The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวพระราชดำริการพัฒนาสู่ความยั่งยืน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Charan ya, 2021-12-02 22:59:22

แนวพระราชดำริการพัฒนาสู่ความยั่งยืน

แนวพระราชดำริการพัฒนาสู่ความยั่งยืน

เนน้ การทำ� ประชาพจิ ารณต์ ง้ั แตก่ อ่ นเรมิ่ โครงการ โดยศกึ ษาขอ้ มลู พนื้ ทแี่ ละนำ� มาวางแผน
ให้ความช่วยเหลือ โดยทรงให้ความส�ำคัญกับการรับฟังความคิดเห็นรวมท้ังค�ำวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อ่ืน
อย่างชาญฉลาดซึ่งคือการระดมสติปัญญา และประสบการณ์ที่หลากหลายมาอ�ำนวยประโยชน์ในการ
ปฏิบัติงาน ดังพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่ข้าราชการพลเรือน เนื่องในวันข้าราชการพลเรือน
วนั พฤหัสบดี ที่ ๑ เมษายน ๒๕๓๖ ดงั น้ี

“ข้าราชการมหี นา้ ที่ส�ำคัญส่วนหนงึ่ ทจ่ี ะต้องประพฤติปฏบิ ตั ิต่อบคุ คลทง้ั ปวง
ดว้ ยความสุจรติ จรงิ ใจ วางตวั ใหพ้ อเหมาะพอสมกบั ฐานะตำ� แหนง่ พรอ้ มกับรักษา
ความสุภาพอ่อนโยนไวใ้ หเ้ หนยี วแน่นสม่�ำเสมอ. นอกจากนน้ั ยังจะต้องมีความเสยี สละ
อดทน ร้จู ักเกรงใจ ใหอ้ ภยั ทั้งโอนออ่ นผ่อนตามกันและกันด้วยเหตุผล. และส�ำคัญที่สุด
จะต้องหดั ทำ� ใจให้กว้างขวางหนกั แนน่ รู้จกั รบั ฟงั ความคิดความเห็นแม้กระทัง่ ค�ำวิพากษ์วจิ ารณ์
จากผอู้ ื่นอยา่ งฉลาด เพราะการร้จู ักรบั ฟังอย่างฉลาดน้นั แท้จริงคือการระดมสติปัญญา

และประสบการณ์อนั หลายหลาก มาอ�ำนวยประโยชนใ์ นการปฏบิ ัตบิ ริหารงาน
ให้ประสบความส�ำเร็จทสี่ มบูรณ์นั่นเอง. ”

เน้นการรอมชอมในการเจรจา หลีกเล่ียงการจะสร้างปัญหาความเดือดร้อนให้คน
กลุม่ หน่ึงโดยสร้างความสะดวกสบายและผลประโยชน์ใหค้ นอีกกลมุ่ หน่งึ ไมว่ ่าพ้นื ทหี่ รอื โครงการนัน้ ๆ
จะมีความเหมาะสมทางด้านเทคนิคและวิชาการ ตลอดจนก่อประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและ
สังคมประการใดกต็ าม

อธิบายถึงความจ�ำเป็นและผลกระทบที่จะเกิดข้ึน หากจะท�ำโครงการใดจะทรงช้ีแจง
ถงึ เหตผุ ลความจ�ำเป็นและผลทจี่ ะเกดิ ขึ้นแกท่ ุกฝา่ ย รวมทงั้ ผู้น�ำชมุ ชนในทอ้ งถ่นิ เมอื่ ประชาชนในพ้ืนที่
เห็นด้วยแล้ว หน่วยราชการต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องและร่วมด�ำเนินการมีความพร้อม จึงจะพระราชทาน
พระราชด�ำริให้ดำ� เนนิ โครงการนนั้ ๆ ตอ่ ไป โดยมหี ลกั ปฏบิ ัตใิ นการมีส่วนร่วม

ยึดหลักประชาชนทุกคนต้องได้ประโยชน์จากโครงการสาธารณะ และคนส่วนใหญ่
ต้องดูแลชว่ ยเหลอื คนสว่ นนอ้ ย โดยวิธีการท�ำประชาพจิ ารณข์ องพระองค์ เปน็ วธิ ีท่ีเรยี บงา่ ยและตรงไป
ตรงมา พระองค์จะทรงอธิบายถึงวัตถุประสงค์และผลที่จะได้รับจากโครงการพัฒนากับพสกนิกร
ท่ีมาเฝ้าฯ หลังจากน้ันจะทรงถามถึงความสมัครใจและให้ตกลงกันเองในกลุ่มท่ีจะได้รับประโยชน์และ
กล่มุ ทจ่ี ะต้องเสยี สละในขณะน้นั เลย หลงั จากได้มีการตกลงใจโดยเสียงเปน็ เอกฉนั ทแ์ ล้ว ก็จะทรงเรยี ก
ผนู้ �ำทอ้ งถิ่น เช่น กำ� นนั ผู้ใหญบ่ า้ น จนกระทั่งถงึ นายอ�ำเภอ และผู้วา่ ราชการจงั หวดั ให้มารบั ทราบและ
ดำ� เนนิ การในขน้ั ตน้ เชน่ การจดั การในปญั หาเรอื่ งกรรมสทิ ธใ์ิ นทด่ี นิ กอ่ นทจี่ ะพระราชทานใหห้ นว่ ยงาน
ปฏิบัติทเี่ กยี่ วขอ้ งดำ� เนนิ การในเชิงบริหารและวชิ าการต่อไปจนเสร็จสนิ้ โครงการ

(๔) ประโยชน์สว่ นรวม

ในการด�ำเนินการใด ๆ เพื่อให้เกิด “ประโยชน์ ส่วนรวม” นั้น พระบาทสมเด็จพระบรม

197

ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร ทรงเนน้ ใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องตน
อย่างเต็มความสามารถลงมือท�ำ โดยต้องปรับ
เปลี่ยนความคิดและวิธีปฏิบัติให้สอดคล้องกัน
ร่วมกันแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมโดยค�ำนึงถึง
ประโยชน์ของส่วนรวมเป็นหลัก โดยผู้ท่ีท�ำให้
เกดิ ประโยชนส์ ว่ นรวมยอ่ มไดร้ บั ประโยชนส์ ว่ น
ตนด้วย กิจการท่ีด�ำเนินการนั้นก็จะสามารถ
บรรลุผล และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมอย่าง
แท้จริง ดงั แนวพระราชด�ำริดงั น้ี

ปฏิบัติหน้าท่ีของตนอย่างเต็ม
ความสามารถ ผู้ที่มีภาระหน้าที่ในเร่ืองใดอยู่
ควรเร่งกระท�ำให้ส�ำเร็จอย่างเต็มก�ำลังความรู้
ความสามารถ โดยบรสิ ทุ ธใิ์ จและจรงิ ใจ ดงั พระราชดำ� รสั พระราชทานแกป่ ระชาชนชาวไทยในโอกาสขน้ึ
ปีใหม่ พทุ ธศักราช ๒๕๒๘ ความตอนหน่งึ วา่

“…ผู้ใดมภี าระหนา้ ที่อันใดอยู่ กเ็ รง่ กระท�ำให้สำ� เร็จลุล่วงไป ใหท้ ันการณ์
ทันเวลา โดยเตม็ ก�ำลงั ความรคู้ วามสามารถ และโดยบริสุทธจ์ิ รงิ ใจ. ผลงานของ
แต่ละคนจักไดป้ ระกอบส่งเสรมิ กันขน้ึ เปน็ ความส�ำเร็จและความมั่นคงวัฒนาของ

ประเทศชาติในทสี่ ดุ . ...”
ลงมอื ท�ำความส�ำเรจ็ จึงจะเกดิ มีขึ้น โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาตอ้ งลงมอื ทำ� เลย จะไมเ่ สีย
เวลาและเกิดผลทันที ดังพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันพฤหัสบดี ท่ี ๒๑ มกราคม ๒๕๔๒ ความตอนหนึง่ ว่า

“...คนเราถึงจะมคี วามรู้ความคิดสกั เพียงใด ถา้ ไมล่ งมอื ท�ำ กม็ ีแตพ่ าตวั ให้
ฟงุ้ เฟ่ืองไปตา่ ง ๆ โดยปราศจากประโยชนแ์ ละความส�ำเรจ็ . เมอ่ื ลงมือทำ� ประโยชน์

และความส�ำเร็จจึงจะเกิดมีขึ้น. ...”
ปรับเปลี่ยนความคิดและวิธีปฏิบัติให้สอดคล้องกัน เพื่องานส่วนรวมของคนท้ังชาติ
ดังพระราชด�ำรัสพระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาสขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๓๕
วนั องั คาร ที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๓๔ ความตอนหน่งึ วา่
“…การทำ� นุบ�ำรุงบ้านเมืองน้ัน เป็นงานสว่ นรวมของคนท้ังชาติ จึงเป็นธรรมดา
อยู่เอง ท่ีจะต้องมีความขดั แยง้ เกิดขึ้นบา้ ง จะให้ทุกคนทกุ ฝ่ายมีความคดิ เห็นสอดคล้อง

198

ตอ้ งกันตลอดทกุ ๆ เร่อื งไป ยอ่ มเปน็ การผดิ วสิ ัย. เพราะฉะน้นั แตล่ ะฝา่ ย แตล่ ะคน
จงึ ควรจะค�ำนงึ ถงึ จุดประสงคร์ ่วมกนั คอื ความเจรญิ ไพบูลยข์ องชาติ เป็นขอ้ ใหญ.่
ทุกฝา่ ยชอบทีจ่ ะท�ำใจใหเ้ ทยี่ งตรงเปน็ กลาง ทำ� ความคดิ ความเหน็ ให้กระจ่างแจ่มใส
ทำ� ความเข้าใจอนั ดใี นกันและกันให้เกดิ ขน้ึ แล้วน�ำความคิดเห็นของกันและกนั นน้ั
มาพจิ ารณาเทยี บเคยี งกนั โดยหลกั วชิ า เหตผุ ล ความชอบธรรม และความเมตตาสามคั คี ใหเ้ หน็ แจง้ จรงิ .

ทกุ ฝา่ ยจะสามารถปรบั เปลยี่ นความคดิ และวธิ ปี ฏบิ ตั ิ ใหส้ อดคลอ้ ง
เขา้ รปู เขา้ รอยกนั ไดท้ กุ เรอ่ื ง. …”

การก�ำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาท่ีเหมาะสม ต้องสร้างความเข้าใจที่ชัดเจนและ
เทยี่ งตรง และขอ้ สำ� คญั อกี ประการหนง่ึ คอื ทกุ ฝา่ ยตอ้ งตระหนกั ถงึ ประโยชนส์ ว่ นรวมเปน็ เปา้ หมายหลกั
ในการปฏิบัติตนและปฏิบัติงาน ดังพระราชด�ำรัสพระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยในโอกาสข้ึนปีใหม่
พุทธศกั ราช ๒๕๓๓ ความตอนหน่งึ ว่า

“…การแกป้ ญั หานนั้ ถา้ ไมท่ ำ� ใหถ้ กู เหตถุ กู ทาง ดว้ ยความรอบคอบระมดั ระวงั
มกั จะกลายเปน็ การเพมิ่ ปญั หาใหม้ ากและยงุ่ ยากขน้ึ . แตล่ ะฝา่ ยจงึ ควรจะตงั้ ใจพยายาม
ทำ� ความคดิ ความเหน็ ใหก้ ระจา่ งและเทย่ี งตรง เพอ่ื จกั ไดส้ ามารถเขา้ ใจปญั หาและเขา้ ใจ
กนั และกนั อยา่ งถกู ตอ้ ง. ความเขา้ ใจทถี่ กู ตอ้ งแนช่ ดั นี้ จะชว่ ยใหเ้ ลง็ เหน็ แนวทางปฏบิ ตั ิ
แกไ้ ขอนั เหมาะสม ซงึ่ จะนำ� ไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ. อกี ประการหนงึ่ อนั เปน็ ขอ้ สำ� คญั
ทกุ ฝา่ ยจะตอ้ งตระหนกั ในใจเสมอ วา่ ประโยชนส์ ว่ นรวมนน้ั เปน็ ประโยชนท์ แ่ี ตล่ ะคนพงึ
ยดึ ถอื เปน็ เปา้ หมายหลกั ในการปฏบิ ตั ติ นและปฏบิ ตั งิ าน เพราะเปน็ ประโยชนท์ ย่ี ง่ั ยนื

แทจ้ รงิ ซง่ึ ทกุ คนมสี ว่ นไดร้ บั ทว่ั ถงึ กนั . …”
ค�ำนงึ ถึงประโยชนส์ ว่ นรวมเป็นส�ำคัญ ผทู้ ่ีท�ำงานให้เกิดประโยชน์แกส่ ่วนรวมยอ่ มได้รบั
ประโยชน์ส่วนตนด้วย ผู้ท่ีท�ำงานโดยเห็นแก่ตัวเบียนประโยชน์ส่วนรวมย่อมบั่นทอนความมั่นคง
ของประเทศ และทสี่ ดุ ตนเองจะเอาตวั ไมร่ อด ทกุ คนจะมคี วามสขุ ความเจรญิ ไดก้ ด็ ว้ ยทำ� งานเพอ่ื ประโยชน์
ส่วนรวม ดังพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ประกาศนียบัตร และอนปุ รญิ ญาบตั ร
แก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษาสาขาวิชาและวิชาต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วนั พฤหสั บดี ท่ี ๑๖ มกราคม ๒๕๑๒ ความตอนหนงึ่ วา่

“...ทกุ คนมชี าตบิ า้ นเมอื งเปน็ ทเี่ กดิ ทอี่ าศยั ทกุ คนจะมคี วามสขุ ความเจรญิ ได้
กเ็ พราะบา้ นเมอื งเปน็ ปรกติมัน่ คง ผ้ทู ี่ทำ� งานใหเ้ กิดประโยชนแ์ กส่ ่วนรวม
ย่อมไดร้ ับประโยชน์เปน็ สว่ นของตนด้วย ผู้ท่ที �ำงานโดยเหน็ แก่ตวั เบยี ดเบยี นประโยชน์ส่วนรวม
ย่อมบนั่ ทอนท�ำลายความมั่นคงของประเทศชาติ และทส่ี ดุ ตนเองก็จะเอาตวั ไม่รอด
ขอให้ทุกคนเตรยี มกายเตรียมใจท�ำงานเพื่ออนาคตของชาตไิ ทยของเราตอ่ ไป…”

199

ตวั อยา่ งพระราชกรณยี กจิ

การจะเขา้ ไปพฒั นาชมุ ชนใด ๆ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร ทรงยึดหลัก “ภูมิสงั คม : ดนิ น้ำ� ลม ไฟ” ทีใ่ หค้ วามสำ� คัญกบั สภาพแวดลอ้ มทีอ่ ย่รู อบ
ตัวคน รวมท้ังทรงท�ำประชาพิจารณ์ให้ประชาชนได้เข้ามา “มีส่วนร่วม” โดยทรงเน้นอธิบายถึงความ
จ�ำเป็นและผลที่จะเกิดจากโครงการ เพื่อหลีกเล่ียงความขัดแย้ง รวมท้ังสอบถามความเห็นว่ามีความ
พร้อมและยินดที ่จี ะรว่ มดำ� เนินการพฒั นานนั้ ๆ หรือไม่ เพื่อให้เป็นการ “ระเบิดจากขา้ งใน” โดยยดึ
“ประโยชน์สูงสุดของส่วนรวมและประเทศชาติ” โดยหากได้ผลดีแล้วจึงขยายผลออกไปในวงกว้าง
ต่อไป ดังพระราชกรณียกิจและโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริมากมายท่ีล้วนมุ่งประโยชน์สุข
แก่ประชาชนและประเทศชาติเป็นหลักใหญ่ โดยทรงเริ่มต้ังแต่การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่เป็น
ปัจจัยส�ำคัญในการด�ำรงชีวิต เพ่ือให้พสกนิกรของพระองค์มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จนถึงการวางรากฐาน
การพัฒนาทีม่ ั่นคงและยงั่ ยนื อาทิ

การเกษตร

แนวพระราชดำ� รเิ กย่ี วกบั การพฒั นาประสทิ ธภิ าพการผลติ ทางเกษตรทสี่ ำ� คญั คอื การทที่ รงเนน้
ในเรื่องของการคน้ คว้า ทดลอง และวจิ ัยหาพันธุพ์ ชื ตา่ ง ๆ ใหม่ ๆ ท้งั พชื เศรษฐกิจ เชน่ ข้าว หม่อนไหม
ยางพารา ฯลฯ พชื เพ่ือการปรบั ปรงุ บ�ำรุงดิน และพืชสมุนไพร ตลอดจนการศกึ ษาเก่ยี วกบั แมลงศตั รูพชื
รวมท้ังพันธุส์ ัตว์ตา่ ง ๆ ท่ีเหมาะสม เชน่ โค กระบอื แพะ พนั ธุป์ ลา และสัตว์ปีกทง้ั หลาย เพ่อื แนะน�ำ
ให้เกษตรกรน�ำไปปฏิบัติได้ ราคาถูก ใช้เทคโนโลยีท่ีง่ายและไม่สลับซับซ้อน พระองค์ทรงเห็นว่า
การพัฒนาการเกษตรที่จะได้ผลจริงน้ัน ต้องลงมือทดลองค้นคว้า ปฏิบัติอย่างค่อยเป็นค่อยไป
มงุ่ ใชป้ ระโยชน์จากธรรมชาตใิ หม้ ากทส่ี ดุ

200

การสง่ เสริมอาชพี

สำ� หรบั การส่งเสรมิ อาชพี น้ัน หากเป็น
โดยทางอ้อมแล้วโครงการอันเน่ืองมาจาก
พระราชด�ำริส่วนใหญ่ เม่ือได้ด�ำเนินการบรรลุ
วัตถุประสงค์ของโครงการอันเน่ืองมาจาก
พระราชดำ� รแิ ลว้ จะทำ� ใหเ้ กดิ การสง่ เสรมิ อาชพี
แก่ราษฎรในพื้นที่ใกล้เคียง โดยเฉพาะศูนย์
ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ
ท้งั หลายนัน้ จุดมงุ่ หมายทส่ี �ำคัญของการจัดตง้ั
ข้ึนมาเพื่อที่จะให้มีการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง
วิจัย เพ่ือแสวงหาแนวทางและวิธีการพัฒนาด้านต่าง ๆ ท่ีเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและการ
ประกอบอาชพี ของราษฎรทอ่ี าศัยอยู่ในภูมภิ าคนัน้ ๆ เพอื่ ใหร้ าษฎรสามารถนำ� ไปปฏบิ ตั ไิ ด้อยา่ งจรงิ จงั

สว่ นโครงการประเภทการสง่ เสรมิ อาชพี โดยตรงนนั้ มจี ำ� นวนไมน่ อ้ ย ทง้ั นเ้ี พอื่ เปน็ การชว่ ยเหลอื
ให้ประชาชนสามารถพ่ึงตนเองได้ ดังเช่น โครงการศิลปาชีพท่ัวประเทศ โครงการฝึกอบรมและ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรในหมู่บ้านรอบศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ โครงการส่งเสริมอุตสาหกรรม
น้�ำมันปาล์มขนาดเล็ก โครงการศูนย์บริการการพัฒนาขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ผลบ้านไร่ จังหวัดเชียงใหม่
และโครงการอ่นื ๆ อีกมาก

สาธารณสขุ

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงให้
ความส�ำคัญกับงานสาธารณสุขเป็นอย่างย่ิง ดังจะเห็นได้ว่าโครงการที่พระราชทานให้กับประชาชนใน
ระยะแรก ๆ เป็นการพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการก่อสร้างสถานบริการสาธารณสุข
และระยะต่อมาเป็นโครงการพัฒนาสุขภาพอนามัยให้แก่ประชาชน เม่ือประชาชนมีร่างกายท่ีสมบูรณ์
แขง็ แรงจะน�ำไปสู่สขุ ภาพจิตท่ีดี และสง่ ผลใหก้ ารพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดีตามไปด้วย

สวัสดกิ ารและสังคม

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริด้านสวัสดิการสังคม เป็นโครงการเพ่ือช่วยเหลือราษฎร
ให้มีที่อยู่อาศัย ท่ีท�ำกิน และได้รับสิ่งอ�ำนวยความสะดวกขั้นพ้ืนฐานท่ีจ�ำเป็นในการด�ำรงชีวิต ท้ังน้ี
เปน็ การส่งเสริมใหร้ าษฎรมีความเปน็ อยทู่ ีด่ ขี ้ึน โดยจัดหาทีอ่ ยอู่ าศัยและที่ท�ำกินให้แกร่ าษฎร ตลอดจน
ส่งิ จำ� เปน็ ขัน้ พน้ื ฐานทป่ี ระชาชนพึงจะได้รบั เช่น แหล่งน�้ำเพอ่ื ใชใ้ นการอปุ โภคบริโภค เพอ่ื ให้มาตรฐาน
ความเปน็ อย่ขู องราษฎรดขี ึ้น พออยู่ พอกนิ ดำ� รงชีวติ อยู่ด้วยความผาสกุ

201

โครงการพระราชด�ำรทิ ส่ี �ำคญั อนื่ ๆ

โครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำ� ริท่สี �ำคัญอ่ืน ๆ ได้แก่ โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชด�ำริ
นอกเหนอื จากโครงการท้ัง ๘ ประเภททีร่ ะบมุ าแลว้ ข้างต้น เช่น โครงการกอ่ สรา้ งเข่อื นป้องกันน้�ำทะเล
กดั เซาะอันเนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ จังหวัดเพชรบรุ ี และโครงการด้านการศกึ ษา การวิจัย การจัดและ
พัฒนาที่ดนิ เปน็ ตน้

บทสรปุ : “เข้าใจ เข้าถงึ พฒั นา” หลักการพัฒนาเพ่ือความสุขของ
ปวงประชาอยา่ งยั่งยนื

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรง
ตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั และความสมั พนั ธข์ องภมู สิ งั คมไดแ้ ก่ ทรพั ยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม และมนษุ ย์
ที่จะต้องด�ำเนินชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างย่ังยืน ทรงชี้แนะถึงความส�ำคัญของการอนุรักษ์และพัฒนา
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสภาพแวดลอ้ มควบคไู่ ปกบั การพฒั นาคน ดงั นน้ั ความเสอ่ื มโทรมและการสญู เสยี
ทรพั ยากรธรรมชาติท่เี กิดจากการใชอ้ ยา่ งฟุ่มเฟอื ย ไมย่ ้งั คดิ ขาดความระมดั ระวังน้ัน จำ� เปน็ ที่จะต้องมี
การสรา้ งเสรมิ ขนึ้ มาทดแทน เพอื่ มใิ หเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ วงจรชวี ติ ของการอยรู่ ว่ มกนั ของสรรพสง่ิ ในระบบ
นิเวศ ซ่ึงเป็นไปตามแนวพระราชด�ำริในเรื่อง “การพัฒนาอย่างยั่งยืน” ดังพระบรมราโชวาทในพิธี
พระราชทานปรญิ ญาบตั รแกน่ สิ ติ จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั ณ จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั วนั พฤหสั บดี ท่ี
๑๐ กรกฎาคม ๒๕๒๓ ความตอนหน่งึ ว่า

“...การจะพัฒนาทกุ ส่งิ ทกุ อย่างให้เจริญขึน้ นั้น จะตอ้ งสรา้ งและเสริมขึ้นจาก
พน้ื ฐานเดิมที่มีอย่กู ่อนทั้งสิ้น ถ้าพนื้ ฐานไมด่ ี หรอื คลอนแคลนบกพร่องแลว้ ท่จี ะ
เพ่มิ เติมเสรมิ ตอ่ ให้เจริญขนึ้ ไปอกี นน้ั ยากนกั ทจ่ี ะท�ำได้ จงึ ควรจะเขา้ ใจใหแ้ จ้งชดั ว่า
นอกจากจะมงุ่ สรา้ งความเจรญิ แล้ว ยงั จะต้องพยายามรกั ษาพ้ืนฐานให้มนั่ คง

ไมบ่ กพรอ่ งพร้อม ๆ กนั ไปดว้ ย...”

