คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนล�ำปำงกัลยำณี ปีกำรศึกษำ 2566
2 อัตลักษณ์ของผู้เรียน (Identity) เอกลักษณ์ของโรงเรียน (Uniqueness) คติพจน์ สีและสัญลักษณ์ของโรงเรียน สัญลักษณ์ของโรงเรียน : “ต้นสน” Lampang Kanlayanee “The School Of Inspiration For ALL” ค�ำขวัญของโรงเรียน (Slogan) ปรัชญาของโรงเรียน “มีความรู้ เป็นคนดี มีคุณค่า” “โรงเรียนเด่น นักเรียนดี กีฬาดัง” ระบบดี วัฒนธรรมองค์กรเข้มแข็ง หลักสูตรดี ครูมืออาชีพ ระบบดูแลดี ครูเป็นแบบอย่าง “อชฺเชว กิจฺจ มาตปฺปํ” “จงเร่งท�ำความเพียรเสียแต่วันนี้” สีของโรงเรียน “น�้ำเงิน - ขาว” สีน�้ำเงิน หมายถึง องค์กรพระประมุขแห่งชาติ ใต้เบื้องบาทบารมีปกเกศา สีขาว หมายถึง ศาสนาพุทธบริสุทธิ์พระศาสดา น้อมน�ำมาด�ำรงดุจธงชัย “การศึกษาเพื่อชีวิตและสังคม”
3 1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง 1. ความรู้ความเข้าใจที่มีต่อชาติบ้านเมือง 2. ยึดมั่นในศาสนา 3. มั่นคงในสถาบันพระมหากษัตริย์ 4. มีความเอื้ออาทรต่อครอบครัวและ ชุมชนของตน 3. มีงานท�ำ - มีอาชีพ 1. การเลี้ยงดูลูกหลานในครอบครัว หรือการฝกฝน อบรมในสถานศึกษาตองม ุงใหเด็กและเยาวชนรักงาน สู้งาน ทําจนงานสําเร็จ 2. การฝกฝนอบรมทั้งในหลักสูตรและนอก หลักสูตรตองมีจุดม ุงหมายใหผูเรียนทํางานเปนและ มีงานทําในที่สุด 3. ตองสนับสนุนผู สําเร็จหลักสูตรมีอาชีพมีงานทํา จนสามารถเลี้ยงตัวเองและครอบครัว 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง - มีคุณธรรม 1. รู้จักแยกแยะสิ่งที่ผิด-ชอบ / ชั่ว-ดี 2. ปฏิบัติแต่สิ่งที่ชอบ สิ่งที่ดีงาม 3. ปฏิเสธสิ่งที่ผิด สิ่งที่ชั่ว 4. ช่วยกันสร้างคนดีให้แก่บ้านเมือง 4. เป็นพลเมืองดี 1. การเป็นพลเมืองดีเป็นหน้าที่ของทุกคน 2. ครอบครัว-สถานศึกษาและสถานประกอบการ ต้องส่งเสริมให้ทุกคนมีโอกาสทำหน้าที่พลเมืองดี 3. การเป็นพลเมืองดีคือ “เห็นอะไรที่จะทำเพื่อ บ้านเมืองได้ก็ต้องทำ”เช่น งานอาสาสมัครงานบำเพ็ญ ประโยชน์งานสาธารณกุศลให้ทำด้วยความมีนำ้ใจและ ความเอื้ออาทร 3
4 4
5 กระผมนายวิโรจ หลักมั่น ผู้อำนวยการโรงเรียนลำปางกัลยาณี ขอแสดงความยินดีกับ ผู้ปกครองทุกท่านและนักเรียนทุกคน ยินดีต้อนรับเข้าสู่รั้วลำปางกัลยาณีด้วยความชื่นชมยินดียิ่ง โรงเรียนลำปางกัลยาณี เป็นสถาบันการศึกษาที่เก ่าแก ่คู ่เมืองลำปางมาอย่าง ยาวนาน ก ่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2458 และได้ผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพเพื่อสร้างสรรค์คุณประโยชน์ ต ่อประเทศชาติมาแล้วจากรุ ่นสู ่รุ ่น เป็นความภาคภูมิใจของชาวน้ำเงิน-ขาว ที่ได้ร ่วมกันพัฒนา สร้างสรรค์ให้โรงเรียนมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักของสังคมและบุคคลทั่วไป การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนลำปางกัลยาณี มุ่งพัฒนาให้นักเรียนได้มีส่วน ร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่หลากหลายรูปแบบ เช่น การวิเคราะห์ การสังเคราะห์การระดมสมอง การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตามกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุขและมีคุณภาพ ภายใต้พื้นฐานกรอบแนวคิด “โรงเรียนแห ่งความสุข” อยู ่ในสถานศึกษาที่ปลอดภัย เพื่อนักเรียนจะได้เติบโตเป็นอนาคตที่ดี ของครอบครัว สังคมและประเทศชาติมีความพร้อมทั้งด้านความรู้ความสามารถ เฉลียวฉลาด รู้จัก รักษาระเบียบวินัย รู้คุณค่าของขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนลำปางกัลยาณีเล่มนี้ เป็นเอกสารที่มีความสำคัญและมี ประโยชน์อย่างยิ่งที่ผู้ปกครองและนักเรียนควรทราบ มีจุดประสงค์เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองได้ ทราบถึงแนวทางการบริหารจัดการของโรงเรียนในด้านต่างๆ รวมถึงกฎ ระเบียบ ข้อปฏิบัติจากฝ่าย บริหารวิชาการ ฝ่ายอำนวยการ ฝ่ายบริหารทั่วไป และฝ่ายกิจการนักเรียน ขอให้นักเรียนศึกษาและ ทำความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในทุกเรื่อง เพื่อจะได้ปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องตลอดระยะเวลาที่ศึกษา อยู่ในโรงเรียน ในโอกาสนี้ขออำนวยพรให้นักเรียนทุกคนได้ศึกษาเรียนรู้ในสถาบันแห่งนี้อย่างมีความสุข สำเร็จการศึกษาอย่างมีคุณภาพตามความมุ่งหวังทุกประการ 5 (นายวิโรจ หลักมั่น) ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนล�ำปางกัลยาณี
6 โรงเรียนของเรา ประวัติโรงเรียน 11 ทำเนียบผู้บริหารโรงเรียน 12 บุคลากรโรงเรียนล�ำปางกัลยาณีในปัจจุบัน 13 หลักสูตรการเรียนการสอน หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 37 เกณฑ์การวัดประเมินผลการเรียน 42 กฎระเบียบและการปฏิบัติ ระเบียบว่าด้วยการปกครองนักเรียนทั่วไป 49 ระเบียบว่าด้วยการแต่งกายของนักเรียน 51 ระเบียบว่าด้วยการปฏิบัติเมื่อมาโรงเรียนสาย 60 และขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียน ระเบียบว่าด้วยการลงโทษ และการตัดคะแนน 62 ความประพฤติของนักเรียน ระเบียบว่าด้วยความปลอดภัยของนักเรียนในโรงเรียน 70 ระเบียบว่าด้วยการเรียนและการใช้อาคารเรียน 72 ระเบียบว่าด้วยการร่วมกิจกรรมของนักเรียน 74 ระเบียบว่าด้วยการกระทำความดี 75 สารบัญ 6
7 ระเบียบว่าด้วยบัตรประจำตัวนักเรียน 78 ระเบียบว่าด้วยสภาพการเป็นนักเรียน 80 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง ผู้ปกครองนักเรียนนักศึกษา 82 งานสนับสนุน การบริการเกี่ยวกับไปรษณียภัณฑ์ 83 กองทุนเงินเพื่อให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) 83 งานอนามัยโรงเรียน 87 ระเบียบสวัสดิการโรงอาหารโรงเรียน 91 งานห้องสมุด 92 โทรศัพท์ของโรงเรียน 100 เบ็ดเตล็ด กำหนดเวลาเรียนประจำวัน 102 สมาคมผู้ปกครองและครู 103 เครือข่ายผู้ปกครอง 105 สารบัญ 7
88
9
1010
