จังหวดั พระนครศรีอยุธยา
จุดแข็ง เหตผุ ลสนบั สนนุ
อสังหาริมทรัพย์ อีกท้ังยังมีปัจจัยสนับสนุนการจาก
ลงทุนโครงสร้างพื้นฐานคมนาคม ได้แก่ โครงการทาง
พิเศษ สายอุดรรัถยาพระนครศรีอยุธยา เพ่ืออำนวย
ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใน ก า ร เดิ น ท าง แ ล ะ ข น ส่ ง สิ น ค้ า จ า ก
กรุงเทพฯ ไปอยุธยา และจังหวัดในพื้นที่ภาคกลาง
รวมทั้งโครงการรถไฟความเร็วสูง อยุธยา-EEC เป็น
เส้นทางส่วนต่อขยายจากโครงการรถไฟความเร็วสูง
กรุงเทพฯ-ระยอง เพ่ือใช้เป็นเส้นทางเช่ือมต่อพ้ืนที่
ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวนั ออก (EEC)
ท่ีมา : สำนักงานอตุ สาหกรรมจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 2561
S3. มีพื้นที่รองรับการผลิตด้านการเกษตรและสินค้า ➢ ปี 2562 มีสัดส่วนการใช้ประโยชน์จากที่ดินเพื่อ
เกษตรได้รับมาตรฐาน และอาหารที่ได้รับการรับรอง ภาคเกษตร อยู่ในลำดับที่ 9 ของประเทศ (ร้อยละ
มาตรฐาน GMP/HACCP 74.02)
➢ ปี 2563 จำนวนโรงงาน/สถานประกอบการผลิต
สินค้าเกษตรและอาหารที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน
GMP/HACCP อยู่ในลำดับ 15 ของประเทศ
ทม่ี า : สำนกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย
➢ ปี 2564 มีจำนวนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์จำนวน
15,129 ราย เป็นแหลง่ ผลิตอันดบั 5 ของประเทศ
ทีม่ า : กรมปศุสัตว์
S4. การจัดการขยะอุตสาหกรรม ปี 2563 ปริมาณกากอุตสาหกรรมอันตรายที่เข้าสรู่ ะบบ
การจดั การ อยู่ในลำดับท่ี 5 ของประเทศ
ท่มี า : สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
แผนพฒั นาจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา (พ.ศ. 2566 – 2570) หน้า 142
จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
8.2) การวเิ คราะหจ์ ุดอ่อนของจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา และเหตผุ ลสนับสนุน
จุดออ่ น เหตผุ ลสนบั สนนุ
W1. อุตสาหกรรมมกี ารเตบิ โตและขยายตวั ลดลงจาก ในปี พ.ศ. 2563 สัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม
อันดับ 3 ของประเทศเปน็ อันดบั 5 ของประเทศ ภาคอุตสาหกรรมต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมท้ังหมด อยู่
ลำดับที่ 5 ของประเทศ (ร้อยละ 71.50 ) และมี
แนวโน้มลดลง และมีอัตราการเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจแบบผันผวนตลอดระยะเวลา 10 ปี ซ่ึงมี
อัตราเจริญเติบโตท่ีเพิ่มข้ึนในอัตราท่ีลดลงและเริ่มมี
แนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง (อัตราเฉลี่ย 3 ปี เท่ากับ
รอ้ ยละ 2.28)
ที่มา : สำนกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย
W2 เส้นทางคมนาคม และโครงข่ายเส้นทางสายรอง ระบบโครงข่ายคมนาคมและเส้นทางเดิมของจังหวัด
หลายแหล่ง ยังขาดการปรับปรุง/เชื่อมโยงให้ ไม่สามารถรองรับกับสถานการณ์การเตบิ โตของเมือง
สอดคล้อง/รองรบั ตอ่ เตบิ โตตวั ของเมอื ง ได้ทำให้เกิดปัญหาการจราจรในพ้ืนที่ท่องเท่ียว/เขต
อุตสาหกรรม หรือปัญ หาถน นชำรุดเน่ืองจาก
ไม่ สาม าร ถร อ ง รั บ ต่ อ ป ริ ม าณ ก าร ข น ส่ ง สิ น ค้ าข อ ง
ภาคอุตสาหกรรมได้ รวมทั้งยังไม่สามารถเช่ือมต่อ/
รองรับต่อโครงการพัฒนาประเทศในปัจจุบัน เช่น
โครงการรถไฟความเร็วสงู โครงการกอ่ สร้างทางหลวง
พิเศษระหว่างเมือง เป็นต้น ดังเห็นได้จากรายงาน
ผลการศึกษาตามโครงการศูนย์การศึกษาโลจิสติกส์
และอตุ สาหกรรม จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา
W3 มีปัญหาความมั่นคง ปัญหาในสังคม และปัญหา ➢ ปี 2562 มีอัตราการเกิดคดีอาชญากรรมมีอัตรา
อาชญากรรมคอ่ นข้างสงู การเกิดคดีอาชญากรรมแนวโน้มเพ่ิมสูงขึ้น 124 คดี
ต่อประชากรแสนคน ซึ่งสูงกว่าค่าเฉล่ียของประเทศ
(อันดับที่ 61 ของประเทศ)
➢ ปี 2562 มีสัดส่วนคดีที่จับกุมได้ต่อคดีที่รับแจ้ง
ร้อยละ 80.30 ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ (อันดับ
ที่ 50 ของประเทศ) คดีท่ีรับแจ้งส่วนใหญ่เป็นคดี
ทรัพย์สนิ ร้อยละ 74.98
➢ ปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่นสูงกว่าค่าเฉลี่ยของ
ประเทศ (ลำดับที่ 24 ของประเทศ)
➢ จังหวัดพระนครศรีอยุธยากำลังเข้าสู่สังคม
ผู้สูงอายุ ซึ่งในปี 2563 มีสดั ส่วนผู้สูงอายุเพ่ิมขึ้นเป็น
ร้อยละ18.94 จากประชากรทั้งหมดและส่วนใหญ่
อาศัยอยู่ลำพังคนเดียว ทั้งน้ีอัตราการพึ่งพิงรวมมี
แนวโน้มเพ่ิมขึ้นจากร้อยละ 7.99 ในปี 2560 เป็น
แผนพัฒนาจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา (พ.ศ. 2566 – 2570) หน้า 143
จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา
จุดอ่อน เหตผุ ลสนับสนนุ
ร้อยละ 10.56 ในปี 2562 และมีแนวโน้มเพ่ิมสูงขึ้น
ในอนาคต
➢ ด้านครอบครัวมีอัตราการจดทะเบียนหย่าสูงกว่า
คา่ เฉล่ียของประเทศ (ลำดับท่ี 73 ของประเทศ) และ
เกิดอัตราเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัวสูงกว่า
คา่ เฉลีย่ ของประเทศ
ทมี่ า : สำนกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย
➢ พฤติกรรมการท้ิงขยะของประชาชนแบบขาด
ความรับผิดชอบ
W4. รายได้จากการจำหน่ายสินค้า OTOP ขยายตัว ปี 2563 อัตราการเพ่ิมขึ้นของรายไดจ้ ากการจำหน่าย
ในอัตราทีน่ ้อยลงอยา่ งมาก สนิ ค้า OTOP โตเพียงรอ้ ยละ 6.70 จากปีที่ผ่านมาซ่ึง
ต่ำกว่าค่าเฉล่ียของประเทศ (ลำดับท่ี 59 ของ
ประเทศ)
W5. สภาพมลพิษทางอากาศ ➢ สัดส่วนเฉลี่ยการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกท่ีมี
แนวโน้มเพมิ่ ข้นึ จาก 2.53 ตันกา๊ ซเรือนกระจกตอ่ คน
เปน็ 2.67 ตนั ก๊าซเรือนกระจกต่อคน อยอู่ ันดับท่ี 56
ของประเทศ
➢ ใน ปี 2563 มี พ้ื น ท่ี เก็ บ เกี่ ย วข้ าว ป ร ะ ม าณ
1,303,966ไร่ มี พ้ื น ที่ ค าด ก ารณ์ ว่ าจะ เผ าฟ า ง
912,776.172 ไร่ ปริมาณฟางข้าวท่ีถูกเผาประมาณ
593,304,512 กิโลกรัม คาดการณ์การปล่อย Black
Carbon ประมาณ 35,598.27 กิโลกรัม (คิดเป็น
สัดสว่ นการปล่อยกา๊ ซรอ้ ยละ 27.33 ของภาคกลาง)
➢ จำนวนเรื่องร้องเรียนด้านปัญหามลพิษมีข้อ
ร้องเรียนลดลง แต่ยังอยู่ในลำดบั ที่ 64 ของประเทศ
ทมี่ า : สำนกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย
W6. ปริมาณน้ำต้นทุนต่อความต้องการใช้น้ำอยู่ใน ➢ปี 2563 มีปริมาณน้ำต้นทุนต่อความต้องการใช้
ระดับต้องการปรับปรุง และคุณภาพน้ำลดลงอย่าง น้ำ –158 ล้าน ลบ.ม. ต่ำกว่าค่าเฉล่ียของประเทศ
ต่อเนอื่ ง เป็นอย่างมาก (ลำดับที่ 66 ของประเทศ) และมี
แนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ืองซ่ึงอาจเกิดภาวะขาด
แคลนน้ำในชว่ งฤดูแลง้
➢คุณภาพน้ำลดลงอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงในปี 2563 มีค่า
ดัชนี WQI เท่ากับ 59 คะแนน ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉล่ียของ
ประเทศ (ลำดับท่ี 54 ของประเทศ)
ที่มา : สำนกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย
แผนพัฒนาจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา (พ.ศ. 2566 – 2570) หนา้ 144
จังหวดั พระนครศรีอยุธยา
จุดออ่ น เหตุผลสนบั สนนุ
W7. รายได้การท่องเท่ียวลดลง ➢ ปี 2562 จำนวนผู้เยยี่ มเยอื น 8,292,809 คน
➢ ปี 2563 จำนวนผู้เยย่ี มเยอื น 3,560,866 คน
W8. กำลงั แรงงานมแี นวโน้มว่างงานมากข้ึน นักทอ่ งเทยี่ วลดลงไปร้อยละ 57.06 รายได้
การท่องเท่ียวสูญไป 13,000 ลา้ นบาท (ร้อยละ -67.87)
สัดส่วนกำลังแรงงานมีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย และ
กำลังแรงงานมีแนวโน้มว่างงานมากขึ้นในปี 2563
มีกำลังแรงงานว่างงานร้อยละ 1.79 ของประชากร
อายุ 15 ข้ึนไป นอกจากนี้ในปี 2563 จังหวัดพึ่งพา
แรงงานต่างดา้ วเพ่ิมขึ้นจากปี 2560 ถึงร้อยละ 55.28
จ า ก ส ถิ ติ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร แ ร ง ง า น เพิ่ ม ข้ึ น ใ น พื้ น ที่
ปี 2563 - 2568 มีแนวโน้มลดลงรอ้ ยละ 16.65
ทีม่ า: สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
8.3) การวเิ คราะห์โอกาสของจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา และเหตุผลสนบั สนนุ
โอกาส เหตุผลสนบั สนนุ
O1. แผนแมบ่ ทการส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ดิจิทัลกำหนดให้ แผนแม่บทการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ัลกำหนดให้จังหวัด
จงั หวัดพระนครศรีอยุธยาเปน็ 1 ใน 7 เมอื งเป้าหมาย พระนครศรีอยุธยาเป็น 1 ใน 7 เมืองเป้าหมายการ
การพฒั นา พัฒนาในประเด็นพื้นท่ีและเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ (Smart
City) ระยะที่ 2 ในปี 2566-2570 แผนแม่ บทการ
ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล : จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประเด็นการพัฒนา : ท่องเที่ยวอัจฉริยะ (ท่องเที่ยวเชิง
ประวัติศาสตร์) Ayutthaya TOD -Tourism -Living -
Sub-Traffic Terminal
ท่ีมา : สำนักงานเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั , สำนกั งานนโยบายและแผนการขนส่งจราจร
(สนข.)
O2. พฤตกิ รรมในการดแู ลสุขภาพเชงิ ปอ้ งกัน ➢ แนวโน้มพฤติกรรมของผู้บริโภคมีความใส่ใจใน
เรื่องคุณค่าทางโภชนาเพ่ิมสูงขึ้นและเป็นอาหารท่ีเป็น
มติ รต่อส่ิงแวดล้อม แนวโน้มพฤติกรรมของผู้บรโิ ภคมี
ความใสใ่ จในเรือ่ งคณุ คา่ ทางโภชนาเพ่ิมสูงข้ึนและเป็น
อาหารท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีความต้องการ
โภชนาการที่ดีขึ้น ต้องการสินค้าที่สดใหม่ เลือก
รับประทานโปรตีนจากพืช รับประทานผักผลไม้เพ่ิม
มากขึน้ และใหค้ วามสนใจกับพืชทอ้ งถิน่
ทีม่ า : กรมพัฒนาธุรกิจการคา้ กระทรวงพาณชิ ย์
แผนพฒั นาจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา (พ.ศ. 2566 – 2570) หนา้ 145
จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา
โอกาส เหตุผลสนบั สนนุ
➢ กระแสความตระหนักในการดูแลสุขภาพในเชิง
ป้องกัน (Preventive Care) มีแนวโน้มเด่นชัดข้ึน
ทั่วโลก ซ่ึงเป็นผลให้ความต้องการอาหารเพื่อสุขภาพ
รวมถึงอุปกรณ์และบริการ การดูแลสุขภาพเพ่ิมสูงข้ึน
ในทิศทางเดยี วกนั ในอนาคต
ทมี่ า : สำนกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ
O3. พฤติกรรมการใช้จ่ายท่ีผ่านชอ่ งทางออนไลนเ์ พม่ิ ➢ PwC ได้เผยผลสำรวจมุมมองผู้บริโภคทั่วโลก
มากข้ึน (Global Consumer Insights Survey) ป ร ะ จ ำ ปี
2564 ซ่ึงทำการสำรวจพฤติกรรมของผู้บรโิ ภคท่ัวโลก
รวมท้ังประเทศไทยจำนวนทั้งสิ้น 8,700 รายในช่วง
การแพร่ระบาดของโควิด-19 โดยพบข้อมูลเกี่ยวกับ
พฤติกรรมผ้บู ริโภคชาวไทยท่นี ่าสนใจ ดังน้ี
➢ ผลการสำรวจระบุว่า 38% ของผู้บริโภคชาวไทย
ยงั คงเลือกจบั จ่ายสินค้าจากหน้ารา้ น (Physical Store)
เป็นช่องทางหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสินค้าอุปโภค
บริโภคหรือสินค้าประเภทของชำ (Grocery) แต่ใน
ขณะเดียวกันก็มีการจับจ่ายใช้สอยเพ่ือซ้ือสินค้าและ
บริการผ่านช่องทางออนไลน์ต่างๆ เป็นจำนวนมาก
ไม่ว่าจะเป็นสมาร์ทโฟนหรือโทรศัพท์มือถือ (37%)
ผู้ช่วยเสียงอัจฉริยะอุปกรณ์สมาร์ทโฮมภายในบ้าน (31%)
และแทบ็ เล็ต (25%) เปน็ ต้น
➢ สอดคล้องกับแนวโน้มพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทัว่ โลกท่ีเห็นการเตบิ โตของการช้อปปิ้งออนไลนเ์ ร่งตัว
ขึ้นในช่วงโควิด-19 สำหรับสินค้าท่ีผู้บริโภคนิยมซื้อ
ออนไลน์เป็นอัน ดับต้น ๆ ได้แก่ สิน ค้าแฟ ช่ัน
ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและความงาม และสินค้า
ประเภททำได้ด้วยตัวเอง (Do it Yourself: DIY) และ
ก า ร ป รั บ ป รุ ง บ้ า น (Home Improvement) โด ย
อินเตอร์เน็ต เว็บไซต์ หรือแอปฯ ท่ีใช้งานง่าย ความ
ร ว ด เร็ ว ใน ก า ร ข น ส่ ง แ ล ะ ก า ร บ ริ ก า ร ที่ น่ า เช่ื อ ถื อ
รวมถึงรีวิวจากลูกค้าท่านอื่น ล้วนเป็นปัจจัยที่
ผู้บริโภคชาวไทยใชพ้ ิจารณาประกอบการตดั สินใจเม่ือ
ซ้ือสินค้าออนไลน์ ซ่ึงจะเห็นได้ว่าการแพร่ระบาดของ
โควิด-19 ทำให้ผบู้ ริโภคไทยปรับตัวไปสู่ดิจิทัลมากขึ้น
ภายในเวลาชั่วพริบตา ดังน้ันธุรกิจที่มีช่องทางการ
ขายเป็นหน้าร้านเพียงช่องทางเดียว ต้องเร่งปรับตัว
แผนพฒั นาจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา (พ.ศ. 2566 – 2570) หนา้ 146
จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
โอกาส เหตผุ ลสนบั สนนุ
เพื่อไม่ให้เสียโอกาสทางธุรกิจ และควรขยายช่อง
ทางการจำหน่ายเพ่ือรองรับลูกค้าที่หันมาซื้อสินค้า
ออนไลน์มากขึน้ แม้ในอนาคตวิกฤตโควิด-19 จะผ่าน
พน้ ไปแล้วกต็ าม
ท่ีมา : PwC
O4. การพัฒนาความก้าวหน้าของการพัฒนาเทคโนโลยี บทบาทของเทคโนโลยีชวี ภาพ (Biotechnology)
ทางกายภาพและชีวภาพ (Biotechnology) ปรากฎชัดเจนในปัจจุบัน อันมีผลมาจากการผลิต
วัคซีนเพื่อรับมือกับโรคระบาดอย่าง Covid-19
ร ว ม ถึ ง ก าร รั ก ษ า โ ร ค ร ะ ย ะ ย า ว ต่ า ง จ ำเป็ น ต้ อ ง ใ ช้
เทคโนโลยีชีวภาพเข้าช่วย อาทิ เทคโนโลยีชีวภาพ
ด้านการแพทย์ ด้านการเกษตร ด้านอุตสาหกรรม
และดา้ นสิ่งแวดล้อม
O5. แ น ว โน้ ม ก ารท่ อ งเที่ ยว แ บ บ High Value การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวระดับ
Tourism โลกสู่รูปแบบการท่องเท่ียวมูลค่าสูง การท่องเที่ยว
มูลค่าสูงเป็นการท่องเท่ียวที่นักท่องเท่ียวมุ่งแสวงหา
ความพึ งพ อ ใจจ าก ก ารได้รับสิ่งอ ำน วยความ
สะดวกสบาย หรือการได้รับบริการท่ีดีเยี่ยม มุ่งเน้น
ก ารให้ ป ร ะ ส บ ก าร ณ์ ด้ าน อ าร ม ณ์ ค ว าม รู้สึ ก
(Emotion) สอดคล้องกับรูปแบบการท่องเที่ยวแบบ
หรูหรา (Luxury Tourism) ที่นักท่องเท่ียวยินดีซื้อ
เวลา ความสะดวกสบายและความพิเศษเฉพาะบคุ คล
เพ่ือลดข้ันตอนความยุ่งยากในการท่องเที่ยว เพราะ
เวลาเที ยบ เท่าได้ กั บท รัพ ย์สิน ท่ี มี มูลค่า และ
ความสำคัญ ซึ่งการท่องเที่ยวมูลค่าสูง กำลังมีการ
เติบโตระยะยาว รูปแบบการท่องเที่ยวที่สอดคล้อง
กับการท่องเท่ียวมูลค่าสูง การท่องเที่ยวแบบหรูหรา
(Luxury Tourism) ก า ร ท่ อ ง เที่ ย ว เชิ ง สุ ข ภ า พ
(Health and Wellness Tourism) การท่องเท่ียว
เชิ ง กี ฬ า (Sports Tourism) ก าร ท่ อ งเท่ี ย ว เชิ ง
วัฒนธรรม (Cultural Tourism) การท่องเที่ยวเชิง
นิเวศ (Eco Tourism) การท่องเท่ียวเชิงจิตวิญญาณ
(Spiritual Tourism)
ท่ีมา : การท่องเทยี่ วแหง่ ประเทศไทย
แผนพัฒนาจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา (พ.ศ. 2566 – 2570) หนา้ 147
จังหวดั พระนครศรีอยุธยา
โอกาส เหตุผลสนบั สนนุ
O6. นโยบายส่งเสริมการส่งออกสินค้าท่ีเป็นมิตรกับ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (DITP) ผลักดัน
สิ่งแวดล้อม การส่งออกสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของไทย
เจาะตลาด ช้มี ีโอกาสเตบิ โตสูงมาก
O7. พ้นื ที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคกลาง-ตะวันตก จากที่ประชุมคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเขต
(CWEC) เศรษฐกิจพิเศษ (กพศ.) ครั้งที่ 1/2564 ผ่านสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ ที่มีพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา
นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
เป็ น ป ร ะ ธ า น ที่ ป ร ะ ชุ ม มี ม ติ เห็ น ช อ บ ใน ห ลั ก ก า ร
กำหนดพื้นท่แี ละแนวทางในการให้สิทธิประโยชน์เพื่อ
ส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษใน
4 ภาคกำหนดพื้นท่ีและแนวทางในการให้สิทธิ
ป ร ะ โย ช น์ เพ่ื อ ส่ ง เส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น ใน พ้ื น ที่ ร ะ เบี ย ง
เศรษฐกิจพิเศษใน 4 ภาคระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค
กลาง – ตะวันตก (Central – Western Economic
Corridor: CWEC) ได้แก่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จังหวัดนครปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัด
กาญจนบรุ ี เพื่อพัฒนาให้เป็นฐานเศรษฐกจิ ชัน้ นำของ
ภ า ค ก ล า ง -ต ะ วั น ต ก ใน ด้ า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม เก ษ ต ร
การท่องเท่ียว และอุตสาหกรรมไฮเทคท่ีได้มาตรฐาน
ระดับสากล เช่ือมโยงกับกรุงเทพและพ้ืนที่โดยรอบ
และ EEC
ท่ีมา : ประชุมคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ (กพศ.)
คร้ังที่ 1/2564 ผา่ นส่อื อิเล็กทรอนิกส์ (VDO Conference)
O8. นโยบายส่งเสริมการส่งออกสินค้าที่เป็นมิตรกับ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (DITP) ผลักดัน
สิ่งแวดลอ้ ม การส่งออกสินค้าที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมของไทย
เจาะตลาด ชี้มโี อกาสเติบโตสูงมาก
O9. แผนเร่งรัดการส่งออกท่ีตอบโจทย์เมกะเทรนด์ กรมส่งเสรมิ การคา้ ระหว่างประเทศ กระทรวงพาณชิ ย์
ของโลก กรมส่งเสรมิ การคา้ ระหวา่ งประเทศ กระทรวงพาณิชย์
ท ำแ ผ น เร่ ง รั ด ก า ร ส่ ง อ อ ก สิ น ค้ า ท่ี ต อ บ โ จท ย์ เม ก ะ
เทรนด์ของโลกให้มากขึ้น เพราะถือเป็นอนาคตของ
การส่งออกของไทย และเป็นสินค้าที่มีมูลค่าสูง
ส า ม าร ถ เพ่ิ ม ร าย ได้ ให้ กั บ เก ษ ต ร ก ร ผู้ ผ ลิ ต
ผู้ประกอบการ และทำเงินเข้าประเทศได้ดีกว่า
การส่งออกสินค้าข้ันปฐมเพียงอย่างเดียวโดยสินค้าที่
ต้องส่งเสริมและพัฒนาเพ่ิมขึ้น ได้แก่ สินค้าไลฟ์สไตล์
ท่ีพัฒนามาจากวัสดุเหลือใช้ หรือผลผลิตเหลือใช้ทาง
การเกษตร และขยะคณุ ภาพดีจากแหล่งอตุ สาหกรรม
แผนพัฒนาจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา (พ.ศ. 2566 – 2570) หน้า 148
จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา
โอกาส เหตุผลสนับสนนุ
ที่นำมาแปรรูปและออกแบบเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่เชิง
สร้างสรรค์ สินค้าในกลุ่มอาหารแปรรูป เกษตรแปรรูป
และสินค้าท่ีไม่ใช่อาหาร ที่ได้รับการพัฒนาด้าน
บรรจุภัณฑ์ท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม เพื่อตอบโจทย์
เมกะเทรนด์ BCG Economy (Bio-Circular-Green
Economy) ห รือ เศ รษ ฐกิ จชีวภ าพ เศร ษ ฐกิ จ
หมุนเวยี น และเศรษฐกิจสเี ขียว คอื โมเดลเศรษฐกจิ สู่
การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยต้องดำเนินการพัฒนาและ
ส่งเสริมด้านการตลาด ผ่านการประชาสั มพั นธ์
เพ่ือสร้างการรับรู้และสร้างภาพลักษณ์สินค้า BCG
ของไทยในตลาดต่างประเทศ นอกจากน้ี ให้เน้น
ความสำคัญ ของอาหารอนาคต (future food)
ซ่ึงประกอบด้วย 4 กลุ่มหลัก ได้แก่ 1.อาหารฟังก์ชั่น
(functional food) 2.อาหารนวัตกรรมใหม่ (novel
food) 3.อาหารทางการแพทย์ (medical food) และ
4.อาหารอินทรีย์ (organic food) เพื่อตอบสนอง
พฤติกรรมผู้บริโภคในด้านต่างๆ เช่น การเพิ่ม
ภูมคิ ้มุ กันใหร้ า่ งกาย เพ่ือโภชนาการเฉพาะบคุ คล เพื่อ
สขุ ภาพจิตที่ดี เพ่ือโภชนาการรูปแบบใหม่ท่ีไม่บรโิ ภค
อาหารที่มาจากเน้ือสัตว์ (Plant-based) และอาหาร
ผู้สูงอายุ เป็นต้น โดยมีตลาดส่งออกเป้าหมายหลัก
ไดแ้ ก่ สหรฐั ฯ จีน ญ่ีปุ่น ออสเตรเลีย
O10. มิชลิน ไกด์ หรือคู่มือการจัดอันดับร้านอาหารท่ีมี มชิ ลนิ ไกด์ ประเทศไทย 2022 เตรียมเพิ่ม “อยธุ ยา”
คุณภาพ ฉบับปี 2565 ได้เพ่ิมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นเมืองที่ 5 หลังจากที่การท่องเที่ยวแห่งประเทศ
เข้าไปในคมู่ ือฉบับนเี้ ปน็ ครั้งแรกด้วย ไทย (ททท.) ไดร้ ่วมมืออย่างเป็นทางการกับมิชลนิ ใน
การเปิดตัวคู่มอื แนะนำร้านอาหารและทพ่ี ักระดบั โลก
“มิชลิน ไกด์” ฉบับกรุงเทพ ฯ หรือ MICHELIN
Guide Bangkok คู่มือแนะนำร้านอาหารและที่พักใน
กรุงเทพฯ มาตั้งแต่ปี 2561 และมีการเพิ่มเมืองที่
น่าสนใจสำหรับนักท่องเที่ยวเข้าไปเกือบทุกปีล่าสุด
ทางคณะผู้จัดทำได้มีการประกาศแล้วว่า มิชลิน ไกด์
ประเทศไทย เตรียมเพ่ิม “อยุธยา” เป็นเมืองที่ 5 ใน
คู่มือที่จะเปิดตัวในปลายปีนี้ ย้อนหลัง มิชลิน ไกด์
ประเทศไทย มจี งั หวดั ไหนบา้ ง
• ปี 2561 สำรวจเฉพาะจงั หวัดกรงุ เทพฯ
• ปี 2562 เพมิ่ จังหวดั ภูเกต็ และพงั งา
แผนพฒั นาจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา (พ.ศ. 2566 – 2570) หน้า 149
จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
โอกาส เหตุผลสนับสนนุ
• ปี 2563 เพม่ิ จงั หวัดเชียงใหม่
• ปี 2564 ไมม่ ีการเพ่มิ จังหวัด
• ปี 2565 เพม่ิ จังหวดั พระนครศรีอยุธยา
ที่มา: มชิ ลินไกดป์ ระเทศไทย
O11. การพัฒนาระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ของ ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของไทย
รัฐบาล ระยะ 20 ปี (พ .ศ. 2561-2580) และแผนพั ฒ น า
โครงสร้างพ้ืนฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ.
