The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2566-2570

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tipanate A., 2021-10-29 05:12:45

แผนพัฒนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2566-2570

แผนพัฒนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2566-2570

แบบ จ.1-1
(Project Brief รายโครงการ)

แบบฟอรมโครงการแบบยอ (Project Brief) ของโครงการสําคญั ภายใตงบประมาณของจังหวัด

ประเดน็ การพัฒนาจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา : ประเดน็ การพัฒนาท่ี 3 สรา งฐานเศรษฐกิจมูลคาสงู ทเี่ ปนมิตรกบั
สิ่งแวดลอ มดวยเทคโนโลยี นวตั กรรม และภมู ิปญญาอยา งสรา งสรรค

หวั ขอ รายละเอยี ด

1. ชอ่ื โครงการสาํ คัญ พัฒนาศักยภาพกําลังคนทุกกลุมทุกชวงวัยเพ่ือรองรับ ภาคเกษตร อุตสาหกรรม
2. ชอื่ แผนงาน การคา และบริการ
3. แนวทางการพฒั นา ยกระดับศักยภาพของกําลังคน ทุกกลุม ทุกชวงวัย เพ่ือรองรับ ภาคเกษตร
4. หลักการและเหตุผล อตุ สาหกรรม การคา และบริการ
สงเสริมและพัฒนากําลังคนทุกกลุมทุกชวงวัยเพื่อสรางทักษะที่จําเปนรองรับภาค
เกษตรอตุ สาหกรรมการคา และบรกิ าร

ยุทธศาสตรสําคัญภายใตการนําของนายกรัฐมนตรี เนนในเร่ืองการพัฒนาสู
“ความมัน่ คง ม่ังค่ัง และยั่งยนื ” ดวยการสรา ง “ความเขมแข็งจากภายใน” ขับเคล่ือน
ตามแนวคิด “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ผานกลไก “ประชารัฐ” ซึ่งเปนความ
รวมมอื ระหวางภาครัฐและเอกชน เพ่ือขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศไทย ใหสามารถ
รบั มือกับโอกาสและภัยคกุ คามชุดใหม ในศตวรรษที่ ๒๑ สําหรับประเทศไทยขณะนี้
กาํ ลังเผชิญกับความทา ทาย “กบั ดกั ประเทศรายไดป านกลาง” และประสบปญหาการ
ลดลงของผลิตภาพแรงงานและกําลังแรงงาน นอกจากนี้ยังมีปญหาการขาดแคลน
แรงงานทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ซ่ึงเปนขอจํากัดตอการปรับโครงสราง
เศรษฐกจิ ไทย (Structural Transformation) เพื่อกาวขามพฒั นาการเศรษฐกิจไทยสู
ประเทศท่ีมีรายไดสูง ซึ่งเปนความมุงมั่นของนายกรัฐมนตรี ท่ีตองการปรับเปลี่ยน
โครงสรางไปสูเศรษฐกิจท่ีขับเคล่ือนดวยนวัตกรรม (Value-Based Economy)
กลาวคือ ตองปรับเศรษฐกิจแบบ “ทํามาก ไดนอย เปนทํานอยไดมาก” ซ่ึงการ
ขับเคลื่อนใหเกิดการเปล่ียนแปลงนี้ผลิตภาพการผลิตเปนส่ิงสําคัญในการขับเคล่ือน
ทางเศรษฐกิจระยะยาว รวมถึงสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากรในแตละ
ประเทศใหมคี วามเปนอยทู ่ีดีข้ึน

จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีเปาหมายดานพัฒนาการผลิต ภาคการเกษตร
อุตสาหกรรม การคาและบริการ โดยใชนวัตกรรม และภูมิปญญาท่ีสรางสรรค เพ่ือ
เพิ่มความสามารถทางการแขงขันภาคอุตสาหกรรม การคาและบริการ ดวยการ
กาํ หนดแนวทางการพฒั นายกระดับศักยภาพกําลังคน ภาคการผลิต การคา และการ
บริการใหเปนมืออาชีพ เพื่อนําไปสูอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจังหวัดท่ี
เพ่มิ ข้นึ ตามตัวชี้วดั เปา หมายการพัฒนาจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา และสอดคลองกับ
วิสัยทศั นข องจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

การขับเคลื่อนผูประกอบการและแรงงานใหมีขีดความสามารถในการแขงขัน
ฝกทักษะอาชพี พัฒนาศกั ยภาพแรงงานของคนทกุ กลุมใหมีทักษะในการทํางาน หรือ
การประกอบอาชพี อสิ ระ โดยมีเปา หมายในการทาํ ใหแ รงงานทักษะตาํ่ ไปสูแรงงานที่มี
ความรู ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง ไดมาตรฐานฝมือแรงงาน โดยเนนการ
ประยุกตใชความรูดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรม คณิตศาสตร (STEM
Workforce) โดยเฉพาะระบบการคดิ วิเคราะหอยา งเปนระบบใหกับพนักงาน รวมทั้ง
ผูประกอบกจิ การทีจ่ ะตองปรบั ทศั นคตใิ นการดําเนนิ กิจการจากการบริหาร ในระบบ

หัวขอ รายละเอียด

5. วัตถปุ ระสงคข องโครงการ ครอบครวั มาเปน การบริหารแบบมอื อาชพี เพื่อเปนการเตรียมความพรอมในการกาว
ขา มไปสูป ระเทศไทย 4.0 รวมท้ังใหคําปรึกษาแนะนําเพิ่มผลิตภาพแรงงานแกสถาน
6. ตวั ช้ีวัดและคา เปา หมาย ประกอบกจิ การและพนกั งานในสถานประกอบกิจการ ในการสรา งจิตสาํ นกึ ใหรคู ุณคา
7. พน้ื ทเี่ ปา หมาย ของทรพั ยากรทม่ี ีอยูอ ยา งจาํ กดั และใชใหเ กดิ ประโยชนสูงสุด เขาใจถึงความสูญเสียที่
8. กจิ กรรมหลัก แฝงอยูในกระบวนการทํางานและดําเนินการแกไขปรับปรุงไดอยางเปนระบบ ผาน
กระบวนการพัฒนาบุคลากรภายในสถานประกอบกิจการ และจัดทํา“กิจกรรมการ
พัฒนาศักยภาพแรงงานกลุมเปาหมายแรงงานนอกระบบ เพื่อเพิ่มโอกาสในการ
ประกอบอาชีพ” ใหสอดรับกับเปาหมายการพัฒนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ
บรรเทาปญหาความเดือดรอนของประชาชน แรงงานในสถานประกอบกิจการท่ีไดรับ
ผลกระทบจากการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทําใหเศรษฐกิจ
ถดถอย และปญ หาแรงงานตกงานเพิม่ ขึน้ ในอนาคต เพือ่ เพม่ิ ทกั ษะใหกาํ ลังแรงงานใน
ระบบและแรงงานนอกระบบมีศักยภาพเผชิญกับสภาวการณ สามารถมีอาชีพเลี้ยง
ตนเองได
1. เพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันแกผูประกอบกิจการ SME กลุม OTOP กลุม
วสิ าหกจิ ชุมชน ผานกระบวนการเพ่ิมผลิตภาพแรงงาน ผลักดันใหเกิดความคิดริเร่ิม
สรางสรรค นวตั กรรม แปลกใหม และการประยุกตใชประโยชนจากเทคโนโลยี เพ่ือ
รองรบั การพัฒนา สู SME 4.0
2. ขยายการใหบริการภาครัฐ เกี่ยวกับการใหคําแนะนําเก่ียวกับการเพิ่มผลิตภาพ
แรงงานใหแกผูประกอบกิจการ SME กลุม OTOP กลุมวิสาหกิจชุมชน แรงงานใน
ระบบ แรงงานนอกระบบ และผูเก่ียวของ ใหไดรับบริการอยางท่ัวถึง ผานกลไกการ
ประสานความรวมมอื ตามแนวทาง “ประชารัฐ”
3. ขบั เคล่ือนและพัฒนาผูประกอบกิจการ SME กลมุ OTOP กลุมวสิ าหกิจชมุ ชน เพื่อ
สรา งความเขม แข็งใหกบั เศรษฐกิจฐานรากของประเทศ
4. เพื่อฝกอาชีพเพ่ิมทักษะใหกับกลุมแรงงานนอกระบบ ใหมีความรู ความสามารถ
ทกั ษะฝม อื แรงงานและการเตรยี มความพรอ มทางดา นจรรยาบรรณในวิชาชีพเพื่อเขา
สูกระบวนการทํางาน
5. เพอื่ สรางความย่ังยืนในการประกอบอาชีพ สามารถพ่ึงพาตนเองได และสังคมให
การยอมรับในศกั ยภาพการทาํ งาน
6. เพ่ือสงเสริมและพัฒนาศักยภาพกลุมแรงงานนอกระบบ เปนกําลังแรงงานตาม
ความตอ งการของตลาดแรงงาน และยกระดับฝม อื แรงงานใหไ ดม าตรฐาน
7. เพ่ือฝกอาชีพเพิ่มทักษะใหกับกลุมแรงงานนอกระบบ ใหมีความรู ความสามารถ
ทักษะฝม ือแรงงานและการเตรยี มความพรอมทางดา นจรรยาบรรณในวิชาชีพเพ่ือเขา
สูกระบวนการทํางาน
8. เพอื่ สรางความยั่งยืนในการประกอบอาชีพ สามารถพ่ึงพาตนเองได และสังคมให
การยอมรับในศกั ยภาพการทาํ งาน
9. เพื่อสงเสริมและพัฒนาศักยภาพกลุมแรงงานนอกระบบ เปนกําลังแรงงานตาม
ความตอ งการของตลาดแรงงาน และยกระดบั ฝม ือแรงงานใหไ ดมาตรฐาน
รอยละของผูส าํ เรจ็ การฝกอบรมไดตามเกณฑม าตรฐานการฝกอบรม
(รอยละ 84)
จังหวดั พระนครศรีอยุธยา

