รายงานการวิจัย
การพฒั นางานประจาสู่งานวจิ ยั (Routine to Research : R to R)
เรื่อง การพัฒนากระบวนงานดา้ นการให้บริการของกองทนุ ผู้สงู อายุ ในการสนับสนุน
งบประมาณใหเ้ ครือข่ายผู้สูงอายุ ในมติ ิด้านการดแู ลและคุ้มครองพทิ กั ษส์ ิทธผิ ู้สูงอายุในชมุ ชน
ก
คำนำ
สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 8 จังหวัดอุตรดิตถ์ ได้ดำเนินกำรจัดทำ
โครงกำรพัฒนำงำนประจำสู่งำนวิจัย (Routine to Research : R to R) ในเร่ือง “กำรพัฒนำ
กระบวนงำนด้ำนกำรให้บริกำรของกองทุนผู้สูงอำยุ ในกำรสนับสนุนงบประมำณให้เครือข่ำยผู้สูงอำยุ
ในมิติด้ำนกำรดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอำยุในชุมชนตำบลท่ำเสำ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์”
ภำยใต้โครงกำรศูนย์บริกำรวิชำกำรพัฒนำสังคมและจัดสวัสดิกำรสังคมในระดับพ้ืนที่ ประจำปี
งบประมำณ พ.ศ. 2563 ซึ่งมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษำสภำพปัญหำท่ีเกิดจำกกำรดำเนินงำนของ
กองทุนผูส้ งู อำยุ ในกำรสนับสนุนงบประมำณให้แก่เครือข่ำยผู้สูงอำยุ ในมิติด้ำนกำรดูแลและคุ้มครอง
สิทธิผู้สูงอำยุในชุมชน 2) เพื่อพัฒนำหรือปรับปรุงแนวทำงกำรให้บริกำรของกองทุนผู้สูงอำยุ ในกำร
สนับสนนุ งบประมำณใหแ้ กเ่ ครอื ข่ำยผสู้ ูงอำยุ ในมติ ดิ ้ำนกำรดูแลและคุ้มครองสทิ ธิผ้สู ูงอำยุในชุมชน
และ 3) เพื่อสนับสนุนเชิงวิชำกำรกำรพัฒนำงำนประจำของเครือข่ำย กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและ
ควำมมัน่ คงของมนษุ ย์
กำรพัฒนำงำนประจำสู่งำนวิจัย ในครั้งน้ีได้รับควำมร่วมมือและควำมอนุเครำะห์
จำกหน่วยงำนมหำวิทยำลัยรำชภัฎอุตรดิตถ์ สำนักพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์จังหวัด
อุตรดิตถ์ เทศบำลตำบลท่ำเสำ โรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพตำบลม่อนดินแดง ศูนย์พัฒนำคุณภำพ
ชีวิตและส่งเสรมิ อำชพี ผสู้ ูงอำยุตำบลท่ำเสำ โรงเรียนผสู้ งู อำยุ หน่วยงำนภำคีเครือข่ำยทำงสังคม โดย
มีส่วนร่วมในกำรให้ข้อมูล ตอบแบบสำรวจ และถอดบทเรียน เพื่อเป็นกำรแก้ปัญหำกำรดำเนินงำน
และพัฒนำยกระดับควำมสำมำรถของเครือข่ำยผู้สูงอำยุและหน่วยงำนภำคีเครือข่ำยทำงสังคมของ
กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์ ร่วมกับภำควิชำกำร ซ่ึงทำงคณะผู้วิจัยต้อง
ขอขอบพระคุณทุกหน่วยงำนและทกุ ทำ่ น มำ ณ โอกำสน้ี
คณะผู้วิจัยคำดว่ำผลกำรศึกษำคร้ังน้ีจะเป็นประโยชน์แก่หน่วยงำนและผู้ท่ีสนใจ
เกย่ี วกับกำรพัฒนำกระบวนงำนดำ้ นกำรใหบ้ ริกำรของกองทนุ ผู้สงู อำยุ ในกำรสนับสนุนงบประมำณให้
เครอื ข่ำยผสู้ ูงอำยุ ในมติ ดิ ้ำนกำรดูแลและคุ้มครองสทิ ธิผสู้ ูงอำยุในชุมชน ในกำรนำไปใช้ประยุกต์ใช้ให้
เกดิ ประโยชน์หำกงำนมขี ้อผดิ พลำดประกำรใด ทำงคณะผวู้ ิจยั ต้องขออภัยมำ ณ ท่นี ีด้ ว้ ย
คณะผ้วู จิ ัย
กันยำยน 2563
ข
กติ ติกรรมประกำศ
กำรจัดทำโครงกำรพัฒนำงำนประจำสู่งำนวิจัย ในเรื่อง “กำรพัฒนำกระบวนงำนด้ำน
กำรให้บริกำรของกองทุนผู้สูงอำยุ ในกำรสนับสนุนงบประมำณให้เครือข่ำยผู้สูงอำยุ ในมิติด้ำนกำร
ดแู ลและคุม้ ครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอำยุในชุมชน” สำเร็จบรรลุตำมวัตถุประสงค์ท่ีกำหนดไว้ทุกประกำร
ด้วยควำมร่วมมอื เป็นอย่ำงดจี ำกเครอื ข่ำยผ้สู งู อำยตุ ำบลท่ำเสำ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ เทศบำล
ตำบลท่ำเสำ โรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพตำบลบ้ำนม่อนดินแดง ตำบลท่ำเสำ อำเภอเมือง จังหวัด
อุตรดิตถ์ สำนักงำนพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์จังหวัดอุตรดิตถ์ เครือข่ำยนักวิชำกำรจำก
มหำวิทยำลัยรำชภัฏอุตรดิตถ์ โดยเฉพำะอย่ำงย่ิง ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.เสรี แสงอุทัย
ผู้ช่วยอธิกำรบดี มหำวิทยำลัยรำชภัฏอุตรดิตถ์ ท่ีให้ควำมอนุเครำะห์เป็นที่ปรึกษำงำนวิจัยในส่วน
เครือข่ำยนักวิชำกำรในระดับพื้นท่ี ท่ีร่วมขับเคล่ือนตัวแบบกำรดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอำยุ
ในชุมชน และกำรเช่ือมร้อย ขยำยผล ผลงำนวิจัยร่วมกับเครือข่ำยผู้สูงอำยุ และเครือข่ำยแวดล้อม
ผู้สูงอำยุในพ้ืนท่ีตำบลท่ำเสำ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ และท่ีขำดไม่ได้คณะผู้วิจัยต้อง
ขอขอบพระคุณ ร้อยตรีเคลือ มีสุข ประธำนศูนย์พัฒนำคุณภำพชีวิตและส่งเสริมอำชีพผู้สูงอำยุตำบล
ท่ำเสำ อำเภอเมอื ง จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ เครอื ข่ำยผ้สู ูงอำยุ และนำงทอรุ้ง ต๊บลูน หัวหน้ำฝ่ำยส่งเสริมและ
สวัสดิกำรสังคม เทศบำลตำบลท่ำเสำ ที่คอยอนุเครำะห์ ประสำนงำนและอำนวยควำมสะดวกให้กับ
คณะผวู้ ิจัยจำกสำนกั งำนส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ ำกำร 8 จนงำนประสบผลสำเร็จลุลว่ งด้วยดี
สุดท้ำยน้ีคณะผู้วิจัยต้องขอขอบพระคุณนำงสำวบงกช สัจจำนิตย์ ผู้อำนวยกำร
สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 8 ท่ีได้ให้คำแนะนำท่ีเป็นประโยชน์ในกำรนำผลงำน
วิจัย/วิชำกำรไปสร้ำงคุณค่ำให้กับหน่วยงำน และผู้ใช้บริกำร รวมถึงต้องขอขอบพระคุณนำงสำว
สุรีรัตน์ โลหะขจรพันธ์ พัฒนำสงั คมและควำมมั่นคงของมนุษย์จังหวัดอุตรดิตถ์ ท่ีให้ควำมอนุเครำะห์
เจ้ำหน้ำท่ีผู้ชำนำญกำรด้ำนกำรดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธ์ิผู้สูงอำยุในชุมชน ร่วมขับเคล่ือนงำนวิจัย