202

๓.๒ เรียนร้จู ากหลักธรรมชาติ

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงยึด
ธรรมะเปน็ ทีต่ ัง้ ในการหาวธิ ีการแกป้ ัญหาหรอื แนวทางการพัฒนา ไม่วา่ จะเปน็ เรอ่ื งดนิ นำ้� อาชพี และ
สง่ิ แวดล้อม ซ่ึงคำ� ว่า “ธรรมะ” ในท่ีน้ี คือ “ธรรมชาต”ิ พระองค์ทรงศึกษา เรียนรหู้ ลกั “ธรรมชาติ
ช่วยธรรมชาติ” เพ่ือน�ำมาใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างย่ังยืน ทรงมองปัญหาธรรมชาติอย่างละเอียด
โดยหากต้องการแก้ไขธรรมชาติจะต้องใช้ธรรมชาติเข้าช่วย อาทิ การแก้ไขน้�ำเน่าเสีย แทนที่จะทรง
พจิ ารณาถงึ โรงงานบำ� บดั นำ�้ เสยี กลบั ทรงมองวา่ ในธรรมชาตจิ ะมขี บวนการอะไรทส่ี ามารถแกไ้ ขปญั หานไ้ี ด้
เชน่ การใชบ้ อ่ ตกตะกอน เพื่อใหเ้ กดิ การตกตะกอนขน้ึ โดยกระบวนการทางธรรมชาติ

นอกจากน้ี พระองค์ทรงใช้หลัก “การใช้อธรรมปราบอธรรม” ในการบ�ำบัดน้�ำเสีย ด้วยการ
พิจารณาหาพืชบางชนิดที่สามารถกรองน�้ำเน่าเสียมาใช้เป็นเคร่ืองกรองน้�ำธรรมชาติที่ไม่ต้องเสีย
ค่าใช้จ่ายมาก ไม่ท�ำลายส่ิงแวดล้อม การน�ำน�้ำดีขับไล่น้�ำเสีย เพ่ือเจือจางน้�ำเสียให้กลับเป็นน�้ำดี
โดยใช้หลักของน้�ำขึ้นน�้ำลงตามธรรมชาติ ตลอดจนทรงอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ให้คนอยู่ร่วมกับป่า
ได้อย่างย่ังยืนโดยใช้วิธีการ “ปลูกป่าในใจคน” เป็นต้น โดยมีแนวพระราชด�ำริและตัวอย่าง
พระราชกรณยี กจิ รวมทัง้ โครงการต่าง ๆ ดงั นี้

203

แนวพระราชดำ� ริ

(๑) ใชธ้ รรมชาตชิ ว่ ยธรรมชาติ

การใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ เป็นการแก้ปัญหาที่ประหยัด และไม่ก่อให้เกิดปัญหาการ
ท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติในอนาคต โดยพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพิตร มแี นวพระราชด�ำริเก่ยี วกับการใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาตดิ งั ตอ่ ไปนี้

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ทรงท�ำความเข้าใจธรรมชาติอย่างลึกซ้ึง โดยทรงสนพระราชหฤทัยและศึกษาปรากฏการณ์ของ
ธรรมชาตทิ เี่ ชอื่ มโยงกนั ดว้ ยวถิ ที างธรรมชาตอิ ยา่ งเปน็ วฏั จกั รตง้ั แตย่ งั ทรงพระเยาว์ ดงั พระบรมราโชวาท
พระราชทานแก่คณะกรรมการสโมสรไลออนส์สากล ภาค ๓๑๐ (ประเทศไทยและประเทศลาว)
ณ พระตำ� หนกั จติ รลดารโหฐาน วนั พฤหสั บดี ท่ี ๒๕ กันยายน ๒๕๑๒ ความตอนหนึง่ ว่า

“...กอ็ าจมีบางคนเขา้ ใจวา่ ท�ำไมจึงสนใจ และบางคนไม่เขา้ ใจว่าท�ำไมฉนั เอง
ท�ำไมสนใจเรื่องชลประทานหรอื เร่ืองปา่ ไม้ จ�ำไดว้ ่าเม่อื อายุ ๑๐ ขวบ ท่โี รงเรยี นมีครู
คนหนง่ึ ซึง่ เดยี๋ วนี้ตายไปแลว้ สอนเร่ืองวทิ ยาศาสตร์ เร่อื งการอนรุ ักษ์ดนิ แล้วให้เขยี นว่า
ภูเขาตอ้ งมปี ่าไม้อย่างนน้ั เม็ดฝนลงมาแลว้ จะชะดินลงมาเรว็ ทำ� ใหไ้ หลตามน้ำ� ไป
ไปทำ� ให้เสียหาย ดินหมดจากภเู ขา เพราะไหลตามสายน้ำ� ไป กเ็ ปน็ หลักของป่าไม้เร่ือง
การอนรุ ักษ์ดิน และเป็นหลักของชลประทานที่ว่า ถ้าเราไม่รักษาป่าไม้ขา้ งบน จะท�ำให้
เดอื ดร้อนตลอด ตัง้ แตด่ ินบนภูเขาจะหมดไปกระทั่งการท่ีจะมีตะกอนลงมาในเข่อื น

มตี ะกอนลงมาในแม่น�ำ้ ท�ำใหเ้ กิดนำ้� ทว่ ม นีน่ ่ะ เรยี นมาตัง้ แตอ่ ายุ ๑๐ ขวบ...”

204

พระองค์มีพระราชประสงค์ให้ประชาชนใกล้ชิดกับธรรมชาติ โดยเข้ามามีส่วนร่วมใน
การแกไ้ ขปญั หาสงิ่ แวดลอ้ ม ปลกู จติ สำ� นกึ ใหร้ าษฎรรกั หวงแหน และรว่ มกนั อนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม ดงั พระราชด�ำรสั พระราชทานในพิธปี ิดการสัมมนาการเกษตรภาคเหนอื ณ สำ� นักงาน
เกษตรภาคเหนือ จงั หวัดเชียงใหม่ วันพฤหสั บดี ท่ี ๒๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๒๔ ความตอนหนงึ่ วา่

“...ถ้าหากเราท�ำ “ปา่ ๓ อย่าง” ใหช้ าวบ้านเห็นประโยชน์และได้ใช้ประโยชน์
เขาก็จะรักษาประโยชน.์ เขาจะไมท่ �ำลาย และใครมาท�ำลาย เขากป็ ้องกนั .

หมายความวา่ ชาวบ้านนัน้ ถา้ เราใหโ้ อกาสให้เขามีอยูม่ ีกินพอสมควร
กจ็ ะเป็นเจ้าหนา้ ทป่ี ่าไมใ้ หเ้ ราเปน็ จ�ำนวนมาก. อยา่ งในร่องหุบเขาเลก็ ๆ ที่มีเพยี ง ๕๐ ไร่
กจ็ ะทำ� เปน็ หมบู่ ้านใหช้ าวบา้ นมาอย่.ู ค�ำวา่ ชาวบ้านนจ้ี ะเรียกวา่ ชาวบา้ นกไ็ ด้ ชาวเขากไ็ ด้

กเ็ ปน็ ชาวบา้ นท้ังนั้น. เคยไปถามชาวเขา พูดถงึ เรือ่ งวา่ จะท�ำโครงการอะไร ๆ
“เราก็ตอ้ งชว่ ยกันรกั ษานะ” เขาบอกวา่ “หม่เู ฮากเ็ ปน็ คนไทยเหมอื นกัน” กห็ มายความวา่

เปน็ ชาวบ้านเหมอื นกัน ชว่ ยกนั ทำ� เขากอ็ ยากอย่ใู ต้กฏหมาย ทำ� งานทส่ี ุจริต.
ถ้าเราท�ำอะไรทดี่ ี มเี หตผุ ล เขาก็จะรกั ษา “ปา่ ๓ อย่าง” ใหเ้ รา. ...”

ทรงมองอยา่ งละเอยี ดถงึ ปญั หาธรรมชาติ หากตอ้ งการแกไ้ ขธรรมชาติ จะตอ้ งใชธ้ รรมชาติ
เข้าช่วยเหลือ เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม อาทิ การจัดการน้�ำเสียตามแนวพระราชด�ำริ
ใช้หลักการ “น้�ำดีไล่น้�ำเสีย” หลักการบัดน�้ำเสียด้วยผักตบชวา ฯลฯ รวมท้ังพระองค์มีพระราชด�ำริ
ให้ปลูกหญ้าแฝกเพ่ือแก้ไขปัญหาการพังทลายของหน้าดิน เป็นการอนุรักษ์ดินและน�้ำ โดยใช้หลัก
ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ เนื่องจากแนวล�ำต้นของหญ้าแฝกช่วยชะลอความเร็วของน้�ำท่ีไหลผ่าน
และป้องกันการพังทลายของหน้าดิน โดยได้มีพระราชด�ำริให้ศึกษาพันธุ์หญ้าแฝกที่เหมาะสมกับสภาพ
พนื้ ท่ตี า่ ง ๆ และทรงให้ทดลองปลกู ในลกั ษณะท่ีเหมาะสมกบั ลักษณะภูมปิ ระเทศ

ดงั พระบรมราโชวาทในพิธพี ระราชทานปรญิ ญาบตั รของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ อาคาร
จักรพันธเ์ พญ็ ศิริ วันศกุ ร์ ท่ี ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๔๐ ความตอนหนงึ่ วา่

“...การปลกู หญา้ แฝก จะต้องปลกู ให้ชดิ ตดิ กนั เป็นแผง และวางแนวให้
เหมาะสมกับลักษณะของภูมิประเทศ. เป็นตน้ ว่า บนพน้ื ที่สูง จะตอ้ งปลกู ตามแนวขวางของ

ความลาดชันและร่องนำ้� . บนพ้ืนทร่ี าบ จะต้องปลกู รอบแปลงหรอื ปลูกตามรอ่ งสลบั กบั
พืชไร่. ในพน้ื ทเี่ กบ็ กักน้ำ� จะตอ้ งปลกู เป็นแนวเหนอื แหลง่ น้�ำ. หญ้าแฝกทป่ี ลกู โดย
หลกั วิธดี ังนี้ จะช่วยปอ้ งกนั การพงั ทลายของหน้าดนิ รักษาความช่มุ ชื้นในดนิ เกบ็ กัก

ตะกอนดนิ และสารพษิ ตา่ ง ๆ ไมใ่ ห้ไหลลงแหลง่ นำ�้ ซ่ึงจะอำ� นวยผลเปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งยิง่
แก่การอนุรกั ษด์ นิ และนำ้� ตลอดจนการฟ้นื ฟดู ินและป่าไม้ให้สมบรู ณ์ขึ้น. ...”

205

(๒) ใชอ้ ธรรมปราบอธรรม

แนวพระราชด�ำริการแก้ไขปัญหาธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืนของพระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทีส่ ำ� คัญอีกประการหน่งึ คือ การใช้
ความเปน็ ไปและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ และทรงใชส้ ่งิ ที่ไม่มีประโยชน์ให้เกิดประโยชนใ์ นการแกป้ ญั หา
ส่งิ แวดลอ้ มท่ไี มต่ ้องใช้เงนิ ลงทนุ มาก แต่มีประสทิ ธภิ าพสงู โดยมแี นวพระราชดำ� ริดังตอ่ ไปน้ี

ใชค้ วามเปน็ ไปและกฎเกณฑข์ องธรรมชาติ แกป้ ญั หาและเปลย่ี นแปลงสภาวะทไี่ มป่ กติ
ใหเ้ ปน็ ปกติ อาทิ อาศัยปรากฏการณน์ ำ้� ข้ึนนำ้� ลง ในการจัดระบบควบคมุ ระดับนำ้� ในคลองสายตา่ ง ๆ
เช่น การจัดระบบระบายน�้ำในกรุงเทพมหานคร สมควรวางระบบให้ถูกต้องตามสภาพการณ์และ
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ซง่ึ อาจแบง่ เปน็ ๒ แผน คอื แผนสำ� หรบั ใชก้ บั ในฤดฝู นหรอื ในฤดนู ำ�้ มาก เพอ่ื ประโยชน์
ในการป้องกันน้�ำท่วมและเพ่ือบรรเทาอุทกภัยเป็นส�ำคัญ และแผนกระบายน้�ำในฤดูแล้ง ต้องจัดการ
อีกแบบท่ีต่างกันไป เพื่อการก�ำจัดหรือไล่น�้ำเน่าเสียออกจากคลองดังกล่าวเป็นหลัก ซ่ึงทั้งสองระบบนี้
ควรจะพิจารณาถึงวิธีการระบายน�้ำ โดยอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลกให้มากที่สุด ทั้งน้ีเพื่อประหยัด
คา่ ใชจ้ า่ ยในการควบคมุ ระดับน�ำ้ ในแม่น้�ำลำ� คลอง

ใช้ส่ิงท่ีไม่มีประโยชน์ให้เกิดประโยชน์ อาทิ การใช้ผักตบชวาเป็นวัชพืชในการบ�ำบัด
น้�ำเสีย โดยใช้ผักตบชวาท่ีมีอยู่ทั่วไปนั้น ดูดความโสโครกออกมาแล้วก็ท�ำให้น�้ำสะอาดข้ึน ดังพระราช
ด�ำรัสในโอกาสท่ีคณะท�ำงานฝ่ายวิชาการ และคณะท�ำงานฝ่ายปฏิบัติการ คณะกรรมการโครงการ
ปรับปรุงบึงมักกะสัน กับคณะกรรมการระบายน้�ำหนองหาน เพ่ือปรับปรุงสภาพส่ิงแวดล้อม
เฝา้ ทูลละอองธลุ พี ระบาท ณ ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาภูพานอันเน่ืองมาจากพระราชดำ� ริ จังหวดั สกลนคร
วนั ศกุ ร์ ที่ ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๘ ความตอนหนง่ึ ว่า

“...เดิมแรกมีปัญหาของนำ�้ เสียในกรุงเทพมหานคร และการทีจ่ ะกำ� จดั นำ�้ เสยี น้นั
จะต้องใช้เครอ่ื งเป็นโรงงานใหญ่ ส�ำหรับโครงการเรม่ิ แรกท่ีว่าจะท�ำที่แถวบงึ มกั กะสันน้ี
ก็จะต้องลงทุนถึงประมาณสองรอ้ ยล้านบาท ซ่ึงถ้าลงทุนสองรอ้ ยล้านบาทแลว้ การทดลองไม่ไดผ้ ล
ก็จะเป็นการสน้ิ เปลืองงบประมาณอย่างมาก ฉะนัน้ กไ็ ดด้ �ำริใช้บึงมกั กะสนั นที้ �ำโครงการ
ท่ีเรยี กวา่ แบบคนจน โดยใชห้ ลกั วา่ ผกั ตบชวาที่มอี ย่ทู วั่ ไปนน้ั เป็นพชื ทีด่ ูดความโสโครกออกมาแลว้
กท็ ำ� ให้น้ำ� สะอาดข้ึนได้ เปน็ เครื่องกรองธรรมชาตใิ ชพ้ ลังงานแสงอาทิตยแ์ ละธรรมชาติ

ของการเติบโตของพืช จงึ ได้ขอใหด้ ำ� เนินการทีบ่ ึงมักกะสันซึ่งเป็นทำ� เลท่ีเหมาะสม
เพราะวา่ มคี ลองสามเสนอยใู่ นบรเิ วณใกล้ สามารถที่จะนำ� น�ำ้ ของคลองสามเสนซ่งึ โสโครกอย่างย่งิ

เขา้ มากรองในเครื่องกรองธรรมชาตนิ ้ี นอกจากนก้ี อ็ ยใู่ นระยะใกล้เคยี งพอสมควร
กับคลองแสนแสบดว้ ย วัตถุประสงค์หลกั อันแรกก็คือก�ำจดั น�้ำโสโครก คือกรองนำ�้ โสโครก

ใหเ้ ป็นน้ำ� ที่ไม่อนั ตราย ในการน้กี ใ็ ชห้ ลกั ของผกั ตบชวาดงั กล่าว...”

206

นอกจากนี้ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
มีพระราชด�ำริใหน้ �ำขยะและมลู สัตว์ซ่งึ เปน็ ของเสียมาผลิตแกส๊ ชวี ภาพเพ่ือใชเ้ ปน็ เชื้อเพลงิ โดยทรงเร่ิม
ต้นจากการผลิตแก๊สชีวภาพจากมูลโคนมในการด�ำเนินงานโรงโคนมสวนจิตรลดา เพ่ือไม่ให้มูลโคท่ีเป็น
ของเสียเหล่านั้นต้องท้ิงไปอย่างเปล่าประโยชน์ โดยน�ำมาเก็บใส่ถังหมักผลิตเป็นแก๊สชีวภาพใช้ใน
โรงโคนม ซ่งึ ได้ก๊าซมีเทนกว่า ๕๐ เปอร์เซ็นต์ และกา๊ ซอ่นื ๆ ทใี่ ชเ้ ป็นเช้อื เพลงิ ได้

(๓) ปลกู ปา่ ในใจคน

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงเล็ง
เหน็ ถงึ การแกไ้ ขปญั หาการฟน้ื ฟทู รพั ยากรธรรมชาตดิ ว้ ยการปลกู จติ สำ� นกึ ในการรกั ผนื ปา่ ใหแ้ กค่ นเสยี กอ่ น
เพื่อให้พวกเขารักและดูแลผืนป่าของตนเองด้วยตนเอง ด้วยการสร้างความเข้าใจกับราษฎรให้รู้ถึง
ประโยชน์ของปา่ และมีส่วนร่วมในการอนรุ กั ษ์ จนสามารถจดั ตง้ั กล่มุ อนรุ ักษ์ป่า เพ่ือช่วยกนั ดแู ลรักษา
ป่าให้กลับมามคี วามอุดมสมบูรณ์ ดงั พระราชด�ำรทิ ่ีพระราชทานแก่เจา้ หนา้ ท่ปี า่ ไม้ ณ หน่วยงานพัฒนา
ต้นน�้ำทงุ่ จอ๊ เมอื่ ปี ๒๕๑๙ จากหนงั สอื จอมปราชญแ์ หง่ การพฒั นา รกั ษป์ า่ : รกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม จดั ทำ� โดย
ส�ำนักงานคณะกรรมการการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (กปร.) ว่า
เจ้าหน้าท่ีป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่าน้ัน ก็พากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดิน
และรกั ษาตน้ ไม้ดว้ ยตนเอง

207

ท้ังนี้ การปลูกปา่ ในใจคนมีหลกั การส�ำคัญคือ
สร้างความเข้าใจกับราษฎรให้รู้ถึงประโยชน์ของป่า และการอยู่ร่วมกับป่าอย่างพ่ึงพา
อาศยั กัน ซ่ึง ดร.สเุ มธ ตนั ติเวชกลุ เลขาธิการมลู นิธิชยั พฒั นา ไดข้ ยายความถึงแนวพระราชด�ำรปิ ลกู ป่า
ในใจคน ในบทความเรื่องสวนพฤษศาสตร์กับบทบาทการอนุรักษ์พรรณไม้ หนังสือพิมพ์แนวหน้า
วนั จันทรท์ ่ี ๖ ธนั วาคม ๒๕๓๓ วา่ “...ค�ำว่าปลกู ตน้ ไมใ้ นใจคน หมายถงึ ประการที่ ๑ ต้องเขา้ ใจว่า
เราปลกู ต้นไม้ท�ำไม ไม่ใช่แค่เอาต้นไมล้ งหลมุ ถ่ายรูปกนั เสรจ็ แล้วก็ทง้ิ ๆ ขวา้ ง ๆ จรงิ ๆ คือต้องใหเ้ หน็
ประโยชน์ วา่ ประโยชนค์ ืออะไร จำ� เป็นต่อชวี ติ อย่างไร ประการที่ ๒ ปลูกต้นไม้เป็นการปลูกจติ ส�ำนึก
เกย่ี วกบั ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ดนิ น้�ำลมไฟท่ีอยู่รอบตวั เรา...”
ให้ราษฎรเข้ามามีส่วนร่วมในการปลูกป่า เพื่อให้เกิดความความรู้สึกรักและหวงแหน
ตน้ ไม้ รวมถึงปา่ ท่ีตนเองไดป้ ลกู ไว้
เกิดการจัดต้ังกลุ่มอนุรักษ์ป่าช่วยกันดูแลรักษาป่า การสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้น
ป้องกันการตัดไม้ การเกดิ ไฟปา่ ตลอดจนรูจ้ ักนำ� พชื ป่ามาบริโภคใช้สอย

ตวั อยา่ งพระราชกรณยี กจิ

จากแนวพระราชดำ� รขิ า้ งตน้ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร ทรงน�ำไปใช้ในการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ที่ใช้ธรรมชาติในการดูแล
ธรรมชาติ ก่อให้เกิดความสมดุลอย่างยั่งยืน ดังโครงการตามแนวพระราชด�ำริหลายโครงการ อาทิ
การใช้เคร่ืองกรองน�้ำธรรมชาติ แก๊สชีวภาพจากมูลโคในโครงการส่วนพระองค์ตามแนวพระราชด�ำริ
การบำ� บดั นำ้� เสยี ดว้ ยระบบบอ่ บำ� บดั และพชื นำ้� สระเตมิ อากาศชวี ภาพบำ� บดั การเตมิ อากาศโดยใชก้ งั หนั นำ้�
ชัยพัฒนา การผสมผสานระหว่างพืชน�้ำกับระบบเติมอากาศ ระบบปรับปรุงคุณภาพน้�ำด้วยรางพืช
ร่วมกับเครื่องกลเติมอากาศ การใช้น้�ำดีไล่น�้ำเสีย การจัดการลุ่มน้�ำบางนรา การทดลองปลูกหญ้าแฝก

208

ภายในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ และพ้ืนท่ีต่าง ๆ การปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก
การปลกู ปา่ ๓ อยา่ งประโยชน์ ๔ อยา่ ง การสรา้ งฝายอนรุ กั ษต์ น้ นำ้� การฟน้ื ฟปู า่ ชายเลน โครงการพฒั นา
พนื้ ทลี่ มุ่ นำ้� แมอ่ าวอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ โครงการพฒั นาพนื้ ทล่ี มุ่ นำ�้ หว้ ยบางทรายตอนบนอนั เนอื่ ง
มาจากพระราชดำ� ริ ดังตัวอยา่ งโครงการต่าง ๆ โดยสงั เขปทกี่ ล่าวแล้วในสว่ นท่ี ๑

เรียนรู้จากหลักธรรมชาติ : วิถปี ฏิบตั สิ กู่ ารพฒั นาอย่างยง่ั ยนื

การใช้ธรรมชาติมาช่วยในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ท้ังการใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ การใช้หลัก
อธรรมปราบอธรรม และการใช้วิธีการปลูกป่าในใจคน เพื่อให้คนสามารถอยู่ร่วมกับป่าได้อย่างย่ังยืน
น�ำสู่ผลส�ำเร็จของโครงการตามแนวพระราชด�ำริต่าง ๆ ท่ีช่วยแก้ปัญหาเรื่องดิน น�้ำ และสิ่งแวดล้อม
ให้กลับมามีสภาพอุดมสมบูรณ์ จงึ เป็นท่ีประจักษแ์ ลว้ ว่าการด�ำเนนิ งานตามแนวพระราชด�ำริ จะน�ำพา
ให้ประชาชนคนไทยทกุ คนมชี ีวิตทีม่ คี วามสุขอยา่ งย่ังยืนตลอดไป

๓.๓ บรหิ ารงานแบบประสานเช่ือมโยงกนั

เอกลกั ษณอ์ ยา่ งหนง่ึ ในการทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช
มหาราช บรมนาถบพติ ร คอื การท่ีทรงประยุกต์นำ� ความรู้แขนงตา่ ง ๆ มาทรงใชเ้ พอ่ื แกไ้ ขปัญหาและ
พัฒนาประเทศ ทรงศกึ ษาวทิ ยาการแต่ละประเภทอยา่ งลึกซึ้ง จนสามารถเข้าใจในวิทยาการเหล่าน้ัน
และสามารถน�ำจุดดี จุดเด่นของความรู้ต่าง ๆ มา “ประสานเช่ือมโยง” ใช้ให้เหมาะสมกับสภาพ
ของประเทศ และสภาพสังคมของแต่ละพนื้ ที่ เพื่อใหก้ ารท�ำงานเกิดประสิทธภิ าพ มีความต่อเนอ่ื ง และ
ตอบสนองความตอ้ งการของราษฎรไดต้ รงจดุ ดงั พระบรมราโชวาทพระราชทานแกน่ กั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั
สงขลานครนิ ทร์ ณ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา วนั จันทร์ ที่ ๒๖
สงิ หาคม ๒๕๑๙ ความตอนหน่งึ วา่

209

“...ผู้ทอ่ี อกไปนึกวา่ จะไปพฒั นา คอื ไปใหป้ ระโยชนต์ อ่ ผอู้ ่นื กจ็ ะตอ้ งมคี วามรู้
รอบดา้ น และติดตอ่ กับผู้อ่ืนทีอ่ ยู่ในระดับเดยี วกันของตวั ใหส้ อดคลอ้ งกนั หมายความว่า

ผู้ท่เี ป็นนักศกึ ษาท่ีจะออกไปพฒั นา ออกไปช่วย และในเวลาเดยี วก็ไดค้ วามรู้ ขอให้
มีความสอดคล้อง มีความรู้จกั และปรกึ ษาหารือกบั นักศึกษาเพอ่ื นนักศึกษาทีศ่ ึกษา
ในแขนงอื่น วิชาการอ่ืน ๆ ด้วย ปรกึ ษาหารือกนั ในกจิ การท่ีกำ� ลงั ทำ� และในกิจการ
อน่ื ที่ไมใ่ ชว่ ่าก�ำลังท�ำ แตว่ ่าก็เกยี่ วข้องกบั ตัวเหมือนกนั ใหป้ รกึ ษาหารือกนั รู้จกั กนั
ทุกคนในทางราบ หมายความว่า จ�ำพวกผู้ท่ีมีความรพู้ อ ๆ กัน และท่ีมีความคิด
คลา้ ย ๆ กนั ไม่ใชว่ ่าไดร้ ับคำ� สง่ ใหอ้ อกพัฒนากไ็ ปพัฒนา ไปถามคนอื่นทรี่ บั คำ� ส่งั พฒั นา

ถามเขาว่า เขารบั ค�ำส่งั จากทไี่ หน ถามเขาว่าเขามาพัฒนาอะไร
แล้วก็แลกเปลย่ี นความคดิ ความเหน็ อันนี้ กจ็ ะเป็นประโยชน์ต่อตนประโยชนต์ อ่ ชาวบา้ น

ผ้ทู ่ีไดร้ บั การพัฒนาอย่างเต็มเปีย่ ม มิฉะน้นั ผู้ท่รี ับการพัฒนาจะไมไ่ ดร้ บั ประโยชน์
เพราะวา่ ต่างคนต่างเอาวิชาของตวั เป็นใหญม่ าให้ ซึ่งอาจจะไมเ่ ป็นประโยชนแ์ ก่ชาวบา้ น

ถา้ ประสานกนั กับวชิ าอ่นื แนวอ่ืน สายอืน่ กจ็ ะมีประโยชน์ได้เตม็ ท่ี
เพราะว่าผทู้ ไ่ี ปพัฒนากส็ อดคล้อง ผทู้ ีไ่ ดร้ ับการพฒั นากจ็ ะได้รบั วชิ าการ
หรือไดร้ บั บริการช่วยเหลือท่ีสอดคล้องเหมาะกบั ชวี ติ เหมาะกบั พื้นท…่ี ”
พระราชด�ำรสั ในโอกาสทน่ี ักศึกษาวทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร รนุ่ ท่ี ๒๗ เฝา้ ฯ ทูลเกลา้ ฯ
ถวายเงินรายได้จากการแข่งขันกอล์ฟและโบว์ลิ่ง เพื่อโดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราชอัธยาศัย
ณ พระตำ� หนักจติ รลดารโหฐาน วันพฤหัสบดี ท่ี ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๒๘ ความตอนหนงึ่ ว่า

