แนวทางการพฒั นาผเู้ รียนสกู่ ารเปน็
Active Learner
กลุม่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา
สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 1
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
แนวทางการพฒั นาผ้เู รยี นสกู่ ารเป็น Active learner หนา้ ก
คำนำ
แนวทางการพัฒนาผู้เรียนสู่การเป็น Active Learner จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างส่ือนิเทศ
ทางไกล พร้อมท้ังศึกษาความพึงพอใจต่อการนิเทศทางไกลด้วยส่ือ “แนวทางการพัฒนาผู้เรียนสู่การเป็น
Active Learner” ตามนโยบายขบั เคลื่อนกจิ กรรม ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ และการจัดการเรียนการสอนตาม
แนวทาง Active Learning
แนวทางการพัฒนาผู้เรียนสู่การเป็น Active Learner เล่มน้ีมีท้ังหมด 3 ตอน โดยมีเนื้อหาสาระ
ครอบคลุมความรู้ด้านการจัดการเรียนการสอนตามแนวทาง Active Learning และตัวอย่างกิจกรรม Active
Learning ทค่ี รผู สู้ อนสามารถนาไปบูรณาการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ รวมทง้ั
กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น และกิจกรรมตามนโยบาย ลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู้ ท้งั น้ี เพอื่ ให้ครผู ูส้ อนมีเอกสาร
ไว้ศกึ ษาเป็นแนวทางในการวางแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้และสามารถนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมสอดคล้องกบั ผ้เู รียนและหลักสตู รสถานศกึ ษา สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
ชลบรุ ี เขต 1 จึงไดจ้ ัดทาแนวทางการพัฒนาผูเ้ รยี นสู่การเปน็ Active Learner สาหรบั เป็นส่ือนเิ ทศทางไกล
ให้ครผู ู้สอนในสังกัดไดใ้ ช้เปน็ ประโยชนใ์ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามนโยบายของต้นสังกดั
ขอขอบพระคณุ ทีป่ รกึ ษา ผูท้ รงคุณวุฒิ และคณะทางานทกุ ทา่ นทช่ี ว่ ยใหก้ ารจดั ทา “แนวทาง
การพฒั นาผูเ้ รยี นสู่การเป็น Active Learner” สาเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ และหวังว่าเอกสารเล่มน้ี
จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนให้สามารถวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็น Active
Learner ได้เตม็ ตามศกั ยภาพตามเปา้ หมายของการพฒั นาผู้เรียนในแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579
(นายเต็ม เสืออว่ ม)
ผ้อู านวยการสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1
แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี นส่กู ารเป็น Active learner หนา้ ข
สำรบญั
เรือ่ ง หน้ำ
คานา ก
สารบัญ ข
ตอนที่ 1 แนะนาแนวทางการพฒั นาผเู้ รียนสู่การเป็น Active Learner 1
หลกั การและแนวคิด 1
วตั ถุประสงค์
เน้อื หาสาระสาคัญ 2
ตอนที่ 2 วธิ กี ารใช้แนวทางการพัฒนาผเู้ รียนสกู่ ารเปน็ Active Learner
ขั้นตอนการใช้ 3
ข้อเสนอแนะในการใช้ 20
ตอนท่ี 3 ตวั อยา่ งกิจกรรม Active Learning
กิจกรรมที่ 1 ข่าวเดน่ ประเดน็ ร้อน 20
กจิ กรรมที่ 2 รางวลั แด่คนช่างฝนั
กิจกรรมที่ 3 ชุมชนงามตา ประชาเปน็ สุข 21
กจิ กรรมท่ี 4 จะใชจ้ ่ายอยา่ งไรดีหนอ 23
กจิ กรรมท่ี 5 ตามลา่ หาสมบัติ 24
กิจกรรมที่ 6 เพอื่ นบา้ นตา่ งเมือง 27
กิจกรรมท่ี 7 มาคานวณกนั เถอะ 30
กิจกรรมท่ี 8 ส่งิ แวดลอ้ มรอบตัว 32
กิจกรรมที่ 9 Good society 35
กิจกรรมท่ี 10 แฟ้มลับ นกั สบื จวิ๋ 38
กจิ กรรมที่ 11 มักคเุ ทศก์น้อย 41
กิจกรรมท่ี 12 ตน้ ตระกูลฉัน 43
เอกสารอา้ งองิ 46
รายชอื่ คณะทางาน 49
52
55
58
59
แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี นสกู่ ารเปน็ Active learner หน้า 1
ตอนที่ 1
แนะนำเอกสำรแนวทำงกำรพัฒนำผ้เู รียนสกู่ ำรเปน็ Active Learner
หลกั กำรและแนวคิด
หลักการและแนวคิดสาคัญที่นามาเป็นหลักการพน้ื ฐานในการจัดทาสื่อนิเทศทางไกล “แนวทางการ
พัฒนาผเู้ รียนส่กู ารเปน็ Active Learner” มีดังน้ี
1. การออกแบบแผนการเรียนรู้ เป็นการวางแผนการจดั การเรยี นการสอน ไว้ลว่ งหนา้ ก่อนการ
จัดการเรียนรู้จริงในชั้นเรียน โดยครูผู้สอนเป็นผู้ออกแบบและเตรียมรายละเอียดของกิจกรรมการเรียนรู้
สาหรับการสอนแต่ละครั้งตามลักษณะกระบวนการเรียนรู้ท่ีเลือกสรรให้ตรงกับหลักสูตรสถานศึกษาและ
สอดคล้องกับบรบิ ท ปญั หา สภาพความต้องการของผู้เรียนแต่ละท้องถน่ิ
2. ศตวรรษที่ 21 (21st Century) เปน็ การนับจานวนปีของครสิ ต์ศักราช ซงึ่ ใชว้ ันท่ี 1 มกราคม
ของทุกปีเป็นวันเปลี่ยนศักราชและเป็นปีท่ีใช้อ้างอิงสากล ทั้งนี้ ศตวรรษที่ 21 เป็นคริสต์ศตวรรษปัจจุบันเริ่ม
นับตงั้ แต่แตว่ นั ที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2001 จนถึงวนั ที่ 31 ธนั วาคม ค.ศ. 2100
3. แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 เป็นแผนการศกึ ษาระดับชาตขิ องประเทศไทยฉบบั
ปัจจุบันที่กาหนดให้ใช้เป็นแนวทางพัฒนาการศึกษาในระยะเวลา 20 ปี คือ ระหว่างปี พ.ศ. 2560-2579
ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการโดยสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้จัดทาขึ้นเพ่ือเป็นกรอบเป้าหมายและทิศ
ทางการจัดการศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอ
ภาคในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ พัฒนากาลังคนให้มี
สมรรถนะในการทางานทส่ี อดคลอ้ งกับความต้องการของตลาดงานและการพฒั นาประเทศ
4. คณุ ลักษณะและทกั ษะในศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) เป็นคุณลกั ษณะและทกั ษะการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนที่ควรจะมีในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงแผนการศึกษาแห่งชาติของประเทศไทย พ.ศ. 2560-2579 ได้กาหนด
เป้าหมายด้านผูเ้ รยี น (Learner Aspirations) โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21 หรอื เรียกเปน็ คาย่อวา่ 3Rs8Cs
การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้เรียนท่ีมีทักษะ (Skill) และมีคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 ตามเป้าหมาย
ของผเู้ รยี นในแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 หรือเรียกได้ว่าเป็น Active Learner สามารถดารงตน
อยู่ในสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็วได้อย่างมีความสุข และเป็นทรัพยากรมนุษย์ท่ีมีคุณค่าต่อการ
พัฒนาประเทศให้เป็นสังคมท่ีมีความมั่นคง มั่งค่ังและยั่งยืน จึงจาเป็นต้องมีการวางแผนการจัดการเรียนรู้โดย
ครูผู้สอน เพื่อให้เป็นแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีความเหมาะสมกับบริบทของผู้เรียน แผนการจัดการ
กิจกรรมการเรียนรู้หรือแผนการจัดการเรียนการสอน ถือว่าเป็นพิมพ์เขียวที่สาคัญสาหรับการจัดกิจกรรมการ
แนวทางการพัฒนาผเู้ รยี นสกู่ ารเปน็ Active learner หน้า 2
เรยี นรู้ให้บรรลตุ ามเปา้ หมายของหลกั สูตร ตลอดจนเหมาะสมกบั ผูเ้ รียนและทอ้ งถ่ิน ดังนั้น การพัฒนาครูผู้สอน
ใหม้ ีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเฉพาะการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ให้มีรูปแบบที่เน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง (Active Learning) ได้ฝึกกระบวนการคิดระดับสูงและพัฒนาผู้เรียน
ให้เกิดการเรียนรตู้ ามเปา้ หมายของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ จึงเปน็ ความจาเปน็ และมคี วามสาคญั ย่ิง
วัตถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื ให้ครผู ูส้ อนมีความรู้ความเข้าใจวธิ ีการจัดการเรยี นรู้ตามแนวทาง Active Learning
2. เพอื่ ให้ครูผสู้ อนมีแนวทางการจดั การเรียนรู้ตามแนวทาง Active Learning ทสี่ อดคล้องเหมาะสม
กบั ผู้เรียนและหลกั สตู รสถานศึกษา
3. เพอื่ ให้ครูผ้สู อนสามารถพัฒนาผ้เู รียนให้เปน็ Active Learner และมคี ุณภาพตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ทกี่ าหนดไวใ้ นหลกั สูตรสถานศกึ ษา และมีคณุ ลักษณะตามเป้าหมายของผเู้ รียนในแผนการศึกษา
แหง่ ชาติ พ.ศ.2560-2579
เน้อื หำสำระสำคัญของแนวทำงกำรพัฒนำผ้เู รยี นสู่กำรเป็น Active Learner
แนวทางการพัฒนาผู้เรียนสู่การเป็น Active Learner มีขอบข่ายเน้ือหาสาระที่เกี่ยวกับความรู้ความ
เข้าใจในกระบวนการวางแผนการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมตามแนวทาง Active Learning และตัวอย่าง
กิจกรรม Active Learning โดยจัดทาเป็นเอกสารแนวทางการจัดกิจกรรมให้ครูผู้สอนศึกษาด้วยตนเอง และ
นาไปบูรณาการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมท้ัง กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และ
กิจกรรมตามนโยบาย ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ พร้อมทั้งมีกิจกรรมตัวอย่าง จานวน 12 กิจกรรม โดยมี
รายละเอียดของเน้อื หาสาระสาคญั ดงั น้ี
1. กำรวำงแผนกำรจัดกำรเรียนรู้
กระทรวงศึกษาธกิ าร ได้กล่าวถงึ ความสาคญั ของการวางแผนการจัดการเรียนร้ไู ว้วา่ การวางแผน
การสอนวา่ เปรียบเสมอื นพิมพเ์ ขียวของการจดั การเรยี นการสอนของครู เพราะเป็นข้ันตอนแรกท่ีครูผู้สอนควร
ตระหนักว่าจะสอนใคร จะสอนเม่ือไร จะสอนเนอื้ หาอะไร จะสอนอย่างไร และจะมีวธิ ีวดั ผลอย่างไร
การที่ครจู ะสอนอะไรนัน้ มิได้หมายความวา่ ครูสอนตามหนังสอื หรอื คดิ จะสอนอะไรก็ได้ที่ครูต้องการ
จะสอน แต่การสอนอะไรในท่ีน้ี หมายถึงส่ิงที่นักเรียนมีความประสงค์ต้องการที่จะเรียน ต้องการท่ีจะรู้ด้วย
เชน่ กนั เพราะฉะนั้นการวางแผนการสอนของครูโดยการกาหนดเนอ้ื หาสาระที่ตรงกับความต้องการของผู้เรียน
จะช่วยให้บทเรียนมีความหมาย มีประโยชน์น่าสนใจมากยิ่งขึ้น ดังนั้น ครูผู้สอนจึงจาเป็นต้องศึกษาและทา
แนวทางการพัฒนาผเู้ รียนสกู่ ารเปน็ Active learner หน้า 3
ความรู้จักกับหลักสูตร การดาเนินการตามหลักสูตร จิตวิทยาการสอน บริบทของท้องถิ่น ภูมิหลังของ
นักเรียน บรรยากาศการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ นกั เรียนเป็นศูนย์กลาง และสภาพแวดล้อมอืน่ ๆ
1.1 องค์ประกอบสำคัญของแผนกำรจดั กำรเรียนรู้ มดี ังนี้
(1) สำระสำคญั เป็นบทสรุปของเน้ือหาเรื่องใดเรอ่ื งหน่งึ ทผ่ี ู้สอนต้องการใหผ้ เู้ รียนจดจาไว้
เพ่ือนาไปใช้ภายหลังจากจบบทเรียนน้ันแล้ว บางครั้งอาจเรียกว่า ประเด็นสาคัญแก่นของเรื่อง หัวใจของ
เรื่อง ตะกอนความรู้ หลักวิชา มโนทัศน์พ้ืนฐาน หรือความคิดรวบยอด (Main Point, Main Idea, Basic
Concept)
(2) จุดประสงค์กำรเรียนรู้ เป็นพฤติกรรมของผู้เรียนท่ีคาดหวังหลังการสอน เช่น ฟัง -
ฟังอะไร - ทาอะไรได้ ซึ่งควรกาหนดเปน็ จุดประสงค์ย่อยหรือจุดประสงค์นาตามลาดับท่ีจะทาให้นักเรียนเกิด
การเรียนรู้ตั้งแตต่ ้นจนถงึ ปลายทาง เปรียบเสมือนบนั ไดที่จะนาไปสูจ่ ุดหมายปลายทาง จุดประสงค์การเรียนรู้
ขอ้ สดุ ท้ายจึงควรเป็นจุดประสงคท์ ีส่ ะทอ้ นถงึ ความสาเรจ็ ของการเรยี นรูใ้ นการเรียนการสอนคร้งั นัน้ ๆ
(3) เนื้อหำสำระ เป็นเน้ือหาท่ีกาหนดขึ้น และตอ้ งสอดคล้องกับจดุ ประสงคป์ ลายทางที่จะใช้
ในแผนการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนแต่ละคร้งั
(4) กิจกรรมกำรเรียนกำรสอน เป็นกระบวนการเรียนการสอนต้ังแต่ต้นจนจบโดยเร่ิมจาก
กิจกรรมเตรียมความพร้อมหรือนาเข้าสู่บทเรียน การแจ้งจุดประสงค์หรือทบทวนความรู้เดิม (ถ้ามี)
กระบวนการเรียนรู้ของศาสตร์หรือธรรมชาติวิชาน้ันๆ การใช้ส่ืออุปกรณ์การเรียนการสอน และการวัดผล
ประเมนิ ผลระหว่างปฏิบตั ใิ นแต่ละจดุ ประสงค์แต่ละข้อทจี่ ะช่วยใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้ และครูผู้สอนสามารถ
ตรวจสอบผลการสอนและพฤตกิ รรมการเรียนรู้ของผู้เรียนไดต้ ้ังแตต่ น้ จนจบ
(5) ส่ือกำรเรียนกำรสอน เป็นการระบุสื่อการเรียนการสอนที่ใช้ในแผนการสอนนั้น เช่น
คลิปวีดีโอ ภาพยนตร์ส้ัน เกม เพลง บัตรคาศัพท์ ภาพ ของจริง ใบความรู้ (Handout) ใบงาน
(Worksheet) ทัง้ น้ี ส่ือแต่ละชนิดควรระบรุ ายละเอียดให้ชัดเจน
(6) กำรวัดและประเมินผล เป็นการระบุวิธีการตรวจสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในแต่ละ
กิจกรรมหรือแต่ละจุดประสงค์การเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้นั้น ในการตรวจสอบควรมี
องค์ประกอบครบ 3 ประการ คือ วิธีวัด เครื่องมือวัด และเกณฑ์การวัด ท้ังนี้ การประเมินผลการเรียนรู้ตาม
สภาพจรงิ ตอ้ งใหค้ รอบคลุมท้งั ความรู้ (K) ทกั ษะ/กระบวนการเรียนรู้ (P) และคุณลักษณะ (A)
(7) กิจกรรมเสนอแนะ เปน็ สว่ นที่ไมส่ ามารถปฏิบัติได้ในเวลาปกติ เช่น แบบฝึกหัดเพ่ิมเติม