สงเสริมการคา การลงทุนภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ และยกระดับศักยภาพ
แรงงาน

หัวขอ รายละเอยี ด

8.1 กิจกรรมหลักท่ี 1 ยกระดบั ทักษะและศกั ยภาพผปู ระกอบการ และแรงงาน
งบประมาณ 1,532,600 บาท (หนง่ึ ลานหา แสนสามหมืน่ สองพนั หกรอยบาทถวน)
ผูร ับผิดชอบ สถาบันพัฒนาฝม ือแรงงาน 15 พระนครศรอี ยุธยา
หนวยงานทเ่ี ก่ียวของ สาํ นักงานคมุ ประพฤติจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
เชื่อมโยงภาคการศึกษากับภาคเกษตร อุตสาหกรรม การคา และบริการดวย
8.2 กิจกรรมหลกั ท่ี 2 เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมเพอ่ื พัฒนากําลงั คนอยา งสรา งสรรค
งบประมาณ 715,600 บาท (เจด็ แสนหน่งึ หมนื่ หาพันหกรอ ยบาทถวน)
ผรู บั ผิดชอบ สํานักงานแรงงานจังหวดั พระนครศรีอยุธยา
หนวยงานที่เก่ียวของ -
1. สถาบนั พัฒนาฝมือแรงงาน 15 พระนครศรอี ยุธยา
9. หนวยงานดาํ เนนิ การ 2. สาํ นักงานคมุ ประพฤติจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
10. ระยะเวลาในการดาํ เนินโครงการ 3. สํานกั งานแรงงานจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
11. งบประมาณ เดอื นตุลาคม 2566 – เดอื นกันยายน 2570
12. ผลผลิต (Output) 2,248,200 บาท (สองลา นสองแสนส่ีหม่นื แปดพันสองบาทถวน)
1. เพ่ิมผลิตภาพแรงงานใหแกผูประกอบกิจการ SME กลุม OTOP กลุมวิสาหกิจ
13. ผลลพั ธจากการดําเนนิ โครงการ ชุมชน จาํ นวน 3 แหง ไดร ับคําแนะนําในกระบวนงานท่ีสําคัญ ดานการเพ่ิมผลิตภาพ
(Outcome) แรงงาน และลดการสูญเสยี ในวงจรการผลิต หรอื บริการ
2. พัฒนาผูประกอบกิจการเพ่ือเพ่ิมผลติ ภาพแรงงาน จาํ นวน 60 คน
3. กําลังแรงงานในสถานประกอบกิจการ SME กลุม OTOP กลุมวิสาหกิจชุมชน
ไดร ับการพัฒนาทักษะและยกระดับใหมีความรู ความเช่ียวชาญเฉพาะดาน โดยเนน
ความรู ทักษะท่ีจําเปนในการแกไขปญหาหนางาน สอดคลองกับความตองการของ
สถานประกอบกจิ การของตน จาํ นวน 60 คน
4. ผูเ ขารับการฝกอบรมเขา รบั การฝกอบรมไมนอ ยกวา รอยละ 80 ของระยะเวลาการ
ฝกอบรมท้งั หลกั สตู ร จํานวน 320 คน
5. รอ ยละของผสู าํ เรจ็ การฝก อบรมไดตามเกณฑมาตรฐานการฝกอบรม (รอยละ 80)
จาํ นวน 320 คน
1. ผปู ระกอบกจิ การ SME กลุม OTOP กลมุ วิสาหกิจชมุ ชน มขี ีดความสามารถในการ
แขงขนั และสามารถปรบั ตัวการทาํ ธรุ กิจทเ่ี ปลี่ยนแปลงไป
2. ผูประกอบกิจการ SME กลุม OTOP กลุมวิสาหกิจชุมชน ไดเขาถึงบริการ จาก
ภาครัฐมากย่ิงข้นึ
3. ทีมงานในสถานประกอบกิจการไดรับการพัฒนาทักษะดานการเพิ่มผลิตภาพ
แรงงาน โดยสามารถประยุกตใชความรูดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรม
คณิตศาสตรและองคความรูดานการเพ่ิมผลิตภาพแรงงาน โดยเฉพาะระบบการคิด
วเิ คราะหอ ยา งเปนระบบ ตามแนวทาง STEM Workforce
4. กลุมแรงงานนอกระบบผานการฝกอบรมอาชีพสามารถนําความรู ทักษะที่ไดรับไป
สรางโอกาสในการประกอบอาชีพ มีงานทําในระบบการจางงาน และยกระดับฝมือ
แรงงานใหไ ดมาตรฐาน



แบบ จ.1-1
(Project Brief รายโครงการ)

แบบฟอรม โครงการแบบยอ (Project Brief) ของโครงการสําคัญภายใตงบประมาณของจังหวัด

ประเดน็ การพฒั นาจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา : ประเดน็ การพฒั นาท่ี 3 สรา งฐานเศรษฐกจิ มลู คาสูงทีเ่ ปนมิตรกับ
ส่ิงแวดลอ มดวยเทคโนโลยี นวัตกรรม และภูมปิ ญญาอยางสรางสรรค

หวั ขอ รายละเอยี ด

1. ชอ่ื โครงการสําคญั สงเสรมิ การเพิม่ มลู คา แกผลิตภัณฑช ุมชนเชงิ สรา งสรรค
2. ช่อื แผนงาน ยกระดับการผลิตสินคาและบริการมูลคาสูงภาคเกษตร อุตสาหกรรม การคา
3. แนวทางการพฒั นา ทีเ่ ปนมติ รกับสิ่งแวดลอมดวยเทคโนโลยี นวตั กรรมและภูมิปญญาอยางสรางสรรค
4. หลกั การและเหตุผล สนับสนุนการใชเทคโนโลยีนวัตกรรมและภูมิปญญาอยางสรางสรรคเพ่ือเพิ่ม
มูลคา ใหกบั สนิ คา และบริการท่เี ปน มิตรกบั สงิ่ แวดลอ ม
5. วตั ถปุ ระสงคของโครงการ
6. ตัวชวี้ ดั และคา เปา หมาย กระแสโลกการคาในปจจุบนั มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะการ
7. พ้นื ที่เปา หมาย เขา มามบี ทบาทของ E-commerce ทําใหผูประกอบการ OTOP ตองมีการปรับตัว
8. กิจกรรมหลัก ใหเขากับสถานการณอยูเสมอ โดยตองตอบสนองความตองการทางการคาระบบ
On line และ Off line ตลอดจนการเสริมสรางแนวทางและองคความรูตางๆ
8.1 กจิ กรรมหลักท่ี 1 ในการพฒั นาสินคา ผลิตภัณฑ และการเพ่ิมชองทางในการคาใหกับผูประกอบการ
งบประมาณ โดยสามารถแขงขันกับเวทีการคาในภูมิภาคอาเซียนได จึงถือวาเปนเรื่องที่สําคัญ
ผูรบั ผิดชอบ และเรง ดวนตามแผน/แนวทางการพัฒนาประเทศ
หนวยงานท่ีเกี่ยวขอ ง
พัฒนาผูประกอบการ OTOP ดานองคความรูในการพัฒนาสินคา ผลิตภัณฑ
9. หนว ยงานดาํ เนนิ การ เพ่ือเขาสูการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ เพิ่มชองทางการตลาดทั้งดาน On line
10. ระยะเวลาในการดาํ เนินโครงการ และ Off line เพ่อื สรางรายไดจากการจําหนายผลติ ภณั ฑ
11. งบประมาณ 1. รอ ยละทเ่ี พิม่ ขึ้นของรายไดจ ากการจําหนายสนิ คา OTOP (รอ ยละ 30)
12. ผลผลติ (Output) จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
13. ผลลัพธจากการดําเนนิ โครงการ พัฒนาผลติ ภัณฑใหไดมาตรฐาน สรางความแตกตางดานเทคโนโลยีและนวัตกรรม
(Outcome) พฒั นาใหผ ูป ระกอบการมีองคค วามรูทักษะในการเขา ถึงชอ งทางการตลาด เพอ่ื สราง
รายไดจ ากการจําหนายผลติ ภัณฑ
พฒั นาผลิตภณั ฑชุมชนใหไดมาตรฐาน และสรางความแตกตางดวยเทคโนโลยีและ
นวตั กรรม
17,950,000 บาท (สบิ เจด็ ลา นเกาแสนหา หมืน่ บาทถวน)
สาํ นกั งานพัฒนาชมุ ชนจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
-

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
เดอื นตุลาคม 2566 – เดอื นกันยายน 2570
17,950,000 บาท (สบิ เจด็ ลา นเกา แสนหา หม่ืนบาทถวน)
ผปู ระกอบการ OTOP ไดค วามรูแนวทางการเตรยี มความพรอมดา นสถานท่ีการผลิต
แนวทางการขอมาตรฐานสินคา ดานการจาํ หนา ย ดา นการเพ่มิ ชอ งทางการตลาด
1. ผปู ระกอบการ OTOP ไดพ ัฒนาความรใู นการพฒั นาผลิตภณั ฑ การขอมาตรฐาน
สนิ คา และการเพ่มิ ชอ งทางตลาด จาํ นวน 210 ราย
2. ผูป ระกอบการ OTOP มผี ลิตภัณฑผ า นมาตรฐาน เพมิ่ ข้ึนรอยละ 20
3. ผปู ระกอบการ OTOP มีรายไดจากการจําหนายเพ่ิมขน้ึ รอ ยละ 10