“...มีข้อสงั เกตอยวู่ า่ แม้จะมคี วามร้คู วามสามารถในการท�ำงาน
ในสาขาของแต่ละคนนน้ั ได้เต็มเปีย่ มแล้ว งานจะไมเ่ สรจ็ ถ้าหากว่า
ไมไ่ ดเ้ ห็นวชิ าการขา้ งเคยี งหรอื วชิ าการทเ่ี กีย่ วข้องกบั งานของตัว และยิง่ กวา่ นน้ั บางวิชาการ
กม็ ีความไมเ่ ก่ียวขอ้ งกนั เลย โดยเฉพาะวชิ าการแต่ละอันกอ็ ยขู่ องตวั แต่
แทจ้ รงิ วชิ าการทั้งหมดทกุ ด้าน ทง้ั ในด้านศลิ ปะท้งั ในด้านวทิ ยาศาสตรย์ ่อม
ตอ้ งเก้ือกลู กนั เพราะวา่ แต่ละคนหรือแต่ละบุคคลจะต้องใช้ทกุ อยา่ งเพอ่ื จะมีชีวิตได้
ประเทศชาติกเ็ ชน่ เดยี วกนั ก็ต้องใช้วชิ าการทุกดา้ นเพ่ือท่ีจะด�ำรงไวซ้ งึ่ ความมัน่ คง

ของประเทศชาต…ิ ”
หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร เพ่ือแก้ไขความเดือดร้อนในเร่ืองตา่ ง ๆ ให้แกพ่ สกนกิ รน้นั ทรงมวี ธิ ีคดิ อยา่ ง “องค์รวม”
หรือมองอย่างครบวงจร ในการที่จะพระราชทานพระราชด�ำริเกี่ยวกับโครงการหน่ึงน้ัน จะทรงมอง
เหตุการณ์ทีจ่ ะเกดิ ขึ้น และแนวทางแก้ไขอย่างเช่ือมโยงกัน จากนน้ั พระองคจ์ ะทรง “ทำ� ตามล�ำดบั ขัน้ ”
โดยเร่ิมต้นจากสิ่งที่จ�ำเป็นของประชาชนท่ีสุดก่อน แล้วจึงแก้ไขปัญหาในเรื่องต่อ ๆ ไป หรือทรงท�ำ

210

ในส่ิงท่ีง่ายไปหาส่ิงท่ียาก ท�ำส่ิงเล็กไปหาสิ่งใหญ่ อย่างเป็นล�ำดับข้ันโดยไม่ก้าวกระโดด นอกจากนี้
ทรงเน้นการ “บรกิ ารรวมท่จี ุดเดียว” ในลกั ษณะบรกิ ารแบบเบด็ เสรจ็ เพ่ือความสะดวกและประโยชน์
แก่ประชาชน ดังแนวพระราชด�ำริและพระราชกรณยี กจิ รวมทัง้ โครงการตา่ ง ๆ ดังน้ี

แนวพระราชดำ� ริ

(๑) องคร์ วม และบรกิ ารรวมทจ่ี ดุ เดยี ว

การเข้าไปช่วยแก้ไขปัญหาด้านต่าง ๆ ให้แก่ราษฎรนั้น พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร
มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงมีวิธีการคิด และทรงมองปัญหาตั้งแต่ภาพใหญ่จนถึง
ภาพเล็กในทุก ๆ มติ ิ โดยทรงมองทุกอย่างเช่ือมโยงกนั จากนนั้ ทรงแกไ้ ขปญั หาอยา่ งเปน็ ระบบครบวงจร
ในทกุ ขนั้ ตอน ดงั แนวพระราชด�ำริ ดงั นี้

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมี
วธิ คี ดิ อย่างองคร์ วม (Holistic) ทรงมองสิง่ ต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ อย่างเปน็ ระบบครบวงจร ทงั้ ในขัน้ ตอน
การวางแผนและการปฏบิ ตั ิ โดยการวางแผนจะตอ้ งมเี ปา้ หมายทช่ี ดั เจน เตรยี มการแกไ้ ขปญั หาทงั้ ระยะ
สน้ั และระยะยาว สอดคล้องกับสภาพภูมิประเทศ และวิเคราะห์ปัญหาท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคตอย่างเป็น
องค์รวม เพอื่ มใิ ห้เกดิ ปญั หาขน้ึ ในอนาคต ดงั พระราชดำ� รใิ นหนงั สอื แนวพระราชดำ� รดิ า้ นการบรหิ ารจดั การ
กรงุ เทพมหานคร ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
ว่าการจดั ระบบควบคมุ นำ้� ในคลองตา่ ง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การจดั ระบบระบายนำ�้ ในกรงุ เทพมหานครนน้ั
สมควรวางระบบใหถ้ กู ตอ้ งตามสภาพการณแ์ ละลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ซง่ึ ควรแบง่ ออกเปน็ ๒ แผนดว้ ยกนั คอื
แผนสำ� หรบั ใชก้ บั ในฤดฝู นหรอื ในฤดนู ำ�้ มาก เพอ่ื ประโยชนใ์ นการปอ้ งกนั นำ�้ ทว่ ม และเพอ่ื บรรเทาอทุ กภยั

211

เปน็ สำ� คญั แตแ่ ผนการระบายนำ้� ในฤดแู ลง้ นนั้ กต็ อ้ งจดั อกี แบบหนง่ึ ตา่ งกนั ไป เพอื่ การกำ� จดั หรอื ไลน่ ำ�้ เนา่ เสยี
ออกจากคลองดงั กลา่ วเปน็ หลกั ซงึ่ ทงั้ สองระบบนคี้ วรจะพจิ ารณาถงึ วธิ กี ารระบายนำ�้ โดยอาศยั แรงโนม้ ถว่ ง
ของโลกใหม้ ากท่สี ดุ ท้งั นเี้ พื่อประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยในการควบคมุ ระดบั นำ�้ ตามล�ำคลองเหลา่ นี้

ทรงมองทุกสิ่งเป็นพลวัตท่ีทุกมิติเช่ือมต่อกัน ในการที่จะพระราชทานพระราชด�ำริ
เก่ียวกับโครงการหน่ึงน้ัน ทรงมองเหตุการณ์ท่ีจะเกิดข้ึน และแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยงกัน
ดังเช่นเรื่อง “น้�ำ” ที่ทรงให้ความส�ำคัญอย่างย่ิง ทรงพระราชด�ำริต้ังแต่จากฟากฟ้าสู่ทะเล จะเห็น
ได้ว่า ทรงพระราชด�ำริฝนหลวง เพื่อแก้ไขปัญหาความแห้งแล้ง เมื่อฝนตกลงมาแล้วมีพระราชด�ำริ
ให้หาทางเก็บกักน้�ำไว้ใช้ โดยการอนุรักษ์และเพ่ิมพ้ืนท่ีป่าไม้ สร้างฝายต้นน้�ำ ปลูกหญ้าแฝก
สร้างอ่างเก็บน�้ำบริเวณเชิงเขา และสร้างเขื่อน เม่ือลงมาพ้ืนท่ีราบมีพระราชด�ำริทฤษฎีใหม่
ให้ประชาชนกันพ้ืนท่ีส่วนหนึ่งเพื่อกักเก็บน�้ำไว้ใช้ รวมทั้งการสร้างแก้มลิง คันกั้นน้�ำ สร้างทาง
ให้น้�ำผ่าน การบ�ำบัดน�้ำเสียด้วยกังหันน้�ำชัยพัฒนา สร้างทางระบายน้�ำลงทะเล และการอนุรักษ์
ป่าชายเลน

212

ทรงมองปัญหาตั้งแต่ภาพใหญ่จนถึงภาพเล็กในทุก ๆ มิติ ดังเช่นการแก้ไขปัญหา
การจราจรนนั้ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรง
มองภาพรวมในการแกป้ ญั หาจราจรทง้ั ระบบ และมพี ระราชดำ� รใิ หแ้ กป้ ญั หาในภาพยอ่ ยทลี ะจดุ โดยจดั
ล�ำดบั การด�ำเนินโครงการทไี่ ดผ้ ลเรว็ ก่อน จากน้ันจึงมีโครงการอืน่ ท่ีต่อเนอื่ งอีก เนื่องจากการแกป้ ัญหา
จราจรทั้งระบบเป็นเร่ืองใหญ่และต้องใช้เวลานาน จึงต้องแก้ไขปัญหาในจุดย่อยทีละจุดก่อน หรือแก้
ปัญหาในส่วนที่ท�ำได้ก่อน เพื่อช่วยให้ปัญหาผ่อนคลายลง และเม่ือปัญหาในจุดย่อยแต่ละจุดได้รับการ
แกไ้ ข ปัญหาภาพรวมทั้งระบบกจ็ ะค่อย ๆ หมดไป ดังพระราชด�ำรใิ นหนังสือแนวพระราชด�ำริดา้ นการ
บริหารจัดการกรงุ เทพมหานคร ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร วา่ โครงการทไ่ี ดผ้ ลเปน็ ทที่ นั ใจ ลำ� ดบั แรกเปน็ โครงการใหญพ่ อสมควร คอื การทำ� ทางแยก
ท่ีเชงิ สะพานพระปน่ิ เกล้า ซงึ่ จะใช้เวลาเพียงสามส่เี ดือนก็ทำ� สำ� เรจ็ และเข้าใจวา่ จะช่วยได้มาก ต่อจาก
น้ันไดข้ ยายสะพานผา่ นฟา้ และกำ� ลังทำ� การขยายสะพานมัฆวาน ต่อไปยังมีโครงการทตี่ ่อเนอ่ื งไปอกี จะ
เห็นได้ว่าท่ีท�ำนี้เป็นส่วนเดียวของการจราจร แต่ว่าไม่สามารถที่จะท�ำแก้ไขจราจรได้เบ็ดเสร็จทั้งหมด
ซง่ึ จะกนิ เวลาเป็นปี และงานเหล่าน้ีก็เป็นส่วนเดยี วของการแก้ปญั หา

จากพระราชด�ำรอิ งค์รวม พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร มพี ระราชดำ� รใิ หจ้ ดั บรกิ ารรวมทจี่ ดุ เดยี วแกป่ ระชาชน เพอื่ อำ� นวยความสะดวก ประหยดั
เวลา และคา่ ใชจ้ ่าย โดยมแี นวพระราชด�ำริ ดังนี ้

ลดช่องว่างระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ท่ีมักจะต่างคนต่างท�ำ และยึดติดกับการ
เป็นเจ้าของเป็นส�ำคัญ ให้แปรเปลี่ยนเป็นการร่วมมือกัน โดยไม่มีเจ้าของ ท�ำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
อย่างมีเอกภาพ เพ่ือสามารถอ�ำนวยประโยชน์สูงสุดให้แก่ประชาชน เป็นการพัฒนาแบบผสมผสาน
ที่ให้ผลเปน็ การ “บริการรวมทีจ่ ดุ เดยี ว” รูปแบบการบรกิ ารแบบเบ็ดเสรจ็ หรือ One Stop Service
ท่ีเกิดข้ึนเป็นครั้งแรกในระบบบริหารราชการแผ่นดินของประเทศไทยคือ ศูนย์ศึกษาการพัฒนา
อนั เน่อื งมาจากพระราชดำ� ริ

การแก้ไขปัญหาของประเทศชาติท่ีมีอยู่มากมายน้ัน จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องด�ำเนินการ
อย่างเร่งด่วนและเบ็ดเสร็จในขั้นตอนเดียว โดยอาศัยความร่วมแรงร่วมใจจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
ทกุ ฝา่ ย เพื่อประสานความรว่ มมอื นับต้ังแต่การรว่ มคน้ หาสาเหตขุ องปัญหา รว่ มกนั กำ� หนดแผนงาน
รว่ มกนั ปฏบิ ตั ิ และรว่ มกนั ประเมนิ ผลการทำ� งาน เพอ่ื ใหผ้ ลของการดำ� เนนิ งานไปถงึ ประชาชนทยี่ ากไร้
อยา่ งแทจ้ รงิ

อาศัยหลักวิชาการที่หลากหลายมาแก้ไขปัญหาร่วมกันแบบสหวิทยาการ ดังท่ี
สมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า เจ้าฟ้ามหาจักรสี ริ ินธร มหาวชริ าลงกรณ
วรราชภักดี สิริกิจการิณีพีรยพัฒน รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี พระราชทาน
สมั ภาษณ์ในหนงั สอื “พระมหากษัตรยิ ์นกั พัฒนา เพือ่ ประโยชนส์ ขุ สู่ปวงประชา” ความตอนหน่ึงว่า

213

นบั เปน็ การศกึ ษารปู แบบหนง่ึ คอื เปน็ การศกึ ษา
ของคนทอี่ ยตู่ า่ งหนว่ ยงานราชการ ตา่ งความรู้ ตา่ งความคดิ
มาท�ำงานร่วมกันในพื้นท่ีเดียวกัน จะน�ำความรู้ของ
ตนเองมาท�ำอย่างไรให้พ้ืนท่ีตรงนี้เจริญ สามารถใช้ได้
แล้วคนรอบข้างมีความสุข อย่างเช่น ศูนย์ศึกษาการ
พัฒนาพิกุลทองฯ จังหวัดนราธิวาส จะแก้ปัญหาใน
ท้องถิ่นเรื่องดินเปรี้ยว จะท�ำอย่างไรจึงจะแก้ไขปัญหา
นี้ได้ ไม่ใช่ว่ากรมชลประทานอยู่ส่วนชลประทาน
กรมพัฒนาที่ดินอยู่ส่วนพัฒนาที่ดิน กรมป่าไม้อยู่ส่วน
ป่าไม้ กรมปศุสัตว์อยู่ส่วนของปศุสัตว์ แต่จะมารวมกัน
ทุกหน่วยทุกคนน�ำความรู้และเทคนิคของตัวเองมาลง
ในโครงการเดยี วกนั เปน็ การศกึ ษารว่ มกนั ในรปู แบบใหม่
เสร็จแล้วราษฎรก็มาดู นักพัฒนาก็มาศึกษา เพื่อน�ำ
ความรู้ตรงนี้ไปปรับใช้ในท่ีของตัวเอง หมู่บ้านบริวาร เขาก็จะน�ำไปท�ำ เมื่อท�ำได้ผล สามารถล้าง
หน้ีสินได้ คน ๆ นั้นก็จะเป็นวิทยากรสอนคนอ่ืน มีน้�ำใจท่ีจะให้ความรู้ในการช่วยคนอื่นต่อไป
บางคนเมือ่ เขาปลกู ไดแ้ ลว้ เหลอื กิน ใครมาขอเขาก็ให้

การตดิ ตามดแู ล คอยแก้ไข ตรวจสอบ และปรบั ปรุงวิธกี ารอยา่ งสม�่ำเสมอ ท้งั ในส่วน
ของการบริหาร การจัดการ และการปฏิบัติการ เพื่อให้เกิดความผสมกลมกลืน และจะท�ำให้การ
ดำ� เนินงานเป็นไปอยา่ งราบรื่นส่เู ป้าหมายทกี่ �ำหนดไว้ ซึง่ สิ่งต่าง ๆ ทหี่ ลากหลายหนว่ ยงานไดม้ สี ว่ นรว่ ม
ในการดำ� เนนิ งานนน้ั จะสง่ ผลใหร้ าษฎรผรู้ บั ผลของการพฒั นาเกดิ การเรยี นรแู้ ละนำ� ไปสกู่ ารดำ� เนนิ การ
ด้วยตนเอง เกิดการพงึ่ พาตนเองและเปน็ การพัฒนาอยา่ งยงั่ ยืนในที่สดุ

(๒) ทำ� ตามล�ำดับข้ัน

ในการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร ทรงเรม่ิ ตน้ จากสงิ่ ทจ่ี ำ� เปน็ ทส่ี ดุ ของประชาชนกอ่ น จากนน้ั จงึ ทรงชว่ ยเหลอื ในเรอื่ งอน่ื ๆ
ต่อไปตามล�ำดบั ของความจ�ำเป็น โดยทรงท�ำสง่ิ ท่ีง่ายไปหาสง่ิ ท่ียาก ทำ� ส่ิงเลก็ ไปหาส่งิ ใหญ่ ทรงเนน้ การ
พฒั นาทม่ี ุง่ สร้างความเขม้ แขง็ ใหแ้ ก่ชุมชนในช่วงเวลาทเี่ หมาะสม เพือ่ มงุ่ ส่กู ารพ่ึงตนเองไดใ้ นทีส่ ดุ ตาม
แนวพระราชดำ� ริ ดงั นี ้

การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร มลี กั ษณะเดน่ ทกี่ ารทำ� ตามลำ� ดบั ขนั้ ความเรยี บงา่ ย เปน็ ไปโดยมเี หตผุ ล และทำ� อยา่ ง
เปน็ ระบบ โดยทรงเรมิ่ ตน้ จากสง่ิ ทจ่ี ำ� เปน็ ของประชาชนทสี่ ดุ กอ่ น ไดแ้ ก่ สาธารณสขุ เมอื่ มรี า่ งกายสมบรู ณ์
แข็งแรงแล้ว กจ็ ะสามารถทำ� ประโยชน์ด้านอน่ื ๆ ต่อไปได้

214

ต่อจากนั้นจะเป็นเรื่องสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานและสิ่งจ�ำเป็นในการประกอบอาชีพ อาทิ
ถนน แหล่งน้�ำเพื่อการเกษตร การอุปโภคบริโภค ที่เอ้ือประโยชน์ต่อประชาชนโดยไม่ท�ำลาย
ทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงการให้ความรู้ทางวิชาการและเทคโนโลยีที่เรียบง่าย เน้นการปรับใช้
ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นที่ราษฎรสามารถน�ำไปปฏบิ ัตแิ ละเกดิ ประโยชน์สงู สุด

จากนั้นจึงแก้ไขปัญหาในเร่ืองต่อ ๆ ไป ด้วยทรงตระหนักว่า เมื่อร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง
จึงสามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตนเอง และเม่ือได้รับการส่งเสริมให้สามารถหารายได้เลี้ยงตนเอง
ไดแ้ ล้ว จงึ ขยายไปสูก่ ารพฒั นาสังคมและพัฒนาประเทศตอ่ ไป

การพัฒนาประเทศจำ� เปน็ ตอ้ งสรา้ งพืน้ ฐานคอื ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชน
ส่วนใหญ่ก่อน จึงค่อยสร้างเสริมความเจริญและเศรษฐกิจข้ันสูงโดยล�ำดับต่อไป ดังพระบรมราโชวาท
ในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั รของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ณ หอประชมุ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
วนั พฤหัสบดี ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗ ความตอนหน่งึ ว่า

“...การพฒั นาประเทศจ�ำเป็นต้องท�ำตามล�ำดับข้ัน. ตอ้ งสร้างพนื้ ฐาน
คอื ความพอมี พอกนิ พอใชข้ องประชาชนส่วนใหญ่เปน็ เบือ้ งต้นก่อน โดยใชว้ ิธกี ารและใชอ้ ุปกรณ์

ทป่ี ระหยัด แต่ถูกตอ้ งตามหลักวิชา เมอื่ ได้พ้นื ฐานมัน่ คงพรอ้ มพอควรและปฏิบตั ิ
ได้แล้ว จงึ คอ่ ยสรา้ งคอ่ ยเสรมิ ความเจรญิ และฐานะเศรษฐกจิ ขนั้ ทสี่ งู ขนึ้ โดยลำ� ดบั
ตอ่ ไป หากมงุ่ แตจ่ ะทมุ่ เทสรา้ งความเจริญ ยกเศรษฐกจิ ขึ้นใหร้ วดเรว็ แต่ประการเดียว
โดยไมใ่ หแ้ ผนปฏบิ ัติการสมั พันธ์กบั สภาวะของประเทศและของประชาชนโดย
สอดคลอ้ งดว้ ย กจ็ ะเกดิ ความไมส่ มดลุ ยใ์ นเรอ่ื งตา่ ง ๆ ขน้ึ ซง่ึ อาจกลายเปน็ ความยงุ่ ยาก
ลม้ เหลวไดใ้ นทส่ี ดุ ดงั เห็นได้ ทีอ่ ารยประเทศหลายประเทศกำ� ลังประสบปัญหาทาง

เศรษฐกิจอยา่ งรุนแรงอยู่ในเวลาน.ี้ ..”
ในการด�ำเนินโครงการพัฒนา หลักส�ำคัญที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พระราชทานอยู่ตลอดเวลาคือ การทำ� ส่งิ ท่งี ่ายไปหาสง่ิ ที่
ยาก ทำ� สงิ่ เลก็ ไปหาสง่ิ ใหญ่ อยา่ กา้ วกระโดด หรอื ใชแ้ นวทางอนรุ กั ษน์ ยิ มสดุ โตง่ ดงั พระบรมราโชวาท
ในพธี พี ระราชทานปรญิ ญาบัตรแก่นสิ ิตจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั ณ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วันศุกร์
ที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๒๓ ความตอนหนงึ่ ว่า

“…ในการสรา้ งความเจรญิ กา้ วหน้าน้ี ควรอยา่ งยง่ิ ท่จี ะต้องคอ่ ยสร้าง
ค่อยเสริมทีละเล็กละนอ้ ยตามล�ำดบั ให้เป็นการทำ� ไปพจิ ารณาไป และปรบั ปรุงไป
ไมท่ ำ� ด้วยอาการเร่งรบี ตามความกระหาย ท่ีจะสร้างของใหมเ่ พ่อื ความแปลกความใหม่
เพราะความจริงสิง่ ท่ีใหมแ่ ท้ ๆ นั้นไม่มี สิ่งใหม่ทัง้ ปวงยอ่ มสบื เน่ืองมาจากสิง่ เก่า
และตอ่ ไปยอ่ มจะต้องกลายเปน็ ส่งิ เกา่ ในเมือ่ มวี ฒั นาการคบื หน้าต่อไปอีกลำ� ดับหนึง่
การพฒั นาปรบั ปรงุ งานจงึ ควรจะคอ่ ย ๆ ทำ� ดว้ ยความมสี ตริ เู้ ทา่ ทนั ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งรบี รอ้ นแตป่ ระการใด
ผลทีบ่ งั เกิดขน้ึ จงึ จะแนน่ อน มีหลกั เกณฑ์ และเป็นประโยชน์แทแ้ ต่ฝ่ายเดยี ว...”