หรืองานที่มอบหมายให้นักเรียนปฏิบัติเพ่ิมเติม อาจเป็นงานเดี่ยวหรืองานกลุ่มก็ได้โดยเน้นทักษะท่ีมีความ
เกยี่ วพันกบั ทกั ษะท่ีนักเรยี นไดเ้ รยี นร้ใู นช้ันเรียน ซ่งึ จะช่วยให้ผู้เรยี นไดม้ โี อกาสฝึกทักษะสมั พนั ธอ์ ย่างต่อเน่ือง
แนวทางการพัฒนาผูเ้ รียนสูก่ ารเป็น Active learner หน้า 4
(8) บนั ทกึ หลงั สอน หรือ หลังกำรจดั กิจกรรม เมอ่ื สิน้ สุดการจัดการเรียนรูใ้ นแตล่ ะครัง้ หรือ
แต่ละแผนการจัดการเรียนรแู้ ล้ว ครูผ้สู อนควรไดบ้ ันทึกจุดเด่นหรอื จุดด้อยของการใชแ้ ผนน้นั เพือ่ นาไปเปน็
ขอ้ มูลในการปรับปรุงหรือพฒั นาแผนการจดั การเรยี นรตู้ ่อไป
1.2. ขัน้ ตอนกำรจัดทำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้
(1) ศกึ ษาหลกั สูตรและเอกสารทีเ่ ก่ียวข้อง เชน่
● หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
● หลักสูตรสถานศึกษา
● คมู่ ือกลุ่มสาระการเรยี นรทู้ ่ีเก่ยี วขอ้ ง
● ศกึ ษาเอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เช่น พ.ร.บ.การศกึ ษาแหง่ ชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ
● จิตวิทยาการศึกษา เช่น แนวการสอนตามธรรมชาตวิ ิชานัน้ ๆ เทคนิคการสอน
● กระบวนการเรยี นรู้ลักษณะตา่ ง ๆ เชน่ ความรดู้ า้ นส่ือการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล
(2) วเิ คราะห์คาอธิบายรายวิชา ไดแ้ ก่
● วิเคราะหส์ ่วนที่แสดงมาตรฐานการเรยี นร้แู ละผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวงั ซึ่งต้องการให้เกิด
ใหม้ ี หรือใหเ้ ปน็ ในตัวของผ้เู รียนเมื่อสน้ิ สดุ การเรยี นรู้นนั้
● วิเคราะห์ส่วนที่แสดงขอบขา่ ยเนอ้ื หาสาระ หรอื รายละเอยี ดของรายวชิ านน้ั ๆ
● วิเคราะหส์ ่วนที่แสดงกจิ กรรม ซึ่งบ่งบอกถึงวิธีการทต่ี ้องดาเนินการจดั การเรียนร้ใู ห้แก่
ผูเ้ รียนได้เปน็ ผู้ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม
(3) วเิ คราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้ จดุ ประสงค์ปลายทาง และจุดประสงคน์ าทาง
● จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ได้มาจากการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดใน
หลกั สตู รสถานศึกษา ซึ่งไดก้ าหนดเปน็ จุดประสงค์การเรียนรใู้ นหนว่ ยการเรียนรู้แตล่ ะหนว่ ยแลว้
● จุดประสงค์ปลำยทำง เป็นจุดประสงค์การสอนในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ที่อาจมา
จากจุดประสงค์การเรียนรู้โดยตรง หรือได้จากการจาแนกพฤติกรรมของจุดประสงค์การเรียนรู้ข้อน้ันแตกย่อย
เปน็ จุดประสงค์ปลายทาง ซง่ึ ควรมีจุดประสงคป์ ลายทางเพยี งขอ้ เดียวในหน่งึ แผนการจดั การเรยี นรู้
● จุดประสงค์นำทำง เป็นจุดประสงค์ที่แสดงพฤติกรรมย่อยท่ีจาแนกมาจากจุดประสงค์
ปลายทาง ควรเรียงลาดับตามขั้นตอนการเรียนรู้ หรือตามลาดับจากง่ายไปหายากอย่างเป็นกระบวนการ อัน
จะนาทางให้ผูเ้ รยี นไดเ้ กดิ การเรียนรบู้ รรลุสจู่ ดุ ประสงค์การเรียนรปู้ ลายทางเมื่อสน้ิ สุดการเรยี นรู้ในแผนนัน้ ๆ
แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี นสกู่ ารเปน็ Active learner หนา้ 5
1.3 จัดทำรำยกำรสอน ได้แก่
● จัดเรยี งจดุ ประสงค์การเรยี นร้ตู ามลาดบั ก่อนหลงั หรือตามลาดับทกั ษะการเรียนรู้
● วิเคราะห์เวลาเรียนตามจานวนชว่ั โมงท่ีจัดการเรียนรู้ในรายวิชาน้ัน ๆ โดยพจิ ารณาจาก
หน่วยการเรียนร้ทู กุ หนว่ ยในรายวิชา แลว้ จาแนกเวลาของหน่วยการเรยี นรูแ้ ตกย่อยเป็นจานวนช่วั โมงของ
แผนการจดั การเรยี นรแู้ ต่ละแผน
● วเิ คราะห์จุดประสงค์การเรยี นรทู้ ั้งรายวชิ า โดยประมาณว่าต้องใช้เวลาในการจัดการเรยี นรู้
เปน็ จานวนเทา่ ใดสาหรับแต่ละจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ทง้ั นี้ ต้องสัมพนั ธ์ลงตัวกับจานวนช่ัวโมงทจี่ ดั การเรยี นรู้
ในรายวิชาน้ัน ๆ
1.4 ออกแบบกิจกรรมกำรเรียนรทู้ ่ีเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ
● มกี จิ กรรมท่ใี หผ้ เู้ รยี นเปน็ ผลู้ งมอื ปฏบิ ัตใิ ห้มากที่สดุ โดยครูเปน็ ผ้คู อยชนี้ า กระตุน้ สง่ เสริม
ใหผ้ เู้ รียนดาเนนิ กิจกรรมได้ตามจุดมงุ่ หมาย
● เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเป็นผ้คู ้นพบคาตอบหรือทางานสาเรจ็ ดว้ ยตนเอง โดยครเู ป็นผู้คอยกระตนุ้
ด้วยคาถามหรือปัญหาใหผ้ ู้เรียนไปสู่ความสาเร็จในการปฏิบตั ิกจิ กรรมเอง
● เน้นทักษะกระบวนการในการดาเนินกจิ กรรม ม่งุ ใหผ้ ู้เรียนไดร้ บั ร้แู ละนากระบวนการไปใช้จริง
2. กำรเรียนร้ตู ำมแนวทำง Active Learning
Active Learning หรือ การเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ คือ กระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนได้ลงมือ
กระทาและได้ใช้กระบวนการคิดเก่ียวกับส่ิงที่เขาได้กระทาลงไป เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใต้
สมมตฐิ านพนื้ ฐาน 2 ประการ คอื
(1) การเรยี นรู้เป็นความพยายามโดยธรรมชาตขิ องมนุษย์
(2) แต่ละบุคคลมีแนวทางในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน โดยผู้เรียนจะถูกเปล่ียนบทบาทจากผู้รับความรู้
(receive) ไปสูก่ ารมีสว่ นร่วมในการสร้างความรู้ (co-creators)
ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติหรือการลงมือทา จึงเป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์
ผ่านกระบวนการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนต้องได้มีโอกาสลงมือกระทามากกว่าการฟังเพียงอย่าง
เดียว ครูต้องจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้การเรียนรู้โดยการฝึกปฏิบัติ การลงมือทาจริง การอ่าน การเขียน การ
โต้ตอบ และการวิเคราะห์ปัญหา อีกทั้ง ให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิดข้ันสูง ได้แก่ การวิเคราะห์ สังเคราะห์
และการประเมินคา่ Active Learning จงึ เป็นกระบวนการเรยี นรทู้ ีใ่ ห้ผ้เู รียนได้เรยี นรู้อย่างมคี วามหมาย
โดยการร่วมมือระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ในการน้ี ครูต้องลดบทบาทในการสอนและการให้ข้อความรู้แก่ผู้เรียน
โดยตรงลง แตไ่ ปเพิม่ กระบวนการและกิจกรรมท่ีจะทาให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการทากิจกรรมต่างๆ
แนวทางการพัฒนาผู้เรียนสูก่ ารเปน็ Active learner หน้า 6
มากข้ึน และอย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ โดยการพูด การเขียน การอภิปราย
กบั เพ่อื นๆ
กระบวนการเรยี นรู้ Active Learning ทาใหผ้ ู้เรียนสามารถรักษาผลการเรียนรู้ให้อยู่คงทนได้มากและ
นานกว่ากระบวนการเรียนรู้ Passive Learning เพราะกระบวนการเรยี นรู้ Active Learning สอดคล้องกับ
การทางานของสมองที่เกี่ยวข้องกับความจา โดยสามารถเก็บและจาสิ่งท่ีผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม มี
ปฏิสัมพันธ์ กับเพื่อน ผู้สอน สิ่งแวดล้อม การเรียนรู้ได้ผ่านการปฏิบัติจริง จะสามารถเก็บจาในระบบความจา
ระยะยาว (Long Term Memory) ทาให้ผลการเรียนรู้ ยังคงอยู่ได้ในปริมาณท่ีมากกว่า ระยะยาวกว่า ซ่ึง
อธบิ ายไว้ ดงั รปู
กรวยแห่งกำรเรยี นรู้
จากภาพจะเหน็ ได้วา่ กรวยแหง่ การเรยี นรู้น้ไี ด้แบง่ เปน็ 2 กระบวนการ คือ กระบวนการเรยี นรู้
Passive Learning และกระบวนการเรียนรู้ Active Learning
แนวทางการพัฒนาผเู้ รยี นสกู่ ารเปน็ Active learner หนา้ 7
2.1 กระบวนกำรเรยี นรู้ Passive Learning อธิบายได้ดงั นี้
● กระบวนการเรียนร้โู ดยการอ่านท่องจาผู้เรียนจะจาได้ในสิง่ ทีเ่ รียนไดเ้ พยี ง 10%
● การเรียนร้โู ดยการฟงั บรรยายเพยี งอย่างเดยี วโดยท่ผี ู้เรียนไมม่ โี อกาสได้มีสว่ นร่วมในการเรยี นรู้
ด้วยกจิ กรรมอน่ื ในขณะที่อาจารยส์ อนเมือ่ เวลาผา่ นไปผูเ้ รียนจะจาได้เพียง 20%
● หากในการเรียนการสอนผเู้ รยี นมโี อกาสได้เหน็ ภาพประกอบด้วย กจ็ ะทาให้ผลการเรียนรคู้ งอยู่
ไดเ้ พิ่มขึน้ เปน็ 30%
● กระบวนการเรียนรู้ท่ผี ู้สอนจดั ประสบการณใ์ ห้กบั ผู้เรียนเพ่มิ ขนึ้ เชน่ การให้ดภู าพยนตร์ การ
สาธิต จัดนทิ รรศการให้ผู้เรยี นไดด้ ู รวมท้ังการนาผู้เรียนไปทัศนศึกษา หรอื ดูงาน จะทาใหผ้ ลการเรยี นรู้
เพิม่ ขน้ึ เป็น 50%
2.2 กระบวนกำรเรยี นรู้ Active Learning อธบิ ายได้ดังน้ี
● การให้ผู้เรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรอู้ ย่างมีปฏสิ ัมพนั ธ์จนเกิดความรู้ ความ
เขา้ ใจนาไปประยุกต์ใช้สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินคา่ หรือ สรา้ งสรรคส์ ง่ิ ต่างๆ และพฒั นาตนเอง
เตม็ ความ สามารถ รวมถงึ การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ใหเ้ ขาได้มีโอกาสร่วมอภิปรายให้มโี อกาสฝึกทักษะ
การสื่อสาร ทาให้ผลการเรยี นรเู้ พมิ่ ขนึ้ 70%
● การนาเสนองานทางวชิ าการ เรยี นรู้ในสถานการณจ์ าลอง ท้ังมีการฝึกปฏบิ ัติ ในสภาพจริง มีการ
เชอื่ มโยงกบั สถานการณ์ ต่างๆ ซ่งึ จะทาให้ผลการเรยี นรเู้ กิดขนึ้ ถงึ 90%
2.3 ลักษณะของ Active Learning
(1) เปน็ การเรียนการสอนทพี่ ัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา การนาความรู้
ไปประยุกต์ใช้
(2) เปน็ การเรียนการสอนทเี่ ปิดโอกาสให้ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในการเรยี นรู้
(3) ผ้เู รียนสร้างองคค์ วามรแู้ ละจดั ระบบการเรียนรดู้ ้วยตนเอง
(4) ผู้เรียนมีสว่ นรว่ มในการเรียนการสอน มีการสรา้ งองค์ความรู้ การสรา้ งปฎิสัมพันธ์ร่วมกนั
และรว่ มมือกันมากกวา่ การแขง่ ขัน
(5) ผู้เรียนไดเ้ รียนรู้ความรบั ผดิ ชอบรว่ มกัน การมวี ินยั ในการทางาน และการแบ่งหน้าทค่ี วาม
รับผิดชอบ
(6) เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผเู้ รียนอ่าน พูด ฟัง คดิ
(7) เปน็ กจิ กรรมการเรยี นการสอนเน้นทักษะการคดิ ข้ันสูง
(8) เป็นกจิ กรรมที่เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นบรู ณาการขอ้ มูล, ข่าวสาร, สารสนเทศ, และหลกั การ
สู่การสร้างความคิดรวบยอดความคิดรวบยอด
แนวทางการพัฒนาผ้เู รยี นสูก่ ารเปน็ Active learner หน้า 8
(9) ผู้สอนจะเป็นผูอ้ านวยความสะดวกในการจดั การเรียนรู้ เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นเป็นผปู้ ฏิบตั ิดว้ ย
ตนเอง
(10) ความรูเ้ กิดจากประสบการณ์ การสรา้ งองคค์ วามรู้ และการสรปุ ทบทวนของผู้เรียน
2.4 บทบำทของครู กับ Active Learning
บทบาทของครผู สู้ อนในการจดั กิจกรรมการเรยี นร้ตู ามแนวทางของ Active Learning สรปุ ได้
ดงั นี้
(1) จดั ให้ผเู้ รียนเปน็ ศนู ยก์ ลางของการเรียนการสอน กิจกรรมตอ้ งสะท้อนความตอ้ งการในการ
พัฒนาผ้เู รียนและเนน้ การนาไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตจริงของผเู้ รียน
(2) สร้างบรรยากาศของการมีสว่ นร่วม และการเจรจาโต้ตอบทสี่ ง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนมีปฏิสมั พนั ธ์ท่ดี ี
กับผู้สอนและเพื่อนในชน้ั เรยี น
(3) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นพลวตั สง่ เสริมให้ผ้เู รยี นมสี ว่ นร่วมในทุกกจิ กรรมรวมท้ัง
กระตุน้ ให้ผูเ้ รียนประสบความสาเร็จในการเรียนรู้
(4) จดั สภาพการเรียนรู้แบบรว่ มมอื ส่งเสรมิ ให้เกิดการร่วมมอื ในกลมุ่ ผเู้ รียน
(5) จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนใหท้ า้ ทาย และใหโ้ อกาสผเู้ รยี นไดร้ ับวธิ ีการสอนทห่ี ลากหลาย
(6) วางแผนเกี่ยวกับเวลาในจัดการเรยี นการสอนอย่างชดั เจน ทงั้ ในสว่ นของเนอื้ หา และกจิ กรรม
(7) ครผู สู้ อนตอ้ งใจกวา้ ง ยอมรบั ในความสามารถในการแสดงออก และความคิดเของท่ผี ูเ้ รยี น
2.5 รปู แบบของ Active Learning
การจดั การเรยี นการสอนเพ่อื สนบั สนุนการจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning สามารถสรา้ งให้
เกิดขนึ้ ได้ทง้ั ในและนอกห้องเรียน รวมทง้ั สามารถใช้ได้กับผเู้ รียนทกุ ระดับ ทัง้ การเรยี นรู้เป็นรายบุคคล, การ
เรียนรแู้ บบกลมุ่ เลก็ , และการเรียนรแู้ บบกลุ่มใหญ่ รปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทีจ่ ะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเกดิ
การเรียนรู้แบบ Active Learning ไดด้ ี มดี ังนี้
(1) การเรยี นร้แู บบแลกเปลีย่ นความคดิ (Think-Pair-Share) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ี่ใหผ้ เู้ รียน
คิดเกยี่ วกับประเด็นที่กาหนดคนเดียว 2-3 นาที (Think) จากน้ันให้แลกเปล่ียนความคิดกบั เพ่ือนอีกคน 3-5
นาที (Pair) และนาเสนอความคดิ เหน็ ต่อผ้เู รยี นทง้ั หมด (Share)
(2) การเรยี นรแู้ บบรว่ มมือ (Collaborative learning group) คือการจัดกิจกรรมการเรียนร้ทู ใี่ ห้