แบบ จ.1-1
(Project Brief รายโครงการ)

แบบฟอรมโครงการแบบยอ (Project Brief) ของโครงการสาํ คัญภายใตงบประมาณของจังหวัด

ประเดน็ การพฒั นาจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา : ประเด็นการพัฒนาที่ 3 สรา งฐานเศรษฐกิจมูลคาสงู ท่เี ปน มิตรกบั
สง่ิ แวดลอมดว ยเทคโนโลยี นวตั กรรม และภมู ิปญ ญาอยางสรางสรรค

หัวขอ รายละเอียด

1. ชือ่ โครงการสาํ คญั สง เสริมการผลติ สนิ คาและบริการมลู คาสงู ที่เปนมติ รกบั สง่ิ แวดลอ มดวย
2. ช่ือแผนงาน เทคโนโลยี นวัตกรรมและภูมปิ ญญาทส่ี รา งสรรค
3. แนวทางการพฒั นา ยกระดบั การผลิตสนิ คาและบรกิ ารมลู คาสูงภาคเกษตร อตุ สาหกรรม การคา
4. หลักการและเหตผุ ล ท่ีเปนมิตรกบั สิ่งแวดลอ มดวยเทคโนโลยี นวตั กรรมและภมู ิปญญาอยา ง
สรา งสรรค
5. วตั ถปุ ระสงคของโครงการ สนับสนนุ การใชเ ทคโนโลยีนวัตกรรมและภมู ิปญญาอยา งสรางสรรคเพอื่ เพิ่ม
6. ตวั ชว้ี ดั และคา เปา หมาย มูลคา ใหก บั สินคาและบริการทเ่ี ปน มติ รกบั ส่ิงแวดลอม

ปจจุบันตลาดแล ะผูบริ โภค มีความตองการ สินค าเกษ ตรท่ี มี
ความปลอดภัย ผานกระบวนการผลิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม มีคุณภาพ
ไดมาตรฐานสากล ซึ่งมีแนวโนมขยายตัวเพ่ิมมากขึ้น และผูบริโภค
ใหค วามสนใจ ประกอบกับสถานการณก ารระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) สงผลกระทบตอเกษตรกรของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ท้ังทางตรงและทางออม การผลิตและจําหนายสินคาของเกษตรกรไดรับ
ผลกระทบท้ังดานการขนสงแหลงรวบรวมรับซ้ือ ผูบริโภคมีความตองการ
บรโิ ภคสนิ คา ตามความจําเปน ที่สดุ กิจการในเมืองใหญหยุดหรือชะลอลดการ
ผลิต ทําใหแรงงานบางสวนกลับภูมิลําเนา จากสถานการณดังกลาวสงผลให
เกษตรกรและประชาชนเดือดรอนอยางมาก เพ่ือเปนการบรรเทาความ
เดือดรอนในการประกอบอาชีพและดํารงชีวิตของเกษตรกร จึงเปนโอกาสที่
เกษตรกรตอ งปรับตัวใหเ หมาะสมกับสภาพแวดลอมท่ีเปล่ียนแปลงไป จังหวัด
พระนครศรีอยุธยามีพ้ืนที่การเกษตร 946,299.25 ไร คิดเปนรอยละ 59.22
ของพ้ืนท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ครัวเรือนเกษตรกร 45,020 ครัวเรือน
ดังนน้ั หากมีการสงเสริมและพัฒนาการ ทําการเกษตรปลูกพืชผัก ไมผล และ
พืชสมุนไพร ที่มีคุณภาพและปลอดภัย ซ่ึงสามารถนํามาใชบริโภคและการ
ปอ งกนั กาํ จัดศตั รพู ชื ใหมี มาตรฐานโดยเฉพาะสินคา เกษตรปลอดภัยควบคูไป
กับการควบคุมคุณภาพผลผลิตก็จะเปนการยกระดับการทําการเกษตรของ
เกษตรกรให มีคุณภาพ สามารถแขงขันในตลาดที่จะสรางมูลคาผลผลิตให
สงู ขน้ึ อันจะสง ผลดีตอเกษตรกรทีจ่ ะมรี ายไดมากขน้ึ จากการทาํ การเกษตร
1. เพื่อพัฒนาเกษตรกรใหมีความรคู วามเขาใจดานการผลิตพชื ที่ปลอดภัยไดม าตรฐาน
2. เพือ่ พฒั นาความรูค วามสามารถของกลุม เกษตรกรใหสามารถผลิตและแปร
รูปสินคาเกษตรปลอดภยั ทมี่ คี ณุ ภาพและสอดคลองกบั ความตอ งการของตลาด
3. เพ่อื สรางตน แบบในการจดั การพน้ื ที่ใหเหมาสมกับกลุมพื้นที่ และเพิ่มความ
สมบรู ณข องพ้ืนทีเ่ พือ่ รองรบั การผลิตพชื แบบปลอดภยั
4. พฒั นาแหลงน้ําเพ่อื รองรบั การเกษตรในพืน้ ที่
1. พื้นท่ีรับประโยชนจากแหลงนํ้าท่ีไดร ับการพัฒนาไมนอยกวาปละ (ไร 750,000)
2.รอยละที่เพ่ิมขึ้นของแปลง / จาํ นวนฟารม ท่ผี านมาตรฐานความปลอดภัย (รอ ยละ 5)

7. พื้นท่เี ปาหมาย หวั ขอ รายละเอียด
8. กจิ กรรมหลกั
จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
8.1 กจิ กรรมหลกั ที่ 1 พัฒนาการผลิตพืชปลอดภัยโดยพัฒนาตั้งแตกระบวนการผลิตพืชปลอดภัย
งบประมาณ การแปรรปู และการสรา งเกษตรกรตน แบบ ซึ่งจะเปน การผลติ พืชปลอดภัยทมี่ ี
ผูรบั ผดิ ชอบ ประสิทธภิ าพมากขน้ึ และคํานึงถึงความตอ งการของตลาด
หนว ยงานทเี่ กี่ยวของ บริหารจดั การนํา้ เพอื่ การเกษตรและอุตสาหกรรม
6,298,000 บาท (หกลา นสองแสนเกาหมนื่ แปดพันบาทถวน)
8.2 กิจกรรมหลักที่ 2 สาํ นกั งานพลงั งานจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
งบประมาณ -
ผูร บั ผิดชอบ พฒั นาประสทิ ธิภาพผลิตภาพการผลติ สินคา เกษตร อุตสาหกรรม การคา และ
หนวยงานทเี่ ก่ียวของ บรกิ ารอยา งสรา งสรรคท ีเ่ ปน มิตรกบั ส่ิงแวดลอ ม
41,662,360 บาท (สสี่ ิบเอด็ ลา นหกแสนหกหมื่นสองพันสามรอ ยหกสิบบาทถว น)
9. หนวยงานดําเนินการ สํานกั งานเกษตรจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
1. สาํ นกั งานประมงจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา
10. ระยะเวลาในการดาํ เนนิ โครงการ 2. สํานักงานปศุสัตวจ งั หวัดพระนครศรีอยุธยา
11. งบประมาณ 3. สํานกั งานเกษตรและสหกรณจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
12. ผลผลิต (Output) 1. สาํ นักงานเกษตรจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
2. สาํ นกั งานพลงั งานจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
13. ผลลพั ธจากการดําเนนิ โครงการ 3. สาํ นกั งานประมงจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา
(Outcome) 4. สาํ นักงานปศสุ ัตวจังหวดั พระนครศรีอยุธยา
5. สาํ นกั งานเกษตรและสหกรณจ ังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เดือนตุลาคม 2566 – เดือนกนั ยายน 2570
47,960,360 บาท (สีส่ บิ เจด็ ลานเกาแสนหกหมนื่ สามรอยหกสบิ บาทถวน)
1. เพ่ือพัฒนาเกษตรกรใหมีความรูความเขาใจดานการผลิตตามระบบ
มาตรฐาน
2. กลุมเกษตรกรท่ีเขารวมโครงการไดรับการ ถายทอดความรูดานการผลิต
และแปรรูปสนิ คาเกษตรปลอดภยั ท่ีมีคณุ ภาพ และสอดคลองกบั ความตอ งการ
ของตลาด
3. มีเกษตรกรตนแบบในการจัดการพ้ืนท่ีใหเหมาสมกับกลุมพ้ืนท่ี และเพิ่ม
ความสมบูรณข องพื้นทีเ่ พื่อรองรับการผลติ พืชแบบปลอดภัย
4. แหลงนํา้ ไดรบั การพฒั นา จํานวน 1 แหง
เกษตรกรผผู ลติ มกี ารผลติ สินคาเกษตรตามระบบคุณภาพและมาตรฐาน GAP
ไดเพิ่มข้ึน ซึ่งจะสงผลใหเกษตรกรผูผลิตมีการจัดการระบบการผลิตที่มี
ประสทิ ธิภาพ ปลอดภัยตอทั้งผูผลิต ผบู ริโภค เปนมิตรตอ ส่งิ แวดลอ ม และเปน
ที่ตองการของตลาด และพ้ืนท่ีทางการเกษตรไดรับประโยชนจากแหลงน้ําท่ี
ไดรบั การพฒั นา



แบบ จ.1-1
(Project Brief รายโครงการ)

แบบฟอรมโครงการแบบยอ (Project Brief) ของโครงการสําคัญภายใตงบประมาณของจังหวัด

ประเดน็ การพฒั นาจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา : ประเด็นการพฒั นาท่ี 3 สรา งฐานเศรษฐกิจมูลคาสูงทเ่ี ปนมติ รกับ
สิ่งแวดลอมดว ยเทคโนโลยี นวัตกรรม และภมู ิปญญาอยา งสรางสรรค