215

การดำ� เนินงานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดำ� รมิ ่งุ สรา้ งรากฐานทม่ี นั่ คงก่อน จากนั้น
จงึ ดำ� เนนิ การเพอื่ ความเจรญิ กา้ วหนา้ ในลำ� ดบั ตอ่ ๆ ไป พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงเน้นการพัฒนาที่มุ่งสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนก่อน
แลว้ มกี ารพฒั นาตอ่ ไปใหป้ ระชาชนสามารถพงึ่ ตนเองได้ นนั่ คอื ทำ� ใหช้ มุ ชนหมบู่ า้ นมคี วามเขม้ แขง็ กอ่ น
แล้วจงึ ค่อยออกมาสู่สงั คมภายนอก

พระองค์มีพระราชประสงค์ที่จะช่วยเหลือราษฎรตามความจ�ำเป็นและเหมาะสมกับสถานภาพ
เพื่อท่ีราษฎรเหล่าน้ันจะสามารถพ่ึงตนเองได้ต่อไป ดังพระราชด�ำรัสในพิธีเปิดการประชุมการ
สงั คมสงเคราะห์แหง่ ชาติ คร้ังที่ ๕ ณ หอ้ งประชุมศาลาสนั ติธรรม วันอาทติ ย์ ที่ ๖ เมษายน ๒๕๑๒
ความตอนหนงึ่ วา่

“...การเขา้ ใจถงึ สถานการณ์และสภาพการของผูท้ เี่ ราจะช่วยเหลือนนั้ เป็นส่ิงส�ำคัญท่ีสดุ
การชว่ ยเหลอื ให้เขาไดร้ ับส่ิงท่เี ขาควรจะไดร้ ับตามความจำ� เปน็ อยา่ งเหมาะสม
จะเปน็ การช่วยเหลอื ที่ได้ผลดที ่ีสุด เพราะฉะน้ัน
ในการช่วยเหลอื แตล่ ะคร้ังแตล่ ะกรณี จ�ำเปน็ ทเ่ี ราจะพจิ ารณาถงึ

ความตอ้ งการและความจ�ำเปน็ ก่อน และต้องทำ� ความเขา้ ใจกบั ผูท้ ่เี ราจะชว่ ย ใหเ้ ขา้ ใจ
ด้วยวา่ เขาอยู่ในฐานะอย่างไร สมควรทจ่ี ะได้รับความชว่ ยเหลอื อยา่ งไรเพียงใด
อีกประการหนึง่ ในการชว่ ยเหลือนัน้ ควรจะยดึ หลักสำ� คัญว่า เราจะช่วยเขาเพ่ือให้
เขาสามารถช่วยตนเองได้ตอ่ ไป…”
หลักการทรงงานตามล�ำดับขั้นตอนน้ัน ทรงพระราชด�ำริว่าสามารถปรับล�ำดับข้ันตอน

ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ สภาพพื้นท่ีและบุคคลท่ีเราจะไปช่วย ดังพระบรมราโชวาทพระราชทาน
แก่คณะผู้บริหารงานเร่งรัดพัฒนาชนบท ระดับผู้ว่าราชการจังหวัด ณ พระท่ีน่ังอัมพรสถาน วันศุกร์
ที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๑๒ ความตอนหน่งึ ว่า

“…ทเ่ี หน็ แผนพุทธเจดีย์*น้นั กด็ ูสวยดวี า่ เปน็ เจดยี ์ รปู รา่ งเปน็ เจดยี ม์ ่ันคงดี
พืน้ ฐานกวา้ งแล้วยอดแหลมขึ้นไป น�ำมาเปรยี บเทียบกับงานพฒั นาก็ดูรู้สึกว่าทำ� ใหน้ ่าเลอ่ื มใสดี

แตว่ า่ วิธีการทีจ่ ะทำ� บางทจี ะเอามาเปรยี บเทยี บง่าย ๆ อย่างน้นั ไม่ได้
เช่นถ้ายกตัวอยา่ งในแผนตอนพนื้ ฐานนนั้ มตี วั อยา่ งวา่ จะต้องสรา้ งถนน
สร้างชลประทานสำ� หรบั ใหป้ ระชาชนใช้ สำ� หรับใหเ้ จ้าหน้าทไ่ี ดเ้ ข้าไปปฏบิ ตั กิ ารได้
คอื ไปช่วยประชาชนในทางบคุ คลหรอื ในทางทีจ่ ะพัฒนาใหบ้ คุ คลมคี วามรู้และ
อนามัยแข็งแรง ดว้ ยการให้การศึกษา และการรักษาอนามัย ข้ันทสี่ ามถึงยอดนนั้ กค็ ือ
การใหป้ ระชาชนในทอ้ งทส่ี ามารถทำ� การเพาะปลกู หรือท�ำการงานและคา้ ขายได้
สามขน้ั นอี้ าจตอ้ งกลบั หวั กนั บา้ งกไ็ ด้ เพราะวา่ เหตุการณ์ตา่ ง ๆ ไม่เหมือนกนั

แลว้ แต่ทอ้ งท่ี แล้วแต่บคุ คลที่เราจะไปช่วย
จะยกตัวอย่างเชน่ วา่ การสรา้ งถนนนั้นอาจไม่ใชเ่ ป็นวิธีการพน้ื ฐานทจ่ี ะท�ำ
เพราะวา่ ไดเ้ คยประสบมาแล้วว่าการสรา้ งถนนกอ่ นแล้วไม่ได้นำ� สิ่งของที่อยู่บนยอดเจดยี ์

* แผนภมู ิการพัฒนาของ ร.พ.ช ทำ� เป็นรปู เจดีย์

216

ไปให้ทนั ทีจะกลับทำ� ให้ได้ผลตรงกนั ขา้ ม ในภาคอีสานมบี คุ คลหนง่ึ เปน็ ชาวตา่ งประเทศทีค่ วามรู้ดี
ได้ไปเยี่ยมตามชนบทแล้วกม็ าเล่าให้ฟงั ว่าไม่สรา้ งถนนเสียดีกวา่

เพราะว่าสร้างถนนแลว้ แทนทจ่ี ะเอาความเจรญิ ไปให้เขากลบั ไปดูดจากเขาออกมา
จึงทำ� ใหเ้ กดิ การก่อการรา้ ย ข้อนีฟ้ ังเขาพูดแลว้ กอ็ าจไมเ่ ชอ่ื

เพราะว่าไมน่ ่าเช่อื วา่ สร้างถนนแล้วจะไมด่ ี สรา้ งถนนแลว้ กค็ วรจะท�ำใหเ้ ราสามารถเข้าไปแนะน�ำ
ท�ำใหช้ าวบา้ นทอ่ี ยขู่ ้างในสามารถน�ำสินคา้ ออกมาขายได้ราคาดีขึ้น

ข้อน้อี าจจรงิ แต่วา่ กม็ ีขอ้ สำ� คัญซ่งึ ถา้ เราไม่ได้ปฏิบตั ทิ นั ทจี ะเกดิ หายนะจรงิ ๆ เหมอื นกนั ...”

ตวั อยา่ งพระราชกรณยี กจิ

พระราชกรณียกิจที่แสดงถึงการคิดอย่างเป็นองค์รวมในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร นั้นมมี ากมาย ขอยกตวั อยา่ งพอสังเขป ไดแ้ ก่ การบรหิ าร
จดั การนำ้� พระราชกรณยี กิจทแ่ี สดงถึงการทำ� ตามล�ำดบั ข้นั ตอนของความจำ� เปน็ เร่งดว่ น ท่ที รงให้ความ
ส�ำคัญในล�ำดบั แรก ๆ คอื การพัฒนาด้านการแพทย์และสาธารณสขุ ล�ำดบั ตอ่ ๆ มา คือการพฒั นาและ
อนุรักษ์ดิน นอกจากนี้ ทรงให้ความส�ำคัญกับการสร้างและให้ความช่วยเหลือในสิ่งที่จ�ำเป็นของ
ราษฎรก่อน ส�ำหรับพระราชกรณียกิจท่ีเป็นต้นแบบในการบริการรวมที่จุดเดียวนั้น คือการจัดตั้ง
และด�ำเนินงานศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ซ่ึงได้กล่าวไว้ในส่วนท่ี ๓
เรื่องศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาอันเน่อื งมาจากพระราชดำ� ริ

พระราชกรณียกิจแต่ละเร่ืองดังกล่าว สรปุ สาระส�ำคัญโดยสงั เขปได้ ดงั น้ี

การบรหิ ารจัดการน้ำ� โดยประสานเช่อื มโยงกันทง้ั ระบบ

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระราช
ประสงคใ์ หท้ กุ หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั เรอ่ื งนำ้� ทง้ั ประเทศทำ� งานโดยประสานและเชอ่ื มโยงกนั เพอ่ื เตรยี ม
วางแผนร่วมกันรับมือกับปัญหาน�้ำท่ีจะเกิดข้ึน เม่ือปี ๒๕๔๑ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร จงึ มพี ระราชดำ� รใิ หห้ นว่ ยงานราชการและหนว่ ยงานตา่ ง ๆ
ท้ังในและต่างประเทศรายงานสรุปสถานการณ์น้�ำในประเทศไทย ผ่านระบบเครือข่ายเพ่ือการจัดการ
ทรัพยากรน้�ำแห่งประเทศไทย เพ่ือสามารถบริหารจัดการน้�ำร่วมกัน โดยระบบดังกล่าวสามารถใช้งาน
ไดจ้ ริงในปี ๒๕๔๕

นอกจากนี้ สบื เน่อื งจากการเกิดปัญหานำ้� แล้งมากในปี ๒๕๓๗ ตอ่ เนอื่ งจนถงึ ปี ๒๕๓๘ และ
เกิดน้�ำท่วมใหญ่ในหลายพื้นที่ของประเทศไทย ในปี ๒๕๓๙ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงเล็งเห็นความส�ำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงมี
พระราชดำ� รใิ หจ้ ดั ตงั้ หนว่ ยงานสำ� หรบั ดแู ลเรอ่ื งการบรหิ ารจดั การนำ้� ขน้ึ โดยเฉพาะ อนั เปน็ ทม่ี าของการ
จัดต้ัง “สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้�ำและการเกษตร” เมื่อปี ๒๕๔๘ ดูแลและประสานระบบ
เครอื ขา่ ยเพอื่ การจดั การทรพั ยากรนำ�้ ของประเทศไทยในภาพรวม

217

โครงการพัฒนาพน้ื ท่ีลุม่ นำ�้ ปากพนงั อันเนือ่ งมาจากพระราชดำ� ริ

โครงการนี้เป็นตัวอย่างที่ชัดเจนท่ีแสดงให้เห็นถึงการพัฒนาหรือการบริหารจัดการที่ประสาน
เชื่อมโยงกันโดยยึดสภาพพื้นที่และปัญหาของพื้นที่เป็นหลักในการวางแนวทางแก้ไขปัญหา
การกำ� หนดวตั ถปุ ระสงคแ์ ละภารกิจร่วมกนั เพ่อื แกป้ ัญหาอยา่ งครอบคลุมในทกุ ๆ ด้านใหก้ บั พื้นที่
โดยไม่คำ� นึงถึงเสน้ แบ่งเขตการปกครอง

พ้ืนท่ีลุ่มน้�ำปากพนังท่ีได้รับพระราชทานพระราชด�ำริให้ด�ำเนินการแก้ไขปัญหา มีพื้นท่ีรวม
ประมาณ ๑.๙ ล้านไร่ ครอบคลุมพืน้ ที่ ๓ จงั หวดั ไดแ้ ก่ นครศรธี รรมราช สงขลา และพทั ลงุ มปี ัญหา
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างฟุ่มเฟือย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตัดไม้ท�ำลายป่าเพ่ือท�ำสวนยางพารา
ท�ำให้ดินถูกกัดเซาะและไหลลงแม่น้�ำปากพนังและล�ำน�้ำสาขา ท�ำให้ล�ำน�้ำธรรมชาติมีปริมาณลดลง
เรือ่ ย ๆ จนถงึ จดุ วกิ ฤตท่ีทำ� ให้สภาพนำ้� จดื ในลุม่ น้ำ� ที่เคยมปี ีละ ๙ เดือน เหลอื เพียงปลี ะ ๓ เดอื น ท้งั ยัง
เกดิ ปญั หาอทุ กภยั การไหลบา่ ของนำ้� เค็ม และสภาพดินเปรี้ยวส่งผลกระทบตอ่ เกษตรกรอย่างรนุ แรง

การแก้ไขปัญหาท่ีด�ำเนินการมาตั้งแต่ปี ๒๕๓๘ – ๒๕๔๘ ปรากฏผลท่ีเป็นรูปธรรม ได้แก่
การป้องกันน้�ำเค็มจากทะเลท่ีจะไหลเข้าไปในแม่น้�ำปากพนังและล�ำน�้ำสาขาได้อย่างสมบูรณ์ ช่วยให้มี
นำ�้ จดื ไว้ใช้ตลอดทงั้ ปี และสามารถลดพื้นท่นี ำ้� ทว่ มและยน่ ระยะเวลาในการระบายน้�ำออกจากพื้นทเี่ กิด
อทุ กภยั ในอำ� เภอปากพนงั เชยี รใหญ่ และหวั ไทร รวมทง้ั มแี หลง่ นำ้� ดบิ สำ� หรบั ผลติ นำ�้ ประปา จนสามารถ
สง่ น้�ำเพื่อผลิตนำ้� ประปาในเขตอ�ำเภอบางจาก เชยี รใหญ่ ปากพนงั บ่อลอ้ ชะอวด และหัวไทร

นอกจากน้ี การควบคุมระดับน้�ำในพรุช่วยลดปัญหาการเกิดดินเปร้ียว น�้ำเปร้ียว และไฟไหม้
ปา่ พรไุ ด้ การแบง่ เขตนำ้� จดื และนำ้� เคม็ ยงั ชว่ ยขจดั ปญั หาความขดั แยง้ ระหวา่ งเกษตรกรผเู้ ลยี้ งกงุ้ กลุ าดำ�
กับเกษตรกรที่ใช้น้�ำจืดท�ำการเกษตร และช่วยลดความเสียหายแก่พ้ืนท่ีนาข้าว สามารถขยายพื้นท่ี
ปลูกข้าวนาปรังได้ผลผลิตต่อไร่เพ่ิมข้ึน ตลอดจนส่งเสริมให้ราษฎรเปล่ียนอาชีพท�ำนากุ้งมาท�ำเกษตร
ผสมผสานมรี ายไดเ้ พิม่ มากขึน้

พระราชกรณยี กจิ ดา้ นการแพทย์และสาธารณสขุ

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ทรงเหน็ ความสำ� คัญในดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ เปน็ ลำ� ดบั ตน้ ๆ ของพระราชกรณยี กจิ ทงั้ ปวง
ในชว่ งเวลา ๒๐ ปแี รกท่ีทรงขึ้นครองสิริราชสมบัติน้ัน การแพทย์และสาธารณสุขของไทยยังไม่เจริญ
มีโรคระบาดเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง การคมนาคมยังไม่สะดวก ราษฎรท่ีอยู่ในท้องถ่ินท่ีห่างไกลและ
ทุรกันดารจึงเดินทางไปสถานพยาบาลล�ำบากมาก และส่วนมากยังอาศัยน�้ำจากแม่น�้ำล�ำคลองในการ
ดำ� รงชวี ติ เมอื่ มโี รคระบาดจงึ ตดิ ตอ่ และระบาดไดง้ า่ ย จงึ ทรงพระราชดำ� รวิ า่ รา่ งกายทแี่ ขง็ แรงและจติ ใจ
ทแี่ จม่ ใสเบกิ บาน เปน็ หวั ใจของการทำ� ใหช้ วี ติ มคี วามสขุ ดงั นนั้ สขุ ภาพอนามยั ของประชาชนเปน็ จดุ เรม่ิ ตน้
ของการพฒั นา ดงั พระราชดำ� รสั ในพธิ พี ระราชทานรางวลั มหดิ ล ประจำ� ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๓๙ ณ พระทนี่ งั่
จกั รีมหาปราสาท วันศกุ ร์ ท่ี ๓๑ มกราคม ๒๕๔๐ ความตอนหนึ่งวา่

218

“...การแพทย์และการสาธารณสขุ เปน็ พ้ืนฐานทส่ี ำ� คัญอยา่ งหนึง่ ของการพัฒนา
ประเทศ. ไมม่ ปี ระเทศใดในโลกจะเจริญก้าวหน้าได้อย่างสมบรู ณ์แบบ หากประชากร

ในประเทศน้ัน ๆ ยงั มีสขุ ภาพพลานามัยไมด่ พี อ. ...”

การสร้างและให้ความชว่ ยเหลอื ในสิง่ ทจี่ �ำเป็นกอ่ น

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พระราชทาน
พระราชดำ� รสั เกย่ี วกบั การพฒั นาประเทศวา่ ตอ้ งวนิ จิ ฉยั พจิ ารณาใหร้ อบคอบวา่ อะไรควรทำ� เรง่ ดว่ น
อะไรควรท�ำได้ก่อน และอะไรที่ยังไม่ควรท�ำ ดังที่ทรงยกตัวอย่างการเสด็จพระราชด�ำเนินทรงเย่ียม
ราษฎรหมบู่ า้ นหนงึ่ ทจี่ งั หวดั สโุ ขทยั มรี าษฎรเขา้ มากราบบงั คมทลู ขอใหพ้ ฒั นาถนนลกู รงั ซงึ่ สญั จรไปมา
มฝี ุ่นมาก ให้เป็นถนนลาดยาง ซ่งึ พระองค์ทรงมองวา่ การพฒั นาโครงสรา้ งพืน้ ฐานเป็นเร่อื งทจ่ี �ำเปน็ แต่
ถนนลกู รงั กย็ งั ใชก้ ารไดพ้ อสมควร มสี ง่ิ ทเี่ รง่ ดว่ นกวา่ คอื แหลง่ นำ�้ เพอ่ื เกบ็ กกั นำ�้ ไวเ้ พาะปลกู และไวใ้ ชอ้ ปุ โภค
บรโิ ภคไดต้ ลอดปี ซง่ึ จะชว่ ยใหช้ าวบา้ นมรี ายไดเ้ พมิ่ ขน้ึ ๒-๓ เทา่ แลว้ การพฒั นาถนนกค็ งเปน็ เรอ่ื งทที่ ำ� ได้
ง่ายในล�ำดับถัดไป ดังในพระราชด�ำรัสพระราชทานแก่คณะบุคคลท่ีเข้าเฝ้า ฯ ถวายพระพรชัยมงคล
เนอื่ งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลัย วนั พฤหัสบดี ท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๒๓ ว่า

“...กเ็ ลยถามเขาวา่ พวกเราชอบกนิ อะไร ชอบกินขา้ วหรอื ชอบกนิ ฝนุ่
เขาก็บอกว่าชอบกินข้าว ถา้ ชอบกนิ ข้าวก็สมควรท่จี ะพัฒนาใหข้ า้ วมมี ากขึ้น
ใหม้ รี ายได้ เม่อื กนิ ขา้ วไดแ้ ลว้ และมรี ายไดม้ ากขนึ้ การลาดยางพัฒนาถนนนัน้ เป็นเรือ่ งเล็ก

งา่ ยมาก เขากพ็ อเขา้ ใจ...”

และเมื่อเดือนกันยายน ๒๕๑๕ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จฯ ทรงเยี่ยมวัดสมัยสุวรรณ จังหวัดสุราษฎร์ธานี เจ้าอาวาสได้ทูลขอ
พระราชทานอโุ บสถ ซ่ึงเดิมมโี บสถ์อยู่แลว้ แต่เปน็ เพียงหลงั คาสงั กะสี เสาไมม่ ีฝา ใคร ๆ อาจจะนกึ วา่
คงจะมีพระราชศรัทธาพระราชทานโบสถใ์ หม่ทัง้ หลัง สรา้ งอย่างวิจิตรตามแบบของกรมศลิ ปากร แต่หา
เป็นเช่นนั้นไม่ ทรงพระกรุณาพระราชทานไม้และสังกะสีกับตะปูแก่วัด มีพระราชกระแสรับส่ังกับ
เจา้ อาวาสใหใ้ ชว้ สั ดกุ อ่ สรา้ งทพ่ี ระราชทานนน้ั ตอ่ เตมิ ตวั โบสถท์ ม่ี อี ยกู่ อ่ นแลว้ ใหพ้ อทจ่ี ะใชเ้ ปน็ ทปี่ ระกอบ
สงั ฆกรรมไปกอ่ น

219

แสดงใหเ้ หน็ ชดั ในพระบรมราโชบายทจ่ี ะใหพ้ ฒั นาอยา่ งคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป ไมโ่ ปรดทจี่ ะใหเ้ กดิ
โบสถ์หลังงามและงดงามขึน้ ท่ามกลางกระท่อมซอมซอ่ ของประชาชนผู้ยากไร้และขดั สน

บทสรปุ : บรหิ ารงานแบบประสานเชอื่ มโยงกนั การทรงงานเพอ่ื ประโยชน์
สขุ อยา่ งยง่ั ยนื

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมี
สัจธรรมแห่งแนวพระราชด�ำริท่ีปรากฏชัดเป็นรูปธรรมในการทรงงานทุก ๆ เรื่องเพ่ือแก้ไขปัญหาและ
ความเดือดร้อนให้แก่พสกนิกร ทรงมองภาพใหญ่ของการแก้ไขอย่างเป็น “องค์รวม” เสมอ และหาก
ยอ้ นกลบั ไปดโู ครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ ตงั้ แตเ่ รมิ่ แรกจนกระทงั่ ถงึ ปจั จบุ นั จะเหน็ วา่ แนวทาง
การพัฒนาเหล่านั้นเป็นไปตาม “ล�ำดับขั้นตอน” ตามความจ�ำเป็น และทรงเน้นการ “บริการรวม
ท่จี ดุ เดียว” โดยทรงมเี ป้าหมายส�ำคัญคอื เพ่อื “ประโยชนส์ ุขแกป่ ระชาชน” และหัวใจอนั ส�ำคญั ย่งิ ของ
การพัฒนาในทกุ พระราชกรณียกิจน้นั คอื พระองคไ์ ด้ “ทรงวางรากฐานการพฒั นาอยา่ งยั่งยืน” ใหแ้ ก่
การดำ� รงชีวติ ของประชาชนและการพัฒนาประเทศไทยไวแ้ ลว้ อย่างรอบคอบและครบถ้วน

๓.๔. มุ่งผลสมั ฤทธ์ิ

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมุ่งม่นั
ท่ีจะช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น จึงทรงท�ำทุกวิถีทางเพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธ์ิดังพระราช
ประสงค์ แนวพระราชดำ� รใิ นการพฒั นาของพระองคจ์ งึ มลี กั ษณะพเิ ศษคอื ทรงมงุ่ ผลของความ “คมุ้ คา่ ”
มากกว่าความ “คุ้มทนุ ” ดงั ท่เี คยมพี ระราชกระแสว่า “ขาดทุนคอื ก�ำไร” การลงทุนทีไ่ ม่คมุ้ ทุนแตใ่ ห้
ผลคมุ้ คา่ คอื ความอยูด่ ีมีสุขของประชาชน ถอื เปน็ กำ� ไรท่ีจำ� เปน็ ตอ้ งลงทุน แมก้ ารลงทนุ นัน้ จะไมค่ ุ้ม
ทนุ และไมก่ ลบั มาเปน็ ตวั เงนิ อกี ทง้ั ยงั มลี กั ษณะ “ไมต่ ดิ ตำ� รา” คอื เปน็ การพฒั นาทอ่ี นโุ ลมและรอมชอม
กับสภาพแห่งธรรมชาติ และสภาพของสังคมจิตวิทยาแห่งชุมชน รวมทั้งไม่ผูกยึดติดอยู่กับวิชาการ
และเทคโนโลยที ีไ่ ม่เหมาะกบั สภาพท่ีแท้จริงของคนไทย

220

นอกจากน้ี โครงการต่าง ๆ ที่
พระองค์มีพระราชด�ำริและทรงศึกษา
จนมีพระบรมราชวินิจฉัยออกมาในท้าย
ท่ีสุดแล้ว มักจะพบว่าเป็นเร่ืองง่ายและ
ธรรมดา จนไม่เคยมผี ูใ้ ดคาดคิดมาก่อน ซึง่
เป็นที่ทราบกันดีในหมู่นักพัฒนาและ
นักวิชาการว่า พระองค์โปรดที่จะท�ำสิ่งที่
ยากให้กลายเปน็ ง่าย ทำ� สิง่ ท่ีสลบั ซับซอ้ น
ใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย ดงั มพี ระราชกระแสอยเู่ นอื ง ๆ
ถงึ คำ� วา่ “ท�ำให้งา่ ย” ซึง่ เปน็ หลกั ส�ำคญั ใน
การพัฒนาทุกโครงการของพระองค์ ท้ังในแนวความคิดและด้านเทคนิควิชาการจะต้องสมเหตุสมผล
ทำ� ไดร้ วดเรว็ และสามารถแกไ้ ขปญั หา กอ่ ประโยชนไ์ ดจ้ รงิ ตลอดจนมงุ่ ไปสวู่ ถิ แี หง่ การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื
โดยมีแนวพระราชดำ� ริรวมทงั้ ตวั อย่างพระราชกรณียกิจและโครงการตา่ ง ๆ ดงั น้ี

แนวพระราชดำ� ริ

(๑) ขาดทนุ คอื กำ� ไร

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงถอื วา่
“การให”้ และ “การเสยี สละ” เปน็ การกระทำ� อนั มผี ลเปน็ กำ� ไร โดยทรงทำ� ทกุ อยา่ งทจี่ ำ� เปน็ ในชว่ งเวลา
ที่เหมาะสม แม้จะต้องเสียค่าใช้จ่ายมากหรือต้องขาดทุน ทรงถือเป็นการลงทุนเพื่อความอยู่ดีมีสุข
ของราษฎร ตามแนวพระราชดำ� รดิ งั ตอ่ ไปน้ี

“การให้” และ “การเสียสละ” เป็นการกระท�ำอันมีผลเป็นก�ำไร คือ ความอยู่ดีมีสุข
ของราษฎร ดังเห็นได้จากการสละท้ังพระราชทรัพย์ พระวรกาย พระสติปัญญา และเวลา
เกือบท้ังหมดของพระองค์ในการเสด็จพระราชด�ำเนินเพ่ือทรงช่วยเหลือราษฎรตามถ่ินทุรกันดาร
ทั่วประเทศ ในปีหนึ่ง ๆ รวมเวลาประมาณ ๘ เดือน โดยทรงให้ความส�ำคัญกับผลลัพธ์ท่ีเกิดขึ้นจาก
การพฒั นาอันจะชว่ ยแก้ไขปัญหาและก่อใหเ้ กิดประโยชน์สุขแก่ปวงประชาชาวไทย เช่น ในคราวเสด็จฯ
เยือนประชาชนในเขตหัวหิน ทรงเห็นความล�ำบากของประชาชนในหมู่บ้านเขาเต่า ขาดแคลนน�้ำ
อุปโภคบริโภค อีกท้ังช่วงน้�ำทะเลขึ้นได้ไหลเข้าท่วมพื้นท่ีเกษตร ท�ำให้ผลผลิตเสียหาย พระองค์
จึงทรงสละพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จ�ำนวน ๖๐,๐๐๐ บาท ให้กรมชลประทานก่อสร้างอ่างเก็บน้�ำ
เขาเตา่ ซึง่ นบั เป็นโครงการตามพระราชด�ำริแห่งแรก

นอกจากนี้ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
ทรงสละความสุขส่วนพระองคใ์ นการมงุ่ มน่ั ปฏิบตั ิพระราชกรณยี กจิ ทัง้ ปวง ดงั เปน็ ทปี่ ระจักษ์แก่สายตา
ชาวไทยและชาวโลก เพอื่ ขจดั ทุกข์ บำ� รงุ สุขแก่เหลา่ พสกนกิ ร แมข้ ณะทรงพระประชวร ประทบั ภายใน
โรงพยาบาลกย็ งั ทรงงานตดิ ตามและทรงคอยใหค้ ำ� แนะนำ� การปฏบิ ตั งิ านพฒั นาดา้ นตา่ ง ๆ เสมอมไิ ดข้ าด

221

พระองคท์ รงงานเพอ่ื ชาวไทยนบั แตท่ รงครองสริ ริ าช
สมบตั ิจวบจนเสด็จสู่สวรรคาลัย

การด�ำเนินการใด ๆ แม้จะตอ้ งเสีย
ค่าใช้จา่ ยมากหรอื ต้องขาดทุน หากเป็นการแกไ้ ข
ปัญหาและก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน
ก็เท่ากับได้ก�ำไร กล่าวคือ การพัฒนาเพ่ือการ
อยดู่ กี นิ ดขี องประชาชนนนั้ ไมต่ อ้ งคำ� นงึ ถงึ กำ� ไรหรอื
ผลตอบแทนแต่อย่างเดียว การท�ำอะไรต้องลงทุน
ลงแรงและปจั จยั บางอยา่ งเสยี กอ่ นเพอื่ สรา้ งผลกำ� ไร
ในอนาคต คือ ความอยู่ดีมีสุขของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการด�ำเนินโครงการเพ่ือแก้ไขปัญหา
ใหป้ ระชาชนและประเทศชาติ ซึง่ ไมอ่ าจประเมนิ ค่าได้ หากผลท่ไี ด้น้ันคอื ความสุขของประชาชน
ดังแนวพระราชด�ำริของพระองค์ ตามค�ำบอกเล่าของ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ในหนังสือ
“การทรงงานพัฒนาประเทศ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๙” ความตอนหน่ึงว่า
“...ส�ำหรับพระองค์ จะเป็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้ค่าใช้จ่ายน้อยท่ีสุด ต่�ำที่สุด แต่หากเห็นปัญหาที่
เก่ียวข้องกับมนุษย์นั้น บางครั้งแพงแสนแพงก็ต้องท�ำ เพราะชีวิตของมนุษย์เราจะไปตีราคาแบบวัสดุ
สิ่งของไม่ได้ ซ่ึงพระองค์ตรัสว่า ...ขาดทุน คือ ก�ำไร Our loss is our gain... การเสียคือ
การได้ ประเทศชาติก็จะกา้ วหน้า และการทค่ี นอยดู่ มี สี ขุ น้ัน เป็นการนบั ทีเ่ ปน็ มลู ค่าเงินไม่ได้...”
การลงทุนเพื่อประโยชน์ของประชาชนและส่วนรวม ทรงเห็นว่าการลงทุนบางอย่าง
แม้จะต้องใช้ทุนทรัพย์มหาศาล แต่หากผลท่ีได้คือความอยู่ดีมีสุขของราษฎรอย่างยั่งยืน นับเป็น
ผลก�ำไรของประชาชนและประเทศชาติ ดังพระราชด�ำรัสพระราชทานแก่คณะบุคคลต่าง ๆ
ทีเ่ ขา้ เฝ้า ฯ ถวายชัยมงคล ในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลยั สวนจติ รลดารโหฐาน
พระราชวังดุสิต วันพุธ ท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔ ความตอนหน่งึ ว่า
“...ในการกระท�ำใด ๆ ถา้ เรายอมลงทุนลงแรงไปก็เหมือนเสียเปลา่ แต่ในทีส่ ดุ
เรากลับจะไดร้ บั ผลดี ทัง้ ทางตรง ทางอ้อม. เรอื่ งนตี้ รงกับงานของรัฐบาลโดยแท้.
ถ้าหากว่าอยากใหป้ ระชาชนอย่ดู กี นิ ดี รฐั จะตอ้ งลงทนุ ตอ้ งสรา้ งโครงการซึ่งตอ้ งใช้
เงนิ จำ� นวนเปน็ ร้อยเปน็ พนั เป็นหม่นื ล้าน. ถา้ ทำ� ไปกเ็ ป็น “loss” เปน็ การเสยี
เป็นการขาดทนุ เป็นการจา่ ย คอื รฐั บาลต้องตัง้ งบประมาณรายจา่ ย ซ่งึ มาจากเงนิ ของ
ประชาชน. แต่ว่าถา้ โครงการดี ในไม่ช้าประชาชนกจ็ ะไดก้ ำ� ไร จะไดผ้ ล. ราษฎรจะอยดู่ ี
กินดีขึ้น จะได้ประโยชน์ไป สว่ นรฐั บาลไมไ่ ด้อะไร. แต่ข้อนีถ้ ้าดูให้ดี ๆ จะเหน็ ว่าถ้าราษฎร
อยูด่ กี ินดี มีรายได้ รฐั บาลก็เก็บภาษีไดส้ ะดวก ไม่มีการหนีภาษี เพราะเมอ่ื มรี ายไดด้ ีขน้ึ
เขากส็ ามารถเสียภาษไี ด้มากขึ้น. ...”

