ อ้ งแยก

2. ดูแลตรวจส่งิ ของทจ่ี ะเป็นอนั ตราย และเฝ้าระวังอาการผปู้ ่วยทกุ 1 ช.ม.
3. พูดคุยสร้างสัมพันธภาพโดยเน้นให้ผู้ป่วยได้ระบายอารมณ์ ความคิด ความรู้สึก และรับฟังผู้ป่วย

และเสนอทางเลือกอื่นที่ลดอารมณ์ในทางท่ีเหมาะสม เพ่ือช่วยให้ผู้ป่วยผ่อนคลาย ลดพฤติกรรม
กา้ วรา้ วลง
4. ดูแลให้ได้รับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์ หรือพิจารณาให้ยาฉีดตาม CPG เพื่อ
ปอ้ งกันอันตรายตอ่ ตนเอง/ผู้อน่ื /สิง่ ของ
5. สังเกตอาการอยา่ งต่อเนื่องทุก 1-2ชัว่ โมง

ระดบั ความความรุนแรงระดบั 2, 3
1. เตรียมทมี และอปุ กรณใ์ หพ้ ร้อม/วางแผนในการเข้าไปจัดการกับพฤติกรรมรุนแรง
2. ให้ขอ้ มลู กับผูป้ ่วยถงึ เหตผุ ลส้ันๆ ใหเ้ วลากบั ผปู้ ว่ ยในการให้ความร่วมมอื ทมี พร้อมและให้
สญั ญาณในการเข้าไปจำกดั พฤตกิ รรมรนุ แรงโดยการผูกยึด
3. ดูแลชว่ ยเหลอื ผู้ปว่ ยขณะจำกดั พฤตกิ รรมดว้ ยการผูกยึดโดย

78

- อธิบายเหตุผลความจำเป็นในการผูกยึด สิทธิ/ระยะเวลาในการจำกัดพฤติกรรมด้วยการ
ผกู ยึดและจะยุตเิ ม่ือผปู้ ว่ ยสามารถควบคุมอาการตนเองได้
- ดูแลความสุขสบายของผู้ป่วยท่ัวๆไป และประเมินอาการผู้ป่วยทุก 30 นาที- 1 ช.ม. เพื่อ
สอบถามความตอ้ งการ พูดคุยใหก้ ำลงั ใจ ตรวจการไหลเวียนเลอื ดบริเวณท่ีผกู ยึด และเปลี่ยน
ท่าการผูกยึดทุก 2 ช.ม.
- ถ้าอาการไม่สงบพิจารณาให้ยาฉีดตาม CPG และมีการตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 1 ช.ม.
จนกว่าสญั ญาณชีพปกติ และสงั เกตอาการขา้ งเคียงจากยา
4. ประเมินอาการเมอื่ ผูป้ ่วยสงบพิจารณายุตกิ ารผูกยึดและตรวจภาวะแทรกซ้อนจากการผูกยดึ เม่ือมี
ภาวะแทรกซ้อนให้การชว่ ยเหลือ/บันทกึ /รายงานแพทย์
5. สังเกตอาการอย่างตอ่ เน่อื งทกุ 1-2 ช.ม. และบันทกึ อาการ/ส่งเวรอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
การยุติ แนวปฏบิ ตั ิแนวปฏบิ ตั ิ SAFE เมื่อผู้ปว่ ยอาการสงบลง

Training

1. ให้ความรู้เพ่ือสร้างความตระหนักในการป้องกันความเสี่ยง การใช้เคร่ืองมือประเมิน ความเส่ียง
การประเมนิ ความตอ้ งการเฉพาะ การจดั ส่ิงแวดล้อม

2. การฝึกอบรมให้บุคลากรมีทักษะในการจำกัดพฤติกรรมผู้ป่วยท่ีปลอดภัย ท้ังการเข้าควบคุมตัว
และการผกู ยึด

3. จัดเวทีแก้ปัญหาผู้ป่วยมีพฤติกรรมรุนแรง เพ่ือนำไปพัฒนาและปรับแนวทางการดูแลให้
เหมาะสมในแตล่ ะชว่ งเวลา

Monitoring

- จำนวนผู้ป่วยบาดเจบ็ จากพฤตกิ รรมรุนแรง
- จำนวนผปู้ ว่ ยทเ่ี กิดภาวะแทรกซ้อนจากการจำกดั พฤตกิ รรม

Pitfall บุคลากรขาดทักษะการเข้าควบคมุ และจำกัดพฤตกิ รรมทป่ี ลอดภยั
ช่วงเวลาที่มีบุคลากรปฏิบัติงานน้อยหรือมีภารกิจเร่งรีบ ทำให้การเฝ้าระวังผู้ป่วยเส่ียงต่อการทำ
-
- รา้ ยผอู้ น่ื อาจไมเ่ ปน็ ไปตามแผนหรือแนวปฏบิ ัตทิ ีว่ างไว้

79

P 4.4 การปอ้ งกนั ผ้ปู ่วยท่ีมีความเสย่ี งต่อการหลบหนี

Definition

การป้องกันผู้ป่วยท่ีมีความเส่ียงต่อการหลบหนี หมายถึง การป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยท่ีรับการรักษาแบบ
ผู้ปว่ ยในหลบหนีพน้ ออกจากรว้ั โรงพยาบาลสวนสราญรมยโ์ ดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต ซง่ึ ผ้ปู ่วยเส่ยี งต่อการหลบหนี มี
ลกั ษณะได้ดงั นี้

1. ผู้ป่วยสบั สน เดนิ เร่อื ยเปื่อย เปน็ บุคคลเร่ร่อน อยูไ่ ม่เปน็ หลกั แหล่ง ชอบเทยี่ วเรื่อยเปอื่ ย
2. มีประวัติใช้สารเสพติด ประวัติหลบหนี ผู้ป่วยท่ีอยู่โรงพยาบาลนาน ผู้ป่วยทม่ี ีแนวโน้มญาติทอดทิ้ง
เป็นผูน้ ำและมีภาระรบั ผิดชอบครอบครวั และผู้ป่วยที่ แพทย์ อนญุ าตให้กลบั บ้านแล้ว แต่ญาตไิ มม่ ารับ
3. ผู้ป่วยที่มีอาการอยากยา ปฏิเสธการเจ็บป่วย ไม่ยินยอมรักษา มีประวัติเป็นอันตรายต่อครอบครัว
และชุมชน / มพี ฤติกรรมรุนแรงกา้ วร้าว

Goal

ปอ้ งกันผ้ปู ่วยท่รี ับการรกั ษาในโรงพยาบาลหลบหนีสำเรจ็

Why

ผู้ป่วยจิตเวชท่ีเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยใน ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยท่ีมีอาการทางจิตรุนแรง ไม่สามารถ
ควบคุม อารมณ์ และพฤติกรรมได้ โดยเฉพาะผู้ป่วยมีประวัติใช้สารเสพติด หรือผู้ป่วยที่มีอาการอยากยา
ปฏิเสธการเจ็บปว่ ย ไม่ยินยอมรักษา มกั จะหาโอกาสหลบหนี หากหลบหนีสำเร็จ อาจได้รับอันตรายรา้ ยแรง
ต่อตนเองและคนรอบข้างได้ การพฒั นาระบบการป้องกนั ผู้ป่วยจติ เวชหลบหนจี ึงเปน็ มาตรการที่จำเปน็

Process

ขั้นเตรยี มความพรอ้ ม

1. สร้างความตระหนักในเร่ืองการเฝ้าระวังความเสี่ยงทางคลินิก การรู้จักสังเกตสัญญาณเตือนการ
ประเมินพฤติกรรม ความคิด อารมณ์ของผู้ป่วย ต้ังแต่แรกรับถึงจำหน่าย การเข้าถึงผู้ป่วย โดยการ
สร้างสัมพันธภาพ มคี วามเอ้อื อาทร และมที กั ษะการสอื่ การท่ดี ี

2. จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย โดยตรวจดูแลความเรียบร้อยในหน่วยงานอย่างสม่ำเสมอ ปิดช่องทางท่ี
เสยี่ งต่อการหลบหนี และความแข็งแรงของโครงสร้างในหนว่ ยงาน