ให้ลุล่วงตำมวัตถุประสงค์ และสำมำรถเชื่อมร้อยกับเครือข่ำยผู้สูงอำยุในระดับพื้นท่ีได้ จนสำมำรถ
ขับเคลื่อนระบบกำรดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ์ผู้สูงอำยุในชุมชน ร่วมกับเครือข่ำยผู้สูงอำยุ และ
เครอื ข่ำยแวดลอ้ มผ้สู ูงอำยตุ ำบลทำ่ เสำ อำเภอเมือง จงั หวดั อตุ รดิตถอ์ ย่ำงเป็นรปู ธรรม
ขอขอบพระคุณเป็นอย่ำงสงู
คณะผวู้ จิ ัย
สำนกั งำนส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชำกำร 8 (จังหวดั อุตรดติ ถ์)
กนั ยำยน 2563
ค
บทคัดย่อ
กำรจัดทำโครงกำรพัฒนำงำนประจำสู่งำนวิจัย ในเร่ือง “กำรพัฒนำกระบวนงำนด้ำน
กำรให้บริกำรของกองทุนผู้สูงอำยุ ในกำรสนับสนุนงบประมำณให้เครือข่ำยผู้สูงอำยุ ในมิติด้ำนกำร
ดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอำยุในชุมชน” มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษำสภำพปัญหำท่ีเกิดจำกกำร
ดำเนินงำนของกองทุนผู้สูงอำยุ ในกำรสนับสนุนงบประมำณให้แก่เครือข่ำยผู้สูงอำยุ ในมิติด้ำนกำร
ดแู ลและคุ้มครองสิทธผิ ูส้ ูงอำยุในชุมชน 2) เพื่อพัฒนำหรือปรับปรุงแนวทำงกำรให้บริกำรของกองทุน
ผู้สูงอำยุ ในกำรสนับสนุนงบประมำณให้แก่เครือข่ำยผู้สูงอำยุ ในมิติด้ำนกำรดูแลและคุ้มครองสิทธิ
ผู้สูงอำยุในชุมชน และเพื่อสนับสนุนเชิงวิชำกำรกำรพัฒนำงำนประจำของเครือข่ำย กระทรวงกำร
พฒั นำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์
โดยเป็นกำรวจิ ยั เพือ่ ขับเคลื่อนกำรดำเนนิ งำนกำรพัฒนำงำนประจำสู่งำนวิจัย (Routine
to Research) ใช้วิธีกำรวิจัยแบบผสมผสำน (Mix Methodology) มีกำรเก็บรวบรวบข้อมูลโดยใช้
กำรจัดทำเวทีสนทนำกลุ่มย่อย (Focus Group) กับผู้แทนสำนักงำนพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของ
มนุษย์จังหวัดอุตรดิตถ์ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ผู้แทนหน่วยงำนในระดับพ้ืนที่ เครือข่ำย
ผู้สูงอำยุ และนักวิชำกำรในพื้นท่ี รวมถึงกำรจัดทำแบบสอบถำมกลุ่มตัวอย่ำง จำนวน 40 กลุ่ม
ตัวอย่ำง ในพ้ืนที่ตำบลท่ำเสำ อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นกำรศึกษำสภำพปัญหำที่
เกิดขึ้นจำกลักษณะงำนประจำที่กำหนดประเด็นไว้ และกำรหำแนวทำงกำรพัฒนำงำนหรือปรับปรุง
กระบวนงำนใหด้ ยี ่ิงข้นึ
ผลกำรศกึ ษำ พบว่ำ
(1) สภำพปัญหำที่เกิดจำกกำรดำเนินงำนของกองทุนผู้สูงอำยุ ในกำรสนับสนุน
งบประมำณให้แก่เครือข่ำยผู้สูงอำยุ ในมิติด้ำนกำรดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอำยุในชุมชน พบว่ำ
ข้ันตอนกำรให้บริกำรของกองทุนผู้สูงอำยุไม่เป็นปัญหำในกำรให้บริกำร ปัญหำส่วนใหญ่เกิดข้ึนจำก
เครือข่ำยผู้สูงอำยุไม่ได้มีกำรนำเสนอโครงกำรท่ีเกี่ยวข้องในมิติกำรดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ
ผู้สูงอำยุสู่กองทุนผู้สูงอำยุ รวมถึงกำรท่ีเครือข่ำยผู้สูงอำยุและเครือข่ำยแวดล้อมผู้สูงอำยุ ยังมีควำม
เข้ำใจในกำรเขียนโครงกำรในมิติด้ำนกำรดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอำยุในชุมชน และกำรวิเครำะห์
ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องด้ำนด้ำนกำรดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอำยุในชุมชน เพ่ือนำสู่กำรวำงแผนกำรจัด
โครงกำร หรือกิจกรรม โดยเฉพำะกำรกำหนดแนวทำงผู้สูงอำยุได้รับกำรดูแลและคุ้มครองสิทธิใน
4 มิติ 1) ด้ำนสุขภำพ 2) ด้ำนเศรษฐกิจ 3) ด้ำนสังคม และ 4) ด้ำนสภำพแวดล้อมและบริกำร
สำธำรณะ
(2) กำรทบทวนแนวทำงกำรดำเนินงำนของเครือข่ำยผู้สูงอำยุตำบลท่ำเสำ อำเภอเมือง
อุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ในมิติด้ำนกำรดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอำยุในชุมชน พบว่ำ เครือข่ำย
ผู้สูงอำยุตำบลท่ำเสำ อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ มีต้นทุนกำรดำเนินงำนด้ำนกำรพัฒนำ
คุณภำพชีวิตผู้สูงอำยุ ผ่ำนทำงเครือข่ำยผู้สูงอำยุในชุมชน โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งเครือข่ำยศูนย์พัฒนำ
คุณภำพชีวิตและส่งเสริมอำชีพผู้สูงอำยุ โรงเรียนผู้สูงอำยุ ที่ประสำนควำมร่วมมือกับเครือข่ำย
โรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพตำบล ท่ีดำเนินกำรผ่ำนกลไกอำสำสมัครสำธำรณสุขมูลฐำน (อสม.) และ
เครือข่ำยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) ท่ีดำเนินกำรผ่ำนกลไกนักพัฒนำชุมชน และสมำชิก
ง
เทศบำล (สท.) ร่วมกับเครือข่ำยแกนนำท้องที่ ท้องถ่ิน ประกอบกับมีกำรอำศัยกำรจัดกิจกรรมด้ำน
กำรพัฒนำคุณภำพชีวิตผู้สูงอำยุ ผ่ำนกองทุนหลักประกันสุขภำพระดับท้องถ่ิน และสร้ำงกำรเรียนรู้
เป็นเครือข่ำยใยแมงมุมร่วมกับเครือข่ำยในระดับอำเภอ จังหวัด และกลุ่มจังหวัด ผ่ำนผู้นำท่ีเป็นจิต
อำสำ และมีประสบกำรณ์ในกำรบริหำรจัดกำรจำกกำรเป็นอดีตข้ำรำชกำรจำกหน่วยงำนภำครัฐ เข้ำ
มำรว่ มดำเนนิ กำรขบั เคลื่อน
(3) กำรพฒั นำหรือปรับปรุงแนวทำงกำรให้บริกำรของกองทุนผู้สูงอำยุ ในกำรสนับสนุน
งบประมำณให้แก่เครือข่ำยผู้สูงอำยุ ในมิติด้ำนกำรดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอำยุในชุมชน เป็นกำร
วเิ ครำะห์สภำพปญั หำทเ่ี กดิ จำกกำรดำเนนิ งำนของกองทนุ ผู้สูงอำยุ ในกำรสนับสนุนงบประมำณให้แก่
เครอื ข่ำยผสู้ ูงอำยุ โดยมีกำรกำหนดกำรพัฒนำหรอื ปรับปรงุ แนวทำงกำรให้บรกิ ำรของกองทุนผู้สูงอำยุ
ในกำรสนับสนนุ งบประมำณให้แกเ่ ครือขำ่ ยผู้สงู อำยุ ดังนี้