2558-2565 และ แผนปฏิบัติการดา้ นคมนาคมขนส่งมุ่ง
ยกระดับการขนส่งและโลจิสติกส์ เพ่ื อเพิ่ มขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยพัฒนา
โค ร ง สร้ าง พื้ น ฐาน ด้ าน ค ม น าค ม ข น ส่ ง ใน ทุ กส าข า
ทั้งทางราง ถนน น้ำ และอากาศ รวมทั้งการเชื่อมโยง
โครงขา่ ยอย่างเปน็ ระบบ ซง่ึ กระทรวงคมนาคมได้เรง่ รัด
ขับเคล่ือนการดำเนินโครงการภายใต้แผนดังกล่าว
อย่างเป็นรูปธรรม โครงการพัฒนาระบบรถไฟความเร็ว
สูง เพ่ือเชื่อมโยงภูมภิ าค โครงการขยายถนนสายต่าง ๆ
O11. เทคโนโลยี Smart City ช่วยแก้ปัญหาการ การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) ได้กำหนด
บริหารจดั การเมืองใหญ่ เป้าหมาย คือ ความเป็นอยู่ที่ดีของมนุษย์ในเมืองนั้น
โดยการพัฒ นาเมืองให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
สามารถแก้ปัญ หาท่ีเกิดข้ึน ใน สังคมได้อย่างมี
ประสิทธิภาพลดผลกระทบให้เหลือน้อยที่สุดสู่การ
พฒั นาเมอื งที่ย่ังยนื
แผนพัฒนาจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา (พ.ศ. 2566 – 2570) หนา้ 150
จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
8.4) การวเิ คราะหอ์ ุปสรรคของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และเหตผุ ลสนับสนนุ
อปุ สรรค เหตุผลสนบั สนนุ
T1. การเคล่ือนยา้ ยแรงงานต่างถิ่นและแรงงานต่างด้าว การอพยพเคล่ือนย้ายแรงงานต่างถ่ินและแรงงาน
ตา่ งด้าวก่อให้เกดิ ปญั หาสังคม
T2. อตุ สาหกรรมยานยนต์เสยี ส่วนแบง่ ตลาดโลก ปี พ.ศ. 2563 อุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ไทยมี
แนวโน้มหดตัวตามอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์
โดยเฉพาะช้ินส่วนเพ่ือประกอบยานยนต์ (OEM)
ผลจากการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ทำให้
กิจกรรมการผลิตในห่วงโซ่ยานยนต์สะดุดลงในช่วง
ครง่ึ แรกปี 2563 ทา่ มกลางกำลงั ซื้อท่ัวโลกรวมถึงไทย
ทห่ี ดตัวรุนแรงในระยะต่อไป รถยนต์ไฟฟ้ามีแนวโน้ม
ทวีบทบาทมากขึ้นในอุตสาหกรรมรถยนต์ของไทย
ท ำให้ ห่ วงโซ่ อุ ปทานของอุ ตสาหกรรมรถยนต์
เปลี่ยนแปลงไป จากเดิมท่มี ีลกั ษณะความสัมพันธ์แบบ
เสน้ ตรง
ที่มา : งานวิจัยกรุงศรี แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรมปี 2563-65:
อตุ สาหกรรมช้ินสว่ นยานยนต์
T3. BOI จะให้ Incentive กบั นกั ลงทุนทใ่ี ช้ high หุ่นยนต์และเครื่องจักรกลเริ่มเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม
technology มาก และบริการมากขึ้น ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีส่ง
ผลกระทบต่อตลาดแรงงานโดยอาจนำไปสู่การขาด
แ ค ล น แ ร ง ง า น ทั ก ษ ะ แ ล ะ เกิ ด ค ว า ม ไ ม่ ส อ ด ค ล้ อ ง
ระหว่างทักษะของแรงงานกับทักษะที่ต้องใช้ในการ
ทำงาน (Skill Mismatch) แม้ว่าการนำเทคโนโลยีมา
ใช้งานจะช่วยยกระดับผลิตภาพ ทางเศรษฐกิจใน
ภาพ รวมให้สามารถผลิตสินค้าและบริการที่มี
มูลค่ าเพ่ิ มสูงข้ึน ได้ใน ระ ย ะเวลาท่ี สั้ น ลง แต่
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดังกล่าวอาจก่อให้เกิด
ผลกระทบต่อตลาดแรงงาน โดยอาจนำไปสู่การขาด
แคลน แรงงานทักษะ และเกิดความไม่สอดคล้อง
ระหว่างทักษะของแรงงานกับทักษะท่ีต้องใช้ในการ
ท ำงาน (Skill Mismatch) โด ย เฉพ าะ ทั ก ษ ะ ท่ี
เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีระดับสูง ขณะที่แรงงานระดับ
ล่างจะถูกชดเชยดว้ ย หนุ่ ยนตแ์ ละจักรกลมากขึน้ โดย
ค าด ก า ร ณ์ ว่า ปั ญ ญ าป ร ะ ดิ ษ ฐ์ แ ล ะ ร ะ บ บ หุ่ น ย น ต์
อัตโนมัติ จะส่งผลให้อัตราการว่างงานของประเทศ
ไทยเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 5 ภายในปี 2578 หาก
แรงงานส่วนใหญ่ไม่ได้รับการพัฒนา และสรา้ งทักษะ
(Re/Up-Skill) เหมาะสมอยา่ งเพยี งพอ
แผนพัฒนาจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา (พ.ศ. 2566 – 2570) หนา้ 151
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
อุปสรรค เหตผุ ลสนบั สนนุ
T4. การเกดิ ขน้ึ ของโรคติดเช้อื อบุ ตั ิใหม่ (Emerging
infectious diseases) และโรคอบุ ตั ิซ้ำ การแพร่ระบาดโควิดรอบ 3 เกิดผลกระทบท่ีทำให้
ผบู้ ริโภคเกิดความกังวลและระมดั ระวงั ในการจับจ่าย
T5. การเปลีย่ นสภาพภูมิอากาศและภัยพิบตั ทิ าง ใชส้ อย
ธรรมชาติ มคี วามผนั ผวนและรนุ แรง มากขน้ึ
โดยเฉพาะอทุ กภยั และภยั แล้ง จากแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงระดับโลก (Global
Megatrends ) ได้กล่าวถึงประเด็นการเปลี่ยนแปลง
T6. ความไม่แนน่ อนทางเสถยี รภาพทางการเมอื ง ของสภาพแวดลอ้ มโดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศมีแนวโน้มรุนแรง รวดเร็ว และผันผวนกว่า
ที่คาดการณ์ไว้ และมีความเส่ียงต่อภัยพิบัติและ
ผลกระทบตอ่ ระบบนิเวศ
จากสภาพปัญหาความเห็นต่างทางการเมืองที่มีความ
ขัดแยงยืดเยื้อมายาวนานและไม่มีทีท่าจะหยุดลงได้
อันเน่ืองมาจาก ความไม่ลงตัวกันทางความเห็น
ทางการเมือง การไม่ยอมรับฝา่ ยอ่ืน การไม่ยอมรับใน
อำนาจท่อี กี ฝา่ ยไดร้ ับ และผลประโยชน์
แผนพัฒนาจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา (พ.ศ. 2566 – 2570) หน้า 152
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
9) จากผลการวิเคราะห์ SWOT Analysis สามารถนำไปสังเคราะห์และสรุปเช่ือมโยงกับ
การกำหนด TOWS Matrix ได้ดังน้ี
ตารางที่ 2.16 สรปุ SWOT Analysis
จดุ แข็ง จดุ อ่อน
S1. แหล่งท่องเที่ยวมีความหลากหลาย ท้ังด้านทาง W1. อุตสาหกรรมมีการเติบโตและขยายตัวลดลงจาก
ประวัติศาสตร์ที่สำคัญของประเทศโดยได้รับ อันดับ 3 ของประเทศเปน็ อันดับ 5 ของประเทศ
การข้ึนทะเบียนเป็นมรดกโลก แหล่งท่องเท่ียว W2 เส้นทางคมนาคม และโครงข่ายเส้นทางสายรอง
ทางวัฒนธรรม แหล่งท่องเท่ียวเชิงนันทนาการ หลายแหล่ง ยังขาดการปรับปรุง/เช่ือมโยงให้
และแหล่งทอ่ งเทย่ี วทางศิลปะวิทยาการ สอดคล้อง/รองรบั ต่อเตบิ โตตัวของเมอื ง
S2. สภาพภูมิศาสตร์มีความเหมาะสมด้านการคมนาคม W3 มีปัญหาความม่ันคง ปัญหาในสังคม และปัญหา
ขนส่ง และเป็นฐานการลงทุนภาคอุตสาหกรรม และ อาชญากรรมค่อนขา้ งสูง
ภาคอสงั หาริมทรัพย์ที่สำคญั W4. รายไดจ้ ากการจำหน่ายสนิ ค้า OTOP ขยายตวั
S3. มีพ้ืนท่ีรองรับการผลิตด้านการเกษตรและสินค้า ในอัตราทน่ี ้อยลงอย่างมาก
เกษตรได้รับมาตรฐาน และอาหารที่ได้รับ W5. สภาพมลพษิ ทางอากาศ
การรบั รองมาตรฐาน GMP/HACCP W6. ปริมาณน้ำต้นทุนต่อความต้องการใช้น้ำอยู่ใน
S4. การจดั การขยะอุตสาหกรรม ระดับต้องการปรับปรุง และคุณภาพน้ำลดลง
อย่างตอ่ เนอื่ ง
W7. รายได้การท่องเทยี่ วลดลง
W8. กำลังแรงงานมีแนวโน้มว่างงานมากข้นึ
แผนพฒั นาจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา (พ.ศ. 2566 – 2570) หนา้ 153
จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
โอกาส อุปสรรค
O1. แผนแม่บทการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลกำหนดให้ T1. การเคลอ่ื นยา้ ยแรงงานต่างถ่นิ และแรงงานต่างด้าว
จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็น 1 ใน 7 เมือง T2. อตุ สาหกรรมยานยนตเ์ สียสว่ นแบง่ ตลาดโลก
เป้าหมายการพัฒนา T3. BOI จะให้ Incentive กับนักลงทุนท่ีใช้ high
O2. พฤตกิ รรมในการดแู ลสุขภาพเชงิ ปอ้ งกนั technology มาก
O3. พฤตกิ รรมการใช้จ่ายที่ผ่านช่องทางออนไลน์เพมิ่ ขึ้น T4. การเกิดขึ้นของโรคติดเช้ืออุบัติใหม่ (Emerging
O4. การพัฒนาความก้าวหน้าของการพัฒนาเทคโนโลยี infectious diseases) และโรคอุบัตซิ ำ้
ทางกายภาพและชีวภาพ (Biotechnology) T5. การเปลี่ยนสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทาง
O5. แนวโนม้ การท่องเทย่ี วแบบ High Value Tourism ธรรมชาติ มีความผันผวนและรุนแรง มากขึ้น
O6. นโยบายส่งเสริมการส่งออกสินค้าท่ีเป็นมิตรกับ โดยเฉพาะอุทกภยั และภัยแล้ง
สง่ิ แวดล้อม T6. ความไม่แน่นอนทางเสถยี รภาพทางการเมือง
O7. พ้ืนท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคกลางตะวันตก
(CWEC)
O8. แผนเร่งรัดการส่งออกที่ตอบโจทย์เมกะเทรนด์
ของโลก
O9. มิชลิน ไกด์ หรอื คูม่ ือการจัดอันดบั ร้านอาหารทมี่ ี
คุณภาพ ฉบบั ปี 2565 ได้เพิม่ จงั หวัด
พระนครศรอี ยุธยาในคมู่ ือฉบบั น้ีเป็นครั้งแรก
O10. การพัฒนาระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ของ
รัฐบาล
O11. เทคโนโลยี Smart City ช่วยแก้ปัญ หาการ
บริหารจัดการเมอื งใหญ่
แผนพฒั นาจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา (พ.ศ. 2566 – 2570) หน้า 154
จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
ตารางท่ี 2.17 TOWS Matrix Internal Strengths (S) Internal Weaknesses (W)
S1. แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วมีความหลากหลาย ท้งั ดา้ นทาง W1. อตุ สาหกรรมมีการเตบิ โตและขยายตวั ลดลงจาก
Internal Factor ประวตั ศิ าสตรท์ ี่สำคญั ของประเทศโดยไดร้ บั การข้นึ อนั ดับ 3 ของประเทศเปน็ อนั ดบั 5 ของประเทศ
ทะเบียนเปน็ มรดกโลก แหลง่ ท่องเทย่ี วทาง W2 เสน้ ทางคมนาคม และโครงขา่ ยเส้นทางสายรอง
External Factor วฒั นธรรม แหล่งทอ่ งเทีย่ วเชงิ นนั ทนาการ และ หลายแหล่ง ยงั ขาดการปรับปรุง/เช่อื มโยงให้
แหล่งทอ่ งเทย่ี วทางศิลปะวทิ ยาการ สอดคลอ้ ง/รองรบั ต่อเตบิ โตตวั ของเมอื ง
External Opportunities (O) S2. สภาพภมู ิศาสตร์มคี วามเหมาะสมด้านการคมนาคม W3 มปี ัญหาความมั่นคง ปญั หาในสังคม และปญั หา
ขนส่ง และเปน็ ฐานการลงทุนภาคอตุ สาหกรรม และภาค อาชญากรรมคอ่ นข้างสูง
O1. แผนแมบ่ ทการสง่ เสริมเศรษฐกจิ ดิจิทลั กำหนดให้จังหวดั อสังหาริมทรพั ยท์ ส่ี ำคญั W4. รายได้จากการจำหนา่ ยสนิ คา้ OTOP ขยายตวั
พระนครศรีอยุธยาเป็น 1 ใน 7 เมอื งเปา้ หมายการพัฒนา S3. มีพื้นที่รองรบั การผลติ ดา้ นการเกษตรและสินคา้ ในอตั ราทน่ี ้อยลงอย่างมาก
O2. พฤตกิ รรมในการดแู ลสขุ ภาพเชงิ ป้องกนั เกษตรได้รับมาตรฐาน และอาหารที่ได้รับการรบั รอง W5. สภาพมลพษิ ทางอากาศ
O3. พฤตกิ รรมการใช้จา่ ยที่ผ่านช่องทางออนไลน์เพ่มิ มากขึ้น มาตรฐาน GMP/HACCP W6. ปรมิ าณน้ำต้นทุนต่อความต้องการใช้นำ้ อยูใ่ น
O4. การพฒั นาความก้าวหน้าของการพฒั นาเทคโนโลยีทาง S4. การจดั การขยะอตุ สาหกรรม ระดบั ต้องการปรบั ปรุง และคุณภาพน้ำลดลง
กายภาพและชวี ภาพ (Biotechnology) อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
O5. แนวโนม้ การทอ่ งเท่ียวแบบ High Value Tourism SO Strategies เชิงรกุ W7. รายได้การท่องเท่ยี วลดลง
O6. นโยบายส่งเสริมการส่งออกสินค้าท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม W8. กำลังแรงงานมแี นวโน้มวา่ งงานมากข้ึน
O7. พื้นทร่ี ะเบยี งเศรษฐกิจพิเศษภาคกลางตะวันตก (CWEC) S1, S2, S3, O1, O7, O10, O11พัฒนาระบบ
O8. แผนเร่งรดั การส่งออกที่ตอบโจทย์เมกะเทรนดข์ องโลก การเชื่อมโยงการคมนาคมและการขนสง่ ทกุ มติ ิ WO Strategies เชงิ แก้ไข
O9. มิชลนิ ไกด์ หรอื ค่มู อื การจัดอนั ดบั ร้านอาหารทมี่ ีคุณภาพ
ฉบับปี 2565 ได้เพ่ิมจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเขา้ ไปในค่มู อื S1, S2, O2, O3, O4, O5, O9, ยกระดับการแขง่ ขันของ W2, W3, W7, O1, O2, O5 พัฒนาและปรบั ปรงุ แหลง่
ฉบบั น้เี ป็นคร้งั แรกด้วย ผูป้ ระกอบการธรุ กิจดา้ นการทอ่ งเทีย่ วเชงิ สร้างสรรคด์ ว้ ย ท่องเท่ียวตามมาตรฐานและความปลอดภัยด้วย
O10. การพฒั นาระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญข่ องรัฐบาล เทคโนโลยดี ิจิทลั การออกแบบเพ่ือคนทั้งมวล (Universe design )
O11. เทคโนโลยี Smart City ช่วยแก้ปญั หาการบรหิ ารจดั
การเมอื งใหญ่ S1, O2, O3, O5, O6 ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเท่ยี ว W2, W3, W5, O1, O11 สง่ เสริมและพัฒนาเมืองและ
การตลาดเฉพาะกล่มุ และการประชาสมั พันธ์ ชุมชนเพ่ือเมืองท่นี ่าอย่แู ละปลอดภยั
External Threats (T) การท่องเทยี่ วด้วยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั
W1, W4, O1, O3, O4, O6, O8, O11 สนับสนนุ การใช้
T1. การเคลอื่ นยา้ ยแรงงานตา่ งถิน่ และแรงงานตา่ งด้าว ST Strategies เชงิ ปอ้ งกนั เทคโนโลยี นวัตกรรม และภูมปิ ัญญาอยา่ งสร้างสรรคเ์ พื่อ
T2. อุตสาหกรรมยานยนต์เสยี สว่ นแบง่ ตลาดโลก เพิ่มมูลคา่ ให้กับสนิ คา้ และบรกิ ารทเ่ี ป็นมติ รตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม
T3. BOI จะให้ Incentive กับนักลงทุนทใี่ ช้ high
technology มาก W3, O1, O10, O11 ยกระดับคุณภาพชวี ิตของประชาชน
T4. การเกดิ ขน้ึ ของโรคตดิ เช้ืออบุ ตั ใิ หม่ (Emerging ในพื้นทท่ี กุ กลมุ่
infectious diseases) และโรคอบุ ัตซิ ำ้
T5. การเปล่ียนสภาพภมู ิอากาศและภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติ W1, W2, W6, O7, O10, สง่ เสริมและสนบั สนนุ
มีความผันผวนและรนุ แรง มากขึน้ โดยเฉพาะอุทกภยั และ การเชอ่ื มโยงห่วงโซอ่ ปุ ทานภาคการเกษตร อุตสาหกรรม
ภยั แล้ง การค้า และบรกิ าร
T6. ความไม่แน่นอนทางเสถียรภาพทางการเมือง
WT Strategies เชิงรับ
W8, W4, W3, T1, T3 ส่งเสริมและพฒั นากำลงั คนทกุ กลมุ่
ทกุ ชว่ งวยั เพอ่ื สรา้ งทักษะทจี่ ำเป็นรองรบั ภาคเกษตร
อตุ สาหกรรม การค้า และบริการ
แผนพฒั นาจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา (พ.ศ.2566 – 2570) หนา้ 155
จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
3.2.2 เปา้ หมายการพัฒนาจงั หวดั
ผลวิเคราะห์จาก TOWS Matrix ยังสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการกำหนด Positioning ของ
จังหวัดได้ด้วย โดยความเป็น Positioning ก็เปรียบเสมือน “จุดขาย” ของจังหวัดในการสร้างประโยชน์ต่อ
การพัฒนาประเทศ ซึ่ง “จุดขาย” มคี วามแตกต่างจากความเป็น “จดุ เดน่ หรือ จุดแขง็ ” คอื ไมใ่ ชเ่ ปน็ เพียงแค่
มีส่ิงท่ีดีหรือ จังหวัดทำได้ดี (หรือดีกว่าที่ผ่านมา) เท่าน้ัน แต่ยังต้องเป็น “จุดเด่นที่มีความเป็นเอกลักษณ์
สามารถสนอง Demand และสร้างคุณประโยชน์ให้กับประเทศ” ควบคู่กันไปด้วย โดย Positioning ของ
จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา สามารถระบุด้วยคำยอ่ คือ HEAD มคี วามหมายดงั น้ี
HUB เป็นศูนย์กลาง : พระนครศรีอยุธยามีศักยภาพเป็นศูนย์กลาง การผลิตเกษตรและ
อุตสาหกรรม การค้าและบริการ การท่องเทยี่ ว การคมนาคมและโลจิสตกิ ส์
ENVIRONMENTALLY FRIENDLY เป็นเมืองท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม : พระนครศรีอยุธยา
มุ่งเน้นการพัฒนาเมืองทค่ี ำนึงถงึ ทรพั ยากรธรรมชาติ และอนุรกั ษ์สิ่งแวดลอ้ ม
ANCIENTRY เป็นเมืองโบราณ : จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีแหล่งโบราณสถานที่มีเอกลักษณ์
ได้รบั การยกยอ่ งให้เป็นเมอื งมรดกโลก
DIVERSITY เป็นเมืองท่ีมีความหลากหลาย : พระนครศรีอยุธยามีความหลากหลายทางด้านสังคม
วัฒนธรรม และสงิ่ แวดลอ้ มคือ:
แผนพัฒนาจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา (พ.ศ.2566 – 2570) หนา้ 156
จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
เป้าหมายการพัฒนา
อยธุ ยาเมืองมรดกโลก เปน็ แหลง่ ท่องเทย่ี วคณุ ภาพ น่าเรยี นรู้ น่าอยู่ น่าลงทุน
คำอธบิ าย :
แหล่งท่องเทย่ี วคณุ ภาพ : เมอื งอยุธยาท่ีมีความพร้อมสู่การเป็นเมอื งทอ่ งเที่ยวคุณภาพ ขบั เคลอ่ื นดว้ ย Happy
Model โดยอยู่บนฐานของการสร้างความคิดสร้างสรรค์ และสู่การพัฒนาอย่างย่ังยืน โดยใช้เทคโนโลยี
นวตั กรรม และภมู ิปัญญา
น่าเรียนรู้ : พระนครศรีอยุธยามีแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ทั้งทางด้านวัฒนธรรม และศูนย์การเรียนรู้จาก
ชุมชน
น่าอยู่ : พระนครศรีอยุธยาเป็นเมืองท่ีมีการปรับปรุง และสร้างสรรค์สภาพแวดล้อมท้ังกายภาพ และทางสังคม
อย่างต่อเนือ่ ง มีการนำทรัพยากรของชมุ ชนมาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ และมีศักยภาพสูงสดุ เพ่อื ให้ประชาชนมชี ีวติ ทด่ี ี
นา่ ลงทุน : พระนครศรีอยธุ ยาเปน็ แหล่งการลงทนุ ทม่ี ศี กั ยภาพท้ังดา้ นอตุ สาหกรรม และภาคบริการ
ตัวชวี้ ัดเปา้ หมายการพัฒนา
1. จำนวนแหลง่ เรยี นรู้ในจังหวัดเพม่ิ ขึน้
2. รอ้ ยละท่เี พิม่ ขนึ้ ของรายได้จากการทอ่ งเที่ยว
3. อัตราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ของจงั หวดั เพิม่ ข้ึน
4. รอ้ ยละท่ีเพิม่ ขนึ้ ของมูลคา่ การลงทุนด้านอุตสาหกรรม
5. ระดับดัชนีความก้าวหนา้ ของคนเพ่ิมขนึ้
พนั ธกจิ (Mission)
1. ยกระดบั บรหิ ารจัดการเมืองและชุมชนสู่เมอื งแหง่ ความสุข
2. ยกระดบั อตุ สาหกรรมการท่องเทยี่ วด้วยแนวคิด Happy Model
3. การพัฒนาภาคการผลิต เกษตร อุตสาหกรรม การค้าและบรกิ ารได้อย่างครบวงจรดว้ ยแนวคิด BCG Model
จดุ เน้นทางยุทธศาสตร์ (Positioning)
HEAD
HUB เป็นศนู ย์กลาง : พระนครศรอี ยธุ ยามศี ักยภาพเปน็ ศนู ยก์ ลาง การผลิตเกษตรและอุตสาหกรรม