3. จัดสถานทใ่ี หญ้ าตเิ ยย่ี มผ้ปู ว่ ยอยใู่ นบรเิ วณท่ีเจ้าหนา้ ทสี่ ามารถมองเหน็ ได้
4. จดั เตรียมอุปกรณเ์ ชน่ เสื้อ SAFE ผา้ ผูกยึดใหเ้ พยี งพอและพร้อมใช้
5. จดั ใหม้ ีหอ้ งคาราโอเกะ กฬี าในร่มเช่น โต๊ะปงิ ปอง กระดานหมากรุก/หมากฮอทต์ ไวใ้ นหอผปู้ ว่ ย

80

ขนั้ ดำเนินการ
1. ประเมนิ ผูป้ ่วยทีเ่ ส่ียงตอ่ การหลบหนี ตามแบบประเมนิ ความเสี่ยงผู้ปว่ ยหลบหนี ทกุ วนั ทกุ เวร
2. ผปู้ ว่ ยท่ีเส่ยี งหลบหนีให้สวมเส้ือ SAFE ติดปา้ ยช่ือ และทำเคร่อื งหมายการเฝา้ ระวงั SAFE-E
3. ผู้ป่วยมีความเส่ียงหลบหนี ประเภท E1 สามารถพาออกไปทำกิจกรรมนอกหอผู้ป่วยได้ โดยจัดจับคู่
Buddy กับผู้ป่วยท่ีไม่มีความเสี่ยงหลบหนี ประเภท E2 ออกไปทำกิจกรรมนอกหอผู้ป่วยได้ โดยมี
เจ้าหนา้ ทีด่ ูแลควบคุมใกลช้ ดิ และประเภท E3 ใหท้ ำกจิ กรรมในหอผ้ปู ่วย และเฝ้าระวงั ใกลช้ ดิ
4. ตรวจเชค็ และเฝ้าระวังผปู้ ่วยตามระยะเวลาและบนั ทึกในแบบบันทึกการเฝ้าระวัง SAFE
5. สง่ ตอ่ ขอ้ มูลผู้ป่วยทต่ี อ้ งเฝา้ ระวงั หลบหนที ุกวนั ทุกเวร
6. ให้ข้อมูลการเจ็บป่วย การรักษา ระยะเวลาบำบัด ถ้าผู้ป่วยปฏิเสธ ให้ใช้หลักการเจรจาต่อรอง
และให้กำลังใจ ขณะรับใหมแ่ ละระหว่างบำบดั ในโรงพยาบาลเปน็ ระยะๆ
7. ก่อนเปิดประตูเข้าไปทำกิจกรรมการพยาบาลให้ผู้ป่วยไปนั่งประจำที่เตียงทุกคนหรือให้อยู่ห่างจาก
ประตูเขา้ -ออก
8. ก่อนพาผู้ป่วยออกมาทำกิจกรรมนอกตึก พยาบาลและผู้ช่วยเหลือคนไข้ร่วมกันประเมินผู้ป่วยก่อน
ทุกคร้ัง กรณีผู้ป่วยท่ีอนุญาตให้ออกไปทำกิจกรรมข้างนอกตึก ให้บอกเหตุผลว่าผู้ป่วยท่ีอนุญาตให้
ออกไปทำกิจกรรมนอกตึกเพราะผู้ป่วยมีพฤติกรรมที่ดี อาการทางจิตทุเลา เป็นการเตรียมความ
พรอ้ มท่ีจะใหก้ ลับบ้าน
9. มอบหมายความรับผิดชอบให้ผู้ป่วยท่ีเสี่ยงหลบหนีดูแลผู้ป่วยอื่นและยกย่องให้เขาเป็นฮีโร่ เป็น
แบบอยา่ งของผู้ป่วยทม่ี ีพฤติกรรมดี เพอ่ื ให้ผู้ปว่ ยเกดิ ความภาคภมู ิใจ และละอายท่จี ะทำผดิ
10. จัดผปู้ ่วย Buddy เพอ่ื นช่วยเพอ่ื น ให้ผูป้ ่วยทีด่ ีดแู ลผปู้ ่วยท่ีเส่ียง ลักษณะฝากดแู ล
11. ก่อนพาผู้ป่วยออกมาทำกิจกรรมในห้องกลุ่มกิจกรรม หรือรับประทานอาหารท่ีมีทางเข้าออกหลาย
ทางให้ปิดล็อคประตู ที่ผู้ป่วยสามารถใช้หลบหนีได้ ให้มีประตูเข้าออกทางเดียวเพ่ือง่ายต่อการเฝ้า
ระวงั
12. ผ้ปู ่วยทอี่ อกมาชว่ ยทำงาน /กิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดลอ้ ม เจ้าหนา้ ที่ต้องคอยดแู ล พดู คยุ และให้กำลงั ใจ
ไมป่ ล่อยผปู้ ่วยอยู่ตามลำพัง
13. เม่อื ผู้ปว่ ยออกไปทำกิจกรรมนอกตึก เจ้าหน้าท่ีตอ้ งคอยดูแล ตรวจนับผู้ป่วยอย่ตู ลอดเป็นระยะๆ
14. เจา้ หน้าทไี่ ม่ควรพาผปู้ ว่ ยไปตรวจพิเศษ/ทำกิจกรรมครงั้ ละหลายคน
15. กรณีญาติมาเยี่ยมผู้ป่วย จะต้องบอกญาติทุกครั้งก่อนญาติจะกลับให้นำผู้ป่วยกลับมาส่งกับเจ้าหน้าท่ี
ห้ามปล่อยใหผ้ ปู้ ่วยเดินกลบั มาคนเดยี ว
16. ตรวจนับผู้ปว่ ยทกุ ครัง้ กอ่ นรับ-สง่ เวร และทกุ 1 ช่ัวโมง
17. เจา้ หน้าท่ปี ดิ ประตหู อผูป้ ว่ ยทุกครง้ั ทมี่ ีการเขา้ ออกแมใ้ นระยะเวลาสัน้ ๆ

81

การลดปจั จัยเสย่ี งการหลบหนี

1. ให้ข้อมลู แกญ่ าติผู้ป่วยและบุคลากรหา้ มเสียบกุญแจไวก้ บั รถ
2. ให้ข้อมลู และแผนการจำหนา่ ยแก่ผูป้ ว่ ย และให้กำลงั ใจผ้ปู ว่ ยอย่างสมำ่ เสมอ
3. ผู้ป่วยท่ีมีความวิตกกังวลคิดถึงญาติหรือกลัวญาติทอดทิ้งให้ติดต่อพูดคุยกับญาติได้บ้างตามความ

เหมาะสม
4. จัดกิจกรรมนันทนาการ เพ่ือ ให้ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลาย เช่น ร้องเพลง กีฬากลางแจ้ง กีฬาในร่ม

กลมุ่ ทกั ษะชวี ิตทางสังคม เช่น ทำอาหาร ทำสวนเกษตร เปน็ ตน้
5. การให้สุขภาพจิตศึกษา รายกลุ่มเพ่ือให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเก่ียวกับโรค ความจำเป็นในการอยู่

บำบัดรักษา เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูดคุยซักถามและให้ระบายความคับข้องใจ เพื่อให้ผู้ป่วยคลาย
ความกงั วล ยอมรับการเจ็บปว่ ยและการรกั ษา
6. ให้ผู้ป่วยเข้ากลุ่มชุมชนบำบัด เพ่ือให้ผู้ป่วยได้บอกปัญหาและความต้องการในการใช้ชีวิตระหว่าง
บำบดั ในโรงพยาบาล เพ่ือหาแนวทางพฒั นาการบรกิ ารรว่ มกบั ผู้ป่วย เป็นต้น
7. ให้ข้อมูลข้ันตอนการจำหน่าย เม่ือแพทย์อนุญาตให้ผู้ป่วยกลับบ้าน โดยพยาบาลประสานนักสังคม
สงเคราะห์ แจ้งญาติให้มารับผู้ป่วยกลับ ถ้าแจ้งแล้วญาติไม่มารับนักสังคมสงเคราะห์จะแจ้งซ้ำ 3
คร้ัง ถ้าญาติยังไม่มารับผู้ป่วย นักสังคมสงเคราะห์จะประสานแพทย์พิจารณาให้ผู้ป่วยกลับบ้านเอง
หรือให้นักสงั คมสงเคราะหส์ ่งกลบั บ้าน