ก. กำรจดั ทำกรอบแนวทำงกำรดำเนนิ งำนของเครือข่ำยผู้สูงอำยุ ในมิติด้ำน
กำรดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอำยุในชุมชน โดยกำรเช่ือมหรือสังเครำะห์งำนวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือใช้
เป็นแนวทำงในกำรจัดทำโครงกำรหรือกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับกำรดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูง อำยุใน
ชุมชน
ข. กำรสรุปประเด็นที่ได้เก็บรวบรวมข้อมูลมำเป็นแนวทำงในกำรจัดทำ
โครงกำรในรูปแบบ Info Graphic โดยแบ่งเปน็ 3 กลุ่ม ประกอบไปด้วย (1) กลุ่มองค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถิน่ (2) กลมุ่ ครอบครัวผ้สู งู อำยุ
ค. กำรจัดทำแบบสำรวจในมิติด้ำนกำรดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอำยุใน
ชมุ ชน โดยใหเ้ ครือขำ่ ยผู้สงู อำยแุ ละเครือขำ่ ยแวดลอ้ มผสู้ ูงอำยุเป็นผู้ตอบแบบสำรวจ และนำข้อมูลมำ
วเิ ครำะหป์ ระมวลผล เพ่ือนำไปสู่กำรกำหนดประเด็นในกำรจดั ทำโครงกำร
ง. กำรฝึกอบรมพัฒนำศักยภำพเครือข่ำยผู้สูงอำยุและเครือข่ำยแวดล้อม
ผูส้ งู อำยุ รวมถึงคณะทำงำนที่กำหนดข้ึน เพ่ือสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจในกำรวิเครำะห์สภำพปัญหำใน
มิติด้ำนกำรดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอำยุในชุมชน กำรนำข้อมูลท่ีประมวลผลจำกแบบสำรวจมำ
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นกำรพัฒนำโครงกำรสูแ่ หล่งงบประมำณ
ทั้งนี้ กำรดำเนินงำนพัฒนำงำนประจำสู่งำนวิจัย ในเร่ือง “กำรพัฒนำกระบวนงำนด้ำน
กำรให้บริกำรของกองทุนผู้สูงอำยุ ในกำรสนับสนุนงบประมำณให้เครือข่ำยผู้สูงอำยุ ในมิติด้ำนกำร
ดูแลและคมุ้ ครองสิทธิผู้สูงอำยุในชุมชน” เป็นกำรเช่ือมโยงกำรใช้หลักกำรวิจัยเข้ำสู่กำรวิเครำะห์กำร
ปฏิบัติงำนจริงในพื้นที่ ผ่ำนกลไกเครือข่ำยผู้สูงอำยุตำบลท่ำเสำ และเทศบำลตำบลท่ำเสำ ในฐำนะ
ผู้ใช้บริกำร เช่ือมโยงกับผู้ให้บริกำรในมิติกำรสนับสนุนงบประมำณขับเคลื่อนผ่ำนกองทุนผู้สูงอำยุ ที่
สำนักงำนพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นผู้ให้บริกำร ดังน้ัน กำรพัฒนำ
กระบวนงำนด้ำนกำรให้บริกำรของกองทุนผู้สูงอำยุ ในกำรสนับสนุนงบประมำณในมิติดังกล่ำว จึง
มุ่งเน้นกระบวนกำรสรำ้ งควำมรู้ ควำมเขำ้ ใจให้กบั เครอื ขำ่ ยผสู้ ูงอำยุทั้งในระดับจังหวัดและระดับพื้นที่
เครือข่ำยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ำยวิชำกำร บนพื้นฐำนกำรค้นหำ วิเครำะห์สถำนกำรณ์
ปญั หำของผ้สู ูงอำยใุ นระดับพื้นท่ี ผ่ำนกลไกของชุมชน และท่ีสำคัญคือกำรสร้ำงเครือข่ำยคณะทำงำน
ท่ีจะเปน็ ผพู้ ฒั นำโครงกำร/กจิ กรรมที่เกี่ยวข้องอย่ำงมีส่วนร่วมกับทุกภำคส่วนในชุมชน จึงจะสำมำรถ
ขับเคล่ือนระบบกำรดแู ลและคุม้ ครองสทิ ธิผสู้ ูงอำยุในชมุ ชน ได้อย่ำงเปน็ รปู ธรรม
สารบญั จ
คานา หน้า
กิตติกรรมประกาศ ก
บทคดั ย่อ ข
สารบญั ค
บทท่ี 1 บทนา จ
1.1 ความสาคัญและท่มี าของการวจิ ยั 1
1.2 วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ัย 1
1.3 โจทย์การศึกษาวจิ ยั 2
1.4 นยิ ามศัพท์ 2
1.5 ประโยชน์ท่ีไดร้ ับ 2
บทท่ี 2 การทบทวนวรรณกรรม และกรอบแนวคดิ การวิจยั
2.1 แนวคิด ทฤษฎเี ก่ียวกบั ผู้สงู อายุ 3
2.2 การดแู ลและคุ้มครองสิทธผิ ู้สงู อายใุ นชุมชน 4
2.3 การใหบ้ ริการของกองทุนผสู้ งู อายุ 7
2.4 งานวจิ ัยท่ีเกย่ี วข้อง 8
2.5 กรอบแนวคิดการวิจยั 9
บทที่ 3 ระเบยี บวธิ วี ิจัย
3.1 วิธีการศึกษา 11
3.2 การวิจัยเอกสาร 11
3.3 การวจิ ัยแบบผสมผสาน 11
3.4 การนาเสนอข้อมลู 13
3.5 ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการศึกษา 13
บทที่ 4 ผลการศึกษา
4.1 สภาพปัญหาทเ่ี กดิ จากการดาเนนิ งานของกองทุนผ้สู ูงอายุ 14
4.2 การทบทวนแนวทางการดาเนนิ งานของเครือขา่ ยผสู้ ูงอายุ 24
4.3 การพัฒนาหรอื ปรบั ปรุงแนวทางการใหบ้ ริการของกองทุนผ้สู ูงอายุ 30
4.4 ผลการสอบถามความต้องการในการพัฒนาโครงการ 40
บทท่ี 5 สรปุ ผลการศกึ ษา อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ
5.1 สรปุ ผลการศึกษา และอภปิ รายผล 51
5.2 ข้อเสนอแนะ 54
บรรณานกุ รม 56
ภาคผนวก
58
แบบสอบถาม 66
คณะผู้จัดทา
ฉ
สารบัญตาราง
หนา้
เครือ่ งมอื ที่ 1 ตารางการจดั เก็บขอ้ มลู กระบวนการท่เี ครือขา่ ยดาเนินการขอรบั 18
การสนบั สนนุ งบประมาณของเครือข่ายผ้สู ูงอายุในปจั จุบนั 20
เครอ่ื งมอื ที่ 2 ตารางการจดั เก็บขอ้ มูลกระบวนการที่ผ้ใู ห้บริการกองทนุ ผูส้ งู อายุ 22
ดาเนนิ การอยจู่ ริงในการสนับสนุนโครงการ 39
เคร่ืองมอื ท่ี 3 ตารางการจดั เก็บขอ้ มลู ปญั หาดา้ นการสรา้ งการรบั ร้/ู เขา้ ใจในเรื่อง
ของการดแู ลและค้มุ ครอง พทิ ักษส์ ิทธิผู้สงู อายุในระดบั พื้นที่
ตารางท่ี 1 สรุปการพัฒนาหรือปรบั ปรุงแนวทางการให้บริการของกองทนุ ผู้สงู อายุ
สารบัญภาพ
ภาพที่ 1 แสดงการสรุปงานวิจยั เร่ือง “การป้องกันความรนุ แรงและการละเมิดสิทธิ 30
ตอ่ ผูส้ ูงอายุไทย”ในรูปแบบ Info Graphic 31
ภาพที่ 2 แสดงการสรุปงานวจิ ัยเรอ่ื ง “การพฒั นาผูส้ งู อายใุ นภาวะพฤฒพลงั 32
ให้เกดิ การยังประโยชนเ์ พ่ือสังคม” ในรูปแบบ Info Graphic 33
ภาพที่ 3 แสดงการสรปุ งานวจิ ัยเรอ่ื ง “การจัดสวสั ดิการสาหรบั ผ้สู งู อายทุ ่ีมีภาระ 34
เลย้ี งดบู ุตรหลาน” ในรูปแบบ Info Graphic 35
ภาพที่ 4 info Graphic ระบบดแู ลและคุ้มครองพิทกั ษ์ผสู้ งู อายุในระดบั พนื้ ที่ 37