ผ้เู รยี นไดท้ างานรว่ มกบั ผ้อู ่ืน โดยจดั กลมุ่ ๆ ละ 3-6 คน
(3) การเรยี นร้แู บบทบทวนโดยผเู้ รียน (Student-led review sessions) คอื การจัดกิจกรรมการ
เรยี นรูท้ เ่ี ปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นได้ทบทวนความรู้และพจิ ารณาข้อสงสยั ตา่ ง ๆ ในการปฏิบัติกจิ กรรมการเรยี นรู้
โดยครจู ะคอยช่วยเหลือกรณีทมี่ ปี ัญหา
แนวทางการพัฒนาผู้เรียนสูก่ ารเป็น Active learner หน้า 9
(4) การเรียนรแู้ บบใช้เกม (Games) คือการจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ผี ู้สอนนาเกมเขา้ มาบรู ณาการใน
การเรียนการสอน ซ่งึ ใชไ้ ด้ท้งั ในขัน้ การนาเขา้ สบู่ ทเรียน, การสอน, การมอบหมายงาน, และหรือข้นั การ
ประเมินผล
(5) การเรียนรแู้ บบวเิ คราะหว์ ีดีโอ (Analysis or reactions to videos) คือการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
ทีใ่ ห้ผเู้ รยี นไดด้ ูวดี ีโอ 5-20 นาที แลว้ ใหผ้ ู้เรยี นแสดงความคิดเห็น หรอื สะท้อนความคดิ เก่ียวกบั ส่ิงทไี่ ดด้ ู อาจ
โดยวิธกี ารพดู โตต้ อบกนั การเขียน หรอื การรว่ มกนั สรปุ เป็นรายกลุม่
(6) การเรียนรู้แบบโตว้ าที (Student debates) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ จี่ ัดใหผ้ ู้เรียนได้
นาเสนอข้อมลู ท่ีไดจ้ ากประสบการณ์และการเรียนรู้ เพือ่ ยืนยันแนวคิดของตนเองหรอื กลุ่ม
(7) การเรยี นรแู้ บบผู้เรียนสร้างแบบทดสอบ (Student generated exam questions) คือการจดั
กิจกรรมการเรียนรูท้ ใ่ี ห้ผู้เรียนสร้างแบบทดสอบจากสิง่ ท่ีไดเ้ รยี นรมู้ าแลว้
(8) การเรยี นร้แู บบกระบวนการวิจัย (Mini-research proposals or project) คือการจดั กจิ กรรม
การเรยี นรู้ท่ีอิงกระบวนการวิจยั โดยใหผ้ ู้เรยี นกาหนดหวั ขอ้ ทตี่ ้องการเรียนรู้ วางแผนการเรยี น เรียนรูต้ ามแผน
สรุปความรหู้ รือสรา้ งผลงานและสะท้อนความคดิ ในสง่ิ ที่ไดเ้ รยี นรู้ หรืออาจเรยี กว่า การสอนแบบโครงงาน
(project-based learning) หรอื การสอนแบบใช้ปญั หาเป็นฐาน (problem-based learning)
(9) การเรียนรู้แบบกรณีศึกษา (Analyze case studies) คือการจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ่ีให้ผ้เู รียน
ได้อ่านกรณีตัวอย่างทตี่ ้องการศกึ ษา จากน้ันใหผ้ ู้เรยี นวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรอื แนวทาง
แกป้ ัญหาภายในกลุ่ม แลว้ นาเสนอความคดิ เห็นตอ่ ผเู้ รียนทั้งหมด
(10) การเรยี นรูแ้ บบการเขียนบนั ทึก (Keeping journals or logs) คือการจัดกิจกรรมการเรียนร้ทู ่ี
ผู้เรยี นจดบันทึกเรอ่ื งราวต่างๆ ท่ีได้พบเห็น หรอื เหตุการณ์ทเี่ กิดขน้ึ ในแตล่ ะวนั รวมท้งั เสนอความคิดเพ่ิมเติม
เกี่ยวกบั บันทึกท่เี ขยี น
(11) การเรียนรู้แบบการเขยี นจดหมายขา่ ว (Write and produce a newsletter) คือการจัดกจิ กรรม
การเรียนรูท้ ี่ใหผ้ ู้เรยี นรว่ มกันผลิตจดหมายขา่ ว อนั ประกอบด้วย บทความ ข้อมูลสารสนเทศ ข่าวสาร และ
เหตุการณท์ ่เี กิดข้ึน แลว้ แจกจ่ายไปยงั บุคคลอ่นื ๆ
(12) การเรียนร้แู บบแผนผงั ความคิด (Concept mapping) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ใ่ี ห้ผู้เรียน
ออกแบบแผนผังความคดิ เพื่อนาเสนอความคิดรวบยอด และความเชื่อมโยงกนั ของกรอบความคดิ โดยการใช้
เส้นเปน็ ตัวเช่อื มโยง อาจจัดทาเป็นรายบคุ คลหรืองานกลมุ่ แล้วนาเสนอผลงานตอ่ ผเู้ รยี นอืน่ ๆ จากนนั้ เปดิ
โอกาสให้ผ้เู รียนคนอ่นื ได้ซักถามและแสดงความคดิ เหน็ เพิ่มเตมิ
แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี นสกู่ ารเป็น Active learner หนา้ 10
3. คุณลักษณะและทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 (3Rs8Cs)
3.1 กำรจดั กำรศึกษำในศตวรรษท่ี 21
โลกในยุคปจั จุบนั มีความเจริญกา้ วหน้าอยา่ งรวดเรว็ อันสบื เนอื่ งมาจากการใช้เทคโนโลยี เพื่อเชื่อมโยง
ข้อมูลต่าง ๆ ของทุกภูมิภาคของโลกเข้าด้วยกัน กระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมท่ี เกิดขึ้นในศตวรรษท่ี 21
ส่งผลต่อวิถีการดารงชีพของสังคมอย่างท่ัวถึง ครูจึงต้องมีความต่ืนตัวและเตรียมความพร้อมในการจัดการ
เรียนรู้ เพื่อเตรยี มความพร้อมใหผ้ เู้ รียนมที กั ษะสาหรบั การออกไปดารงชวี ติ ในโลกศตวรรษที่ 21 โดยทักษะแห่ง
ศตวรรษท่ี 21 ท่ีสาคัญท่ีสุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการเปล่ียนแปลงการจัดการ
เรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 มีความรู้ ความสามารถ และทักษะท่ีจาเป็น ตลอดจนการเตรียมความ
พร้อมด้านต่าง ๆ ที่เป็นปัจจัยสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ดังกล่าว นักวิชาการท่ีมีช่ือเสียงหลายท่าน ได้ให้
แนวความคดิ เกย่ี วกบั ทักษะการเรยี นรสู้ ศู่ ตวรรษที่ 21 ไว้ว่า สาระวิชาก็มีความสาคัญแต่ไม่เพียงพอสาหรับการ
เรียนรู้เพือ่ มีชีวิตในโลกยุคศตวรรษ ท่ี 21 ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชา (content หรือ subject matter) ควร
เปน็ การเรยี นจากการคน้ คว้าเองของผูเ้ รียน โดยครูช่วยแนะนาและช่วยออกแบบกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนแต่ละ
คนสามารถประเมินความก้าวหน้าของการเรยี นรูข้ องตนเองได้ สาระวชิ าหลกั (Core Subjects) ประกอบด้วย
1. ภาษาแม่และภาษาสาคัญของโลก
2. ศลิ ปะ
3. คณิตศาสตร์
4. การปกครองและหนา้ ที่พลเมอื ง
5. เศรษฐศาสตร์
6. วิทยาศาสตร์
7. ภูมิศาสตร์
8. ประวัติศาสตร์
โดยวิชาแกนหลักนีจ้ ะนามาสู่การกาหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตรส์ าคัญตอ่ การจัดการเรยี นรู้
ในเนื้อหาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวข้อสาหรบั ศตวรรษที่ 21 โดยการส่งเสรมิ ความเข้าใจใน
เนอ้ื หาวชิ าแกนหลกั และสอดแทรกทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 เขา้ ไปใน ทกุ วชิ าแกนหลัก ดงั นี้
1. ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
1.1 ความรู้เกี่ยวกบั โลก (Global Awareness)
1.2 ความรูเ้ ก่ยี วกับการเงนิ เศรษฐศาสตร์ ธุรกจิ และการเป็นผ้ปู ระกอบการ (Financial,
1.3 Economics, Business and Entrepreneurial Literacy)
1.4 ความรู้ดา้ นการเป็นพลเมืองทีด่ ี (Civic Literacy)
แนวทางการพัฒนาผเู้ รยี นสู่การเปน็ Active learner หน้า 11
1.5 ความรดู้ า้ นสขุ ภาพ (Health Literacy)
1.6 ความรูด้ า้ นสง่ิ แวดล้อม (Environmental Literacy)
2. ทักษะด้ำนกำรเรียนรูแ้ ละนวตั กรรม จะเป็นตวั กาหนดความพรอ้ มของนกั เรียนเข้าส่โู ลกการ
ทางานท่ีมีความซบั ซอ้ นมากขนึ้ ในปจั จุบัน ไดแ้ ก่
2.1 ความรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์และนวตั กรรม
2.2 การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณและการแกป้ ัญหา
2.3 การส่ือสารและการร่วมมอื
3. ทกั ษะด้ำนสำรสนเทศ สอ่ื และเทคโนโลยี เนื่องด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร
ผา่ นทางส่อื และเทคโนโลยมี ากมาย ผเู้ รยี นจงึ ต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
และปฏบิ ัติงานได้หลากหลาย โดยอาศัยความรู้ในหลายด้าน ดังน้ี
3.1 ความร้ดู ้านสารสนเทศ
3.2 ความรเู้ กี่ยวกบั สอื่
3.3 ความรดู้ า้ นเทคโนโลยี
4. ทักษะด้ำนชีวิตและอำชีพ ในการดารงชีวิตและทางานในยุคปัจจุบันให้ประสบความสาเร็จ
นักเรียนจะต้องพัฒนาทักษะชีวติ ทส่ี าคัญดังต่อไปน้ี
4.1 ความยืดหย่นุ และการปรบั ตัว
4.2 การรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์และเป็นตัวของตวั เอง
4.3 ทกั ษะสังคมและสงั คมขา้ มวัฒนธรรม
4.4 การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเช่ือถือได้
(Accountability)
4.5 ภาวะผ้นู าและความรบั ผิดชอบ (Responsibility)
ดังนั้น ในการจัดการเรียนรู้ในสาระวิชาต่าง ๆ ควรมีการประสานเร่ืองทักษะในศตวรรษที่ 21 เข้าไป
ดว้ ย ซึ่งทักษะเหลา่ นีป้ ระกอบด้วย 3 กล่มุ คือ
(1) กลุ่มของทักษะกำรเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) ประกอบด้วย การ
คิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) การคิดอย่างมี วิจารณญาณและการแก้ปัญหา
(Critical Thinking and Problem Solving) และการสื่อสารและ การทางานอย่างร่วมแรงร่วมใจ
(Communication and Collaboration)
แนวทางการพฒั นาผ้เู รียนสู่การเป็น Active learner หน้า 12
(2) กลุ่มของทักษะเก่ียวกับข้อมูล ส่ือ เทคโนโลยี (Information, Media & Technology Skills)
ในประเด็นของทักษะเก่ียวกับข้อมูล ส่ือ เทคโนโลยี ยังมีประเด็นย่อยที่ต้องทาความเข้าใจ ได้แก่การรู้เก่ียวกับ
ข้อมูล (Information Literacy) การรเู้ กีย่ วกับสอ่ื (Media Literacy)
(3) กลุ่มของทักษะเก่ียวกับชีวิตและอำชีพ (Life and Career Skills) ประกอบด้วย ความสามารถ
ในการยืดหยุ่นและปรับตัว (Flexibility and Adaptability) ความมุ่งม่ันในการทางาน และการควบคุมตนเอง
(Initiative and Self-direction) ทักษะทางสังคมและการอยู่ท่ามกลาง ความหลากหลาย (Social and
Cross-culture Skills) ทักษะความมุ่งเน้นผลงานและการนับได้ (Productivity and Accountability) และ
ความเปน็ ผู้นาและความรับผดิ ชอบ (Leadership and Responsibility)
3.2 คุณลักษณะและทกั ษะในศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) ตำมแผนกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ
พ.ศ. 2560-2579
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 กาหนดวิสัยทัศน์ (Vision) ไว้คือ “คนไทยทุกคนได้รับ
การศึกษาและเรยี นรตู้ ลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” โดยมีวัตถปุ ระสงคใ์ นการจัดการศกึ ษา 4 ประการ คือ
(1) เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาทีม่ ีคุณภาพและมปี ระสิทธภิ าพ
(2) เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับบทบัญญัติ
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ และยุทธศาสตร์ชาติ
(3) เพื่อพฒั นาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมือ
ผนกึ กาลงั มุ่งส่กู ารพฒั นาประเทศอยา่ งยัง่ ยืน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
(4) เพือ่ นาประเทศไทยก้าวข้ามกบั ดกั ประเทศทม่ี รี ายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้าภายในประเทศ
ลดลง
เพอื่ ใหบ้ รรลุวิสัยทศั น์และจดุ มงุ่ หมายในการจัดการศึกษาดงั กล่าวข้างต้น แผนการศึกษาแห่งชาติ
จึงได้วางเป้าหมายไว้ 2 ด้าน คือ เป้าหมายด้านผู้เรียน (Learner Aspirations) และเป้าหมายของการจัด
การศึกษา (Aspirations) ในที่นี้เพื่อให้เนื้อหาความรู้ตรงกับหลักสูตรการพัฒนาครู จึงขอกล่าวถึงเฉพาะ
เป้าหมายด้านผู้เรียนซ่ึงมีเป้าหมายมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ ท่ี
21 หรือเรียกย่อวา่ 3Rs8Cs ประกอบดว้ ย ทักษะและคณุ ลักษณะต่อไปน้ี
แนวทางการพัฒนาผ้เู รียนสู่การเปน็ Active learner หน้า 13
3Rs ไดแ้ ก่ การอ่านออก (Reading) การเขยี นได้ (Writing) และการคิดเลขเปน็ (Arithmetics)
8Cs ไดแ้ ก่
1. ทกั ษะด้านการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปญั หา (Critical Thinking
and Problem Solving)
2. ทักษะด้านการสรา้ งสรรค์และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)
3. ทักษะด้านความเขา้ ใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross – cultural
Understanding)
4. ทักษะด้านความร่วมมอื การทางานเปน็ ทีม และภาวะผู้นา (Collaboration, Teamwork
and Leadership)
5. ทกั ษะดา้ นการสื่อสาร สารสนเทศ และการรู้เทา่ ทันส่ือ (Communications,
Information and Media Literacy)
6. ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอ่ื สาร (Computing and
ICT Literacy)
7. ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills)
8. ความมีเมตตา กรุณา มวี นิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)
3.3. ปจั จัยสนบั สนุนกำรเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21
องค์ประกอบท่ีสาคัญและจาเป็นเพื่อในการเรียนรู้ของนักเรียนทักษะในศตวรรษที่ 21 คือ มาตรฐาน
ศตวรรษท่ี 21 การประเมนิ ผลหลกั สูตรการเรยี นการสอน การพัฒนาอาชพี และสภาพแวดลอ้ มการเรยี นรู้
ซ่ึงจะต้องสอดคล้องกับระบบสนับสนุนการผลิตท่ีก่อให้เกิดผลลัพธ์ในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียน
รายละเอียดปจั จัยสนบั สนุนมีดงั น้ี
(1) ระบบมาตรฐานการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 (21st Century Standards)