Training

1. ให้ความรู้เพ่ือสร้างความตระหนักในการป้องกันความเส่ียง การใช้เคร่ืองมือประเมิน ความเส่ียง
การประเมนิ ความตอ้ งการเฉพาะ การจดั สงิ่ แวดล้อม

2. จัดเวทีแก้ปัญหาการป้องกันผู้ป่วยมีพฤติกรรมหลบหนี เพ่ือนำไปพัฒนาและปรับแนวทางการ
ดูแลใหเ้ หมาะสมในแต่ละช่วงเวลา

3. ตรวจสอบความแข็งแรงของโครงสร้างอาคารและบำรงุ รักษาใหแ้ ข็งแรงอยู่เสมอ

Monitoring

จำนวนผูป้ ่วยหลบหนีสำเรจ็

Pitfall บคุ ลากรขาดความรอบคอบในการปอ้ งกัน เช่น เผลอไมล่ ๊อกประตเู มื่อมีการเข้าออก
ช่วงเวลาท่ีมีบุคลากรปฏิบัติงานน้อยหรือมีภารกิจเร่งรีบ ทำให้การเฝ้าระวังผู้ป่วยเส่ียงต่อการ
-
- หลบหนีอาจไม่เปน็ ไปตามแผนหรอื แนวปฏิบตั ิท่ีวางไว้

82

P 4.5 การปอ้ งกนั ผ้ปู ว่ ยสำสกั จากผปู้ ว่ ยทีม่ คี วามเสี่ยงต่อภาวะกลนื ลำบาก

Definition

การป้องกันผู้ป่วยสำสักจากผู้ป่วยที่มีความเส่ียงต่อภาวะกลืนลำบาก หมายถึง การเฝ้าระวังผู้ป่วยจิต
เวชท่ีมีภาวะกลืนลำบาก ซ่ึงสามารถประเมินความเสี่ยงต่อการสำลักอาหารของผู้ป่วยท่ีมีภาวะกลืนลำบากมี
ดังนี้

• ผูป้ ว่ ยจิตเวชสงู อายุ/จติ เวชทว่ั ไปทช่ี ่วยเหลือตวั เองได้นอ้ ย/ไม่ได้
• ผู้ป่วยจิตเวชสูงอายุ/จิตเวชทว่ั ไปท่ไี ดร้ ับยาทางจติ จำนวนมากท้งั (จำนวน/ชนดิ /ขนาด/ปรมิ าณ)
• ผปู้ ่วยจิตเวชสงู อาย/ุ จติ เวชท่วั ไปท่กี ลา้ มเนอ้ื การดดู กลนื หยอ่ นประสทิ ธภิ าพ
• ผู้ปว่ ยจติ เวชสูงอายุ/จติ เวชท่วั ไประยะสุดท้าย
• ผ้ปู ว่ ยโรคเรอื้ รงั ทางสมอง
• ผู้ปว่ ยอัมพฤกษ/์ อมั พาต
• ผปู้ ว่ ยทม่ี ีพฤติกรรมอมอาหาร/ปฏเิ สธอาหาร
• ผู้ป่วยท่ีมนี ้ำลายมาก/ผูป้ ว่ ยที่มภี าวะEPS หรือผลขา้ งเคยี งจากยา
• ผปู้ ่วยทม่ี ีพฤติกรรมอยูไ่ มน่ ่งิ /สมาธิสัน้
• ผ้ปู ่วยทม่ี ปี ระวัติสำลกั บอ่ ยๆ

หมายเหตุ มีเพียง 1 ข้อถอื ว่ามีความเสยี่ ง

Goal

เพื่อปอ้ งกนั อันตรายท่ีเกิดจากการสำลักของผปู้ ่วยจติ เวช

Why

ผู้ป่วยท่ไี ด้รับการรักษาด้วยยาทางจิตเวช ในช่วงแรกๆ อาจมีการหลับลึก หลับมาก ยาบางขนานทำ
ให้ผู้ป่วยมีน้ำลายออกมาก มีอาการคอแข็ง กลืนลำบาก ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต และอาจทำให้เกิดการ
สำลักจนภาวะแทรกซ้อนในระบบทางเดินหายใจ เช่นเกิดปอดติดเชื้อได้ ดังน้ันเพื่อยืนยันความมุ่งม่ันของ
องค์กรท่ีจะดูแลผู้ป่วยให้ปลอดภัย จึงการการพัฒนาวิธีการป้องกันการสำลักในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อภาวะ
กลนื ลำบากข้ึน

83

Process

การดูแลและป้องกนั ความเสยี่ งต่อการสำลกั อาหารของผู้ปว่ ยทมี่ ีภาวะกลนื ประกอบดว้ ย 3 ขน้ั ตอนดงั นี้
ขั้นตอนท่ี 1 ก่อนรบั ประทานอาหาร
ข้นั ตอนที่ 2 ขณะรบั ประทานอาหาร
ขั้นตอนท่ี 3 หลังรบั ประทานอาหาร

ขั้นตอนที่ 1
1.1 ประเมินความสามารถการดดู กลืนของผปู้ ่วย
1.2 โภชนากรประเมินความเหมาะสมของอาหาร/อาหารเฉพาะโรคท่ีเหมาะสมกับประเภท อาการ/

อาการแสดงของผู้ป่วยแต่ละราย เบิกอาหารอ่อน/อาหารอ่อนบดหยาบ/อาหารเหลว/อาหารธรรมดา แต่ต้อง
ได้รับการตรวจสอบจากพยาบาลทุกครั้งก่อนให้ผู้ป่วยรับประทานอาหาร บางครั้งอาจต้องตัดอาหารเป็นช้ิน
เลก็ ๆก่อน (ตามความเหมาะสมของผ้ปู ่วยแตล่ ะราย)

1.3 จัดท่าน่ังของผู้ป่วยให้เหมาะสมหากน่ังได้ควรให้น่ังตัวตรงขณะรับประทานอาหาร สอดคล้องกับ
โครงสร้างของอวัยวะภายใน พฤติกรรมการรับประทานอาหาร/การดูดกลืน และพยาธิสภาพของผู้ป่วยแต่ละ
ราย หากผู้ป่วยนอนบนเตียงต้องไขหัวเตียงให้สูงหรือจัดทา่ ให้ผู้ปว่ ยนั่งพิงพนักเตียง และพยงุ ให้ผู้ป่วยนั่งสบาย
ไม่เซล้ม หรือนั่งในท่าปกติสำหรับผู้ป่วยที่น่ังได้ ดูแลให้หลอดอาหารอยู่ในสภาพตรงพร้อมทำงานตามระบบ
(จดั ท่าใหผ้ ู้ปว่ ยนง่ั งอเขา่ 90 องศาระนาบหน้าตรงราบกบั พ้ืน แล้วตรงศรี ษะอยกู่ ึ่งกลาง กม้ หน้าเลก็ นอ้ ย)
ขัน้ ตอนท2ี่ .

2.1 ตักอาหารพอดีคำ ดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารแต่พอดีคำ และรับประทานช้าๆอย่างต้ังใจ
หรอื ป้อนอาหารในรายท่ีตักอาหารเองไม่ได้ ตักอาหารแต่พอดีคำและป้อนช้าๆ จัดท่าให้ถกู ต้องเหมาะสม การ
ตะแคงช้อนขณะป้อน/การใช้หลอดท่ีถูกต้องเหมาะสม (ตักอาหารให้มีปริมาณ 1/3-1/2 ช้อนตามความ
เหมาะสม) และให้เวลาสำหรับมอื้ อาหารแตล่ ะม้ืออยา่ งเพยี งพอ ไม่เร่งรบี

2.3 ขณะป้อนอาหารต้องคำนงึ ถงึ ปริมาณสดั สว่ นท่พี อเหมาะกบั กล่มุ โรค/ผู้ปว่ ย/ผู้สงู อายุ ไม่ควรให้
อาหารมากเกินความจำเปน็ และความตอ้ งการของผู้ป่วย