การค้าและบรกิ าร การท่องเที่ยว การคมนาคมและโลจิสตกิ ส์
ENVIRONMENTALLY FRIENDLY เป็นเมืองทเ่ี ป็นมิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม : พระนครศรีอยุธยามุ่งเนน้
การพัฒนาเมอื งทคี่ ำนงึ ถึงทรพั ยากรธรรมชาติ และอนุรักษ์ส่งิ แวดล้อม
ANCIENTRY เป็นเมืองโบราณ : พระนครศรีอยธุ ยามีแหลง่ โบราณสถานท่ีมีเอกลกั ษณไ์ ด้รับการยกย่องให้
เป็นเมืองมรดกโลก
DIVERSITY เปน็ เมอื งที่มีความหลากหลาย : พระนครศรอี ยุธยามคี วามหลากหลายทางด้านสังคม
วฒั นธรรม และส่งิ แวดล้อม
แผนพฒั นาจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา (พ.ศ.2566 – 2570) หน้า 157
จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
ภาพที่ 2.1 เป้าหมายการพฒั นา
การพัฒนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2566-2570 สร้างเศรษฐกิจให้เจริญเติบโต
อย่างท่ัวถึงบนการพัฒนาอยา่ งยั่งยนื อาศัยแนวคดิ เศรษฐกจิ ชวี ภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขยี ว
(Bio-Circular-Green Economy: BCG Model) ซึ่งเป็นรูปแบบการพัฒนาเศรษฐกิจท่ีต่อยอดจากจุดแข็ง
ของจังหวัดด้านความหลากหลายทางชีวภาพและความหลากหลายทางวัฒนธรรม เพ่ือเช่ือมโยงกับหลักคิด
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงท่ีสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน และเป็นการสานพลังของจตุภาคีท้ัง
ภาคประชาชน ภาคเอกชน ภาครัฐ และภาควิชาการ โดยมีแนวทางการพฒั นา ดงั น้ี
1. ยกระดับมาตรฐานสินคา้ และธุรกิจบรกิ ารในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและให้
เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวอัจฉริยะด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และเกษตรมีภาพลักษณ์ที่ได้
มาตรฐานสากล และเตรียมความพร้อมและการให้บริการในรูปแบบใหม่ (New Normal) ควบคู่มาตรฐาน
ความปลอดภยั ทั้งด้านชีวติ ทรพั ย์สิน และด้านสุขอนามัย ส่งเสริมการท่องเท่ียวย่ังยืนและการท่องเทย่ี วสีเขยี ว
สร้างรูปแบบการท่องเท่ียวใหม่ ด้วยแนวคิดอารมณด์ ีมีความสุข (Happy Model) พัฒนาสินค้าและผลิตภัณฑ์
ชุมชน โดยเฉพาะอาหารท้องถิ่นและสมุนไพรท่ีมีประโยชน์สะอาดและปลอดสารพิษตามแนวคิดเศรษฐกิจ
สรา้ งสรรค์
2. พัฒนาให้เป็นเมืองน่าอยู่แห่งความสุขสำหรับคนทุกกลมุ่ ในสังคมมุ่งเน้นความปลอดภัย
ทั้งด้านชีวิต ทรัพย์สิน สุขอนามัย ส่ิงแวดล้อมดี เศรษฐกิจดี เดินทางสะดวก ระบบสาธารณูปโภคมีคุณภาพ
และท่ัวถึง และเน้นความสอดคล้องกับอัตลักษณ์ ความหลากหลาย และศักยภาพของเมืองบนพื้นฐานการมี
ส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม รวมทั้งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคมขนส่ง และโลจิสติกส์
เพื่อรองรบั การพ้นื ท่ีระเบียงเศรษฐกจิ พิเศษภาคกลาง-ตะวนั ตก
แผนพัฒนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (พ.ศ.2566 – 2570) หนา้ 158
จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
3. เพิ่มศักยภาพการเป็นฐานการผลิตสินค้าเกษตร/อาหารคุณภาพ และเกษตรแปรรูป
มลู ค่าสูง (Agro High Value Added) โดยสนับสนุนการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการผลิตและแปรรูป
สินค้าเกษตรมูลค่าสูง และการผลิตสินค้าการเกษตรครบวงจร เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้า
เกษตรตลอดหว่ งโซ่อุปทาน รวมท้งั พฒั นาเกษตรกร ผปู้ ระกอบการวสิ าหกิจชุมชน ผู้ประกอบการ SMEs และ
วิสาหกิจเร่ิมต้น (Startup) สู่เกษตรกรอัจฉริยะ (Smart Farmer) โดยมีการใช้เคร่ืองมือและเทคโนโลยีที่
ทันสมัย เข้าถึงง่าย และเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ส่งเสริมระบบการขนส่งและโลจิสติกส์ให้ได้มาตรฐานสากล
นอกจากนี้ส่งเสรมิ การตลาดและการเข้าถึงกลุ่มลกู คา้ ทหี่ ลากหลายท้ังภายในประเทศและต่างประเทศ รวมท้ัง
สง่ เสริมบทบาทการเป็นศูนย์กลางวิจัยและนวตั กรรม (Innovation Hub) ด้วยกระบวนการทำงานในลักษณะ
เครอื ข่ายนวัตกรรมร่วมกับมหาวิทยาลัย สถาบนั วิจัย หนว่ ยงานภาครัฐ ชมุ ชน และเอกชนในพ้ืนท่ี
4. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของฐานอุตสาหกรรมเดิมและส่งเสริมการพัฒนา
อุตสาหกรรมแห่งอนาคตให้เป็นฐานรายได้ใหม่ ยกระดับการพัฒนากลุ่มอุตสาหกรรมในพ้ืนที่จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา ให้เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมสำหรับกิจการท่ีใช้เทคโนโลยีขั้นสูงและอุตสาหกรรมแห่ง
อนาคตท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม อาทิ กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์และช้ินส่วน กลุ่มอุตสาหกรรม
เคร่ืองใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์โทรคมนาคม โดยปรับปรุงมาตรการสนับสนุนในด้านต่าง ๆ ได้แก่
การให้สิทธิประโยชน์ การพัฒนาคนและเทคโนโลยี การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การแก้ไข กฎระเบียบทเ่ี ป็น
อุปสรรค และการสนบั สนุนเงินทุน เพ่ือผลกั ดันให้เกดิ การลงทุนในพ้ืนที่เป้าหมาย
3.2.3 ตัวชี้วดั ความสำเรจ็ ตามเปา้ หมายการพฒั นาจังหวดั
เป้าหมายการพฒั นา
อยธุ ยาเมืองมรดกโลก เป็นแหลง่ ท่องเทยี่ วคณุ ภาพ น่าเรียนรู้ น่าอยู่ น่าลงทนุ
ตารางที่ 2.18 ตวั ช้วี ัดความสำเรจ็ ตามเปา้ หมายการพัฒนาจังหวดั
ตวั ชว้ี ัด Baseline คา่ เป้าหมาย
2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
1. จำนวนแหลง่ เรียนรใู้ น 37.54 44 46 47 48 49 49
จังหวดั เพิม่ ขนึ้
2. รอ้ ยละที่เพม่ิ ขน้ึ ของรายได้ 7.47 -67.87 7 9 11 13 15 11
จากการทอ่ งเที่ยว (ข้อมลู ปี 63)
3. อัตราการขยายตัวทาง 0.78 1.50 2 2.50 3 3.50 2.50
เศรษฐกิจของจงั หวัดเพมิ่ ขน้ึ
4. รอ้ ยละที่เพิ่มขน้ึ ของมลู คา่ 1.78 3 3.20 3.22 3.24 3.26 3.18
การลงทนุ ดา้ นอตุ สาหกรรม
5. ระดบั ดัชนีความก้าวหนา้ 0.673 0.68 0.68 0.70 0.70 0.72 0.72
ของคนเพ่มิ ขน้ึ
แผนพฒั นาจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา (พ.ศ.2566 – 2570) หน้า 159
จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
คำอธบิ ายตวั ชวี้ ดั ความสำเรจ็ ตามเปา้ หมายการพัฒนาจงั หวดั
1. จำนวนแหล่งเรียนรู้ในจังหวัดเพิ่มขึ้น โดยพิจารณาจากสัดส่วนจำนวนศูนย์การเรียนรู้ชุมชน
ต่อจำนวนหมู่บ้านปีเป้าหมาย เปรียบเทียบกับสัดส่วนจำนวนศูนย์การเรียนรู้ชุมชนต่อจำนวนหมู่บ้าน
ปที ่ีผ่านมา (แหล่งที่มา : ระบบฐานข้อมูลโครงการพัฒนาศักยภาพในการเช่ือมโยงและจัดทำแผนยุทธศาสตร์
เพอ่ื สนับสนนุ การพฒั นาในระดับพนื้ ท่ี สำนักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย และกรมพฒั นาชมุ ชน)
ตารางที่ 2.19 รายละเอียดขอ้ มูลของฐานจำนวนแหลง่ เรียนรู้
ปี พ.ศ. จำนวนแหล่งเรยี นรใู้ นจังหวัดเพมิ่ ขึ้น (ร้อยละ)
2558 32.11
2560 41.58
2562 37.54
2. ร้อยละท่ีเพ่ิมข้ึนของรายได้จากการท่องเท่ียว พิจารณาจากรายได้จากการท่องเท่ียวของจังหวัด
ในปีเป้าหมายเปรียบเทียบกับรายได้จากการท่องเที่ยวของจังห วัดในปีท่ีผ่านมา (แหล่งข้อมูล :
กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกฬี า)
ตารางท่ี 2.20 รายละเอยี ดขอ้ มลู ของฐานรายไดจ้ ากการท่องเท่ียว
ปี พ.ศ. รายได้จากการทอ่ งเท่ยี ว (ลา้ นบาท) อัตราการขยายตัว (ร้อยละ)
2559 15,309.69 5.69
2560 16,901.48 10.40
2561 19,016.22 12.51
2562 19,469.53 2.38
2563 6,154 -67.87*
ค่าเฉลย่ี อัตราการขยายตวั 5 ปี เท่ากบั ร้อยละ 7.74
3. อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจังหวัดเพิ่มขึ้น พิจารณาจากผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดปี
เป้าหมาย เปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดปีที่ผ่านมา (แหล่งท่ีมา : สำนักงานสภาพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ)
ตารางท่ี 2.21 รายละเอียดขอ้ มูลฐานอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกจิ ของจังหวดั
ปี พ.ศ. อตั ราการขยายตัว (รอ้ ยละ)
2559 -3.27
2560 0.25
2561 0.60
2562 -3.18
ค่าเฉล่ียอัตราการขยายตวั 3 ปี เท่ากบั รอ้ ยละ 0.78
แผนพฒั นาจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา (พ.ศ.2566 – 2570) หน้า 160
จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
4. ร้อยละท่ีเพ่ิมข้ึนของมูลค่าการลงทุนด้านอุตสาหกรรม พิจารณาจาก มูลค่าการลงทุน
ดา้ นอุตสาหกรรม ในปีเปา้ หมายเปรียบเทียบกบั มูลค่าการลงทุนด้านอตุ สาหกรรมในปีท่ีผ่านมา (แหล่งข้อมูล :
สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา)
ตารางท่ี 2.22 รายละเอยี ดข้อมลู ฐานของการลงทนุ ด้านอุตสาหกรรม
ปีงบประมาณ มลู คา่ การลงทนุ ด้านอุตสาหกรรม (ล้านบาท) อตั ราการขยายตัว
(ร้อยละ)
2560 620,865.73 3.18
2561 618,423.48 -0.39
2562 630,328.85 1.93
2563 642,965.66 0.20
2564 668,558.76 3.98
คา่ เฉลย่ี อัตราการขยายตัว 5 ปี เทา่ กบั รอ้ ยละ 1.78
5. ระดับดัชนีความก้าวหน้าของคนเพิ่มข้ึน ระดับดัชนีความก้าวหน้าของคนเพิ่มข้ึน ประกอบด้วย 8
ดัชนีย่อยคือ 1) ด้านสุขภาพ 2) ด้านการศึกษา 3) ด้านชีวิตการทำงาน 4) ด้านรายได้ 5) ด้านที่อยู่อาศัยและ
สภาพแวดล้อม 6) ด้านชีวิตครอบครัวและชุมชน 7) ด้านการคมนาคมและการส่ือสาร และ 8) ด้านการมี
ส่วนรวม ดัชนีย่อยในแต่ละด้าน มี 4 ตัวช้ีวัดเท่า ๆ กัน รวมตัวชี้วัดท้ังหมด 32 ตัวช้ีวัด (แหล่งข้อมูล :
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาต)ิ
ตารางท่ี 2.23 รายละเอยี ดข้อมูลฐานของระดบั ดชั นีความกา้ วหนา้ ของคน
ปี ระดับดชั นีความกา้ วหนา้ ของคน
(ระดบั )
2558 0.6788
2560 0.6577
2562 0.6731
แผนพฒั นาจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา (พ.ศ.2566 – 2570) หน้า 161
จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
3.2.4 ประเดน็ การพฒั นาของจังหวัด
ตามที่รัฐบาลได้ประกาศกำหนดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ เป็นแผนแม่บทหลักของการพัฒนาประเทศ เพ่ือให้ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังค่ัง และ
ย่งั ยืน โดยเน้นการพัฒนาท่ียึดพื้นที่เป็นตัวตั้งและการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่กลไกบริหารจัดการเชิงพ้ืนที่
แบบบูรณาการระหวา่ งภาคสว่ นต่าง ๆ โดยยดึ หลกั พื้นที่ ภารกจิ และการมีส่วนรว่ ม ในการขับเคล่ือนการพัฒนา
ให้บรรลุผล สอดคล้องกับแผนพัฒนาในระดบั ต่าง ๆ ตลอดจนนโยบายท่ีสำคัญของรัฐบาล และความต้องการ
ของประชาชนในพ้นื ที่ จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยาจงึ ได้กำหนดประเด็นการพฒั นา ดังนี้
ประเด็นการพัฒนาท่ี 1 พฒั นาเมอื งและชมุ ชนนา่ อยูส่ ่เู มอื งแห่งความสุข
ประเด็นการพฒั นาท่ี 2 ยกระดับอุตสาหกรรมการท่องเท่ยี วอัจฉริยะคุณภาพสูง
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 สรา้ งฐานเศรษฐกจิ มูลค่าสูงทเ่ี ป็นมติ รกับส่ิงแวดลอ้ มดว้ ยเทคโนโลยนี วัตกรรมและ
ภมู ปิ ัญญาอย่างสร้างสรรค์
ประเด็นการพัฒนาท่ีมีความสำคัญลำดับที่ 1 ได้แก่ ประเด็นการพัฒนาที่ 2 ยกระดับอุตสาหกรรม
การท่องเที่ยวอัจฉรยิ ะคุณภาพสูง ตามแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ประเดน็ พ้ืนที่และเมอื งนา่ อยู่อจั ฉริยะ
(พ.ศ. 2561 – 2580) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็น 1 ใน 7 เมืองท่ีเป็นค่าเป้าหมายในการพัฒนาเป็นเมือง
อัจฉริยะในปี พ.ศ. 2566 - 2570 และได้ดำเนินการทำความร่วมมือกับสำนักงานเศรษฐกิจดิจิทัลเพื่อพัฒนา
เศรษฐกิจดิจิทัลทางด้านการท่องเที่ยว จากศักยภาพของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ท่ีมีแหล่งทอ่ งเท่ียวสำคัญ
ทางประวตั ิศาสตร์และวฒั นธรรมระดับโลก มแี หลง่ ท่องเท่ียวชุมชนทไี่ ดร้ ับมาตรฐาน เป็นจุดหมายปลายทางใน
การท่องเท่ียวของคนไทยและชาวต่างชาติ จากข้อมูลในนิตยสารระดับโลก อาทิ Forbes ยกจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาเป็น 1 ใน 50 สุดยอดจุดหมายปลายทางของโลก ในการเดินทางท่องเท่ยี วในช่วงใกล้ส้ินสุด
โรคระบาด โดย Forbes ได้เลือกจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นหน่ึงเดียวจากประเทศไทย และเป็น 1 ใน 8
แห่งของทวีปเอเชีย แสดงให้เห็นถึงโอกาสในการพัฒนาเพ่ือรองรับนักท่องเที่ยวหลังสถานการณ์โควิดดีขึ้น
จึงตอ้ งยกระดบั อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทย่ี วโดยมุ่งเน้นการพัฒนาการทอ่ งเท่ียวให้มีคุณภาพ นำเทคโนโลยีและ
นวตั กรรมมาประยุกต์ใชเ้ พอื่ อำนวยความสะดวกให้กับนกั ท่องเท่ยี ว พฒั นาศกั ยภาพผู้ประกอบในอุตสาหกรรม
การท่องเทยี่ วใหม้ คี วามพรอ้ ม ดังน้นั จงั หวัดจงึ ใหความสำคญั การพัฒนาภาคการทองเทย่ี วเปน็ ลำดับแรก
ประเดน็ การพัฒนาท่มี ีความสำคญั ลำดับที่ 2 ได้แก ประเดน็ การพัฒนาท่ี 1 พัฒนาเมืองและชุมชนนา่ อยู่
สู่เมืองแห่งความสุข จังหวัดให้ความสำคัญในการพัฒนาเมืองและชุมชนน่าอยู่ให้เป็นไปตามศักยภาพและ
ความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ ท้ังด้านการโครงสร้างพ้ืนฐาน ด้านคุณภาพชีวิตและความปลอดภัย
ตลอดจนระบบคมนาคมขนส่ง นอกจากนจี้ ังหวดั พระนครศรีอยุธยาเป็นหน่ึงจังหวัดในพ้ืนทร่ี ะเบียงเศรษฐกิจ
พิเศษภาคกลาง - ตะวันตก (Central – Western Economic Corridor: CWEC) ซ่ึงมีวัตถุประสงค์เป็น
ฐานเศรษฐกิจช้ันนำของภาคกลาง-ตะวันตกในด้านอุตสาหกรรมเกษตรอาหารแปรรูป การท่องเที่ยว
และอุตสาหกรรมไฮเทคมลู ค่าสงู ระดับมาตรฐานสากลเชอื่ มโยงกรงุ เทพและพ้ืนท่ีโดยรอบ และเขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออก (EEC) ดงั น้ันจังหวัดจึงเห็นควรใหความสำคัญกับการพัฒนาเมืองและชุมชนให้น่าอยู่เพ่ือรองรับ
การขยายตัวความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ และเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของประขาชน เสริมสราง
ความมน่ั คง และความปลอดภยั ใหจ้ งั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยาเป็นเมอื งท่ีนาอยู่สู่เมอื งแห่งความสุขตอ่ ไป
แผนพฒั นาจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา (พ.ศ.2566 – 2570) หน้า 162
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประเด็นการพัฒนาที่มีความสำคัญลำดับท่ี 3 ได้แก ประเด็นการพัฒนาท่ี 3 สรา้ งฐานเศรษฐกิจมูลค่าสูง
ทเ่ี ป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อมด้วยเทคโนโลยี นวัตกรรม และภูมิปัญญาอย่างสร้างสรรค์ ปี พ.ศ. 2562 เศรษฐกิจของ
จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยามีสัดสว่ นร้อยละ 2.36 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (ลำดับท่ี7 ของประเทศ)
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเฉลี่ยต่อหัว เท่ากับ 439,158 บาท (ลำดับท่ี 6 ของประเทศ) จากร่างแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 มุ่งเน้น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจมูลค่าสูงท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
(High Value-added Economy) สังคมแห่งโอกาส และความเสมอภาค (High Opportunity Society)
ด้านวิถีชีวิตท่ียั่งยืน (Eco-friendly Living) และด้านปัจจัยสนับสนุนการพลิกโฉมประเทศ (Key Enablers for
Thailand's Transformation) ซ่ึงจากศักยภาพของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งมีพื้นฐานศักยภาพท้ัง
ด้านการเกษตรท่ีมีแหล่งเพาะปลูกพืชสำคัญ อาทิ ข้าว กล้วย เมล่อน เป็นต้น ด้านอุตสาหกรรมเน่ืองเป็นท่ีตั้ง
ของมีนิคมอุตสาหกรรม จำนวน 3 แหง และเขตประกอบการอุตสาหกรรม 2 แหง ภาคการค้าและการบริการซ่ึง
จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีศูนย์การค้า ห้างสรรพสินค้า โรงแรม ร้านอาหาร ที่สามารถส่งเสริมและพัฒนาให้
เป็นฐานเศรษฐกิจมูลค่าสูงได้ ดังน้ันจังหวัดจึงใหความสำคัญในการพัฒนาภาคเกษตร อุตสาหกรรม การค้า
และบริการเป็นลำดบั ท่ีสาม
แผนพฒั นาจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา (พ.ศ.2566 – 2570) หนา้ 163
วตั ถปุ ระสงค์ การแปลงยทุ ธศาสตรส์ ่กู ารปฏบิ ตั ิ โดยใช้ Value Chain :
ประเดน็ การพัฒนาที่ 1 พัฒนาเมืองและชุมชนนา่ อยู่สเู่ มืองแห่งความสุข
1. เพม่ิ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการเมืองและชุมชนแหง่ ความสขุ 2. ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ดมี ีความปลอดภัย
เปา้ หมาย ตัวช้ีวดั Baseline 2566 2567 ค่าเปา้ หมาย 2566-2570
92 93 2568 2569 2570 94
พัฒนาส่งิ แวดล้อม สดั ส่วนจำนวนที่มีคุณภาพอากาศในเกณฑ์มาตรฐานเพ่มิ ข้นึ (ร้อยละ) 91 50 52 94 95 96 54
48.36 80 83 54 56 58 85