และแนวทางการจัดกจิ กรรมสาหรบั กลุ่ม “ตดิ บา้ น”
ภาพที่ 5 info Graphic ระบบดแู ลและคุ้มครองพิทกั ษ์ผสู้ ูงอายุในระดับพืน้ ที่ 38
และแนวทางการจดั กิจกรรมสาหรับกลุ่ม “ตดิ เตียง”
ภาพท่ี 6 info Graphic ระบบดแู ลและคุ้มครองพิทกั ษ์ผูส้ งู อายใุ นระดบั พนื้ ท่ี
และแนวทางการจัดกจิ กรรมสาหรับกลุ่ม “ติดสังคม”
ภาพท่ี 7 แสดงแบบสอบถามความต้องการในการพัฒนาโครงการดา้ นการดแู ลและ
คุม้ ครองสิทธ์ผิ สู้ งู อายุของเครือข่ายผสู้ ูงอายุ ตาบลท่าเสา อาเภอเมือง จังหวดั อุตรดติ ถ์
ในระบบ Google Form
ภาพที่ 8 แสดงตัวอย่างคาถามแบบสอบถามความตอ้ งการในการพัฒนาโครงการดา้ นการดแู ล
และคุ้มครองสิทธ์ิผู้สูงอายุของเครอื ข่ายผสู้ ูงอายุ ตาบลท่าเสา อาเภอเมือง จังหวดั อตุ รดิตถ์
ในระบบ Google Form
ช
สารบัญแผนภูมิ หนา้
แผนภูมทิ ี่ 1 แสดงการกระทาความรุนแรงต่อผู้สงู อายุ 40
แผนภูมทิ ่ี 2 แสดงใครเป็นผู้กระทาความรนุ แรงต่อผู้สูงอายุมากที่สุด 41
แผนภมู ิท่ี 3 สาเหตุ หรือปจั จัยใดทีท่ าใหผ้ ู้สูงอายถุ ูกกระทาความรนุ แรงมากท่สี ุด 41
แผนภมู ิท่ี 4 สาเหตุท่ที าใหผ้ ูส้ ูงอายถุ ูกทอดทิง้ 42
แผนภมู ิที่ 5 สาเหตทุ ่ผี สู้ ูงอายุถูกทาร้ายร่างกาย 42
แผนภูมทิ ี่ 6 สาเหตุที่ผ้สู ูงอายุถูกหลอกลวงให้เสยี ทรัพยส์ นิ 43
แผนภูมิที่ 7 ปัญหาที่พบในครอบครัวของผสู้ ูงอายุในพื้นทต่ี าบล 43
แผนภมู ิท่ี 8 ปญั หาความรุนแรงตอ่ ผูส้ งู อายุท่ีท่านพบเห็นในพน้ื ที่ 44
แผนภูมทิ ่ี 9 แนวทางการจัดกิจกรรมทีเ่ หมาะสมสาหรบั ผสู้ ูงอายกุ ล่มุ ติดบ้าน 44
แผนภูมิที่ 10 แนวทางการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมสาหรับครอบครัวทมี่ ผี สู้ งู อายุทีต่ ดิ บา้ น 45
แผนภูมิท่ี 11 แนวทางการจดั กิจกรรมกล่มุ ติดบา้ นทเี่ หมาะสมสาหรบั หนว่ ยงาน 45
แผนภูมิที่ 12 แนวทางการจดั กิจกรรมท่ีเหมาะสมสาหรบั ผสู้ ูงอายุกลุ่มติดเตียง 46
แผนภูมทิ ี่ 13 แนวทางการจัดกิจกรรมท่ีเหมาะสมสาหรับครอบครวั ท่ีมีผู้สูงอายตุ ดิ เตยี ง 46
แผนภมู ิท่ี 14 แนวทางการจัดกิจกรรมกลุม่ ตดิ เตยี งทเี่ หมาะสมสาหรบั หนว่ ยงาน 47
แผนภมู ทิ ี่ 15 แนวทางการจดั กิจกรรมทีเ่ หมาะสมสาหรับผูส้ ูงอายกุ ลุ่มติดสังคม 47
แผนภูมทิ ี่ 16 แนวทางการจัดกิจกรรมทเี่ หมาะสมสาหรับครอบครัวทีม่ ผี สู้ ูงอายุติดสังคม 48
แผนภูมิท่ี 17 แนวทางการจัดกิจกรรมกลมุ่ ติดสงั คมท่ีเหมาะสมสาหรับหน่วยงาน 48
แผนภมู ทิ ี่ 18 แนวทางการพัฒนาโครงการสรา้ งระบบการดแู ลและคุ้มครองพิทักษส์ ทิ ธิ์ 49
ผ้สู งู อายุแกเ่ ครอื ข่ายผู้สูงอายุตาบลทา่ เสา
แผนภมู ิที่ 19 ความต้องการให้รัฐบาลกาหนดแนวทางในการป้องกันและแกไ้ ขปญั หาไมใ่ ห้ 50
เกิดความรนุ แรงในผสู้ งู อายุ
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ควำมสำคญั และที่มำของกำรวิจยั
การพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย (Routine to Research : R to R) คือ การพัฒนา
ยกระดับจากงานประจาท่ีดาเนินการอยู่ให้มีการพัฒนายกระดับความสามารถให้สูงข้ึน ให้มี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นหรือให้ง่ายต่อการดาเนินการ เป็นการปิดข้อบกพร่องหรือกาจัดอุปสรรคของ
กระบวนงานประจาท่ีพบปัญหา จึงจาเป็นต้องค้นหา แสวงหาให้ได้มาซึ่งคาตอบที่ดี ผลลัพธ์ที่ได้จาก
การพฒั นาจะทาใหเ้ พิ่มประสทิ ธิภาพงานให้สูงขึ้น ประหยัดเวลา เพ่ิมคุณค่าจากงานประจาท่ีทาอยู่ให้
ดีย่ิงขึ้น การดาเนินงานด้านผู้สูงอายุของหน่วยงานภาคีเครือข่ายทางสังคมของกระทรวงการพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ก็เช่นเดียวกัน มักประสบปัญหาอุปสรรคระหว่างการดาเนินงานใน
หลายข้ันตอน เช่น การให้บริการของกองทุนผู้สูงอายุในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่เครือข่าย
ผู้สูงอายุ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน” ท่ีขอรับการสนับสนุนงบประมาณ
เพื่อดาเนินการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายผู้สูงอายุในชุมชน มักพบปัญหาต่างๆในการดาเนินการ เช่น
ความรคู้ วามเข้าใจของเครอื ข่ายต่อเขียนโครงการ การเช่ือมโยงหลักการและเหตุผลเพื่อแก้ปัญหาของ
กลุ่มผู้สูงอายุ จึงทาให้โครงการท่ีเขียนไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ ก่อให้เกิดการยุติการดาเนิน
โครงการทผ่ี ่านการวเิ คราะหโ์ ดยการมสี ว่ นรว่ มของชุมชน และตรงตามความต้องการของชุมชน ทาให้
การแก้ปัญหาดา้ นผสู้ ูงอายุในชมุ ชนไมป่ ระสบความสาเร็จ
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 จังหวัดอุตรดิตถ์ จึงได้ดาเนินการจัดทา
โครงการพฒั นางานประจาสู่งานวิจัย ในเรื่อง “การพัฒนากระบวนงานด้านการให้บริการของกองทุน
ผู้สูงอายุ ในการสนับสนุนงบประมาณให้เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิ
ผู้สูงอายุในชุมชน” เพื่อเป็นการแก้ปัญหาการดาเนินงานและพัฒนายกระดับความสามารถของ
เครือข่ายผู้สูงอายุและหน่วยงานภาคีเครือข่ายทางสังคมของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับภาควิชาการ ซ่ึงได้รับความร่วมมือที่ดีจากมหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ เป็น
ภาคีเครือข่ายร่วมในการพัฒนาโครงการและดาเนินโครงการดังกล่าวเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ
ใหแ้ กเ่ ครอื ข่ายผ้สู งู อายุและหน่วยงานภาคีที่มสี ว่ นเกี่ยวขอ้ ง
1.2 วตั ถปุ ระสงคก์ ำรวิจยั