1.1 การใช้ข้อมูลความจริงจากกระบวนการสังเกต ต้ังประเด็นคาถามจากแหล่งเรียนรู้ชุมชน
เช่อื มโยงไปสสู่ าระการเรียนรรู้ ายวชิ า
1.2 การบูรณาการความรู้ และความซ้าซอ้ นของเนอ้ื หาสาระ
1.3 การสร้างทกั ษะการสืบคน้ รวบรวมความรู้
1.4 การสร้างความรู้ ความเขา้ ใจเชงิ ลกึ มากกวา่ แบบผวิ เผนิ
1.5 การสร้างความเชี่ยวชาญตามความถนดั และสนใจให้เกิดกบั ผเู้ รยี น
1.6 การใช้หลักการวัดประเมินผลทม่ี ีคณุ ภาพระดับสูง
แนวทางการพฒั นาผู้เรียนส่กู ารเป็น Active learner หน้า 14
(2) ระบบการประเมนิ ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 (Assessment of 21st Century Skills)
2.1 สร้างความสมดุลในการประเมินผลเชิงคุณภาพ (ความรู้ ความถนัดสาขาอาชีพ ทัศนคติต่อ
การทางานและอาชีพ)
2.2 นาประโยชน์ของผลสะท้อนจากการปฏิบัติของผู้เรียนมาปรับปรุงการแก้ไขงาน (เคร่ืองมือ
วดั ผลตามสภาพจรงิ การปฏบิ ัติ ทัศนคติ และความรู้)
2.3 ใช้เทคโนโลยีเพ่ือยกระดับการทดสอบวัดและประเมินผลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
(คลังขอ้ สอบระบตุ ัวชี้วัดมาตรฐานรายวชิ า ระบุระดบั ขน้ั พฤตกิ รรม)
2.4 สร้างและพัฒนาระบบแฟ้มสะสมงาน (Portfolios) และเส้นทางการศึกษาต่อสู่การประกอบ
อาชพี (Career Path) ของผู้เรยี นใหเ้ ป็นมาตรฐานและมีคณุ ภาพ
(3) ระบบหลักสูตรและการสอนในศตวรรษท่ี 21 (21st Century Curriculum & Instruction)
3.1 สอนให้เกิดทักษะการเรยี นในศตวรรษท่ี 21 มุ่งเน้นเชิงสหวทิ ยาการ (Interdisciplinary:
ความรูท้ ีไ่ ดจ้ ากหลายสาขาวิชาประกอบกัน) ของวิชาแกนหลัก
3.2 สร้างโอกาสท่ีจะประยุกต์ทักษะเชงิ บรู ณาการขา้ มสาระเนือ้ หา และสร้างระบบการเรียนรู้
ท่ีเน้นสมรรถนะเปน็ ฐาน (Competency-based)
3.3 สร้างนวตั กรรมและวธิ กี ารเรยี นรใู้ นเชิงบูรณาการทีม่ ีเทคโนโลยีเปน็ ตัวเกื้อหนุน การเรียนรู้
แบบสืบค้น และวิธีการเรยี นจากการใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem-based)
3.4 บูรณาการแหล่งเรยี นรู้ (Learning Resources) จากชมุ ชนเข้ามาใช้ในโรงเรียนตาม
กระบวนการเรยี นรู้แบบ Project-Based Learning: PBL
(4) ระบบการพฒั นาทางวชิ าชีพในศตวรรษที่ 21 (21st Century Professional Development)
4.1 ฝึกฝนทกั ษะความรู้ความสามารถในเชงิ บูรณาการ
4.2 ใช้มติ ขิ องการสอนดว้ ยเทคนิควธิ กี ารสอนทหี่ ลากหลาย
4.3 ฝึกฝนทักษะความรู้ความสามารถในเชงิ ลกึ เก่ียวกบั การแก้ปัญหา การคิดแบบวจิ ารณญาณ
4.4 สามารถวเิ คราะหผ์ ู้เรียนได้ทง้ั รปู แบบการเรยี น สติปัญญา จุดอ่อน จุดแข็ง ในตวั ผเู้ รียนและ
สามารถวจิ ัยเชิงคุณภาพที่มุง่ ผลตอ่ คุณภาพของผู้เรียน
4.5 พฒั นาความสามารถใหส้ ูงข้นึ นาไปใช้สาหรบั การกาหนดกลยทุ ธ์และจัดประสบการณ์
ทางการเรียนไดเ้ หมาะสมกับบริบททางการเรยี นรู้
4.6 ประเมินผ้เู รยี นอย่างต่อเน่ือง เพ่ือสรา้ งทักษะและเกดิ การพัฒนาการเรยี นรู้
4.7 แบง่ ปันความร้รู ะหวา่ งชมุ ชนทางการเรียนรู้ โดยใช้ชอ่ งทางหลากหลายในการสือ่ สาร
แนวทางการพัฒนาผูเ้ รยี นสู่การเป็น Active learner หน้า 15
(5) ระบบสภาพแวดล้อมทางการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Environment)
5.1 สร้างสรรคแ์ นวปฏิบตั ทิ างการเรียน การรบั การสนับสนนุ จากบคุ ลากรและสภาพแวดลอ้ มทาง
กายภาพที่เกอ้ื หนนุ เพ่ือชว่ ยใหก้ ารเรียนการสอนบรรลุผล
5.2 สนับสนุนทางวชิ าชีพแกช่ ุมชนทัง้ ในดา้ นการใหก้ ารศกึ ษา การมีสว่ นร่วม การแบ่งปนั ส่ิงปฏบิ ัติ
ทเี่ ป็นเลิศระหว่างกัน รวมทัง้ การบูรณาการหลอมรวมทกั ษะหลากหลายสกู่ ารปฏบิ ัติในชั้นเรยี น
5.3 สรา้ งผูเ้ รยี นเกดิ การเรยี นรจู้ ากสงิ่ ที่ปฏบิ ัตจิ รงิ ตามบรบิ ท โดยเฉพาะการเรยี นแบบโครงงาน
5.4 สร้างโอกาสในการเข้าถึงสื่อเทคโนโลยเี ครอ่ื งมือหรือแหลง่ การเรียนร้ทู ่ีมีคณุ ภาพ
3.4 คุณลกั ษณะจำเปน็ 8 ประกำรสำหรับผ้เู รยี นยุค Gen Net / Tweenies
(1) ความรบั ผดิ ชอบและพึง่ พาตนเองในการเรียนรู้ (Autonomous Learning)
หมายถึง ความสามารถของผเู้ รยี นในการวางแผนการเรยี นรู้ของตนเอง ตงั้ เป้าหมายการเรยี นรู้
ของตน รจู้ กั วิธีการในการไปถึงเป้าหมายนัน้ ๆ อย่างยดื หยนุ่ ตลอดจนการมวี ินัยในการเรียนรขู้ องตนเอง โดยท่ี
ไมต่ ้องให้มผี ใู้ ดมาบังคับ รวมท้ังการมีความเป็นผใู้ หญภ่ ายในตนเอง ทักษะประการแรกน้ี ถือวา่ มคี วามสาคญั
มากเป็นอนั ดับแรกและเป็นทักษะท่ตี ้องการ การปลูกฝงั ไม่เพียงแต่จากครผู ูส้ อน จากระบบการศกึ ษา หรือจาก
สังคมเทา่ น้ัน หากยังต้องอาศัยสงิ่ แวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การปลูกฝังจากครอบครวั เป็นสาคัญ
(2) ทกั ษะดา้ นการคดิ (Thinking Skills)
หมายถึง การทผ่ี เู้ รียนสามารถพัฒนาหรือได้รับการฝกึ ฝนทักษะการคิดอยา่ งมรี ะบบ ส่งผลให้
สามารถคิดได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพการฝกึ ฝนทักษะดา้ นการคดิ น้นั ประกอบไปดว้ ยการคดิ ในหลายลกั ษณะ แต่ที่
สาคญั มากสาหรับผู้เรยี นยุค Gen Net/Tweenies ได้แก่ การพฒั นาทกั ษะการคิดอย่างสร้างสรรค์ (Creative
Learners) การคดิ วิเคราะห์ (Analytical Thinkers) การคิดไตรต่ รอง (Reflective Thinking) รวมทัง้ ทกั ษะ
ในการคดิ แก้ปัญหา (Problem Solvers)
(3) ทักษะในการทางานร่วมกบั ผู้อ่ืนอยา่ งมีประสิทธิภาพ (Effective Collaborators)
หมายถึง การที่ผู้เรียนมีความสามารถในการประสานงานกับผอู้ น่ื ได้เปน็ อย่างดี มที ักษะของ
การเป็นผู้นารวมทั้งการเป็นผู้ตามท่ีดี สามารถสอื่ สารกับผู้อ่ืนในการดาเนินงานตา่ งๆ เชน่ การมอบหมายงาน
การถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ เป้าหมายรว่ มกันใหก้ ับผู้ร่วมงานอ่ืนๆ ได้ รวมท้ังการเปน็ ผูฟ้ งั และผู้ร่วม
ปฏิบตั งิ านทีด่ ี โดยผเู้ รยี น Gen Net/Tweenies ควรไดร้ ับการฝกึ ให้มีทกั ษะในการเรยี นรู้แบบมสี ่วนร่วม
(Collaborative Learning) โดยทักษะทีต่ ้องมงุ่ เน้น ได้แก่ ทกั ษะพนื้ ฐานด้านการสื่อสาร (Communication
Skill) อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี นสู่การเป็น Active learner หน้า 16
(4) ทักษะในการสบื เสาะคน้ หา (Enquirers)
หมายถึง การทีผ่ ู้เรยี นมคี ุณลกั ษณะของการเปน็ นักสารวจที่ดีชอบที่จะศกึ ษาคน้ คว้าส่ิงตา่ งๆ
เพื่อพสิ จู น์สมมตฐิ านของตน โดยสังเกตเปรยี บเทียบความเหมอื นความแตกต่าง รวมทง้ั สืบคน้ เพื่อการศึกษา
คน้ ควา้ ความรู้ ข้อมูล สารสนเทศทีม่ ีอยู่อยา่ งมหาศาลท้ังในปจั จุบนั และในอนาคต ทักษะสาหรับการสบื เสาะ
ค้นหาน้ีครอบคลมุ การทผ่ี เู้ รียนจะตอ้ งมีทักษะในการเลือกสรร/คดั กรองสารสนเทศท่ีเหมาะสม เพื่อใหส้ ามารถ
คน้ หาสารสนเทศทีต่ ้องการได้อยา่ งเทีย่ งตรง รวดเร็ว อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
(5) ความกระตือรือร้น (Active Learners)
หมายถึง การทีผ่ ู้เรยี นจะตอ้ งเปน็ ผ้เู รียนในลกั ษณะเชงิ รุก กล่าวคอื ไม่เป็นเพียงผู้ฟงั (น่ิงๆ) ทดี่ ี
ในช้นั เรยี นหรอื ในการเรียนออนไลน์ผ้เู รยี นเชงิ รกุ หมายถงึ การที่ผเู้ รยี นจะต้องเปน็ ผ้รู ่วมมอื ทดี่ ีของผเู้ ชี่ยวชาญใน
การเรยี นรูด้ ้วยตนเอง สาหรบั ในการเรยี นจากผเู้ ช่ยี วชาญนั้น ผเู้ รยี นควรให้ความใสใ่ จในการเรียนรู้ (Attentive)
ศึกษาเน้ือหา รู้จกั ถาม/ตอบคาถามในบริบทที่เออ้ื อานวยต่อการเรียนรู้ท่ีมคี วามหมายให้ดยี ง่ิ ข้ึน รวมทัง้ การ
ฝกึ ฝนทกั ษะในดา้ นการแสดงออกหรอื แสดงความคิดเหน็ อย่างเหมาะสมและถกู กาลเทศะ
(6) ทักษะพ้นื ฐานดา้ นไอซที ี (ICT Skills)
ในทีน่ ้ไี มไ่ ดห้ มายเฉพาะถึงการที่ผู้เรยี นมีทกั ษะพ้นื ฐานในดา้ นการใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์
ปฏิบตั ิการ หรอื โปรแกรมสานักงานเทา่ นนั้ หากหมายรวมถึงการทีผ่ เู้ รยี นสามารถดแู ลรักษาเครื่องมือและ/หรือ
ระบบตา่ งๆ ได้ในระดบั พนื้ ฐาน นอกจากนยี้ งั หมายถงึ ความสามารถของผู้เรียนในการใช้เทคโนโลยี
คอมพวิ เตอร์และสือ่ สารโทรคมนาคมในการเรียนรู้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ครอบคลมุ ทักษะตา่ งๆ ที่เก่ยี วข้อง
ได้แก่ ทกั ษะในการสืบค้น (Search Skills) ทกั ษะในดา้ นการใช้เครอื่ งมือตดิ ต่อสอ่ื สารผา่ น ICT และ/หรอื
ทกั ษะในการเลอื กใช้ซอฟต์แวรท์ ่เี หมาะสม เป็นตน้
(7) ทกั ษะในด้านการใช้ภาษาสากล (Second Language Skills)
หมายถงึ การพัฒนาผู้เรียนใหม้ ีทกั ษะ ความรแู้ ละความสามารถในการใชภ้ าษาทส่ี อง เป็น
ภาษาทีไ่ มใ่ ช่ภาษาแมห่ รือภาษาหลักของสังคมทีต่ นอาศยั อยใู่ นระดับที่สามารถติดต่อสื่อสารกับผอู้ ืน่ ได้ เป็น
อย่างดี ภาษาสากลสาหรบั สังคมไทยทถ่ี ือได้ว่าสาคัญมากที่สดุ คอื ภาษาอังกฤษ เพราะถือเปน็ ภาษาสากลที่
ได้รับการนาไปใช้อย่างแพรห่ ลายมากทีส่ ุดในโลกอินเทอรเ์ น็ต ดงั นนั้ ในการเตรียมความพร้อมของผ้เู รียน
สาหรบั การเรียนรูใ้ นยคุ สมัยหน้าน้นั ควรมีการเตรียมพร้อมผู้เรียนในดา้ นภาษาอังกฤษ
(8) ความสนใจในวฒั นธรรม (Engaged with Cultures) และความตระหนกั ถึงความเปน็ ไปในโลก
(World Awareness)
หมายถึง การปลูกฝงั ให้ผูเ้ รยี นเปน็ ผู้ท่ีใส่ใจและเห็นคณุ ค่าในวฒั นธรรมของตนเอง อย่างน้อยใน
ระดบั ท่ีเพียงพอทจ่ี ะทาใหร้ ู้จกั ตนเอง รูจ้ ัก “ราก” หรอื ประวัติศาสตรข์ องตนเองและสงั คมที่อาศยั อยู่ (Self-
Identity) เพอื่ จะไดส้ ามารถเปรียบเทียบความเหมือน หรอื แตกตา่ งกบั สังคม/โลกรอบตนเองได้โดยเฉพาะอย่าง
แนวทางการพฒั นาผู้เรยี นสู่การเป็น Active learner หน้า 17
ยง่ิ ในยุคโลกาภิวฒั น์ (Globalization) ซง่ึ การเชื่อมต่อกันบนโลกสามารถเกิดขน้ึ ได้ภายในพรบิ ตา ความ
แตกต่างทางวัฒนธรรมนบั วันจะน้อยลงทุกทีการท่ีพลเมืองในสงั คมใดสามารถจะคงไว้ในวัฒนธรรมทดี่ ขี อง
ตนเองไว้ได้ ในขณะเดยี วกันก็สามารถเปดิ รับวฒั นธรรมและความเป็นไปในทางทด่ี ีของโลกภายนอกได้ ซึง่ จะ
ทาให้สงั คมนัน้ มคี วามไดเ้ ปรยี บเหนอื สงั คมท่ไี ม่ร้จู ักเหน็ คุณคา่ ในวฒั นธรรมของตนเอง และคอยท่จี ะรับเอา
วฒั นธรรมของคนอนื่ ๆ เขา้ มาเพียงทางเดยี ว
คุณลกั ษณะจาเปน็ 8 ประการของผเู้ รียนในอนาคต หรอื Gen Net/Tweenies เปน็ คณุ ลกั ษณะที่
สาคญั ตอ่ การเรยี นรูใ้ นสง่ิ แวดลอ้ มของศตวรรษที่ 21 อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ซ่ึงนอกจากตัวผเู้ รียนเองแลว้ ผูส้ อน
หรือผู้ที่เก่ียวข้องในการจัดการศึกษา ครอบครัว และผเู้ กี่ยวขอ้ งทุกฝา่ ยควรให้ความสาคัญกับคุณลักษณะ
ดังกล่าว เพื่อรว่ มกนั เตรียมความพร้อมสาหรบั ผเู้ รียนตอ่ ไป
คณุ ลักษณะของผู้สอนในศตวรรษที่ 21 (21st Century Teachers) เม่ือผ้เู รียนยุค GenNet /
Tweenies ตอ้ งการคุณลักษณะที่จาเปน็ 8 ประการเพื่อการเรยี นร้อู ยา่ งมีประสทิ ธิภาพในสิ่งแวดลอ้ มของ
ศตวรรษท่ี 21 ผู้สอนก็จาเป็นต้องมีทักษะ 8 ประการดว้ ยกัน เพ่ือท่ีจะสร้าง/ส่งมอบ/ถ่ายทอดความรู้และทักษะ
ใหแ้ กผ่ เู้ รยี นได้ เรียกว่าเปน็ “ผสู้ อนพันธุ์ C” (C-Teachers)
C-Teachers ในที่น้ไี ม่ไดห้ มายถึง ผูส้ อนระดับซีแต่อย่างใด หากหมายความถงึ ผูส้ อนท่ีมที กั ษะตา่ ง ๆ
ซึง่ มคี วามจาเป็นตอ่ การเรยี นการสอนในอนาคตนนั่ เอง C-Teachers1 ประกอบไปด้วยทกั ษะท่จี าเปน็ 8
ประการได้แก่
1. C-Content
หมายถงึ หมายถึง การทผ่ี ู้สอนต้องเปน็ ผ้เู ชยี่ วชาญเนอ้ื หาที่ตนรบั ผดิ ชอบในการสอน C-Content
ถือเปน็ ลักษณะท่ีจาเปน็ อยา่ งท่ีสดุ และขาดไม่ได้สาหรบั ผูส้ อน เพราะถึงแมผ้ สู้ อนจะมีทักษะ C อื่นที่เหลือ
ทั้งหมด แตห่ ากขาดซ่ึงความเชยี่ วชาญในเนอื้ หาการสอนของตนแล้ว เป็นไปไม่ได้เลยทีผ่ ู้เรยี นจะสามารถเรยี นรู้
จากกิจกรรมทีเ่ กิดข้ึนจากผู้สอนที่ไม่แมน่ ในเนือ้ หา หรือไม่เขา้ ใจในส่ิงท่ีตนพยายามถ่ายทอด/สง่ ผา่ นให้แก่
ผู้เรยี น
2. C-Computer (ICT) Integration
หมายถึง การทผ่ี สู้ อนมีทักษะในการใช้คอมพวิ เตอรใ์ นการบูรณาการกับการเรียนการสอนในช้นั
เรียน เหตุผลสาคญั ท่ผี ู้สอนจาเปน็ ต้องมีทักษะด้านการประยุกตค์ อมพวิ เตอรเ์ ป็นเครื่องมือหนงึ่ ในการออกแบบ
กจิ กรรมการเรยี นรู้ นอกจากจะเป็นการติดอาวธุ ด้านทักษะในการใช้ ICT โดยทางอ้อมให้แก่ผ้เู รยี นแล้ว หากมี
การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรอู้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพก็ยังสามารถส่งเสรมิ ทักษะกระบวนการคิดของผเู้ รยี นได้
เปน็ อย่างดี
แนวทางการพฒั นาผู้เรียนสูก่ ารเป็น Active learner หนา้ 18
3. C-Constructionist
หมายถึง การท่ผี ู้สอนเปน็ ผสู้ ร้างสรรค์มคี วามเขา้ ใจเกี่ยวกับแนวคดิ Constructionism ซ่ึงมุ่งเนน้