หัวขอ รายละเอยี ด

1. ช่ือโครงการสําคญั สง เสรมิ การดําเนนิ งานตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและขยายผล
2. ชอ่ื แผนงาน โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ
3. แนวทางการพฒั นา ยกระดับการผลติ สนิ คาและบริการมูลคาสงู ภาคเกษตร อตุ สาหกรรม การคา
4. หลักการและเหตผุ ล ที่เปนมิตรกับสงิ่ แวดลอ มดวยเทคโนโลยี นวัตกรรมและภมู ิปญญาอยางสรางสรรค
สนับสนุนการใชเ ทคโนโลยนี วัตกรรมและภมู ิปญ ญาอยางสรางสรรคเพือ่ เพมิ่
5. วัตถปุ ระสงคของโครงการ มูลคา ใหก ับสนิ คาและบริการทีเ่ ปนมติ รกบั สิ่งแวดลอม
6. ตัวชีว้ ัดและคาเปา หมาย
7. พื้นที่เปา หมาย โครงการตามแนวพระราชดําริ ในพ้ืนที่ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
8. กิจกรรมหลัก เปนการดําเนินงานเพ่ือขยายผลพระราชดําริฯ ในสวนท่ีเกี่ยวของกับการพัฒนา
อาชีพและรายไดทางดานการเกษตร นับเปนพระมหากรุณาธิคุณของ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระบรมราชินีนาถใน
รัชกาลที่ 9 ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศท กุ พระองค ที่มีตอพสกนิกรชาวไทย
ถือเปนหนาท่ีของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่จะตองขยายผลใหเปนที่
ประจักษ และเกดิ คณุ ประโยชนกับเกษตรกรใหมากท่ีสุด โดยพิจารณาถึงการ
แกปญหา การพัฒนารายไดและการลดตนทุน การเปนศูนยเรียนรูดาน
การเกษตร ตลอดจนเปน แหลงถา ยทอดเทคโนโลยดี า นอาชีพการเกษตรทั้งกับ
เกษตรกรในพ้ืนที่ และผูสนใจโดยทัว่ ไป

เน่ืองโครงการพราชดําริยังขาดความตอเนื่อง และยังไมเปนท่ีรูจัก
แพรหลายแกสาธารณชน จากเหตุผลดังกลาวสํานักงานเกษตรจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาจึงไดมีการขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
ควบคกู บั การดาํ เนนิ งานของกลุมยวุ เกษตรกร เพื่อใหเด็ก และเยาวชนรวมกัน
เรียนรูทักษะดานการเกษตรจากการปฏิบัติจริง และปลูกฝงคานิยม และ
ทัศนคติความภาคภูมิใจในคุณคาของอาชีพเกษตรกร ซ่ึงเปนอาชีพท่ีมี
ความสําคัญตอการดํารงชีพและเศรษฐกิจของประเทศ และเพื่อขับเคลื่อน
กระบวนการตามแนวพระราชดําริใหเกิดผลสัมฤทธิ์กับเกษตรกรตามราช
ประสงค และเปนทีแ่ พรหลายตอไป
1. นักเรียนมีอาหารกลางวันทเ่ี พียงพอ มีแหลงอาหารที่เพียงพอ ลดรายจายใน
ครวั เรอื น นาํ ไปสูการพฒั นาเศรษฐกจิ ระดบั ครัวเรอื นได
2. นกั เรยี นมคี วามรทู ักษะทางดานการเกษตรสามารถพงึ่ พาตนเองได
3. นักเรียนมีแหลงเรียนรูทางการเกษตร มีสถานที่ฝกปฏิบัติ และสามารถ
นาํ ไปพัฒนาทองถน่ิ ได
รอ ยละของโครงการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงที่สาํ เรจ็ ตามเปาหมาย (รอ ยละ 100)
จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา
สง เสรมิ แหลง เรียนรูทางดา นการเกษตรในโครงการพระราชดําริ ใหแกนักเรียน
เยาวชน และประชาชนทว่ั ไป และสง เสรมิ การทอ งเท่ยี วเชิงเกษตร รวมท้ังการ
เผยแพรกิจกรรมพระราชดาํ ริ

หวั ขอ รายละเอยี ด

8.1 กิจกรรมหลกั ท่ี 1 ขยายผลโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดํารแิ ละสง เสรมิ การดาํ เนนิ งานตาม
งบประมาณ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ผูรบั ผดิ ชอบ 6,184,800 บาท (หกลา นหน่ึงแสนแปดหมน่ื สี่พันแปดรอ ยบาทถวน)
หนวยงานที่เกี่ยวของ สํานกั งานเกษตรจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา
สาํ นกั งานจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา
9. หนวยงานดําเนนิ การ 1. สาํ นักงานเกษตรจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
10. ระยะเวลาในการดําเนินโครงการ 2. สํานกั งานจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
11. งบประมาณ เดอื นตุลาคม 2566 – เดอื นกันยายน 2570
12. ผลผลติ (Output) 6,184,800 บาท (หกลา นหนงึ่ แสนแปดหม่นื ส่ีพันแปดรอยบาทถว น)
1. ครู นกั เรยี น และเจา หนาที่ ไดรับความรูจากการอบรมดานวิชาการในการ
13. ผลลพั ธจ ากการดําเนินโครงการ ดําเนินโครงการฯ
(Outcome) 2. เกดิ การจัดทาํ แปลงเกษตร เพอื่ เปน แหลง เรียนรูแกกลมุ ยวุ เกษตรกร
3. สมาชิกกลุมยุวเกษตรกรไดฝกการเปนผูนํา และฝกการเขาสังคม
ผานกระบวนการกลมุ ยุวเกษตรกร
1. นกั เรยี นและสมาชิกกลุมยุวเกษตรกรในโรงเรียนเปาหมาย มีอาหารกลางวัน
ทม่ี คี ุณคา ทางโภชนาการเพยี งพอตอการบริโภค
2. ไดรับความรูในดา นการทําการเกษตร
3. สามารถนําความรูท่ีไดรับไปขยายผลสูครัวเรือน ชุมชนท่ีตนอาศัยอยู
เพอื่ ลดรายจา ยในครวั เรอื น นาํ ไปสกู ารพัฒนาเศรษฐกิจระดบั ครวั เรอื นได



แบบ จ.1-1
(Project Brief รายโครงการ)

แบบฟอรมโครงการแบบยอ (Project Brief) ของโครงการสาํ คัญภายใตงบประมาณของจังหวัด

ประเด็นการพฒั นาจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา : ประเด็นการพฒั นาที่ 3 สรางฐานเศรษฐกจิ มลู คาสงู ท่ีเปนมติ รกบั
ส่งิ แวดลอ มดวยเทคโนโลยี นวัตกรรม และภูมปิ ญญาอยา งสรางสรรค

หัวขอ รายละเอียด

1. ชอื่ โครงการสาํ คญั ยกระดับการบริหารจัดการโลจสิ ติกสแ ละโซอ ุปทานภาคการเกษตร อตุ สาหกรรม และบริการ
2. ชอ่ื แผนงาน การจัดการหว งโซอ ุปทานภาคการเกษตรอตุ สาหกรรม การคาและบริการ
3. แนวทางการพฒั นา สง เสริมและสนบั สนุนการเช่อื มโยงหว งโซอปุ ทานภาคการเกษตรอุตสาหกรรม
การคา และบริการ
4. หลักการและเหตผุ ล
ดวยกระทรวงเกษตรและสหกรณ มีนโยบายการบริหารจัดการสินคาเกษตร
แบบครบวงจร การบริหารจัดการมาตรฐานสินคาเกษตร สูเกษตร 4.0 การ
บริหารตลาดสินคาเกษตร การขยายตลาดสินคาเกษตร และการเชื่อมโยง
ตลาดสินคาเกษตรในพ้ืนท่ี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไดดําเนินงานโครงการ
ตลาดเกษตรกร มาต้ังแต ป พ.ศ. 2558 มาจนถึงปจจุบัน ตามแนวทางของ
กรมสง เสริมการเกษตรที่ตองการใหทุกจังหวัดมีสถานที่ใหเกษตรกรจําหนาย
สนิ คา โดยมกี ารจําหนา ยสนิ คาในทกุ วนั อังคาร ต้งั แตเวลา 15.00 – 20.00 น.
ณ หางสรรพสินคา บิ๊กซี ซูเปอรเซ็นเตอร สาขาพระนครศรีอยุธยา
มีสมาชกิ ตลาดเกษตรกรทั้งหมด 36 รา น มาจําหนายประจํา 10 ราน สินคาท่ี
มีมาจําหนายไดแก ขาวสาร ผักพ้ืนบาน ผักสลัด ผลไมตามฤดูกาล ไขเปด
ไขไก ขนมไทย ขนมหวาน และน้ําสมุนไพร ตนไม พันธุไมตางๆ แตเน่ืองจาก
สถานการณการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
สงผลกระทบตอเกษตรกรของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาท้ังทางตรงและ
ทางออม การผลิตและจําหนายสินคาของเกษตรกรไดรับผลกระทบ
ทําใหเกษตรกรประสบปญหาขาดโอกาสทางการตลาด สง ผลใหเกิดปญหาการ
ขาดรายได จากสถานการณดานการตลาดที่เปลี่ยนแปลงไป การพัฒนาตลาด
สินคาเกษตรท่ีมีศักยภาพในพื้นที่ จึงตองผลักดันใหเกษตรกรเปน
ผูประกอบการดานการเกษตร โดยการสงเสริมความรูดานการบริหารจัดการ
ดานการตลาดที่เหมาะสมใหเกษตรกร โดยการพัฒนาท้ังความรูและ
ประสบการณจริงในดานการตลาด การบริหารจัดการดานการขนสง
เพ่ือสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคาและผลิตภัณฑ การสรางแบรนดสินคา
วางแผนการผลิตท่ีเนนการผลิตที่ตรงตามความตองการของตลาดอยาง
แทจริง อีกท้ังเปนการเช่ือมโยงผลผลิตที่มีคุณภาพและไดรับการรับรอง
มาตรฐานจากกิจกรรมแปลงใหญ เกษตรทฤษฎีใหม องคกรเกษตรกร
วิสาหกิจชุมชน Young Smart Farmer และ Smart Farmer
ซ่ึงตองมี การบูรณาการรวมกันจากภาครัฐ เอกชน ผูประกอบการ และ
เกษตรกร ใหเกิดตลาดสนิ คา เกษตรที่มีอตั ลกั ษณ ขยายชองทางการจําหนายท่ี
ครอบคลุม และยกระดับสูตลาดสินคาเกษตรท่ีมีศักยภาพ เพื่อชวยเหลือ
เกษตรกร ในดา นการตลาดใหเ ขมแข็งและม่ันคง สามารถพ่ึงพาตัวเองไดอยาง
ยั่งยืน