2.4 ใหผ้ ู้ปว่ ยกม้ ศีรษะก่อนกลนื อาหารโดยกลนื อาหารทมี่ ีในปากลงไปกอ่ นกลืนซ้ำอีกหนึ่งครัง้
2.5 ตรวจดูว่ามอี าหารตกค้างอยใู่ นปากหรือไม่ ก่อนปอ้ นอาหารคำต่อไป
2.6 หากมกี ารสำลัก หรอื ไอเกดิ ขึน้ ขณะกลนื อาหาร ให้ผูป้ ่วยกม้ หนา้ ลงทนั ที
2.7 สำหรับผู้สูงอายุที่อ่อนแอมากๆหรือนอนติดเตียง ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ต้องเพ่ิมความ
ระมัดระวงั เปน็ พเิ ศษ
2.8 หมนั่ ตรวจสอบฟันปลอมให้แน่นพอดีอยเู่ สมอ (ในกรณมี ฟี ันปลอม)
2.9 ในกรณีผู้สูงอายุมีความเสี่ยง แต่ช่วยเหลือตัวเองได้ ต้องดูแลเรื่องพฤติกรรมท่ีเร่งรีบขณะ
รบั ประทานอาหาร และระวังการแยง่ ตกั อาหารจากถาดอาหารของผปู้ ว่ ยอ่ืนดว้ ย
2.10 หลังรับประทานอาหารเสร็จเรียบร้อย ควรให้ดื่มน้ำตามทุกครั้ง/ป้อนน้ำผู้ป่วยทุกครั้ง
ระมัดระวังการสำลัก และป้อนา้ ๆไม่เรง่ รบี และหลังอาหารควรน่งั ต่ออีก 30 นาที
2.11 ขณะป้อน/ดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารเอง จะต้องดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดตลอดเวลา
จนกระทั่งผู้ป่วยรับประทานอาหารเสร็จ และให้น่ังพักหรืออยู่ในท่าเดิมจนครบ 15 นาที แล้วจัดท่านอนให้
ผู้ปว่ ยและหรอื แนะนำการจัดท่านอนท่ีถกู ต้องเหมะสมให้ผปู้ ว่ ย
2.12 ประสานทีมสหวิชาชีพที่เก่ียวข้องเพื่อส่งต่อการดูแลที่มีคุณภาพ และผู้ป่วยได้รับการดูแล
ครอบคลุม กาย จิต สงั คม จิตวญิ ญาณ

84

หมายเหตุ : ผู้ป่วยท่ีช่วยเหลือตัวเองไม่ได้หรือได้แต่เป็นผู้ป่วยกลุ่มเส่ียง ควรพิจารณาป้อนโดยพยาบาลหรือผู้
ช่วยเหลือคนไข้ท่ีอยู่ในการเฝ้าระวังความเส่ียงของพยาบาล และควรป้อนหรือดูแลให้รับประทานอาหารก่อน
หรือหลงั ผู้ป่วยอ่นื
ขน้ั ตอนท่ี 3.

3.1 สำหรับผู้ป่วยท่ีรับประทานอาหารได้เองแต่เป็นกลุ่มเสี่ยงให้ตรวจสอบการแอบพกพาอาหาร
ประเภททเ่ี สยี่ งต่อการสำลักหรืออดุ กั้นทางเดินหายใจเข้าไปแอบรับประทานในห้องพัก/หอ้ งนอน

3.2 หม่ันตรวจสอบและเย่ียมผู้ป่วยเป็นระยะๆ (หลังเสร็จสิ้นข้ันตอนที่2.) หลังรับประทานอาหาร
เสรจ็ ใหมๆ่ เพอ่ื ปอ้ งกันการเกดิ ภาวะแทรกซ้อนทเี่ ป็นอันตราย

3.3 ติดตามประเมินผลระยะสั้นอย่างน้อย 15 - 30 นาที และตามมาตรการการเฝ้าระวังความ
ปลอดภยั ทางคลนิ ิก (SAFED)

3.4 ติดตามประเมินผลระยะยาวทุก 1 สัปดาห์ ทุก 1 เดือน อย่างสม่ำเสมอต่อเน่ืองโดยพยาบาล
ผู้ช่วยหัวหน้าหอผู้ป่วยและพยาบาลเวรเช้า เพื่อเป็นการประเมินผลการใช้แนวปฏิบัติดังกล่าว ด้วยวงล้อ
คณุ ภาพ PDSA และนเิ ทศตดิ ตามโดยหัวหน้าหอผู้ปว่ ย

Training

1. ให้ความรู้เพ่ือสร้างความตระหนักในการป้องกันความเส่ียง การใช้เคร่ืองมือประเมิน ความเส่ียง
การประเมินความต้องการเฉพาะ การจดั สง่ิ แวดล้อม

2. จัดเวทีแก้ปัญหาผู้ป่วยมีภาวะกลืนลำบาก เพื่อนำไปพัฒนาและปรับแนวทางการดูแลให้
เหมาะสมในแต่ละชว่ งเวลา

Monitoring

จำนวนผ้ปู ่วยทีเ่ กิด Aspirated-pneumonia

Pitfall

การไมป่ ฏิบัติตามแนวทางการป้องกนั ผปู้ ว่ ยสำสักจากผปู้ ่วยท่มี ีความเสี่ยงตอ่ ภาวะกลนื ลำบาก

85

P 4.6 ความเส่ยี งเฉพาะโรคผปู้ ่วยจติ เวช (Specific Clinical Risk)

1. Specific Clinical Risk การปอ้ งกนั การเกิด Clozapine -induced myocarditis

Definition

Myocarditis อาการผู้ป่วยท่ีใช้ยา Clozapine ครั้งแรก ได้แก่ 1.มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก 2.มีไข้
>38 °C 3. หายใจเร็ว (>20/min) 4. หวั ใจเตน้ เรว็ (> 120/min)

Goal

เพือ่ ปอ้ งกนั การเกิด Myocarditis ในผูป้ ่วยทีไ่ ดร้ บั ยา Clozapine

Why

ผู้ป่วยจิตเวชที่มีโอกาสการได้รับยา Clozapine ซึ่งเป็น atypical antipsychotics คือผู้ป่วย
Schizophrenia ,Schizoaffective disorder, MDD with psychosis , Bipolar disorder with psychosis
ซ่ึงผู้ป่วยเหล่าน้ีมีโอกาสท่ีจะเกิด serious adverse effect ที่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ คือ Myocarditis
ดังน้ันหากมีการวางระบบการค้นหาผู้ป่วยท่ีเสี่ยง การเฝ้าระวัง ติดตามและดักจับสัญญาณการเกิดภาวะ
Clozapine -induced myocarditis ได้ ย่อมสง่ ผลใหผ้ ู้ป่วยได้รับการดูแลทที่ ันทว่ งที ลดความรนุ แรงตลอดจน
ลดโอกาสการเสยี ชวี ิตลงได้

Process

การจดั การภายในโรงพยาบาล
- ทบทวนองค์ความรูก้ ลไกของยา Clozapine ทีท่ ำใหเ้ กดิ myocarditis
- จัดทำแนวทางการดูแลภาวะกล้ามเน้ือหัวใจอักเสบ (Myocarditis) ในผู้ป่วย จิตเวชที่ได้รับยา

Clozapine เปน็ ครัง้ แรกในรูปแบบ one page summary

การจดั การนอกโรงพยาบาล
มกี ารกำหนดให้ตรวจ EKG ในผปู้ ว่ ยท่ีเครือข่ายประสานขอสง่ ตอ่ มารกั ษาแบบผปู้ ว่ ยในทุกราย

Training

การอบรมเชิงปฏิบัติการเพ่ิมสมรรถนะความรู้ความเข้าใจต่อการใช้ยากลุ่ม High Alert Drugs ให้แก่
บคุ ลากร

Monitoring

จำนวนผู้ป่วยท่ีได้รับการส่งตรวจ CBC, Troponin I/T, CRP และ EKG แล้วได้รับการวินิจฉัย
myocarditis

86

Pitfall

- ความเข้าใจคลาดเคล่ือนเร่ืองอาการและอาการแสดงของ myocarditis ในผป.ที่ได้รับ clozapine
- การไมป่ ฏบิ ตั ติ ามแนวทางการเฝ้าระวัง myocarditis

2. Specific clinical risk : Neuroleptic Malignant Syndrome

Definition

Neuroleptic malignant syndrome ; NMS เป็นภาวะแทรกซ้อนรุนแรงที่เกิดในผู้ป่วยที่ได้รับยากลุ่ม
High-potency antipsychotics โดยมีอาการเด่น 3 ระบบ คือ 1. ระบบหัวใจและหลอดเลือด เกิดภาวะ ANS
instability 2.ระบบ CNS เกดิ fluctuation of consciousness 3. ระบบกล้ามเนอ้ื และข้อต่อ เกดิ การเกรง็ แข็ง
ของกลา้ มเนื้อ