จดั สรรสิ่งอำนวยความสะดวก ระบบสาธารณูปโภค สัดสว่ นขยะมูลฝอยชุมชนท่ีนำไปใช้ประโยชน์เพ่ิมขึน้ (ร้อยละ) 79.88 85 87 90
98 7
และเชือ่ มโยงระบบโลจสิ ตกิ ส์ สัดส่วนผใู้ ชอ้ นิ เตอรเ์ น็ตต่อจำนวนประชากรเพิม่ ขึน้ (ร้อยละ) 9.60 7 65
38 40 42
เพ่อื รองรับต่อการขยายตัวของเมอื ง อตั ราการเสยี ชวี ติ จากอุบัติเหตบุ นท้องถนนต่อประชากรแสนคนลดลง 37.54 97 98 42 44 46 98.80
96.60 67 99 100 100 8.00
และชมุ ชนแห่งความสขุ (รายต่อประชากรแสนคน) 5.62 120 115 8 9 10 110
124 110 105 100
สัดสว่ นศนู ยก์ ารเรียนรู้ชมุ ชนต่อจำนวนหม่บู ้านเพ่มิ ข้ึน (ร้อยละ)
ยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ของประชาชนใหด้ ีข้นึ สดั สว่ นคนอายุ 60 ปขี ้ึนไป มีอาชพี และมรี ายไดเ้ พิ่มข้ึน (ร้อยละ)
อยา่ งมีคณุ ภาพ อัตราผู้ป่วยรายใหมด่ ้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสงู ลดลง (รอ้ ยละ)
อัตราคดอี าญาตอ่ ประชากรแสนคนลดลง (คดตี ่อประชากรแสนคน)
แนวทางการพฒั นา 1. สง่ เสรมิ และพฒั นาเมอื งและชมุ ชนเพื่อเมอื งทนี่ า่ อยู่และปลอดภยั
2. ยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของประชาชนในพน้ื ทท่ี ุกกลุ่ม
3. พัฒนาระบบการเชื่อมโยงการคมนาคมและการขนสง่ ทุกมติ ิ
แผนงานท่ี 1 พัฒนาและยกระดบั ความเป็นอยู่ของประชาชน แผนงานท่ี 2 พฒั นาระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ เพอ่ื ให้เปน็
จังหวดั พระนครศรีอยุธยา ระบบการสัญจรหลัก และเชอ่ื งโยงระบบขนสง่ ของประเทศ
โครงการสง่ เสรมิ คณุ ภาพชวี ติ และความปลอดภัยของคนทุกกลุ่มทุกชว่ งวยั โครงการพัฒนาโครงข่ายการคมนาคมและโลจิสตกิ ส์รองรับนโยบาย
กิจกรรมหลักท่ี 1 พฒั นาคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างสุขภาพของคนทกุ กลุ่มทกุ ช่วงวยั พน้ื ทรี่ ะเบยี งเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคกลางตะวันตก (CWEC)
กจิ กรรมหลกั ที่ 2 สง่ เสริมการจัดการพื้นท่สี าธารณะ การจดั การขยะ และพื้นท่ีสีเขียว กิจกรรมหลัก พฒั นาโลจสิ ติกส์เชอ่ื มโยงท้ังทางบก ทางราง ทางนำ้
กิจกรรมหลักท่ี 3 เสริมสรา้ งความม่ันคงและปลอดภัยในชวี ิตและทรัพย์สิน
แผนพฒั นาจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา (พ.ศ. 2566 – 2570) หน้า 164
การแปลงยุทธศาสตร์สูก่ ารปฏบิ ตั ิ โดยใช้ Value Chain :
ประเด็นการพฒั นาที่ 2 ยกระดับอตุ สาหกรรมการท่องเท่ียวอัจฉริยะคุณภาพสงู
วัตถุประสงค์ 1. ยกระดับการบรหิ ารจัดการด้านการทอ่ งเท่ยี วอยา่ งรบั ผดิ ขอบสกู่ ารท่องเท่ียวอัจฉรยิ ะ
2. เพม่ิ มลู ค่าด้านการทอ่ งเทย่ี ว และกระจายรายได้จากเมอื งสู่ชุมชนด้วย Happy Model
คา่ เปา้ หมาย
เป้าหมาย ตัวชี้วัด Baseline 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
15 11
รายได้จากการทอ่ งเท่ยี วเพิม่ ข้นึ รอ้ ยละทเ่ี พม่ิ ข้ึนของรายได้จากการท่องเทย่ี ว (ร้อยละ) 8.47 7 9 11 13 6
ค่าใช้จา่ ยตอ่ วันของ ร้อยละท่เี พม่ิ ข้ึนของค่าใช้จ่ายของผเู้ ยย่ี มเยือนต่อวนั 3.90 5 5.50 6 6.50 7
ผู้เยยี่ มเยือนเพมิ่ ขึ้น
(ร้อยละ)
แนวทางการพัฒนา
1. พัฒนาและปรบั ปรงุ แหล่งทอ่ งเท่ยี วตามมาตรฐานและความปลอดภัยด้วยหลักการออกแบบเพอ่ื คนท้งั มวล (Universal Design)
2. ยกระดบั การแข่งขันของผูป้ ระกอบการธุรกิจด้านการทอ่ งเทย่ี วเชงิ สร้างสรรค์และเทคโนโลยีดิจิทัล
3. สง่ เสริมกจิ กรรมการทอ่ งเท่ียวการตลาดเฉพาะกล่มุ และการประชาสมั พันธก์ ารท่องเทย่ี วด้วยเทคโนโลยีดิจทิ ัล
แผนงานที่ 1 พฒั นาและปรบั ปรงุ แหลง่ ทอ่ งเท่ียวตาม แผนงานท่ี 2 พัฒนาศักยภาพในการแข่งขนั ของผู้ประกอบการธุรกจิ แผนงานท่ี 3 พฒั นารปู แบบและกลยทุ ธ์การตลาด
มาตรฐานและความปลอดภัยด้วยหลกั UNIVERSAL ด้านการท่องเท่ียวเชงิ สรา้ งสรรค์ในทุกระดบั ด้านการท่องเทยี่ วดว้ ยเทคโนโลยดี ิจิทัล
DESIGN เพอ่ื รองรับส่กู ารทอ่ งเท่ียวอจั ฉรยิ ะ
โครงการสง่ เสรมิ การพัฒนาและปรับปรงุ แหล่งทอ่ งเท่ียวให้ โครงการพฒั นาศกั ยภาพผปู้ ระกอบการธรุ กิจบคุ ลากรดา้ นการทอ่ งเทีย่ ว โครงการพัฒนารูปแบบการทอ่ งเทีย่ วในความสนใจพเิ ศษ
ได้มาตรฐานและความปลอดภัยด้วยหลัก UNIVERSAL เชิงสร้างสรรค์ โดยการส่งเสริมตลาดเฉพาะกลมุ่ ดว้ ยเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั
DESIGN กิจกรรมหลัก พฒั นาทักษะการเป็นผปู้ ระกอบการดา้ นการทอ่ งเที่ยวเชงิ กิจกรรมหลักท่ี 1 สง่ เสรมิ และพัฒนารปู แบบกิจกรรม
กจิ กรรมหลัก พฒั นาแหล่งทอ่ งเที่ยวตามมาตรฐานและความ สร้างสรรค์ การทอ่ งเท่ยี วเชิงสร้างสรรค์
ปลอดภัยด้วยหลัก UNIVERSAL DESIGN กจิ กรรมหลักที่ 2 สง่ เสรมิ การตลาดแบบเฉพาะกลุ่ม
ม่งุ เน้นการส่ือสารคณุ ค่าเชิงสร้างสรรค์ดว้ ยเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล
แผนพฒั นาจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา (พ.ศ. 2566 – 2570) หน้า 165
การแปลงยทุ ธศาสตรส์ ู่การปฏิบัติ โดยใช้ Value Chain :
ประเดน็ การพฒั นาท่ี 3 สรา้ งฐานเศรษฐกิจมูลค่าสูงท่เี ป็นมิตรกบั สงิ่ แวดล้อมดว้ ยเทคโนโลยนี วัตกรรมและภูมปิ ัญญาอย่างสรา้ งสรรค์
วัตถุประสงค์ 1. พัฒนากำลงั คนให้มีทักษะรองรบั ภาคเกษตร อตุ สาหกรรม การคา้ และบริการ 2. พัฒนาอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ
3. เพม่ิ มลู ค่าหว่ งโซอ่ ุปทานภาคเกษตรอุตสาหกรรมการคา้ และบริการอุตสาหกรรมการค้าและบรกิ าร
เป้าหมาย ตวั ช้ีวดั Baseline 2566 2567 ค่าเป้าหมาย 2570 2566-2570
2568 2569 84
กำลงั แรงงานทีม่ ศี ักยภาพในภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการเพ่ิมขน้ึ รอ้ ยละของผู้สำเร็จการฝกึ อบรมไดต้ ามเกณฑ์มาตรฐานการฝกึ อบรม (ร้อยละ) 79.57 80 82 84 86 88 750,000
5
พื้นทที่ างการเกษตรได้รบั ประโยชน์จากแหลง่ น้ำเพิ่มข้ึนและสินคา้ พ้นื ที่รับประโยชนจ์ ากแหลง่ น้ำทไ่ี ดร้ บั การพัฒนาไมน่ อ้ ยกว่าปลี ะ (ไร่) 198,838 150,000 150,000 150,000 150,000 150,000 100
เกษตรมคี ุณภาพตามมาตรฐานความปลอดภัยเพมิ่ ข้ึน รอ้ ยละทเ่ี พิม่ ขนึ้ ของแปลง / จำนวนฟารม์ ท่ผี ่านมาตรฐานความปลอดภยั (ร้อยละ) -0.46 5 5 5 5 5 5
โดยใชห้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง รอ้ ยละของโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงท่ีสำเรจ็ ตามเป้าหมาย (ร้อยละ) 100 100 100 100 100 100 30
3
ภาคอตุ สาหกรรมได้รับการพฒั นาเป็นอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ ระดบั การผ่านเกณฑ์การประเมนิ อตสาหกรรมเชงิ นิเวศในพื้นท่ีการพัฒนาเมือง 2 33445
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (ระดบั )
รายไดจ้ ากผลิตภัณฑช์ ุมชนและวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม ร้อยละที่เพมิ่ ขึ้นของรายไดจ้ ากการจำหนา่ ยสินค้า OTOP (รอ้ ยละ) 18.3 20 25 30 35 40
เพ่ิมขึ้น ร้อยละทเี่ พ่ิมขนึ้ ของรายได้รวมของวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (ร้อยละ) -3.22 2 2.50 3 3.5 4
แนวทางการพฒั นา 1. ส่งเสริมและพัฒนากำลงั คนทุกกลมุ่ ทุกช่วงวยั เพอ่ื สร้างทักษะทจ่ี ำเปน็ รองรบั ภาคเกษตรอตุ สาหกรรมการคา้ และบริการ
2. สนับสนนุ การใช้เทคโนโลยีนวตั กรรมและภูมปิ ัญญาอยา่ งสรา้ งสรรคเ์ พื่อเพมิ่ มลู คา่ ใหก้ ับสินค้าและบรกิ ารที่เปน็ มิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม
3. ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การเชอ่ื มโยงห่วงโซ่อุปทานภาคการเกษตรอุตสาหกรรมการค้าและบรกิ าร
แผนงานท่ี 1 ยกระดบั ศักยภาพของกำลงั คนทกุ กลุ่ม ทุกชว่ งวยั แผนงานที่ 2 ยกระดับการผลติ สินค้าและบรกิ ารมลู ค่าสูง ภาคเกษตร อตุ สาหกรรม การค้าทเี่ ปน็ แผนงานที่ 3 การจดั การหว่ งโซอ่ ุปทานภาคการเกษตร
เพ่อื รองรบั ภาคเกษตร อุตสาหกรรม การค้าและบรกิ าร มิตรกับสิง่ แวดลอ้ มด้วยเทคโนโลยี นวัตกรรมและภมู ปิ ญั ญาอยา่ งสร้างสรรค์ อุตสาหกรรม การคา้ และบรกิ าร
โครงการพัฒนาศักยภาพกำลังคนทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัยเพ่ือรองรบั โครงการสง่ เสริมการเพิม่ มูลค่าแก่ผลิตภัณฑ์ชุมชนเชิงสรา้ งสรรค์ โครงการยกระดับการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่
ภาคเกษตร อุตสาหกรรม การคา้ และบรกิ าร* กจิ กรรมหลัก พฒั นาผลิตภัณฑช์ มุ ชนใหไ้ ด้มาตรฐาน และสร้างความแตกตา่ งดว้ ยทคโนโลยแี ละนวัตกรรม อปุ ทาน
กจิ กรรมหลักที่ 1 ยกระดบั ทักษะและศักยภาพผู้ประกอบการ และ โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าและบริการมลู ค่าสูงที่เป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อมดว้ ยเทคโนโลยี ภาคการเกษตร อุตสาหกรรมและบริการ
แรงงาน นวตั กรรมและภมู ิปญั ญาอย่างสร้างสรรค์ กิจกรรมหลกั สร้างการรับรแู้ ละส่งเสริมการตลาดสมัยใหม่
กจิ กรรมหลักที่ 2 เชอ่ื มโยงภาคการศกึ ษากับภาคเกษตร กิจกรรมหลักที่ 1 บริหารจดั การน้ำเพ่ือการเกษตรและอุตสาหกรรม
อตุ สาหกรรม การคา้ และบรกิ ารด้วยเทคโนโลยีและนวตั กรรมเพอ่ื กิจกรรมหลกั ท่ี 2 พฒั นาประสทิ ธภิ าพการผลิตสนิ ค้าเกษตร อุตสาหกรรม การค้าและบริการอยา่ ง ภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม การค้าและบริการ
พัฒนากำลงั คนอย่างสรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรคท์ ่ีเป็นมติ รกบั สิง่ แวดล้อม
โครงการสง่ เสริมการดำเนนิ งานตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและขยายผลโครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
กิจกรรมหลัก ขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำรแิ ละส่งเสริมการดำเนินงานตาม
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
แผนพฒั นาจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา (พ.ศ. 2566 – 2570) หน้า 166
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แผนพัฒนาจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา (พ.ศ.2566 – 2570) หนา้ 167
แบบฟอรม สรุปแผนงานและโครงการสาํ คัญของจังหวัด (พ.ศ. 2566 - 2570) แบบ จ.1
จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
เปาหมายการพัฒนาจังหวดั : อยธุ ยาเมืองมรดกโลก เปน แหลง ทอ งเทยี่ วคณุ ภาพ นาเรียนรู นาอยู นา ลงทนุ
ประเด็นการพัฒนา ตวั ช้ีวัดของประเดน็ การพฒั นา คาเปาหมาย
(2) (3)
พ.ศ. 2566 พ.ศ. 2567 พ.ศ.2568 พ.ศ. 2569 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2566-2570
(4) (5)
ประเด็นการพฒั นาที่ 1 พัฒนาเมอื งและ 1. สดั สว นจาํ นวนท่ีมคี ณุ ภาพอากาศในเกณฑม าตรฐานเพิม่ ข้ึน (รอ ยละ) 92 93 94 95 96 94
ชุมชนนา อยูสเู มอื งแหงความสขุ 54
2. สดั สวนขยะมูลฝอยชมุ ชนท่ีนําไปใชประโยชน(รอ ยละ) 50 52 54 56 58
3. สัดสวนผูใชอินเตอรเ น็ตตอ จํานวนประชากรเพ่มิ ข้นึ (รอยละ) 80 83 85 87 90 85
4. อตั ราการเสียชวี ิตจากอบุ ัตเิ หตุบนทองถนนตอ ประชากรแสนคนลดลง 9 8 7 6 5 7
(รายตอ ประชากรแสนคน)
5. สัดสว นศนู ยก ารเรียนรชู มุ ชนตอ จาํ นวนหมูบานเพ่มิ ข้นึ (รอยละ) 38 40 42 44 46 42
6. สัดสวนคนอายุ 60 ปข ้ึนไป มีอาชพี และมรี ายไดเ พมิ่ ขึ้น 97 98 99 100 100 98.80
7. อัตราผปู วยรายใหมด ว ยโรคเบาหวานและความดันโลหติ สงู ลดลง 6 7 8 9 10 8.00
(รอ ยละ)
8. อตั ราคดีอาญาตอ ประชากรแสนคนลดลง (คดตี อประชากรแสนคน) 120 115 110 105 100 110
ประเด็นการพัฒนาท่ี 2 ยกระดบั 1. รอ ยละท่เี พิ่มขน้ึ ของรายไดจ ากการทองเท่ยี ว (รอ ยละ) 7 9 11 13 15 11
อตุ สาหกรรมการทอ งเท่ียวอจั รยิ ะคณุ ภาพสงู 2. รอยละที่เพม่ิ ขนึ้ ของคา ใชจา ยของผเู ย่ยี มเยือนตอ วัน (รอยละ) 5 5.5 6 6.5 7 6
ประเดน็ การพฒั นาที่ 3 สรางฐานเศรษฐกิจ 1. รอยละของผสู าํ เรจ็ การฝก อบรมไดตามเกณฑมาตรฐานการฝก อบรม 80 82 84 86 88 84
มลู คา สงู ทเี่ ปน มิตรกบั ส่ิงแวดลอมดวย (รอยละ) 150,000 150,000 150,000 150,000 150,000 750,000
เทคโนโลยี นวัตกรรม และภูมปิ ญญาอยา ง 2. พ้ืนทีร่ บั ประโยชนจ ากแหลงนา้ํ ที่ไดรับการพฒั นาไมน อยกวาปล ะ
สรางสรรค (ไร)
3. รอ ยละท่เี พม่ิ ขน้ึ ของแปลง / จาํ นวนฟารม ที่ผานมาตรฐานความ 5 5555 5
ปลอดภยั (รอ ยละ)
4. รอ ยละของโครงการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งทีส่ ําเรจ็ ตามเปาหมาย 100 100 100 100 100 100
(รอ ยละ)
5. ระดับการผานเกณฑก ารประเมนิ อตสาหกรรมเชิงนเิ วศในพ้ืนที่การ 3 3 4 4 5 5
พัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ (ระดบั )
6. รอ ยละที่เพิ่มขึ้นของรายไดจ ากการจาํ หนา ยสินคา OTOP (รอยละ) 20 25 30 35 40 30
7. รอยละที่เพ่มิ ขน้ึ ของรายไดรวมของวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ ม 2 2.5 3 3.5 4 3
(รอ ยละ)
บัญชีรายการชุดโครงการสําคัญ งบประมาณดาํ เนินการ (10) หนว ย : บาท
พ.ศ. 2568 พ.ศ. 2569 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2566-2570
แผนงาน/โครงการสําคญั ยุทธศาสตรช าติ (X)/ แหลง งปม. หนว ยดาํ เนนิ การ พ.ศ. 2566 พ.ศ. 2567
(6) แผนแมบทฯ (Y) (8) (9)
(7)
ประเด็นการพฒั นาท่ี 1 พัฒนาเมอื งและชมุ ชนนา อยสู ูเมืองแหงความสขุ
แผนงานที่ 1 พัฒนาและยกระดับความเปนอยขู องประชาชนจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
1. โครงการสาํ คญั ที่ 1 สง เสรมิ คณุ ภาพชวี ติ และความปลอดภยั 1.1
ของคนทกุ กลมุ ทกุ ชว งวยั
- กิจกรรมหลกั 1.1 พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตและเสรมิ สรา ง สนง.พัฒนาสังคม 3,872,000 3,872,000 3,872,000 3,872,000 3,872,000 19,360,000
สขุ ภาพของคนทกุ กลมุ ทุกชวงวยั และความมน่ั คงของ
- กจิ กรรม 1.1.1 สงเสรมิ กจิ กรรมแบบบรู ณาการใน 1 มนษุ ยจ งั หวดั
โรงเรยี นผสู งู อายุ
- กิจกรรม 1.1.2 คายครอบครัวลอมรกั พระนครศรีอยุธยา
- กิจกรรม 1.1.3 สงเสรมิ คณุ ภาพชีวติ และความ สนง.พฒั นาสังคม 1,184,000 1,184,000 1,184,000 1,184,000 1,184,000 5,920,000
ปลอดภยั ของคนทกุ กลุมทกุ ชวงวยั และความมน่ั คงของ
1 มนษุ ยจ ังหวัด
พระนครศรีอยธุ ยา
1 สนง.ยตุ ิธรรมจังหวัด 545,300 - - - - 545,300
2,500,000
พระนครศรีอยุธยา 500,000 500,000 500,000 500,000 500,000
600,000
- กจิ กรรม 1.1.4 ฝกอบรมอาชพี ประชาชน ผูสูงอายุ คน 3 อบต.เทพมงคล 120,000 120,000 120,000 120,000 120,000 150,000
พิการ เดก็ และเยาวชนตาํ บลเทพมงคล 500,000
30,000 30,000 30,000 30,000 30,000 1,000,000
- กิจกรรม 1.1.5 สงเสริมการตรวจสุขภาพ หมูท่ี 1-6 3 อบต.บานหลวง 100,000 100,000 100,000 100,000 100,000
ตําบลบานหลวง อําเภอเสนา จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
200,000 200,000 200,000 200,000 200,000
- กจิ กรรม 1.1.6 ตรวจคดั กรองโรคและดแู ลผูสูอายุใน 3 อบต.คลองสระบัว
- กิจกรรม 1.1.7 สนบั สนุนการดําเนินงานเกี่ยวกบั โรค 3 อบต.คลองสระบวั
อุบัติใหม,โรคอบุ ตั ิใหม,โรคติดตอหรอื โรคระบาด
- กจิ กรรม 1.1.8 การปอ งกันและระงบั โรคตดิ ตอ เชน 3 อบต.เทพมงคล
โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019,โรคไขเ ลอื ดออก ฯลฯ
- กจิ กรรมหลัก 1.2 สง เสรมิ การจัดการพ้นื ท่ีสาธารณะ 1 สนง.พฒั นาชุมชน 300,000 - - - - 300,000
การจดั การขยะ และพืน้ ทีส่ เี ขียว 536,000 536,000 536,000 536,000 536,000 2,680,000
- กจิ กรรม 1.2.1 การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการจัดการขยะ จังหวดั
ในชมุ ชน พระนครศรอี ยธุ ยา
- กิจกรรม 1.2.2 อนรุ ักษแ ละฟน ฟทู รพั ยากรธรรมชาติ 1 สนง.
และส่งิ แวดลอ ม
ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม
จงั หวดั
พระนครศรีอยธุ ยา
- กิจกรรม 1.2.3 การพัฒนาเครือขา ยดานสิ่งแวดลอม 1 สนง. 500,000 - - - - 500,000
เพอ่ื เฝา ระวงั คณุ ภาพนาํ้ ในแมนา้ํ
ทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดลอม
จงั หวัด
พระนครศรีอยุธยา
- กจิ กรรม 1.2.4 สงเสริมพืน้ ที่ ตาํ บลบานหลวงสะอาด 3 อบต.บา นหลวง 100,000 100,000 100,000 100,000 100,000 500,000
อาํ เภอเสนา จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา 12,000,000
2,400,000 2,400,000 2,400,000 2,400,000 2,400,000
- กิจกรรม 1.2.5 การจัดการขยะมลู ฝอยแบบเบด็ เสรจ็ 3 เทศบาลอโยธยา 150,000 150,000 150,000 150,000 150,000 750,000
- กจิ กรรม 1.2.6 จดั การขยะโดยชมุ ชน 3 อบต.คลองสระบัว 50,000 50,000 50,000 50,000 50,000 250,000
- กจิ กรรม 1.2.7 สงเวสรมิ การจัดการขยะแบบครบวงจร 3 อบต.คลองสระบวั
4,770,670 - - - - 4,770,670
กจิ กรรมหลัก 1.3 เสริมสรางความมั่นคงและปลอดภยั 1 ทท่ี าํ การปกครอง
ในชวี ิตและทรัพยส ิน
- กจิ กรรม 1.3.1 การปอ งกันและแกไ ขปญ หายาเสพติด จงั หวดั
จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา ประจาํ ปงบประมาณ 2566 พระนครศรีอยธุ ยา
(ศอ.ปส.จ.อย.)