11 “...ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างมากว่าเด็กในโรงเรียนสตรีประจ�ำจังหวัดล�ำปางจะบ�ำเพ็ญตน ในทางที่ดีสืบอนุสนธิ์ต่อไปไม่ขาดสายตามวิวัฒนาการของโลก” จากบทความของคุณย่าแคลระรัตนศาสตร์สมบูรณ์ เป็นบุคคลที่มีวิสัยทัศน์ยาวไกล จึงเป็นแรงบันดาล ใจให้คณะครูล�ำปางกัลยาณีทุกคนสืบสานปณิธานของท่านเพื่อให้ลูกหลานล�ำปางกัลยาณีทุกคน มีความรู้ เป็น คนดี มีคุณค่าแก่สังคมเป็นอัตลักษณ์ของลูกล�ำปางกัลยาณี โรงเรียนล�ำปางกัลยาณี เริ่มก่อตั้งครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2458โดย พล.ต.ต.เจ้าราชวงศ์ (แก้ว ภาพเมรุณล�ำปาง) เป็นผู้อุทิศที่ดินให้ 1 ไร่เศษ ทางฝั่งขวาของแม่น�้ำวัง ถนนปงสนุก อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง ต่อมาพ่อเลี้ยง หม่องโง่ยซิน สุวรรณอัตถ์ ได้ก่อสร้างอาคารเรียนให้ 1 หลัง เป็นอาคารไม้ชั้นเดียว มี 3 ห้องเรียน แต่ไม่มีครูสอน โรงเรียนจึงถูกทอดทิ้งไว ้ให ้ร ้างอยู ่ถึง 2 ป ี ต ่อมาเมื่อ ป ี พ.ศ. 2460 คุณครูแคลระ รัตนศาสตร ์สมบูรณ ์ ได ้มาที่จังหวัดล�ำปาง มหาอ�ำมาตย ์ตรีพระยาสุเรนทร ์ราชเสนา ปลัดมณฑลประจ�ำจังหวัดในขณะ นั้น ได ้ขอความอนุเคราะห ์จากคุณครูแคลระเป ิดสอน โรงเรียนรัฐบาลหญิงแห ่งแรกของจังหวัดล�ำปาง จึงเกิดขึ้น เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 จัดสอนแบบสหศึกษา มีนักเรียนชาย 57 คน นักเรียนหญิง 3 คน มีครูเพียงคนเดียว ในปี พ.ศ. 2465 จึง ได ้ครูที่ส�ำเร็จจากจังหวัดพระนครมาช ่วยสอนโรงเรียน ล�ำปางกัลยาณี ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ถนนพหลโยธิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง มีเนื้อที่ 23 ไร่ 2 งาน 30 ตารางวา โรงเรียนล�ำปางกัลยาณี ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ได้พัฒนามาตามล�ำดับ ได ้รับคัดเลือกให ้เข ้าโครงการต ่างๆ ได ้ท�ำ MOU กับสถาบันส ่งเสริมการสอนภาษาจีน (Hanban) พร ้อมจัดตั้ง ห ้องเรียนขงจื่อ และเข ้าร ่วมโครงการโรงเรียนเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนพัฒนาคุณภาพสู ่มาตรฐาน สากล รับรางวัลคุณภาพแห่งส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (OBECQA) ปี 2559-2560 โรงเรียน ได ้พัฒนาหลักสูตรการจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ การวัดผล ประเมินผล การนิเทศและการวิจัยเทียบเคียง มาตรฐานสากล เพื่อให ้นักเรียนได ้เรียนกับครูเจ ้าของภาษาตามความต ้องการของผู ้ปกครองและนักเรียน มีการพัฒนาเนื้อหาและหลักสูตรและการจัดท�ำข ้อตกลงในความร ่วมมือพัฒนาการเรียนการสอนภาษา ต่างประเทศที่ 2 กับสถาบันการศึกษาในประเทศเจ้าของภาษา คือ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น และ ภาษาเกาหลี จัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ หลักการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีการด�ำเนินกิจกรรม TO BE NUMBER ONE ทูลกระหม ่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี องค์ประธานโครงการฯ ทรงเปิดชมรม TO BE NUMBER ONE และ ศูนย ์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE โรงเรียนล�ำปางกัลยาณี มีการจัดระบบดูแลช ่วยเหลือนักเรียน นักเรียนเรียนร ่วม (บกพร ่องทางการมองเห็น) โรงเรียนพัฒนา ห ้องเรียนในด ้าน ICT โดยติดตั้งอุปกรณ ์ช ่วยสอนต ่าง ๆ เช่น จอรับภาพ เครื่องเสียงและเครื่องฉายทึบแสง ตามห้องเรียนในอาคารต่าง ๆ ในทุกสาระวิชา และโรงเรียนให้ความส�ำคัญในเรื่องโครงสร้างพื้นฐานสิ่งอ�ำนวย ความสะดวก ความปลอดภัยในสถานศึกษา และการส่งเสริมการมีสุขภาพดีอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งอาคารสถานที่ ห้องเรียน ศูนย์การเรียนรู้ ฯลฯ โรงเรียนมีโครงการพัฒนาผู้บริหาร ครู บุคลากร สู่ความเป็นมืออาชีพในระดับ สากลอย่างต่อเนื่องและได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนทุกภาคส่วน เพื่อพัฒนา โรงเรียนล�ำปางกัลยาณีมุ่งสู่ความเป็น SMART SCHOOL ป ัจจุบันโรงเรียนล�ำปางกัลยาณี เป ิดการเรียนการสอนตั้งแต ่ระดับชั้นมัธยมศึกษาป ีที่1 ถึง 6 เปิด การเรียนการสอนแบบห้องเรียนปกติ ห้องเรียนแผนภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ห้องเรียนพิเศษ สสวท. ห้องเรียนสองภาษา (MEP/IEP) และห้องเรียนดนตรีไทย 11
12 1. นางแคลระ รัตนศาสตร์สมบูรณ์ (ครูแคลระ) พ.ศ.2460-2478 2. นางสุ่น อัจฉกุล พ.ศ.2478-2480 3. นางตาบ แรงข�ำ พ.ศ.2481-2484 4. นางบุญฉวี พรหโมปกรณ์ พ.ศ.2485-2487 5. นางสมบูรณ์ ธรรมครองอาตม์ พ.ศ.2487-2493 6. นางปทุมมาลย์ รัชตะปิติ พ.ศ.2493-2497 7. นางศรีบุษย์ กรรณสูต พ.ศ.2497-2506 8. คุณหญิงวลัย ลีลานุช พ.ศ.2506-2528 9. นางบุญรัตน์ โรจนศักดิ์ พ.ศ.2528-2533 10. นางสาวบุญนาค เดี่ยววิไล พ.ศ.2533-2539 11. นายวีระยุทธ จงสถาพรพงศ์ พ.ศ.2539-2544 12. นายบริบูรณ์ สุทธสุภา พ.ศ.2544-2547 13. นางจุรีย์ สร้อยเพชร พ.ศ.2547-2555 14. นายธรณินทร์ เมฆศิริ พ.ศ.2555-2558 15. นายแสวง บุญมากาศ พ.ศ.2558-2561 16. นายนิรันดร หมื่นสุข พ.ศ.2561-2565 17. นายวิโรจ หลักมั่น พ.ศ.2565-ปัจจุบัน ท�ำเนียบผู้บริหารโรงเรียน 12
1313 นายวิโรจ หลักมั่น กศ.ม. ผู้อํานวยการชํานาญการพิเศษโรงเรียนลําปางกัลยาณี นางสาววีณา เจียรพินิจนันท์ ศษ.ม. รองผู้อํานวยการชํานาญการ ฝ่ายวิชาการ นายกฤษดา มณีเชษฐา ปร.ด. รองผู้อํานวยการชํานาญการพิเศษ ฝ่ายบริหารทั่วไป นายสมชาย ใจไหว ค.ด. รองผู้อํานวยการชํานาญการพิเศษ ฝ่ายอํานวยการ นายทวี เขื่อนแก้ว ศษ.ม. รองผู้อํานวยการชํานาญการพิเศษ ฝ่ายกิจการนักเรียน นายวิโรจ หลักมั่น ผูบริหาร บุคลากรโรงเรียนล�าปางกัลยาณี นายหรินทร์ คะระวาด กศ.ม. ที่ปรึกษาผู้อํานวยการ
14 14 ผูชวยรองผูอํานวยการ นางปารมี สุปินะ ผู้ช่วยรองผู้อํานวยการ ฝ่ายอํานวยการ นายทศวัฒน์ หอมแก่นจันทร์ ผู้ช่วยรองผู้อํานวยการ ฝ่ายอํานวยการ นายชลอ ประชุมฉลาด ผู้ช่วยรองผู้อํานวยการ ฝ่ายบริหารทั่วไป นายยุทธนา เถียรประภากุล ผู้ช่วยรองผู้อํานวยการ ฝ่ายบริหารทั่วไป นางสาวปิญชาน์ รินง้าว ผู้ช่วยรองผู้อํานวยการ ฝ่ายกิจการนักเรียน นายสมบูรณ์ เหมือนจันทร์ ผู้ช่วยรองผู้อํานวยการ ฝ่ายกิจการนักเรียน นางสาวสุปราณี กาศเกษม ผู้ช่วยรองผู้อํานวยการ ฝ่ายวิชาการ นางนาริฐา อินถานะ ผู้ช่วยรองผู้อํานวยการ ฝ่ายวิชาการ นายบรรเจิด สระปัญญา หัวหน้ากลุ่มบริหารงานนวัตกรรม
15 นางวิไล มังจักร์ ศษ.ม.ครูชํานาญการพิเศษ นางจุฬารัตน์ ยะรินทร์ ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นางสายพร นาละออง ศษ.ม ครูชํานาญการพิเศษ นางพิมพ์ทอง มหาแก้ว ศษ.บ ครูชํานาญการพิเศษ นางสาวกุลธิดา หล้ามะณี ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ รองหัวหน้ากลุ่มสาระฯภาษาไทย นางศิริญญา เขื่อนแก้ว ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นางสาวพัชรกรณ์ ชัยชนะ ค.บ. ครูชํานาญการ นางสาวรัตนา ธิชูโต กศ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นายกิติศักดิ์ พรมค�า ศษ.ม. ครูชํานาญการ หัวหน้ากลุ่มสาระฯภาษาไทย นางสาวสุปราณี กาศเกษม ศษ.ม ครูชํานาญการพิเศษ นางสาวเบญจมาศ นวลอนงค์ ศษ.ม. ครูชํานาญการ นางกาญจนา ตะวงศ์ษา ค.บ. ครูชํานาญการ นางสาวมีนณา ธนันไชย ศษ.ม. ครูชํานาญการ หัวหน้ากลุ่มสาระฯภาษาไทย นางศิริญญา เขื่อนแก้ว นายกิติศักดิ์ พรมค�า กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 15