222

การ “ขาดทุน” เพื่อการได้ “ก�ำไร” อันเป็นความอยู่ดีมีสุขของประชาชนน้ัน
ประมาณค่าไม่ได้ โดยมีแนวพระราชด�ำริว่า การลงทุนเพื่อการใดแล้วช่วยก่อให้เกิดความอยู่ดีมีสุข
แก่ราษฎรน้ัน ประมาณค่ามิได้ เป็นส่ิงที่มีคุณค่าเหนือกว่าเงิน แต่ถ้าจะให้คิดเป็นมูลค่าเงินก็ท�ำได้
ดว้ ยการดงู บประมาณทเี่ ราใชใ้ นการสงเคราะห์ ซงึ่ ทจ่ี รงิ แลว้ เปน็ สง่ิ ทไี่ มจ่ ำ� เปน็ ถา้ เราทำ� ใหป้ ระชาชนอยดู่ ี
กินดี ตง้ั แตต่ น้ ดงั พระราชดำ� รัสพระราชทานแกค่ ณะบุคคลตา่ ง ๆ ท่เี ข้าเฝา้ ฯ ถวายชัยมงคล ในโอกาส
วันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต วันพุธ
ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๔ ความตอนหนง่ึ วา่

“...การทคี่ นอยดู่ มี คี วามสขุ นัน้ เปน็ กำ� ไรอกี อย่างหนึ่ง ซงึ่ นับเป็นมูลค่าเงนิ
ไม่ได้. แต่วา่ ถ้าจะคดิ ใหเ้ ป็นมลู คา่ เงินจริง ๆ กค็ ิดได.้ เราต้องจา่ ยในสิ่งทีไ่ ม่น่า
จะต้องจ่าย เช่นทางรัฐบาล โดยกระทรวงมหาดไทย โดยกรมประชาสงเคราะห์ หรอื กรมอืน่ ๆ
จะตอ้ งไปสงเคราะหร์ าษฎรที่ยากจน ซ่งึ ในปหี น่งึ ๆ ต้องใช้เงินเปน็ จ�ำนวนหลายร้อย
หลายพนั ลา้ น ในการสงเคราะห์ชาวบ้านทย่ี ากจน โดยไมไ่ ดอ้ ะไรกลบั คนื มา. เพราะวา่
ราษฎรทย่ี ากจนน้ี เขาไมม่ กี �ำลงั ทจ่ี ะตอบแทนอะไรได้เลย. แมจ้ ะทำ� งานก็ไม่ค่อยได้
เพราะความยากจน. แต่วา่ ถ้าเราสามารถทีจ่ ะทำ� ใหเ้ ขาอยดู่ ีกินดีขน้ึ หนอ่ ย. เขาจะสามารถ

หารายได้ได้มากขน้ึ เราก็จะลดการสงเคราะหล์ งได้. ...”
การ “ลงทุน” ในช่วงเวลาท่ีเหมาะสม ย่อมส่งผลคุ้มค่ามากกว่าการท่ีจะปล่อยให้
เสียโอกาสการพัฒนานั้นไป กล่าวคือ การลงทุนอย่างทันท่วงทีในการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของ
ประชาชน อาจจะดูเหมอื นขาดทนุ ในตอนต้น แต่ผลท่ไี ดค้ อื ประชาชนจะได้รับประโยชน์อยา่ งทันท่วงที
แลว้ จากนนั้ กม็ แี ตก่ ำ� ไร ดกี วา่ ปลอ่ ยเวลาใหล้ ว่ งเลยไปเรอื่ ย ๆ จะทำ� ใหข้ าดทนุ ยง่ิ ขน้ึ ไปอกี ดงั พระราชดำ� รสั
พระราชทานแก่คณะบุคคลต่าง ๆ ท่ีเข้าเฝ้า ฯ ถวายชัยมงคลในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดสุ ิดาลยั สวนจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดสุ ิต วนั พธุ ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๔ ความตอนหนง่ึ วา่
“...เราเห็นว่าท่ีไหนทท่ี �ำโครงการได้ เรากต็ อ้ งท�ำโดยเร่งดว่ น แม้จะยงั ไมไ่ ดป้ ระกวดราคา

อยา่ งถูกระเบยี บ หรอื แมร้ าคาของโครงการนนั้ อาจแพงกว่าจรงิ บา้ ง.
ยกตวั อยา่ ง สมมตุ วิ า่ โครงการแหง่ หนงึ่ ตอ้ งลงทนุ ๑๐ ลา้ นบาท. ถา้ ทำ� การศกึ ษาอยา่ งรอบคอบแลว้
มกี ารประกวดราคาตามระเบยี บ ราคาอาจตก ๘ ลา้ นบาท แตก่ ารนจี้ ะตอ้ งเสยี เวลาเปน็ เดอื นเปน็ ป.ี

แตว่ า่ ถ้าหากทำ� ไปเลยตก ๑๐ ล้าน โดยที่ปลายปีน้ันหรือก่อนปลายปี โครงการจะใหผ้ ลแลว้
ประชาชนจะไดก้ �ำไร คือประชาชนจะมีรายไดแ้ ล้ว. เปน็ อนั วา่ ปลายปีนน้ั ไมต่ อ้ งสงเคราะห์

คอื ไมต่ ้องเอาเสือ้ ผา้ เอาอาหาร เอาอะไรต่าง ๆ ไปแจก ไมต่ ้องสงเคราะห์.
กป็ ระหยดั การสงเคราะห์ไปได.้ ในปีแรกอาจประหยัดไปถึงล้านบาทก็ได้ แตอ่ ยา่ งนอ้ ยกเ็ ป็นแสน.

แลว้ ก็ไม่ต้องปราบปราม เพราะว่าคนท่ีเดือดรอ้ นไมม่ ีเงินใช้ มักจะต้องไปขโมยบา้ ง

223

หรือไปหากินท่ีอืน่ และระหว่างทาง ต้องเผชิญความเดอื ดรอ้ นจงึ ท�ำผดิ กฎหมายบ้าง
หรือแม้จะไม่ทำ� ผดิ กฎหมาย กจ็ ะตอ้ งเสยี เวลาเสยี คา่ เดนิ ทาง ก็เสียทง้ั นนั้ ซ่งึ ถ้ามงี านท�ำ
ในทอ้ งทข่ี องตัวก็ไมต่ ้องเสยี . เงินทใี่ ช้ในการท�ำโครงการ สว่ นท่ีเกนิ ไปหน่อยมนั กลบั คนื มาแล้ว.
หมายความวา่ ถ้าหากรีบท�ำโครงการ ๑๐ ล้านบาทน้ัน ก็ได้กำ� ไรแลว้ ในปแี รก. ชดเชย
จำ� นวน ๒ ล้านบาทที่ว่าแพงเกินไปนัน้ ไดแ้ ล้ว. แต่ขอ้ สำ� คัญทส่ี ดุ ถ้าอยากทำ� โครงการ
ให้ได้เปน็ มูลค่า ๘ ลา้ นบาทนน้ั จะต้องเสียเวลาสอบราคา เสยี เวลาท�ำแผนใหร้ อบคอบ
จึงยงั ท�ำไม่ไดใ้ นปีน้.ี ปนี ี้ชาวบ้านจงึ ยงั ไมไ่ ด้รับผลดีจากโครงการ. ครนั้ ปตี ่อไปปนู ซเี มนต์
กแ็ พงขน้ึ เศรษฐกิจก็เปลยี่ นแปลงไป ๘ ล้านบาทไมพ่ อแลว้ ตกลงตอ้ งใช้ ๙ ลา้ นบาท.

จงึ ตอ้ งของบประมาณเพม่ิ เตมิ . และแลว้ งบประมาณเพม่ิ เตมิ นนั้ กถ็ กู ตดั . ปที สี่ อง
จงึ ยงั ทำ� ไมไ่ ด.้ จนกระทง่ั เอาจรงิ ในปที สี่ าม อนมุ ตั ิ ๑๐ ลา้ น กท็ ำ� ได.้ แตผ่ ลดี

ทค่ี วรจะไดร้ บั ต้งั แต่ตน้ จากโครงการน้ันกไ็ ม่ไดร้ ับ. แล้วกเ็ ปน็ อนั วา่ ตอ้ งเสยี เงนิ ๑๐ ล้านบาท
อยดู่ ี แตป่ ระชาชนตอ้ งทนเดือดรอ้ นไปอกี สองสามป.ี ถ้ายอม “ขาดทุน” คือ

ยอมเสีย ๑๐ ล้านบาทตั้งแต่ต้น กส็ ามารถทจี่ ะ “ไดก้ ำ� ไร” คอื ประชาชนจะไดผ้ ลดตี ง้ั แต่
ปแี รก. ทางวชิ าเศรษฐกจิ แท้ ๆ กเ็ ปน็ อยา่ งนไ้ี ดเ้ หมอื นกนั . มตหิ รอื คตพิ จน์ทีว่ ่า “ขาดทนุ

ท�ำใหม้ ีก�ำไรได”้ น้นั ก็เปน็ อันพิสูจนไ์ ด้แล้ว. ...”

(๒) ไมต่ ิดต�ำรา

หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร ทรงเนน้ การอนโุ ลมและรอมชอมกับสภาพธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม สภาพแวดล้อม และ
ความเป็นอยู่ของประชาชนในชุมชน โดยทรงประยุกต์ใช้หลักวิชาอย่างซ่ือสัตย์และมีเหตุผล มุ่งเรียนรู้

224

จากประสบการณแ์ ละทดลองหาแนวทางปฏบิ ตั โิ ดยไมย่ ดึ ตดิ กบั ทฤษฎแี ละหลกั วชิ าการ รวมทงั้ เทคโนโลยี
ท่ไี มเ่ หมาะสมกบั สภาพชีวิตความเปน็ อย่ทู ่ีแท้จริงของคนไทย โดยมแี นวพระราชด�ำริดงั ต่อไปนี้

อนุโลมและรอมชอมกับสภาพธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม สภาพสังคม และความเป็นอยู่
ของประชาชนภายในชุมชน เพ่ือให้การพัฒนาในแต่ละพ้ืนท่ีไม่ท�ำลายหรือฝืนกับสภาพธรรมชาติ
และสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ทน่ี นั้ ๆ จนทำ� ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย โดยการพฒั นาใด ๆ ควรอยบู่ นพนื้ ฐานของการ
ใหค้ นและธรรมชาติอยรู่ ว่ มกนั อย่างอาศัยเกือ้ กูลกัน และทส่ี ำ� คญั อกี ประการหนึ่งคือ จะต้องสอดคล้อง
และเขา้ ไดก้ บั ขนบธรรมเนยี ม วฒั นธรรม ประเพณขี องทอ้ งถน่ิ ในแตล่ ะแหง่ ซง่ึ จะสง่ ผลใหก้ ารพฒั นานน้ั
ไดร้ บั ความร่วมมอื จากราษฎร และเกดิ ผลท่เี ป็นรปู ธรรมอยา่ งยง่ั ยืน

ดังจะเห็นได้จากการที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร มพี ระราชดำ� รจิ ดั ตงั้ ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� รขิ น้ึ ตามภมู ภิ าคตา่ ง ๆ
เพื่อเป็นศูนย์รวมของการศึกษาค้นคว้าทดลอง วิจัย และแสวงหาแนวทางและวิธีพัฒนาด้านต่าง ๆ
ทเี่ หมาะสมสอดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ ม และการประกอบอาชพี ของราษฎรทอี่ าศยั อยใู่ นภมู ปิ ระเทศนน้ั ๆ
โดยคำ� นึงถึงสภาพที่แทจ้ รงิ ของพืน้ ท่แี ละปญั หาเปน็ ทต่ี ้ัง

ไมผ่ กู มดั ยดึ ตดิ กบั วชิ าการ ประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั วชิ าอยา่ งซอื่ สตั ยแ์ ละมเี หตผุ ล โดยไมย่ ดึ ตดิ
อยู่กับต�ำราหรือทฤษฎีจนเกินไป พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร ทรงมุ่งหมายให้ทุกคนตระหนักว่า หลักวิชาทั้งหลายจ�ำเป็นต้องประยุกต์ใช้ด้วย
วจิ ารณญาณอยา่ งมีเหตผุ ล และประสานสอดคลอ้ งกับวิชาการอ่นื ๆ อย่างเหมาะสม ดว้ ยความซ่ือสตั ย์
และสุจริตใจต่อวิชาการและวิชาชีพของตน รวมท้ังมีความหนักแน่นและรอบคอบในหลักการ ไม่น�ำ

225

วิชาการไปใช้อย่างผิดพลาด เพราะจะเป็นการท�ำลายเกียรติภูมิของตนเอง และอาจก่อให้เกิดความ
เสียหายร้ายแรงได้ ดังพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยมหิดล
ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วนั พฤหสั บดี ท่ี ๒ กรกฎาคม ๒๕๓๐ ความตอนหนงึ่ วา่

“…การใช้วิชาความรใู้ หถ้ ูกต้องเป็นประโยชน์ มหี ลกั สำ� คญั พงึ ยึดถือดังนี.้
ประการแรก ในฐานะผมู้ วี ิชาการและวชิ าชพี ระดับสงู จะตอ้ งซื่อตรงบรสิ ทุ ธ์ิใจตอ่
วิชาการและวิชาชีพระดบั สูง จะตอ้ งซือ่ ตรงบรสิ ุทธ์ิใจตอ่ วิชาการและวชิ าชพี ของตน
หมายความวา่ แตล่ ะคนจะต้องพยายามควบคุมความคิดจิตใจใหม้ น่ั คง หนกั แน่น
และรอบคอบในหลกั การ ไมใ่ ห้มักง่าย ไม่ใหป้ ระมาทเลนิ เล่อ แลว้ น�ำวิทยาการซงึ่ เปน็
ของสูง ไปใชอ้ ย่างผิดพลาด เพราะการกระท�ำดังนน้ั เป็นการท�ำลายวิชาและทำ� ลายเกยี รตภิ ูมิ
ของตนโดยตรง ทงั้ ยังอาจกอ่ ให้เกิดความเสยี หายรา้ ยแรงมากมายข้ึนได้อย่างคาดไมถ่ ึง.
ประการทส่ี อง จะต้องเขา้ ใจใหถ้ กู ว่า การซือ่ ตรงบริสทุ ธ์ิใจตอ่ วิชาการนัน้ มิได้หมายถงึ
การยึดตำ� ราหรอื ยึดทฤษฎีจนเหนยี วแนน่ อยา่ งเอาหัวชนฝา. หากมุง่ หมายให้ทกุ คน
ตระหนกั ว่า หลักวชิ าท้งั หลายจ�ำเป็นตอ้ งประยุกต์ใชด้ ว้ ยวิจารณญาณ ใหถ้ กู เหตถุ กู ผล
ใหถ้ กู สดั ถกู สว่ น และใหป้ ระสานสอดคลอ้ งกบั วชิ าการอน่ื ๆ อยา่ งพอเหมาะพอด.ี …”
ไมย่ ดึ ตดิ กบั เทคโนโลยที ไ่ี มเ่ หมาะสม โดยตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ภมู ปิ ระเทศเปน็ สำ� คญั โดยหลกั การ
คอื การทำ� ใหส้ ง่ิ ทม่ี อี ยใู่ หเ้ กดิ เปน็ สงิ่ ทน่ี ำ� มาใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ แมแ้ ตส่ งิ่ ทเ่ี ปน็ ของเสยี ของเหลอื ใช้
ควรใช้เทคโนโลยีแปรสภาพให้เป็นของใช้ได้ เพ่ือช่วยให้ผู้ท่ีมีทุนน้อยมีโอกาสน�ำมาใช้ได้อยา่ งเหมาะสม
ดงั พระบรมราโชวาท ในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั รของสถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ณ อาคารใหม่
สวนอัมพร วนั พฤหสั บดี ท่ี ๑๘ ตุลาคม ๒๕๒๒ ความตอนหน่ึงวา่
“...เทคโนโลยีน้นั โดยหลักการ คอื การทำ� ให้สงิ่ ทม่ี ีอยใู่ ห้เกิดเปน็ ส่งิ ท่ีนำ� มาใชป้ ระโยชนไ์ ด้
ดงั นั้น เทคโนโลยที ีด่ ี ทสี่ มบรู ณแ์ บบ จึงควรจะสร้างสิ่งทจ่ี ะใช้ประโยชน์ไดอ้ ย่าง
คุม้ ค่า และมคี วามสญู เปลา่ หรือความเสยี หายเกดิ ขึ้นนอ้ ยทส่ี ุด แมแ้ ตส่ ่ิงทีเ่ ป็นของเสีย
เปน็ ของเหลอื ทิง้ แล้ว กค็ วรจะได้ใชเ้ ทคโนโลยีแปรสภาพใหเ้ ปน็ ของใช้ได้ เช่น ใช้ทำ�
ขยะและมลู สัตว์ใหเ้ ป็นแก๊สและปยุ๋ เป็นต้น โดยทางตรงข้ามเทคโนโลยใี ดที่ใช้การได้
ไมค่ มุ้ ค่า กอ่ ให้เกิดความสูญเปลา่ และความเสียหายไดม้ าก จัดวา่ เปน็ เทคโนโลยี

ทบ่ี กพรอ่ ง ไมส่ มควรจะน�ำมาใช้ไมว่ ่าในกรณใี ด...”
พระราชด�ำรัส ในพิธีทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเหรียญทองเฉลิมพระเกียรติคุณ ฯ
แดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ณ สถาบนั เทคโนโลยแี หง่ เอเชยี วนั องั คาร ที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๓๐
ความตอนหนง่ึ วา่

226

“…การใช้หลักวิชาหรอื ใช้ทฤษฎใี หเ้ กดิ ประโยชนไ์ ด้แทจ้ ริงนั้น จะต้องใช้ให้
ถกู ตอ้ ง และสอดคล้องพอเหมาะพอดกี บั ความเปน็ อยู่ ความคดิ ความเชื่อถือ และ

วัฒนธรรม ตามสภาพท่ีเป็นจริงในภาคพืน้ ต่าง ๆ. ...”
เรียนรู้จากประสบการณแ์ ละทดลองหาแนวทางปฏิบัติโดยไม่ยึดติดกับทฤษฎี บางครั้ง
การดำ� เนนิ งานประสบปญั หา และไมม่ วี ธิ กี ารแกไ้ ขหรอื ปรากฏอยใู่ นตำ� รา ตอ้ งนำ� ประสบการณไ์ ปปรบั ใช้
ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา โดยพินิจพิจารณาอย่างลึกซ้ึง และทดลองหาแนวทางปฏิบัติในการแก้ไข
ปัญหา ใหส้ อดคล้องกบั สถานการณ์ เพอื่ ก่อประโยชนต์ ่อส่วนรวมมากทสี่ ุด ดงั กระแสพระบรมราโชวาท
เนื่องในโอกาสพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์แก่ข้าราชการ ณ ศาลาดุสิดาลัย พระราชวังดุสิต
วนั พฤหสั บดี ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน ๒๕๑๖ ความตอนหนง่ึ วา่

“...งานนจี้ ะต้องทำ� ดว้ ยความรู้ คือความร้หู ลักวชิ าในแตล่ ะงานทที่ ่านได้
ประกอบอยู่ นอกจากความร้ใู นหลกั วชิ าการแลว้ จะต้องมคี วามรทู้ ่ีจะมาปฏบิ ัติ นำ� เอา
วชิ าน้นั มาปฏบิ ัติใหถ้ กู ตอ้ งตามเหตกุ ารณ์ ซึง่ บางทกี ็ไมม่ อี ยใู่ นต�ำรา และจะตอ้ งอาศยั
ความคิดพจิ ารณาท่รี อบคอบของตนเองเพอื่ ให้สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ บางสถานการณ์
เม่อื เราไปเจอก็พยายามทีจ่ ะซักเอาหลกั วิชาท่ไี ด้เล่าเรยี นมาหรอื ไดป้ ระสบมามาปฏบิ ัติ

ก็ไม่สามารถที่จะท�ำให้ลลุ ว่ งไปโดยเรยี บรอ้ ย แตถ่ ้ามาใช้ความพิจารณาทรี่ อบคอบ
ท่ลี ึกซึ้ง ก็จะผ่านพน้ อุปสรรคท้งั หลายนนั้ ไปโดยดเี ปน็ ประโยชน์แก่สว่ นรวม...”