- กิจกรรม 1.3.2 งานตดิ ตั้งระบบพยากรณแ ละเตือนภัย 1 โครงการชลประทาน 1,372,000 - - - - 1,372,000
แมน ้ําเจา พระยา หมู 7 ตาํ บลประตชู ยั อําเภอ 1,372,000 - - - - 1,372,000
พระนครศรีอยธุ ยา จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา พระนครศรีอยุธยา 10,000,000 - - - - 10,000,000
22,000,000 - - - - 22,000,000
- กจิ กรรม 1.3.3 งานตดิ ตั้งระบบพยากรณและเตอื นภยั 1 โครงการชลประทาน 11,000,000 - - - - 11,000,000
แมนํ้าเจาพระยา หมู 12 ตาํ บลบานเลน อําเภอบางปะอนิ 22,000,000 - - - - 22,000,000
จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา พระนครศรอี ยุธยา 26,400,000 - - - - 26,400,000
13,200,000 - - - - 13,200,000
- กจิ กรรม 1.3.4 ตดิ ตง้ั สถานีวัดน้ําฝนแบบอัตโนมตั ิ เพื่อ 1 โครงการชลประทาน
เพิม่ ประสิทธภิ าพในการบรหิ ารจดั การนํ้า
พระนครศรอี ยุธยา
- กิจกรรม 1.3.5 กอ สรา งเขื่อนปองกันตลิ่งริมแมน ้ําปา 1 สนง.โยธาธกิ ารและ
สกั บริเวณหมูที่ 2 ตาํ บลบางพระครู อาํ เภอนครหลวง
จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ผงั เมอื งจงั หวัด
พระนครศรอี ยุธยา
- กิจกรรม 1.3.6 กอสรางเขอื่ นปอ งกันตล่งิ ริมแมน ้าํ นอ ย 1 สนง.โยธาธกิ ารและ
บริเวณหมทู ่ี 2 ตาํ บลอมฤต อาํ เภอผกั ไห จังหวัด
พระนครศรอี ยุธยา ผังเมอื งจังหวัด
พระนครศรอี ยุธยา
- กจิ กรรม 1.3.7 กอสรา งเขือ่ นปอ งกันตลิ่งรมิ แมนํ้านอ ย 1 สนง.โยธาธกิ ารและ
บรเิ วณหมทู ่ี 6 ตาํ บลน้าํ เตา อาํ เภอบางบาล จังหวัด
พระนครศรีอยธุ ยา ผงั เมอื งจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา
- กจิ กรรม 1.3.8 กอสรา งเข่ือนปองกันตลง่ิ ริมแมน าํ้ 1 สนง.โยธาธกิ ารและ
ลพบุรี บริเวณหมูที่ 4 ตาํ บลเจา ปลุก อาํ เภอมหาราช
จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ผังเมืองจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา
- กจิ กรรม 1.3.9 กอ สรางเข่ือนปองกนั ตล่งิ รมิ คลองบาง 1 สนง.โยธาธกิ ารและ
บาล บริเวณหมทู ่ี 1 ตําบลสะพานไทย อาํ เภอบางบาล
จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ผงั เมอื งจงั หวัด
พระนครศรีอยธุ ยา
บัญชีรายการชุดโครงการสําคัญ งบประมาณดาํ เนนิ การ (10)
พ.ศ. 2568 พ.ศ. 2569
แผนงาน/โครงการสําคญั ยทุ ธศาสตรชาติ (X)/ แหลง งปม. หนว ยดาํ เนินการ พ.ศ. 2566 พ.ศ. 2567 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2566-2570
(6) แผนแมบทฯ (Y) (8) (9)
(7)
- กจิ กรรม 1.3.10 ปรบั ปรุงภมู ทิ ัศนบรเิ วณเข่อื นหนา 1 สนง.โยธาธิการและ 10,200,000 - - - - 10,200,000
วดั พนัญเชิงวรวหิ าร หมู 2 ตาํ บลคลองสวนพลู อาํ เภอ
พระนครศรอี ยุธยา จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา ผังเมอื งจังหวัด
พระนครศรีอยธุ ยา
- กจิ กรรม 1.3.11 กอสรางเขื่อนปองกนั ตล่ิงริม 1 สนง.โยธาธิการและ 22,000,000 - - - - 22,000,000
แมน าํ้ ปาสักบริเวณหมูท ี่ 7 ตําบลนครหลวง อําเภอนคร
หลวง จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา ผงั เมอื งจงั หวดั
พระนครศรีอยุธยา
- กจิ กรรม 1.3.12 กอ สรางเขอื่ นปอ งกนั ตล่งิ ริม 1 สนง.โยธาธกิ ารและ 17,600,000 - - - - 17,600,000
แมน าํ้ ปาสักบรเิ วณหมูท ่ี 1 ตําบลบางระกํา อําเภอนคร
หลวง จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ผังเมอื งจงั หวัด
พระนครศรอี ยุธยา
- กิจกรรม 1.3.13 กอสรา งเขือ่ นปองกันตลิ่งริม 1 สนง.โยธาธกิ ารและ 7,700,000 - - - - 7,700,000
แมน้ํานอยบริเวณหมูท ี่ 1 ตําบลหวั เวยี ง อําเภอเสนา
จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา ผงั เมอื งจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา
- กจิ กรรม 1.3.14 ติดต้งั อปุ กรณกนั ชนตอมอ สะพาน ใน 1 แขวงทางหลวงอยุธยา 5,480,000 - - - - 5,480,000
สะพานทางหลวงหมายเลข 33 (สะพานขามแมน ํา้ ปา สกั )
ตาํ บลนครหลวง อาํ เภอนครหลวง จงั หวดั
- กิจกรรม 1.3.15 เขื่อนปองกนั ตลง่ิ ริมแมน้ํานอ ย 2 สนง.โยธาธิการและ 27,500,000 - - - - 27,500,000
บริเวณวัดชีโพน หมทู ี่ 1 ตาํ บลผักไห อําเภอผกั ไห จงั หวดั
พระนครศรอี ยุธยา ผังเมอื งจังหวัด
พระนครศรอี ยุธยา
- กจิ กรรม 1.3.16 เขอ่ื นปอ งกนั ตล่งิ ริมแมน ํ้าปาสัก 2 สนง.โยธาธกิ ารและ 24,000,000 - - - - 24,000,000
บริเวณหมทู ่ี 1 ตาํ บลโพธิเ์ อน อาํ เภอทา เรอื
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผังเมืองจงั หวัด
พระนครศรอี ยุธยา
- กจิ กรรม 1.3.17 เขื่อนปองกันตลิ่งริมแมน้าํ ปาสกั 2 สนง.โยธาธิการและ 24,000,000 - - - - 24,000,000
บริเวณหมูที่ 5 ตําบลพระนอน อาํ เภอนครหลวง จังหวัด
พระนครศรอี ยธุ ยา ผังเมืองจงั หวดั
พระนครศรีอยธุ ยา
- กิจกรรม 1.3.18 เขอ่ื นปอ งกนั ตลงิ่ รมิ แมน ํ้าปา สัก 2 สนง.โยธาธิการและ 28,800,000 - - - - 28,800,000
บริเวณหมูท่ี 2 ตาํ บลบางระกาํ อาํ เภอนครหลวง จงั หวดั
พระนครศรอี ยุธยา ผงั เมอื งจังหวดั
พระนครศรอี ยุธยา
- กจิ กรรม 1.3.19 เขื่อนปอ งกันตลิ่งริมคลองบางหลวง 2 สนง.โยธาธกิ ารและ 66,000,000 - - - - 66,000,000
บริเวณหมทู ี่ 4 ตําบลบางหลวง อําเภอบางบาล จังหวัด
พระนครศรอี ยธุ ยา ผงั เมืองจงั หวัด
พระนครศรีอยธุ ยา
- กิจกรรม 1.3.20 เขื่อนปองกันตลิ่งริมแมนาํ้ นอย 2 สนง.โยธาธกิ ารและ 132,000,000 - - - - 132,000,000
บรเิ วณชมุ ชนเขต ค. ตําบลเสนา อําเภอเสนา จังหวดั
พระนครศรีอยุธยา ผังเมอื งจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา
- กิจกรรม 1.3.21 เขื่อนปอ งกนั ตลิ่งริมแมน้าํ ปาสัก 2 สนง.โยธาธกิ ารและ 50,000,000 - - - - 50,000,000
บรเิ วณหมูที่ 6 ตาํ บลแมลา อาํ เภอนครหลวง จังหวดั
พระนครศรอี ยธุ ยา ผงั เมอื งจงั หวัด
พระนครศรีอยธุ ยา
- กิจกรรม 1.3.22 เขื่อนปอ งกนั ตลง่ิ รมิ คลองบางบาล 2 สนง.โยธาธกิ ารและ 60,000,000 - - - - 60,000,000
บริเวณหมูท่ี 3 ตําบลสะพานไทย อําเภอบางบาล จงั หวดั
พระนครศรีอยธุ ยา ผงั เมืองจังหวัด
พระนครศรอี ยธุ ยา
- กจิ กรรม 1.4.23 เขอ่ื นปอ งกันตลิ่งรมิ คลองบางบาล 2 สนง.โยธาธิการและ 66,000,000 - - - - 66,000,000
บรเิ วณหมทู ่ี 5 ตาํ บลสะพานไทย อาํ เภอบางบาล จงั หวัด
พระนครศรอี ยธุ ยา ผงั เมืองจงั หวัด
พระนครศรีอยุธยา
- กจิ กรรม 1.3.24 เขื่อนปองกนั ตลง่ิ ริมแมน ้ําปา สกั 2 สนง.โยธาธกิ ารและ 104,400,000 - - - - 104,400,000
บริเวณหมูที่ 1 ตําบลจาํ ปา อาํ เภอทาเรือ
จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา ผังเมืองจังหวัด
พระนครศรอี ยุธยา
- กิจกรรม 1.3.25 เขอ่ื นปองกันตลง่ิ ริมแมน้าํ ปา สัก 2 สนง.โยธาธกิ ารและ 36,000,000 - - - - 36,000,000
บริเวณหมทู ี่ 3 ตําบลโพธ์ิเอน อาํ เภอทาเรือ
จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา ผงั เมืองจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา
- กิจกรรม 1.3.26 เขื่อนปอ งกันตลงิ่ รมิ แมน าํ้ ปาสกั 2 สนง.โยธาธกิ ารและ 48,000,000 - - - - 48,000,000
บรเิ วณหมทู ี่ 4 ตาํ บลโพธเ์ิ อน อาํ เภอทาเรอื
จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ผงั เมืองจงั หวดั
พระนครศรอี ยธุ ยา
- กจิ กรรม 1.3.27 เขอ่ื นปองกันตลิ่งริมแมน าํ้ ปาสกั 2 สนง.โยธาธกิ ารและ 67,200,000 - - - - 67,200,000
บรเิ วณหมูท่ี 1 ตาํ บลพระนอน อําเภอนครหลวง จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา ผงั เมืองจงั หวดั
พระนครศรอี ยุธยา
- กิจกรรม 1.3.28 เขื่อนปอ งกนั ตลิ่งรมิ แมนาํ้ ปาสกั 2 สนง.โยธาธกิ ารและ 48,000,000 - - - - 48,000,000
บรเิ วณหมูท่ี 4 ตําบลบางระกาํ อาํ เภอนครหลวง จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา ผังเมืองจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา
- กจิ กรรม 1.3.29 เขื่อนปอ งกันตลิ่ง และปรับปรงุ 2 สนง.โยธาธกิ ารและ 360,000,000 - - - - 360,000,000
ภมู ทิ ศั นร ิมแมน าํ้ เจา พระยาบริเวณหมทู ่ี 1 ถงึ หมทู ี่ 6
ตําบลบางกระสั้น อําเภอบางปะอนิ จงั หวดั ผังเมืองจังหวดั 290,000,000 - - - - 290,000,000
- กิจกรรมี 1.3.30 กอ สรางระบบระบายน้ําหลกั และ พระนครศรอี ยุธยา
ระบบปอ งกนั นํา้ ทว มพน้ื ทชี่ มุ ชนบางปะอนิ
อําเภอบางปะอนิ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 2 สนง.โยธาธกิ ารและ
ผงั เมืองจงั หวัด
พระนครศรอี ยุธยา
- กจิ กรรม 1.3.31 กอ สรางระบบระบายนา้ํ หลกั และ 2 สนง.โยธาธิการและ 200,000,000 - - - - 200,000,000
ระบบปองกันนา้ํ ทวมพน้ื ทช่ี ุมชนเจา เจด็ ระยะท่ี 1 อาํ เภอ
เสนา จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา ผงั เมืองจังหวดั
พระนครศรีอยธุ ยา
- กิจกรรม 1.3.32 กอสรา งระบบระบายนา้ํ หลักและ 2 สนง.โยธาธกิ ารและ 180,000,000 - - - - 180,000,000
ระบบปอ งกันน้ําทวมพื้นท่ชี ุมชนเสนา ระยะที่ 4 อาํ เภอ
เสนา จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา ผังเมืองจังหวดั
พระนครศรอี ยุธยา
- กจิ กรรม 1.3.33 กอ สรางระบบระบายนาํ้ หลกั และ 2 สนง.โยธาธิการและ 300,000,000 - - - - 300,000,000
ระบบปอ งกนั นาํ้ ทว มพื้นท่ชี ุมชนบางบาล อาํ เภอบางบาล
จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา ผังเมืองจังหวดั
พระนครศรอี ยธุ ยา
บัญชีรายการชุดโครงการสาํ คญั งบประมาณดําเนนิ การ (10)
พ.ศ. 2568 พ.ศ. 2569
แผนงาน/โครงการสาํ คัญ ยุทธศาสตรช าติ (X)/ แหลง งปม. หนว ยดาํ เนนิ การ พ.ศ. 2566 พ.ศ. 2567 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2566-2570
(6) แผนแมบทฯ (Y) (8) (9)
(7)
- กจิ กรรม 1.3.34 ขยายเขตไฟฟาสาธารณะ หมทู ี่ 1-8 3 อบต.เทพมงคล 1,500,000 1,500,000 1,500,000 1,500,000 1,500,000 7,500,000
ตําบลเทพมงค
แผนงานที่ 2 พัฒนาระบบขนสงมวลชนขนาดใหญ เพื่อใหเปนระบบการสญั จรหลัก และเชอ่ื มโยงระบบขนสง ของประเทศ
1. โครงการสําคัญที่ 1 พัฒนาโครงขา ยการคมนาคมและ 1.9
โลจสิ ติกสรองรับนโยบายพ้นื ท่ีระเบียงเศรษฐกิจพเิ ศษภาคกลาง
ตะวนั ตก (CWEC)
- กิจกรรมหลกั 1.1 พัฒนาโลจิสตกิ สเ ชื่อมโยงทัง้ ทาง 1 แขวงทางหลวง 38,000,000 - - - - 38,000,000
บก ทางราง ทางน้าํ 6,500,000 - - - - 6,500,000
- กิจกรรม 1.1.1 ปรบั ปรุงถนน สาย บานสวนพรกิ - ชนบท 15,000,000 - - - - 15,000,000
บา นโพธสิ์ ามตน (ตอนที่ 1) อาํ เภอพระนครศรอี ยธุ ยา พระนครศรีอยธุ ยา 28,000,000 - - - - 28,000,000
จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
33,000,000 - - - - 33,000,000
- กจิ กรรม 1.1.2 ปรบั ปรุงถนน สาย เพนยี ดคลอ งชา ง – 1 แขวงทางหลวง
วัดบรมวงศอศิ รวราราม ตาํ บลสวนพริก อาํ เภอ 28,000,000 - - - - 28,000,000
พระนครศรอี ยุธยา จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา ระยะทาง ชนบท
- กิจกรรโม 1.1.3 ปรับปรงุ ถนน สาย อย 5026 แยกทาง พระนครศรอี ยธุ ยา 22,000,000 - - - - 22,000,000
หลวงชนบท อย 2008 - บานตลาด (ตอนท่ี 1) อาํ เภออุทยั
จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา 1 แขวงทางหลวง 42,000,000 - - - - 42,000,000
3,197,000 - - - - 3,197,000
ชนบท
พระนครศรอี ยุธยา 4,309,000 - - - - 4,309,000
4,840,000 - - - - 4,840,000
- กจิ กรรม 1.1.4 ปรับปรงุ ผิวทางลาดยางแอสฟล ตกิ 1 แขวงทางหลวง 2,557,000 - - - - 2,557,000
คอนกรีต สาย อย 3011 แยกทางหลวงหมายเลข 347 – 15,000,000 - - - - 15,000,000
บา นโคก อําเภอบางปะอนิ อําเภอบางไทร และอาํ เภอ ชนบท
บางบาล จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา ระยะทาง 2.910 พระนครศรอี ยุธยา 10,000,000 - - - - 10,000,000
- ิโ กจิ กรรม 1.1.5 ปรบั ปรุงผวิ ทางลาดยางแอสฟล ติก 15,000,000 - - - - 15,000,000
คอนกรีต สาย อย 3029 แยกทางหลวงหมายเลข 347 – 1 แขวงทางหลวง 10,000,000 - - - - 10,000,000
บานกลงึ อําเภอบางปะอนิ และอําเภอบางไทร จงั หวดั
พระนครศรอี ยุธยา ระยะทาง 4.510 กโิ ลเมตร ชนบท 10,000,000 - - - - 10,000,000
พระนครศรอี ยธุ ยา
8,300,000 - - - - 8,300,000
- กจิ กรรม 1.1.6 ปรบั ปรุงผวิ ทางลาดยางแอสฟล ติก 1 แขวงทางหลวง
คอนกรีต สาย อย 3052 แยกทางหลวงหมายเลข 347 –
บา นปากทางลัด อาํ เภอมหาราช และอําเภอบางปะหนั ชนบท
จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา ระยะทาง 3.216 กิโลเมตร พระนครศรอี ยธุ ยา
- กิจกรรม 1.1.7 ปรบั ปรงุ ผิวทางลาดยางแอสฟลตกิ 1 แขวงทางหลวง
คอนกรตี สาย อย 2022 แยกทางหลวงหมายเลข 33 -
บา นศาลาลอย อาํ เภอภาชี และอําเภอทาเรอื จงั หวัด ชนบท
พระนครศรอี ยุธยา ระยะทาง 3.000 กโิ ลเมตร พระนครศรอี ยธุ ยา
- กิจกรรม 1.1.8 ปรบั ปรุงถนน สาย บา นสวนพรกิ - 1 แขวงทางหลวง
บานโพธส์ิ ามตน (ตอนท่ี 2) อาํ เภอพระนครศรีอยธุ ยา
และอําเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ชนบท
พระนครศรีอยธุ ยา
- กจิ กรรม 1.1.9 ติดต้ังไฟฟาแสงสวาง สาย อย 3032 1 แขวงทางหลวง
แยกทางหลวงหมายเลข 347 - บานบางระกํา
อาํ เภอบางปะหนั และอําเภอนครหลวง จังหวดั ชนบท
พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยธุ ยา
- กจิ กรรม 1.1.10 ติดตง้ั ไฟฟาแสงสวาง สาย อย 2008 1 แขวงทางหลวง
แยกทางหลวงหมายเลข 33 - บานปากแรด
อาํ เภอนครหลวง และอําเภอทา เรือ จงั หวัด ชนบท
- กจิ กรรมี 1.1.11 ติดตง้ั ไฟฟาแสงสวาง สาย อย 4038 พระนครศรีอยธุ ยา
แยกทางหลวงหมายเลข 3412 - บา นสวนถวั่
อาํ เภอบางบาล และอําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา 1 แขวงทางหลวง
ชนบท
พระนครศรอี ยธุ ยา
- กจิ กรรม 1.1.12 ตดิ ต้ังไฟฟา แสงสวาง สาย อย 4007 1 แขวงทางหลวง
แยกทางหลวงหมายเลข 3267 - บา นมหาราช อําเภอ
มหาราช จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา ชนบท
พระนครศรีอยุธยา
- กจิ กรรม 1.1.13 บรู ณะทางผวิ แอสฟลต ในทางหลวง 1 แขวงทางหลวงอยุธยา
หมายเลข 3412 ตอน อยุธยา - บางบาล ตําบลบา นปอ ม
อําเภอพระนครศรอี ยธุ ยา และตําบลมหาพราหมณ
อําเภอบางบาล จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา
- กจิ กรรม 1.1.14 ปรับปรุงทางหลวงผา นยานชุมชน 1 แขวงทางหลวงอยุธยา
ในทางหลวงหมายเลข 3412 ตอน อยธุ ยา - บางบาล
ตาํ บลบางบาล อําเภอบางบาล จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
- กิจกรรม 1.1.15 บูรณะทางผวิ แอสฟลต ในทางหลวง 1 แขวงทางหลวงอยุธยา
หมายเลข 3263 ตอน อยุธยา - ไผกองดิน ตําบลบา นปอม
อาํ เภอพระนครศรอี ยธุ ยา จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
- กจิ กรรม 1.1.16 ติดตงั้ ราวกนั อนั ตรายเพอื่ สรา ง 1 แขวงทางหลวงอยธุ ยา
ความปลอดภัยบรเิ วณทางหลวงหมายเลข 3467 ตอน 1 แขวงทางหลวงอยธุ ยา
นครหลวง - ทาเรือ ตําบลบางระกาํ อาํ เภอนครหลวง
และตําบลบา นรอม อําเภอทา เรือ จังหวดั
- กจิ กรรมี 1.1.17 ตดิ ตั้งไฟฟาแสงสวางเพอื่ สราง
ความปลอดภัยบริเวณทางหลวงหมายเลข 309 ตอน วัง
นอ ย - ทางแยกตา งระดับอยธุ ยา ตําบลบา นสราง
อําเภอบางปะอนิ จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
- กจิ กรรม 1.1.18 ติดตั้งไฟฟา แสงสวางเพือ่ สรา งความ 1 แขวงทางหลวงอยธุ ยา
ปลอดภยั บรเิ วณทางหลวงหมายเลข 347 ตอน
บางกระส้ัน - บางปะหนั ตําบลบา นปอ ม อาํ เภอ
พระนครศรอี ยุธยา และตาํ บลขวญั เมอื ง อาํ เภอบางปะหนั
จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
บัญชีรายการชดุ โครงการสําคัญ งบประมาณดาํ เนินการ (10)
พ.ศ. 2568 พ.ศ. 2569
แผนงาน/โครงการสําคัญ ยุทธศาสตรช าติ (X)/ แหลง งปม. หนว ยดาํ เนินการ พ.ศ. 2566 พ.ศ. 2567 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2566-2570
(6) แผนแมบทฯ (Y) (8) (9) 10,000,000 - -- - 10,000,000
(7)
-
- กจิ กรรม 1.1.19 ติดต้งั ไฟฟาแสงสวางเพอื่ สรา ง 1 แขวงทางหลวงอยธุ ยา -
ความปลอดภยั บริเวณทางหลวงหมายเลข 32 ตอน บาง -
ปะอนิ - อยธุ ยา , อยธุ ยา - นครหลวง ตําบลเชียงรากนอย -
อาํ เภอบางปะอิน และตาํ บลบอโพง อาํ เภอนครหลวง
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา -
-
- กจิ กรรม 1.1.20 ปรบั ปรงุ จุดเสี่ยงและบริเวณอนั ตราย 1 แขวงทางหลวงอยธุ ยา 5,000,000 - -- - 5,000,000
ในทางหลวงหมายเลข 3056 ตอน บานหวา - ภาชี ตําบล - -- - 20,000,000
คานหาม อาํ เภออุทัย จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา 1 แขวงทางหลวงอยุธยา 20,000,000 - -- - 20,000,000
- กิจกรรม 1.1.21 เสริมผวิ แอสฟลต ในทางหลวง - -- - 20,000,000
หมายเลข 308 ตอน ทางเขาบางปะอิน ตาํ บลเชียงราก 1 แขวงทางหลวงอยุธยา 20,000,000 -
นอย และตาํ บลคลองจิก อาํ เภอบางปะอิน จังหวัด -
- กิจกรรมี 1.1.22 เสรมิ ผวิ แอสฟลต ในทางหลวง 1 แขวงทางหลวงอยุธยา 20,000,000 -
หมายเลข 3412 ตอน อยุธยา – บางบาล ตาํ บลมหา -
พราหมณ และตําบลบางบาล อําเภอบางบาล จงั หวัด -
- กจิ กรรมี 1.1.23 เสรมิ ผิวแอสฟล ต ในทางหลวง -
หมายเลข 3477 ตอน บางปะอนิ – อยธุ ยา ตาํ บลบานเลน -
อําเภอบางปะอิน และตําบลเกาะเรยี น อาํ เภอ 2,767,000
พระนครศรอี ยธุ ยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 4,500,000
18,009,000
- กจิ กรรม 1.1.24 บูรณะทางผิวแอสฟล ต ในทางหลวง 1 แขวงทางหลวงอยุธยา 20,000,000 -- - 20,000,000
หมายเลข 3567 ตอน ทางเขานครหลวง ตําบลปากจ่ัน -
และตาํ บลนครหลวง อาํ เภอนครหลวง จังหวัด 2 แขวงทางหลวง 65,000,000 -- - 65,000,000
- กจิ กรรมี 1.1.25 กอ สรางถนน คสล. สาย อย 6042
แยกสายทาง ทต.บางกระสนั้ - บ.เชียงรากนอย อ.บางปะ ชนบท
อนิ จ.พระนครศรอี ยธุ ยา พระนครศรีอยธุ ยา
- กิจกรรม 1.1.26 กอ สรางถนนลาดยาง AC สาย อย 2 แขวงทางหลวง 75,000,000 -- - 75,000,000
3020 แยก ทล.347 - บ.รนุ อ.บางปะอนิ จ. 30,000,000 -- - 30,000,000
พระนครศรอี ยธยา ชนบท
- กจิ กรรม 1.1.27 กอสรา งถนนลาดยาง AC สาย อย พระนครศรีอยุธยา
4036 แยก ทล.3412 - บ.บางบาล อ.พระนครศรีอยธุ ยา
จ.พระนครศรอี ยธุ ยา 2 แขวงทางหลวง
ชนบท
พระนครศรอี ยุธยา
- กิจกรรม 1.1.28 อํานวยความปลอดภัย สาย อย 3006 2 แขวงทางหลวง 5,080,000 -- - 5,080,000
แยก ทล.340 - บ.ไมต รา อ.ลาดบวั หลวง,บางไทร จ.
พระนครศรอี ยุธยา ชนบท
พระนครศรอี ยุธยา
- กิจกรรม 1.1.29 อํานวยความปลอดภยั สาย อย 2008 2 แขวงทางหลวง 4,309,000 -- - 4,309,000
แยก ทล.33 - บ.ปากแรด อ.นครหลวง,ทาเรือ จ.
พระนครศรีอยธุ ยา ชนบท
พระนครศรีอยธุ ยา
- กิจกรรม 1.1.30 อาํ นวยความปลอดภัย สาย อย 1043 2 แขวงทางหลวง 9,900,000 -- - 9,900,000
แยก ทล.1 - บ.ขา วงาม อ.วังนอย จ.พระนครศรอี ยธุ ยา -- - 1,616,000
ชนบท
พระนครศรอี ยุธยา
- กิจกรรม 1.1.31 อาํ นวยความปลอดภัย สาย อย 4016 2 แขวงทางหลวง 1,616,000
แยก ทล.3263 - บ.ปอ ม อ.บางบาล,พระนครศรีอยธุ ยา
จ.พระนครศรอี ยธุ ยา ชนบท
พระนครศรอี ยธุ ยา
- กิจกรรม 1.1.32 อาํ นวยความปลอดภัย สาย อย 4031 2 แขวงทางหลวง 1,352,000 -- - 1,352,000
แยก ทล.3412 - บ.แค อ.บางบาล,เสนา,ผกั ไห จ.
พระนครศรีอยุธยา ชนบท
พระนครศรอี ยธุ ยา
- กิจกรรม 1.1.33 อํานวยความปลอดภัย สาย อย 5025 2 แขวงทางหลวง 6,622,000 -- - 6,622,000
แยก ทช.อย 4044 – บา นบางปลามา อ.เสนา,บางซาย
จ.พระนครศรีอยธุ ยา ชนบท
พระนครศรอี ยุธยา
- กจิ กรรม 1.1.34 อาํ นวยความปลอดภัย สาย อย 3046 2 แขวงทางหลวง 4,800,000 -- - 4,800,000
แยก ทล.309 - บ.ตลิ่งชนั อ.วังนอ ย,บางปะอิน จ.