1) เพอ่ื ศึกษาสภาพปญั หาที่เกิดจากการดาเนนิ งานของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนุน
งบประมาณให้แก่เครอื ขา่ ยผู้สูงอายุ ในมติ ิดา้ นการดแู ลและคุ้มครองสิทธผิ สู้ ูงอายุในชุมชน
2) เพื่อพัฒนาหรือปรับปรุงแนวทางการให้บริการของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนุน
งบประมาณให้แกเ่ ครือขา่ ยผ้สู ูงอายุ ในมิตดิ ้านการดูแลและคุ้มครองสิทธผิ สู้ งู อายใุ นชุมชน
3) เพ่ือสนับสนุนเชิงวิชาการการพัฒนางานประจาของเครือข่าย กระทรวงการพัฒนา
สังคมและความมน่ั คงของมนุษย์
สำนกั งำนส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมม่นั คงของมนุษย์
การพฒั นากระบวนการดา้ นการให้บริการของกองทนุ ผู้สูงอายุ ในการสนบั สนุนงบประมาณใหแ้ กเ่ ครอื ขา่ ย 2
ผสู้ งู อายุ ในมติ ดิ า้ นการดแู ลและคมุ้ ครองสทิ ธิผสู้ งู อายใุ นชุมชน
1.3 โจทย์กำรศึกษำวจิ ยั
1) สภาพปัญหาท่ีเกิดจากการดาเนินงานของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนุน
งบประมาณให้แกเ่ ครอื ข่ายผสู้ ูงอายุ ในมิติดา้ นการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน มีอะไรบ้าง
เพราะเหตุใด
2) การพัฒนากระบวนงานด้านการให้บริการของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนุน
งบประมาณให้เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน ควรมี
กระบวนการดาเนนิ งานอย่างไร
1.4 นิยำมศัพท์
เครือข่ำยผู้สูงอำยุ หมายถึง เครือข่ายผู้สูงอายุท่ีเข้าร่วมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและ
สง่ เสริมชีพผู้สงู อายุ ตาบลท่าเสา อาเภอเมือง จังหวดั อตุ รดติ ถ์
บริกำรของกองทุนผู้สูงอำยุ หมายถึง การให้บริการของกองทุนผู้สูงอายุในการ
สนับสนุนงบประมาณใหแ้ ก่เครอื ข่ายผสู้ ูงอายุ
ปัญหำท่ีเกิดจำกกำรดำเนินงำนของกองทุนผู้สูงอำยุ ในกำรสนับสนุนงบประมำณ
ให้แก่เครือข่ำยผู้สูงอำยุ ในมิติด้ำนกำรดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอำยุในชุมชน หมายถึง ปัญหาที่
เกิดจากกระบวนการทางานของกองทุนผู้สูงอายุ เช่น ข้ันตอนการให้บริการ รูปแบบการให้บริการ
เป็นต้น โดยเฉพาะการใหบ้ ริการทีส่ อดคลอ้ งกับมิตกิ ารดแู ลและคมุ้ ครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน รวมถึง
การรับรู้ เขา้ ใจของเครือขา่ ยในการจดั โครงการในมติ กิ ารดูแลและคมุ้ ครองสทิ ธิผู้สงู อายใุ นชมุ ชน
กำรดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอำยุในชุมชน หมายถึง การดูแลผู้สูงอายุให้ได้รับการ
ดูแลและค้มุ ครองพทิ กั ษส์ ทิ ธิผ์ สู้ งู อายุใน 4 มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้าน
สภาพแวดล้อมและบรกิ ารสาธารณะ
1.5 ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั
1) สภาพปัญหาท่ีเกิดจากการดาเนินงานของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนุน
งบประมาณให้แก่เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน ได้รับการ
พัฒนาหรือปรับปรุงกระบวนงานร่วมกับหน่วยงานเครือข่าย เพื่อให้เครือข่ายได้เข้าถึงบริการของ
กองทุนในมติ ดิ า้ นการดแู ลและคุ้มครองสทิ ธิผู้สงู อายใุ นชุมชน
2) เครือข่ายผู้สูงอายุในตาบลท่าเสา อาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ มีความรู้ ความ
เข้าใจในด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน รวมถึงสามารถวิเคราะห์ กาหนดประเด็น
นาไปสกู่ ารพัฒนาโครงการด้านการดูแลและคมุ้ ครองสิทธิผ้สู งู อายใุ นชมุ ชน และขยายผลไปยังพ้ืนที่อ่ืน
ได้
สำนักงำนส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมม่นั คงของมนุษย์
บทที่ 2
การทบทวนวรรณกรรม และกรอบแนวคดิ การวิจัย
การศึกษาวิจัยเรื่อง “การพัฒนากระบวนงานด้านการให้บริการของกองทุนผู้สูงอายุ ใน
การสนับสนนุ งบประมาณใหเ้ ครอื ข่ายผู้สงู อายุ ในมติ ิดา้ นการดแู ลและคุม้ ครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน”
เป็นการพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย (Routine to Research : R to R) เพื่อนาไปสู่การศึกษาสภาพ
ปัญหาที่เกิดจากการดาเนินงานของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่เครือข่าย
ผู้สูงอายุ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน และพัฒนาหรือปรับปรุงแนวทางการ
ใหบ้ ริการของกองทนุ ผู้สงู อายุ ในการสนบั สนุนงบประมาณใหแ้ กเ่ ครอื ขา่ ยผสู้ งู อายุ ในมิติด้านการดูแล
และคุ้มครองสิทธิผสู้ งู อายุในชมุ ชน โดยมีแนวคิดและเอกสารงานวิจยั ทเี่ ก่ียวขอ้ ง ดังนี้
2.1 แนวคดิ ทฤษฏเี กี่ยวกับผู้สงู อายุ
2.2 การดูแลและคุ้มครองสิทธผิ ู้สงู อายใุ นชุมชน
2.3 การให้บริการของกองทนุ ผูส้ ูงอายุ
2.4 งานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ ง
2.5 กรอบแนวคิดการวจิ ัย
2.1 แนวคดิ ทฤษฎีเก่ยี วกบั ผู้สงู อายุ
(1) ความหมายของผูส้ งู อายุ
ผู้สูงอายุ เป็นการเปล่ียนแปลงของบุคคลท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติของส่ิงมีชีวิต ซ่ึงมีผู้
นยิ ามความหมายของผ้สู งู อายไุ วด้ งั น้ี
สานักงานสถิติแห่งชาติ ให้ความหมายว่า ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลท่ีมีอายุตั้งแต่ 60 ปี
ขึ้นไปทงั้ ชายและหญิง
องคก์ ารสหประชาชาติ ให้ความหมายว่า ผู้สูงอายุ หมายถึง ผู้ท่ีมีอายุตั้งแต่ 60 ปีข้ึนไป
คาทีใ่ ชใ้ นการประชมุ ขององคก์ ารสหประชาชาติ ปจั จบุ นั ใช้คาวา่ Older persons