ว่า การเรยี นรู้จะเกดิ ข้นึ ได้นัน้ เป็นเรอ่ื งภายในของตวั บุคคลจากการท่ีไดล้ งมือทากจิ กรรมใดๆ ให้เกดิ การ
สรา้ งสรรค์ความรใู้ หม่ท่เี ชอื่ มโยงกบั ประสบการณ์หรือความรูเ้ ดมิ ท่ีอยู่ในตวั บุคคลนน้ั มาก่อน ผู้สอนทีเ่ ป็นผู้
สรา้ งสรรคไ์ มเ่ พียงแต่ใช้ทักษะน้ีในการพฒั นาในด้านของเน้ือหาความรใู้ หม่สาหรบั ผูเ้ รยี น หากยังสามารถ
นาไปใช้ในการสรา้ งแผนการเรียนรตู้ า่ งๆ ซ่ึงครอบคลมุ กจิ กรรมทส่ี ่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นเปน็ ผสู้ รา้ งความรู้ข้ึนใน
ตนเอง ผา่ นการลงมือผลติ ชนิ้ งานตา่ งๆ เช่น งานศิลปะ การเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ฯลฯ
4. C-Connectivity
หมายถงึ การท่ีผสู้ อนมีทกั ษะในการจดั กิจกรรมทเ่ี ชื่อมโยงระหวา่ งผูเ้ รียนด้วยกัน เพ่ือนอาจารย์
ทั้งในสถานศึกษาเดยี วกนั และต่างสถานศึกษา หรือเช่ือมโยงสถานศึกษา บ้าน และ/หรือชมุ ชนเข้าเป็นสว่ นหนงึ่
ของสิง่ แวดล้อมการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน เนอ่ื งจากแนวคิดท่ีว่าการเรยี นร้จู ะเกิดข้ึนได้อย่างดี เมื่อส่ิงทีเ่ รยี นรู้
มีความสัมพนั ธโ์ ดยตรง หรือเก่ยี วขอ้ งกบั ความสนใจ ประสบการณ์ ความเชอื่ สงั คม และวัฒนธรรมของผูเ้ รยี น
การท่ผี ้สู อนสามารถเช่อื มโยงสง่ิ ทผี่ ู้เรียนเรยี นร้ใู นช้ันเรยี นกับเพอื่ น อาจารยใ์ นสถานศกึ ษา บ้าน และ สงั คม
แวดล้อมท่ผี ูเ้ รยี นเปน็ สว่ นหนึ่งได้มากเท่าใดก็ย่อมทาใหผ้ ู้เรียนเกิดการเช่ือมโยงระหวา่ งสิ่งทีเ่ รยี นรู้กบั
ประสบการณ์ตรงได้มากเท่านั้น
5. C-Collaboration
หมายถงึ การทผ่ี สู้ อนมีความสามารถในการเรยี นรู้แบบรว่ มมือกนั กับผ้เู รียนได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
กล่าวคอื ผูส้ อนจะต้องมที ักษะในบทบาทของการเปน็ โคช้ หรอื ที่ปรกึ ษาท่ีดีในการเรียนรู้ (ส่วนใหญจ่ ะอยใู่ น
ลกั ษณะของการเรยี นรู้ด้วยตนเอง) ของผู้เรียน รวมท้งั การเปน็ ผเู้ รียนเองในบางครงั้ ทักษะสาคัญของการเปน็
โค้ชหรอื ท่ีปรกึ ษาทีด่ ีน้นั ได้แก่ การสรา้ งฐานการเรยี นรู้ให้กบั ผู้เรียนเปน็ ระยะ อย่างเหมาะสม อานวยให้ผเู้ รยี น
เกดิ ฐานการเรยี นรู้ทจี่ ะต่อยอดการเรยี นรู้แบบมีส่วนรว่ มข้ึนได้ ทัง้ น้ีการเรียนร้จู ะเกิดขน้ึ ในผูเ้ รยี นไดอ้ ย่างจากัด
หากปราศจากซง่ึ ฐานการเรยี นรู้ทีเ่ หมาะสมจากผ้สู อน
6. C-Communication
หมายถึง การทผี่ สู้ อนมีทกั ษะในการส่อื สารกับผู้เรียนได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ซง่ึ มิใชเ่ ฉพาะการ
พฒั นาให้เกิดทักษะของเทคนิคการสือ่ สารท่ีดี เช่น การอธบิ ายด้วยคาพดู ข้อความ ยกตัวอยา่ ง ฯลฯ เท่านัน้
หากยงั หมายรวมถึงการเลือกใช้ส่อื (Media) ที่หลากหลายท่ีชว่ ยให้ผู้สอนสามารถส่งผา่ นเนอื้ หาสาระที่ต้องการ
จะนาเสนอ หรือสรา้ งส่ิงแวดล้อมที่เอื้อใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองได้อยา่ งเหมาะสม
แนวทางการพฒั นาผ้เู รยี นสู่การเปน็ Active learner หนา้ 19
7. C-Creativity
หมายถึง การที่ผู้สอนเป็นผ้ทู ่ีมีความคิดสรา้ งสรรค์ เพราะบทบาทของผู้สอนในยุคศตวรรษที่ 21 นั้น
ไม่ได้มุ่งเนน้ การเปน็ ผู้ปอ้ น/ส่งผา่ นความรู้ให้กับผู้เรยี นโดยตรง หากมุ่งไปสู่บทบาทของการสร้างสรรค์ออกแบบ
สิง่ แวดล้อมการเรยี นรู้ทเ่ี อ้ือให้ผูเ้ รียนเกิดการเรยี นรดู้ ้วยตนเองของผ้เู รยี น ผ้สู อนจะไดร้ ับการคาดหวงั ให้
สามารถ ทีจ่ ะรงั สรรค์กิจกรรมใหมๆ่ ต่างๆ ท่สี ่งเสริมการเรียนรูข้ องผู้เรียน
8. C-Caring
หมายถึง การทีผ่ ้สู อนจะต้องมีความมทุ ติ า ความรกั ความปรารถนา และความห่วงใยอย่างจรงิ ใจ
แก่ผู้เรียน ทกั ษะทงั้ หมดทไ่ี ด้กล่าวมาน้นั ทกั ษะ Caring นบั วา่ เปน็ ทกั ษะทสี่ าคัญทสี่ ุด ทั้งนเี้ พราะความมีมุทติ า
รกั ปรารถนาดี และห่วงใยกบั ผเู้ รียนของผู้สอนนั้นจะทาใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ความเชื่อใจต่อผู้สอน แม้ว่าโลกก้าวเข้าสู่
ศตวรรษที่ 21 มาไดร้ ะยะหน่ึงแลว้ แตก่ ารเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ยังคงถือวา่ เปน็ เรอื่ งใหม่ซงึ่ นักการศึกษาทั่ว
โลกยังคงให้ความสนใจ อยา่ งไรกด็ ีสิ่งสาคัญมากท่สี ดุ สง่ิ หน่ึงทจ่ี ะนาไปสู่การเปล่ียนแปลงดงั กล่าว คอื ความ
พร้อมของทัง้ ผสู้ อนและผเู้ รยี น ความจาเป็นเรง่ ด่วนคงจะไดแ้ ก่ การเตรียมความพร้อมของผสู้ อนกับบุคลากร
ทางการศกึ ษาทเ่ี ก่ียวขอ้ งและผู้เรียน การทบทวนหลกั สตู รทีใ่ ชใ้ นการสอน
แนวทางการพัฒนาผ้เู รยี นสกู่ ารเป็น Active learner หนา้ 20
ตอนที่ 2
วิธีกำรใช้แนวทำงกำรพัฒนำผเู้ รียนสกู่ ำรเปน็ Active Learner
แนวทางการพัฒนาผู้เรยี นสกู่ ารเปน็ Active Learner มีลกั ษณะสาคัญในการใช้ 2 ลกั ษณะ คอื
ลักษณะที่ 1 เพื่อการนิเทศการศึกษา โดยมเี ปา้ หมาย คอื การพฒั นาครูผู้สอนให้มีความรู้ ความ
เขา้ ใจวิธีการจัดการเรียนรตู้ ามแนวทาง Active Learning และสามารถนาความรคู้ วามเขา้ ใจท่ีไดไ้ ปใช้ในการ
วางแผนการจัดการเรยี นรูต้ ามแนวทาง Active Learning ทส่ี อดคล้องเหมาะสมกับผู้เรยี นและหลกั สูตร
สถานศกึ ษา
ลกั ษณะท่ี 2 เพอ่ื พัฒนาผูเ้ รียนให้เป็น Active Learner โดยมเี ปา้ หมาย คือ ผ้เู รียนมีคุณภาพตาม
มาตรฐานการเรยี นรู้ที่กาหนดไวใ้ นหลักสูตรสถานศึกษา และมคี ุณภาพตามเปา้ หมายของผู้เรยี นในแผนการ
ศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579
ข้นั ตอนกำรใช้
ขน้ั ตอนการใช้แนวทางการพัฒนาผ้เู รยี นสกู่ ารเป็น Active Learner เลม่ นี้ นาเสนอขน้ั ตอนตาม
ลกั ษณะสาคัญในการใช้ 2 ลกั ษณะ คอื การใช้เพ่ือการนิเทศการศกึ ษา และการใช้เพื่อจัดกจิ กรรมการ
เรียนรู้ท่ีพัฒนาผูเ้ รียนให้เปน็ Active Learner โดยมรี ายละเอยี ดขั้นตอนการใช้แตล่ ะลักษณะดงั น้ี
1. กำรใช้เพอ่ื กำรนิเทศกำรศึกษำ ประกอบด้วยขนั้ ตอนที่สาคัญ 3 ขั้นตอน ได้แก่
ขัน้ ตอนที่ 1 การปฐมนิเทศ เปน็ การพบปะระหวา่ งผูน้ ิเทศและครผู ู้รบั การนเิ ทศ
เพ่ือสรา้ งความเข้าใจเบ้อื งตน้ ให้กับผู้รบั การนเิ ทศ โดยใชเ้ วลาในการปฐมนิเทศประมาณ 2 ช่ัวโมง
ประกอบดว้ ยกจิ กรรมดังนี้
กจิ กรรมท่ี 1 แนะนาแนวทางการพัฒนาผู้เรยี นสูก่ ารเป็น Active Learner
กจิ กรรมท่ี 2 ชแ้ี จงขน้ั ตอนการใช้แนวทางการพฒั นาผเู้ รียนสู่การเป็น Active Learner
กจิ กรรมท่ี 3 ทดสอบความรู้พืน้ ฐานของผู้รับการนเิ ทศ ก่อนการใช้
แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี นสูก่ ารเป็น Active Learner (Pretest)
กจิ กรรมที่ 4 มอบแนวทางการพฒั นาผู้เรยี นสกู่ ารเป็น Active Learner ให้ผูร้ ับ
การนเิ ทศนากลบั ไปศึกษา
แนวทางการพัฒนาผ้เู รยี นสกู่ ารเปน็ Active learner หน้า 21
ขน้ั ตอนที่ 2 การศึกษาและปฏบิ ตั ิกิจกรรม ในขน้ั ตอนนผ้ี ู้รบั การนเิ ทศจะตอ้ งศึกษาและทดลอง
ออกแบบแผนการจดั กจิ กรรมตามแนวทาง Active Learning ด้วยตนเอง จานวนอย่างน้อย 2 กจิ กรรม
ขัน้ ตอนที่ 3 การสรุปและนาเสนอผลงานของผู้รบั การนิเทศ ในข้นั ตอนน้ีเปน็ การพบปะ
ระหวา่ งผนู้ ิเทศและครูผูร้ ับการนเิ ทศ เพ่ือรบั ทราบผลการใช้แนวทางการพัฒนาผูเ้ รยี นสู่การเป็น Active
Learner ของผ้รู บั การนเิ ทศว่ามปี ัญหา ความกา้ วหนา้ และความสาเรจ็ อย่างไรบา้ ง ใชเ้ วลาในการทา
กจิ กรรมประมาณ 3 ช่ัวโมง กิจกรรมประกอบดว้ ย
กิจกรรมที่ 1 การนาเสนอผลงานจากการศึกษาและการออกแบบแผนการจดั กจิ กรรม
การเรยี นรู้ตามแนวทาง Active Learning ด้วยตนเอง
กจิ กรรมท่ี 2 นาเสนอปัญหาและข้อเสนอแนะจากการใช้แนวทางการพัฒนาผ้เู รยี น
สู่การเปน็ Active Learner
กจิ กรรมที่ 3 การตอบปัญหา ขอ้ ขอ้ งใจ ในการปฏบิ ตั งิ านตา่ ง ๆ
กจิ กรรมท่ี 4 ทดสอบความรู้ของผรู้ ับการนิเทศ หลงั การใช้แนวทางการพัฒนาผ้เู รยี น
สกู่ ารเปน็ Active Learner (Posttest)
2. กำรใช้เพ่อื พัฒนำผูเ้ รยี นให้เป็น Active Learner การใช้เพือ่ พฒั นาผู้เรยี นให้เปน็ Active
Learner โดยครูผใู้ ช้ ตอ้ งศึกษากิจกรรมตวั อยา่ งทกุ กิจกรรม คอื กิจกรรมท่ี 1 – กจิ กรรมที่ 12 และนาไป
จดั กิจกรรมให้แก่ผเู้ รียนในความรบั ผิดชอบในลักษณะการบูรณาการกับกล่มุ สาระการเรยี นรู้ หรอื กจิ กรรม
พฒั นาผเู้ รยี น หรือกิจกรรมตามนโยบาย ลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้ โดยเลือกจากวิธีการดงั นี้
เลือกใช้เป็นบางกจิ กรรม โดยไมไ่ ด้ปรบั กิจกรรม
เลอื กใช้เป็นบางกิจกรรม โดยการปรบั ให้เหมาะสมกับระดับชนั้ ของผ้เู รียน
นาไปใชท้ กุ กิจกรรม โดยไม่ได้ปรบั กิจกรรม
นาไปใช้ทุกกิจกรรม โดยการปรับใหเ้ หมาะสมกับระดับช้ันของผู้เรยี น
ขอ้ เสนอแนะในกำรใช้แนวทำงกำรพฒั นำผ้เู รียนสู่กำรเปน็ Active Learner
การใช้แนวทางการพฒั นาผเู้ รียนส่กู ารเป็น Active Learner เลม่ นี้ จะมปี ระโยชนแ์ ละคุณคา่ ต่อ
ครผู ้สู อนมากเพียงใด ครูผู้สอนควรพิจารณาปฏิบตั ติ ามข้อเสนอแนะดังน้ี
1. ควรวางแผนกาหนดช่วงเวลาในการศึกษาและการทดลองออกแบบกจิ กรรม Active Learning
ด้วยตนเอง โดยศกึ ษาภาพรวมของเน้อื หาสาระทง้ั หมดและกจิ กรรมตวั อย่างทุกกจิ กรรม แล้วกาหนดเปน็ แผน
ว่าจะใชเ้ วลาศึกษาและออกแบบกิจกรรมจานวนก่ีกิจกรรม เป็นเวลาเทา่ ใด
แนวทางการพฒั นาผูเ้ รียนสกู่ ารเป็น Active learner หน้า 22
2. ควรควบคมุ ตนเองใหส้ ามารถปฏิบัติตามลกั ษณะสาคัญในการใช้แนวทางการพัฒนาผู้เรยี น
สู่การเป็น Active Learner 2 ลักษณะ คือ การใชเ้ พ่ือการนิเทศการศึกษา และการใช้เพอ่ื จัดกจิ กรรม
การเรียนรทู้ พี่ ฒั นาผู้เรยี นให้เปน็ Active Learner
3. ควรใช้เวลาตอ่ เนือ่ งกนั ในการศึกษาและการทดลองออกแบบกิจกรรม Active Learning
4. ควรนากิจกรรมตัวอย่าง Active Learning ไปใชจ้ ัดกจิ กรรมการเรียนรูเ้ พ่ือพฒั นาผูเ้ รียน
สู่การเปน็ Active Learner ตามวธิ ีการที่กาหนดไว้เบ้อื งต้น แล้วกาหนดเปน็ แผนว่าจะใช้เวลาในการจัด
กจิ กรรมในลักษณะใด จานวนกก่ี จิ กรรม และเปน็ เวลาเท่าใด
แนวทางการพฒั นาผ้เู รียนสกู่ ารเป็น Active learner หนา้ 23
ตวั อยำ่ ง
กจิ กรรม Active Learning
แนวทางการพฒั นาผ้เู รยี นสกู่ ารเป็น Active learners หนา้ 23
จดุ ประสงค์
1. เพ่ือให้นักเรยี นสามารถเลือกศึกษาข้อมูลจากสื่อต่างๆ ได้อย่างมีเหตุผล
2. เพอ่ื ให้นักเรียนสามารถนาเสนอข้อมลู ท่ีได้จากส่ือตา่ งๆ ไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม
ลกั ษณะกจิ กรรม กิจกรรมกลมุ่
ระดบั ชัน้ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4-6 และชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
เวลาท่ใี ช้ 2 ชัว่ โมง
ข้นั ตอนการจดั กจิ กรรม
1. ครูเปดิ clip video รายการข่าวในประเทศ และขา่ วตา่ งประเทศให้นักเรียนชมประมาณ 5 นาที
2. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกบั ประเด็นที่ได้จากการชม clip video ใน 4 ประเดน็ ดงั น้ี
2.1 ประเภทของข่าว
2.2 ชอ่ื หวั ขอ้ ขา่ วและท่ีมาของขา่ ว
2.3 สรุปใจความสาคญั ของขา่ ว
2.4 ความน่าเช่ือถือของข่าวและเหตผุ ล
3. นกั เรียนจดั กลุ่มๆ ละ 2-3 คน ศกึ ษาข่าวจากหนังสือพิมพ์หรือจากรายการโทรทัศน์ย้อนหลัง โดยใช้
ส่ือเหล่านี้จากห้องสมุดหรือครูเป็นผู้จัดเตรียมมาให้ โดยบันทึกการศึกษาข่าวตามประเด็นของกิจกรรมข้อที่
2 ลงในแบบบนั ทกึ ของนักเรียน และสง่ ให้ครูตรวจสอบกอ่ นนาเสนอขา่ ว
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอข่าวกลุ่มละไม่เกิน 3 นาที โดยจัดบรรยากาศเป็น Studio หรือห้อง
ถา่ ยทอดรายการขา่ วเดด็ ประเด็นร้อน ซึ่งมนี ักเรยี นที่เหลอื เปน็ ผูช้ มในห้องถ่ายทอดรายการข่าวคร้ังนี้
5. ครูและนักเรียนสนทนาเก่ียวกับข่าวที่ได้รับชมจากแต่ละกลุ่ม และให้นักเรียนเลือก (vote) ข่าวเด็ด
ในวนั นี้ โดยการใหค้ ะแนนตามแบบประเมินข่าวเดน่ วนั นี้
6. ให้นกั เรยี นกลุ่มทร่ี บั คะแนน vote สงู สุด มาเล่าใหฟ้ งั ถึงวธิ กี ารเลอื กขา่ ว
7. นกั เรียนและครูชว่ ยกนั สรุปความสาคัญของการรับฟังหรืออา่ นข้อมูลจากส่ือต่างๆ
แนวทางการพัฒนาผู้เรยี นสูก่ ารเปน็ Active learners หนา้ 24
สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้
1. หนังสือพิมพ์
2. โทรทศั น์ หรอื คอมพวิ เตอร์
3. แบบบันทกึ การศกึ ษาข้อมูลจากข่าว
4. แบบประเมินข่าวเดน่ วันน้ี
ผลงานนักเรียน
1. การนาเสนอขา่ วของนักเรียนเปน็ งานกลมุ่
2. บนั ทกึ การศึกษาข้อมลู จากขา่ ว
3. การประเมินข่าวเด่นวันน้ี
ตวั อย่างสอ่ื
แบบบนั ทกึ การศกึ ษาขอ้ มูลจากขา่ ว แบบประเมินข่าวเด่นวันน้ี
กลุ่ม................................... ช่อื นักเรียน...................................