Goal

- เพ่อื ให้แพทยแ์ ละทีมบุคลากรท่ีดูแลผปู้ ่วยสามารถเฝา้ ระวงั ภาวะแทรกซ้อน NMS ที่อาจเกิดในผูป้ ว่ ย
ทีไ่ ดร้ บั ยากล่มุ High-potency antipsychotics

- เพื่อให้ผปู้ ว่ ยทีเ่ กดิ NMS ได้รบั การดูแลท่ีรวดเรว็ และหรือไดร้ บั การส่งต่อทปี่ ลอดภัยทันทว่ งที

Why

Neuroleptic malignant syndrome; NMS เป็นภาวะแทรกซ้อนรุนแรงในผู้ป่วยจิตเวชท่ีได้รับยา
antipsychotics กลุ่ม High potency ที่ส่งผลต่อชีวิตของผู้ป่วยได้ท้ังจากระบบหัวใจและหลอดเลือดล้มเหลว
การทำงานของระบบไตล้มเหลวจากการละลายของกล้ามเนื้อลาย (Rhabdomyolysis) ระบบหายใจล้มเหลวจาก
ภาวะ acidosis แม้ว่า NMS จะเป็นภาวะแทรกซ้อนท่ีรุนแรงแต่สามารถป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดได้ ซึ่งช่วย
สร้างความปลอดภัยดา้ นการบริหารการใช้ยาทม่ี ีความเส่ยี งตอ่ ผ้ปู ว่ ย

Process

การจัดการภายในโรงพยาบาล
1.ทบทวนองคค์ วามร้เู ก่ียวกับยาจิตเวชและผลขา้ งเคยี งท่ีเกิดจากยาจติ เวช
2. คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด ได้กำหนดแนวทางการเฝ้าระวังการเกิด NMS ในผู้ป่วยท่ี

ได้รับยา antipsychotics ตามพยาธิสภาพของการเกิด NMS ซ่ึงพบว่าส่วนใหญ่ 80% จะพบในชว่ ง 2 สัปดาห์
แรกของ การใช้ยาหรือเพ่ิมขนาดยา antipsychotics โดย กำหนดให้สังเกตและประเมินผู้ป่วยที่ได้รับยา
antipsychotics หากพบ 4 อาการ ดังนี้ คือ 1. ไข้(>38 °C) 2. การเปล่ียนแปลงของระดับการรับรู้ (sensory

87

and conscious change) 3. ระบบประสาทอัตโนมัติเปล่ียนแปลง (ANS instability) เช่น tachycardia,
elevated หรอื labile BP 4. Extrapyramidal symptom (EPS) ให้รบี รายงานแพทย์และเภสัชกรทนั ที

3. พัฒนาแนวทางการตรวจประเมินและการดูแลเบ้ืองต้นในรูปแบบ One-page summary เพ่ือง่าย
ต่อการเขา้ ถงึ
การจดั การนอกโรงพยาบาล

- องค์กรแพทย์ กำหนดให้มีการขอความร่วมมือจากเครือข่ายแพทย์และจิตแพทย์ท่ีประสานขอส่งต่อ
ผปู้ ว่ ยมารับการรกั ษาใหต้ รวจประเมินทางห้องปฏบิ ัติการเพื่อค้นหาภาวะ NMS ก่อนพิจารณารับไวใ้ น
ผูป้ ่วยท่ีมีประวัติได้รบั ยา antipsychotics ชนิดฉีดเข้ากล้ามเน้ือในปริมาณท่ีสูงหรือแพทย์สงสัยภาวะ
NMS

- องค์กรแพทย์กำหนดให้มีการสอบถามแผนการรักษาภาวะ NMS ก่อนรับผู้ป่วยจิตเวชจากแพทย์หรือ
จิตแพทยใ์ นเครือข่ายท่ีชดั เจนซงึ่ แมอ้ าการ NMS จะ improve แล้วกต็ าม

Training

1. จดั ใหม้ กี ารเพ่มิ พนู องค์ความรเู้ กย่ี วกบั การบรหิ ารยาจิตเวชท่ปี ลอดภัยในบคุ ลากรใหม่
2. พฒั นาแนวทางการเฝ้าระวงั ภาวะ NMS ทเ่ี ขา้ ถึงงา่ ย
3. พฒั นาระบบสารสนเทศเพ่อื ช่วยใหส้ ามารถ detect ประวตั กิ ารเกดิ NMS ในผปู้ ่วยเพื่อป้องกันการ
สง่ั ยาท่ีเป็นสาเหตเุ กดิ NMS ซำ้
4. พัฒนาระบบการเฝา้ ระวังการเกิด NMS ในการส่ังยาคเู่ สีย่ ง Drug-drug interaction

Monitoring

จำนวนผ้ปู ว่ ยทีเ่ กดิ ผลขา้ งเคยี งทเ่ี ขา้ ได้กบั NMS

Pitfall

1. ผู้ป่วยท่ีได้รับการส่งต่อมาจากเครือข่าย ไม่สามารถตรวจทางห้องปฏิบัติที่ครอบคลุมเพียงพอได้
โดยเฉพาะคา่ CPK

2. บุคลากรใหม่ที่ยังขาดประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยจิตเวช ทำให้เกิดการเฝ้าระวังไม่ต่อเนื่องหรือ
ลา่ ชา้ ได้

3. การวนิ ิจฉยั NMS เป็นการวนิ ิจฉยั โดยเน้นประวัตแิ ละอาการแสดงเป็นสำคัญ ทำใหเ้ กิดการวนิ จิ ฉัย
ล่าชา้ ได้

88

3. Specific clinical risk : Serotonin Syndrome ; SS

Definition

Serotonin Syndrome ; SS เป็นภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง (Life-threatening) ซ่ึงเกิดจากการ
ทำงานของ Serotonin ในระบบ CNS สงู ผิดปกติ โดยมักเกิดภายใน 24 ช่วั โมง หลังได้รับ Serotonergic agents
(เชน่ ยากลมุ่ SSRI, SNRI, TCA และ Lithium เปน็ ต้น)

Goal

- เพื่อให้แพทย์และทีมบุคลากรที่ดูแลผู้ป่วยสามารถเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน Serotonin
Syndrome ; SS ท่ีอาจเกิดในผู้ป่วยที่ได้รับยากลุ่มได้รับ Serotonergic agents (เช่น ยากลุ่ม
SSRI, SNRI, TCA และ Lithium เปน็ ตน้ ) ได้

- เพ่ือให้ผู้ป่วยท่ีเกิด Serotonin Syndrome (SS) ได้รับการดูแลที่รวดเร็วและหรือได้รับการส่ง
ต่อที่ปลอดภัยทันทว่ งที

Why

เนื่องจากภาวะ Serotonin syndrome (SS) เป็นภาวะแทรกซ้อนรุนแรงถึงชีวิต (Life Threatening) ที่
เกิดจากการทำงานของ Serotonin ใน CNS สูงผิดปกติ ซ่ึงมักเกิดภายใน 24 ช่ัวโมงหลังได้รับ Serotonergic
agents (เช่น ยากลุ่ม SSRI, SNRI, TCA และ Lithium เป็นต้น) โดยผู้ป่วยที่เกิด SS จะมีอาการแสดงที่เก่ียวข้อง
กับระบบต่างๆ ดังน้ี 1. การทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติเพิ่มขึ้น (Autonomic hyperactivity) ได้แก่ ไข้
(อุณหภูมิ >38°c) เหง่ือออกมาก (Diaphoresis) (Tachycardia แน่นหน้าอก ความดันโลหติต่ำหรือสูง 2. การ
เปลี่ยนแปลงของระดับการรับรู้ (sensory and conscious change) ตั้งแต่ กระสับกระส่าย ไม่มีสมาธิ
(Agitation) นอนไม่หลับหรือซึมลง (มีได้ตั้งแต่ Drowsiness stupor หรือ Coma) 3. การทำงานของระบบ
ประสาทและกล้ามเนื้อผิดปกติ (Neuromuscular abnormalities) ได้แก่ กล้ามเน้ือ กระตุก (Myoclonus) สั่น
(Tremor) หนาวสั่น (Shivering) Hyperreflexia (Lower >upper) ม่านตาขยาย (Mydriasis) แม้ว่า Serotonin
syndrome (SS) จะเป็นภาวะแทรกซ้อนท่ีรุนแรงแต่สามารถป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดได้ ซ่ึงช่วยสร้างความ
ปลอดภยั ดา้ นการบรหิ ารการใชย้ าทีม่ ีความเสยี่ งตอ่ ผปู้ ว่ ย