หวั ขอ รายละเอยี ด

5. วตั ถปุ ระสงคข องโครงการ 1. เพ่ือพัฒนาทักษะทางดานการตลาดของเกษตรกร ใหเกษตรกรมีการวาง
แผนการผลิตที่สอดคลอง กับความตองการของตลาด มุงสูการเปน
6. ตัวช้ีวดั และคา เปา หมาย ผูป ระกอบการดา นการเกษตร
7. พ้นื ทเี่ ปา หมาย 2. เพ่อื พฒั นาตลาดเกษตรกรใหเกิดอัตลักษณและเปนแหลงจําหนายผลผลิต
8. กจิ กรรมหลัก ทางการเกษตรของเกษตรกรในพน้ื ท่ี
3. เพื่อพัฒนาสินคาเกษตรสูชองทางการจําหนายในตลาดสินคาเกษตรท่ีมี
8.1 กิจกรรมหลักท่ี 1 ศกั ยภาพ เชน ตลาด Modern Trade และตลาดออนไลน
งบประมาณ 4. เพ่ือประชาสัมพันธตลาดเกษตรกรหรือตลาดสินคาเกษตร และสินคาท่ี
ผรู บั ผดิ ชอบ จําหนายในตลาดออนไลน ใหเปน ที่รจู ักและกระตุน การรบั รขู องผบู รโิ ภคในวงกวา งข้นึ
หนว ยงานทเี่ กี่ยวของ 5. เพ่ือสรางเครือขายดานการตลาด ดวยการเช่ือมโยงผลผลิตคุณภาพของ
เกษตรกรที่ไดรบั การ สงเสริมการเกษตรรูปแบบแปลงใหญ เกษตรทฤษฎีใหม
9. หนวยงานดาํ เนินการ องคกรเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน Young Smart Farmer และ Smart Farmer
10. ระยะเวลาในการดําเนนิ โครงการ สูตลาดเกษตรกรหรือตลาดสนิ คาเกษตร และขยายสูตลาดในระดับสูงขึ้น เชน
11. งบประมาณ ตลาด Modern Trade ตลาดคาสงสินคา เกษตร ตลาดออนไลน หรอื เชอ่ื มโยงตลาดอ่ืนๆ
12. ผลผลติ (Output) 1. รอ ยละทเี่ พม่ิ ข้ึนของรายไดจ ากการจําหนา ยสินคา OTOP (รอยละ 30)
2. รอยละท่ีเพิ่มข้ึนของรายไดร วมของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ ม (รอ ยละ 3)
13. ผลลพั ธจ ากการดําเนินโครงการ จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
(Outcome) การพฒั นาเกษตรกรใหมศี กั ยภาพในการบรหิ ารจดั การตลาด และพัฒนาทักษะดาน
การตลาดของเกษตรกร ใหเกดิ อัตลกั ษณแ ละเปน แหลง จําหนา ยผลผลติ ทางการ
เกษตรของพืน้ ท่ี รวมถึงการประชาสมั พันธ และสรา งเครอื ขา ยดานการตลาด
สรางการรับรแู ละสง เสรมิ การตลาดสมัยใหมภาคเกษตร ภาคอตุ สาหกรรม การคา และบรกิ าร
8,129,800 บาท (แปดลา นหน่ึงแสนสองหมื่นเกา พันแปดรอยบาทถวน)
สํานกั งานเกษตรจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
-

สาํ นักงานเกษตรจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
เดือนตลุ าคม 2566 – เดือนกันยายน 2570
8,129,800 บาท (แปดลา นหน่ึงแสนสองหม่ืนเกา พันแปดรอยบาทถวน)
1. เกษตรกรเปน ผปู ระกอบการดา นการเกษตร
2. เกษตรกรมแี ผนการผลติ ทสี่ อดคลองกับความตอ งการของตลาด
3. ตลาดสินคาเกษตรหรือตลาดเกษตรกรในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาไดรับ
การพฒั นาใหเกิดอตั ลกั ษณและเปนแหลง จาํ หนา ยผลผลิตทางการเกษตรหลัก
ของเกษตรกรในพ้นื ทไ่ี ด
4. เกษตรกรมชี องทางการจําหนา ยผลผลติ คณุ ภาพผานทางตลาดสนิ คาเกษตร
ที่มศี กั ยภาพ รวมถึงการใชง าน Platform ของหนว ยงานบรู ณาการ
5. เกิดการรับรูเรอ่ื ง “ตลาดเกษตรกรหรือตลาดสินคา เกษตร” ของผูบริโภคในวงทก่ี วาง
6. มีการเชื่อมโยงเครือขายเครือขายดานการตลาดและเพิ่มชองทางการ
จําหนา ยผลผลิตคณุ ภาพ
1. เกษตรกรมีคุณภาพชวี ิตทีด่ ขี ึ้นและเกิดความเขมแขง็ มน่ั คงและยง่ั ยืน
2. ผบู รโิ ภคสามารถเขา ถงึ อาหารที่ปลอดภยั ในราคาทสี่ มเหตุสมผล



ภาคผนวก ก.
รายการตรวจสอบการดำเนนิ การตามพระราชกฤษฎกี าว่าด้วย
การบรหิ ารงานจังหวดั และกลุ่มจงั หวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551





































ภาคผนวก ข.
คำอธิบาย และคา่ Baseline ของตัวช้วี ดั

ตวั ชีว้ ัดความสำเร็จตามเป้าหมายการพฒั นาจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา (พ.ศ. 2566-2570)

ท่ี ตัวชว้ี ัด คำอธบิ าย รายละเอยี ดขอ้ มลู

1 จำนวน แหล่งเรียนรู้ใน จำนวนแหล่งเรียนรู้ในจังหวัดเพิ่มขึ้น โดยพิจารณาจากสัดส่วนจำนวน ตาราง รายละเอียดขอ้ มูลของฐานจำนวนแหลง่ เรียนรู้

จงั หวดั เพ่ิมขนึ้ ศูนยก์ ารเรียนรชู้ ุมชนต่อจำนวนหมู่บ้านปเี ปา้ หมาย เปรียบเทียบกับสัดสว่ น ปี พ.ศ. จำนวนแหลง่ เรียนรู้ในจังหวัดเพิ่มข้นึ

จำนวนศูนย์การเรียนรูช้ ุมชนต่อจำนวนหมูบ่ ้านปที ่ผี ่านมา (ร้อยละ)

(แหล่งที่มา : ระบบฐานขอ้ มลู โครงการพัฒนาศักยภาพในการเช่ือมโยงและ 2558 32.11

จัดทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนการพัฒนาในระดับพ้ืนที่ สำนักงาน 2560 41.58

ปลดั กระทรวงมหาดไทย และกรมพัฒนาชุมชน) 2562 37.54

2 ร้อ ย ล ะ ที่ เพิ่ ม ขึ้ น ข อ ง รอ้ ยละท่ีเพ่ิมข้ึนของรายได้จากการท่องเท่ียว พิจารณาจากรายได้จากการ ตาราง รายละเอียดขอ้ มูลของฐานรายได้จากการทอ่ งเทย่ี ว

รายไดจ้ ากการทอ่ งเท่ยี ว ท่องเที่ยวของจังหวดั ในปเี ป้าหมายเปรียบเทียบกบั รายได้จากการทอ่ งเท่ยี ว ปี พ.ศ. รายได้จากการทอ่ งเท่ยี ว อตั ราการขยายตัว

ของจังหวดั ในปที ผี่ ่านมา (แหลง่ ขอ้ มลู : กรมการท่องเที่ยว) (ล้านบาท) (รอ้ ยละ)

2557 13,446.66 9.90

2558 14,485.17 7.72

2559 15,309.69 5.69

2560 16,901.48 10.40

2561 19,016.22 12.51

2562 19,469.53 2.38

2563 6,154 -67.87*

คา่ เฉล่ียอัตราการขยายตวั 5 ปี เท่ากบั ร้อยละ 7.74

ท่ี ตวั ชี้วัด คำอธบิ าย รายละเอียดขอ้ มลู

3 อัตราการขยายตัวทาง อัตราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ของจงั หวดั เพ่ิมขน้ึ พิจารณาจากผลิตภณั ฑ์ ตาราง รายละเอยี ดข้อมูลฐานอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกจิ ของจงั หวัด

เศ ร ษ ฐกิ จข อ งจั งห วั ด มวลรวมจังหวัดปีเป้าหมาย เปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดปีที่ ปี พ.ศ. อตั ราการขยายตวั (รอ้ ยละ)