ประเภทของขา่ ว ......................................... ท่ี รายการ 3 2 1
ช่อื หัวข้อข่าวและที่มาของข่าว
...................................................................... 1 ความเหมาะสมของข่าว
...................................................................... 2 หวั ข้อขา่ ว
สรุปใจความสาคญั ของข่าว 3 แหลง่ ทมี่ าของข่าว
...................................................................... 4 ความน่าเชอ่ื ถือของข่าว
...................................................................... 5 วิธีการนาเสนอข่าว
......................................................................
ความนา่ เช่อื ถอื ของข่าวและเหตผุ ล รวม
......................................................................
3 หมายถึง ดีมาก
2 หมายถึง ปานกลาง
แนวทางการพฒั นาผู้เรยี นส่กู ารเป็น Active learners หนา้ 25
แบบทดสอบหลังการจัดกจิ กรรมท่ี 1
คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นทาเคร่ืองหมาย X ทับตวั อักษรหนา้ คาตอบทีถ่ กู ต้องทส่ี ุดขอ้ ละ 1 คาตอบ
1. “การจัดกจิ กรรมในโรงเรียนของประเทศฟนิ แลนด์ 2. “เป็นข่าวดงั อกี แล้ว นกั เรยี นถูกลมื ทงิ้ ไวใ้ นรถรบั สง่
เน้นให้ผูเ้ รียนไดท้ ากิจกรรมอยา่ งหลากหลาย และ นักเรียน โชคดคี รูตรวจเชค็ ช่อื เดก็ มาเรยี นวันนี้
ลงมอื ปฏบิ ัตจิ ริง ผเู้ รียนสามารถนาความรทู้ ี่เกิดจาก จงึ ตามไปพบ” ข่าวนเี้ ปน็ ข่าวประเภทใด
การปฏิบัตใิ นโรงเรยี นไปใช้ไดจ้ รงิ ในชีวิตประจาวนั ” ก. ขา่ วกฬี า
ข้อใดควรเป็นหวั ขอ้ ของข่าวน้ี ข. ข่าวท่วั ไป
ก. กิจกรรมในโรงเรียนของฟนิ แลนด์ ค. ข่าวบนั เทิง
ข. ความรู้เกดิ ขึน้ ไดเ้ สมอถา้ เราไดล้ งมือทาจรงิ ง. ข่าวสารคดี
ค. นกั เรยี นฟนิ แลนดไ์ ด้ทากจิ กรรมท่ีหลากหลาย
ง. ชีวิตในโรงเรยี นสามารถนาไปใชไ้ ด้ในชวี ิตจรงิ
3. “ขา่ วจาก นสพ.เดลนิ ิวส์ ออนไลน์ วนั ท่ี 28 มิ.ย. 60” 4. ขอ้ ใดเป็นขา่ วการศกึ ษา
ขอ้ ความน้มี ีความสาคญั อยา่ งไรกบั การสืบคน้ ข้อมลู ก. วงโยธวาทติ ของนักเรยี นไทยชนะเลิศระดบั โลก
ก. หัวข้อข่าว ข. ผลการแขง่ ขนั ฟุตบอลชงิ ชนะเลศิ ระดบั ประเทศ
ข. แหล่งทมี่ าของข่าว ค. พายุโซนรอ้ นพัดกระหนา่ โรงเรียนพังเสียหาย
ค. ใจความสาคัญของข่าว ง. ก้อง ห้วยไร่ มจี ติ อาสาชว่ ยนา้ ทว่ มอีสาน
ง. ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั จากขา่ ว
5. “พบตน้ กล้วยประหลาดออกลูกเปน็ ผลคลา้ ยลูกสุนขั ชาวบ้านพากนั ไปกราบไหว้ เจ้าของเชอ่ื ว่าลูกสุนขั ที่ตาย
ไปแล้วได้นามาฝงั ใกล้ตน้ กลว้ ย จึงกลบั ชาติมาเกดิ เปน็ ผลกล้วย” จากข้อความในข่าวน้ี นกั เรยี นคดิ ว่าเป็นข้อมลู
ท่ีควรเช่อื ถอื หรอื ไม่ เพราะเหตุใด
ก. เช่อื ถอื ได้ เพราะชาวบา้ นคนอืน่ กเ็ ชอื่ และมากราบไหว้
ข. เชอื่ ถอื ได้ เพราะลูกสุนขั ท่ีตายไดถ้ กู นามาฝังใกลต้ น้ กลว้ ย
ค. ไม่น่าเชอ่ื ถอื เพราะต้นกลว้ ยเป็นพชื จะออกลกู เปน็ สนุ ัขไม่ได้
ง. ไม่น่าเชือ่ ถือ เพราะพสิ ูจนท์ างวทิ ยาศาสตรไ์ ม่ได้วา่ มกี ารกลบั ชาติมาเกิดใหม่
แนวทางการพัฒนาผเู้ รียนส่กู ารเปน็ Active learners หน้า 26
จุดประสงค์
1. เพือ่ ให้นักเรียนบอกประโยชนแ์ ละข้อสังเกตจากการชมรายการจากส่ือตา่ งๆ ได้
2. เพอ่ื ให้นักเรยี นแสดงความสามารถของตนเองต่อสาธารณะชนในรปู แบบต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
ลักษณะกจิ กรรม กจิ กรรมกลุ่ม
ระดบั ชนั้ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4-6 และช้ันมัธยมศกึ ษา
เวลาทีใ่ ช้ 2 ชั่วโมง
ขน้ั ตอนการจดั กจิ กรรม
1. ครูเปิด video รายการนักร้องซ่อนแอบ หรือ รายการอื่น เช่น รายการเปลี่ยนหน้าท้าโชว์
(sing your face off) ให้นักเรียนชมประมาณ 10 นาที โดยตัดรายการให้ชมในช่วงการร้องเพลงของผู้เข้า
แขง่ ขนั 1 หรือ 2 คน
2. ครูและนักเรียนสนทนาถึงรายการที่ครูนามาให้ชมคร้ังนี้ โดยกาหนดประเด็นการสนทนา จานวน
4 ประเด็น คอื
2.1 วตั ถุประสงค์ของรายการ
2.2 เปา้ หมายการรอ้ งเพลงของนักรอ้ งทีม่ าแขง่ ขันในรายการนี้
2.3 ผลการตดั สินของคณะกรรมการ
2.4 รางวลั ที่ได้จากการแข่งขนั
3. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ 4-6 คน เพื่อเลือกรายการโทรทัศน์หรือรายการประกวดแข่งขัน
ความสามารถด้านต่างๆ ของในประเทศและต่างประเทศ มานาเสนอให้เพื่อนสมาชิกในห้อง โดยใช้เวลาในการ
นาเสนอกลุ่มละไม่เกิน 12 นาที ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การจาลองสถานการณ์ บทบาทสมมติ การนาเสนอโดย
Video ภาพยนตร์สน้ั เปน็ ตน้ ทงั้ นี้ กอ่ นการนาเสนอให้นักเรียนแต่ละกลุ่มมานาเสนอให้ครูได้แนะนาตรวจสอบ
กอ่ น
แนวทางการพัฒนาผูเ้ รยี นสกู่ ารเปน็ Active learners หนา้ 27
4. ครูจัดพื้นท่ีใหน้ กั เรยี นนาเสนอผลงานทน่ี ักเรียนแต่ละกลุม่ เตรียมมา โดยให้นักเรียนกลุ่มอ่ืนเป็นผู้ชม
และให้คะแนนการนาเสนอตามเกณฑ์ท่คี รูกาหนด
5. ครูและนักเรียนคัดเลือกผลงานที่ได้คะแนนสูงสุดในแต่ละด้าน และเผยแพร่ผลงานของนักเรียน
ท่ไี ดร้ ับการปรับปรุงแก้ไขแลว้ ต่อนกั เรยี นอ่นื ๆ ในโรงเรียน หรอื เผยแพร่ต่อสาธารณะชนตามความเหมาะสม
สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. รายการนักร้องซ่อนแอบ หรือ รายการเปล่ียนหน้าท้าโชว์ (sing your face off) หรือรายการ
ประกวดแข่งขันความสามารถอน่ื ท่ีครเู ลือกไดต้ ามความเหมาะสม
2. แบบบันทกึ สครปิ ต์ (script) การแสดงของนักเรยี น
3. แบบประเมินผลงานการแสดงของนักเรยี น
ผลงานนกั เรยี น
1. สคริปต์ (script) การแสดงของนักเรยี น โดยครกู าหนดประเดน็ การบนั ทกึ ดังน้ี
1.1 ชื่อการแสดง
1.2 จานวนนกั แสดง
1.3 บทบาทของนักแสดงแต่ละคน
1.4 ฉากที่กาหนดให้มีในการแสดง
1.5 บทพูดหรือวิธีการนาเสนอ (Acting) ของนักแสดงแตล่ ะคน เช่น การรอ้ งเพลง การเต้น
1.6 การแต่งกายของนักแสดง
2. การนาเสนอผลงานการแสดงของนักเรยี น
หมายเหตุ
ตวั อยา่ ง รายการในแบบประเมนิ ผลงานการแสดงของนักเรยี น มีดงั นี้
2.1 ความสามารถของนักแสดง
2.2 ความคดิ สร้างสรรค์
2.3 การทางานเปน็ ทีม (Team work)
2.4 สอื่ และอุปกรณ์การแสดง
2.5 ประโยชนท์ ่ีผ้ชู มไดร้ บั จากการแสดง
แนวทางการพฒั นาผู้เรยี นสกู่ ารเป็น Active learners หนา้ 28
ตัวอยา่ ง เกณฑท์ ี่ใช้ในการประเมินกาหนดเป็น ระดับคุณภาพ 5 ระดบั ดงั น้ี
ระดบั คุณภาพ 5 หมายถงึ ดีมาก
ระดับคณุ ภาพ 4 หมายถงึ ดี
ระดบั คุณภาพ 3 หมายถึง ปานกลาง
ระดบั คณุ ภาพ 2 หมายถงึ นอ้ ย
ระดับคุณภาพ 1 หมายถงึ นอ้ ยมาก
แบบทดสอบหลังการจดั กจิ กรรมท่ี 2
คาชแี้ จง ให้นกั เรียนทาเคร่ืองหมาย X ทับตัวอกั ษรหนา้ คาตอบทีถ่ ูกตอ้ งทีส่ ดุ ข้อละ 1 คาตอบ
1. “วิภาวี ดูการออกแบบเส้ือผา้ ใน YouTube แลว้ นา 2. “ทุกวนั นว้ี ยั รนุ่ ที่มคี วามสามารถดา้ นตา่ งๆ มกั จะต้อง
มาเสนอเป็นรปู แบบเครอ่ื งแต่งกายสาหรับกลุ่มในการ มคี วามรู้ในการหาพืน้ ทสี่ าหรบั แสดงความสามารถ
แสดงงานประจาปีของโรงเรียน” จากขอ้ ความนี้ ตอ่ สาธารณะชน” คาว่า พน้ื ท่ี ในทนี่ ี้ นกั เรียนคดิ ว่า
แสดงว่าวภิ าวเี ป็นผทู้ มี่ คี ณุ ลักษณะเหมาะสมทส่ี ุด ข้อใดเป็นความหมายที่เหมาะสมท่สี ุด
ในขอ้ ใด ก. พืน้ ท่บี นโลกโซเชียลออนไลน์ (Social Online)
ก. มคี วามขยนั หมัน่ เพยี ร ข. พ้ืนทีใ่ นหา้ งสรรพสนิ ค้าทมี่ ชี ือ่ เสยี งในเมืองใหญ่
ข. มีความคดิ สร้างสรรค์ ค. พ้ืนทใ่ี นชุมชนหรอื ตลาดทมี่ ีการจัดการแสดง
ค. มคี วามเป็นผนู้ า ง. พ้ืนท่ีในรา้ นอาหารทมี่ เี วทกี ารแสดงสด
ง. มคี วามอิจฉา
3. ส่งิ ทสี่ าคัญทสี่ ุดในการทางานเปน็ ทีมคอื ข้อใด 4. ส่ิงทีค่ วรคานึงมากทส่ี ุดในการแสดงต่อสาธารณะชน
ก. มคี วามสามารถสูงรอบดา้ น ก. เครื่องแตง่ กายท่ีใช้ต้องมคี ณุ ภาพและราคาแพง
ข. กล้าแสดงออกมากกว่าผูอ้ น่ื ข. การใชค้ าพดู ตอ้ งเหมาะสมกบั วยั ของผู้ชม
ค. ยอมรบั ในความสามารถของผอู้ น่ื ค. นกั แสดงต้องมีคุณภาพและมชี ื่อเสยี งในสงั คม
ง. มั่นใจและเฉลียวฉลาดในการเปน็ ผนู้ ากลุม่ ง. เคร่ืองเสยี งตอ้ งมีคุณภาพ ฉากต้องเสมอื นจริง
5. “ฝนั ให้ไกล ไปให้ถงึ ” มีความหมายสอดคลอ้ งของบคุ คลในข้อใดมากท่สี ุด
ก. เจเจมคี วามฝันอยากเป็นนกั บิน จงึ ไปสมคั รเรยี นภาษาอังกฤษที่ต่างประเทศ
ข. แจค๊ กี้มคี วามสามารถในการเลน่ ฟตุ บอล จงึ ไปสมัครเขา้ ทมี เยาวชนในชมุ ชนและฝึกเลน่ ทุกวนั
ค. นอ้ งแปง้ ฝนั อยากเปน็ นักรอ้ งเพลงลกู ท่งุ จงึ เข้าไปดรู ายการโทรทัศนท์ ีม่ ีการร้องเพลงทุกชอ่ ง ทุกวนั
ง. นคิ ก้เี ต้นออกกาลงั กายประกอบเพลงได้เกง่ มาก จงึ ไปซ้ือชุดออกกาลงั กายมาสะสมไว้จานวนมาก
แนวทางการพฒั นาผเู้ รียนส่กู ารเปน็ Active learners หน้า 29
จุดประสงค์
1. เพื่อให้นักเรยี นบอกสาเหตุของปญั หาท่ีเกิดในชุมชนได้
2. เพือ่ ให้นักเรียนบอกวิธกี ารแก้ไขปัญหาให้ตรงกับสาเหตุได้
3. เพ่ือใหน้ ักเรียนสามารถนาเสนอแนวคิดสสู่ าธารณะชนได้อยา่ งสรา้ งสรรค์
ลกั ษณะกิจกรรม กิจกรรมกลุ่ม
ระดบั ชน้ั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4-6 และชน้ั มธั ยมศกึ ษา
เวลาทีใ่ ช้ 2 ช่วั โมง
ขนั้ ตอนการจดั กจิ กรรม
1. ครูนาเสนอคลิปวีดิโอ (Clip Video) “น้าเสียที่บางแสน” หรือปัญหาอ่ืนในชุมชน ให้นักเรียนดูและ
สนทนากบั นกั เรยี นวา่ ใคร ทาอะไร ทีไ่ หน และเกดิ อะไรข้ึน
2. นกั เรียนแบ่งกลมุ่ เพ่ือทากิจกรรม กล่มุ ละ 4-5 คน พร้อมท้ังเลอื กประธาน และเลขานุการของกล่มุ
3. ครูจาลองสถานการณ์ให้นักเรียนที่เป็นประธานของกลุ่มเป็นผู้นาชุมชน แล้วนาสถานการณ์เร่ือง
น้าเสียท่ีบางแสน หรือปัญหาอ่ืนที่ครูนามาให้ดูในกิจกรรมข้อที่ 1 มาเป็นโจทย์ให้นักเรียนร่วมกันคิดหาวิธีการ
แก้ปัญหา โดยมอบหมายภาระงานดังนี้
ออกแบบ mind mapping นาเสนอแนวทางการแกไ้ ขปัญหานา้ เน่าเสีย
จดั ทาแผ่นพบั ประชาสมั พันธ์แบบงา่ ยเพ่ือการรณรงค์แก้ไขปญั หาน้าเน่าเสยี
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาน้าเน่าเสีย โดยนาเสนอประกอบกับ mind
mapping ที่จัดทาขึ้น พร้อมท้ังนาแผ่นพับประชาสัมพันธ์แบบง่ายเพ่ือการรณรงค์แก้ไขปัญหาน้าเน่าเสียไปติด
แสดงไว้ทีป่ า้ ยนิเทศในหอ้ งเรยี น
5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความคิดที่ได้จากการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ท่ีกาหนดของแต่ละกลุ่ม
และบอกขอ้ ดี ขอ้ เสยี พรอ้ มทง้ั ความเป็นไปไดใ้ นการนาวิธีการน้ีไปใชจ้ ริงในชวี ิตประจาวนั
แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี นสกู่ ารเปน็ Active learners หนา้ 30
สื่อและแหล่งเรยี นรู้
1. คลิปวิดีโอ เรอ่ื ง นา้ เสยี ท่ีบางแสน https://www.youtube.com/watch?v=AZsRFhR067E
2. รูปภาพชายหาดบางแสน
ผลงานนกั เรียน
1. Mind mapping แนวทางการแก้ไขปัญหานา้ เนา่ เสีย
2. แผน่ พับประชาสัมพันธ์ “การแกไ้ ขปญั หานา้ เนา่ เสยี ” หรือ ปญั หาท่ีเกิดขน้ึ ในชุมชน
การวัดผลประเมินผล
1. สงั เกตพฤติกรรมนักเรยี นในการเรียนรแู้ ละการทางานกลุม่
2. ประเมนิ ผลงานนักเรียน
3. ทดสอบความรู้ความเข้าใจ
ขอ้ เสนอแนะ
1. ครูอาจใหน้ ักเรียนสารวจปัญหาทพี่ บในโรงเรียนและร่วมกนั คดิ แกไ้ ขปญั หา
2. ในกรณีท่ีใช้สถานการณ์จาลอง ครูอาจจะให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการออกความคิดในการสร้าง