Process

การจดั การภายในโรงพยาบาล

1.ทบทวนองคค์ วามร้เู กี่ยวกับยาจิตเวชและผลขา้ งเคยี งทเ่ี กดิ จากยาจิตเวช
2. คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด ได้กำหนดแนวทางการเฝ้าระวังการเกิด Serotonin syndrome
(SS) ในผู้ป่วยท่ีได้รับยากลุ่ม Serotonergic agents คือยากลุ่ม SSRI, SNRI, TCA และ Lithium ให้รายงาน
แพทยแ์ ละเภสัชกร หากพบอาการใน 3 กลมุ่ อาการหลัก ดงั น้ี

89

1. การทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติเพิ่มขึ้น (Autonomic hyperactivity) ได้แก่ ไข้
(อุณหภูมิ >38°c) เหงื่อออกมาก (Diaphoresis) (Tachycardia แน่นหน้าอก ความดันโลหติต่ำหรือ
สงู

2. การเปลี่ยนแปลงของระดับการรับรู้ (sensory and conscious change) ต้ังแต่
กระสับกระส่าย ไม่มีสมาธิ (Agitation) นอนไม่หลับหรือซึมลง (มีไดต้ ั้งแต่ Drowsiness stupor หรือ
Coma)

3. การทำงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อผิดปกติ (Neuromuscular abnormalities)
ได้แก่ กล้ามเนื้อกระตุก (Myoclonus) ส่ัน (Tremor) หนาวส่ัน (Shivering) Hyperreflexia
(Lower >upper) มา่ นตาขยาย (Mydriasis)

3. พัฒนาแนวทางการตรวจประเมินและการดูแลเบื้องต้นในรูปแบบ One-page summary เพื่อง่ายต่อ
การเข้าถงึ
การจัดการนอกโรงพยาบาล

- องค์กรแพทย์ กำหนดให้มีการขอความร่วมมือจากเครือข่ายแพทย์และจิตแพทย์ท่ีประสานขอส่งต่อ
ผู้ป่วยมารับการรักษาให้ตรวจประเมินทางห้องปฏิบัติการเพ่ือค้นหาภาวะ Serotonin syndrome
(SS) ก่อนพิจารณารับไว้ในผู้ป่วยที่มีประวตั ิไดร้ ับยากลุ่ม Serotonergic Agents ในปริมาณที่สูงหรือ
รวดเรว็ ภายใน 24 ช่วั โมง

- องค์กรแพทย์กำหนดให้มีการสอบถามแผนการรักษาภาวะ Serotonin syndrome (SS) ก่อนรับ
ผู้ป่วยจิตเวชจากแพทย์หรือจิตแพทย์ในเครือข่ายที่ชัดเจนซึ่งแม้อาการ Serotonin syndrome (SS)
จะ improve แลว้ กต็ าม

Training

1. จัดให้มีการเพ่มิ พูนองค์ความรู้เกย่ี วกับการบริหารยาจิตเวชทปี่ ลอดภัยในบุคลากรใหม่
2. พัฒนาแนวทางการเฝ้าระวงั ภาวะ Serotonin syndrome (SS) ที่เขา้ ถงึ งา่ ย
3. พัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือช่วยให้สามารถ detect ประวัติการเกิด Serotonin syndrome (SS)
ในผปู้ ว่ ยเพ่อื ป้องกันการสั่งยาทีเ่ ปน็ สาเหตุเกดิ Serotonin syndrome (SS) ซำ้
4. พัฒนาระบบการเฝ้าระวังการเกิด Serotonin syndrome (SS) ในการส่ังยาคู่เส่ียง Drug-drug
interaction

Monitoring

จำนวนผู้ปว่ ยทเี่ กิดผลข้างเคยี งทเ่ี ข้าได้กับ Serotonin syndrome (SS)

Pitfall

1.ผู้ป่วยท่ีได้รับการส่งต่อมาจากเครือข่าย ไม่สามารถตรวจทางห้องปฏิบัติท่ีครอบคลุมเพียงพอได้
โดยเฉพาะค่า CPK ซึ่งเป็นการตรวจเพ่ือตัด NMS ก่อน เน่ืองจาก Serotonin syndrome (SS) กับ
NMS น้ันอาการและอาการแสดงคลา้ ยกันมาก

90

2.บุคลากรใหม่ท่ียังขาดประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยจิตเวช ทำให้เกิดการเฝ้าระวังไม่ต่อเน่ืองหรือล่าช้า
ได้
3.การวนิ ิจฉัย Serotonin syndrome (SS) เป็นการวนิ ิจฉัยโดยเนน้ ประวัติและอาการแสดงเปน็ สำคัญ
หากผู้ป่วยมปี ระวตั กิ ารได้รบั ยาทไี่ มช่ ัดเจนมากอ่ นจะสง่ ผลทำใหเ้ กิดการวนิ ิจฉัยล่าช้าได้
4.ผู้ป่วยท่ีได้รับยาจากสถานพยาบาลหลายแห่งแต่ไม่ได้นำยามาแสดงให้ทราบ มีโอกาสเกิดการวินิจฉัย
ลา่ ช้าได้

4.Specific clinical risk : การลดการตตี ราต่อผูป้ ว่ ยสขุ ภาพจติ และจิตเวช (De-stigmatization)

Definition

การตีตราต่อผู้ป่วยสุขภาพจิตและจิตเวช (Stigmatization) คือ การตีตรา (labeling) การมองแบบ
เหมารวม (stereotype) การแบ่งเขาแบ่งเรา (separate) การสูญเสียสถานะและการกีดกัน ต่อมา นักวิชาการได้
ใชก้ รอบของ การมองแบบเหมารวม อคติ (prejudice) และการกดี กัน (discrimination) แบ่งเป็น

1.ตราบาปทางสังคม (public stigma) เกิดจากความเข้าใจ ผิดหรือความไม่รู้ของคนในสังคมเกี่ยวกับภาวะ
เจ็บป่วยทางจิต ทำให้เกิดอคติและการมองแบบเหมารวมทางลบเกี่ยวกับความผิดปกติทางจิต ส่งผลให้เกิดการ
แบ่งแยก กีดกันและแสดงพฤตกิ รรมแบบปฏเิ สธ/ไม่ยอมรับหรือ การหลกี เลยี่ งและการถอยห่าง

2.ตราบาปภายในใจตนเอง (internalized stigma) หรอื (self-stigma) เกดิ จาก การท่ีผทู้ ี่มภี าวะเจบ็ ป่วยทาง
จติ รับรู้และตระหนักถงึ ปฏกิ ิริยาของสงั คม รวมท้งั ความรู้สึกทางลบ (ความกงั วลล่วงหน้าว่าจะถกู ปฏเิ สธ)และจาก
ประสบการณ์ของการกีดกันแลว้ ยอมรับการตตี รา/ตราบาปและการมองแบบเหมารวมทางลบเกย่ี วกับการเจ็บป่วย
ทางจิต แล้วหนั สิ่งเหลา่ น้ันเขา้ สู่ตนเองและเชอื่ วา่ ตนถูกลดคุณค่าในสังคม

การลดการตีตราต่อผู้ป่วยสุขภาพจติ และจิตเวช ( De-stigmatization) คือกระบวนการการดูแลท่ีมุ่งเน้นการลด
การแบ่งแยก การเลือกปฏิบัติ การลดทอนคุณค่าของผู้ท่ีมีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ด้วยการเสริมสร้างความ
เข้มแข็งของร่างกายและจิตใจ การสร้างคุณค่าด้วยศักยภาพท่ีมีอยู่ ตลอดจนสร้างการยอมรับให้ผู้ป่วยสุขภาพจิต
และจติ เวชสามารถกลบั ไปใช้ชีวติ ร่วมกบั สังคมได้อยา่ งมีศกั ด์ิศรีของความเปน็ มนุษย์

Goal

- เพ่ือให้ผู้ป่วยสุขภาพจิตและจิตเวชที่มารับบริการที่โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ได้รับการดูแล
เชน่ เดยี วกับผ้ปู ่วยดว้ ยโรคทางกายอ่นื ๆ