16 16 นางกัญญารัตน์ นาคอ่อน ศษ.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นางรักชนก ศรีชมภู ค.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางลลิตา ประชุมฉลาด ค.บ.ครูชํานาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ว่าที่ร้อยตรีหญิงสชญา หล้าอินเชื้อ ค.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางสาวเมธาพร สงกานต์ทิพ ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางอัญชลี ไชยดี กศ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ รองหัวหน้ากลุ่มสาระฯ ว่าที่ร้อยตรีหญิงขวัญเรือน เพ็งมา ศศ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ รองหัวหน้ากลุ่มสาระฯ นางทัศนีย์ ตรีเพ็ชร ศษ.ม. ครูชํานาญการ นายศราวุฒิ สุภายอง ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางพราวพร ปันตา ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นางกัญญารัตน์ นาคอ่อน นายวรกมล ตั๋นมาเชื้อ ศษ.ม. ครู นางพรทิพา ผันผาย ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นางโสภิณ ศิริค�าน้อย ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางสุพรทิพย์ เปียปลูก ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางสาวณฐาวิภา ดอนอุบล ศษ.ม. ครู นางสาวดวงฤทัย ธนามี ค.บ. (ครูพิเศษ) นางสาวกมลนัยน์ ต้องจิตต์ ค.บ. (ครูพิเศษ)
1717 นางจันทนา สัญญเดช วท.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นางพรนภัส เอื้อแท้ ศษ.บ. ครูชํานาญการพิเศษ รองหัวหน้ากลุ่มสาระฯ นางณัฐนพัชร์ วงษ์วรเนตร ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางธมนพัชร์ พงศ์สุพัศน์ ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ นางสาวอ�าไพ มนัสสันติ วท.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นายชัยวุฒิ คมประดิษฐ์ ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางศิริกานดา กันธิดา ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางศุทธินี ไชยรินทร์ ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางวัชรียา กฤตสิริทิพย์ กศ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางทิพวรรณ์ บุญเป็ง ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ รองหัวหน้ากลุ่มสาระฯ กลุมสาระคณิตศาสตร นางวรัฐทยา ฝันสืบ ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางจุฑาทิพย์ นิมิตรเกียรติไกล ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางสาวรุ่งนภา ถนอมรอด กศ.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นางวาริศา ไชยญา ค.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นายบรรเจิด สระปัญญา วท.ม. ครูชํานาญการพิเศษ
18 นางสาวกนกวรรณ ญาณปัญญา ศษ.ม. ครูชํานาญการ นางกิ่งลดา หมื่นสันธิ ศษ.ม. ครูชํานาญการ นางชนิดา ธรรมลังกา วท.ม. ครูชํานาญการ นางสาวสุพรรณี กาทอง ศษ.ม. ครูชํานาญการ นางสาวเสาวลักษณ์ อินตะสม ค.บ. ครู นางกิ่งลดา หมื่นสันธิ กลุมสาระคณิตศาสตร นายพิสิฐ ค�าภิโร กศ.ม. ครูชํานาญการ นางสาวภัทรวรรณ ตรียสรัย ศษ.บ. ครู 18 นายธีรวัฒน์ กันทะ ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นายจิตตวัฒน์ เมืองมาหล้า วท.ม. ครูชํานาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ กลุมสาระวิทยาศาสตร นางกัญญารัตน์ มูลวิชา ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ รองหัวหน้ากลุ่มสาระฯ นางอ�าไพ พิชิตสันต์ ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ รองหัวหน้ากลุ่มสาระฯ นางบุญฑริกา วงศ์ค�าลือ ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ รองหัวหน้ากลุ่มสาระฯ นายณัฏฐพล ขวัญเจริญ ค.ม. ครูชํานาญการ
19 นางจิตรา เครือตัน ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นายดุษฎี ศรีทรงราช วท.ม. ครูชํานาญการพิเศษ กลุมสาระวิทยาศาสตร นายชลอ ประชุมฉลาด ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นายชัยวัฒน์ นิรันดร์กุลสิทธิ์ วท.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นางสิริวิมล นิรันดร์กุลสิทธิ์ ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นายภูวณัฐ โพธิ์งาม วท.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางปารมี สุปินะ ค.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางนาริฐา อินถานะ วท.บ. ครูชํานาญการพิเศษ 19 นางนงนุช แสนเงิน ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นายสมโภชน์ ฟูใจ ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นางเนื้อน้อง ศรีตะบุตร ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นายนพพร ปุกค�า ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางสาวนารีรัตน์ รุ่งเรือง ศษ.ม ครูชํานาญการ นางสาวตรีนุช เพชรแสนงาม วท.บ. ครู นายทศวัฒน์ หอมแก่นจันทร์ วท.ม. ครูชํานาญการ นางนภารัตน์ สูตรเลข ศษ.ม. ครูชํานาญการ
2020 นายฐิติกร หล้าวงศ์ษา ค.บ. ครู นางจิรารัตน์ วงศ์วิไล กศ.ม. ครู นางจริยา โชติคณากุล กศ.ม ครูชํานาญการ นางสาวรุจิรัตน์ เป็งสา ศศ.ม. ครูชํานาญการ นางสาววราพร รัศมีจาตุรงค์ ศศ.ม. ครู นางศิริญา ยศบุญเรือง ศษ.ม. ครูชํานาญการ นางวริศรา กิจจาภินันท์ ศศ.ม. ครู นายฐิติกร หล้าวงศ์ษา นางสาววราพร รัศมีจาตุรงค์ กลุมสาระวิทยาศาสตร นายพงษ์ธลักษณ์ สิบแก้ว ศศ.ม ครู นางสาวจุฑามาศ กันทะวัง กศ.ม. ครูผู้ช่วย นางสาววิภาวรรณ อุตจันทร์ กษ.บ. ครู นางสาวกุญชรี ผ่านสุวรรณ ค.บ.(ครูพิเศษ)
21 นางอัญญ์ชลีย์ สิทธิ ศษ.ม.ครูชํานาญการพิเศษ นางอรชร ฤกษ์วัลย์ ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นางสาวสายทอง อินถาสาร ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นางสาวพิชญ์รัศมิ์ ยูพานิช ค.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางมณีรัตน์ ภิญโญ วท.ม. ครูชํานาญการพิเศษ หัวหน้าสาระเทคโนโลยี นางพัชรินทร์ สุภายอง ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นายชลธิช ณ ล�าปาง ศษ.ม. ครู นางทิวาพร วงศ์สุวรรณ ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นายชัยณรงค์ ภักศิลป์ วท.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางขวัญจิตร สุวรรณวงศ์ ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางสาวพิชญ์รัศมิ์ ยูพานิช สาระเทคโนโลยี นางสาวศิรินุช ใจศีลธรรม กศ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ 21
2222 นางอริศรา บุญยืน ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นางปราณี สวนเจริญ ค.บ. ครูชํานาญการ นางสาวแพรพลอย ค�าปิงบุตร ศศ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางดวงฤทัย จันทรวรเชตต์ ศษ.บ. ครูชํานาญการ นางกฤติยา ทรัพย์วงษ์ ศศ.บ. ครู นางสาวสุวรีย์ ศิริวรรณ ค.บ. ครู นางสาวพรผกา ต้อนรับ ค.บ. ครูผู้ช่วย นางนิชานันท์ เมฆศิริ ศษ.ม. ครูชํานาญการ นางสาวอัจฉรา ชื่นใจ ศศ.ม. ครู นางสาวศิรินทร์ สุดเจริญ นางสาวแพรพลอย ค�าปิงบุตร กศ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางสาวปิญชาน์ รินง้าว ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางมยุรี ท้าวศรีชัย ศศ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ นางศิริธร จะวรรณา วท.ม. ครูชํานาญการ รองหัวหน้ากลุ่มสาระฯ นางจงกลณี ภักดีเจริญ ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ สาระภาษาอังกฤษ นางสาวปิญชาน์ รินง้าว นางสาวปริมพร จันทรเวคิน ศศ.บ. ครูชํานาญการพิเศษ รองหัวหน้ากลุ่มสาระฯ นายหรินทร์ คะระวาด กศ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ
23 นางสาวภัสรลักษณ์ ใจขัด ศษ.ม. ครูชํานาญการ หัวหน้าสาระฯ นางพิชญาภา ไชยวรรณ ศษ.ม. ครูชํานาญการ นางสาวณัฐภรณ์ เดชเกาะเก่า ศศ.บ. ครูชํานาญการ นางปัทมาพร ก้อนมณี ศษ.ม. ครูชํานาญการ นางสาวศิรินทิพย์ รุมารถ ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ หัวหน้าสาระฯ นายพงศ์เกษม เตชะสาย ศษ.บ. ครู นางสาวประภาพร โล่ตระกูล ศษ.ม. ครูชํานาญการ หัวหน้าสาระฯ นายกรกฏ อุ่นเรือน กศ.บ. ครูผู้ช่วย นางสาวศิรินทิพย์ รุมารถ นายพงศ์เกษม เตชะสาย นางปัทมาพร ก้อนมณี นางปัทมาพร ก้อนมณี ศษ.ม. ครูชํานาญการ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ หัวหน้าสาระฯ นางสาวณัฐภรณ์ เดชเกาะเก่า นางสาวภัสรลักษณ์ ใจขัด นางพิชญาภา ไชยวรรณ นางสาวสุภานัน ปัญญาใหญ่ ศษ.ม. ครูชํานาญการ นางสาวประภาพร โล่ตระกูล นางพัชรสุกาล อธิปัญญาพันธ์ุ ศศ.บ. ครู นายกรกฏ อุ่นเรือน สาระภาษาฝรั่งเศส สาระภาษาญี่ปุน สาระภาษาจีน นางสาวมานิตา ดวงสุดา ศศ.บ. ครู นางสาวอรวรรณ กันธิมา ศศ.บ. ครู หัวหน้าสาระฯ สาระภาษาเกาหลี 23 นางนพพร ปรียานนท์ ศศ.บ. ครูชํานาญการพิเศษ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศที่ 2
2424 นายปฐวี มณีวงศ์ ค.ม. ครูชํานาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ นายปฐวี มณีวงศ์ ค.ม. ครูชํานาญการพิเศษ หัวหน้าสาระฯ กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ-ดนตรี นางอัญชญา ตะนา ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นายอดิศร ใจบ้านเอื้อม ศศ.บ.(ป.บัณฑิต) ครู นางสาวพรรษเฉลิม ณ ล�าปาง ศศ.บ. (ครูพิเศษ) นางศรีนวย ส�าอางค์ศรี ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ หัวหน้าสาระฯ นายอดิศร ใจบ้านเอื้อม สาระดนตรี (ดนตรีไทย) นางระวิวรรณ ภักดี ค.บ. ครูชํานาญการ หัวหน้าสาระฯ สาระนาฏศิลป นางสาวสกุลรัตน์ หอมแก่นจันทร์ ค.บ. ครู นางสาววรรณกมล ศุภวิมุติ ค.บ. ครู นางพรพรรณ์ ไชยเมือง ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นางสาวสิริญา ศรีชัย ศษ.ม. ครูชํานาญการ สาระทัศนศิลป
2525 นางสาววิลาวัลย์ ทะวะดี ศษ.ม. (ครูพิเศษ) นายธีรพันธ์ ปิงแก้ว ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ หัวหน้าสาระฯ นายอมรเทพ ฝันชมภู ค.บ. (ครูพิเศษ) สาระดนตรี (ดนตรีสากล) นายจีรศักดิ์ ถาน้อย ศษ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ นายอนุชิต แสงศิริรัตน์ กศ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นายสมบูรณ์ เหมือนจันทร์ วท.บ. ครูชํานาญการพิเศษ รองหัวหน้ากลุ่มสาระฯ นายบดินทร์ แต้มดื่ม กศ.บ. ครูชํานาญการ นางเพ็ชรศรี ทิพกนก ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นางเบญญาภา เครือสบจาง ค.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางสาววิภาวี แต้มไว ศษ.บ. ครู กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา
2626 นางผกาวรรณ์ ตุลาพันธุ์ ศษ.บ. ครูชํานาญการ หัวหน้าสาระฯ นางอนงค์วรรณ ไชยเตกุล ศษ.บ. ครูชํานาญการพิเศษ สาระคหกรรม นางผกาวรรณ์ ตุลาพันธุ์ นายพรชัย มั่นเหมาะ ค.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นายพรหมรังษี ทรงศรีสกุล ศษ.บ. ครู สาระอุตสาหกรรม นายยุทธนา เถียรประภากุล นายพรชัย มั่นเหมาะ ค.ม. ครูชํานาญการ หัวหน้าสาระฯ นางสาวสมพร กอนเชื้อ กศ.บ. ครูชํานาญการพิเศษ นางสาวทิพวรรณ ทัศเทียมพงษ์ ศษ.ม. ครูชํานาญการ นางสุดรัก ราชประสิทธิ์ ศศ.บ. ครูชํานาญการ สาระธุรกิจศึกษา นางสาวสมพร กอนเชื้อ นางสาวทิพวรรณ ทัศเทียมพงษ์ นายเดชพล ตรีเพ็ชร วท.บ. ครูผู้ช่วย หัวหน้าสาระฯ สาระเกษตรกรรม นายฐิติพงศ์ มิ่งเชื้อ ค.ม. ครูชํานาญการพิเศษ หัวหน้าสาระฯ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ นายยุทธนา เถียรประภากุล ค.ม. ครูชํานาญการ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
2727 นางสาวนันทนาพร วงศ์ยศ ศศ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ หัวหน้างานห้องสมุด นางสาวรัตติพร เสาจินดารัตน์ ศศ.บ. ครูชํานาญการ นางสาวศศลักษณ์ เครือนันตา ศศ.ม. ครูชํานาญการ งานหองสมุด นางสาวพรศรี เหลี่ยมพงศาพุทธิ วท.ม. ครูชํานาญการพิเศษ นางสาวกฤติยา หอมเพียร ศษ.ม. ครูชํานาญการ นางสาวกนกพร นิลแพทย์ กศ.ม. ครูชํานาญการพิเศษ หัวหน้างานแนะแนว นางสาวปนัดดา ยะติน ศษ.ม. ครูชํานาญการ นางสาวกนกพร นิลแพทย์ นางสาวพรศรี เหลี่ยมพงศาพุทธิ นางสาวนารีรัตน์ จัดสวย นางสาวกฤติยา หอมเพียร ศษ.ม. ครูชํานาญการ งานแนะแนว กิจกรรมพัฒนาผูเรียน นายฐิติพงศ์ มิ่งเชื้อ ค.ม. ครูชํานาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
28 นางสุภัสสรา เลลี เจ้าหน้าที่ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน นางสาวดารณี สมสิทธิ์ เจ้าหน้าที่งานสํานักงาน เจาหนาที่ประจําสํานักงาน ฝายกิจการนักเรียน 28 นางสาวพรชนัน มาลัยทอง เจ้าหน้าที่สํานักงาน นางสาวพุทธชาด เทียนไชย เจ้าหน้าที่งานทะเบียน และวัดผล นางสาวรัตนาภรณ์ มโนใจ เจ้าหน้าที่งานทะเบียน นายอดุลย์ศักดิ์ สองสีดา เจ้าหน้าที่อัดสําเนา ฝายอํานวยการ นางสาวศิญาภัสร์ สิทธิเลิศวิศาล เจ้าหน้าที่พัสดุ นางสาวปุณิกา สมจิตต์ เจ้าหน้าที่งานสารบรรณ นางสาวนันธิยาภรณ์ โชควัฒนนิธิ เจ้าหน้าที่การเงิน นางสาวจักรกรียา มาธุระ เจ้าหน้าที่งานบุคลากร นางสาวกชกร ดอนอุบล เจ้าหน้าที่พัสดุ นางจิราภรณ์ ท�าทอง เจ้าหน้าที่งานสารบรรณ นางสาวปัญญาทิพย์ พูนพิพัฒน์ เจ้าหน้าที่การเงิน ฝายวิชาการ นายยศวริศ กลิ่นฟุง เจ้าหน้าที่อัดสําเนา
29 นางสาวอภิญญา สังข์ครุฑ เจ้าหน้าที่งานคอมพิวเตอร์ นางสาวแววใจ แหนมเชย เจ้าหน้าที่งานแผนงาน นายพงศ์ไพบูลย์ เสมพิพัฒน์ เจ้าหน้าที่งานคอมพิวเตอร์ งานแผนงาน นางสาวจริยา ทับทิมทอง เจ้าหน้าที่ห้องพยาบาล นางสาวธมลวรรณ ปวงค�า เจ้าหน้าที่งานห้องสมุด นางศรีวิลัย วงศ์พรม เจ้าหน้าที่สวัสดิการร้านค้าโรงเรียน นางสาววิภาวดี ปอสี เจ้าหน้าที่ห้องพยาบาล นางวิชิต วงค์มั่น เจ้าหน้าที่เติมเงิน นางสาวจันทร์แก้ว ใจเมือง เจ้าหน้าที่งานห้องสมุด นางสาวปิยะกมล รื่นเริง เจ้าหน้าที่สวัสดิการร้านค้าโรงเรียน นางวิชิต วงค์มั่น งานอนามัย งานเติมเงิน งานหองสมุด งานสหกรณ 29 นางสาวจิตประภา ศรีตาบุตร เจ้าหน้าที่สมาคมผู้ปกครองและครู นางปราณี มั่งไคร้ เจ้าหน้าที่สํานักงาน นางสาวมัลลิกา แน่นอุดร เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ ฝายบริหารทั่วไป