Ferrini, A.F. และ Ferrini, R.L. (1993: 4) ให้ความหมายว่า ผู้สูงอายุเป็นบุคคลท่ีใกล้
จะหยุดการเจริญเติบโต หยุดการเป็นผู้เรียนรู้ และหยุดการดาเนินชีวิต ผู้สูงอายุควรเป็นผู้ท่ีผ่านช่วง
ชีวิตแห่งความสุข ความสนุกและความพึงพอใจ อันเป็นสิทธิที่มีมาตั้งแต่เกิด นอกจากนี้ ผู้สูงอายุยัง
เปน็ บคุ คลท่ที รงเกยี รติสมควรได้รับการนับถือ เพราะได้ดาเนินชีวิตด้วยสติปัญญามีประสบการณ์ชีวิต
ที่ยาวนานและสมควรท่ีจะถ่ายทอดใหอ้ นชุ นรุน่ ตอ่ ไป
บรรลุ ศิริพานิช (2542: 24-25) อธิบายว่า คนเมื่อเกิด เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ และ
สุดท้ายเป็นผู้สูงอายุ หรือบางคร้ังเรียกว่า คนแก่ คนชรา คนเฒ่า (The aged, Aging, Old man) ท่ี
สามารถเรียกได้หลายอย่างเนื่องมาจากการเรียกตามลักษณะทางกายภาพ เช่น เรียกคนแก่ คนชรา
คนเฒ่า เป็นการเรียกตามลักษณะทางสรีระท่ีบ่งบอกว่าผู้น้ันแก่ เช่น ผมหงอก ผิวหนังเหี่ยวย่น เรียก
ตามอายุมากน้อยตามปีปฏิทิน เช่นเรียกว่าผู้สูงอายุ (Elderly, Older persons) ซึ่งคนภาคพื้นทวีป
สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมมั่นคงของมนษุ ย์
การพฒั นากระบวนการดา้ นการใหบ้ รกิ ารของกองทุนผู้สงู อายุ ในการสนับสนุนงบประมาณใหแ้ ก่ 4
เครอื ขา่ ยผสู้ งู อายุ ในมิตดิ า้ นการดแู ลและคุ้มครองสทิ ธผิ ู้สงู อายใุ นชมุ ชน
ยโุ รปและอเมริกามักเรียกคนสูงอายุ 65 ปีข้ึนไปเป็นผู้สูงอายุ แต่คนภาคพื้นเอเชียมักถือเอา 60 ปีข้ึน
ไปเปน็ เกณฑ์ผู้สงู อายุ เปน็ ทต่ี กลงกนั ในวงการระหวา่ งประเทศวา่ ให้ถือเอา 60 ปีขน้ึ ไป เป็นผ้สู ูงอายุ
(2) ทฤษฎเี กยี่ วกบั ผสู้ งู อายุ
มีการศึกษาเก่ียวกับผู้สูงอายุอย่างกว้างขวาง เกิดทฤษฎีเก่ียวกับผู้สูงอายุที่หลากหลาย
เอบเบอร์โซล และเฮส (Ebersole and Hess, 1985: 23-32, อ้างถึงใน ไมตรี ติยะรัตนกูร, 2536:
6-10) ไดส้ รปุ แนวคิด และทฤษฎีการสงู อายอุ อกเป็น 3 กลมุ่ ใหญ่ๆ คือ
(1) กลุ่มทฤษฎีทางชีววิทยา (Biological Theory) ทฤษฎีนี้อธิบายว่ามนุษย์
ประกอบด้วยองค์ประกอบใหญ่ๆ 3 ส่วน คือ เซลล์ท่ีสามารถเพ่ิมตัวเองตลอดชีวิต เซลล์ที่ไม่สามารถ
แบง่ ตัวเอง และองค์ประกอบอ่ืนๆ ท่ีไม่ใช่เซลล์ จากทฤษฎีทางชีววิทยาของการสูงอายุจะพบว่าในแต่
ละทฤษฎีนน้ั ก็ไดพ้ ยายามท่ีจะค้นหาความจริงเพ่ือนามาอธิบายว่าการสูงอายุหรือความแก่เป็นผลจาก
สิ่งใด ในการนาทฤษฎตี า่ งๆ เหล่าน้ีไปใช้ ผู้ศึกษาแต่ละคนมีแนวความเช่ือในเรื่องใดล้วนแล้วแต่จะนา
แนวคิดของทฤษฎีไปประกอบการศึกษา ถึงแม้ว่าจะมีการศึกษาค้นคว้าทดลองเก่ียวกับความแก่
จานวนมากแต่กย็ งั ไม่มีข้อสรุปใดท่ีสามารถนาไปใช้อธิบายท่ัวไปได้ ทราบแต่เพียงว่ากระบวนการชรา
ภาพหรอื ความแก่ของเซลล์ต่างๆ เป็นปฏิกิริยาซับซ้อนเกี่ยวข้องกับพันธุกรรม การเผาผลาญฮอร์โมน
ระบบภูมคิ มุ้ กัน ระบบประสาท ต่อมไร้ท่อ รวมทั้งการเปล่ียนแปลงขององค์ประกอบในเซลล์ เน้ือเยื่อ
และอวยั วะเทา่ นั้น
(2) กลุ่มทฤษฎีทางจิตวิทยา (Psychological Theory) เป็นทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับกลไก
การเจริญทางด้านจิตวิทยา ได้มีผู้ศึกษาเกี่ยวกับการมีอายุในจิตวิทยาเรื่องเชาวน์ปัญญา พบว่าไม่อาจ
สรุปได้ว่าเชาวน์ปัญญาจะเส่ือมลงตามวัย ส่วนในเรื่องความจาและการเรียนรู้ ได้มีการศึกษาถึง
ความจาและการเรียนรู้เป็นส่ิงท่ีจะต้องควบคู่กันไป จากการวิจัยพบว่าผู้สูงอายุมีความสามารถในการ
เรียนรู้ได้ดีเท่ากับคนอ่อนวัยแต่ต้องใช้เวลานานกว่า ปัจจัยท่ีทาให้เกิดปัญหาต่อการเรียนรู้คือ
ความเครียด อันเป็นผลมาจากระบบประสาทและสรีรวิทยาของบุคคล การสูญเสียความทรงจาและ
ความสามารถในการเข้าใจและแรงจูงใจ จากการศึกษาพบว่าผู้สูงอายุไม่จาเป็นต้องใช้แรงจูงใจในการ
ทางานมากกว่าบุคคลวัยอื่นเลย แม้ว่าผู้สูงอายุจะมีเซลล์ประสาทในสมองตายเป็นจานวนมากแต่
ขณะเดียวกันกส็ ะสมประสบการณ์อันเกิดจากการเรียนรู้ไว้มากเช่นกัน ดังน้ันจึงสรุปได้ว่า ถ้าผู้สูงอายุ
มีประสบการณ์ท่ีดีในอดีต ได้รับการยอมรับดี มีสภาพอารมณ์ท่ีมั่นคง ก็จะส่งผลต่อวัยท่ีสูงข้ึนทาให้มี
ความสุขุมรอบคอบตามขึ้นด้วย แนวคิดทางจิตวิทยาได้เช่ือมโยงเอาทฤษฎีทางชีววิทยาและสังคม
วิทยาเข้ามาเกีย่ วข้องดว้ ย โดยเสนอว่าการเปล่ียนแปลงบุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สูงอายุน้ันเป็น
การพัฒนาและปรับตัวของความนึกคิด ความรู้ ความเข้าใจ แรงจูงใจ และการเปลี่ยนแปลงของ
อวัยวะรบั สมั ผสั ทงั้ ปวง ตลอดจนสงั คมทีผ่ ู้สูงอายนุ ้ันๆ อาศยั อยู่
(3) กลุ่มทฤษฎีทางสังคมวิทยา (Sociological Theory) เป็นทฤษฎีท่ีกล่าวถึงแนวโน้ม
บทบาทของบุคคล สัมพันธภาพ และการปรับตัวทางสังคมในช่วงท้ายของชีวิต หรือเป็นทฤษฎีที่
พยายามวิเคราะห์สาเหตุท่ีทาให้ผู้สูงอายุต้องมีสถานะทางสังคมเปลี่ยนแปลงไป ทั้งพยายามท่ีจะช่วย
ให้มกี ารดารงชวี ติ อยู่ในสงั คมอยา่ งมคี วามสุข ทฤษฎีนเ้ี ช่อื ว่าถ้าสังคมเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเร็วก็จะทา
ใหส้ ถานภาพของผ้สู ูงอายเุ ปลีย่ นแปลงอย่างรวดเรว็ ตามไปดว้ ย และสถานะของผู้สูงอายุในสังคมใดจะ
เป็นอยา่ งไรขนึ้ อยู่กับจานวนของผ้สู งู อายใุ นสังคมน้นั แนวคิดทางสงั คมวิทยาที่สาคญั ไดแ้ ก่
สำนักงำนสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมัน่ คงของมนุษย์
การพฒั นากระบวนการด้านการใหบ้ ริการของกองทุนผู้สงู อายุ ในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่ 5