- เพ่ือให้ผู้ป่วยและครอบครัวสามารถกลับไปใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุขและคงศักดิ์ศรีของความ
เป็นมนุษย์

91

Why

การตีตราตอ่ ผปู้ ่วยสุขภาพจติ และจิตเวชจากสังคมนน้ั สง่ ผลกระทบในหลายมติ ิ เชน่ การถูกแบ่งแยก การ
ถูกเลือกปฏิบัติ การลดทอนคุณค่าและศักด์ิศรีต่อผู้ป่วยรวมถึงครอบครัว ทำให้เกิดการปกปิดต่อการเข้ารับการ
ช่วยเหลือ ผู้ป่วยต้องทนทุกข์ทรมานเน่ืองจากกลัวการถูกรังเกียจ การขาดการรักษาท่ีต่อเนื่องส่งผลให้โรคทาง
สุขภาพจิตและจิตเวชกลับเป็นซ้ำหรือรุนแรงมากข้ึน การจัดระบบบริการที่ช่วยลดการตีตราต่อผู้ป่วยสุขภาพจิต
และจิตเวชจะช่วยให้ผู้ป่วยหรือครอบครัวยังคงได้รับการดูแลต่อเน่ือง สามารถเข้าถึงบริการได้มากขึ้น ลดความ
รุนแรงของโรคตลอดจนมีส่วนทำให้เกิดความปลอดภัยในสังคมจากผู้ป่วยทางจิตที่มีอาการรุนแรงที่ขาดการรักษา
ตอ่ เนือ่ งลงได้

Process

การจัดการภายในโรงพยาบาล
1.จัดระบบบริการท่ีกำหนดการให้บริการด้านจิตสังคมเป็นมาตรฐานหนึ่งของการบริการใน
โรงพยาบาลจติ เวช
2.จดั บริการการประเมินด้านจิตสังคมในผู้ป่วยท่รี ับไวใ้ นโรงพยาบาล ตงั้ แต่แรกรับท่ีแผนกรบั ผปู้ ว่ ย
3. กำหนดให้การบริการด้านจติ สังคมอยใู่ น clinical pathway ของการดูแลผ้ปู ่วยรายโรค
4. การฟ้ืนฟูทักษะด้านต่างๆแก่ผู้ป่วยตามศักยภาพและสอดคล้องกับบริบทของครอบครัวก่อน
จำหน่ายผู้ปว่ ยคนื สู่ครอบครวั และชุมชน
5. การหาแหล่งสนบั สนุนเพอ่ื การฟน้ื ฟูผปู้ ่วยในชมุ ชน
6. สร้างความตระหนักแก่บุคลากรในการใช้สื่อ social media ท่ีสร้างสรรค์และไม่ละเมิดต่อผู้ป่วย
และครอบครัว (personnel safety : Social media)
7. พัฒนาระบบฐานข้อมูลเฝ้าระวังผู้ป่วยจิตเวชที่มีประวัติก่อความรุนแรง (SMI-V) ให้ได้รับการ
ตดิ ตามอย่างต่อเนื่อง

การจดั การนอกโรงพยาบาล
- การรณรงค์สือ่ สารเพื่อสรา้ งความเขา้ ใจเก่ียวกบั ผู้ปว่ ยสขุ ภาพจติ และจติ เวชในพน้ื ท่นี ำร่อง
- การขับเคล่ือนการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยสุขภาพจิตและจิตเวชด้วยกลไกทางกฎหมายเพื่อความ
ปลอดภัยทั้งต่อผ้ปู ว่ ย ครอบครวั ชุมชนและสงั คม
- การร่วมมือกับหน่วยงานเอกชนให้เกิดการจ้างงานผู้ป่วยสุขภาพจิตและจิตเวชท่ีอาการทุเลาและได้รับ
การฟนื้ ฟสู มรรถภาพด้านต่างๆจนพร้อมในการประกอบอาชีพ
- รณรงค์สร้างความรู้ความเข้าใจต่อส่ือสาธารณะให้มีส่วนร่วมในการลดการตีตราต่อผู้ป่วยสุขภาพจิต
และจิตเวชดว้ ยการเปน็ ส่ือสรา้ งสรรค์ผ่านช่องทางสื่อสารต่างๆขององค์กร

92

Training

1. องค์กรประกาศใหก้ ารลดการตีตราต่อผปู้ ว่ ยสุขภาพจติ และจิตเวชเปน็ นโยบายขององคก์ ร
2. พัฒนาสอ่ื สร้างสรรค์และเผื่อแพรท่ างชอ่ งทางต่างๆขององคก์ ร
3. จัดระบบการติดตามผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงก่อความรุนแรงให้ได้รับการดูแลต่อเนื่องผ่านระบบ
เครือข่ายเขตสุขภาพ

Monitoring

รอ้ ยละของผู้ป่วยท่ีมปี ัญหาด้านจติ สังคมได้รับการชว่ ยเหลือสามารถจำหน่ายได้ตามแผน
ร้อยละของผ้ปู ว่ ย SMI-V ได้รบั การตดิ ตามตอ่ เนอ่ื งตามแผนการรักษา
รอ้ ยละของผปู้ ่วย SMI-V ไม่ก่อความรนุ แรงซ้ำในระยะเวลา 1 ปี

Pitfall

1. การสร้างความเข้าใจและลดการตีตราต่อผู้ป่วยสขุ ภาพจิตและจิตเวชเป็นประเด็นละเอยี ดอ่อนที่ต้อง
อาศัยความร่วมมอื จากหลายฝ่าย ทำใหอ้ าจไม่ประสบความสำเรจ็ ตามแผน
2. การหาบุคคลสำคัญในชุมชนท่ีร่วมขับเคลื่อนการลดการตีตราต่อผู้ป่วยจิตเวชเป็นปัจจัยร่วมท่ีสำคัญ
3. การหาแนวร่วมทางสังคมในชุมชน ต้องอาศัยสัมพันธภาพที่ดีและการส่ือสารเจรจาที่มีประสิทธภิ าพ
เขา้ ใจบริบทของชมุ ชน
4. การปรับเปล่ยี นบุคลากรทด่ี ูแลรบั ผดิ ชอบดา้ นจติ สังคมทำให้ขาดความต่อเนื่องของการดำเนนิ งานได้

93

L: Line, Tube, and Catheter & Laboratory

L2 Right and Accurate Laboratory Results

94

L2: Right and Accurate Laboratory Results

Definition

ผลการทดสอบทางห้องปฏบิ ัตกิ ารของสิง่ ส่งตรวจจากผู้ป่วยมีความถกู ตอ้ ง คือรายงานผลท่ีตรงกับ
เจ้าของสง่ิ ส่งตรวจ และมคี วามแมน่ ยำ สามารถสะท้อนถงึ ส่งิ ท่ีเกิดขน้ึ ในร่างกายของเจา้ ของสิง่ ส่งตรวจได้

Goal

เพื่อให้ผลการทดสอบทางห้องปฏิบัติการถูกต้อง ทันเวลา เป็นข้อมูลสุขภาพหน่ึงท่ีสะท้อนถึง
สภาวะสุขภาพของผู้ป่วย เพ่ือเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยและแพทย์ในการวินิจฉัยโรค/ให้แนวทางในการรักษา/
ตดิ ตามผลการรกั ษา/พยากรณ์โรค/ปอ้ งกนั โรค/ประเมนิ สภาวะสุขภาพ

Why

ผลการทดสอบจากส่ิงส่งตรวจของผู้ป่วยเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ท่ีสะท้อนถึงส่ิงที่เกิดข้ึนใน
ร่างกายผู้ป่วย ช่วยในการรักษาของแพทย์ หากผลผิดพลาด เช่น ผิดคน หรือสิ่งส่งตรวจอยู่ในสภาพท่ีไม่
เหมาะสมจะทำให้การวิเคราะห์ได้ค่าผิดพลาด ส่งผลให้เกิดความเสียหายหรอื เกิดอันตรายต่อผู้ป่วยจากการใช้
ขอ้ มูลท่ีผิดพลาดประกอบการตัดสินใจวางแผนการรักษาได้