30 นายบุญเสาร์ หลักบึง เจ้าหน้าที่ดูแลระบบนํ้าดื่ม นายลีนวัฒน์ สมพันธ์ เจ้าหน้าที่งานโสตฯ นายรังสรรค์ แสนทิพย์ เจ้าหน้าที่ดูแลระบบนํ้าดื่ม นายวรการ ศิริประยงค์ เจ้าหน้าที่งานโสตฯ งานผลิตนํ้าดื่ม งานโสตฯ 30 นายประยุทธิ์ ปาพันธ์ นักการภารโรง นายทิวา สังขดิษฐ์ นักการภารโรง นายสมบัติ สูงกล�่า นักการภารโรง นายสุริยา สิทธิชุม นักการภารโรง ศุภกิจ วงศ์แก้ว นักการภารโรง นายอุเทน ทิพย์ปลูก นักการภารโรง นายสุบิน อินทะปัญโญ นักการภารโรง นายอาทร รื่นเริง นักการภารโรง นายเกษม แก้วตาบุตร พนักงานขับรถ นางสาวอนุสรา ตะรังษี พนักงานร้านกาแฟ นายทิวา สังขดิษฐ์ นายประยุทธิ์ ปาพันธ์ นายสมบัติ สูงกล�่า นายอาทร รื่นเริง นายสุบิน อินทะปัญโญ นายอุเทน ทิพย์ปลูก ศุภกิจ วงศ์แก้ว นักการภารโรง พนักงานขับรถ พนักงานรานกาแฟ
31 พนักงานทําความสะอาด นางดวงชาญ จอมค�า งานรักษาความสะอาด นางศิริพร ฉิมพลี งานรักษาความสะอาด นางบัววอน ใจนา งานรักษาความสะอาด นางสาวกันทิมา แก้วดิษฐ์ งานรักษาความสะอาด นางนิศานารถ สูงกล�่า งานรักษาความสะอาด นางวันเพ็ญ แก้วพุง งานรักษาความสะอาด นางศิริพร อินยาศรี งานรักษาความสะอาด นายหยัด แขไข ช่างไม้ชั้น 4 นายอ�านวย พุทธิมา ช่างไฟฟ้าชั้น 4 (พนักงานขับรถยนต์) นายอุทัย ใจเชื้อ ช่างไม้ชั้น 4 (ปฏิบัติการสอนสาระช่าง) 31 นายผัด ใจเชื้อ ช่างไม้ชั้น 4 นายศราวุธ สิทธิชุม ช่างคุรุภัณฑ์ชั้น 3 นายสมาน จอมค�า ช่างไม้ชั้น 4 ลูกจางประจํา นางสาวกมลรัตน์ แสงจันทร์ งานรักษาความสะอาด
32 นางสาวทาริกา ตะใจ งานรักษาความสะอาด นางสาวนิตยา จอมค�า งานรักษาความสะอาด 32 นางสาวชดาทิพย์ แย้มดนตรี งานรักษาความสะอาด ลูกจางโรงอาหาร นางเกษรา บุญหล่อ เจ้าหน้าที่โรงอาหาร นางวัณณีย์ ชมภู เจ้าหน้าที่โรงอาหาร นางบุญธรรม วงศ์ไชยยา เจ้าหน้าที่โรงอาหาร นางสาวณัฐปภัสร์ หล้าอินเชื้อ เจ้าหน้าที่โรงอาหาร นางสาวปภาวี กันทาวงศ์ เจ้าหน้าที่โรงอาหาร นางบัวพรรณ์ กาสาย งานรักษาความสะอาด นางสาววันทนีย์ ธรรมสาร งานรักษาความสะอาด นางสาววิลัยพร ยศปินตา งานรักษาความสะอาด นางธนาภา ผ่องแผ้ว งานรักษาความสะอาด นางเสาร์ค�า คุณศรี งานรักษาความสะอาด นางอัมพา หอมน้อย งานรักษาความสะอาด พนักงานทําความสะอาด
3333 ครูตางชาติ Clement Charles Quentin Bats (ภาษาอังกฤษ) Mr. Joshua Charles Berry Mr. Andrew Devitt Mr. Jack Jobling Samuel Publicover Hamilton (ภาษาอังกฤษ) Zhong Yizhu (ภาษาจีน) Henny Lisle Pym Zhou Zhou (ภาษาจีน) Isiah Blaze Adams (ภาษาอังกฤษ) Jiang Yuxin (ภาษาจีน)
34 นาย จักรรินทร์ ยศเสนา ประธานคณะกรรมการ สภานักเรียน น.ส.ษิยาภา จันทวงษา หัวหน้าวิชาการ น.ส.ชนินาถ บุญอาจ ผู้ช่วยงานกิจการนักเรียน น.ส.บุญฑริกา พลเสน ผู้ช่วยงานกิจการนักเรียน นาย ปรัตถกร เนตรใจ เหรัญญิก น.ส.รัตนาพร ณ ล�าปาง ผู้ช่วยเหรัญญิก น.ส.กชพรรณ หน้าขาว ผู้ช่วยเหรัญญิก น.ส.ธัญพิชชา อินเถิง หัวหน้างานคุณธรรม จริยธรรม น.ส.ศิริกมล ตะนะวงค์ ผู้ช่วยงานคุณธรรม จริยธรรม น.ส.ธิดารัตน์ หมูแก้ว ผู้ช่วยงานคุณธรรม จริยธรรม น.ส.ดาราวดี ทรายใจ หัวหน้างานสื่อสารและ ประชาสัมพันธ์ น.ส.ธารพระพร ทรัพย์รุ่งทวีผล ผู้ช่วยงานสื่อสารและ ประชาสัมพันธ์ น.ส.จันทกานติ์ วิบูลย์วรรณ ผู้ช่วยงานวิชาการ น.ส.แสงทิพย์ ขู่ค�าราม ผู้ช่วยงานวิชาการ นางสาวอุมาภรณ์ ศิริแก้วเลิศ หัวหน้ากิจกการนักเรียน น.ส.สุพิชชา วงค์วิชัย ผู้ช่วยรองประธาน ฝ่ายกิจการนักเรียน น.ส.วิรัชตรา ชมภูน�้าเงิน รองประธานนักเรียน ฝ่ายวิชาการ น.ส.อโนมา ตันกอง รองประธานนักเรียน ฝ่ายกิจการนักเรียน น.ส.เบญญาภา สุนินตา ผู้ช่วยรองประธานนักเรียน ฝ่ายวิชาการ น.ส.จันทกานติ์ วิบูลย์วรรณ คณะกรรมการนักเรียนป 2566 34
3535 คณะกรรมการนักเรียนป 2566 น.ส.ธนัชญา อินทิ ผู้ช่วยงานสื่อสารและ ประชาสัมพันธ์ น.ส.สุรภา ปันมาเชื้อ หัวหน้างานสารสนเทศและ เทคโนโลยี น.ส.ณัฏฐธิดา อินทชุ่ม ผู้ช่วยงานสารสนเทศและ เทคโนโลยี น.ส.อุมากร อินนั่งแท่น ผู้ช่วยงานสารสนเทศและ เทคโนโลยี น.ส.ธนัชพร อุทธาเครือ หัวหน้างานศิลป์ นายเศวตโชติ เป็กเตปิน หัวหน้างานพัสดุ นายกฤษ สุวรรณสุระ ผู้ช่วยงานพัสดุ น.ส.ประสพพร จ�าปา ผู้ช่วยงานพัสดุ น.ส.สุกุลยา สีใจเปีย เลขานุการ น.ส.กชกร โยธา ผู้ช่วยเลขานุการ นายอิสระ วงศ์จุมปู ผู้ช่วยงานสวัสดิการและ ปฏิคม นายภาสกร พุทธิพันธุ์ หัวหน้างานกิจการชุมชน สัมพันธ์ น.ส.ชมพูนุช ปัญญาเรือน ผู้ช่วยงานกิจการชุมชน สัมพันธ์ น.ส.วิมพ์วิภา จันทบุตร หัวหน้างานอาคารและ สถานที่ นายนฤเมศร์ พรมมา ผู้ช่วยงานอาคารและ สถานที่ น.ส.ชลธิชา คงใจมั่น ผู้ช่วยงานฝ่ายศิลป์ น.ส. ชนิดาภา ภัคเนียรนาท ผู้ช่วยงานฝ่ายศิลป์ น.ส.พัทธ์ธีรา สุขสวัสดิ์ หัวหน้างานประเมินผล น.ส.ธิวาภรณ์ ไทยเมืองวา ผู้ช่วยงานประเมินผล นายวาทยกร อินประสิทธ์ หัวหน้างานสวัสดิการและ ปฏิคม
36
37 วิสัยทัศน์ (Vision) “มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพ เป็นคนดีมีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21” พันธกิจ (Mission) 1. พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดีมีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 2. พัฒนาครูและบุคลากรในสถานศึกษาให้มีคุณภาพ 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาหลักธรรมาภิบาล 4. ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนร่วมในการจัดการศึกษา กลยุทธ์ (Strategy) 1. ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ตามค่านิยมหลัก 12 ประการ 2. พัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 3. พัฒนาครูและบุคลากรในสถานศึกษาให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 4. ส่งเสริมการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล 5. ขยายเครือข่ายความร่วมมือให้ทุกภาคส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เป้าประสงค์ (Goal) 1. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมตามค่านิยมหลัก 12 ประการ 2. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เพิ่มขึ้น 3. ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 4. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 5. สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพตามหลักธรรมาภิบาล 6. สถานศึกษามีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ 7. เครือข่ายความร่วมมือทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ หลักสูตรโรงเรียนล�ำปางกัลยาณี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง 2560)