พระนครศรอี ยธุ ยา ชนบท
พระนครศรีอยุธยา
- กจิ กรรม 1.1.35 งานปรับปรุงระบบสง น้ําพรอ มอาคาร 2 โครงการชลประทาน 15,000,000 -- - 15,000,000
ประกอบ หนาวัดสนามทอง กม.0+000 - 1+200 -- - 24,376,900
พระนครศรอี ยุธยา
- กจิ กรรม 1.1.36 กอ สรา งสะพานขามคลองกระมงั 3 เทศบาลอโยธยา 24,376,900
บรเิ วณถนนอโยธยา 4 หมูท ี่ 3,7 ตาํ บลไผล งิ อาํ เภอ
พระนครศรีอยุธยา จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา
- กจิ กรรม 1.1.37 ซอมแซมถนน คสล. บริเวณรางไอ 3 อบต.คลองสระบวั 2,767,000 2,767,000 - - 8,301,000
ดาง-เขตติดตอ ตาํ บลหนองปลิง ม.4 - 13,500,000
10,742,000 2,997,609,870
- กิจกรรม 1.1.38 ปรับปรงุ ซอมแซมถนน คสล. เสน 3 อบต.คลองสระบวั 4,500,000 4,500,000 -
คลองชลประทาน ต้งั แตส ะพานขาวถึงคลองตาขดุ ม.4
รวมงบประมาณ ประเดน็ การพัฒนาท่ี1 2,940,107,870 18,009,000 10,742,000
ประเด็นการพฒั นาที่ 2 ยกระดบั อุตสาหกรรมการทองเที่ยวอจั ฉรยิ ะคุณภาพสูง
แผนงานท่ี 1 พัฒนาและปรับปรงุ แหลงทองเท่ยี วตามมาตรฐานและความปลอดภัยดว ยหลักUniversal Design เพ่อื รองรับสกู ารทอ งเทีย่ วอจั ฉริยะ
1. โครงการสาํ คัญท่ี 1 สง เสรมิ การพฒั นาและปรับปรุงแหลง 2.5
ทอ งเทย่ี วใหไ ดม าตรฐานและความปลอดภัยดวยหลกั Universal
Design
- กิจกรรมหลัก 1.1 พฒั นาแหลงทองเท่ยี วตาม 2 สํานักศิลปากร 5,135,000 -- - 5,135,000
มาตรฐานและความปลอดภยั ดว ยหลัก
Universal Design ที่ 3 พระนครศรี
- กิจกรรม 1.1.1 อนรุ ักษซอมแซมเจดยี ศรสี รุ โิ ยทยั ต. อยุธยา
ประตูชัย อ.พระนครศรอี ยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา
บัญชรี ายการชุดโครงการสาํ คญั งบประมาณดําเนินการ (10)
พ.ศ. 2568 พ.ศ. 2569
แผนงาน/โครงการสําคัญ ยทุ ธศาสตรช าติ (X)/ แหลง งปม. หนวยดาํ เนนิ การ พ.ศ. 2566 พ.ศ. 2567 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2566-2570
(6) แผนแมบทฯ (Y) (8) (9)
(7)
- กิจกรรม 1.1.2 เพ่ิมประสิทธภิ าพความปลอดภยั เพอ่ื 2 อุทยาน - 8,886,000 - - - 8,886,000
การทองเทยี่ วในจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
ประวตั ศิ าสตร
พระนครศรอี ยธุ ยา
แผนงานที่ 2 พัฒนาศักยภาพในการแขง ขันของผปู ระกอบการธุรกิจดานการทอ งเที่ยวเชงิ สรา งสรรคในทกุ ระดบั
1. โครงการสาํ คัญที่ 1 พฒั นาศักยภาพผูประกอบการธุรกิจ 2.5
บุคลากรดา นการทอ งเท่ียวเชิงสรา งสรรค
- กิจกรรมหลัก 1.1 พัฒนาทกั ษะการเปน สนง.การทอ งเที่ยว 700,000 700,000 700,000 700,000 700,000 3,500,000
ผปู ระกอบการดา นการทอ งเท่ยี วเชิงสรางสรรค 500,000
- กจิ กรรม 1.1.1 พัฒนาทกั ษะแรงงานและบุคลากรเพื่อ 1 และกฬี าจังหวดั 400,000
เพม่ิ ศักยภาพดานการทองเทย่ี วแบบ MICE ของจงั หวัด 400,000
พระนครศรอี ยุธยา พระนครศรีอยธุ ยา 150,000
- กจิ กรรม 1.1.2 พัฒนาทักษะดานภาษาตา งประเทศ สนง.การทองเทย่ี ว 500,000 - - - -
สําหรับแรงงานในอุตสาหกรรมการทองเที่ยว 400,000 - - - -
- กจิ กรรม 1.1.3 พัฒนาผูประกอบการดานท่ีพักเพ่ือ 1 และกฬี าจังหวัด
รองรบั การทอ งเทีย่ ว Workation และ Staycation ใน
พ้นื ที่มรดกโลกและโดยรอบ พระนครศรีอยุธยา
สนง.การทอ งเที่ยว
1 และกฬี าจงั หวัด
พระนครศรอี ยธุ ยา
- กิจกรรม 1.1.4 พัฒนาทกั ษะบุคลากรทุกภาคสวน สนง.การทองเทีย่ ว 400,000 - - - -
รองรบั การขยายตัวของระบบเครอื ขายคมนาคม
ระดบั ประเทศเพื่อยกระดับอุตสาหกรรมการทองเทย่ี ว 1 และกฬี าจังหวดั
พระนครศรอี ยุธยา
- กจิ กรรม 1.1.5 สง เสริมการทอ งเท่ยี วชุมชน 3 อบต.คลองสระบัว 30,000 30,000 30,000 30,000 30,000
แผนงานท่ี 3 พัฒนารปู แบบและกลยทุ ธการตลาดดา นการทอ งเทย่ี วดวยเทคโนโลยีดิจทิ ลั
1. โครงการสาํ คัญท่ี 1 พัฒนารปู แบบการทองเทยี่ วในความสนใจ 2.5
พิเศษโดยการสงเสรมิ ตลาดเฉพาะกลมุ ดวยเทคโนโลยดี ิจทิ ลั
- กจิ กรรมหลัก 1.1 สงเสรมิ และพฒั นารปู แบบ
กจิ กรรมการทอ งเท่ยี วเชงิ สรางสรรค
- กจิ กรรม 1.1.1 ยอยศย่งิ ฟาอยุธยามรดกโลก ท่ที ําการปกครอง 13,000,000 13,000,000 13,000,000 13,000,000 13,000,000 65,000,000
2,700,000 2,700,000 2,700,000 2,700,000 2,700,000 13,500,000
- กิจกรรม 1.1.2 แขงขันเรือยาวประเพณจี ังหวดั 1 จังหวัด 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 20,000,000
พระนครศรอี ยุธยา 4,500,000 4,500,000 4,500,000 4,500,000 4,500,000 22,500,000
- กจิ กรรม 1.1.3 มหกรรมอาหารพืน้ บาน สบื สาน พระนครศรีอยุธยา 3,500,000 3,500,000
ตาํ นานวถิ ีถ่ินอยุธยา 4,500,000 - - - - 4,500,000
- กจิ กรรม 1.1.4 เทศกาลโขนกรงุ ศรี สนง.วัฒนธรรม 2,500,000 - - - - 12,500,000
6,000,000 2,500,000 2,500,000 2,500,000 2,500,000 30,000,000
- กิจกรรม 1.1.5 สงเสรมิ กิจกรรมทอ งเท่ียว เพ่ือ 1 จงั หวดั 3,000,000 6,000,000 6,000,000 6,000,000 6,000,000 3,000,000
กระจายรายไดส ชู มุ ชน 2,000,000 - - - - 2,000,000
- กจิ กรรม 1.1.6 สง เสริมการทองเทีย่ วยามคํา่ คืนเพ่ือ พระนครศรีอยุธยา - - - -
เพ่ิมวันพกั คา งและรายไดจากการทอ งเที่ยว 5,000,000
- กจิ กรรม 1.1.7 เทศกาลดนตรที ามกลางมรดกโลก สนง.วัฒนธรรม 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 2,000,000
- - - - 3,000,000
- กิจกรรม 1.1.8 Ayutthaya sports tourism 1 จงั หวดั - - - -
100,000
- กิจกรรม 1.1.9 ทองเท่ียวเชงิ วฒั นธรรมทองถน่ิ และ พระนครศรอี ยธุ ยา 20,000 20,000 20,000 20,000 205,571,000
อาหารวิถีไทย วิถถี นิ่ นวตั วถิ ี 43,336,000 34,450,000 34,450,000 34,450,000
- กิจกรรม 1.1.10 สง เสรมิ และประชาสมั พันธ “ตลาด สนง.การทอ งเที่ยว
กรุงศรไี นทมารเก็ต”
1 และกฬี าจงั หวดั
พระนครศรีอยธุ ยา
สนง.การทองเทย่ี ว
1 และกีฬาจังหวดั
พระนครศรีอยุธยา
สนง.การทองเที่ยว
1 และกีฬาจังหวดั
พระนครศรีอยุธยา
สนง.การทองเทย่ี ว
1 และกฬี าจังหวัด
พระนครศรอี ยุธยา
สนง.การทองเท่ียว
1 และกีฬาจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา
สนง.พฒั นาชุมชน
1 จงั หวดั
พระนครศรีอยธุ ยา
1 สนง.พาณชิ ยจ ังหวดั
พระนครศรีอยธุ ยา
- กจิ กรรมหลัก 1.2 สง เสริมการตลาดแบบเฉพาะกลุม 1 สนง.จังหวัด 1,000,000
มงุ เนนการสอื่ สารคุณคา เชงิ สรางสรรคด วย พระนครศรอี ยุธยา
เทคโนโลยดี ิจิทัล
- กจิ กรรม 1.2.1 สงเสรมิ การประชาสัมพนั ธภาพลกั ษณ
ของจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
- กิจกรรม 1.2.2 ประชาสัมพนั ธเชงิ รุกและพัฒนา สนง.ประชาสมั พนั ธ 2,000,000
เครือขา ยประชาสัมพนั ธใ นพ้นื ท่ีจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา 3,000,000
- กิจกรรม 1.2.3 พฒั นาศักยภาพการทองเท่ียวเชิง 1 จงั หวดั
วฒั นธรรมจังหวดั พระนครศรีอยุธยา 20,000
- กจิ กรรม 1.2.4 ประชาสัมพันธแ หลง ทองเทยี่ ว ในพืน้ ท่ี พระนครศรีอยุธยา
ตาํ บลคลองสระบวั
สนง.วัฒนธรรม
1 จงั หวดั
พระนครศรีอยุธยา
3 อบต.คลองสระบัว
รวมงบประมาณ ประเด็นการพฒั นาท่ี2 58,885,000
ประเดน็ การพฒั นาที่ 3 สรา งฐานเศรษฐกจิ มลู คาสูงที่เปนมติ รกบั สงิ่ แวดลอ มดว ยเทคโนโลยี นวตั กรรม และภมู ปิ ญ ญาอยา งสรางสรรค
แผนงานท่ี 1 ยกระดบั ศักยภาพของกาํ ลังคน ทุกกลมุ ทุกชวงวัย เพ่อื รองรบั ภาคเกษตร อตุ สาหกรรม การคา และบรกิ าร
1. โครงการสาํ คัญท่ี 1 พฒั นาศกั ยภาพกําลงั คนทุกกลุม ทุกชวงวัย 2.12
เพื่อรองรับ ภาคเกษตร อตุ สาหกรรม การคา และบริการ
- กจิ กรรมหลกั 1.1 ยกระดับทักษะและศกั ยภาพ
ผูประกอบการ และแรงงาน
บัญชรี ายการชดุ โครงการสําคัญ งบประมาณดําเนินการ (10)
พ.ศ. 2568 พ.ศ. 2569
แผนงาน/โครงการสําคญั ยทุ ธศาสตรช าติ (X)/ แหลง งปม. หนว ยดาํ เนินการ พ.ศ. 2566 พ.ศ. 2567 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2566-2570
(6) แผนแมบ ทฯ (Y) (8) (9)
(7)
- กิจกรรม 1.1.1 ยกระดบั การพัฒนาดานอตุ สาหกรรม 1 สถาบันพฒั นาฝมอื 1,152,200 1,152,200 1,152,200 1,152,200 1,152,200 5,761,000
และศักยภาพแรงงาน - 380,400
- กิจกรรม 1.1.2 สรา งงานสรางอาชพี ตามมาตรฐานฝม อื แรงงาน 15 380,400 - - -
แรงงานในการคนื คนดสี สู งั คมอยางย่ังยนื พระนครศรอี ยุธยา
1 สนง.คุมประพฤติ
จังหวัด
พระนครศรอี ยุธยา
- กิจกรรมหลัก 1.2 เชอ่ื มโยงภาคการศึกษากบั ภาค
เกษตร อตุ สาหกรรม การคา และบริการดวยเทคโนโลยี
และนวัตกรรมเพือ่ พฒั นากาํ ลงั คนอยา งสรา งสรรค
- กจิ กรรม 1.2.1 เปด โลกอาชีพอาชวี ศึกษาสโู ลก 1 สนง.แรงงานจังหวัด 588,500 - - - - 588,500
อุตสาหกรรม จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา - - - 127,100
พระนครศรีอยุธยา
- กิจกรรม 1.2.2 เพ่มิ ทกั ษะดา นแรงงาน แก นักเรียน 1 สนง.แรงงานจงั หวัด 127,100 -
นักศกึ ษา เพอื่ เตรยี มความพรอ มกอนเขา สตู ลาดแรงงาน
พระนครศรอี ยุธยา
แผนงานท่ี 2 ยกระดับการผลติ สนิ คา และบริการมูลคาสูงภาคเกษตร อตุ สาหกรรม การคา ทีเ่ ปน มติ รกับสง่ิ แวดลอ มดว ยเทคโนโลยี นวตั กรรมและภูมิปญญาอยางสรา งสรรค
1. โครงการสาํ คัญที่ 1 สงเสริมการเพ่มิ มูลคาแกผ ลติ ภณั ฑช มุ ชน 2.16
เชงิ สรา งสรรค
- กจิ กรรมหลัก 1.1 พฒั นาผลติ ภัณฑชุมชนใหไ ด 1 สนง.พฒั นาชุมชน 2,500,000 2,500,000 2,500,000 2,500,000 2,500,000 12,500,000
มาตรฐาน และสรางความแตกตางดวยทคโนโลยแี ละ 2,500,000 12,500,000
นวตั กรรม จงั หวัด 2,500,000 2,500,000 2,500,000 2,500,000 2,950,000 14,750,000
- กจิ กรรม 1.1.1 พฒั นาและสงเสริมผูประกอบการสู พระนครศรอี ยธุ ยา 2,000,000
ภูมิภาคอาเซยี น ป 2023 จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา 2,950,000 2,950,000 2,950,000 2,950,000 - 2,000,000
1 สนง.พฒั นาชมุ ชน - 3,000,000
- กิจกรรม 1.1.2 พัฒนาศักยภาพผปู ระกอบการ OTOP 2,000,000 - - - -
เพอ่ื เตรียมความพรอมเขาสกู ารรับรองมาตรฐานผลติ ภัณฑ จังหวัด
พระนครศรอี ยุธยา 2,000,000 - - -
- กจิ กรรม 1.1.3 สง เสริมและเพิม่ ชองทางตลาด
ผลติ ภณั ฑช ุมชน (Road Show OTOP Ayutthaya) 1 สนง.พฒั นาชมุ ชน 3,000,000 - - -
- กจิ กรรม 1.1.4 สง เสรมิ และพฒั นาอาชพี และ จังหวัด 3,000,000 --- - 3,000,000
ผลติ ภัณฑยกระดับสูผลติ ภณั ฑโอทอป พระนครศรีอยธุ ยา - - 2,000,000 2,000,000 2,000,000 6,000,000
- กิจกรรม 1.1.5 สงเสรมิ ชองทางการจําหนา ยสินคา 1 สนง.พัฒนาชุมชน
OTOP Online
- กจิ กรรม 1.1.6 หน่ึงทองถิน่ หน่ึงทมี โอทอป เพือ่ จังหวัด
สง เสริมอาชีพและการใหบ ริการนกั ทอ งเทยี่ วเชื่อมโยง พระนครศรีอยธุ ยา
ชุมชนทอ งเท่ยี วโอทอปนวตั วถิ ี
- กจิ กรรม 1.1.7 โอทอปโชวหวยชวยชุมชน (สนิ คา ชมุ ชน 1 สนง.พัฒนาชมุ ชน
สูชุมชน เพอื่ ชมุ ชนเขมแขง็ )
- กจิ กรรม 1.1.8 กอ สรา งโรงสีขา วในชมุ ชน จงั หวดั
2. โครงการสาํ คัญที่ 2 สง เสริมการผลติ สินคาและบรกิ ารมูลคา สงู พระนครศรอี ยธุ ยา
ท่เี ปนมิตรกบั ส่งิ แวดลอ มดว ยเทคโนโลยี นวัตกรรมและภมู ปิ ญญา
ท่ีสรา งสรรค 1 สนง.พฒั นาชุมชน
จังหวดั
พระนครศรอี ยุธยา
1 สนง.พฒั นาชุมชน
จงั หวัด
พระนครศรีอยธุ ยา
3 อบต.คลองสระบวั
2.16
- กิจกรรมหลัก 2.1 บรหิ ารจดั การนํ้าเพือ่ การเกษตร 1 สนง.พลังงานจงั หวัด 6,298,000 - - - - 6,298,000
และอุตสาหกรรม พระนครศรอี ยธุ ยา - 15,000,000
- กจิ กรรม 2.1.1 สงเสรมิ ระบบการเกษตร เพอื่ ลด - 12,000,000
ตน ทุนการผลติ แกเ กษตรกรจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา 2 โครงการชลประทาน 15,000,000 - - - - 5,000,000
- กจิ กรรม 2.1.2 งานปรับปรงุ ระบบสงน้าํ พรอ มอาคาร พระนครศรอี ยุธยา
ประกอบ หนาวัดสนามทอง กม.0+000 - 1+200 - 2,520,000
- กิจกรรม 2.1.3 งานซอ มแซมคาดคอนกรีตคลองเปด 2 โครงการชลประทาน 12,000,000 - - -
กม.0+000-3+000 เปนชว งๆ พระนครศรีอยธุ ยา - 699,000
- กิจกรรม 2.1.4 ซอมแซมโครงการชลประทาน - 226,000
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ริตามขอ เสนอของเกษตรกรใน 2 โครงการชลประทาน 5,000,000 - - - - 200,000
เขตจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา พระนครศรอี ยุธยา - 1,000,000
- กจิ กรรม 2.1.5 งานซอมแซมระบบสงนํ้าโครงการ 2 โครงการชลประทาน 2,520,000 - - - - 1,000,000
พระราชดาํ ริจัดหานํ้าชวยเหลือราษฎรในเขตอําเภอบา น พระนครศรอี ยุธยา - 800,000
แพรกและบริเวณใกลเคยี ง ตาํ บลคลองนอ ย อาํ เภอบา น - 1,000,000
แพรก โครงการชลประทานพระนครศรีอยุธยา จงั หวดั - 800,000
พระนครศรอี ยุธยา
- กจิ กรรม 2.1.6 บํารงุ รกั ษาหวั งานโครงการชลประทาน 2 โครงการชลประทาน 699,000 - - -
พระนครศรีอยธุ ยา พระนครศรอี ยธุ ยา
- กจิ กรรม 2.1.7 บาํ รุงรักษาคลองสง น้ําสายซอย
ระยะทาง 35 กม. 2 โครงการชลประทาน 226,000 - - -
- กจิ กรรม 2.1.8 บรหิ ารการสงนํ้า โครงการชลประทาน พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรอี ยุธยา 36,000 ไร
- กิจกรรม 2.1.9 งานซอ มแซมบํารุงรกั ษาอาคาร 2 โครงการชลประทาน 200,000 - - -
ชลประทาน ตามขอ เสนอของเกษตรกรผูใชนา้ํ ชลประทาน พระนครศรอี ยุธยา
โครงการชลประทานพระนครศรีอยธุ ยา 10 รายงาน
2 โครงการชลประทาน 1,000,000 - - -
- กิจกรรม 2.1.10 งานซอ มแซมอาคารบังคับนา้ํ อางเก็บ พระนครศรีอยุธยา
น้าํ สมเด็จพระสรุ ิโยทยั
- กิจกรรม 2.1.11 งานซอ มแซมอาคารบังคบั นา้ํ อางเกบ็ 2 โครงการชลประทาน 1,000,000 - - -
นา้ํ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระนครศรีอยุธยา
- กิจกรรม 2.1.12 งานซอมแซมอาคารบังคับนาํ้ หนอง
ลาดหญา แพรก 2 โครงการชลประทาน 800,000 - - -
- กิจกรรม 2.1.13 งานซอมแซมทอ ระบายนาํ้ ปากคลอง พระนครศรอี ยุธยา
หว ยชัน
2 โครงการชลประทาน 1,000,000 - - -
พระนครศรีอยุธยา
2 โครงการชลประทาน 800,000 - - -
พระนครศรีอยธุ ยา
บญั ชีรายการชดุ โครงการสําคัญ งบประมาณดําเนนิ การ (10)
พ.ศ. 2568 พ.ศ. 2569
แผนงาน/โครงการสําคัญ ยทุ ธศาสตรช าติ (X)/ แหลง งปม. หนว ยดาํ เนินการ พ.ศ. 2566 พ.ศ. 2567 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2566-2570
(6) แผนแมบ ทฯ (Y) (8) (9)
(7)
- กจิ กรรม 2.1.14 งานซอ มแซมระบบกระจายนํ้าอา ง 2 โครงการชลประทาน 1,800,000 - - -- 1,800,000
เก็บน้ําสมเด็จพระสรุ ิโยทัย 1,500,000 - - -- 1,500,000
- กิจกรรม 2.1.15 งานซอ มแซมประตูระบายนา้ํ คลอง พระนครศรอี ยธุ ยา 1,200,000 - - -- 1,200,000
บางกุง - - --
- กจิ กรรม 2.1.16 งานซอ มแซมคนั ดินอา งเก็บน้ําหนอง 2 โครงการชลประทาน 600,000 - - -- 600,000
บอน 600,000 - - -- 600,000
- กจิ กรรม 2.1.17 งานซอมแซมอาคารควบคมุ และ พระนครศรอี ยุธยา 900,000 - - -- 900,000
ระบบไฟฟาแสงสวาง ปตร.คลองสวนพลู 600,000 - - -- 600,000
- กิจกรรม 2.1.18 งานซอ มแซมอาคารควบคุม และ 2 โครงการชลประทาน 580,000 - - -- 580,000
ระบบไฟฟา แสงสวาง ปตร.ปลายคลองสวนพลู 550,000 - - -- 550,000
- กจิ กรรม 2.1.19 งานซอ มแซมคนั คลองรม ไทร กม. พระนครศรอี ยธุ ยา 520,000 - - -- 520,000
2+600-4+200 550,000 - - -- 550,000
- กจิ กรรม 2.1.20 งานซอมแซมคนั ดนิ อางเก็บน้ําหนอง 2 โครงการชลประทาน 300,000 - - -- 300,000
ลาดสวาย 300,000 - - -- 300,000
- กจิ กรรม 2.1.21 งานซอ มแซมโครงหลังคาและระบบ พระนครศรอี ยธุ ยา 150,000 - - -- 150,000
ไฟฟา แสงสวาง ปตร.คลองจิก 200,000 - - -- 200,000
- กจิ กรรม 2.1.22 งานซอมแซมโครงหลงั คาและระบบ 2 โครงการชลประทาน 150,000 - - -- 150,000
ไฟฟาแสงสวาง ปตร.บา นโพ2 150,000 - - -- 150,000
พระนครศรอี ยธุ ยา 200,000 - - -- 200,000
- กิจกรรม 2.1.23 งานซอ มแซมคันดินแกม ลิงหนองขโมย 2,500,000 - - -- 2,500,000