Process

1. การเตรียมผู้ป่วยและการรักษาสภาพส่ิงส่งตรวจให้เหมาะสมก่อนการตรวจวิเคราะห์ ปฏิบัติ
ตาม QP-LA-01 การใหบ้ ริการตรวจวเิ คราะหท์ างหอ้ งปฏิบัติการ

2. การระบุตวั ผู้ป่วยและการเก็บส่ิงส่งตรวจ
2.1 รับคำส่ังตรวจในระบบ โปรแกรมสารสนเทศน์ ระบุช่ือ-สกุล, HN, เพศ, อายุ,รายการ
ตรวจ, วันที่, เวลา, พิมพ์บาร์โค้ด สติกเกอรต์ ิดที่ภาชนะเก็บส่ิงส่งตรวจรวมท้ังเตรียมสถานที่
/เคร่ืองมือ อุปกรณ์ ในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อกรณีการตรวจเช้ือท่ีสามารถ
แพรก่ ระจายทางอากาศ
2.2 เรยี กชือ่ ผปู้ ่วย เขา้ มาในหอ้ งเจาะเลอื ด/สถานทเ่ี ก็บสิง่ สง่ ตรวจ
2.3 ผู้เก็บสิ่งส่งตรวจ ตรวจสอบพิจารณาความเป็นไปได้ของเพศ อายุ และถามช่ือผู้ป่วยซ้ำ
โดยให้ผูป้ ว่ ยบอกช่ือ โดยไม่ถามนำวา่ ชื่อ... ใช้หรือไม่
2.4 เก็บส่งิ สง่ ตรวจทลี ะราย

3. การตรวจวิเคราะห์
3.1 ต้องทำจาก Primary tube หากจำเป็นตอ้ งแบ่งสิ่งส่งตรวจเพื่อการตรวจวิเคราะห์หลาย
อย่างต้องบ่งชด้ี ้วยการตดิ บาร์โค้ดสติกเกอร์ท่ี tube ตวั อย่างนั้น และบ่งช้ีทุกขั้นตอนการ
ตรวจวเิ คราะห์
3.2 เครื่องตรวจวิเคราะห์อัตโนมัติอ่านข้อมูลจากบาร์โค๊ดโดยตรงและรายงานผลเข้า
ระบบปฏบิ ัตกิ ารห้องปฏิบตั กิ าร LIS โดยไมค่ ดั ลอกรายงานผล

95

4. การรายงานผล
4.1 ผตู้ รวจวิเคราะห์ ตรวจสอบความถูกต้องและรายงานด้วยการเข้ารหัสทุกรายเพ่ือป้องกัน
การใช้โดยบคุ คลอื่น
4.2 ผู้ตรวจสอบรับรองผล ตรวจสอบความถูกต้องซ้ำอีกครั้งด้วยการเข้ารหัสส่วนตัวทุกราย
ก่อนการอนมุ ัติผล
4.3 พิมพใ์ บรายงานผล มอบให้ผูป้ ว่ ยและสง่ ข้อมูลเข้าระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Training

1. จัดการฝึกอบรมบุคลากรท่ีเก่ียวข้อง ในหัวข้อการเก็บส่ิงส่งตรวจ การนำส่งสิ่งส่งตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการ

2. พฒั นาการเกบ็ ส่ิงส่งตรวจทางห้องปฏบิ ัติการโดยสอ่ื รูปภาพ
3. พฒั นาบุคลากรสายเทคนคิ การแพทย์ ดา้ นการตรวจพิเศษในผูป้ ว่ ยจิตเวช

Monitoring

1. รอ้ ยละการเกดิ ข้อผดิ พลาดในการตรวจวดั และการรายงานผล
2. อัตราการปฏิเสธส่งิ ส่งตรวจ

Pitfall

1. การถามนำในระบตุ ัวผู้ป่วยขณะเกบ็ ส่งิ สง่ ตรวจ เช่นการถามชือ่
2. การเจาะเก็บเลอื ดจากแขนทใี่ หส้ ารน้ำทางหลอดเลือดดำ
3. การใช้สารตา้ นการแข็งตวั ของเลอื ดผดิ ชนิด
4. สภาพตวั อย่างไม่เหมาะสม เกบ็ ได้น้อย เกบ็ ปสั สาวะไวน้ านเกิน 2 ช่วั โมง

96

E1 E: Emergency Response
E2
Response to the Deteriorating Patient
E 2.1 ER Safety
E 2.2
E 2.3 Effective Triage
E 2.4 Effective Diagnosis and Initial Management of High-risk Presentation
E 2.5 Effective Teamwork and Communication
Effective Patient Flow
Effective Hospital Preparedness for Emergencies

97

E 1: Response to the Deteriorating Patient (การตอบสนองต่อผู้ปว่ ยท่อี าการทรดุ ลง)

Definition

การระบุตัวผู้ป่วยท่ีมีอาการทรุดลงหรือมีอาการแย่ลงอย่างมีประสิทธิภาพร่วมกับมีแนว ทางการดูแล
ผูป้ ว่ ยทรุดลงในโรงพยาบาลอย่างเหมาะสมและเปน็ ระบบท่ชี ดั เจน กอ่ นท่อี าการ เจ็บปว่ ยจะมีความรุนแรงเพมิ่ ขึน้

Goal

ลดความเส่ียงและเพิ่มความปลอดภัยในการดูแลรักษาผู้ป่วยทรดุ ลงในโรงพยาบาลให้มี ประสิทธภิ าพมาก
ยง่ิ ข้ึน

Why

การล้มเหลวในการระบตุ ัวผปู้ ่วยที่มีอาการทรดุ ลงหรือมอี าการแย่ลงสามารถทำใหอ้ าการ เจ็บป่วยมีความ
รุนแรงเพิ่มข้นึ จากขอ้ มลู ทางวชิ าการ พบว่า 51-86% ของผูป้ ว่ ยท่ีรับปฏิบตั ิการ เพ่อื ช่วยชวี ิตขณะที่หัวใจหยุดเต้น
และหยุดหายใจกระทันหัน (cardiopulmonary resuscitation; CPR) จะมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาเป็น
เวลาหลายช่ัวโมงก่อนที่จะเกิดหัวใจหยุดเต้นและหยุด หายใจกระทันหัน (cardiopulmonary arrest) นอกจากนี้
ยังพบว่าในประเทศไทย จำนวนเตียงและอัตรากำลังในไอซียู ยังไม่เพียงพอต่อจำนวนผู้ป่วยวิกฤตท่ีจำเป็นต้อง
ได้รับการการดูแล ทำให้ ผู้ป่วยวิกฤตในโรงพยาบาลอาจได้รับการดูแลท่ีไม่เหมาะสม การพัฒนาจัดต้ัง Rapid
Response Team หรือทีมดูแลผู้ป่วยก่อนวิกฤต จะสามารถเพ่ิม ประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยทรุดลงใน
โรงพยาบาลอย่างเป็นระบบ โดยจากข้อมูลทั้งในและ ต่างประเทศท่ีมีการจดั ต้ังทีมน้เี กิดข้นึ พบวา่ ผปู้ ่วยท่ีเกิดภาวะ
หวั ใจหยดุ เต้นในโรงพยาบาลลด นอ้ ยลง อัตราการเสียชวี ิตจากภาวะหัวใจหยุดเตน้ ลดน้อยลง จำนวนวนั ทตี่ ้องนอน
โรงพยาบาลหรือนอนในไอซียูลดน้อยลง และอัตราการตายของผู้ป่วยในลดน้อยลง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
นอกจากน้ีการใช้ Early Warning Score ร่วมกับ Rapid Response System จะช่วยให้การจัดกลุ่ม และจัดการ
ผู้ป่วยทรุดลงในโรงพยาบาลมีประสิทธิภาพท่ีดีย่ิงขึ้น ซ่ึงการจัดกลุ่มและการจัดการที่ เหมาะสมจะช่วยให้ผู้ป่วย
เข้าถึงบริการตามลำดับความเร่งด่วน ได้รับการจัดให้อยู่ในบริเวณที่ เหมาะสมในการดูแล และได้รับการประเมิน
ดูแลติดตามอย่างเหมาะสม ส่งผลให้มีการใช้ทรัพยากร ในโรงพยาบาลอย่างเหมาะสมและที่สำคัญทำให้ผู้ป่วยมี
ความปลอดภยั เมือ่ เขา้ รบั การดแู ลในโรงพยาบาล


Click to View FlipBook Version