38 หลักการ หลักสูตรโรงเรียนลำปางกัลยาณีตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการที่สำคัญ ดังนี้ 1. เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป ็ นเอกภาพของชาติ ็ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เปน็ เป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ทักษะเจตคติและคุณธรรมบนพื้นฐานของความเปนไทย ็ ควบคู่กับความเป็นสากล 2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมีคุณภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น 4. เปนหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ ็ เวลาและการจัดการเรียนรู้ 5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม ทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์ 7. เปนหลักสูตรการศึกษาที่สอดคล้องกับการพัฒนาระบบในโรงเรียน ็ และคุณภาพผู้เรียนสู่โรงเรียน มาตรฐานสากล จุดหมาย หลักสูตรโรงเรียนลำปางกัลยาณีตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง 2560) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดีมีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบ อาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาตามหลักสูตร ดังนี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้ความสามารถในการสื่อสารการคิดการแก้ปัญหาการใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีมีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย 4. มีความรักชาติมีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ็ ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์พัฒนาสิ่งแวดล้อม และ จิตสำนึกของการเป็นพลเมืองโลก มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคมโลกและ อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
39 สมรรถนะส�ำคัญของผู้เรียน หลักสูตรโรงเรียนลำปางกัลยาณีตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง 2560) มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและ ลดปัญหาความขัดแย้งต ่างๆ การเลือกรับหรือไม ่รับข้อมูลข ่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคมโลก 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์การคิดสังเคราะห์การคิด อย่างสร้างสรรค์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหาเปนความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ็ๆ ที่เผชิญ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผลคุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศเข้าใจความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆในสังคม แสวงหาความรู้ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สิ่งแวดล้อม และ สังคมโลก 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้ใน การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเองการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องการทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคลการจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆอย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรม ไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมโลก ในด้านการเรียนรู้การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนลำปางกัลยาณีตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง 2560) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อให้สามารถอยู่ร่วม กับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติศาสน์กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 9. เป็นเลิศทางวิชาการ 10. สื่อสารได้อย่างน้อย ๒ ภาษา 11. ล้ำหน้าทางความคิด 12. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 13. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
40 1. Adore the nation, religion, and HM the King. รักชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ 2. Be honest, dedicated, patient, and have a fine ideology for public. ซื่อสัตย์เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม 3. Be grateful to parents, guardians, and teachers. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ 4. Study hard, always. ใฝ่หาความรู้หมั่นศึกษาเล่าเรียน 5. Maintain good Thai customs and traditions. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม 6 . Be ethical, honest, well-intentioned, and generous. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน 7. Learn and understand the democracy headed under HM the King properly. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง 8. Be disciplined, obey the laws, and pay respect to elderly people. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักเคารพผู้ใหญ่ 9.Beconscious, thoughtful,andmakegood things byfollowing HM the King’sstatement. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ท�ำ รู้ปฏิบัติตามพระราชด�ำรัสพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 10. Live philosophically with the self-sufficiency economy. รู้จักด�ำรงตนอยู่ โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 11.Set themind and the bodystrong, overcome desires,and beafraid ofsinsasstated in religion. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออ�ำนาจฝ่ายต�่ำหรือกิเลส มีความละอาย เกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา 12. Be dedicated to the public’s and the nation’s benefits rather than one’s own benefits. ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและต่อชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง ค่านิยมหลัก ของคนไทย 12 ประการ Twelve Main Thai Values ******************************************** Source: Department of Cultural Promotion ที่มา: กรมส่งเสริมวัฒนธรรม แปลภาษาอังกฤษโดย ดร. สกุลรัตน์ กมุทมาศ
41 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