2 โครงการชลประทาน 15,000,000 - - -- 15,000,000
- กิจกรรม 2.1.24 งานซอมแซมอาคารควบคุม และ 71,500 - - -- 71,500
ระบบไฟฟาแสงสวาง ปตร.บา นเลน พระนครศรอี ยุธยา 52,000 - - -- 52,000
- กิจกรรม 2.1.25 งานซอมแซมรอดักวชั พืชประตู 84,500 - - -- 84,500
ระบายนาํ้ กระมงั 2 โครงการชลประทาน 81,200 - - -- 81,200
- กิจกรรม 2.1.26 งานซอ มแซมรอดกั วัชพืชทอระบาย 84,500 - - -- 84,500
นํ้าหนั ตรา พระนครศรีอยุธยา 126,700 - - -- 126,700
- กจิ กรรม 2.1.27 งานซอมแซมรอดกั วชั พืชประตู 130,000 5,000,000 5,000,000 - 5,000,000 130,000
ระบายน้ําบา นพาสน 2 2 โครงการชลประทาน 15,000,000
-
- กิจกรรม 2.1.28 งานซอ มแซมรอดกั วัชพชื คลองรมไทร พระนครศรอี ยุธยา
- กจิ กรรม 2.1.29 งานซอมแซมรอดกั วัชพืชสถานสี บู น้าํ 2 โครงการชลประทาน
พระสรุ ิโยทัย
- กิจกรรม 2.1.30 งานซอ มแซมรอดักวัชพืชประตู พระนครศรีอยุธยา
ระบายนํ้าคลองสวนพลู
- กิจกรรม 2.1.31 งานซอมแซมโครงหลังคาและระบบ 2 โครงการชลประทาน
ไฟฟาแสงสวาง ทรบ คลองตามา
- กิจกรรม 2.1.32 งานขดุ ลอกคลองวัดขวิด กม.0+200 พระนครศรีอยุธยา
ถึง กม.3+200
- กจิ กรรม 2.1.33 งานขดุ ลอกสระเกบ็ น้ําศูนยศลิ ปาชพี 2 โครงการชลประทาน
ตําบลเกาะเกิด
- กจิ กรรม 2.1.34 งานกําจัดวชั พืชคลองบานลาด (ดวย พระนครศรีอยธุ ยา
แรงคน)
2 โครงการชลประทาน
- กจิ กรรม 2.1.35 งานกําจดั วัชพชื คลองวัว (ดวยแรงคน)
พระนครศรอี ยธุ ยา
- กิจกรรม 2.1.36 งานกําจัดวชั พชื คลองบางเคยี น (ดว ย
แรงคน) 2 โครงการชลประทาน
- กจิ กรรม 2.1.37 งานกําจดั วัชพชื คลองคู (ดวยแรงคน) พระนครศรอี ยุธยา
- กิจกรรม 2.1.38 งานกําจัดวชั พชื คลองโรงชาง (ดวย 2 โครงการชลประทาน
แรงคน)
- กจิ กรรม 2.1.39 งานกาํ จดั วัชพชื คลองรม ไทร (ดวย พระนครศรอี ยธุ ยา
แรงคน)
- กจิ กรรม 2.1.40 งานกําจัดวชั พืชคลองเปด (ดว ยแรงคน) 2 โครงการชลประทาน
- กจิ กรรม 2.1.41 กอสรางประตเู ปด-ปด ระบายนํา้ ตรง พระนครศรีอยุธยา
ขามวดั หนองจิก หมูท่ี 4 หนองจิก
2 โครงการชลประทาน
พระนครศรอี ยุธยา
2 โครงการชลประทาน
พระนครศรีอยธุ ยา
2 โครงการชลประทาน
พระนครศรีอยุธยา
2 โครงการชลประทาน
พระนครศรีอยธุ ยา
2 โครงการชลประทาน
พระนครศรอี ยุธยา
2 โครงการชลประทาน
พระนครศรอี ยธุ ยา
2 โครงการชลประทาน
พระนครศรอี ยุธยา
2 โครงการชลประทาน
พระนครศรอี ยุธยา
2 โครงการชลประทาน
พระนครศรีอยุธยา
2 โครงการชลประทาน
พระนครศรอี ยธุ ยา
2 โครงการชลประทาน
พระนครศรีอยุธยา
2 โครงการชลประทาน
พระนครศรอี ยุธยา
3 อบต.บางนา
- กิจกรรมหลกั 2.2 พัฒนาประสทิ ธิภาพผลติ ภาพการ
ผลิตสนิ คาเกษตร อุตสาหกรรม การคา และบรกิ ารอยา ง
สรา งสรรคท่เี ปนมติ รกบั ส่งิ แวดลอม
- กิจกรรม 2.2.1 สงเสริมการปลอ ยพันธสุ ัตวน้ํา (กงุ ) 1 สนง.ประมงจังหวัด 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 25,000,000
เพอื่ สรา งอาชีพและรายไดแ กเ กษตรกร 3,500,000 3,500,000 3,500,000 3,500,000 3,500,000 17,500,000
พระนครศรีอยธุ ยา
- กจิ กรรม 2.2.2 ปลอ ยนํา้ เขา นา ปลอ ยปลาเขา ทงุ 600,000 - - - - 600,000
1 สนง.ประมงจงั หวัด 500,000 - - - - 500,000
- กจิ กรรม 2.2.3 สงเสรมิ การเลี้ยงสตั วน ํา้ เพอ่ื การแปรรูป 3,000,000 - - - - 3,000,000
เปนสนิ คาตลาดออนไลน พระนครศรอี ยุธยา 164,800 - - - - 164,800
- กิจกรรม 2.2.4 อนุรกั ษพ ันธุส ัตวน ้ําประจาํ ชาติไทย : 107,700 - - - - 107,700
ประกวดปลากัด 1 สนง.ประมงจังหวัด 15,000,000 - - - - 15,000,000
- กิจกรรม 2.2.5 ฟน ฟูและเพม่ิ ผลผลิตสตั วนา้ํ ทองถิ่น
โดยการมีสว นรว มของชุมชน พระนครศรอี ยธุ ยา
- กจิ กรรม 2.2.6 ยกระดับมาตรฐานการเลี้ยงสตั วปกใน
กลุมฟารม เกษตรกรรายยอยจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา 1 สนง.ประมงจงั หวัด
- กจิ กรรม 2.2.7 พัฒนาทักษะของเกษตรกรในการขนุ โค
เนื้อเพศผูเพอ่ื เพ่ิมมูลคา ในฟารมโคเน้ือ พระนครศรอี ยธุ ยา
- กิจกรรม 2.2.8 สรางมลู คาเพิม่ จากฟางขาวเพอ่ื ลดการ
เผาตอซังและลดมลพษิ PM 2.5 1 สนง.ประมงจังหวัด
พระนครศรอี ยุธยา
1 สนง.ปศสุ ตั วจงั หวัด
พระนครศรีอยุธยา
1 สนง.ปศุสตั วจ ังหวดั
พระนครศรีอยธุ ยา
1 สนง.เกษตรจงั หวดั
พระนครศรอี ยธุ ยา
บญั ชรี ายการชดุ โครงการสาํ คัญ งบประมาณดาํ เนนิ การ (10)
พ.ศ. 2568 พ.ศ. 2569
แผนงาน/โครงการสําคัญ ยทุ ธศาสตรชาติ (X)/ แหลง งปม. หนว ยดําเนนิ การ พ.ศ. 2566 พ.ศ. 2567 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2566-2570
(6) แผนแมบ ทฯ (Y) (8) (9)
(7)
- กิจกรรม 2.2.9 ยกระดับมาตรฐานและเพม่ิ มูลคา สนิ คา 1 สนง.เกษตรจงั หวัด 1,312,480 - - - - 1,312,480
เกษตรสูมาตรฐาน GAP 2,731,280 - - - - 2,731,280
- กจิ กรรม 2.2.10 การเพิม่ ศกั ยภาพการผลิตพชื พระนครศรอี ยุธยา 9,276,100 - - - - 9,276,100
ปลอดภัยดวยเกษตรอจั ฉรยิ ะ
- กิจกรรม 2.2.11 ยกระดับมาตรฐานและเพ่ิมมูลคา 1 สนง.เกษตรจงั หวดั 470,000 - - - - 470,000
สนิ คาเกษตรปลอดภยั สูมาตรฐานโรงคดั บรรจุ GMP
พระนครศรอี ยธุ ยา
- กจิ กรรม 2.2.12 ศนู ยเกษตรอัจฉรยิ ะ จังหวดั
พระนครศรีอยุธยา 1 สนง.เกษตรจังหวดั
3. โครงการสําคัญที่ 3 สง เสริมการดําเนนิ งานตามหลักปรัชญา พระนครศรีอยธุ ยา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งและขยายผลโครงการอนั เนื่องมาจาก
พระราชดําริ 1 สนง.เกษตรและ
สหกรณจ ังหวดั
พระนครศรีอยธุ ยา
2.16
- กจิ กรรมหลัก 3.1 ขยายผลโครงการอันเนือ่ งมาจาก
พระราชดํารแิ ละสงเสรมิ การดําเนินงานตามหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง
- กิจกรรม 3.1.1 อนุรักษพ นั ธกุ รรมพชื อนั เน่ืองมาจาก 1 สนง.จังหวัด 500,000 500,000 500,000 500,000 500,000 2,500,000
พระราชดําริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกมุ ารี (อพ.สธ.) จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา พระนครศรอี ยุธยา 8,000,000
- กิจกรรม 3.1.2 สง เสรมิ การดําเนินงานตามหลักปรชั ญา 1 สนง.เกษตรจงั หวัด 1,600,000 1,600,000 1,600,000 1,600,000 1,600,000 1,500,000
เศรษฐกิจพอเพียงและขยายผลโครงการอนั เนอ่ื งมาจาก 3,920,000
พระราชดําริ พระนครศรีอยุธยา
2,000,000
- กิจกรรม 3.1.3 พัฒนาการผลติ สินคาเกษตรในพ้นื ท่ี 1 สนง.เกษตรจังหวัด 300,000 300,000 300,000 300,000 300,000 5,000,000
หอ หมก อาํ เภอบางไทร จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา 784,000 784,000 784,000 784,000 784,000
พระนครศรอี ยธุ ยา 600,000
- กจิ กรรม 3.1.4 พัฒนาการผลติ ขา วในพนื้ ทีแ่ ปลงนาทงุ
มะขามหยอ ง ตาํ บลบา นใหม อําเภอพระนครศรีอยุธยา 1 สนง.เกษตรจงั หวดั
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
พระนครศรอี ยธุ ยา
- กจิ กรรม 3.1.5 เสริมสรา งความเขม แข็ง 2,000,000 - - - -
กลุม ยุวเกษตรกรในระดับอุดมศึกษา 1 สนง.เกษตรจงั หวัด 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000
- กิจกรรม 3.1.6 สงเสรมิ และพฒั นาสวนพุทรา พระนครศรีอยุธยา 120,000 120,000 120,000 120,000 120,000
ประวตั ิศาสตรกรงุ ศรีอยุธยา
1 สนง.เกษตรจงั หวดั
- กิจกรรม 3.1.7 พระราชดํารดิ า นสาธารณสขุ
พระนครศรีอยุธยา
3 อบต.คลองสระบวั
แผนงานท่ี 3 การจดั การหว งโซอปุ ทานภาคการเกษตรอุตสาหกรรม การคา และบริการ
1. โครงการสาํ คญั ที่ 1 ยกระดบั การบริหารจดั การ 2.16
โลจิสตกิ สและโซอ ปุ ทานภาคการเกษตร อตุ สาหกรรม และบริการ
- กจิ กรรมหลกั 1.1 สรางการรับรแู ละสงเสริม 1 สนง.เกษตรจังหวัด 3,129,800 - - - - 3,129,800
การตลาดสมยั ใหมภ าคเกษตร ภาคอตุ สาหกรรม การคา
และบรกิ าร พระนครศรีอยธุ ยา 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 15,000,000
1,700,000 - - - - 1,700,000
- กจิ กรรม 1.1.1 สงเสริมและพฒั นาศกั ยภาพการผลิต 1 สนง.เกษตรจงั หวัด - - - -
และแปรรูปสินคาเกษตรปลอดภยั ในวสิ าหกิจชมุ ชนและ 300,000 300,000
เครือขา ยจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา พระนครศรีอยธุ ยา
- กจิ กรรม 1.1.2 การจัดงานแสดงและจําหนายมหกรรม 1 สนง.เกษตรจังหวดั
สินคา เกษตรพระนครศรีอยุธยา
- กจิ กรรม 1.1.3 การสรา งเครอื ขายและสง เสริมอาชีพ พระนครศรอี ยุธยา
การเกษตรเพ่อื สรางรายไดในชุมชน (เห็ดตับเตา)
1 สนง.เกษตรจงั หวดั
- กจิ กรรม 1.1.4 พัฒนาศักยภาพในการบรหิ ารจัดการ
ตลาดสนิ คาเกษตร และสรา งเครือขายตลาดเกษตรกร พระนครศรีอยธุ ยา
จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
151,817,760 29,906,200 31,906,200 26,906,200 31,906,200 272,442,560
รวมงบประมาณ ประเด็นการพฒั นาท่ี3 9,000,000 9,000,000 9,000,000 9,000,000 9,000,000 45,000,000
คาใชจา ยในการบริหารงานจังหวดั /กลมุ จงั หวัดแบบ 100,251,200 93,365,200 81,098,200 86,098,200 3,520,623,430
บูรณาการ 3,159,810,630
รวมทั้งสิน้
แบบ จ.1-1
(Project Brief รายโครงการ)
แบบฟอรมโครงการแบบยอ (Project Brief) ของโครงการสําคัญภายใตงบประมาณของจังหวัด
ประเดน็ การพฒั นาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา : ประเดน็ การพัฒนาท่ี 1 พัฒนาเมอื งและชมุ ชนนา อยสู ูเมืองแหง
ความสุข
หัวขอ รายละเอียด
1. ชื่อโครงการสาํ คญั สง เสรมิ คุณภาพชวี ิตและความปลอดภยั ของคนทุกกลุมทุกชว งวยั
2. ช่ือแผนงาน พฒั นาและยกระดับความเปนอยูของประชาชนจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา
3. แนวทางการพฒั นา 1. สงเสรมิ และพฒั นาเมอื งและชมุ ชนเพอื่ เมอื งท่ีนาอยูและปลอดภยั
4. หลักการและเหตุผล 2. ยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ของประชาชนในพ้ืนทท่ี ุกกลมุ
5. วัตถปุ ระสงคข องโครงการ ปญ หาสังคมในชุมชนและเมืองของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ท่ีสงผลกระทบตอ
การดําเนินชีวิตประจําวันของประชาชนในพื้นที่ ในปจจุบันประกอบดวย
ปญ หาสถาบันครอบครวั ซงึ่ เปนสถาบันพ้ืนฐาน และเปนสถาบันที่เล็กท่ีสุดใน
สังคม ซ่ึงเปนสถาบันท่ีมีความสําคัญในการขัดเกลาสมาชิกในครอบครัวใหมี
พัฒนาการท่เี หมาะสม และกลายเปน สมาชกิ ที่ดใี นสงั คมหากสถาบันครอบครัว
ไมสามารถทําหนาที่เหลาน้ีไดอยางมีประสิทธิภาพจะทําใหเกิดปญหาทาง
สงั คมตามมา เชน ปญหายาเสพติดซ่ึงถูกกําหนดใหเปนปญหาสําคัญที่รัฐบาล
ตองดําเนินการอยางตอเนื่อง จริงจัง และเรงดวน ปญหาสังคมผูสูงอายุ
เน่ืองจากความสัมพันธระหวางสมาชิกในครอบครัวลดลง จํานวนผูทําหนาที่
ดูแลผูสูงอายุลดลง มีเวลาใหผูสูงอายุลดลง ขาดการใหความรักและอบอุน
ผูสูงอายุจึงถูกทอดท้ิงใหโดดเด่ียวดําเนินชีวิตลําพัง เปนตน เพ่ือใหสามารถ
ยกระดับความเปนอยูของประชาชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ใหอยูใน
สงั คมไดอ ยา งมคี วามสุข อีกทงั้ จงั หวัดพระนครศรีอยุธยาตัง้ อยบู รเิ วณทร่ี าบลุม
ภาคกลางตอนลาง มีแมน ้าํ ไหลผาน 4 สาย ไดแก แมน้ําเจาพระยา แมน้ําปาสัก
แมน ้ําลพบุรีและแมนา้ํ นอ ยโดยเฉพาะบรเิ วณเกาะเมอื งพระนคร จะมชี วงลําน้าํ ท่คี ดเคี้ยว
และแคบทาํ ใหเกดิ ปญหาน้าํ ทวมและการกัดเซาะตล่ิงสงผลใหตลิ่งพังแมนํ้าลําคลองต้ืนเขิน
และดนิ ทรุดตวั กอใหเ กิดความเสียหายตอโบราณสถานและบานเรือน สภาพลํานํ้าของ
จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยามกี ารใชประโยชนเชิงพาณิชย คือทาเรือสินคาและขนสงสินคา
ซ่ึงมีปริมาณการจราจรทางนาํ้ หนาแนน โดยใชเ รอื โยงในการบรรทุกสินคาหนัก
เชน ดิน ทราย นํา้ ตาล ปยุ ถานหิน ซึ่งในชว งที่กระแสนาํ้ แรง การบงั คับเรือจะ
ทาํ ไดยากสงผลใหเ รอื ไปชนกบั ตอมอสะพานอยูบอยครั้ง จึงตองติดตั้งอุปกรณ
กันชนตอมอ เพื่อลดความเสยี หาย เพอื่ ปองกนั และแกไ ขดานภัยพิบัติซึ่งถือเปน
เรื่องเรง ดว น เพราะในบางพื้นทป่ี ญหาการพงั ทลายของตลงิ่ สรา งความเสยี หาย
แกบานเรือนไปจํานวนมากและทําใหต อ งยายท่อี ยอู าศัยไปบริเวณอื่น
1. เพื่อพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน ดานความปลอดภัยใหมีศักยภาพในการ
ใหบรกิ ารเพิม่ ขนึ้
2. เพือ่ ปองกนั และลดอุบตั เิ หตจุ ากการจราจรทางน้าํ
3. ปอ งกันปญหานํา้ ทวมและปองกันตลง่ิ ทรดุ ตัว ซ่งึ กอ ความเสยี หายแกชมุ ชนรมิ นาํ้
4. เพ่ือสนบั สนุนการพฒั นาศักยภาพในการขับเคลอ่ื นงานดานผสู ูงอายุ
5.เพื่อสง เสริมสนับสนนุ การจัดกิจกรรมเพอ่ื การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ผูส ูงอายใุ นมิตวิ ฒั นธรรม
6. เพือ่ สรางชุมชนและสังคมปลอดภยั จากยาเสพตดิ
หัวขอ รายละเอยี ด
1. สดั สว นศนู ยก ารเรียนรูชุมชนตอจาํ นวนหมบู านเพมิ่ ขน้ึ (รอยละ 42)
6. ตัวช้วี ดั และคาเปา หมาย 2. สัดสว นคนอายุ 60 ปข ึ้นไป มีอาชพี และมีรายไดเพิม่ ข้ึน (รอยละ 98.80)
3. อัตราผูป ว ยรายใหมดวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสงู ลดลง (รอยละ 8)
7. พ้ืนที่เปาหมาย 4. สัดสว นจํานวนทีม่ ีคุณภาพอากาศในเกณฑม าตรฐานเพิ่มขึน้ (รอยละ 94)
8. กิจกรรมหลัก 5. สัดสวนขยะมลู ฝอยชุมชนทนี่ าํ ไปใชประโยชน (รอ ยละ 54)
6. อัตราคดอี าญาตอประชากรแสนคนลดลง (คดีตอ ประชากรแสนคน 110)
8.1 กิจกรรมหลกั ท่ี 1 จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
งบประมาณ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต แ ล ะ เ ส ริ ม ส ร า ง สุ ข ภ า พ ข อ ง ค น ทุ ก ก ลุ ม ทุ ก ช ว ง วั ย
ผรู ับผิดชอบ และเสริมสรา งความมนั่ คงและปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ยส ิน
หนวยงานที่เกี่ยวขอ ง พัฒนาคุณภาพชวี ิตและเสริมสรา งสุขภาพของคนทุกกลุมทกุ ชว งวยั
5,601,300 บาท (หาลา นหกแสนหนง่ึ พันสามรอยบาทถวน)
8.2 กิจกรรมหลักท่ี 2 สํานกั งานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยจ ังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
งบประมาณ สาํ นักงานยุตธิ รรมจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา
ผูร ับผดิ ชอบ สงเสริมการจดั การพืน้ ทส่ี าธารณะ การจัดการขยะ และพ้ืนที่สเี ขยี ว
หนวยงานทเี่ กี่ยวของ 1,336,000 บาท (หนงึ่ ลา นสามแสนสามหมนื่ หกพันบาทถว น)
สาํ นักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอมจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา
8.3 กิจกรรมหลักที่ 3 สาํ นกั งานพฒั นาชมุ ชนจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
งบประมาณ เสรมิ สรา งความม่ันคงและปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยสิน
ผูร ับผดิ ชอบ 175,094,670 บาท (หนงึ่ รอยเจ็ดสิบหาลานเกาหมื่นสีพ่ ันหกรอ ยเจ็ดสิบบาทถวน)
หนวยงานท่ีเกี่ยวขอ ง สํานกั งานโยธาธิการและผังเมอื งจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
1. ท่ที าํ การปกครองจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา (ศอ.ปส.จ.อย.)
9. หนวยงานดําเนนิ การ 2. โครงการชลประทานพระนครศรอี ยุธยา
3. แขวงทางหลวงอยธุ ยา
10. ระยะเวลาในการดําเนนิ โครงการ 1. สาํ นกั งานพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ยจ งั หวดั พระนครศรอี ยุธยา
11. งบประมาณ 2. สํานกั งานยตุ ธิ รรมจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
12. ผลผลติ (Output) 3. สํานกั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ มจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา
4. สํานกั งานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
5. สํานกั งานโยธาธิการและผังเมืองจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
6. ท่ีทําการปกครองจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา (ศอ.ปส.จ.อย.)