227

(๓) ท�ำให้งา่ ย

อาจกล่าวได้ว่าการ “ท�ำให้ง่าย” หรือ “Simplicity” เป็นหลักคิดท่ีส�ำคัญท่ีสุดของ
การพัฒนาประเทศในรูปแบบของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระบรม
ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุง และใช้
กฎธรรมชาตเิ พอื่ แกไ้ ขปญั หาของประชาชนอยา่ งงา่ ย ๆ แตต่ รงจดุ และไดผ้ ล ซง่ึ มแี นวพระราชดำ� รสิ ำ� คญั ดงั น้ี

ดัดแปลง ปรับปรุง และหาวิธีแก้ไขงานพัฒนาประเทศตามแนวพระราชด�ำริ ด้วยวิธี
งา่ ย ๆ ทำ� สง่ิ ทยี่ ากใหก้ ลายเปน็ งา่ ย ทำ� สงิ่ ทส่ี ลบั ซบั ซอ้ นใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย และสอดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ ม
และความเป็นอยู่ ท้ังประเพณีและแนวปฏิบัติของสังคมในชุมชนน้ัน โดยหากใช้หรือทดลองแล้ว
ได้ผล สามารถนำ� มาใชเ้ ป็นหลกั ปฏิบตั ติ อ่ ไปได้

คิดค้นการช่วยเหลือหรือแก้ไขปัญหาให้ประชาชนในลักษณะการด�ำเนินงานท่ีง่าย
ไมย่ งุ่ ยากซบั ซอ้ น หรอื ใชเ้ ทคโนโลยสี งู เกนิ ไป เพราะจะทำ� ใหไ้ มค่ มุ้ กบั การลงทนุ และอาจทำ� ใหเ้ กษตรกร
เปน็ หนี้ โดยอาศัยประสบการณ์ การเรยี นรู้ และการสังเกต

ใช้กฎแห่งธรรมชาติเป็นแนวทางด�ำเนินการแก้ไขปัญหาอย่างตรงจุด ด้วยรูปแบบ
งา่ ย ๆ และใช้ไดจ้ ริง รวมทัง้ เหมาะสมกบั สภาพปัญหา สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ และระบบนิเวศ
โดยส่วนรวม ตลอดจนยึดหลักการแก้ไขปัญหาจากมุมมองของผู้ที่เราจะเข้าไปให้ความช่วยเหลือ
ดังท่ี ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา ได้กล่าวไว้ในหนังสือ “กษัตริย์นักพัฒนา”
ความตอนหนึ่งว่า วิธีการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ น้ัน ทรงใช้ความเรียบง่าย ใช้ธรรมชาติเข้าแก้ไขกันเอง
อยู่ตลอดเวลา ถ้าเป็นเร่ืองที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจ�ำวันของประชาชน จะทรงสวมวิญญาณของ
เกษตรกรเข้าไปแก้ไขปัญหา พระองค์ตรัสอยู่เสมอว่า อย่าได้เอาอะไรที่ชาวบ้านไม่สามารถท�ำได้ไป
ยัดเยียดให้เขา วธิ กี ารแก้ไขปัญหาของพระองคน์ น้ั บางครง้ั เรียบงา่ ยจนกระทัง่ เรานึกไมถ่ งึ

นอกจากนี้ ดร.สุเมธ ยังได้กล่าวถึงแนวพระราชด�ำริ “ท�ำให้ง่าย” ในพระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไวใ้ นหนงั สอื “ชวี ติ พอเพยี ง” ความ
ตอนหนงึ่ วา่ ดว้ ยวถิ แี ห่งพระชนมช์ พี แล้ว เรยี กวา่ ทรงเรียบง่าย เวลามีปญั หาอะไร กท็ รงคน้ พบวิธกี ารท่ี
เรยี บงา่ ยเสมอในการหาทางออก คนเราหากบรรลุถึงจดุ จุดหนงึ่ แล้ว จะเหน็ ไดว้ า่ ความเรยี บง่ายนเ่ี ปน็
ศลิ ปะชนั้ สงู ของสตปิ ญั ญาทงั้ หมด แตค่ นทว่ั ไปทพ่ี อเปน็ นกั วชิ าการแลว้ มกั จะแกไ้ ขปญั หาทสี่ ลบั ซบั ซอ้ น
ด้วยวิธีการที่ยุ่งยากซับซ้อน เพราะคิดว่านั่นเป็นของโก้ ถ้าแก้ง่าย ๆ แล้วอาจจะท�ำให้ดูหมดภูมิไป
แต่ส�ำหรับพระองค์แล้ว ทรงใช้สิ่งท่ีมีอยู่ในธรรมชาติน่ันแหละแก้ไขธรรมชาติเอง ไม่ได้ยึดแบบ
พวกเราท่ตี ้องเอาเครื่องไมเ้ ครอื่ งมอื ไฮเทคมาใช้

วธิ กี ารมองในลกั ษณะนี้ ผมมองวา่ ตอ้ งเปน็ ปราชญถ์ งึ มองออก เหมอื นพระพทุ ธเจา้ ทรงรบั สง่ั วา่
ธรรมะก็อยู่ตรงน้ันแหละ พระองค์ท่านไม่ได้มีพระราชด�ำริข้ึนมาใหม่ แต่ว่าทรงไปค้นพบ ฉันใด
ฉันน้ัน ทรงมีรบั สัง่ วา่ ปญั หาอยูต่ รงนนั้ วิธีแก้ไขก็อยตู่ รงนน้ั เพียงแต่จะท�ำอยา่ งไรจึงจะเอาสตปิ ัญญา
มาคดิ แก้จนสามารถสง่ ผลลพั ธอ์ อกมา

228

ตวั อยา่ งพระราชกรณยี กจิ

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงใช้
พระราชทรพั ยส์ ว่ นพระองคใ์ นการรเิ รมิ่ โครงการตา่ ง ๆ มากมาย โดยทรงตระหนกั วา่ ผลลพั ธจ์ ากการเสยี
สละนี้จะน�ำประโยชน์สุขสปู่ ระชาชนอยา่ งอเนกอนนั ต์ ทรงเนน้ การเรียนรูจ้ ากประสบการณ์และทดลอง
หาแนวทางปฏิบัติโดยไม่ยึดติดกับทฤษฎี และเทคโนโลยีสมัยใหม่ท่ีไม่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทาง
ธรรมชาติและความเปน็ อย่ขู องประชาชน ทรงมุ่งพัฒนาบนรากฐานของการอนุรักษ์และพฒั นาทส่ี มดุล
โดยผสมผสานวธิ กี ารทห่ี ลากหลายดว้ ยวธิ ที เ่ี รยี บงา่ ย ไมซ่ บั ซอ้ น สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทแวดลอ้ ม ภมู ปิ ญั ญา
ดงั้ เดิม รวมทัง้ เทคโนโลยีทีท่ นั สมยั อาทิ

การสร้างเขือ่ นต่าง ๆ

การสร้างเข่ือนนับเป็นการลงทุนที่มีค่าใช้จ่ายรวมถึงผลกระทบท่ีเกิดแก่ประชาชนและพื้นที่
ในบริเวณท่ีสร้างอย่างมหาศาล แต่ด้วยแนวพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทที่ รงยึดหลัก “ขาดทนุ คอื ก�ำไร” ดงั กลา่ ว พระองค์จึงมี
พระราชด�ำริด�ำเนินโครงการสรา้ งเข่ือนตา่ ง ๆ หลายเขื่อน ซง่ึ หากจะประเมินค่าการลงทนุ แล้วนบั ว่าได้
กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนท์ คี่ มุ้ คา่ และคมุ้ ทนุ อยา่ งยงั่ ยนื โดยสามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากการสรา้ งเขอื่ นไดม้ ากมาย
ไม่ว่าจะเป็นการชลประทานเพื่อการอุปโภคบริโภค การเกษตร การผลิตกระแสไฟฟ้า และการบริหาร
จัดการน้ำ� เพือ่ การป้องกันนำ�้ ทว่ มและนำ้� แลง้ ฯลฯ ซึง่ ลว้ นแล้วแต่เป็นการสร้างประโยชนอ์ ยา่ งมหาศาล
ให้กบั ประชาชนและประเทศชาติ อาทิ

229

เขอ่ื นเจ้าพระยา เป็นเขื่อนระบายนำ�้ ทใี่ หญ่ท่ีสุดในประเทศไทย กอ่ สรา้ งระหว่างปี ๒๔๙๕ –
๒๕๐๐ เพื่อทดน�้ำส่งให้พ้ืนท่ีในเขตโครงการชลประทานเจ้าพระยาใหญ่ ๑๗ จังหวัด ได้แก่ ชัยนาท
นครสวรรค์ อุทัยธานี สุพรรณบรุ ี สงิ หบ์ ุรี อา่ งทอง ลพบุรี พระนครศรีอยธุ ยา สระบุรี นครปฐม ปทุมธานี
นนทบรุ ี กรงุ เทพมหานคร นครนายก สมทุ รสาคร สมทุ รปราการ และฉะเชงิ เทรา รวมพนื้ ที่ ๗,๒๕๐,๐๐๐ ไร่
เขื่อนนี้ใช้ประโยชน์ทางด้านการชลประทาน การทดน�้ำเพื่อการเกษตร การอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้�ำ
โดยระบายนำ้� จากแมน่ ้ำ� ในภาคเหนอื สภู่ าคกลางและอ่าวไทย และสามารถใช้ผลิตไฟฟ้าดว้ ย

เข่ือนขุนด่านปราการชล ต้ังอยู่ที่บ้านท่าด่าน ต�ำบลหินตั้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครนายก
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระราชด�ำริให้
สรา้ งขน้ึ เพื่อแก้ไขปญั หาในพน้ื ที่ลมุ่ น�้ำนครนายกท่ีขาดแคลนน้ำ� ในฤดแู ลง้ ส่วนในฤดฝู นกลับเกิดปญั หา
นำ้� ทว่ ม เนอ่ื งจากพื้นท่ีส่วนใหญเ่ ป็นทร่ี าบทมี่ คี วามลาดเอียงน้อยท�ำให้นำ�้ ระบายออกยาก น้�ำจงึ ทว่ มขงั
เป็นเวลานาน จากสภาวะน�้ำท่วมแช่อยู่เป็นเวลานานสลับกับความแล้งซ�้ำซากท�ำให้ดินกลายสภาพ
เป็นกรดทีเ่ รยี กวา่ “ดนิ เปรี้ยว”

จากปัญหาดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร จงึ พระราชทานพระราชดำ� รสิ รา้ งเขอื่ นคลองทา่ ดา่ น ซงึ่ เขอ่ื นไดอ้ ำ� นวยประโยชนแ์ กช่ าว
ลุ่มน้�ำนครนายกอย่างมาก อาทิ เป็นแหล่งน�้ำขนาดใหญ่ ที่สามารถจัดสรรน้�ำอย่างเป็นระบบ ส�ำหรับ
พน้ื ทเ่ี กษตรกรรมและการอปุ โภคบรโิ ภค และชว่ ยบรรเทาอทุ กภยั แกพ่ น้ื ทท่ี งั้ สองฝง่ั ของแมน่ ำ�้ นครนายก
เกษตรกรไดร้ ับประโยชนจ์ ากโครงการ รวมทั้งใชน้ �้ำชลประทานชะล้างดินเปรี้ยวเพ่ือการเพาะปลูก และ
เป็นแหลง่ เพาะพนั ธปุ์ ลาและแหล่งประมงนำ�้ จืด ตลอดจนเป็นแหล่งท่องเทีย่ วเชิงอนรุ กั ษ์แห่งใหม่ทำ� ให้
ราษฎรมีรายไดเ้ พิม่ ขน้ึ

การสรา้ งเสน้ ทางคมนาคม

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
มพี ระราชดำ� รใิ หเ้ ปดิ เสน้ ทางการพฒั นาสชู่ นบททหี่ า่ งไกล อนั เปน็ ปจั จยั พน้ื ฐานทสี่ ำ� คญั ของการนำ� ความ
เจรญิ ไปสชู่ นบท เพ่ือพัฒนาคุณภาพชวี ิตของราษฎรใหม้ คี วามเป็นอยู่ท่ดี ขี ้นึ โดยพระองค์ได้เสดจ็ ฯ ไป
ในพื้นท่ีอันตรายหลายแห่ง เพ่ือพระราชทานขวัญและก�ำลังใจแก่เจ้าหน้าท่ีท่ีเข้าไปด�ำเนินการบุกเบิก
สรา้ งเสน้ ทาง นำ� มาซงึ่ โครงการกอ่ สรา้ งถนนอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� รมิ ากมายหลายสายทพ่ี ระราชทาน
แก่พสกนิกรท่ัวประเทศ รวมทั้งทรงห่วงใยปัญหาการจราจรที่แออัดบนท้องถนนในกรุงเทพมหานคร
จงึ ทรงใหพ้ ฒั นาการจราจรทางถนนท้งั เส้นทางสายหลกั และสายรองต่าง ๆ ทงั้ ในเมอื งและโดยรอบ

แมว้ า่ การสรา้ งถนนดงั กลา่ วตอ้ งใชง้ บประมาณจำ� นวนมาก แตเ่ มอื่ ทรงพจิ ารณาถงึ ผลประโยชน์
ท่ีราษฎรจะได้รับในการสัญจร การมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน และเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ
โดยรวมแล้ว ทรงเห็นว่าคุ้มค่าที่จะลงทุน โดยมีเส้นทางคมนาคมที่มีพระราชด�ำริให้ก่อสร้างหรือ
ปรับปรงุ อาทิ

230

๑) การสร้างถนนในภูมิภาคและชนบท อาทิ ถนนสายห้วยมงคล ซึง่ นับเปน็ โครงการสรา้ ง
ถนนสายแรกที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดสร้างเมื่อปี ๒๔๙๕ เม่ือครั้งเสด็จฯ ประทับแรม
ณ วังไกลกังวล หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และเสด็จพระราชด�ำเนินผ่านหมู่บ้านห้วยมงคล
จนรถพระท่นี ัง่ ตกหล่ม บรรดาประชาชน ทหาร ต�ำรวจ กวา่ ๑๐ คน ไดเ้ ข้ามาช่วยกันออกแรงดันรถ
ให้หลุดจากหล่มและสามารถเดินรถต่อไปได้ในที่สุด พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้ทรงสอบถามชาวบ้านท่ีเข้ามาช่วยดันรถพระที่นั่งถึงสภาพความ
เปน็ อยูข่ องราษฎรในหมบู่ า้ น ชาวบ้านไดก้ ราบบงั คมทลู ตอบวา่ อยากไดถ้ นนมากท่สี ุด เพราะการเดิน
ทางไมส่ ะดวก พระองค์จึงทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้ตดั “ถนนสายหว้ ยมงคล” ออกส่ตู ลาดหัวหิน
เพอ่ื ใหเ้ กษตรกรไดม้ ถี นนนำ� ผลติ ผลการเกษตรออกไปสตู่ ลาดในเวลาเพยี ง ๑๕-๒๐ นาที นบั เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้
ของเส้นทางบำ� บัดทกุ ขบ์ ำ� รุงสขุ แกท่ วยราษฎรใ์ นกาลสืบมา

นอกจากนี้ พระองค์ทรงแนะนำ� หน่วยงานราชการทเ่ี ก่ียวขอ้ งให้ก่อสรา้ งถนนอกี หลายเสน้ ทาง
เพื่ออ�ำนวยความสะดวกด้านการสัญจรของราษฎร รวมถึงเพ่ือเสริมสร้างความมั่นคงของประเทศชาติ
โดยเฉพาะในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ภาคเหนอื และภาคใต้ และมพี ระราชดำ� รใิ หด้ ำ� เนนิ การปรบั ปรงุ
ถนนในพื้นที่ทุรกันดาร เพ่ืออ�ำนวยประโยชน์ให้พสกนิกรท่ีอาศัยอยู่ในหมู่บ้านต่าง ๆ สามารถเดินทาง
ติดต่อถึงกันด้วยความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัยตลอดเส้นทาง โดยมีเส้นทางที่ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ ให้จดั สรา้ ง อาทิ

ปี ๒๕๑๓ เส้นทางสายอ�ำเภอรามัน-บ้านตะโละหะลอ อ�ำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
เพอ่ื พฒั นาความม่ันคงทางการเมอื งและพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

ปี ๒๕๑๙ สายปราจนี บรุ ี-เขาใหญ่ ทางหลวงหมายเลข ๓๐๗๗ จังหวัดปราจีนบุรี เปน็ เส้นทาง
สายยทุ ธศาสตรใ์ หร้ ถยนตท์ หารผา่ น เพอ่ื ความม่นั คงของประเทศบริเวณชายแดนกัมพูชา

ปี ๒๕๒๑ สายอำ� เภอระแงะ-บา้ นดซุ งญอ-นิคมพัฒนาภาคใต้ และสายบา้ นสามแยก-อ�ำเภอ

231

สุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส เพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งสายบ้านวาก-บ้านใหม่-บ้านแม่
ตะไคร้ ทางหลวงหมายเลข ๑๒๒๙ จังหวัดเชียงใหม่-ล�ำพูน เพื่อปรับปรุงเส้นทางขา้ มภูเขา อ�ำเภอ
สนั กำ� แพง จังหวัดเชียงใหม่ ไปอ�ำเภอแมท่ า จังหวดั ล�ำพนู เพ่อื ประโยชน์ด้านเศรษฐกจิ และสงั คม

๒) การแก้ไขปัญหาการจราจรในกรุงเทพมหานคร ตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมา แม้จะมี
การพัฒนาโครงข่ายถนนมากมาย แต่ยังไม่เพียงพอกับปริมาณรถที่เพิ่มข้ึนในอัตราก้าวกระโดด และ
การเดินทางของผู้คนท่ีอาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ และปริมณฑลท่ีมีมากถึง ๑๗ ล้านคนต่อเที่ยวต่อวัน
อนั น�ำมาสปู่ ัญหาการจราจรติดขดั

ทุกความเดือดร้อนของประชาชนล้วนอยู่ในสายพระเนตรของพระบาทสมเด็จพระบรม
ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสมอ พระองค์ได้พระราชทานแนวพระ
ราชดำ� รเิ พอื่ แกไ้ ขปญั หาการจราจรในกรงุ เทพฯ มาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง นบั ตง้ั แตป่ ี ๒๕๑๔ ทมี่ พี ระราชประสงค์
ใหป้ รบั ปรงุ เสน้ ทางทม่ี อี ยเู่ ดมิ และกอ่ สรา้ งถนนสายใหมเ่ พอ่ื ตอ่ เตมิ และเชอ่ื มโยงโครงขา่ ยถนนใหส้ มบรู ณ์
และสมดลุ ดงั พระราชด�ำรสั ในโอกาสท่ีคณบดคี ณะนติ ศิ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั น�ำคณะผรู้ ่วม
จดั การแขง่ ขันเดิน-วิ่ง เขา้ เฝ้า ฯ ทูลเกลา้ ฯ ถวายเงนิ รายได้จากการจดั งานเพ่ือสมทบทุนโครงการแก้
ปญั หาการจราจรตามพระราชดำ� ริ ณ พระตำ� หนักจิตรลดารโหฐาน วนั องั คาร ที่ ๒๒ มนี าคม ๒๕๓๗
ความตอนหน่ึงวา่

“…ส�ำหรบั การจราจร เคร่ืองมือนน้ั ส�ำคัญทสี่ ดุ ก็คอื ถนน. ก็ต้องมถี นนท่ี
เหมาะสม มเี ครอื่ งควบคุมการจราจรทเี่ หมาะสม และมีกฎเกณฑข์ องแต่ละแหง่
แตล่ ะส่วน ของผิวจราจรนน้ั ใหเ้ หมาะสม. อันน้ีก็ไมใ่ ช่เรอ่ื งของนิตศิ าสตร์ ไม่ใชเ่ รอื่ ง
ของรัฐศาสตร์ หรือของต�ำรวจ หรือของศาล เปน็ เร่อื งของวิศวกรรม. กจ็ ะตอ้ งท�ำ

232

วศิ วกรรมใหด้ ขี ้นึ คอื หมายความว่าท�ำถนนให้ดขี ึ้น ใหส้ อดคล้อง ซ่งึ เปน็ การบา้ น
ทีห่ นกั ท่สี ดุ เพราะวา่ กรงุ เทพฯ ไดส้ รา้ งมาเปน็ เวลา ๒๐๐ ปีแล้ว ไมไ่ ดม้ ีแผนผังเมอื ง

ทจ่ี รงิ ๆ จัง ๆ. กม็ ีการผังเมืองของทางการแต่ว่าก็ไม่ค่อยไดป้ ระโยชน์มากนัก
เพราะว่าคนไทย ตามชอื่ เปน็ คนไทย คอื มีอสิ ระบังคบั กันไมไ่ ด้. จะสร้างอะไรก็สรา้ ง
อยากจะสร้างเด๋ียวน้ีกส็ รา้ ง ก็ไปขวางกับคนอน่ื คือขวางทางอน่ื . อันนก้ี ็เลยแก้ไขไม่ได้.

ซ่ึงท�ำให้เห็นได้ ถ้ากางแผนที่กรุงเทพฯ แลว้ จะสัน่ หัวกนั ทง้ั นัน้
หรือไมส่ ัน่ หัว เพราะวา่ อาจไมเ่ ข้าใจก็ได้ อาจดแู ผนทไี่ มเ่ ป็น. แตถ่ า้ ดูแผนที่จรงิ ๆ
มีคนมาชแ้ี จงวา่ เราอยากไปจากทแ่ี ห่งหนง่ึ ไปอกี แห่งหนงึ่ ตอ้ งผา่ นเสน้ ทางไหน จะเข้าใจ
วา่ มันเปน็ ไปไม่ได.้ สมมตุ ิวา่ คนสองคนในเมอื งจะไปในเวลาเดียวกนั จากบ้านไปท่ที �ำงาน
จะสวนกัน. เมอ่ื สวนกันแล้วไม่ยอมถอยกันกช็ นกัน แล้วก็ทำ� ให้ทง้ั หมดเปน็ อมั พาต.
ฉะนั้นจะต้องมผี ังเมืองใหด้ ขี ึ้น หรือมกี ารสรา้ งถนนทเี่ หมาะสมขึ้น ใหเ้ หมาะกับการจราจร. ...”
พระองค์ได้พระราชทานพระราชด�ำริ ทั้งการปรับปรุงและก่อสร้างถนนสายต่าง ๆ เกิดเป็น
ถนนวงแหวนช้ันในรอบกรุงเทพฯ หรือถนนรัศมีเช่ือมต่อระหว่างพ้ืนท่ีของกรุงเทพฯ รวมท้ัง
การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพถนนดว้ ยการขยายช่องทางจราจร เพอื่ เช่อื มโยงโครงข่ายถนนใหส้ มบูรณ์ อาทิ
การขยายผิวการจราจรและเพิ่มเส้นทางคมนาคม พระองค์ได้พระราชทานให้ด�ำเนินการ
ท้ังแบบเร่งด่วนในจุดวิกฤต และแบบระบบโครงข่ายจราจร การแก้ปัญหาจราจรเฉพาะหน้าอย่าง
เรง่ ดว่ น อาทิ โครงการก่อสรา้ งถนนเลียบทางรถไฟสายใตจ้ ากสถานบี างกอกนอ้ ยถงึ ถนนจรัญสนทิ วงศ์
และพระราชทานนามว่า “ถนนสุทธาวาส” การขยายพ้ืนผิวจราจร เช่น โครงการถนนหยดน้�ำ และ
การปรับปรุงขยายผิวจราจรโดยรอบอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย โครงการก่อสร้างถนนเลียบบึงมักกะสัน
จากถนนศรีอยุธยาถึงถนนอโศก-ดินแดง การขยายช่องทางโดยไม่ท�ำลายภูมิทัศน์เดิม เช่น โครงการ
สะพานผา่ นฟา้ ลลี าศ และโครงการก่อสรา้ งสะพานคู่ขนานสะพานมฆั วานรังสรรค์ เปน็ ต้น
การแก้ปัญหาการจราจรอย่างเป็นระบบโครงข่าย พระองค์ได้มีพระราชด�ำริให้ก่อสร้าง
เส้นทางใหม่ เชื่อมต่อถนน และสร้างทางวงแหวนเลย่ี งเมอื ง เพื่อบรรเทาปัญหาจราจรภายในกรงุ เทพฯ
เนอ่ื งจากเปน็ จดุ ศนู ยก์ ลางในการลำ� เลยี งขนสง่ สนิ คา้ เขา้ และออก อาทิ เมอ่ื ปี ๒๕๑๔ มพี ระราชประสงค์
ให้สรา้ งถนนเพิ่มข้ึนเพือ่ แก้ไขปญั หาจราจร พระราชทานเป็นของขวญั แก่ประชาชน คอื “โครงการถนน
วงแหวนรัชดาภิเษก” (ถนนวงแหวนชั้นใน) แทนการจัดสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ท่ีทางราชการ
จะจัดสร้างและน้อมเกล้าฯ ถวายเป็นของขวัญ เน่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีรัชดาภิเษก
“โครงข่ายจตุรทิศตะวันตก-ตะวันออก และเหนือ-ใต้” เพื่อเช่ือมเส้นทางจราจรด้วยถนน สะพาน
และปรบั ปรุงเสน้ ทางเดิมและเส้นทางใหมใ่ ห้เชอ่ื มกันอย่างสมบูรณ์
โครงการพระราชด�ำริทางคู่ขนานลอยฟ้าถนนบรมราชชนนี พระบาทสมเด็จพระบรม
ชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้ทอดพระเนตรเหน็ การจราจรท่ีตดิ ขัดเป็น
อย่างมากบรเิ วณสะพานสมเด็จพระปิน่ เกลา้ ต่อเนอ่ื งไปจนถึงถนนบรมราชชนนี จงึ พระราชทานแผนที่

233

การก่อสร้างทางคู่ขนานท่ีทรงร่างด้วยลายพระหัตถ์ของพระองค์เองแก่กรุงเทพมหานคร เพ่ือศึกษาหา
แนวทางแกไ้ ข โดยการกอ่ สรา้ งทางคขู่ นานลอยฟา้ จากแยกอรณุ อมรนิ ทรไ์ ปจนถงึ แยกพทุ ธมณฑลสาย ๒
อันเป็นการเพ่ิมขีดความสามารถในการรองรับการจราจร จากบริเวณสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้าจนถึง
ทางแยกตลงิ่ ชันถนนบรมราชชนนีท้งั ขาเข้าและขาออกโดยไมต่ ิดสญั ญาณไฟจราจร

โครงการสะพานพระราม ๘ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร ได้มพี ระราชด�ำรชิ แ้ี นะวา่ ควรกอ่ สร้างสะพานขา้ มแม่น้�ำเจา้ พระยาเพมิ่ ข้นึ อกี ๑ แห่ง
บริเวณถนนอรุณอมรินทร์ไปเช่ือมกับถนนวิสุทธิกษัตริย์ใกล้กับธนาคารแห่งประเทศไทย เพื่อรองรับ
ปรมิ าณการจราจรทเ่ี พมิ่ ขนึ้ จากการเปดิ ใชเ้ สน้ ทางคขู่ นานลอยฟา้ ถนนบรมราชชนนี รวมทงั้ เพม่ิ จดุ เชอื่ ม
โยงกรุงเทพมหานครฝั่งพระนครและธนบุรี และเป็นจุดเช่ือมต่อ “โครงข่ายจตุรทิศ” พระองค์จึงได้
พระราชทานแนวแผนผงั สะพานใหก้ รงุ เทพมหานครนำ� ไปศกึ ษาความเหมาะสมในการดำ� เนนิ การ อกี ทงั้
โปรดเกล้าฯ พระราชทานช่อื ของสะพานแห่งใหมน่ ี้ว่า “สะพานพระราม ๘” ซ่งึ ไดช้ ว่ ยแบง่ เบาปรมิ าณ
การจราจรทขี่ า้ มแมน่ ำ้� เจา้ พระยาบรเิ วณสะพานสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ และผอ่ นคลายปญั หาการจราจรใน
ถนนทต่ี ่อเน่ืองจากสะพานสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ ท้ังฝง่ั พระนครและฝ่ังธนบรุ ีเปน็ อนั มาก