42 เกณฑ์การประเมินและการตัดสินผลการเรียน เกณฑ์การจบ 1) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 1. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิตและรายวิชาเพิ่มเติมตามที่ สถานศึกษากำหนด 2. ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 11 หน่วยกิต 3. ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา กำหนด 4. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด 5. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด 2) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ตามที่สถานศึกษากำหนด 2. ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต 3. ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา กำหนด 4. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด 5. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด 1) การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับผลการเรียน ความหมาย ช่วงคะแนน 4 ผลการเรียนดีเยี่ยม 80 – 100 3.5 ผลการเรียนดีมาก 75 – 79 3 ผลการเรียนดี 70 – 74 2.5 ผลการเรียนค่อนข้างดี 65 – 69 2 ผลการเรียนปานกลาง 60 – 64 1.5 ผลการเรียนพอใช้ 55 – 59 1 ผลการเรียนผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ 50 – 54 0 ผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ 0 – 49
43 หมายเหตุ “มส” หมายถึง ไม่มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินผลปลายภาคเรียน “ร” หมายถึง รอการตัดสิน หรือยังตัดสินไม่ได้ “ผ” หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงานตามเกณฑ์ ที่สถานศึกษากำหนด “มผ” หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงานไม่เป็น ไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด 2) การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ตัวชี้วัดความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 1. สามารถคัดสรรสื่อที่ต้องการอ่านเพื่อหาข้อมูลสารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์สามารถสร้างความเข้าใจและ ประยุกต์ใช้ความรู้จากการอ่าน 2. สามารถจับประเด็นสำคัญและประเด็นสนับสนุน โต้แย้ง 3. สามารถวิเคราะห์วิจารณ์ความสมเหตุสมผลความน่าเชื่อถือลำดับความและความเปนไปได้ของเรื่องที่อ่าน ็ 4. สามารถสรุปคุณค่า แนวคิด แง่คิดที่ได้จากการอ่าน 5. สามารถสรุป อภิปราย ขยายความ แสดงความคิดเห็น โต้แย้ง สนับสนุน โน้มน้าว โดยการเขียนสื่อสาร ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ผังความคิด เป็นต้น ตัวชี้วัดความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 1. สามารถอ่านเพื่อเพื่อศึกษา ค้นคว้า เพิ่มพูนความรู้ประสบการณ์และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 2. สามารถจับประเด็นสำคัญลำดับเหตุการณ์จากการอ่านสื่อที่มีความซับซ้อน 3. สามารถวิเคราะห์สิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารกับผู้อ่าน และสามารถวิพากษ์ให้ข้อเสนอแนะในแง่มุมต่างๆ 4. สามารถประเมินความน่าเชื่อถือ คุณค่า แนวคิดที่ได้จากสิ่งที่อ่านหลากหลาย 5. สามารถเขียนแสดงความคิดเห็น โต้แย้ง โดยมีข้อมูลอธิบาย สนับสนุนอย่างเพียงพอและสมเหตุสมผล เกณฑ์การประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ระดับ ความหมาย ดีเยี่ยม (3) มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนที่มีคุณภาพดีเลิศ อยู่เสมอ ดี (2) มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนที่มีคุณภาพ เป็นที่ ยอมรับ ผ่าน (1) มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนที่มีข้อบกพร่อง บางประการ ไม่ผ่าน (0) ไม่มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนหรือถ้ามีผลงาน ผลงานนั้นยังมีข้อบกพร่องที่ต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขหลายประการ
44 3) การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของโรงเรียนลำปางกัลยาณี8 คุณลักษณะ 3.1 รักชาติศาสน์กษัตริย์ ตัวชี้วัดที่ 1 เป็นพลเมืองดีของชาติ ตัวชี้วัดที่ 2 ธำรงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย ตัวชี้วัดที่ 3 ศรัทธา ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักศาสนา ตัวชี้วัดที่ 4 เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 3.2 ซื่อสัตย์สุจริต ตัวชี้วัดที่ 1 ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ ตัวชี้วัดที่ 2 ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ 3.3 มีวินัย ตัวชี้วัดที่ 1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคม 3.4 ใฝ่เรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนด้วยการเลือกใช้สื่อ อย่างเหมาะสม บันทึกความรู้วิเคราะห์สรุปเป็นองค์ความรู้และสามารถนำไปใช้ในชีวิต ประจำวันได้ 3.5 อยู่อย่างพอเพียง ตัวชี้วัดที่ 1 ดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม ตัวชี้วัดที่ 2 มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 3.6 มุ่งมั่นในการทำงาน ตัวชี้วัดที่ 1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน ตัวชี้วัดที่ 2 ทำงานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย 3.7 รักความเป็นไทย ตัวชี้วัดที่ 1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณีศิลปะ วัฒนธรรมไทย และมีความกตัญญูกตเวที ตัวชี้วัดที่ 2 เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ตัวชี้วัดที่ 3 อนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาไทย 3.8 มีจิตสาธารณะ ตัวชี้วัดที่ 1 ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจและพึงพอใจ โดยไม่หวังผลตอบแทน ตัวชี้วัดที่ 2 เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม
45 เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับ ความหมาย ดีเยี่ยม (3) 1. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จำนวน 5 – 8 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใด ได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดับดี ดี (2) 1. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จำนวน 1 - 4 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใด ได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดับดี 2. ได้ผลการประเมินระดับดีจำนวน 5 - 8 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใด ได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดับผ่าน 3. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จำนวน 4 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใด ได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดับผ่าน ผ่าน (1) 1. ได้ผลการประเมินระดับผ่าน จำนวน 5 - 8 คุณลักษณะ และไม่มีผลการประเมิน คุณลักษณะใดต่ำกว่าระดับผ่าน 2. ได้ผลการประเมินระดับดีจำนวน 4 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใด ได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดับผ่าน ไม่ผ่าน (0) มีผลการประเมินคุณลักษณะใดคุณลักษณะหนึ่งได้ระดับไม่ผ่าน 4) การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1. ผู้เรียนต้องมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนแต่ละกิจกรรม 2. ผู้เรียนต้องปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรียนผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำตามที่กำหนด 3. ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินระดับ“ผ ่าน” ในกิจกรรมสำคัญทั้ง 3 กิจกรรม คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน (กิจกรรมรักษาดินแดน ยุวกาชาดและชุมนุม),กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 4. ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินระดับ “ผ่าน” ทุกชั้นปี 5. เมื่อผู้เรียนไม่ปฏิบัติตามเกณฑ์ข้อ 1 - 3 จะได้ผลการประเมินระดับ “ไม่ผ่าน” ซึ่งจะต้องซ่อมเสริม ปรับปรุงแก้ไขให้ผ่านเกณฑ์ โดยให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น ๆ จึงจะสามารถจบหลักสูตรของ แต่ละระดับ 5) การอนุมัติผลการเรียนเมื่อสิ้นปีการศึกษา 5.1 การเลื่อนชั้น เมื่อสิ้นปีการศึกษา ผู้เรียนจะได้รับการเลื่อนชั้น เมื่อมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 5.1.1รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ได้รับการตัดสินผลการเรียนผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด 5.1.2ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมการพัฒนาผู้เรียน 5.1.3 ระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นได้ไม่ต่ำกว่า 1.00 ทั้งนี้รายวิชาใดที่ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมิน สถานศึกษาสามารถซ่อมเสริมผู้เรียนให้ได้รับการแก้ไขในภาคเรียนถัดไป ทั้งนี้สำหรับภาคเรียนที่ 2 ต้องดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น
46 5.2 การเรียนซ�้ำชั้น ผู้เรียนที่ไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนใน ระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซำ้ชั้นได้ทั้งนี้ให้คำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ ความสามารถของผู้เรียนเป็นสำคัญ การเรียนซ้ำชั้นมี2 ลักษณะ คือ 5.2.1 ผู้เรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นต่ำกว่า 1.00 และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหา ต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น 5.2.2 ผู้เรียนมีผลการเรียน 0, ร, มส เกินครึ่งหนึ่งของรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนในปีการศึกษานั้น ทั้งนี้หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือทั้ง 2 ลักษณะ ให้สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณา หากเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรก็ใช้ซำ้ชั้น โดยยกเลิกผลการเรียนเดิมและให้ใช้ผลการเรียนใหม่แทน หากพิจารณาแล้ว ไม่ต้องเรียนซ้ำชั้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาในการแก้ไขผลการเรียน 6) เอกสารหลักฐานการศึกษา 6.1 เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด - ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1) - ประกาศนียบัตร (ปพ.2) - แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา (ปพ.3) 6.2 เอกสารหลักฐานที่สถานศึกษากำหนด - แบบบันทึกผลการเรียนประจำวิชา - แบบรายงานประจำตัวนักเรียน - ใบรับรองผลการเรียน - ระเบียนสะสม
47
4848
49 เพื่อให้การปฏิบัติตนของนักเรียนโรงเรียนลำปางกัลยาณีมีระเบียบ มีวินัยและพัฒนาบุคลิกภาพ ของนักเรียนให้สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม โรงเรียนจึง วางระเบียบปฏิบัติทั่วไปดังนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า“ระเบียบโรงเรียนลำปางกัลยาณีว่าด้วยกิจกรรมของนักเรียน พ.ศ.2566” ข้อ 2 นักเรียนจะต้องปฏิบัติตนดังนี้ 2.1 ให้ลงเวลาเรียนด้วยเครื่องลงเวลา ทุกวันที่มาเรียนในวันปกติ 2.2 เชื่อฟังและปฏิบัติตามคำตักเตือนของครูทุกคน 2.3 นักเรียนแต่งเครื่องแบบนักเรียนทุกครั้งที่มาเรียน หรือมาติดต่อราชการที่โรงเรียน 2.4 นักเรียนมาโรงเรียนให้ทันเข้าแถวเคารพธงชาติ(เวลา 07.45 น.) 2.5 เมื่อมาถึงโรงเรียนแล้วจะออกนอกบริเวณโรงเรียนต้องมีผู้ปกครองมารับหรือมีเหตุผล อันควรและได้รับอนุญาตก่อนทุกครั้ง 2.6 รักษาความสามัคคีในหมู่คณะรุ่นน้องนับถือรุ่นพี่รุ่นพี่ประพฤติปฏิบัติตนให้เปนตัวอย่าง ็ ที่ดีแก่รุ่นน้อง 2.7 ควรไปและกลับระหว่างบ้านกับโรงเรียน ไม่แวะไปตามสถานที่ต่างๆ ที่ไม่เหมาะสม กับสภาพของนักเรียน 2.8 นักเรียนต้องส่งใบลาทุกครั้ง เมื่อมีความจำเปนต้องหยุดเรียน ็ (ผู้ปกครองต้องรับรองการลา) 2.9 ช่วยกันประหยัดการใช้น้ำ ไฟฟ้า และวัสดุสิ้นเปลืองของทางโรงเรียน 2.10 ช่วยกันรักษาทรัพย์สมบัติของโรงเรียนให้อยู่ในสภาพดี 2.11 ทำความเคารพครูทุกคนทั้งในและนอกโรงเรียน 2.12 รู้จักกล่าวคำว่าสวัสดีขอบคุณและขอโทษ ในโอกาสอันควร 2.13 รักษาระเบียบวินัยในขณะเวลาเรียนและขณะมีกิจกรรม 2.14 ห้ามใส่เครื่องประดับและไม่นำของมีค่ามาโรงเรียน 2.15 ไม่ไว้เล็บ ทำเล็บ แต่งหน้า หรือตัดผมตามแฟชั่นต่างๆ 2.16 ไม่นำสินค้าและบริการทุกประเภทมาจำหน่ายในโรงเรียน 2.17 ห้ามนำหนังสือ เอกสาร แผ่นปลิว สิ่งของ มาแจก หรือติดในโรงเรียน 2.18 ห้ามนำบุคคลภายนอกเข้ามาในบริเวณโรงเรียน เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากทางโรงเรียน 2.19 ห้ามเข้าไปในบริเวณบ้านพักอาจารย์และบ้านพักคนงานก่อนได้รับอนุญาต 2.20 ห้ามนำอาหารหรือเครื่องดื่มเข้าไปรับประทานในห้องเรียนหรือบนอาคารเรียน ระเบียบข้อบังคับโรงเรียนล�ำปางกัลยาณี ว่าด้วยการปกครองนักเรียนทั่วไป พ.ศ. 2566
50 2.21 มีกิริยา วาจา ที่สุภาพ อ่อนโยน ต่อบุคคลทั่วไป 2.22 ไม่กล่าวคำหยาบ หรือพูดส่อเสียด หรือก้าวร้าว 2.23 ไม่ประพฤติตนให้เป็นที่เสื่อมเสียชื่อเสียงของโรงเรียน 2.24 ไม่นำรถยนต์มาจอดในโรงเรียนในวันเวลาราชการ 2.25 เมื่อมาติดต่องานกับทางโรงเรียนในวัน เวลาราชการ หรือวันหยุดราชการ ต้องแต่ง เครื่องแบบนักเรียนให้เรียบร้อยและต้องแสดงบัตรประจำตัวนักเรียนทุกครั้ง 2.26 ในวันหยุดราชการนักเรียนที่เข้ามาในโรงเรียนจะต้องประพฤติตนให้เรียบร้อยเหมาะสมกับ สภาพนักเรียนและต้องช่วยกันดูแลความสะอาดเรียบร้อยของโรงเรียน 2.27 ห้ามนำโทรศัพท์มือถือหรือเครื่องมือสื่อสารต ่างๆ มาใช้ในห้องเรียนก ่อนได้รับ อนุญาตจากครูผู้สอน หากฝ ่าฝืนจะถูกยึด หากชำรุดหรือสูญหายไม ่รับผิดชอบ และไม่รับแจ้งถ้าสูญหาย 2.28 ไม ่อนุญาตให้ใช้กระแสไฟฟ้าในโรงเรียนที่ไม ่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน เช่น โทรศัพท์มือถือ, ที่หนีบผม เป็นต้น 2.29 ห้ามใช้โทรศัพท์และหูฟังขณะข้ามถนน ให้ใช้ระเบียบนี้ตั้งแต่วันที่1 พฤษภาคม 2566 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2566 (นายวิโรจ หลักมั่น) ผู้อำนวยการโรงเรียนลำปางกัลยาณี