เพิ่มขนึ้ ผ่านมา (แหล่งที่มา : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม 2559 -3.27

แห่งชาติ) 2560 0.25

2561 0.60

2562 -3.18

ค่าเฉลีย่ อัตราการขยายตวั 3 ปี เทา่ กับ ร้อยละ 0.78

4 รอ้ ยละทเี่ พ่มิ ข้ึนของมูลคา่ รอ้ ยละท่ีเพิ่มข้นึ ของมูลค่าการลงทุนด้านอุตสาหกรรม พิจารณาจาก มูลค่า ตาราง รายละเอยี ดข้อมูลฐานของการลงทุนด้านอตุ สาหกรรม

การลงทนุ ดา้ น การลงทุนดา้ นอตุ สาหกรรม ในปีเปา้ หมาย เปรยี บเทยี บกับมลู คา่ การลงทุน ปีงบประมาณ มลู ค่าการลงทุนดา้ น อตั ราการขยายตัว

อตุ สาหกรรม ด้านอุตสาหกรรมในปีที่ผ่านมา (แหล่งข้อมูล : สำนักงานอุตสาหกรรม อตุ สาหกรรม (ล้านบาท) (รอ้ ยละ)

จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา) 2559 601,740.03 -

2560 620,865.73 3.18

2561 618,423.48 -0.39

2562 630,328.85 1.93

2563 642,965.66 0.20

2564 668,558.76 3.98

ค่าเฉลี่ยอตั ราการขยายตัว 5 ปี เท่ากบั ร้อยละ 1.78

ท่ี ตวั ช้ีวัด คำอธบิ าย รายละเอยี ดขอ้ มลู
5 ระดบั ดชั นีความก้าวหนา้
ระดับดัชนีความก้าวหน้าของคนเพม่ิ ขน้ึ ประกอบด้วย 8 ดชั นยี ่อยคือ ตาราง รายละเอียดข้อมลู ฐานระดับดชั นีความกา้ วหนา้ ของคน
ของคนเพม่ิ ขน้ึ
1) ด้านสุขภาพ 2) ด้านการศึกษา 3) ด้านชีวิตการทำงาน 4) ด้านรายได้ ปี ระดับดชั นีความกา้ วหน้าของคน

5) ด้านที่อยอู่ าศยั และสภาพแวดลอ้ ม (ระดับ)

6) ด้านชีวิตครอบครัวและชุมชน 7) ด้านการคมนาคมและการสื่อสาร 2558 0.6788

และ 8) ด้านการมีส่วนรวม ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน มี 4 ตัวชี้วัดเท่า ๆ กัน 2560 0.6577

รวมตัวชี้วดั ทัง้ หมด 32 ตัวชว้ี ดั 2562 0.6731

(แหล่งข้อมูล : สำนกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ)

ตัวชว้ี ัดความสำเร็จตามประเดน็ การพฒั นาท่ี 1 พัฒนาเมอื งและชุมชนน่าอยู่สเู่ มอื งแหง่ ความสุข

ท่ี ตวั ชว้ี ัด คำอธิบาย รายละเอยี ดข้อมลู

1 สัดส่วนจำนวนวันที่มีคุณภาพ จำนวนวนั ท่มี คี ณุ ภาพอากาศในเกณฑ์มาตรฐาน พิจารณาจาก ตาราง รายละเอียดข้อมูลของฐานจำนวนวันทมี่ คี ุณภาพอากาศในเกณฑ์

อากาศในเกณ ฑ์มาตรฐาน รวมจันวนวันท่ีตรวจพบค่า AQI อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (ไม่เกิน 100) รวม มาตรฐาน

เพิม่ ขน้ึ ทุกสถานีตรวจวัดในพื้นที่เปรียบเทียบกับรวมจำนวนวันที่ทำการตรวจวัด ปี พ.ศ. จำนวนวันทีม่ ีคุณภาพอากาศในเกณฑ์มาตรฐาน

คุณภาพอากาศ รวมทกุ สถานตี รวจวดั ในพน้ื ท่ี (รอ้ ยละ)

(แหลง่ ข้อมูล: ระบบฐานขอ้ มูลโครงการพฒั นาศกั ยภาพในการเชอ่ื มโยงและ 2560 87
จัดทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนการพัฒนาในระดับพื้นที่, สำนักงาน 2561
ปลดั กระทรวงมหาดไทย) 85

2562 91

2 ร้อยละของปริมาณขยะมูล คา่ ตัวช้ีวัดแสดงอยู่ในรูปร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ มีค่าอยู่ระหว่าง 0-100 โดย ตาราง รายละเอียดข้อมูลของฐานปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกกำจัดอย่าง

ฝอยที่ถูกกำจัดอย่างถูกวิธี หากมีคา่ ย่ิงมากหรอื เข้าใกล้ 100 มากเท่าไรยิ่งดี สะท้อนให้เห็นว่า ในพืน้ ท่ี ถกู วิธี

เพิ่มขึน้ มีกระบวนการจัดการขยะที่ดี ให้ความสำคัญในการกำจัดขยะและรีไซเคิล ปี พ.ศ. ปริมาณขยะมูลฝอยท่ถี กู กำจัดอยา่ งถกู วธิ ี

ขยะ (รอ้ ยละ)
ปริมาณขยะมูลฝอยท่ีถูกกำจัดอยา่ งถกู วิธี พิจารณาจาก
2558 16.65
ปรมิ าณขยะมลู ฝอยท่ีจดั การได้ (ถกู กำจัดอย่างถูกตอ้ ง + นำกลับมาใชป้ ระโยชน)์ X 100
2559 37.08
ปริมาณขยะมลู ฝอยท้งั หมดที่เกดิ ข้ึนในพนื้ ที่ (คน) 2560 78.71
2561 78.54
(แหล่งข้อมลู : ระบบฐานข้อมลู โครงการพฒั นาศกั ยภาพในการเช่อื มโยงและ 2562 88.96
2563 58.41
จัดทำแผนยุทธศาสตร์เพ่ือสนับสนุนการพัฒนาในระดับพ้ืนที่, สำนักงาน
ปลัดกระทรวงมหาดไทย)

ท่ี ตวั ชว้ี ัด คำอธิบาย รายละเอียดข้อมลู

3 สัดส่วนผู้ใช้อินเตอร์เน็ตต่อ สัดส่วนผู้ใช้อินเตอร์เน็ตต่อจำนวนประชากรพิจารณาจากจำนวนประชากร ตาราง รายละเอียดข้อมูลของฐานสัดส่วนผู้ใช้อินเตอร์เน็ตต่อจำนวน

จำนวนประชากรเพม่ิ ขน้ึ อายุ 6 ปีขนึ้ ไปที่ใช้อินเตอรเ์ น็ต เปรียบเทียบกับจำนวนประชากรอายุ 6 ปี ประชากร

ขนึ้ ไป ปี พ.ศ. สัดส่วนผ้ใู ช้อินเตอร์เน็ตต่อจำนวน

(แหล่งข้อมูล : สำนกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ) ประชากร (ร้อยละ)

2558 50.31

2559 62.18

2560 65.38

2561 66.63

2562 79.88

4 อั ต ร า ก า ร เสี ย ชี วิ ต จ า ก อตั ราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนต่อประชากรแสนคน พิจารณา ตาราง รายละเอียดข้อมูลของฐานอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบน

อุ บั ติเห ตุบ น ท้ อ งถน น ต่ อ จากจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในช่วงปีท่ีกำหนด ทอ้ งถนนตอ่ ประชากรแสนคน

ประชากรแสนคนลดลง เปรียบเทียบกบั จำนวนประชากรในปเี ดยี วกัน (คน) คณู หนึ่งแสนคน ปี พ.ศ. อัตราการเสยี ชีวติ จากอบุ ัตเิ หตบุ นทอ้ งถนน

(แหลง่ ข้อมูล: ระบบฐานข้อมลู โครงการพัฒนาศักยภาพในการเช่ือมโยงและ (รายตอ่ ประชากรแสนคน)

จัดทำแผนยุทธศาสตร์เพ่ือสนับสนุนการพัฒนาในระดับพ้ืนท่ี, สำนักงาน 2560 12.10

ปลดั กระทรวงมหาดไทย) 2561 8.00

2562 9.60

ท่ี ตวั ชว้ี ัด คำอธิบาย รายละเอียดข้อมูล

5 สัดส่วนส่วนศูนย์การเรียนรู้ จำนวนแหล่งเรียนรู้ในจังหวัดเพ่ิมขึ้น โดยพิจารณาจากสัดส่วนจำนวน ตาราง รายละเอยี ดข้อมูลของฐานจำนวนแหลง่ เรยี นรู้

ชุม ชน ต่อ จำน วน ห มู่ บ้ าน ศนู ย์การเรยี นร้ชู ุมชนต่อจำนวนหมู่บ้านปีเปา้ หมาย เปรียบเทียบกับสัดส่วน ปี พ.ศ. จำนวนแหล่งเรียนรู้ในจังหวดั เพม่ิ ขน้ึ

เพิ่มขึน้ จำนวนศูนยก์ ารเรยี นรู้ชมุ ชนต่อจำนวนหมู่บา้ นปที ่ผี า่ นมา (รอ้ ยละ)

(แหล่งทีม่ า : ระบบฐานข้อมูลโครงการพัฒนาศักยภาพในการเชื่อมโยงและ 2558 32.11

จัดทำแผนยุทธศาสตร์เพ่ือสนับสนุนการพัฒนาในระดับพื้นที่ สำนักงาน 2560 41.58

ปลัดกระทรวงมหาดไทย และกรมพฒั นาชุมชน) 2562 37.54

6 สัดส่วนคนอายุ 60 ปีขึ้นไป มี สัดส่วนคนอายุ 60 ปขี ึ้นไป มอี าชพี และมรี ายได้ พจิ ารณาจาก ตาราง รายละเอียดข้อมูลของฐานสัดส่วนคนอายุ 60 ปีขึ้นไป มีอาชีพ