โครงการสะพานภูมิพล ๑ และสะพานภูมิพล ๒ หรือช่ืออย่างไม่เป็นทางการว่า “สะพาน
วงแหวนอตุ สาหกรรม” เปน็ โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� รทิ พ่ี ระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ก่อสร้างข้ึนเช่ือมต่อเขต
ราษฎร์บรู ณะและเขตยานนาวา กรงุ เทพมหานคร กับอ�ำเภอพระประแดง จังหวดั สมุทรปราการ ซึ่งเปน็
เขตอุตสาหกรรมขนาดใหญ่เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อเป็นโครงข่ายถนนรองรับการขนถ่ายล�ำเลียงสินค้าจาก
ท่าเรือกรุงเทพฯ ต่อเนื่องไปจนถึงพ้ืนที่อุตสาหกรรมในจังหวัดสมุทรปราการ และภูมิภาคอ่ืน ๆ ของ
ประเทศ เพอื่ ไมใ่ หร้ ถบรรทกุ วง่ิ เขา้ ไปในตวั เมอื งหรอื ทศิ ทางอนื่ อนั เปน็ สาเหตขุ องการจราจรตดิ ขดั โดยรอบ

การแกไ้ ขปญั หาการจราจรรอบโรงพยาบาลศริ ริ าช แมว้ า่ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร
มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร จะประทับ ณ โรงพยาบาลศริ ริ าช พระองคย์ งั ทรงหว่ งใย

234

ท่จี ะแกไ้ ขปัญหาใหพ้ สกนิกรอยู่ตลอดเวลา โดยเม่อื วันที่ ๒๗ มถิ นุ ายน ๒๕๕๔ พระองคไ์ ด้พระราชทาน
พระบรมราชวโรกาสให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องเฝ้าฯ กราบบังคมทูลถวายรายงานโครงการแก้ไขปัญหาการจราจร
โดยรอบโรงพยาบาลศิริราช ซึ่งเป็นการด�ำเนินการต่อเนื่องกับโครงการทางคู่ขนานลอยฟ้า
ถนนบรมราชชนนี และสะพานพระราม ๘ เพ่อื บรรเทาปญั หาการจราจรในบริเวณดงั กลา่ ว

การพัฒนาดา้ นการศกึ ษา

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ทรงตระหนกั วา่ การศกึ ษาเปน็ ปจั จยั สำ� คญั ในการเสรมิ สรา้ งและพฒั นาความคดิ สตปิ ญั ญา ความประพฤติ
และคุณธรรมของคนในชาติ จึงมพี ระราชปณิธานทจ่ี ะส่งเสรมิ การศึกษาให้แพร่หลาย ท้งั ในเมืองและใน
ชนบทท่ีทุรกันดาร โดยเฉพาะเด็กยากจนและด้อยโอกาส เพื่อจะได้มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน โดยมีแนว
พระราชดำ� ริด้านการศึกษาทีส่ ำ� คญั สรุปไดด้ งั นี้

๑) ทรงสนับสนุนให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างท่ัวถึงในทุกระดับ โดยทรงมีแนว
พระราชดำ� รใิ หว้ างรากฐานความรแู้ ละการศกึ ษาอยา่ งทว่ั ถงึ และเพยี งพอโดย “สรา้ งโอกาสใหป้ ระชาชน
ได้รบั ความรู”้ ในทกุ ระดบั ของการศกึ ษา ทงั้ ในและนอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั นบั ตัง้ แต่
ในระดับปัจเจกบุคคล จนถึงระดับประเทศ โดยทรงเห็นว่าการลงทุนเพื่อให้ประชาชนได้รับการศึกษา
ย่อมบังเกิดผลคุ้มค่า เนื่องจากคนเป็นปัจจัยส�ำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไป ดังพระราชด�ำรัส
พระราชทานแกน่ กั ศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น ณ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น วันพฤหสั บดี ที่ ๑๙ ธนั วาคม
๒๕๓๔ ความตอนหน่งึ ว่า

“...ทท่ี ุกคนไดส้ ามารถท่ีจะเรยี น ก็เพราะวา่ ทางมหาวิทยาลัยจะต้องมี
งบประมาณคนละปีละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ก็ขอให้เรียนเพ่อื ให้คมุ้ เงนิ นี้ ถ้าเรยี นได้
ความรแู้ ละสามารถไปปฏิบัติตอ่ ไปกค็ ุม้ ไมม่ ีใครเสียดายเงนิ นี้ เพราะวา่ ทจ่ี ะได้
ประโยชนจ์ ากผทู้ ่เี รยี นดแี ลว้ กฝ็ ึกดีท�ำตัวให้เป็นประโยชน์กค็ ุม้ ประเทศชาตจิ ะกา้ วหน้า
แลว้ กไ็ มต่ อ้ งเปน็ ทสี่ งสยั วา่ ประเทศชาตซิ งึ่ เรากอ็ า้ งทกุ คนวา่ เราจะตอ้ งทะนบุ ำ� รงุ อมุ้ ชกู ย็ งั อยตู่ อ่ ไป...”
พระองค์ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์หรือที่ดิน ในการจัดสร้างโรงเรียนต่าง ๆ
อาทิ การจัดต้ังโรงเรียนส�ำหรับเยาวชนชาวเขาและเยาวชนในชนบทห่างไกล และพระราชทานนาม
โรงเรียนว่า โรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ นอกจากนี้ ทรงจัดตั้ง โรงเรียนร่มเกล้า ส�ำหรับเยาวชน
ในท้องถ่ินชนบทห่างไกลหรือพ้ืนท่ีเสี่ยงภัยในภาคต่าง ๆ ตลอดจนทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้
มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ จัดสร้างโรงเรียนให้แก่ท้องที่ที่ประสบภัยพิบัติต่าง ๆ เรียกว่า โรงเรียน
ราชประชานุเคราะห์ ซ่ึงปัจจุบันมีกระจายอยู่ท่ัวประเทศ และทรงสนับสนุนให้จัดตั้ง โรงเรียน
ราชประชาสมาสัย เพ่ือเป็นสถานศึกษาอยู่ประจ�ำส�ำหรับเยาวชนท่ีเป็นบุตรธิดาของคนไข้โรคเรื้อน
ซึ่งมิได้ติดโรคจากบิดามารดา ทรงส่งเสริมการจัดต้ังและด�ำเนินกิจการโรงเรียนส�ำหรับเด็กพิการ
ทุกประเภท โรงเรียนสงเคราะห์เด็กยากจนในวัดหลายแห่ง โรงเรียนจิตรลดา โรงเรียนราชวินิต
และโรงเรียนราชวินิตมัธยม ส�ำหรับบุตรข้าราชบริพารในพระราชวังและประชาชนในพ้ืนท่ีใกล้เคียง
รวมถงึ โรงเรยี นพระราม ๙ กาญจนาภิเษก เป็นโรงเรียนพระราชทานสาธิตแหง่ แรกของกรุงเทพฯ

235

ตลอดจนทรงรับโรงเรียนวังไกลกังวล
และโรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัยไวใ้ นพระบรม
ราชูปถัมภ์ รวมท้ังทรงริเริ่มให้มีสถาบันเกี่ยวกับ
การพัฒนาการบริหาร อันเป็นส่วนส�ำคัญของการ
พัฒนาประเทศ โดยได้พระราชทานพระราชด�ำริ
ให้ศึกษาแนวทางการก่อตั้งสถาบันบัณฑิต
พัฒนบรหิ ารศาสตร์ หรอื NIDA

๒) พระราชทานทนุ การศกึ ษาในทกุ ระดบั พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาพระราชทานทุนการศึกษาและรางวัลตา่ ง ๆ ทุกระดบั
การศกึ ษา เชน่ ทนุ การศกึ ษาในมลู นธิ ชิ ว่ ยนกั เรยี นขาดแคลน ทนุ การศกึ ษาแกน่ กั เรยี นชาวเขา รางวลั แก่
นักเรียนและโรงเรียนดีเด่น ระดับประถมและมัธยมศึกษาทั่วประเทศ ทุนมูลนิธิราชประชานุเคราะห์
เพอ่ื เกื้อหนนุ ครอบครัวท่ปี ระสบสาธารณภัย รวมทง้ั ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ฟ้ืนฟูทนุ เลา่ เรยี นหลวง
เพื่อส่งเยาวชนไปศึกษาวทิ ยาการระดบั สงู สาขาตา่ ง ๆ ในตา่ งประเทศ

๓) จัดท�ำโครงการสารานุกรมส�ำหรับเยาวชน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริท่ี
ส�ำคญั แกเ่ ยาวชน คือ โครงการสารานกุ รมไทยสำ� หรับเยาวชน มพี ระราชประสงค์ใหเ้ ป็นหนงั สือความรู้
ทีเ่ หมาะแกเ่ ด็กในวยั ตา่ ง ๆ รวมทง้ั ผใู้ หญ่ก็สามารถใชป้ ระโยชน์ได้

โดยพระองค์ทรงก�ำหนดหลักการท�ำค�ำอธิบายเรื่องต่าง ๆ แต่ละเร่ืองเป็นสามตอนหรือ
สามระดับ ส�ำหรับให้เด็กแต่ละรุ่นอ่านเข้าใจ ท้ังเด็กรุ่นเล็ก รุ่นกลาง และรุ่นใหญ่ รวมถึงผู้ใหญ่
ผสู้ นใจอา่ นไดอ้ กี ระดบั หนง่ึ เพอ่ื เปดิ โอกาสใหบ้ ดิ ามารดาสามารถใชห้ นงั สอื นน้ั เปน็ เครอ่ื งมอื แนะนำ� วชิ า
แก่บุตรธิดา และให้พี่แนะน�ำวิชาแก่น้องเป็นล�ำดับกันลงไป นอกจากนั้น เมื่อเร่ืองหนึ่งเร่ืองใดมีความ
เก่ียวพันต่อเน่ืองถึงเร่ืองอื่น ๆ ก็ให้อ้างอิงถึงเรื่องนั้น ๆ ด้วยทุกเรื่องไป ด้วยประสงค์จะให้ผู้ศึกษา
ทราบและตระหนักว่าวชิ าการแตล่ ะสาขามีความสมั พันธ์เกยี่ วเนื่องถงึ กนั ควรศึกษาให้ครบถ้วนทั่วถงึ

๔) พระราชทานการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาอาชพี พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ล
อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ยงั มพี ระราชดำ� รดิ ว้ ยวา่ ราษฎรในชนบท โดยเฉพาะในทอ้ งทท่ี รุ กนั ดาร
ควรได้รับการศึกษาเพ่ือให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับความเป็นอยู่ ให้สามารถอยู่ได้
โดยการ “พง่ึ ตนเอง” ซงึ่ เปน็ การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื โดยพระราชทานโครงการตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหเ้ ปน็ แนวทาง
ในการพัฒนาอาชพี และความเป็นอยู่ของราษฎรในทอ้ งถน่ิ ชนบทให้ชว่ ยตัวเองได้

๕) สร้างศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ ให้ราษฎรเรียนรู้ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานศูนย์ศึกษาการพัฒนาจ�ำนวน ๖ ศูนย์
กระจายอยูใ่ นภาคตา่ ง ๆ ตามสภาพภูมิศาสตร์ทแ่ี ตกต่างกนั เพือ่ ใหเ้ ป็นแหลง่ ศกึ ษาสรรพวิชา คน้ ควา้
ทดลอง สาธิต และดงู านทงั้ ของประชาชนและสว่ นราชการ

236

โครงการธนาคารโค-กระบือ

เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๒๒ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพติ ร ไดเ้ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ เยย่ี มราษฎรในพน้ื ทโ่ี ครงการพฒั นาทรี่ าบเชงิ เขา จงั หวดั
ปราจนี บรุ ี ในครง้ั นนั้ ราษฎรไดถ้ วายฎกี าวา่ ขาดแคลนววั ควายใชไ้ ถนา ตอ้ งเชา่ มาใชง้ านในราคาแพงมาก
บางคราวเมอื่ จำ� หนา่ ยผลผลติ ทางการเกษตรแลว้ กก็ ลายเปน็ คา่ เชา่ ไปเกอื บหมด พระบาทสมเดจ็ พระบรม
ชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร จงึ พระราชทานพระราชดำ� รใิ ห้กรมปศสุ ัตว์
หาทางช่วยเหลอื ราษฎรโดยการตั้งธนาคารโค-กระบือข้นึ ซงึ่ คำ� วา่ “ธนาคาร โค-กระบือ” เปน็ ศัพทท์ ี่
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงคิดข้นึ ใหม่
หมายถงึ ศนู ยก์ ลางรวบรวมโคและกระบอื โดยมบี ญั ชคี วบคมุ ดแู ล รกั ษา แจกจา่ ยใหย้ มื เพอ่ื ใชป้ ระโยชน์
ในทางเกษตรกรรม และเพิม่ ปรมิ าณโคและกระบือตามหลักการธนาคาร ดงั พระราชด�ำรัสพระราชทาน
แกค่ ณะสมาชิกผ้รู บั นมสดสวนจิตรลดา คณะสมาชกิ ผู้เล้ียงโคนม และคณะผู้นำ� กลุ่มสหกรณ์ ณ บริเวณ
โรงโคนมสวนจิตรลดา วันพุธ ที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๒๓ ได้ทรงอธิบายถึงพระราชด�ำริในเร่ืองน้ี
ความตอนหนึง่ ว่า

“...เรื่องธนาคารกระบอื นีเ้ ปน็ เร่อื งท่ีนับวา่ ใหม่สำ� หรับโลก เพราะว่าโดยมาก
ในโลกปจั จุบันนกี้ น็ ึกแต่ทจ่ี ะมีความก้าวหน้าในทางที่จะใช้เครือ่ งจกั รกลไกส�ำหรบั
มาช่วยทำ� การเกษตรทำ� การกสกิ รรม แตม่ าเดยี๋ วนร้ี สู้ กึ จะเกดิ ความลำ� บากเพราะวา่
เชอ้ื เพลงิ แพง จงึ ทำ� ใหค้ วามกา้ วหนา้ ในดา้ นเครอ่ื งทนุ่ แรงจะเสยี ไป ฉะนน้ั จงึ ตอ้ ง
พยายามหาทางทจี่ ะใชเ้ ครอื่ งทนุ่ แรงแบบโบราณกค็ อื ใชส้ ตั วพ์ าหนะสตั วท์ จี่ ะใชง้ าน

สำ� หรบั การเกษตร เชน่ โคหรอื กระบอื การทจ่ี ะมโี คหรอื กระบอื นน้ั ก็มีปญั หามาก
เพราะว่าชาวนาชาวไรไ่ มม่ ที ุนพอที่จะไปซ้อื หรือแมจ้ ะเล้ยี งกอ็ าจจะล�ำบาก จึงมี
ความคดิ ขึ้นมาว่า ถา้ ท�ำเป็นหน่วยหน่งึ ทมี่ ีโคหรือกระบอื ไว้พรอ้ มที่จะใหช้ าวนาชาวไร่

ได้ใช้ก็จะเป็นการดี จงึ ทำ� ในรูปทเ่ี รยี กว่าธนาคาร...”

237

มุ่งผลสัมฤทธิ์ : เพื่อประโยชน์สุขของปวงประชาและการพัฒนาอย่าง
ยง่ั ยนื

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร งานด้าน
ต่าง ๆ เพ่ือแก้ไขปัญหาให้ราษฎร โดยทรงทุ่มเทเสียสละความสุขส่วนพระองค์เพ่ือมุ่งผลสัมฤทธ์ิคือ
ประโยชนส์ ุขและความกนิ ดีอยู่ดีของประชาชนท่ีทรงถอื เป็นก�ำไรของพระองค์ แม้จะตอ้ งใชเ้ งินลงทนุ
หรือพระราชทรัพย์มากมายก็ตาม โดยทรงยึดหลักความเรียบง่าย และไม่ติดต�ำรา ด้วยการคิดค้นและ
ดัดแปลงวธิ ีแกไ้ ขปญั หาหรือพัฒนางานดา้ นตา่ ง ๆ ให้สอดคลอ้ งกับธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม เพอ่ื เปน็
รูปแบบให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและน�ำไปปรับใช้ได้เอง โดยไม่ต้องพ่ึงพิงหรือใช้จ่ายให้ส้ินเปลือง
อนั นำ� ไปสูก่ ารพ่ึงตนเองและการพฒั นาอย่างย่งั ยืน

๓.๕ ชัยชนะแหง่ การพัฒนา

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร มพี ระบรม
ราโชวาทอธบิ ายความหมายของพระราชดำ� ริ “ชยั ชนะแหง่ การพฒั นา” ในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั รของ
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ณ อาคารจกั รพนั ธเ์ พญ็ ศริ ิ วนั ศกุ ร์ ท่ี ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๓๙ ความตอนหนงึ่ วา่

“...ประโยชน์อันพึงประสงคข์ องการพัฒนานั้น ก็คอื ความผาสกุ สงบ
ความเจริญมัน่ คง ของประเทศชาติและประชาชน. แตก่ ารท่จี ะพัฒนาใหเ้ ปน็ บรรลุผล

เป็นประโยชน์ดังกลา่ วได้ จำ� เปน็ ทจ่ี ะต้องพัฒนาฐานะความเปน็ อยขู่ องประชาชน
ให้อยดู่ กี ินดี เปน็ เบอ้ื งตน้ ก่อน เพราะฐานะความเปน็ อยู่ของประชาชนนนั้ คอื รากฐาน
อยา่ งส�ำคัญของความสงบและความเจรญิ มัน่ คง. ถ้าประชาชนทกุ คนมฐี านะความเปน็ อยู่

238

ทด่ี แี ลว้ ความสงบ และความเจรญิ ย่อมจะเป็นผลกอ่ เกิดต่อตามมาอย่างแนน่ อน.
จึงอาจพดู ไดว้ า่ การพฒั นากค็ ือการท�ำสงครามกับความยากจนเพ่อื ความอยดู่ ีกนิ ดีของ

ประชาชนโดยตรง. เมอื่ ใดกต็ าม ที่ประชาชนมคี วามอยดู่ ีกนิ ดี และประเทศชาติ
มีความสงบ มีความเจรญิ เมอ่ื น้นั การพัฒนาจึงจะถือไดว้ ่าประสบความสำ� เร็จ

เปน็ ชัยชนะของการพัฒนาอยา่ งแทจ้ ริง. ...”
นอกจากน้ี ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ได้ให้สัมภาษณ์ในหนังสือ “การทรงงานพัฒนาประเทศ
ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว” ว่า พระองค์รบั สงั่ ว่า การแกป้ ญั หาของประชาชนและประเทศชาติ
ไม่ใช่เรื่องง่ายเป็นงานยาก การเข้าไปด�ำเนินการแก้ไขปัญหา เหมือนกับการเข้าท�ำสงคราม แต่เป็น
การท�ำสงครามท่ีไม่ใช้อาวุธ เป็นการต่อสู้กับปัญหาเพ่ือน�ำไปสู่ชัยชนะ โดยใช้กระบวนการพัฒนา
และในทัศนะของพระองค์ การพัฒนาท้งั ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื ง หรืออะไรกต็ าม ต้องพฒั นา
“คน” ดว้ ยการให้ความส�ำคญั ในทุกมิติ ซง่ึ เป็นธรรมดาท่ีหนทางไปส่กู ารพฒั นาน้ันย่อมจะมีปญั หาและ
อปุ สรรคนานปั การ โดยเฉพาะการทำ� งานทมี่ รี ะเบยี บแบบแผนของทางราชการทจ่ี ำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารปฏบิ ตั ิ
งานตามขน้ั ตอน ซง่ึ ในบางครงั้ อาจไม่ทันต่อเหตกุ ารณใ์ นการช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร จึงทรงให้
กอ่ ตั้ง “มูลนิธิชัยพฒั นา” ขึน้ ในรปู แบบขององคก์ รเอกชน เพื่อให้การด�ำเนินการชว่ ยเหลือประชาชน
สามารถกระท�ำได้ด้วยความรวดเร็วและคล่องตัว เพ่ือมุ่งสู่ชัยชนะแห่งการพัฒนา และการกินดีอยู่ดี
ของประชาชน ดังพระราชดำ� รสั พระราชทานแกค่ ณะบคุ คลต่าง ๆ ทีเ่ ข้าเฝา้ ฯ ถวายชัยมงคล ในโอกาส
วันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันอาทิตย์ ท่ี ๔ ธันวาคม
๒๕๓๗ ความตอนหนงึ่ ว่า

“...ชยั ชนะของประเทศนี้ โดยงานของมูลนธิ ิชัยพัฒนานนั้ กค็ อื ความสงบ
ไม่เป็นบอสเนยี เปน็ ไทยแลนด์ เปน็ เมอื งไทยทจี่ ะมีความเจรญิ ก้าวหน้า จนเปน็ ชยั ชนะ
ของการพฒั นา ตามทไ่ี ดต้ ัง้ ช่อื “มลู นิธชิ ยั พฒั นา”. ชยั ของการพัฒนาน้ี มีจดุ ประสงค์คอื

ความสงบ ความเจริญ ความอยู่ดีกินดี. ...”

และพระราชดำ� รสั ในโอกาสทปี่ ระธานศาลฎกี า นำ� คณะขา้ ราชการตลุ าการ และคณะผพู้ พิ ากษา

สมทบศาลเยาวชนและครอบครัวทั่วประเทศ เข้าเฝ้า ฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายเงิน โดยเสด็จพระราชกุศล
ตามพระราชอัธยาศัย ณ ศาลาดุสิดาลัย วันพฤหัสบดี ที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๓๘ ความตอนหน่ึงว่า

“...มลู นิธชิ ยั พัฒนา มไิ ด้มหี น้าท่ีโดยตรงทจ่ี ะบรรเทาทกุ ข์แก่ประชาชนท่ี
ประสบภยั ธรรมชาติ มหี น้าทใ่ี นการสร้าง หรือเรียกว่าพัฒนาชวี ติ ของประชาชนให้มกี ิน

ให้สามารถทจี่ ะดำ� เนนิ ชวี ิตท่ีสร้างสรรค์ โดยช่วยในการให้มีส่ิงทเี่ ปน็ อปุ กรณห์ รือ
จะเปน็ สงิ่ ทเ่ี ป็นปจั จยั ให้สามารถทจี่ ะทำ� การทำ� มาหากินโดยมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะ
เก่ยี วข้องกบั โครงการในด้านการเกษตรกไ็ ด้ทำ� มาก และในดา้ นเกี่ยวขอ้ งกบั สง่ิ แวดลอ้ ม

ก็ได้ทำ� เพือ่ ทจ่ี ะให้ประชาชนมคี ุณภาพชีวติ ดที ่ีสุด. ดังทไ่ี ดก้ ล่าวเมือ่ ตะก้ี เป้าหมาย
กค็ อื ความเจริญรุง่ เรอื งของประเทศชาติ ซงึ่ ถือวา่ เปน็ ชัยชนะ. ...”