สถานการณจ์ าลอง หรอื ชว่ ยจัดหา Clip Video ตา่ งๆ ท่เี ป็นปัญหาในชุมชน
แบบทดสอบหลังการจัดกจิ กรรมที่ 3
คาช้ีแจง ให้นักเรียนทาเคร่ืองหมายถกู ( ) หน้าข้อความที่เหน็ วา่ ถกู ต้อง และทาเคร่ืองหมายผิด ( X )
หนา้ ข้อความท่ผี ิด
คาตอบ รายการคาถาม
1. ผนู้ าชมุ ชนคือคนทีม่ บี ทบาทหน้าท่มี ากทส่ี ดุ ในการพฒั นาชุมชน ดงั นัน้ ผนู้ าต้องเปน็ ผ้ทู ่เี สยี สละและ
เปน็ ตวั อยา่ งที่ดีแกส่ มาชิกในชมุ ชน
2. การจัดการขยะทถ่ี ูกวิธี คอื นาขยะท่ีมีไปทิง้ ให้ห่างไกลทสี่ ดุ จากชุมชน
3. ทกุ คนในชมุ ชนมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาและรกั ษาทกุ พืน้ ท่ีในชุมชนให้สะอาด
4. จติ สาธารณะหรือจติ อาสา เปน็ การบริการหรอื การดแู ลรกั ษาชุมชน/สถานทสี่ าธารณะ โดยไมไ่ ด้
หวงั คา่ จ้างหรอื การตอบแทนใดใด
5. ครอบครัวคอื องค์กรท่มี ีขนาดเลก็ ท่สี ุดในชมุ ชนแตม่ ีความสาคญั ตอ่ เราทกุ คนมากดังนนั้ การทางาน
เพอื่ ให้ครอบครวั มีความเจริญก้าวหนา้ จงึ สาคญั มากกว่าที่จะทาประโยชนใ์ หก้ ับชมุ ชน
แนวทางการพฒั นาผ้เู รยี นส่กู ารเป็น Active learners หน้า 31
จดุ ประสงค์
1. เพอื่ ให้นักเรียนบอกประโยชน์และคุณค่าของเงินได้
2. เพอ่ื ให้นักเรยี นวางแผนการใช้จ่ายเงนิ จากสถานการณจ์ าลองที่กาหนดได้
3. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนบอกเหตผุ ลในการใช้จา่ ยเงินตามบริบทของตนเองได้
ลักษณะกจิ กรรม กจิ กรรมกล่มุ
ระดับช้นั ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4-6 และชั้นมัธยมศึกษา
เวลาที่ใช้ 2 ชั่วโมง
ขนั้ ตอนการจัดกจิ กรรม
1. ครูนาภาพเงินสกุลต่าง ๆ ให้นกั เรียนดูและตั้งคาถามดังน้ี
นกั เรยี นรจู้ ักเงนิ สกุลเหลา่ นห้ี รือไม่ เงินสกลุ เหลา่ น้ีมาจากประเทศอะไร
นกั เรียนคิดวา่ เงินมีความสาคญั ตอ่ มนุษย์อย่างไร
2. แบ่งกลมุ่ นักเรยี นกลมุ่ ละ 4-5 คน พรอ้ มทั้งเลือกประธานและเลขานุการของกลุม่
3. ครูให้นกั เรยี นชมคลปิ วดิ ีโอ (Clip Video) ต่อไปนี้
การใชเ้ งินอยา่ งรู้คา่
คา่ ของเงนิ
4. จากนนั้ ให้นกั เรียนร่วมกนั วิเคราะห์สถานการณ์ในคลปิ วิดีโอในประเด็นต่อไปนี้
ทาไมบุคคลในวดิ โี อถึงทาแบบน้นั มีเหตุผลอะไร
ถา้ นักเรียนเปน็ บคุ คลในคลิปวิดีโอ นกั เรียนจะเลอื กวิธแี ก้ปัญหาทเี่ กิดขน้ึ อย่างไร
พร้อมบอกเหตผุ ล
5. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการวิเคราะห์สถานการณต์ ่อกลุ่มใหญ่
6. ครูให้นกั เรียนศึกษาสถานการณ์จาลองและกาหนดกิจกรรม ดงั น้ี
แนวทางการพัฒนาผูเ้ รียนส่กู ารเปน็ Active learners หน้า 32
สถานการณ์จาลอง
“นกั เรยี นจาเปน็ ต้องบริหารเงินก้อนสดุ ทา้ ย ทีน่ ักเรยี นเหลืออยเู่ ปน็ จานวน 1,000 บาท
ในระยะเวลา 2 สัปดาห์ โดยมีเง่ือนไขดงั น้ี (1) การใชจ้ า่ ยเงินตอ้ งเกิดประโยชน์สงู สุด (2) เมื่อใช้จ่ายเงนิ
ไปแล้วต้องคมุ้ ค่ามากที่สุด (3) ตอ้ งมีเหตผุ ลในการใชจ้ า่ ยเงิน”
7. สมาชิกในกลมุ่ รว่ มกันศกึ ษาสถานการณจ์ าลองที่ได้รบั และดาเนินกิจกรรมตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย
8. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม
9. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุปความคดิ ที่ไดจ้ ากการศกึ ษาสถานการณ์ และการปฏบิ ตั ิกิจกรรม
ของแต่ละกลุ่ม
ส่อื และแหล่งเรยี นรู้
1. คลิปวิดโี อ เรอ่ื ง การใช้เงินอย่างรคู้ า่ https://youtu.be/9lWc7sSNJms หรอื
2. คลิปวดิ ีโอ เรอ่ื ง ค่าของเงนิ https://youtu.be/eIjZUgedzzg หรอื
3. สถานการณจ์ าลอง
4. รูปภาพเงนิ สกลุ ต่าง ๆ https://www.dek-d.com/board/view/1396447/ หรอื
ผลงานนกั เรียน
แผนการใช้จ่ายเงนิ โดยเลือกจากรปู แบบนาเสนอได้อย่างหลากหลาย เช่น
Mind mapping
ตารางการวางแผนการใชจ้ ่ายเงิน
สมดุ บันทกึ การใชจ้ า่ ย
แนวทางการพัฒนาผู้เรยี นสกู่ ารเปน็ Active learners หนา้ 33
การวัดผลประเมินผล
4. สังเกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นในการเรยี นรแู้ ละการทางานกลุ่ม
5. ประเมินผลงานนกั เรยี น
6. ทดสอบความรู้ความเข้าใจ
แบบทดสอบหลังการจัดกิจกรรมท่ี 4
คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นทาเคร่ืองหมายถกู ( ) หนา้ ขอ้ ความท่เี หน็ วา่ ถกู ต้อง และทาเคร่ืองหมายผดิ ( X )
หนา้ ข้อความที่ผิด
คาตอบ รายการคาถาม
1. เงินคอื อะไรก็ได้ทีเ่ ปน็ ทยี่ อมรับในการเป็นส่ือกลางในการซ้ือขายแลกเปลย่ี น
2. ววิ ัฒนาการของการแลกเปลี่ยนในสังคมมนุษย์ คือ สิง่ ของตอ่ สิ่งของ - เงนิ - เครดิต
3. กันยานาเสอื้ ผา้ ของตนมาแลกกบั ตกุ๊ ตาของพงศ์ ถอื เป็นการใชจ้ ่ายแบบเครดิต
4. วรวรรณถูกรางวลั ลอ็ ตเตอรี่ 5,000 บาท เธอเกบ็ เงินทัง้ หมดเขา้ บัญชโี ดยไมเ่ หลอื
ไวใ้ ช้จ่าย ถอื ว่า วรวรรณมวี ธิ ีการออมเงนิ ท่ีถูกต้อง
5. ภัทรดนยั อยากไดร้ องเทา้ สเก็ตโรลเลอเบรดคู่ใหม่ เคา้ จงึ เร่ิมเกบ็ เงินทุกบาท
ทค่ี ุณแม่ให้และวางแผนการใชเ้ งินอย่างรอบคอบ จากพฤตกิ รรมน้ีถือว่า ภทั รดนยั
เปน็ ผูใ้ ช้เงนิ อยา่ งรอบคอบ
แนวทางการพฒั นาผู้เรียนสู่การเปน็ Active learners หน้า 34
จุดประสงค์
1. เพอื่ ให้นักเรียนบอกทิศตา่ งๆ ได้
2. เพอ่ื ให้นักเรียนนาเสนอการเดนิ ทางไปสจู่ ุดหมายจากการดทู ิศได้
ลักษณะกิจกรรม กจิ กรรมกลุ่ม
ระดับชน้ั ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4-6 และชั้นมธั ยมศึกษา
เวลาท่ีใช้ 2 ชัว่ โมง
ขั้นตอนการจัดกจิ กรรม
1. ครเู ปิด VDO “มหาสมุทรอินเดยี ”
https://www.youtube.com/watch?v=ifdrzhKp9xo
2. ครูตงั้ คาถามและเปดิ โอกาสให้นักเรยี นแลกเปลี่ยนความคดิ เกีย่ วกับการเดนิ ทางของเรือ เชน่
- ทาไมเรือถึงเดินทางไปถงึ จุดหมายโดยไมม่ ีถนนได้
- กปั ต้นเดินเรอื ไปถึงจดุ หมายได้อยา่ งไร
3. ครูแจก บตั รชอ่ื ทิศ และจังหวัด ให้กับนกั เรยี น คนละ 1 แผน่ ( ครูตดั ตามตารางในภาคผนวก )
4. ครูเปดิ VDO Youtube ( ความรู้เรอ่ื ง ทิศ)
https://www.youtube.com/watch?v=tFmZWSS4HO8&t=4s
https://www.youtube.com/watch?v=VewuHpsv66w&t=15s
5. ครูแจกกระดาษปรู๊ฟ และลายแทง “ตามล่าหาสมบัติ” เพื่อทากิจกรรม ตามล่าหาสมบัติ To hunt
for treasure (ครูเตรียมวาดตาแหน่ง ของกิจกรรม โดยดแู นวการปฏบิ ตั ใิ น การจดั กิจกรรม “ตามล่าหาสมบัติ”
สาหรับครู )
6. ครูประเมนิ การนาเสนองาน
7. ครปู ระเมินชิน้ งาน (บนั ทึกกิจกรรมระบชุ อ่ื ทิศ)
แนวทางการพัฒนาผเู้ รยี นสกู่ ารเป็น Active learners หนา้ 35
สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. ใบคาส่งั “ลายแทงตามล่าหาสมบตั ิ”
2. การจัดกจิ กรรม “ตามลา่ หาสมบตั ิ” (สาหรับคร)ู
3. แบบบันทกึ กิจกรรม ระบชุ ่ือทศิ
4. ส่อื VDO Youtube “มหาสมุทรอนิ เดีย” (นาเข้าสู่กจิ กรรม)
https://www.youtube.com/watch?v=ifdrzhKp9xo
5. สื่อ VDO Youtube ( ความรู้ เรอ่ื งทศิ )
https://www.youtube.com/watch?v=tFmZWSS4HO8&t=4s
https://www.youtube.com/watch?v=VewuHpsv66w&t=15s
6. กระดาษปรู๊ฟ
7. ปากกาเคมี หลากสี
ผลงานนกั เรยี น
ลายแทงตามหาสมบัติ
ตามล่าหาสมบตั ิ
แบบบันทกึ กจิ กรรม ระบชุ ื่อทศิ
การวดั ผลประเมินผล
7. สงั เกตพฤติกรรมนกั เรียนในการเรียนรู้และการทางานกลมุ่
8. ประเมินผลงานนักเรยี น
9. ทดสอบความรู้ความเข้าใจ
ขอ้ เสนอแนะ
กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมท่ีให้นักเรียนเรียนรู้เรื่องชื่อของทิศ และลักษณะการประยุกต์ความรู้ บทบาท
หน้าท่ีของครคู ือชว่ ยใหค้ าแนะนาในการปฏิบตั ิกิจกรรม
ในการแบง่ กลมุ่ ใหน้ ักเรยี นไดส้ บื หาหมวดหมู่ชื่อทิศ และจังหวัดของกลุ่มตนเอง จากบัตรชื่อทิศ จังหวัด
เช่น เหนือ อุดร North เชียงใหม่ จะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน เป็นต้น หากโรงเรียนมีจานวนนักเรียนมาก ให้ครูทา
บัตรชือ่ จงั หวัดเพิ่มเตมิ ใหเ้ หมาะกบั บริบทของจานวนนักเรยี นในหอ้ งเรยี น
แนวทางการพฒั นาผเู้ รียนสู่การเป็น Active learners หนา้ 36
แบบทดสอบหลังการจดั กิจกรรมท่ี 5
คาชแี้ จง ให้นกั เรียนทาเครื่องหมาย X ทบั ตัวอกั ษรหนา้ คาตอบทถ่ี ูกตอ้ งทสี่ ุดข้อละ 1 คาตอบ
โรงเรียน วดั N
สถานตี ารวจ
บ้าน
1. จากภาพถา้ คณุ ลุงอยูท่ างทิศใต้ของตน้ ไม้ เค้กอย่ทู าง 2. จากภาพโรงเรยี นอยู่ทางทศิ เหนือของบ้าน สถานี
ทิศใดของคณุ ลงุ ตารวจอยู่ทางทิศ Northwest ของวัด วัดอยทู่ างทศิ ใด
ก. North ข. ทกั ษิณ ของโรงเรียน
ค. บูรพา ง. ตะวนั ตก ก. ทศิ ตะวนั ออก ข. ทศิ ตะวนั ตก
ค. ทิศเหนอื ง. ทศิ ใต้
N 4. โปเตว้ ่งิ จากจดุ เริม่ ต้นไปทางทิศเหนอื 3 กโิ ลเมตร
เลย้ี วไปทางทศิ ตะวันออก 1 กโิ ลเมตร แลว้ ว่ิงต่อไป
3. จากภาพเมื่อหนูเอหวิ ขา้ ว และหนูเอเดนิ ถงึ แยก ทางทิศใต้ 2 กโิ ลเมตร โปเ้ ตอ้ ย่ทู ิศใดของจุดเริ่มตน้
หนเู อจะไปร้านค้าทางทิศใดทใี่ กล้ทสี่ ุด ก. ทิศตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ก. S ข. E ข. ทศิ เหนอื
ค. W ง. N ค. ทิศตะวันออก
ง. ทศิ ใต้
5. หากหลงปา่ ไม่มเี ขม็ ทิศ จะปฏิบตั ิตามขอ้ ใด
ก. เดินตามร่องรอยทีม่ กี ารเดนิ ผ่าน
ข. คน้ หาลาธารใหเ้ จอ
ค. สังเกตดวงอาทิตย์
ง. เดนิ ตรง ไม่เล้ยี ว
แนวทางการพฒั นาผู้เรยี นสกู่ ารเปน็ Active learners หน้า 37
จดุ ประสงค์
1. เพ่ือให้นักเรียนอธิบายการใชแ้ ผนทปี่ ระเทศไทยได้
2. เพือ่ ใหน้ กั เรียนบอกชือ่ สถานที่ ลกั ษณะเดน่ ของจังหวัดไดถ้ ูกต้อง
ลกั ษณะกิจกรรม กิจกรรมกลุม่
ระดับชัน้ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4-6 และช้นั มธั ยมศกึ ษา
เวลาที่ใช้ 2 ช่ัวโมง
ข้ันตอนการจดั กจิ กรรม
1. ครเู ปดิ VDO ท่องเที่ยวประเทศไทย https://www.youtube.com/watch?v=vcTVJxnm3LQ
2. ครซู กั ถามสถานท่ีใน VDO
สถานท่นี า่ จะอยู่ จงั หวัดอะไร
นักเรียนเคยไปเท่ยี วจังหวัดอะไรบา้ ง
3. ครูแบ่งกล่มุ นักเรียน 4 กลมุ่ กลมุ่ ละ 4-6 คน
4. ครเู ปดิ VDO ความรูเ้ รอื่ งทิศ https://www.youtube.com/watch?v=tFmZWSS4HO8&t=4s
5. ครแู จก ซองจิ๊กซอว์ (Jigsaw) ใหแ้ ต่ละกลุ่ม พร้อมกระดาษปรฟู๊ และเคร่ืองเขียน
6. ครปู ระเมินชน้ิ งาน (แบบบันทกึ กจิ กรรม)
7. ครปู ระเมนิ การนาเสนองาน
ส่ือและแหล่งเรียนรู้
1. VDO ทอ่ งเทย่ี วประเทศไทย https://www.youtube.com/watch?v=vcTVJxnm3LQ
2. VDO ความรู้เร่ือง ทศิ และการใชแ้ ผนที่
https://www.youtube.com/watch?v=tFmZWSS4HO8&t=4s
แนวทางการพฒั นาผ้เู รียนสกู่ ารเป็น Active learners หนา้ 38
https://www.youtube.com/watch?v=VewuHpsv66w&t=15s
https://www.youtube.com/watch?v=ZVmzUj6NAL0
3. คอมพิวเตอร์
4. จอภาพ
5. แผนทปี่ ระเทศไทย
6. กระดาษปรฟู๊
7. ปากกาเคมี หลากสี
ผลงานนกั เรียน
แบบบนั ทกึ กิจกรรม เพ่ือนบ้านตา่ งเมือง
จกิ๊ ซอว์ จังหวดั ชวนรู้
ข้อเสนอแนะ
กิจกรรมน้ีเป็นกิจกรรมท่ีให้นักเรียนเรียนรู้เร่ืองช่ือของทิศ และลักษณะการประยุกต์ความรู้ บทบาท
หน้าท่ขี องครคู ือช่วยให้คาแนะนาในการปฏิบตั กิ จิ กรรม
ในการแบง่ กลุ่มให้นกั เรยี นไดส้ ืบหาหมวดหมชู่ ่อื ทิศ และจังหวัดของกลุ่มตนเอง จากบัตรช่ือทิศ จังหวัด
เช่น เหนือ อุดร North เชียงใหม่ จะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน เป็นต้น หากโรงเรียนมีจานวนนักเรียนมาก ให้ครูทา