อาชีพและมีรายได้เพมิ่ ขน้ึ คนอายุมากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป มีอาชีพและมีรายได้ หมายถึง คนอายุ และมีรายได้

มากกว่า 60 ปีเต็มข้ึนไป ที่ประกอบอาชีพ และมีรายได้ทุกคน ยกเว้นคน ปี พ.ศ. สัดส่วนคนอายุ 60 ปีข้ึนไป มอี าชีพและมรี ายได้

พกิ ารทไ่ี ม่สามารถชว่ ยตนเองได้ (ร้อยละ)

- การประกอบอาชีพและมรี ายได้ หมายถงึ การทำงานทเี่ ป็นงานประจำทั้ง 2560 90.15

ที่อยู่ภายในครัวเรือน และ/หรือนอกครัวเรือน โดยมีรายได้ที่เกิดจากการ 2561 92.16

ทำงานดังกล่าว ทั้งในลักษณะรายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน รายช้ินงาน 2562 96.60

หรอื งานเหมา คำนวณไดโ้ ดย

จำนวนคนอายุ 60 ปขี ึ้นไปท่มี อี าชพี และมีรายได้ในปีท่สี ำรวจ (จำนวนผู้ท่ผี า่ นเกณฑ์) X 100

จำนวนประชากรทมี่ อี ายุ 60 ปีข้ึนไปทีส่ ำรวจท้ังหมด (คน)

(แหลง่ ข้อมูล: ระบบฐานข้อมลู โครงการพัฒนาศกั ยภาพในการเช่ือมโยงและ

จัดทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนการพัฒนาในระดับพ้ืนที่, สำนักงาน

ปลดั กระทรวงมหาดไทย)

ท่ี ตัวชว้ี ัด คำอธบิ าย รายละเอยี ดขอ้ มูล
ตาราง รายละเอียดข้อมูลของฐานอัตราผูป้ ่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวาน
7 อั ต ร าผู้ป่ ว ยร าย ให ม่ ด้ ว ย อัตราผ้ปู ว่ ยรายใหมด่ ้วยโรคเบาหวานและความดนั โลหิตสูงลดลง และความดนั โลหติ สูง

โรคเบาหวานและความดัน พิจารณาจากอตั ราผ้ปู ว่ ยรายใหม่ตอ่ ประชากรกลางปี 100,000 คนของปที ี่ ปี พ.ศ. อตั ราผ้ปู ว่ ยรายใหมด่ ้วยโรคเบาหวานและ
ความดันโลหติ สูง
โลหติ สงู ลดลง ผา่ นมา -อตั ราผู้ปว่ ยรายใหมต่ ่อประชากรกลางปี 100,000 คนของปี (รอ้ ยละ)

ปจั จุบัน x 100 เทยี บกับอัตราผู้ป่วยรายใหม่ต่อประชากรกลางปี 100,000 2561 0.03

คนของปีทผี่ ่านมา 2562 6.72

(แหล่งขอ้ มลู : สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา) 2563 5.62

8 อัตราคดีอาญาต่อประชากร อัตราการเกิดคดีอาชญากรรมต่อประชากรแสนคน คือ จำนวนคดีอาญาท่ี ตาราง รายละเอียดขอ้ มลู ของฐานอัตราคดีอาญาตอ่ ประชากรแสนคน

แสนคนลดลง เกดิ ขึน้ เปรียบเทียบเปน็ อัตราตอ่ จำนวนประชากรในพ้ืนที่ ปี พ.ศ. อัตราคดอี าญาต่อประชากรแสนคน

- จำนวนคดีอาญาที่เกิดข้ึน ในรายงานน้ีหมายถึง ข้อมูลจำนวนคดีอาญาท่ี (คดีต่อประชากรแสนคน)

รบั แจ้ง คือคดที ม่ี กี ารแจ้งความ และลงบนั ทึกประจำวันทส่ี ถานีตำรวจ 2558 485

- คดีอาญาในรายงานน้ี นับรวม 3 กลุ่มคดีอาญาท่ีสำคัญซึ่งมีผลต่อความ 2559 606

ปลอดภยั ในชวี ติ ของประชาชน ได้แก่ 2560 679

- กลุ่มที่ 1 คดีอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญ ได้แก่ ฆ่าผู้อ่ืนโดยเจตนา ปล้น 2561 832
ทรพั ย์ ชิงทรัพย์ ลกั พา เรยี กคา่ ไถ่ วางเพลงิ 2562 124

- กลุ่มท่ี 2 คดีประทุษร้ายตอ่ ชีวิตรา่ งกายและเพศ ได้แก่ ฆ่าผูอ้ ื่นโดยเจตนา

ฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา ทำให้ตายโดยประมาท พยายามฆ่า ทำร้ายร่างกาย

ขม่ ขนื กระทำชำเรา

- กลมุ่ ท่ี 3 คดปี ระทุษร้ายตอ่ ทรพั ย์สิน ได้แก่ ลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ รีดเอา

ทรพั ย์ กรรโชก ชงิ ทรัพย์ ปล้นทรพั ย์ รับของโจร ทำใหเ้ สยี ทรัพย์

อัตราการเกิดคดอี าชญากรรมต่อประชากรแสนคน คำนวณได้โดย

ท่ี ตวั ชี้วัด คำอธบิ าย รายละเอยี ดข้อมูล

จำนวนคดอี าญากลุม่ ท่ี 1 2 และ3 ทรี่ ับแจง้ ในปงี บประมาณ (คด)ี X 100,000

จำนวนประชากรท้งั หมดในพื้นท่ี (คน)

(แหล่งขอ้ มูล: ระบบฐานข้อมูลโครงการพฒั นาศักยภาพในการเช่อื มโยงและ

จัดทำแผนยุทธศาสตร์เพ่ือสนับสนนุ การพฒั นาในระดบั พ้ืนท่ี, สำนักงาน

ปลัดกระทรวงมหาดไทย)

ตวั ช้วี ัดความสำเร็จตามประเดน็ การพัฒนาที่ 2 ยกระดับอตุ สาหกรรมการท่องเทยี่ วอจั ฉรยิ ะคณุ ภาพสูง

ท่ี ตวั ช้วี ัด คำอธบิ าย รายละเอยี ดข้อมูล

1 ร้อยละท่ีเพ่ิมขึ้นของรายได้ ร้อยละที่เพิ่มข้ึนของรายได้จากการท่องเท่ียว พิจารณาจากรายได้จาก ตาราง รายละเอียดข้อมูลของฐานรายไดจ้ ากการท่องเท่ยี ว

จากการท่องเทยี่ ว การท่องเที่ยวของจังหวัดในปีเป้าหมายเปรียบเทียบกับรายได้จากการ ปี พ.ศ. รายได้จากการท่องเท่ียว อัตราการขยายตวั

ทอ่ งเทีย่ วของจังหวดั ในปีที่ผ่านมา (แหลง่ ข้อมูล: กรมการท่องเทย่ี ว) (ลา้ นบาท) (รอ้ ยละ)

2557 13,446.66 9.90

2558 14,485.17 7.72

2559 15,309.69 5.69

2560 16,901.48 10.40

2561 19,016.22 12.51

2562 19,469.53 2.38

2563 6,154 -67.87*

คา่ เฉลี่ยอัตราการขยายตวั 5 ปี เท่ากบั ร้อยละ 7.74

2 รอ้ ยละทเ่ี พ่มิ ขน้ึ ของค่าใช้จา่ ย ร้อยละที่เพ่ิมขึ้นของค่าใช้จ่ายของผู้เยี่ยมเยือนต่อวัน พิจารณาจาก ตาราง รายละเอียดข้อมูลของฐานค่าใช้จา่ ยของผู้เยยี่ มเยอื นต่อวัน

ของผเู้ ยย่ี มเยือนตอ่ วัน ค่าใช้จา่ ยของผู้เยี่ยมเยือนต่อวนั ของจังหวัดในปเี ป้าหมายเปรียบเทียบกับ ปี พ.ศ. คา่ ใช้จ่ายของผู้เย่ียมเยือน อตั ราการขยายตวั

ค่าใช้จ่ายของผู้เยี่ยมเยือนต่อวันของจังหวัดในปีที่ผ่านมา (แหล่งข้อมูล: (วัน/คน/บาท) (รอ้ ยละ)

กรมการท่องเท่ยี ว) 2557 1,447.24 2.10

2558 1,509.50 4.30

2559 1,551.49 2.78

2560 1,629.87 5.05

2561 1,705.00 4.61

2562 1812.60 2.76

ค่าเฉล่ยี อัตราการขยายตัว 5 ปี เท่ากับ รอ้ ยละ 3.90

ตัวชีว้ ัดความสำเรจ็ ตามประเดน็ การพัฒนาท่ี 3 สรา้ งฐานเศรษฐกิจมลู ค่าสูงทเี่ ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ มดว้ ยเทคโนโลยนี วัตกรรมและภมู ิปญั ญาอย่างสรา้ งสรรค์

ท่ี ตัวชว้ี ัด คำอธิบาย รายละเอียดขอ้ มูล

1 ร้ อ ย ล ะ ข อ ง ผู้ ส ำเร็ จ ก า ร รอ้ ยละของผู้สำเร็จการฝึกอบรมได้ตามเกณฑ์มาตรฐานการฝึกอบรม ตาราง รายละเอียดข้อมูลของฐานผู้สำเร็จการฝึกอบรมได้ตามเกณฑ์