7. โครงการชลประทานพระนครศรอี ยุธยา
8. แขวงทางหลวงอยุธยา
เดือนตลุ าคม 2566 – เดอื นกนั ยายน 2570
182,031,970 บาท (หน่ึงรอยแปดสิบสองลานสามหมื่นหน่ึงพันเการอย
เจด็ สบิ บาทถวน)
1. มีการปองกันอุบัติเหตุทางน้ําโดยการติดตั้งอุปกรณกันชนตอมอสะพาน
จาํ นวน 1 แหง
2. เขื่อนแล ะ ระ บ บปองกันน้ําทวมใ นจัง ห วัดพระ นค ร ศรีอยุธยา
ไดร บั การปรับปรงุ จาํ นวน 9 แหง
3. จดั อบรมกจิ กรรมคา ยครอบครวั ลอ มรกั ผูเ ขา รวมกจิ กรรม 400 คน
4. จดั กิจกรรมแบบบรู ณาการในโรงเรยี นผูส ูงอายุ จาํ นวน 20 แหง
5. จัดกิจกรรมปองกันและแกไขปญหายาเสพติดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ประกอบดวย 10 กิจกรรม ผูเขารวม
กิจกรรม 29,205 คน
หวั ขอ รายละเอียด
13. ผลลพั ธจ ากการดาํ เนินโครงการ 1. ลดความเสียหายจากปญ หาตลิง่ พังทลายบรเิ วณลํานา้ํ ตาง ๆ ได 9 จุด ทํา
(Outcome) ใหเกดิ ความมน่ั คงปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพยส นิ ของประชาชน
2. ปรมิ าณเรือบรรทกุ สินคา ไดร ับประโยชนจากการตดิ ตั้งอุปกรณกันชนตอมอ
สะพาน จํานวน 93 ลํา/วัน คิดเปนปริมาณนํ้าหนักบรรทุกสินคา 102,422
ตัน/วัน
3. เสรมิ สรางใหเดก็ เยาวชนและผูส งู อายุทเ่ี ขารว มโครงการมีคุณภาพชีวติ ท่ดี ี
4. สรางความเขมแข็งการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดจงั หวดั
พระนครศรอี ยุธยา
แบบ จ.1-1
(Project Brief รายโครงการ)
แบบฟอรม โครงการแบบยอ (Project Brief) ของโครงการสาํ คัญภายใตง บประมาณของจังหวัด
ประเดน็ การพัฒนาจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา : ประเด็นการพฒั นาท่ี 1 พัฒนาเมืองและชมุ ชนนา อยูสเู มอื งแหง
ความสขุ
หวั ขอ รายละเอียด
1. ชื่อโครงการสําคัญ พัฒนาโครงขายการคมนาคมและโลจิสติกสรองรับนโยบายพ้ืนท่ีระเบียงเศรษฐกิจ
2. ชอื่ แผนงาน พิเศษภาคกลางตะวนั ตก (CWEC)
3. แนวทางการพฒั นา พฒั นาระบบขนสง มวลชนขนาดใหญ เพื่อใหเปนระบบการสัญจรหลัก และเช่ือมโยง
4. หลักการและเหตุผล ระบบขนสงของประเทศ
1. สง เสริมและพฒั นาเมอื งและชมุ ชนเพ่อื เมืองทน่ี า อยแู ละปลอดภยั
5. วตั ถุประสงคข องโครงการ 2. พฒั นาระบบการเช่ือมโยงการคมนาคมและการขนสง ทุกมติ ิ
จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา เปนจงั หวัดท่ีมโี บราณสถานและพระอารามหลวง ท่ี
สําคัญหลายแหง ซ่ึงมีประวัติศาสตรและวัฒนธรรมอันยาวนาน เชน วัดมหาธาตุ
วดั พุทไธศวรรย หมบู านญ่ีปุน หมูบานโปรตุเกส อนุสาวรียและพระราชวัง พิพิธภัณฑ
ตลาดน้ํา เปนราชธานขี องไทย ยาวนานที่สุดถึง 417 ป เปน 1 ใน 3 แหลงมรดกโลก
ในประเทศไทย ยังเปนเสนทางที่เช่ือมโยงของภาคอุตสาหกรรม เชน สวน
อุตสาหกรรมโรจนะ นิคมอุตสาหกรรมสหรัตนนคร นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค นิคม
อุตสาหกรรมบางปะอิน การเดินทางระหวางจังหวัดพระนครศรีอยุธยากับจังหวัด
สระบุรี เพ่ือรองรับการขยายตัวของเมืองและพื้นท่ีเศรษฐกิจหลัก และสงเสริมการ
พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของทกุ กลมุ ในสังคม สนับสนนุ ใหเกิดความเชื่อมโยงในอนุภูมิภาค
และในอาเซียนอยางเปน ระบบ โดยมโี ครงขา ยเชือ่ มโยงภายในประเทศที่สนบั สนุนการ
พฒั นาพ้นื ที่ตามแนวระเบียงเศรษฐกิจตางๆ เพอ่ื เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการดาํ เนนิ การ การ
พฒั นาอุตสาหกรรมตอเนื่องเพอ่ื สรางโอกาสทางเศรษฐกิจใหกับประเทศ และพัฒนา
ผูประกอบการในสาขาโลจิสติกสและหนวยงานท่ีมีศักยภาพเพ่ือไปทําธุรกิจใน
ตา งประเทศ โดยเฉพาะการคมนาคมขนสง ยังเปนปจจัยหลักอันดับตนๆ ของประเทศ
ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนรวมถึงการอํานวยการตอการคมนาคมขนสง
ท่ีจะรองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจระดับประเทศ หรือเศรษฐกิจภายในภูมิภาค
หรอื แมก ระทัง่ เปน ประโยชนต อ ประชาชนระดบั รากหญาเพือ่ ไปมาหาสูกนั รองรับการ
ขนสง สนิ คาทางการเกษตรของเกษตรกร ภายใตยทุ ธศาสตรช าติ 20 ป ยุทธศาสตรท่ี
2 รฐั บาลไดใ หน โยบาย ดา นการสรา งความสามารถในการแขง ขัน โดยใหความสําคัญ
กบั การลงทุนพัฒนาโครงสรา งพื้นฐาน ดา นการขนสง ความมั่นคงและพลังงาน ระบบ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการวิจยั และพฒั นา เพอื่ สรา งโอกาสความเสมอภาค และ
เทา เทียมกนั ทางสงั คมสรา งความม่นั คงและการลดความเหลื่อมลํ้าทางเศรษฐกิจและ
สังคม การเติบโตท่ีเปนมิตรกับสิงแวดลอม เพ่ือการพัฒนาอยางย่ังยืนฯ ไดให
ความสําคัญกับพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานเมือง เพ่ือรองรับการเติบโตท่ีเปนมิตรกับ
สิ่งแวดลอม ซ่ึงเปนการกระจายความเจริญสูชุมชนใหทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ การ
พัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานดานการคมนาคมขนสงในระดับชุมชน เพ่ือสงเสริม
คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในชมุ ชนใหด ีข้ึน
พัฒนาการเชื่อมโยงกับทางหลวงตางๆ ใหเกิดเปนโครงขายท่ีมีศักยภาพ
เพอื่ สนับสนนุ การสรา งระบบการเดนิ ทางขนสง ท่ยี ่ังยนื ของประเทศและภมู ภิ าค
หัวขอ รายละเอียด
6. ตวั ชีว้ ัดและคาเปา หมาย อัตราการเสียชีวติ จากอบุ ตั เิ หตบุ นทอ งถนนตอ ประชากรแสนคนลดลง
7. พื้นทีเ่ ปา หมาย (รายตอ ประชากรแสนคน 7)
8. กิจกรรมหลกั จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
พฒั นาโครงสรา งพนื้ ฐานการคมนาคมขนสง หลายรูปแบบ
8.1 กจิ กรรมหลกั ที่ 1 พัฒนาโลจสิ ตกิ สเ ชอื่ มโยงทง้ั ทางบก ทางราง ทางน้าํ
งบประมาณ 390,703,000 บาท (สามรอยเกา สิบลานเจ็ดแสนสามพันบาทถว น)
ผูรับผดิ ชอบ แขวงทางหลวงอยุธยา
หนว ยงานทเ่ี ก่ียวขอ ง แขวงทางหลวงชนบทพระนครศรีอยธุ ยา
1. แขวงทางหลวงอยุธยา
9. หนวยงานดําเนินการ 2. แขวงทางหลวงชนบทพระนครศรีอยธุ ยา
10. ระยะเวลาในการดําเนินโครงการ เดอื นตลุ าคม 2566 – เดือนกันยายน 2570
11. งบประมาณ 390,703,000 บาท (สามรอยเกาสบิ ลา นเจด็ แสนสามพันบาทถว น)
12. ผลผลติ (Output) โครงขายการคมนาคมถนนสายหลัก - สายรอง ไดรับการพัฒนาเพื่อรองรับการเขาสู
13. ผลลัพธจ ากการดาํ เนินโครงการ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น จํานวน 24 สายทาง
(Outcome) ประชาชนมีความพึงพอใจในการดําเนินโครงการพัฒนาและปรับปรุงโครงสราง
พน้ื ฐานเพื่อรองรับระบบโครงขายเช่ือมโยงการคมนาคมขนสงหลายรูปแบบ มีความ
สอดคลอ งกบั นโยบายการพัฒนาประเทศ และตอบรบั กบั ความตองการของประชาชน
ในพ้นื ท่ี
แบบ จ.1-1
(Project Brief รายโครงการ)
แบบฟอรม โครงการแบบยอ (Project Brief) ของโครงการสําคญั ภายใตง บประมาณของจังหวัด
ประเด็นการพัฒนาจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา : ประเดน็ การพัฒนาท่ี 2 ยกระดับอตุ สาหกรรมการทองเทีย่ วอจั ฉริยะ
คุณภาพสูง
หวั ขอ รายละเอยี ด
1. ชื่อโครงการสาํ คัญ สงเสริมการพัฒนาและปรบั ปรงุ แหลง ทอ งเที่ยวใหไดมาตรฐานและความ
2. ชื่อแผนงาน ปลอดภยั ดว ยหลัก Universal Design
3. แนวทางการพฒั นา พัฒนาและปรับปรุงแหลงทอ งเท่ียวตามมาตรฐานและความปลอดภัยดว ยหลัก
4. หลกั การและเหตุผล Universal Design เพ่อื รองรบั สูการทองเที่ยวอัจฉรยิ ะ
พัฒนาและปรบั ปรุงแหลงทองเทยี่ วตามมาตรฐานและความปลอดภัยดว ย
5. วตั ถุประสงคของโครงการ หลกั การออกแบบเพื่อคนท้ังมวล (UNIVERSAL DESIGN)
6. ตัวชีว้ ัดและคา เปา หมาย
7. พ้นื ทีเ่ ปา หมาย จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ไดช่ือวาเมืองมรดกโลก เปนแหลงทองเท่ียว
8. กิจกรรมหลัก ทางประวัติศาสตรท่ีมีชื่อเสียงท้ังในระดับประเทศและระดับโลก จึงเปน
จุดหมายของนกั ทองเทีย่ วทง้ั ชาวไทยและชาวตางชาติ รวมท้งั อยุธยายงั มีแหลง
ทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม แหลงทองเที่ยวเชิงชุมชนใหนักทองเที่ยวไดเปด
ประสบการณการพักผอ นในรูปแบบตางๆอยางหลากหลาย ดังนั้นแลวจังหวัด
พระนครศรอี ยุธยาจงึ จําเปนตองใหความสําคัญกับการพัฒนาแหลงทองเที่ยว
ใหเปนไปตามมาตรฐานและความปลอดภัยในระดับสากล รวมถึงปจจุบันน้ี
จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยายังเล็งเห็นถึงความสําคัญของสถานการณปจจุบันท่ี
สังคมไทยกําลังกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ และความเทาเทียมของทุกกลุม
ประชาชน จึงใหความสําคัญของการออกแบบเพื่อคนท้ังมวล (Universal
Design) ภายใตเง่ือนไขกระบวนการออกแบบที่ตองตอบสนองตอการดําเนิน
ชวี ิตของมวลชน ทั้งผูพิการและผูสูงอายุ เพ่ือใหทุกคนสามารถเขาถึงพื้นที่ได
อยางเทาเทียม เพราะความเทาเทียมในการเขาถึงพ้ืนท่ีเปนส่ิงที่ภาครัฐและ
เอกชนควรใหความสําคัญ โดยคุณคาที่ไดรับจากการออกแบบตามหลัก
Universal Design คือความเปนสากล การกาวทันโลก และการเพิ่มคุณคา
ใหกับองคกรแสดงใหเห็นถึงวิสัยทัศนในการสรางความเสมอภาคใหกับผูคน
ดังนั้นแลวการพัฒนาภาคการทองเท่ียวของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาอยาง
ยั่งยืน จึงควรเริ่มพัฒนาจากจุดเร่ิมตนอยางการพัฒนาและปรับปรุงแหลง
ทองเที่ยวน่นั เอง
1. เพอ่ื เพ่ิมจํานวนแหลงทอ งเทีย่ วที่ไดมาตรฐานและปลอดภัย สามารถเขาถึง
ไดในทกุ กลุมประชากร
2. เพ่ือใหแหลงทองเที่ยวของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเปนท่ียอมรับทั้งใน
ระดับประเทศและระบบสากล
3. ประชาชนทุกกลุมทุกวัยมีความพึงพอใจในสถานที่ทองเท่ียวของจังหวัด
พระนครศรอี ยุธยา
1. รอยละทเ่ี พ่ิมขน้ึ ของรายไดจ ากการทองเทย่ี ว (รอ ยละ 11)
2. รอยละทเ่ี พิ่มข้นึ ของคา ใชจา ยของผูเ ยยี่ มเยือนตอ วนั (รอ ยละ 6)
จังหวดั พระนครศรีอยุธยา
พฒั นาแหลงทองเท่ียวตามมาตรฐานและความปลอดภัยดวยหลัก Universal Design
8.1 กจิ กรรมหลกั ท่ี 1 พฒั นาแหลง ทองเท่ียวตามมาตรฐานและความปลอดภัยดวยหลัก Universal
งบประมาณ Design
ผรู ับผิดชอบ -
หนว ยงานท่ีเกี่ยวขอ ง -
-
9. หนว ยงานดาํ เนินการ -
10. ระยะเวลาในการดําเนนิ โครงการ เดือนตุลาคม 2566 – เดอื นกนั ยายน 2570
11. งบประมาณ -
12. ผลผลิต (Output) จํานวนแหลงทอ งเท่ียวที่ไดม าตรฐานและปลอดภัยดวยหลักการออกแบบเพื่อ
13. ผลลพั ธจากการดาํ เนนิ โครงการ คนทัง้ มวล (Univeral Design)
(Outcome) 1. ประชาชนท่ีมาทองเท่ียวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีความพึงพอใจตอ
สถานท่ีทอ งเที่ยว ในดา นความปลอดภยั และไดมาตรฐานสากล
2. มีจํานวนแหลงทอ งเทีย่ วที่รอองรับผสู งู อายแุ ละผูพกิ ารจาํ นวนเพิม่ ขึ้น
แบบ จ.1-1
(Project Brief รายโครงการ)
แบบฟอรมโครงการแบบยอ (Project Brief) ของโครงการสาํ คัญภายใตงบประมาณของจังหวัด
ประเดน็ การพัฒนาจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา : ประเดน็ การพัฒนาท่ี 2 ยกระดบั อตุ สาหกรรมการทอ งเทยี่ วอจั ฉรยิ ะ
คณุ ภาพสงู
หัวขอ รายละเอยี ด
1. ช่อื โครงการสาํ คัญ พฒั นาศักยภาพผูประกอบการธุรกิจบคุ ลากรดา นการทอ งเทยี่ วเชิงสรางสรรค
2. ชอ่ื แผนงาน พัฒนาศกั ยภาพในการแขงขนั ของผูประกอบการธุรกิจดา นการทอ งเท่ียวเชิง
3. แนวทางการพฒั นา สรา งสรรคในทกุ ระดับ
4. หลกั การและเหตผุ ล ยกระดับการแขง ขนั ของผปู ระกอบการธุรกจิ ดานการทอ งเที่ยวเชงิ สรา งสรรค
และเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล
5. วตั ถุประสงคข องโครงการ
6. ตัวชวี้ ัดและคา เปา หมาย ปจจุบันพื้นท่ีทองเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยายังมีอุปสรรคดาน
กลุมคนท่ีประกอบอาชีพดานการทองเที่ยว และประชาชนในพื้นท่ีทองเที่ยว
ซ่ึงมีปฏิสัมพันธกับนักทองเท่ียวโดยตรง เชน ผูประกอบการรถรับจาง
ผูประกอบการคาขาย ผูประกอบการท่ีพัก รานอาหาร รวมถึงนักเรียน
นักศึกษา ประชาชน ในเรื่องของรูปแบบพฤติกรรมการใหบริการ การ
ปฏิสัมพันธ การชวยเหลือดูแลเมื่อนกั ทองเทีย่ วประสบปญหาซ่ึงหนา ไปจนถึง
อุปสรรคดา นการใชภาษาตา งประเทศ ซึง่ สง ผลกระทบโดยตรงตอภาพลักษณ
ของการทองเทย่ี วและศักยภาพของจงั หวดั ในการบรกิ ารและรองรบั การเติบโต
ดานการทอ งเทีย่ ว หนวยงานทีเ่ ก่ียวขอ งจงึ มีความจาํ เปนท่ีจะตองสรางความรู
ความเขาใจ และปลูกฝง ทศั นคตทิ ถ่ี กู ตอ ง รวมถึงพัฒนาทักษะการบริการดาน
การทองเที่ยวใหกับบุคคลกลุมตางๆในแหลงทองเท่ียว เพื่อประโยชนตอการ
ทอ งเทีย่ วระยะยาว
นอกจากนี้ วกิ ฤติการแพรระบาดของโรคโควดิ -19 นับต้งั แตป 2563 ทํา
ใหเกดิ ผลกระทบอยางรุนแรงตอ ภาคการทอ งเท่ียว และสงผลใหในเวลาตอมา
การดําเนินกิจกรรมดานการทองเท่ียวตองมีการปรับตัวและตองมีการ
ปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมดานการทอ งเทยี่ วทง้ั ผูใชบริการและผูใหบริการ รวมถึง
รูปแบบการบริหารจัดการ อีกทั้งโอกาสในพื้นท่ีที่เกิดข้ึนจากการพัฒนา
โครงสรา งพ้ืนฐานขนาดใหญ เชน ระบบรถไฟความเร็วสูง รถไฟฟาชานเมือง
การเกิดข้นึ ของหา งสรรพสินคา ระดับประเทศ ทาํ ใหภาคแรงงานและบุคลากร
ในอตุ สาหกรรมการทอ งเท่ียวตอ งปรับตวั และพัฒนาทักษะ/รูปแบบการจดั การ
ใหส อดคลอ งและสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ สรา งมูลคาจากโอกาสที่เกิดขึ้นให
มากที่สดุ
1. เพ่ื อพั ฒน าศั กย ภ า พบุ ค ล าก ร ดา นก าร ทอ ง เ ที่ย วข อง จัง ห วั ด
พระนครศรอี ยุธยา
2. เพอ่ื พัฒนารูปแบบการบริการดานการทอ งเท่ียวรองรบั การทองเที่ยวตามวิถี
ใหม (New Normal)
3. เพื่อสรางเครือขายความรวมมือของบุคลากรท่ีเก่ียวของกับอุตสาหกรรม
การทอ งเที่ยวในพ้นื ที่
1. รอยละที่เพิ่มขึ้นของรายไดจ ากการทอ งเทีย่ ว (รอยละ 11)
2. รอยละทีเ่ พมิ่ ขน้ึ ของคา ใชจายของผเู ยยี่ มเยอื นตอวนั (รอยละ 6)
7. พื้นท่เี ปาหมาย หวั ขอ รายละเอียด
8. กิจกรรมหลกั
จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา
8.1 กจิ กรรมหลกั ที่ 1 ยกระดับการแขง ขนั ของผูประกอบการธุรกจิ ดานการทองเทยี่ วเชิงสรางสรรค
งบประมาณ และเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล
ผูรบั ผิดชอบ พฒั นาทกั ษะการเปน ผูประกอบการดานการทอ งเท่ยี วเชงิ สรา งสรรค
หนว ยงานที่เก่ียวของ 2,000,000 บาท (สองลานบาทถวน)
สาํ นักงานการทอ งเทย่ี วและกฬี าจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
9. หนวยงานดําเนนิ การ -
10. ระยะเวลาในการดําเนนิ โครงการ สํานักงานการทองเทีย่ วและกฬี าจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
11. งบประมาณ เดอื นตุลาคม 2566 – เดอื นกนั ยายน 2570
12. ผลผลติ (Output) 2,000,000 บาท (สองลา นบาทถวน)
1. กจิ กรรมพัฒนาศักยภาพบคุ ลากรจาํ นวน 4 กจิ กรรม
13. ผลลัพธจ ากการดําเนินโครงการ 2. จาํ นวนบคุ ลากร/แรงงานทเ่ี ขารว มโครงการไมนอยกวา 400 คน
(Outcome) 1. จาํ นวนนกั ทองเท่ียวและรายไดจากการทองเท่ยี วในพ้ืนท่เี พ่ิมมากขนึ้
2. นกั ทองเที่ยวมคี วามพึงพอใจตอการบริการดานการทองเที่ยวในพ้ืนท่ีมากขึ้น
3. การบริหารจัดการของภาคสวนดา นการทอ งเท่ียวในพ้ืนที่มีศักยภาพในการ
รองรบั นกั ทองเทย่ี วมากขนึ้
แบบ จ.1-1
(Project Brief รายโครงการ)
แบบฟอรมโครงการแบบยอ (Project Brief) ของโครงการสาํ คญั ภายใตง บประมาณของจังหวัด
ประเด็นการพัฒนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา : ประเดน็ การพัฒนาที่ 2 ยกระดบั อุตสาหกรรมการทอ งเที่ยวอจั ฉริยะ
คุณภาพสูง
หวั ขอ รายละเอียด
1. ชือ่ โครงการสาํ คัญ พฒั นารูปแบบการทองเท่ียวในความสนใจพิเศษโดยการสงเสริมตลาดเฉพาะ
2. ชือ่ แผนงาน กลุมดว ยเทคโนโลยีดจิ ิทัล
3. แนวทางการพฒั นา พัฒนารปู แบบและกลยุทธก ารตลาดดา นการทอ งเทีย่ วดว ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล
4. หลกั การและเหตุผล
สงเสริมกิจกรรมการทองเท่ียวการตลาดเฉพาะกลุม และการประชาสัมพันธ
5. วัตถปุ ระสงคของโครงการ การทองเท่ยี วดว ยเทคโนโลยดี ิจิทลั
6. ตัวช้ีวัดและคาเปา หมาย
7. พนื้ ทเี่ ปาหมาย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเปนแหลงทองเท่ียวยอดนิยมของท้ังชาวไทย
8. กจิ กรรมหลกั และชาวตา งประเทศ จากสถติ ิตวั เลขดา นการทองเท่ยี วเปรียบเทยี บ ปรากฏวา
จังหวัดพระนครศรอี ยุธยามจี าํ นวนนักทองเที่ยวมากท่ีสุด ติด 1 ใน 10 อันดับ
แรกของประเทศ แตขณะเดียวกันรายไดจากการทองเท่ียวกลับอยูใน
อนั ดับเกือบ 20 ของประเทศ เน่ืองจากลกั ษณะรูปแบบการทองเท่ียวในพื้นท่ี
ยงั ขาดการดึงดดู การใชจา ยจากนักทองเท่ียว และปญหาจํานวนวันพักคางท่ีมี
อัตราไมสูงมาก ท้ังน้ี ในชวงวิกฤตการแพรระบาดของโรคโควิด-19 จังหวัด
พระนครศรอี ยธุ ยาไดท ําการพัฒนาปรับปรุงไฟฟาสองสวางกลุมโบราณสถาน
ภายในมรดกโลกและถนนเสน หลักท่ีเขาสูแหลงทองเที่ยวท่ีชํารุดมานานเกือบ
10 ป ทําใหเปนการเพิ่มศักยภาพในการดึงดูดการทองเที่ยวยามคํ่าคืน
ในอนาคต นอกจากนี้จังหวัดพระนครศรีอยุธยายังมีพ้ืนฐานดานวัฒนธรรมท่ี
ทรงคุณคา เชน การเปนดินแดนตนกําเนิดโขนไทย หรือแมกระทั่งศักยภาพ
การทองเท่ียวเชิงกีฬา ที่สามารถตอยอดใหเกิดมูลคาเพ่ิมดานการทองเที่ยว
ได ซ่ึง ใ นช วง เ ริ่ม ตนข อง ก าร เปด เมื อง รั บนัก ทอ ง เท่ี ยว จัง ห วั ด
พระนครศรีอยุธยาจําเปนตองจัดกิจกรรมสงเสริมการทองเที่ยวยามกลางคืน
เพ่ือกระตุนและประชาสัมพันธใหมีการรับรูถึงความพรอมและศักยภาพของ
การทอ งเทย่ี วยามคา่ํ คืนในจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา และกระตุนจาํ นวนวันพัก
คางในพ้นื ที่ทจ่ี ะสามารถสง ผลใหร ายไดจ ากการทองเทยี่ วในพน้ื ท่ปี รับตัวสูงข้ึน
โดยมีเปาหมายเพิ่มรายไดจากการทองเที่ยวใหสูงถึง 20,000 ลานบาทตอป
ภายในป พ.ศ. 2566
1. เพื่อเพ่มิ จํานวนนกั ทองเที่ยวและรายไดจากการทองเทย่ี ว
2. เพ่อื เผยแพรศ ิลปวฒั นธรรมผา นกจิ กรรมการทอ งเทยี่ ว
3. เพื่อเพม่ิ ศักยภาพการทอ งเท่ียวยามค่ําคืนของจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
1. รอยละทเี่ พมิ่ ขนึ้ ของรายไดจากการทอ งเทย่ี ว (รอ ยละ 11)
2. รอยละทเี่ พม่ิ ข้นึ ของคา ใชจ า ยของผเู ยีย่ มเยือนตอ วนั (รอ ยละ 6)
จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
สงเสริมกิจกรรมการทองเท่ียวการตลาดเฉพาะกลุม และการประชาสัมพันธ
การทองเทย่ี วดว ยเทคโนโลยดี จิ ิทัล
หวั ขอ รายละเอียด
8.1 กจิ กรรมหลกั ท่ี 1 สง เสริมและพัฒนารปู แบบกิจกรรมการทองเที่ยวเชงิ สรา งสรรค
งบประมาณ 45,700,000 บาท (สี่สิบหาลา นเจ็ดแสนบาทถวน)
ผรู บั ผิดชอบ สาํ นกั งานการทองเทยี่ วและกีฬาจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
หนว ยงานทเ่ี กี่ยวของ 1. ท่ที าํ การปกครองจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
2. สํานกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
8.2 กิจกรรมหลกั ที่ 3. สาํ นกั งานพัฒนาชมุ ชนจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
งบประมาณ 4. สาํ นกั งานพาณชิ ยจ ังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
ผูรับผิดชอบ สงเสริมการตลาดแบบเฉพาะกลมุ มุงเนนการส่ือสารคุณคาเชิงสรางสรรคดวย
หนว ยงานท่เี กี่ยวขอ ง เทคโนโลยดี จิ ิทัล
6,000,000 บาท (หกลานบาทถว น)
9. หนว ยงานดําเนนิ การ สาํ นักงานประชาสมั พันธจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา
10. ระยะเวลาในการดาํ เนินโครงการ 1. สาํ นักงานจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา
11. งบประมาณ 2. สํานกั งานวัฒนธรรมจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา
12. ผลผลิต (Output) สํานกั งานการทอ งเที่ยวและกีฬาจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
เดือนตลุ าคม 2566 – เดอื นกันยายน 2570
13. ผลลัพธจ ากการดําเนินโครงการ 51,700,000 บาท (หาสิบเอด็ ลานเจด็ แสนบาทถว น)
(Outcome) 1. จางเหมาจดั กจิ กรรมสงเสริมการทอ งเทย่ี ว จาํ นวน 10 งาน
2. จางเหมาจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรมจังหวัด
พระนครศรอี ยธุ ยา จํานวน 1 งาน ประกอบดวยการคัดเลือกแหลงทองเท่ียว
เชิงวัฒนธรรมเขารว มโครงการ อยา งนอย 5 แหง และทาํ การศกึ ษาบริบทพน้ื ท่ี
คนหาเสนหอัตลักษณ พัฒนาผลิตภัณฑทางวัฒนธรรม การจัดทําแพคเกจ
โปรแกรมสงเสริมการทองเที่ยวการ และ Kick off ประชาสัมพนั ธแหลง ทองเท่ียว เปน ตน
3. จางเหมาพัฒนาและเผยแพรขอมูลประ ชาสัมพันธของจังหวัด
พระนครศรีอยธุ ยา (Go Ayutthaya)
4. จางเหมาผลิตสื่อประชาสัมพันธ ONLINE เพ่ือสงเสริมการทองเที่ยวนคร
ประวตั ศิ าสตรพระนครศรีอยธุ ยา
5. จา งเหมาประชาสัมพันธเชิงรุกและพัฒนาเครือขายประชาสัมพันธในพื้นท่ี
จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา จํานวน 1 งาน
6. จางเหมาจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจังหวัด
พระนครศรีอยธุ ยา จาํ นวน 1 งาน
1. มีกิจกรรมสงเสริมการทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตรและวัฒนธรรมดวย
แนวคดิ เศรษฐกิจสรา งสรรค เพือ่ เพิ่มมลู คาดานการทองเทยี่ วแกผปู ระกอบการ
ภาคการทอ เทย่ี ว และชมุ ชน
2. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไดรับการ
อนุรกั ษฟนฟู และไดร ับการเผยแพรประชาสมพนั ธ
ใหเ ปนท่รี บั รูข องนกั ทองเท่ียว
3. สามารถกระตนุ การใชจ ายของนักทองเที่ยวและการพักคางในพ้ืนที่จังหวัด
พระนครศรอี ยุธยา จากกิจกรรมสง เสริมการทอ งเทยี่ วตางๆ
4. ประชาชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีอาชพี และรายไดจากการทอ งเท่ียวเพ่มิ ข้ึน
5. รายไดจ ากการทองเที่ยวและอัตราวันพักคางในพนื้ ท่เี พิ่มมากขนึ้
6. ภาพลักษณความงดงามของแหลงทองเท่ียวไดรับการเผยแพรอยาง
กวา งขวางผานสือ่ ประชาสัมพนั ธของโครงการ