239

ด้วยเหตุน้ี พระองค์จึงทรงงานหนักโดยมิได้
ว่างเว้นเสมอมาเพื่อต่อสู้กับความทุกข์ยากของ
ประชาชน ดงั คำ� กลา่ วของพลเอก เปรม ตณิ สลู านนท์
อดตี ประธานองคมนตรแี ละรฐั บรุ ษุ ในการปาฐกถาพเิ ศษ
(ท่ีมา กองสารนิเทศ กรมกิจการพลเรือนทหาร
กองบญั ชาการทหารสงู สดุ ) ความตอนหนง่ึ วา่ พระองค์
มิเคยทรงดูดายกับความทุกข์ความเดือดร้อนของ
ประชาชน ไม่เคยทรงว่างเว้นท่ีจะคิดหาวิธีการอัน
ทันสมัยมาพัฒนาการกินดีอยู่ดีของราษฎรของ
พระองค์ เพื่อให้ราษฎรได้รับประโยชน์สุข ทรงมี
พระราชด�ำรัสอยู่เสมอว่า ประชาชนไทยส่วนใหญ่
ยังยากจน พระองค์ต้องทรงต่อสู้กับศัตรูคือความ
ยากจนของราษฎร โดยทรงหาวธิ กี ารตอ่ สกู้ บั ความทกุ ขย์ ากอยตู่ ลอดเวลาเพอื่ ใหป้ ระชาชนของพระองค์
ชนะความยากจนใหไ้ ด้
การมุ่งสู่ “ชัยชนะแห่งการพัฒนา” ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร จึงเป็นการพัฒนาและยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎร
ให้มีความเจริญ และอยดู่ กี ินดี โดย “ต่อสกู้ ับความยากจน” ของมวลราษฎรด้อยโอกาสในชนบททเ่ี ป็น
ประชากรสว่ นใหญ่ของประเทศให้พ้นจากความทกุ ขย์ าก เม่อื ประชาชนพน้ จากความทกุ ขย์ าก สามารถ
พึ่งตนเองได้ กจ็ ะมีอิสระและเสรภี าพ อันจะนำ� ไปส่กู ารเป็น “ประชาธิปไตย” อยา่ งแทจ้ ริง โดยมแี นว
พระราชดำ� รทิ ่ีส�ำคญั สรปุ ได้ดงั นี้

แนวพระราชดำ� ริ

(๑) การตอ่ สกู้ บั ความยากจน

การทรงงานแกไ้ ขปญั หาให้แกพ่ สกนิกรในทกุ ๆ เรื่องของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร นบั เปน็ การตอ่ สกู้ บั ความยากจน เพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ
และใหร้ าษฎรสามารถมชี วี ติ อยไู่ ดต้ ามอตั ภาพอยา่ งมคี วามสขุ และยง่ั ยนื โดยการสรา้ งความเขม้ แขง็ ใหช้ มุ ชน
ดูแลรกั ษาและสง่ เสริมสขุ ภาพประชาชน สง่ เสรมิ อาชีพและรายได้ และความรู้ ดังแนวพระราชดำ� ริดังน้ี

การใหค้ วามชว่ ยเหลอื และพฒั นาคนในชนบทเปน็ หลกั ใหญ่ ตง้ั แตก่ ารพระราชทานหรอื
สรา้ งโครงสรา้ งพนื้ ฐานท่ีจำ� เป็นต่อการผลติ และประกอบอาชีพของประชาชน จนถงึ การสง่ เสริมความรู้
และอาชีพ เพอื่ ยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ตามแนวพระราชดำ� รกิ ารต่อสกู้ ับความยากจน

การสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนด้วยการพระราชทานสิ่งจ�ำเป็นหรือสร้างโครงสร้าง
พนื้ ฐานหลักท่จี ำ� เปน็ ตอ่ การผลติ อันเปน็ รากฐานนำ� ไปสกู่ ารพ่งึ ตนเองไดใ้ นระยะยาว

240

โครงสร้างพ้ืนฐานท่ีส�ำคัญ อาทิ แหล่งน้�ำ
ซ่ึงเป็นปัจจัยส�ำคัญท่ีจะช่วยให้เกษตรกรท่ีต้อง
พ่ึงพาอาศัยน้�ำฝนได้มีโอกาสท่ีจะผลิตได้ตลอดปี
การผลิตได้ตลอดปีเป็นเงื่อนไขข้อแรกที่จะช่วยให้
ชุมชนพึ่งตนเองในเร่ืองอาหารได้ในระดับหน่ึง
และเม่ือชุมชนเข้มแข็งแล้ว ก็อาจจะมีการสร้าง
โครงสร้างพื้นฐานอื่น ๆ ท่ีจ�ำเป็นต่อการยกระดับ
รายได้ของชุมชน เช่น เส้นทางคมนาคม เพื่อ
การขนสง่ พืชผล เป็นต้น

การดูแลรักษาและส่งเสริมสุขภาพ
ประชาชน ในระยะแรก ๆ ของการเสด็จ
พระราชด�ำเนินทรงเยี่ยมราษฎรในส่วนภูมิภาค
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ
พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้พระราชทาน
ความช่วยเหลือ ด้านการแพทย์ สาธารณสุข และ
สังคมสงเคราะห์ เพ่ือช่วยราษฎรที่ยากไร้ในถิ่นทุรกันดาร ด้วยทรงตระหนักว่าหากพสกนิกรทั้งปวง
มีสุขภาพแขง็ แรงพร้อมด้วยสุขภาพจติ ที่ดีแลว้ ยอ่ มมแี รงกำ� ลังในการประกอบอาชีพ ยกระดบั ความเป็น
อยู่ของตนเอง สง่ ผลให้เปน็ บุคลากรทม่ี ีความพร้อมในการร่วมเสรมิ สร้าง และพัฒนาประเทศให้มคี วาม
เจริญก้าวหนา้ ยิ่งขึ้นตอ่ ไป รวมทั้งขจัดปญั หาสงั คมด้านตา่ ง ๆ ดังพระบรมราโชวาทในพธิ ีพระราชทาน
ปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยมหิดล ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันจันทร์ ที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๒๒
ความตอนหนง่ึ ว่า

“...การรกั ษาความสมบูรณ์แขง็ แรงของรา่ งกายเป็นปจั จยั ของเศรษฐกจิ ที่ดี และสงั คม
ทีม่ ่ันคง เพราะร่างกายท่แี ขง็ แรงนั้น โดยปรกติ จะอำ� นวยผลใหส้ ขุ ภาพจติ ใจสมบรู ณ์

ดว้ ย และเมือ่ มีสขุ ภาพสมบูรณด์ ีพรอ้ มทั้งรา่ งกายและจติ ใจแลว้ ย่อมมีก�ำลงั ท�ำ
ประโยชน์ สรา้ งสรรค์เศรษฐกจิ และสังคมของบา้ นเมืองไดเ้ ตม็ ที่ ทงั้ ไม่เปน็ ภาระแก่

สังคมด้วย คอื เป็นแต่ผูส้ ร้าง มิใช่ผู้ถว่ งความเจรญิ ...”
การส่งเสริมอาชีพและรายได้ เพ่ือยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตด้วยโครงการต่าง ๆ
ให้ราษฎรสามารถเล้ียงปากเลี้ยงท้อง และสามารถยืนหยัดพ่ึงตัวเองได้ เช่น การจัดตั้งศูนย์ศึกษา
การพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริในภูมิภาคต่าง ๆ เพื่อเป็นศูนย์รวมการศึกษาค้นคว้า ทดลอง
วจิ ยั และแสวงหาแนวทางและวธิ พี ฒั นาทเี่ หมาะสมสอดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ ม และการประกอบอาชพี
ของราษฎรที่อาศัยในแถบนั้น และการจัดตั้งบริษัท สุวรรณชาด จ�ำกัด ในพระบรมราชูปถัมภ์
เพอื่ จำ� หน่ายสนิ ค้าที่ผลติ จากโครงการทีท่ รงส่งเสรมิ ไว้ เป็นตน้

241

การสง่ เสรมิ หรอื สรา้ งเสรมิ
สิ่งท่ีชาวชนบทขาดแคลนที่ส�ำคัญ
คือ “ความรู้” ทรงเห็นว่าชาวชนบท
ควรมีความรู้เรื่องการท�ำมาหากิน
การท�ำการเกษตรโดยใช้เทคโนโลยี
ท่ีเหมาะสม จึงทรงจัดตั้งศูนย์ศึกษา
การพฒั นาอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� รขิ นึ้
ในทุกภูมิภาค เพ่ือให้ชาวชนบทได้มี
แหลง่ เรียนรู้ในพน้ื ที่

ก า ร น� ำ ค ว า ม รู ้ ด ้ า น
เทคโนโลยีการเกษตรท่ีเหมาะสม
เข้าไปถึงมือชาวบ้านอย่างเป็นระบบ
และต่อเนือ่ ง เปน็ ขบวนการเดียวกัน เปน็ เทคโนโลยีการผลิตทช่ี าวบ้านรบั ได้ และสามารถน�ำไปปฏิบตั ิ
อยา่ งไดผ้ ลจริง
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงน�ำ
ความรู้ทางสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในทุกสาขาวิชามาใช้ในการพัฒนาทุกแขนง ไม่ทรงปิดกั้น
เทคโนโลยีใหม่ จากต่างประเทศ ทรงเน้นว่าจะตอ้ งใช้เทคโนโลยีใหเ้ กดิ ประโยชน์ ในดา้ นประหยัด โดย
น�ำมาปรับปรุงใช้ให้เหมาะกับสภาพและฐานะของประชาชนและของประเทศ ดังพระบรมราโชวาทใน
พธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั รแกผ่ สู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาจากสถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ประจำ� ปกี ารศกึ ษา
๒๕๒๐ วันจนั ทร์ ท่ี ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๒๑ ความ ตอนหนึ่งว่า

“…การใช้เทคโนโลยีนน้ั ย่อมกระทำ� ได้หลายแงห่ ลายมุม แง่หนง่ึ ทีค่ วรเพ่งเลง็ เปน็ พิเศษ
กค็ อื ใช้ให้เกดิ ประโยชนใ์ นดา้ นประหยัด เพราะการประหยัดเป็นส่งิ พงึ ประสงคอ์ ยา่ งยิง่

ในทที่ ุกแห่งและในกาลทุกเมอ่ื เท่าที่ปรากฏแล้ว
เทคโนโลยีช่วยให้ประหยดั ได้อยา่ งดีเลศิ ในการสร้างเครื่องมอื อเิ ลคโตรนิคส์
แต่กอ่ นเครือ่ งมอื อเิ ลคโตรนคิ ส์ท�ำได้ยากยิ่งและมีราคาสูงมาก คนสว่ นนอ้ ยเท่านน้ั
ทีไ่ ด้รับประโยชนจ์ ากเคร่อื งมอื ดังกล่าว แตป่ ัจจบุ นั เทคโนโลยีช่วยให้สรา้ งและผลิตได้
โดยงา่ ยและสะดวกดว้ ยราคาต�่ำ อย่างเครื่องรับวิทยุทรานซสิ เตอร์ เวลาน้ใี ชก้ นั ไดอ้ ย่าง
แพร่หลาย ทำ� ให้คนท่วั ไปไดร้ ับประโยชนใ์ นดา้ นข่าวสารและการบันเทงิ โดยท่วั ถงึ
ในด้านอืน่ ๆ เชน่ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม แมจ้ ะเป็นเพยี งงานระดบั ชาวบา้ น
เทคโนโลยกี ็อาจชว่ ยได้เป็นอย่างดี ยกตวั อย่างเช่นการท�ำยางพารา ถ้าทำ� ตามแบบ
พื้นบา้ น ซง่ึ ทำ� กนั ตามมีตามเกิด ขาดความระมดั ระวังในความสะอาดเรยี บร้อย กม็ กั
ได้ยางแผ่นท่ีมคี ุณภาพต่�ำ ท�ำใหข้ ายไมไ่ ด้เตม็ ราคา แต่ถา้ นำ� เทคโนโลยอี ย่างงา่ ย ๆ มาใช้
ให้มีการใช้กรรมวิธที ี่ถูกต้องและแน่นอนสม�ำ่ เสมอ กจ็ ะได้ยางแผน่ ที่มคี ุณภาพได้

มาตรฐาน ขายได้เตม็ ราคา…”

242

(๒) ประชาธปิ ไตย

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรง
เห็นว่า การจะสร้างความเป็นประชาธิปไตยให้กับ
ประชาชนและประเทศไดน้ น้ั จำ� เปน็ จะตอ้ งตอ่ สกู้ บั
ความยากจน เพราะหากประชาชนยงั ต้องตอ่ สเู้ พือ่
ความอยู่รอดของชีวิต จะท�ำให้ขาดอิสรภาพและ
เสรภี าพทจี่ ะแสดงความคดิ เหน็ หรอื เขา้ มามสี ว่ นรว่ ม
ในการพัฒนาประเทศ รวมทั้งระบบการบริหาร
ประเทศจะตอ้ งเปน็ ไปดว้ ยความโปรง่ ใสและยตุ ธิ รรม
จงึ จะชว่ ยใหเ้ ปน็ ประชาธปิ ไตยได้อยา่ งแท้จรงิ ดงั แนวพระราชดำ� ริ ดงั น้ี

ประชาธปิ ไตยในฐานะพระมหากษตั รยิ ์ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงมแี นวพระราชดำ� รขิ องคำ� วา่ “หนา้ ท่ีของพระมหากษัตรยิ ์ภายใต้
ระบอบ ประชาธปิ ไตย” คอื ทำ� อะไรกต็ ามทเี่ ปน็ ประโยชน์ ดงั ความตอนหนงึ่ ทพ่ี ระองคไ์ ดม้ พี ระราชดำ� รสั
ตอบค�ำถามบรรษัทการกระจายเสียงแห่งอังกฤษ หรือ British Broadcasting Corporation (BBC)
ซ่ึงขอพระราชทานสัมภาษณเ์ ม่อื ปี ๒๕๒๒ เก่ียวกบั บทบาทและหนา้ ท่ขี องสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์วา่

“...การท่ีจะอธิบายวา่ “พระมหากษตั รยิ ์” คอื อะไรนั้น ดเู ปน็ ปญั หาทค่ี ่อนข้างยากพอสมควร
โดยเฉพาะในกรณขี องข้าพเจา้ ซง่ึ ถกู เรียกโดยคนท่วั ไปวา่ เปน็ พระมหากษัตริย์
แต่โดยหน้าที่ท่ีแท้จริงแลว้ ดจู ะห่างไกลจากหน้าทพ่ี ระมหากษัตรยิ ์ที่เคยร้จู กั

หรือเขา้ ใจกนั มาแตก่ อ่ น หน้าทข่ี องข้าพเจา้ ในปจั จุบนั ก็คอื อะไรกต็ ามทเี่ ป็นประโยชน์
ถา้ จะถามวา่ ขา้ พเจา้ มีแผนการอะไรบา้ งในอนาคต คำ� ตอบก็คอื ไมม่ ี
เราไม่ทราบวา่ อะไรจะเกดิ ขึ้นภายภาคหน้า แต่ว่าอะไรจะเกดิ ขึ้นก็ตาม

เรากจ็ ะเลอื กท�ำแตส่ ง่ิ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ นน่ั เป็นแผนการท่ีเพียงพอแลว้ สำ� หรบั เรา…”
ประชาธิปไตยท่ีแท้จริง คือการที่ประชาชนมีความคิดท่ีจะให้ประเทศอยู่ได้อย่างมั่นคง

โดยไม่เบียดเบียนกัน ดังพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ในโอกาสเสด็จ ฯ ไปทรงดนตรี ณ หอประชมุ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ วันเสาร์ ที่ ๑ มีนาคม ๒๕๑๒
ความตอนหนง่ึ วา่

“...ประชาธปิ ไตยนั้นท่ีแท้ก็คอื ประเทศทม่ี ีประชาชนทม่ี ีความคดิ
ทม่ี คี วามพิจารณาทร่ี อบคอบเพ่ือใหบ้ ้านเมอื งม่นั คง ให้บ้านเมืองอยไู่ ดโ้ ดย

ไมเ่ บียดเบยี นซงึ่ กนั และกนั ...”

243

ประชาธิปไตยในการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ มีอยู่ในทุกข้ันตอนกระบวนการ ดังท่ี
ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล กล่าวถึงพระปรีชาสามารถและพระปรีชาญาณด้านการพัฒนาประชาธิปไตย
ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ผ่านโครงการ
ในพระราชดำ� ริ ของพระองคว์ า่ เปน็ สงิ่ ทหี่ ลายคนอาจจะมองไมเ่ หน็ หรอื มองขา้ มไป ในพระราชกรณยี กจิ
ตา่ ง ๆ ทมี่ คี นสว่ นใหญเ่ หน็ วา่ ทำ� ไปตามพระราชประสงคห์ รอื ความปรารถนาของพระองค์ ซงึ่ โดยแทจ้ รงิ
แล้วไม่ใช่ เหน็ ได้จากการตง้ั ชอื่ โครงการ โดยโครงการในระยะแรก ๆ ที่เกิดขึ้น เช่น โครงการหุบกะพง
จะอยู่ภายใต้ช่ือ “โครงการตามพระราชประสงค์” ต่อมาปี ๒๕๒๔ เมื่อมีการจัดต้ังส�ำนักงานคณะ
กรรมการพเิ ศษเพือ่ ประสานงานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ (สำ� นักงาน กปร.) ทรงเปลย่ี นใช้
ชอ่ื ว่า “โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชด�ำริ” หมายความวา่ รบั สง่ั อะไรไปแลว้ เป็นหน้าทข่ี องฝ่ายที่
เก่ยี วขอ้ งจะไปสังเคราะหแ์ ละด�ำเนินการ

ประชาธิปไตยในการปกครอง ทรงยึดหลักความถูกต้องและยุติธรรม โดยทรงปฏิบัติ
และด�ำรงพระองค์ในทศพิธราชธรรมอย่างเคร่งครัด ซึ่งตรงกับ “ธรรมาภิบาล” หรือ “Good
Governance” ตามหลักสากลในปจั จบุ ัน โดย ดร.สเุ มธ ไดก้ ล่าวถงึ เรอ่ื งประชาธปิ ไตยในการปกครอง
ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร วา่ “ตลอดเวลา
ทผี่ มไดร้ บั ใชใ้ ตเ้ บอื้ งพระยคุ ลบาท พระองคท์ รงยดึ หลกั ตอ้ งถกู ตอ้ งทกุ อยา่ งแมก้ ระทงั่ ชาวบา้ นและเอกชน
ถวายเงนิ โดยเสดจ็ ตามพระราชกุศล ซ่ึงบางคร้ังเราเหน็ วา่ มีเงนิ นีอ้ ยู่ นา่ จะนำ� ไปทำ� โครงการ พระองคจ์ ะ
ไม่ทรงอนุญาต ทรงตรสั วา่ คนเขาให้ทำ� บุญอยา่ งเดยี ว พระองคจ์ ะทรงเครง่ ครัดมาก

ส�ำหรับปัญหาเร่ืองการเมืองการปกครอง พระองค์จะทรงรักษาความเป็นกลาง หากตราบใด
ทุกอย่างยังด�ำเนินการไปได้โดยกลไกที่มีอยู่ จะไม่ทรงเข้าไปยุ่งเกี่ยว แม้แต่โครงการของมูลนิธิ
ชัยพัฒนา พระองค์ทรงเตือนให้ระวังอยู่เสมอ ไม่ให้ไปซ้�ำซ้อนกับงานของรัฐบาล ในส่วนไหนท่ี
รัฐบาลเข้าไปดูแลแล้ว มูลนิธิก็จะไม่เข้าไปอีก และเม่ือคร้ังท่ีผมเป็นเลขาธิการสภาพัฒน์ และเป็น
เลขาธิการส�ำนักงาน กปร. ด้วย พระองค์จะทรงให้ตรวจสอบอยู่ตลอดว่าโครงการน้ีรัฐบาล
ท�ำหรือยัง เพื่อไม่ให้เกิดความซ�้ำซ้อนโดยเด็ดขาด ยึดหลักว่า ไม่ซ้�ำซ้อน ไม่แย่ง ไม่แข่ง แต่จะเป็น
ทีมเสริม สถาบันพระมหากษัตริย์ของเราในยามเกิดวิกฤตก็จะเป็นเหมือนเคร่ืองมือบางอย่างท่ีท�ำให้
ประเทศเดินหนา้ ไปได้...”

ตวั อยา่ งพระราชกรณยี กจิ

การต่อสู้กับความยากจนตามแนวพระราชด�ำริและพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดโครงการ
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� รดิ า้ นตา่ ง ๆ มากมาย เพอื่ ใหป้ ระชาชนของพระองคห์ ลดุ พน้ จากความยากจน
และความความทุกข์ยาก และพ่ึงตนเองได้ อันจะน�ำไปสู่การมีอิสระและเสรีภาพท่ีจะน�ำพา
“ประชาธปิ ไตย” มาสู่ประชาชนและประเทศชาติอย่างแท้จรงิ

244

พระราชกรณียกิจและโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริที่มุ่งต่อสู้ให้ประชาชนของ
พระองค์หลุดพ้นจากความทุกข์ยากดังกล่าว มีต้ังแต่การแก้ปัญหาเกษตรกรไม่มีที่ดินท�ำกินของ
ตนเอง การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและรักษาพยาบาล การส่งเสริมอาชีพและรายได้ รวมท้ัง
การนำ� ความร้แู ละเทคโนโลยีเพ่อื ใช้ในการแกไ้ ขปญั หาหรอื เพม่ิ ผลผลติ ใหเ้ กษตรกร อาทิ

การใชพ้ ระราชอำ� นาจในการปกครองภายใตร้ ะบอบประชาธปิ ไตย

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ทรงลงพระปรมาภิไธยพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซ่ึงเป็นกฎหมายสูงสุดจ�ำกัด
พระราชอำ� นาจของพระองคเ์ อง โดยทรงอยภู่ ายใตร้ ฐั ธรรมนญู และพระราชทานอำ� นาจสงู สดุ ไปสปู่ วงชน
ชาวไทย ในฐานะองคพ์ ระประมขุ อนั เปน็ ทเี่ คารพสงู สดุ ทรงอยเู่ หนอื การเมอื งและการลว่ งละเมดิ ทง้ั ปวง

พระองค์ทรงใช้อ�ำนาจอธิปไตยทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามที่ก�ำหนดไว้ใน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในการใช้อ�ำนาจนิติบัญญัติโดยตรากฎหมายต่าง ๆ นั้น เมื่อทรง
ลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว จึงให้ใช้บังคับเป็นกฎหมายได้ นอกจากนั้น
ยังทรงไวซ้ ่งึ พระราชอำ� นาจในการตราพระราชกฤษฎีกาต่าง ๆ โดยไม่ขัดตอ่ กฎหมาย

นอกจากน้ี พระองค์ทรงใช้พระราชอ�ำนาจตามบทบาทหน้าท่ีและความรับผิดชอบของ
พระมหากษัตริย์ทั่วโลก ดังค�ำกล่าวของ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา ในการ
บรรยายเร่ือง “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับความเป็นประชาธิปไตยที่ยั่งยืน” การอบรม
หลกั สตู รพฒั นาการเมืองและการเลอื กตง้ั ระดับสูง ร่นุ ที่ ๔ ณ สถาบนั พฒั นาการเมอื งและการเลอื กตง้ั
ส�ำนักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั เมื่อวนั ท่ี ๕ เมษายน ๒๕๕๖ ความตอนหนึง่ ว่า

“...ความจริงพระมหากษัตริย์ท่ัวโลกมีหน้าที่ความรับผิดชอบอยู่ ๓ ประการด้วยกัน
ประการแรก คือ The Right to Advice หน้าท่แี ละสทิ ธใิ นการใหค้ �ำแนะนำ� ซ่งึ หากรฐั บาลเหน็ ด้วย
ก็น�ำไปปฏิบัติ และหากไม่เห็นด้วยก็ไม่ต้องน�ำไปปฏิบัติ ซึ่งไม่ถือว่ามีความผิด ดังตัวอย่างที่พระบาท
สมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พระราชทานแนวพระราชดำ� ริ
และคำ� แนะน�ำ เรื่อง “การบริหารจัดการนำ้� ” ตั้งแตป่ ี ๒๕๓๘ โดยทรงให้รายละเอยี ดการบริหารจัดการ
เช่น พ้ืนทีต่ รงไหนควรทำ� Flood way เปน็ ต้น แต่ไม่มผี ใู้ ดตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของแนวพระราชดำ� ริ
ดงั กลา่ ว จนเกดิ เหตกุ ารณม์ หาอทุ กภยั ในปี ๒๕๕๔ จงึ ตา่ งระลกึ ไดว้ า่ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร
มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงแนะนำ� มาเปน็ เวลาลว่ งหนา้ ถงึ ๑๖ ปีแล้ว

ประการทส่ี อง คอื The Right to be consulted หน้าทแี่ ละสิทธใิ นการทรงเป็นทปี่ รกึ ษา
โดยใครมาขอพระราชทานค�ำปรึกษา พระองค์ก็จะพระราชทานให้ทุกครั้ง ดังที่นายกรัฐมนตรี
ขอเข้าเฝ้าฯ ถวายรายงานเรื่องน้�ำ และขอพระราชทานค�ำปรึกษา ก็พระราชทานค�ำปรึกษาให้ หรือ
แม้แต่ลุงมี ลุงมาที่อยู่หัวไร่ปลายนาเขียนจดหมายมา พระองค์ยังทรงตอบ โดยพระองค์ทรงยึดถือว่า

245

ใครเขาถามหรือมาปรึกษาอะไร ต้องตอบ โดยเฉพาะฎกี าที่ชาวบา้ นรอ้ งเรียนมา หรือขอคำ� แนะน�ำเรือ่ ง
น�้ำ ดนิ หรอื การประกอบอาชีพ หรือตวั เองต้องทนทุกข์อะไร ต้องตอบพร้อมทั้งหาทางแก้ไขให้เขาดว้ ย

ประการสุดทา้ ย คือ The Right to Warn หน้าท่ีและสทิ ธิในการตกั เตือน เมื่อมีพระบรมราช
วินิจฉัยว่าจะมีภัยอันตรายมาสู่ประเทศ พระองค์จะทรงเตือน ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ “เหตุการณ์
๑๔ ตุลาฯ” และ “พฤษภาทมิฬ”... ขอให้สังเกตว่าท้ัง ๒ เหตุการณ์ที่พระองค์มีพระราชด�ำรัสน้ัน
ไม่เคยทรงระบุเลยว่าใครผิดใครถูก พระองคร์ บั สงั่ กบั ผมวา่ ไมท่ รงมอี ำ� นาจทจ่ี ะไปชว้ี า่ ใครผดิ ใครถกู
มีขบวนการทางกฎหมายอยู่แล้ว เพียงแต่พระองค์ทรงเรียกสติของผู้ท่ีเก่ียวข้องกลับคืนมา พระองค์
ไมท่ รงเขา้ ไปยงุ่ เกยี่ ว ทรงระวงั พระองคม์ าก...”

การสรา้ งความมั่นคงเพ่อื ความเปน็ ประชาธิปไตยของประเทศ

เมือ่ ศึกษาถงึ พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดช
มหาราช บรมนาถบพิตร ทีท่ รงปฏิบัติมาเป็นระยะเวลายาวนานแลว้ จะพบว่าสิ่งท่พี ระองค์ทรงคำ� นงึ ถึง
ตลอดเวลา คือความสงบสุขและความม่ันคงของประเทศและสังคมไทย ดังที่ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล
เลขาธิการมลู นธิ ชิ ยั พัฒนา กลา่ วไวใ้ นการบรรยายเรอ่ื งเดยี วกันขา้ งต้น ความตอนหน่ึงวา่

“...บทบาทของพระองค์ในการสร้างความม่ันคงของประเทศ จะไม่ทรงลงไปรบ แต่พระองค์
ทรงไปช้ีแนะ จึงเป็นท่ีมาของแนวพระราชด�ำริการจัดสรรท่ีดิน ส.ป.ก. (ส�ำนักงานการปฏิรูปที่ดิน
เพื่อเกษตรกรรม สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์) ให้ผู้ก่อการร้ายที่มามอบตัวได้มีท่ีท�ำกินในพื้นท่ี
ป่าเสื่อมโทรม โดยทรงเห็นว่ารัฐน่าจะด�ำเนินการตามความเหมาะสมของสภาพพ้ืนท่ีนั้น ๆ เพื่อให้
กรรมสิทธิ์แก่ราษฎรได้ท�ำกินอย่างถูกกฎหมาย แต่มิได้เป็นการออกโฉนดท่ีจะสามารถน�ำไปซื้อขายได้

246


Click to View FlipBook Version