บตั รชอ่ื จงั หวัดเพิม่ เติม ให้เหมาะกับบริบทของจานวนนกั เรียนในหอ้ งเรียน
การวดั ผลประเมินผล
10. สงั เกตพฤติกรรมนักเรียนในการเรียนรแู้ ละการทางานกลมุ่
11. ประเมนิ ผลงานนักเรยี น
12. ทดสอบความรู้ความเข้าใจ
แนวทางการพฒั นาผูเ้ รยี นส่กู ารเป็น Active learners หน้า 39
แบบทดสอบหลังการจดั กจิ กรรมท่ี 6
คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนทาเครื่องหมาย X ทับตัวอักษรหน้าคาตอบทถ่ี ูกตอ้ งที่สุดข้อละ 1 คาตอบ
1. จากภาพถ้าคุณลุงอยูท่ างทศิ ใตข้ องตน้ ไม้ เคก้ อยทู่ าง 2. จากภาพโรงเรยี นอยูท่ างทศิ เหนอื ของบา้ น สถานี
ทิศใดของคณุ ลงุ ตารวจอย่ทู างทศิ Northwest ของวดั วดั อย่ทู างทิศใด
ก. North ข. ทักษณิ ของโรงเรยี น
ค. บรู พา ง. ตะวันตก ก. ทิศตะวันออก ข. ทศิ ตะวันตก
ค. ทศิ เหนือ ง. ทศิ ใต้
3. จากภาพเมื่อหนเู อหิวขา้ ว และหนูเอเดนิ ถงึ แยก 4. โปเตว้ ิง่ จากจดุ เรม่ิ ต้นไปทางทิศเหนอื 3 กิโลเมตร
หนูเอจะไปรา้ นค้าทางทศิ ใดทใ่ี กลท้ ส่ี ดุ
ก. S เล้ียวไปทางทิศตะวนั ออก 1 กโิ ลเมตร แล้ววง่ิ ต่อไป
ข. E
ค. W ทางทิศใต้ 2 กิโลเมตร โปเ้ ตอ้ ยทู่ ศิ ใดของจดุ เรม่ิ ต้น
ง. N
ก. ทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
5. หากหลงป่า ไมม่ เี ขม็ ทศิ จะปฏบิ ัติตามขอ้ ใด
ก. เดนิ ตามรอ่ งรอยทมี่ กี ารเดนิ ผ่าน ข. ทิศเหนอื
ข. คน้ หาลาธารใหเ้ จอ ค. ทิศตะวนั ออก
ค. สงั เกตดวงอาทติ ย์
ง. เดนิ ตรง ไมเ่ ล้ียว ง. ทศิ ใต้
แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี นสกู่ ารเป็น Active learners หนา้ 40
จดุ ประสงค์
1. เพือ่ ใหน้ ักเรยี นบอกอัตราแลกเปลีย่ น และสกุลเงนิ ของประเทศต่างๆ ในประเทศสมาชกิ อาเซียนได้
2. เพ่ือให้นักเรียนสามารถคานวณปริมาณพลังงานสารอาหารท่ีเป็นส่วนประกอบของเมนูอาหารที่
รับประทานได้
3. เพอ่ื ให้นักเรยี นสามารถคานวณหาค่าดชั นมี วลกายของตนเองได้
ลักษณะกิจกรรม กจิ กรรมกลมุ่
ระดับช้นั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4-6 และชนั้ มธั ยมศึกษา
เวลาทใ่ี ช้ 2 ชั่วโมง
ขัน้ ตอนการจดั กจิ กรรม
(ช่ัวโมงท่ี 1)
1. ครูนาสง่ิ ของมาหนงึ่ ชนิดให้นกั เรียนทายราคาสินคา้
2. ครใู ชค้ าถามกระตุ้นให้นักเรียนคิด เช่น สินค้าชิ้นน้ีขายท่ีประเทศไทยราคา 150 บาท นักเรียนคิดว่า
ถา้ นกั เรยี นไปซ้ือสินคา้ ชนิดเดยี วกนั นีท้ ตี่ ่างประเทศราคาจะเทา่ กันหรือไม่ เพราะเหตใุ ด
3. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 4-5 คนให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสกุลเงิน และอัตราแลกเปลี่ยน
เงนิ ของประเทศตา่ งๆ
4. ครใู หน้ ักเรียนนาเสนอผลงาน เช่น การแสดงบทบาทสมมุติ, แผนผงั ความคิด, power point
5. ครวู ัดผลและประเมนิ ผลการทางานของนักเรียน
(ชัว่ โมงที่ 2)
1. ครูถามนกั เรยี นวา่ ชอบทานอาหารหรือขนมอะไรเพื่อกระตุ้นความคดิ
2. ครูยกตัวอย่าง กระเพราไกไ่ ข่ดาว ให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย ในประเด็น ส่วนประกอบสารอาหาร
ท่ีได้รับ เปน็ ต้น
แนวทางการพฒั นาผูเ้ รยี นสู่การเป็น Active learners หน้า 41
3. ครแู บ่งกลุม่ กล่มุ ละ5-6 คน ศกึ ษาคน้ คว้าเกย่ี วกับสารอาหาร และพลังงานทจ่ี ะได้รับจากสารอาหาร
ชนดิ ต่างๆ
4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มคิดเมนูอาหารแปลกใหม่ที่อยากทานกลุ่มละ 1 ชนิด และให้คานวณหา
ปรมิ าณสารอาหาร
5. ครูต้ังคาถามกระตุ้นความคิดว่า การทานอาหารมีผลต่อร่างกายอย่างไร ถ้าไม่กิน หรือกินมาก
เกนิ ไปจะเกิดผลดี หรือผลเสียต่อร่างกายอยา่ งไรบ้าง
6. ครใู หน้ ักเรยี นแตล่ ะกล่มุ สืบค้นขอ้ มลู เกยี่ วกบั การหาค่าดชั นมี วลกาย
7. ครวู ัดผลประเมนิ ผลการสืบคน้ ขอ้ มูลของนกั เรียน
สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้
1. คอมพิวเตอร์
2. สินค้าตวั อย่าง
3. กระดาษ A4/กระดาษสี
4. ดินสอ
5. ดนิ สอสี
6. กาว
7. กรรไกร
8. รปู ภาพกระเพราไก่ไข่ดาวจาก google
ผลงานนกั เรยี น
ขอ้ มูลอัตราแลกเปลี่ยนสกุลเงินของประเทศตา่ งๆ ในประเทศสมาชิกอาเซยี น
เมนอู าหารของแต่ละกล่มุ
ค่าดัชนีมวลกายของตนเอง
การวดั ผลประเมินผล
13. สงั เกตพฤติกรรมนักเรยี นในการเรียนรแู้ ละการทางานกลุ่ม
14. ประเมินผลงานนักเรยี น
15. ทดสอบความรู้ความเข้าใจ
แนวทางการพัฒนาผ้เู รยี นสูก่ ารเปน็ Active learners หน้า 42
จุดประสงค์
1. เพอื่ ให้นักเรยี นบอกสาเหตุการเกดิ ปญั หาส่ิงแวดลอ้ มในปจั จุบนั ได้
2. เพ่อื ให้นักเรยี นบอกสาเหตุการเกิดภัยธรรมชาตไิ ด้
3. เพอื่ ใหน้ กั เรยี นสามารถบอกวิธีการปอ้ งกัน/ดแู ลแก้ไข สิง่ แวดลอ้ มหรอื ภยั ธรรมชาตไิ ด้
4. เพื่อให้นักเรยี นสามารถวางแผนการนาเสนอขอ้ มลู ในรูปแบบต่างๆ ได้
ลกั ษณะกจิ กรรม กิจกรรมกลุ่ม
ระดับชนั้ ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4-6 และชั้นมัธยมศึกษา
เวลาที่ใช้ 4 ช่ัวโมง
ขน้ั ตอนการจัดกิจกรรม
1. ครูชแ้ี จงวตั ถุประสงค์ในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน
2. ครูเปิดวดิ ีทัศน์/หนังส้ัน/ภาพยนตร์ส้ันเก่ียวกับ ส่ิงแวดล้อมและภัยธรรมชาติ ให้นักเรียนดูและบอก
สาเหตุ/เหตุผล ทที่ าใหเ้ กิดภัยธรรมชาติ
3. ครูสุ่มถามนกั เรียนเปน็ รายบุคคลโดยใช้คาถามกระต้นุ ความคิด (หากนักเรียนอยู่ในสถานการณ์ที่เรา
ดูวิดีโอแล้วน้ัน นักเรียนจะวิธีการป้องกัน/ช่วยเหลือตัวเองให้รอดพ้นจากอันตรายได้อย่างไร) เขียนสาเหตุและ
บอกวิธกี ารป้องกนั /ดูแลแกไ้ ข ส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งน้อย 5-10 ข้อ
4. ครูให้นักเรียนบอกสภาพสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน หรือภายในประเทศไทยท่ีอาจจะก่อให้เกิด
อนั ตรายกับตัวเรา, คนในชมุ ชนและสิ่งมชี วี ิต (ประเด็นที่ได้นักเรียนอาจจะได้มาจากการอ่านหนังสือพิมพ์ ดูข่าว
ดูคลิปวิดีโอ บุคคลอ่ืนเล่ามา ประสบการณ์จริง เช่น ข่าวน้าท่วมฉับพลัน ดินโคลถล่ม มลพิษจากขยะ เสียงดัง
รบกวนจากโรงงานอุตสาหกรรม น้าเน่าเสีย มลพิษจากควันพิษต่างๆ เป็นต้น) โดยครูเป็นผู้เขียนประเด็นที่
นักเรียนรว่ มกันเสนอไว้บนกระดาน
แนวทางการพัฒนาผ้เู รียนสกู่ ารเป็น Active learners หนา้ 43
5. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 4-5 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง
ปานกลางค่อนขา้ งอ่อน และออ่ น พรอ้ มกาหนดหมายเลขให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม เชน่
หมายเลข 1 ประธาน
หมายเลข 2 เลขานกุ าร
หมายเลข 3 ผนู้ าเสนอผลงาน
หมายเลข 4 ผนู้ าเสนอผลงาน
หมายเลข 5 ผ้นู าเสนอผลงาน
6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกประเด็นส่ิงแวดล้อมที่จะก่อให้เกิดอันตรายที่ได้ร่วมกันเสนอไว้ก่อน
หน้า กลุ่มละ 5 ประเด็น พร้อมพิจารณาประเด็นหรือสภาพแวดล้อมใดท่ีควรจะแก้ไขปัญหาหรือให้การ
ช่วยเหลอื ก่อน-หลังเรียงลาดับจากมากไปหาน้อย
7. ครูถามนักเรียนโดยใช้คาถามกระตุ้นความคิด (หากนักเรียนอยู่ในเหตุการณ์หรือสภาพแวดล้อมที่
เป็นปัญหาดังกล่าว นักเรียนจะวิธีการป้องกัน/ดูแลช่วยเหลือตัวเองให้รอดพ้นจากอันตรายได้อย่างไร ทั้งใน
ระยะสน้ั และระยะยาว) ใบงานท่ี 2 ทาอยา่ งไรใหพ้ ้นจากอนั ตรายภยั ธรรมชาติ
8. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรุปกจิ กรรมการเรยี นการสอน
9. ครวู ัดผล/ประเมนิ ผล
ส่ือและแหล่งเรยี นรู้
1. วดิ โี อ/วิดที ศั น์/หนงั ส้นั /ภาพยนตรส์ ้นั เก่ยี วกบั ภัยธรรมชาติ ฯลฯ
2. ส่ิงแวดลอ้ มทเี่ ปน็ ปญั หา
ผลงานนกั เรยี น
ผลงาน เร่อื ง ทาอย่างไรให้พน้ จากอนั ตรายภยั ธรรมชาติ
การวดั ผลประเมนิ ผล
16. สังเกตพฤติกรรมนักเรยี นในการเรียนรแู้ ละการทางานกลมุ่
17. ประเมินผลงานนักเรยี น
18. ทดสอบความรู้ความเข้าใจ
แนวทางการพัฒนาผู้เรียนสกู่ ารเป็น Active learners หน้า 44
หมายเหตุ
ตวั อยา่ ง รายการในแบบประเมินผลงานการแสดงของนักเรียน มีดงั นี้
1. นาเสนอเน้ือหาในผลงานไดถ้ ูกต้อง 2. การลาดบั ข้ันตอนของเนือ้ เร่ือง
3. การนาเสนอมีความนา่ สนใจ 4. การมีสว่ นรว่ มของสมาชิกในกลุ่ม
5. การตรงตอ่ เวลา
แบบทดสอบหลังการจดั กิจกรรมท่ี 8
คาช้แี จง ให้นกั เรียนทาเครื่องหมาย X ทบั ตวั อักษรหน้าคาตอบทถี่ ูกต้องท่สี ุดข้อละ 1 คาตอบ
1. การเกดิ ดนิ ถล่ม มกั จะเกิดในบรเิ วณใด 2. แนวทางปอ้ งกันและระวังภยั การเกดิ แผ่นดินไหว
ก. บรเิ วณภูเขาไฟท่ีกาลงั คุกร่นุ ทรี่ ุนแรงมีหลายประการยกเวน้ ขอ้ ใด
ข. พ้ืนที่บรเิ วณริมตล่ิงของแมน่ ้า ก. ศึกษาคมู่ ือการเกดิ แผ่นดินไหว
ค. บริเวณภูเขาสงู ทีม่ นี า้ ไหลเปน็ ทางยาว ข. ตรวจสอบความม่นั คงแข็งแรงของทอ่ี ยู่อาศยั
ง. พ้ืนท่ีภูเขาท่ีมีความลาดชัดมากและมีฝนตก ค. ติดตามข้อมูลข่าวสารการเตือนภยั จาก
อย่างยาวนาน หนว่ ยงานต่างๆ
ง. สังเกตพฤตกิ รรมสัตวท์ ่ีมสี ัญชาตญาณการรับรู้
การเกดิ แผน่ ดนิ ไหวได้อยา่ งรวดเรว็
3. การแก้ไขปัญหาชายฝ่งั ถูกน้ากดั เซาะ ในข้อใด 4. การเกดิ ปรากฏการณแ์ ผน่ ดนิ ไหวในประเทศไทย
เหมาะสมท่สี ุด ค่อนข้างน้อยและผลกระทบไมร่ นุ แรงนนั้ เนื่องจาก
ก. ปลกู ป่าชายเลน เหตุผลในข้อใด
ข. หา้ มชาวประมงจับปลาชายฝั่ง ก. พืน้ ทซี่ ่ึงอยตู่ ิดทะเลมนี ้อย
ค. ส่งเสรมิ การประมงน้ากรอ่ ย ข. อยูไ่ กลจากมหาสมทุ รแปซิฟิค
ง. ไมส่ ร้างอาคารสงู ล้าไปในบริเวณชายหาด ค. ไมไ่ ด้ตง้ั อยู่บริเวณรอยต่อของแผ่นเปลือกโลก
ง. ไม่เคยปรากฏวา่ เคยมภี ูเขาไฟระเบิดซ่ึงจะ
ส่งผลต่อแผ่นดินไหว
5. การกระทาข้อใด จดั วา่ มีความสาคญั ต่อการลดภาวะโลกร้อน
ก. สร้างบา้ นด้วยไม้ ข. ใช้เครอ่ื งปรับอากาศ
ค. เผาขยะท่ีไมส่ ามารถนากลับมาใชใ้ หม่ ง. ลดการใช้โฟม ใช้ผลิตภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ
แนวทางการพัฒนาผเู้ รียนสู่การเป็น Active learners หนา้ 45
จุดประสงค์
1. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนบอกหรือยกตัวอย่าง โซเชยี ล เนต็ เวริค (Social Network) ได้
2. เพ่ือให้นักเรียนนาเสนอข้อมูลข่าวสารต่างๆ ท่ีตนเองได้สืบค้น มาอธิบายพร้อมท้ังบอกเหตุผล
ประกอบวิเคราะห์ข้อเทจ็ จริงของ โซเชียล เน็ตเวริค (Social Network) ได้
3. เพือ่ ใหน้ ักเรียนสรา้ งช้ินงานนาเสนอผา่ น โซเชยี ล เน็ตเวรคิ (Social Network) ได้
ลักษณะกจิ กรรม กจิ กรรมกลุ่ม
ระดับชนั้ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4-6 และช้นั มัธยมศึกษา
เวลาท่ใี ช้ 2 ช่ัวโมง
ขั้นตอนการจดั กิจกรรม
1. ครูเปิดคลิปวีดีโอ ข่าวเหตุการณ์ต่างๆ อย่างน้อย 3 เร่ือง ให้นักเรียนได้ดู เพ่ือเปรียบเทียบ
ข้อเท็จจรงิ และให้นักเรยี นสืบคน้ ขา่ วสารทนี่ ักเรยี นสนใจจากอินเตอร์เน็ต
2. ครูสอบถามนักเรียน จากข่าวทน่ี กั เรียนไดส้ ืบค้นมานาเสนอ
3. ครูให้นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 4 คน สร้างช้ินงานจากโซเชียล เน็ตเวิร์ค(Social Network)
สื่อและแหล่งเรยี นรู้
1. เคร่ืองคอมพิวเตอร์ พรอ้ มสัญญาณอนิ เตอร์เน็ต
2. โทรศพั ทม์ ือถือสมารท์ โฟน
3. คลปิ วดี โี อ ขา่ วสารด้านต่างๆ ที่หลากหลาย อย่างน้อย 3 เร่ือง
4. ใบความรู้สาหรบั ครู เรอ่ื ง “ประโยชน์และโทษ จากการใชง้ านโซเชียล เน็ตเวิร์ค
ผลงานนกั เรียน
ชิ้นงานจาก โซเชยี ล เนต็ เวรคิ (Social Network)