ฝกึ อบรมได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน คำนวณจากจำนวนผู้ฝึกอบรมเปรียบเทยี บกับผสู้ ำเร็จการฝึกอบรมได้ มาตรฐานการฝกึ อบรม

การฝกึ อบรม ต าม เก ณ ฑ์ ม าต ร ฐ า น ก าร ฝึ ก อ บ ร ม ข อ ง ห น่ ว ย ง าน ที่ เกี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ปี พ.ศ. ผู้ฝึกอบรม ผสู้ ำเรจ็ การฝกึ อบรม ร้อยละของผสู้ ำเรจ็ การฝึกอบรมได้
กระทรวงแรงงาน สำนักงานแรงงานจังหวัด
(แหลง่ ข้อมลู : สำนกั งานแรงงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา) (คน) ได้ตามเกณฑ์ (คน) ตามเกณฑม์ าตรฐานการฝึกอบรม

(ร้อยละ)

2557 1,977 1,956 98.94

2558 2,555 2,513 98.36

2559 8,515 8,388 98.51

2560 12,442 11,283 90.68

2561 6,792 6,360 93.64

2562 3,676 2,925 79.57

2563 3,945 3,585 90.87

2 พ้ืนที่รับประโยชน์จากแหล่ง พ้ืนทรี่ ับประโยชน์จากแหล่งน้ำที่ไดร้ บั การพฒั นาไมน่ ้อยกว่าปีละ (ไร)่ ตาราง รายละเอียดข้อมูลของฐานพื้นทีร่ ับประโยชน์จากแหล่งน้ำท่ีได้รับการ
พฒั นา
น้ำที่ได้รับการพัฒนาไม่น้อย (แหล่งข้อมูล : โครงการชลประทานพระนครศรีอยธุ ยา)
กวา่ ปีละ ปี พ.ศ. พ้ืนท่ีรับประโยชน์จากแหลง่ น้ำที่ได้รับ
การพัฒนา (ไร่)

2559 43,260
2560 21,000

2561 200,670
2562 209,840
2563 198,838

ท่ี ตวั ชวี้ ัด คำอธิบาย รายละเอียดข้อมลู

3 ร้อยละท่ีเพ่ิมข้ึนของแปลง/ ร้อยละท่ีเพ่ิมขึ้นของแปลง/จำนวนฟาร์มท่ีผ่านมาตรฐานความ ตาราง รายละเอียดข้อมูลของฐานรอ้ ยละท่ีเพม่ิ ข้ึนของแปลง/จำนวนฟาร์มท่ี

จำนวนฟาร์มท่ีผ่านมาตรฐาน ปลอดภัย (รอ้ ยละ) ผ่านมาตรฐานความปลอดภัย

ความปลอดภยั คำนวณจากแปลง/จำนวนฟาร์มที่ผ่านมาตรฐานความปลอดภัยปี ปี ข้าว พชื อ่นื ๆ ปศสุ ัตว์ สัตว์ รวม อตั ราการ
(ยกเวน้
เป้าหมายเปรียบเทียบกับแปลง/จำนวนฟาร์มท่ีผ่านมาตรฐานความ พ.ศ. ข้าว) (ฟารม์ ) น้ำจดื เปลย่ี นแปลง
ปลอดภัยปที ่ีผ่านมา (รอ้ ยละ)

หมายเหตุ: ตัวชี้วดั นแ้ี บ่งสินค้าเกษตรเป็น ข้าว พืชอ่ืน ๆ (ยกเว้นข้าว) 2559 95 3 83 50 231 -
ปศุสัตว์ และสัตวน์ ้ำจืด
2560 109 15 84 73 281 21.65
(แหลง่ ขอ้ มูล :
2561 60 62 67 78 267 -4.98
ข้าว : กองตรวจสอบรับรองมาตรฐานข้าวและผลิตภณั ฑ์ กรมการข้าว 2562 58 83 59 52 252 -5.61
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
2563 86 193 25 87 391 55.16
พืชอ่ืน ๆ (ยกเว้นข้าว) : ส่วนงานพัฒนาระบบและฐานข้อมูล กลุ่ม

พัฒนาระบบตรวจรับรองมาตรฐานการผลิต สำนักพัฒนาระบบและ

รบั รองมาตรฐานสนิ ค้าพชื

กรมวิชาการเกษตร

ปศุสตั ว์ : สำนกั งานปศุสตั วจ์ ังหวดั พระนครศรีอยุธยา

สัตว์น้ำจืด : ฐานข้อมูลการรับรองมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

กองพัฒนาระบบการรับรองมาตรฐานสินค้าประมงและหลักฐานเพื่อ

การสบื คน้ )

ท่ี ตัวช้วี ัด คำอธบิ าย รายละเอียดข้อมลู

4 ร้อยละของโครงการปรัชญา ร้อยละของโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงท่ีสำเร็จตามเป้าหมาย ตาราง รายละเอียดข้อมูลของฐานโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงท่ีสำเร็จ

เศรษฐกิจพอเพียงท่สี ำเรจ็ ตาม คำนวณจากโครงการปรัชญ าเศรษฐกิจพอเพียงที่ดำเนินการ ตามเป้าหมาย

เปา้ หมาย เป รีย บ เที ย บ กั บ โค ร ง ก าร ป รัช ญ าเศ รษ ฐกิ จ พ อ เพี ย ง ท่ี ส ำเร็จ ต า ม ปี พ.ศ. โครงการปรชั ญา โครงการปรชั ญา ร้อยละของโครงการ

เป้าหมาย เศรษฐกจิ พอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียงท่ี ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
(แหล่งข้อมลู : สำนักงานสถิตจิ ังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา)
(โครงการ) สำเร็จตามเป้าหมาย ท่ีสำเร็จตามเปา้ หมาย

(โครงการ) (ร้อยละ)

2557 16 16 100.00

2558 34 34 100.00

2559 19 19 100.00

2560 16 16 100.00

2561 16 16 100.00

2562 16 16 100.00

5 ระ ดับ ก ารผ่าน เก ณ ฑ์ ก าร ระดับการผ่านเกณฑ์การประเมินอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพ้ืนที่การ ตาราง รายละเอียดข้อมูลของฐานระดับการผ่านเกณฑ์การประเมิน

ประเมนิ อุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ พัฒนาเมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ ซ่งึ มอี ยู่ 5 ระดบั อตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศในพ้นื ท่ีการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ

ใน พื้ น ที่ ก าร พั ฒ น าเมื อ ง ระดับที่ 1 การมีสว่ นร่วม (Engagement) ปี พ.ศ. ระดบั การผา่ นเกณฑ์การประเมนิ

อตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ ระดบั ท่ี 2 การส่งเสริม (Enhancement) อตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ (ระดับ)

ระดบั ที่ 3 ประสทิ ธิภาพในการใช้ทรัพยากร (Resource Efficiency) 2560 -

ระดบั ท่ี 4 การพ่ึงพาอาศยั (Symbiosis) 2561 1

ระดบั ท่ี 5 เมอื งน่าอยคู่ ู่อุตสาหกรรม (Happiness) 2562 2

(แหล่งขอ้ มูล : สำนักงานอตุ สาหกรรมจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา ) 2563 2

ท่ี ตัวชี้วัด คำอธิบาย รายละเอียดขอ้ มูล

6 ร้อยละท่ีเพ่ิมขึ้นของรายได้ ร้อยละที่เพ่ิมขึ้นของรายได้จากการจำหน่ายสินค้า OTOP พิจารณา ตาราง รายละเอียดข้อมูลของฐานรายได้จากการจำหนา่ ยสินค้า OTOP

จากการจำหนา่ ยสนิ ค้า OTOP จากรายได้ ปี พ.ศ. รายได้จากการจำหน่ายสนิ คา้ อัตราการขยายตัว
จากการจำหน่ายสินค้า OTOP ของจงั หวดั ในปีเป้าหมายเปรียบเทียบ OTOP (บาท) (ร้อยละ)

กบั รายได้จากการจำหนา่ ยสินค้า OTOP ของจงั หวัดในปที ีผ่ า่ นมา 2557 2,082,381,926 -
(แหล่งขอ้ มลู : สำนักงานพฒั นาชมุ ชนจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา)
2558 2,185,281,644 4.94

2559 2,447,601,585 12.00

2560 2,992,818,912 22.28

2561 3,693,480,267 23.41

2562 4,559,173,800 23.44

2563 5,015,091,180 10.00

คา่ เฉลยี่ อตั ราการขยายตวั 5 ปี เทา่ กับ ร้อยละ 18.23

7 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้ ร้อยละท่เี พ่ิมขึ้นของรายได้รวมของวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม ตาราง รายละเอียดข้อมูลของฐานรายได้รวมของวิสาหกิจขนาดกลางและ

รวมของวิสาหกิจขนาดกลาง พิจารณาจากรายได้ ในปีเป้าหมายเปรียบเทียบกับรายได้จากการ ขนาดย่อม

และขนาดย่อม จำหน่ายสินคา้ ของจังหวัดในปที ่ผี ่านมา ปี พ.ศ. รายได้รวม อตั ราการขยายตัว

(แหล่งข้อมูล: ระบบฐานข้อมูลโครงการพัฒนาศักยภาพในการ 2559 (ลา้ นบาท) (รอ้ ยละ)
2560
เช่ือมโยงและจัดทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนการพัฒนาในระดับ 115,905 -
พื้นท่,ี สำนกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย) 102,424 -11.63

2561 130,178 27.10

2562 133,043 2.20

ค่าเฉลี่ยอัตราการขยายตวั 3 ปี เท่ากบั ร้อยละ 5.89


Click to View FlipBook Version