เครือขา่ ยผ้สู ูงอายุ ในมิตดิ ้านการดแู ลและคมุ้ ครองสทิ ธผิ สู้ ูงอายุในชมุ ชน
ก. ทฤษฎีกิจกรรม (Activity Theory) อธิบายว่าเมื่อบุคคลมีอายุมากข้ึน
สถานภาพทางสังคมจะลดลง บทบาทเก่าจะถูกตัดออกไป แต่ผู้สูงอายุยังมีความต้องการทางสังคม
ความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรม มีความสนใจและร่วมเป็นสมาชิกในกิจกรรมต่างๆ จะเห็นได้ว่า
ทฤษฎีกิจกรรมน้ีเชื่อว่าผู้สูงอายุจะมีชีวิตท่ีเป็นสุขได้น้ันควรมีบทบาทหรือกิจกรรมทางสังคมตาม
สมควร เชน่ มีงานอดิเรก หรือเปน็ สมาชิกกล่มุ กจิ กรรม สมาคมหรอื ชมรม โดยทฤษฎีกิจกรรมน้ียืนยัน
ว่าผู้สูงอายุท่ีสามารถดารงกิจกรรมทางสังคมไว้ได้จะเป็นผู้มีความพึงพอใจในชีวิตสูง มีภาพพจน์
เก่ียวกบั ตนเองในทางบวก (ปราโมทย์ วงั สะอาด, 2530: 30)
ข. ทฤษฎีแยกตนเอง (Disengagement Theory) อธิบายว่าผู้สูงอายุและ
สงั คมจะลดบทบาทซึ่งกนั และกัน ท้ังน้เี นื่องจากผู้สูงอายุรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถลดลง สุขภาพที่
เสื่อมถอย รวมทั้งความตายที่ค่อยๆ มาถึง ผู้สูงอายุจึงหลีกหนีถอนตัวออกจากสังคมเพ่ือลดความตึง
เครยี ดและพอใจกบั การไมเ่ กยี่ วข้องกับสงั คมอีกตอ่ ไป จะเห็นวา่ ทฤษฎีแยกตนเองเชื่อว่าการท่ีผู้สูงอายุ
ไม่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมและบทบาทของสังคมนั้นเป็นการถอนสถานภาพและบทบาทของตนให้แก่
หนุ่มสาวหรือคนท่ีจะมีบทบาทได้ดีกว่า ในระยะแรกนั้นผู้สูงอายุอาจจะรู้สึกวิตกกังวลและมีความบีบ
คนั้ แตใ่ นท่สี ดุ ผู้สงู อายุก็จะยอมรับบทบาทใหม่ๆ คือ การไม่เกย่ี วข้องกับสังคมได้
ค. ทฤษฎีความต่อเน่ือง (Continuity Theory) ทฤษฎีน้ีเป็นผลมาจาก
การศกึ ษาเพอ่ื หาข้อขัดแย้งของทฤษฎีกิจกรรมและทฤษฎีแยกตนเอง นิวการ์เทน (Neugarten, 1964
: 41, อ้างถึงใน จันทนา รณฤทธ์ิวิชัย, 2533: 58) ได้ทาการศึกษาทั้งสองทฤษฎีและนามาวิเคราะห์
พบวา่ การที่ผู้สูงอายจุ ะมคี วามสุขและมกี ารเข้าร่วมกิจกรรมน้ันขึ้นอยู่กับบุคลิกภาพและแบบแผนชีวิต
ของแต่ละคน เช่น ผูส้ ูงอายทุ ่ชี อบเขา้ ร่วมกิจกรรมในสังคมก็จะมีกิจกรรมเหมือนเดิมเม่ือมีอายุมากข้ึน
สว่ นผสู้ งู อายุทีช่ อบสันโดษไม่เคยมบี ทบาทในสังคมมาก่อนก็ย่อมจะแยกตนเองออกจากสังคมเม่ืออายุ
มากข้ึน
ง. ทฤษฎีบทบาท (Role Theory) อธิบายว่าเมื่อบุคคลเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ
จะต้องปรับสภาพต่างๆ หลายอย่างท่ีไม่ใช่บทบาทเดิมของตนมาก่อน เช่น การละทิ้งบทบาททาง
สงั คมและความสมั พนั ธ์ซึง่ เป็นไปแบบวัยผูใ้ หญ่ ยอมรับบทบาททางสังคมและความสัมพันธ์ในรูปแบบ
ของคนสงู อายุ และละเวน้ จากความผกู พันกับคู่สมรสเน่อื งจากการตายของฝา่ ยใดฝ่ายหนงึ่ เป็นตน้
จากทฤษฎีทางสังคมวิทยามองความสูงอายุจากสถานภาพทางสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไป
ในทางลดลง แต่ผู้สูงอายุยังคงต้องการบทบาทเดิมจึงเกิดความเครียดส่งผลให้เกิดการถอนตัวจาก
สงั คม แตก่ ารจะใชช้ ีวิตในช่วงสูงวัยให้มีความสุขนั้นต้องคงบทบาทและสถานภาพทางสังคมไว้แต่ควร
อย่ใู นระดบั ทีเ่ หมาะสม
กล่าวโดยสรุป จากแนวคิดทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับผู้สูงอายุพบว่าจะมองผู้สูงอายุแตกต่าง
กัน โดยทฤษฎีทางชีววิทยาจะมองความสูงอายุโดยพิจารณาจากการทางานของระบบต่างๆ ของ
ร่างกาย ส่วนแนวคิดทางจิตวิทยาจะมองความสูงอายุโดยพิจารณาจากการเรียนรู้ อารมณ์ สติปัญญา
ความจา และทฤษฎีทางสังคมวิทยาจะมองความสูงอายุโดยพิจารณาจากผู้สูงอายุท่ีมีสภาพชีวิตที่เป็น
สขุ ไดน้ ้ันจะตอ้ งเปน็ ผ้ทู ี่สามารถคงบทบาทและสถานภาพทางสังคมของตนไว้ได้
สำนกั งำนสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมั่นคงของมนษุ ย์
การพฒั นากระบวนการดา้ นการใหบ้ ริการของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนบั สนุนงบประมาณใหแ้ ก่ 6
เครือขา่ ยผสู้ ูงอายุ ในมติ ดิ ้านการดแู ลและคมุ้ ครองสิทธิผสู้ ูงอายุในชมุ ชน
2.2 การดแู ลและคุม้ ครองสทิ ธผิ ูส้ งู อายใุ นชุมชน
ประเทศไทยเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” (Ageing Society) ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2548 โดย 1 ใน
10 ของประชากรไทยเป็นประชากรที่มีอายุต้ังแต่ 60 ปี ขึ้นไป โดยในปี 2558 มีจานวนผู้สูงอายุ 11
ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 16 ของประชากรท้ังประเทศ และคาดการณ์ว่าประเทศไทยจะเป็น “สังคม
สูงอายุ” โดยสมบูรณ์ (Complete Aged Society) ในปี พ.ศ. 2564 ถึงร้อยละ 20 คือ ประชากร
สูงอายุจะมีถึง 1 ใน 5 และเป็น “สังคมสูงออายุระดับสุดยอด” (Super Aged Society) ในปี 2574
โดยมีผู้สูงอายุร้อยละ 28 ของประชากรทั้งประเทศ ซ่ึงสถานการณ์ท่ีประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุ
น้นั สามารถแบง่ ผูส้ ูงอายอุ อกเปน็ 3 กลุ่มได้แก่
กลุ่มที่ 1 กลุ่มผู้สูงอายุติดสังคม (Social Bound) จานวน 7,961,690 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 79.5
กลุ่มที่ 2 กลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน (Home Bound) จานวน 1,902,795 คน คิดเป็นร้อย
19
กลมุ่ ที่ 3 กลุ่มผสู้ งู อายตุ ดิ เตยี ง (Bed Bound) จานวน 150,220 คน คดิ เป็นร้อย 1.5
กลุ่มที่ 1 กลุ่มผู้สูงอายุติดสังคม (Social Bound) หมายถึง ผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือ
ตัวเองได้ดี ดาเนนิ ชวี ติ ในสังคมได้อย่างอิสระ สามารถทากิจวัตรประจาวันต่อเนื่องได้ เป็นผู้มีสุขภาพ
ทั่วไปดี ไม่มีโรคเรื้อรัง หรือเป็นเพียงผู้ท่ีมีภาวะเส่ียงต่อการเกิดโรค หรือเป็นผู้ท่ีมีโรคเร้ือรัง 1-2 โรค
ทยี่ ังควบคุมโรคได้ สามารถชว่ ยเหลือผูอ้ ืน่ สังคม ชุมชนได้ และมกั เขา้ รว่ มกิจกรรมในสังคม
กลุ่มท่ี 2 กลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน (Home Bound) หมายถึง ผู้สูงอายุท่ีช่วยเหลือตัวเอง
ได้บ้าง หรือ ต้องการความช่วยเหลือจากผู้อื่น เพียงบางส่วน มีความจากัดในการดาเนินชีวิตในสังคม
และเป็นกลุ่มผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรังที่ควบคุมไม่ได้ มีภาวะแทรกซ้อนทางด้านร่างกาย หรือทางจิตใจ
จะส่งผลต่อการรคู้ ดิ การตัดสนิ ใจ การปฏิบัติกิจวตั รประจาวนั พื้นฐาน
กลุ่มท่ี 3 กลุ่มผู้สูงอายุติดเตียง (Bed Bound) หมายถึง ผู้สูงอายุที่ไม่สามารถ
ช่วยเหลือตนเองในการทากิจวัตรประจาวันพ้ืนฐานได้ ต้องการความช่วยเหลือจากผู้อ่ืนในการ
เคลือ่ นยา้ ย การปฏิบตั กิ ิจวัตรประจาวัน มีโรคประจาตัวหลายโรคท่ีควบคุมไม่ได้ มีการเจ็บป่วยเรื้อรัง
มายาวนาน และมีภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เป็นอยู่ เป็นกลุ่มท่ีป่วยและช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการ
หรือทุพพลภาพ
จุดมงุ่ หมาย
“เพ่อื สรา้ งพ้นื ทีต่ ้นแบบใหม้ ีระบบการดูแลและคุม้ ครองพทิ ักษ์สทิ ธผิ สู้ งู อายุ”
ประโยชนท์ ่ีจะได้รับ
1. ผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิใน 4 มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้าน
เศรษฐกจิ ด้านสงั คม และดา้ นสภาพแวดล้อมและบริการสาธารณะ
2. ผู้สงู อายุสามารถอยู่ร่วมกบั ผูอ้ ่นื ในสงั คมและดารงชวี ติ ได้อย่างปลอดภยั
3. เพ่ือให้เกิดกลไกขับเคล่ือนการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ
4. เสริมสร้างการมสี ่วนร่วมของพ้ืนท่ใี นการดูแลและคุ้มครองพทิ ักษส์ ทิ ธิผูส้ งู อายุ
สำนกั งำนส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์
การพัฒนากระบวนการด้านการให้บริการของกองทนุ ผสู้ งู อายุ ในการสนบั สนุนงบประมาณให้แก่ 7
เครือข่ายผสู้ ูงอายุ ในมติ ดิ ้านการดแู ลและคุ้มครองสทิ ธผิ ู้สงู อายใุ นชมุ ชน
2.3 การใหบ้ ริการของกองทนุ ผ้สู งู อายุ
พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 มาตรา 13 กาหนดให้มีการจัดต้ัง “กองทุน
ผสู้ งู อายุ” ขึน้ ในสานกั งานสง่ เสริมสวัสดิภาพเดก็ เยาวชน ผดู้ อ้ ยโอกาส และผู้สูงอายุ** กระทรวงการ
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เพ่ือเป็นทุนใช้จ่ายเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการ
สนับสนุน ผู้สูงอายุ ให้มีศักยภาพ ความม่ันคง และมีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมท้ังสนับสนุนกิจกรรมของ
องค์กรท่ีดาเนินงานเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสนับสนุนผู้สูงอายุให้มีความเข้มแข็งอย่างต่อเน่ือง โดยมี
วัตถุประสงค์ 1) เพ่ือเป็นทุนใช้จ่ายเก่ียวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุให้มี
ศักยภาพ ความมั่นคง และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี 2) สนับสนุนกิจกรรมขององค์กรที่ดาเนินงานเกี่ยวข้อง
กับการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ผู้สูงอายุให้มคี วามเขม้ แข็งอย่างต่อเนอ่ื ง
พนั ธกิจ
1) ส่งเสริม ชมรม องค์กรผู้สูงอายุ และภาคีเครือข่ายในการพัฒนาความเข้มแข็ง และ
สนับสนนุ ให้มสี ่วนร่วมในการผลกั ดันกจิ กรรมทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ ผู้สงู อายุ
2) ส่งเสริมการกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพให้ผู้สูงอายุได้ใช้ศักยภาพของตนเองอย่างมี
ศักดิ์ศรี
3) การคุม้ ครอง ส่งเสรมิ สนับสนนุ และสงเคราะหผ์ ู้สูงอายตุ ามความจาเป็นข้นั พื้นฐาน
4) พัฒนาองคค์ วามรู้และระบบบรหิ ารจดั การให้สอดคลอ้ งกับหลกั ธรรมาภบิ าล
กลุ่มเปา้ หมาย
คณุ สมบตั ผิ ขู้ อรับการสนับสนนุ จากกองทนุ ผู้สูงอายุ 1) ผู้สูงอายุจะต้องเป็นผู้ท่ีมีอายุเกิน
60 ปีบริบรู ณ์ขึน้ ไป และมีสัญชาติไทย และ 2) องคก์ รผสู้ ูงอาย/ุ องคก์ รทีท่ างานดา้ นผู้สูงอายุ
(1) กรณีเป็นหน่วยงานภาครัฐ
ตอ้ งเป็นหน่วยงานที่มอี านาจหน้าทเ่ี กยี่ วกบั การคมุ้ ครอง การส่งเสริม และการสนับสนุน
ผู้สูงอายุ รวมท้ังได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการดาเนินงานตามประกาศสานัก
นายกรฐั มนตรีเร่อื ง กาหนดหนว่ ยงานรบั ผิดชอบในการดาเนินการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ
พ.ศ. 2546 ลงวันท่ี 28 กรกฎาคม 2547 หรือมีหน้าที่ดาเนินการในการคุ้มครองการส่งเสริมและ
สนบั สนุนผสู้ ูงอายตุ ามประกาศกระทรวง
(2) กรณีเป็นองค์กรภาคเอกชนหรอื องค์กรของผู้สูงอายุ
ต้ อ ง เ ป็ น อ ง ค์ ก ร ที่ จ ด ท ะ เ บี ย น เ ป็ น นิ ติ บุ ค ค ล ห รื อ ไ ด้ รั บ ก า ร รั บ ร อ ง เ ป็ น อ ง ค์ ก ร
สาธารณประโยชน์ตามกฎหมายวา่ ด้วยการสง่ เสรมิ การจัดสวัสดกิ ารสงั คม ซึ่งดาเนินกิจกรรมเก่ียวกับ
การคุ้มครอง การสง่ เสรมิ และการสนับสนุนผู้สงู อายอุ ยา่ งต่อเน่อื งไมน่ ้อยกวา่ 6 เดอื น
หากเป็นองค์กรที่ไม่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลหรือไม่ได้รับรองเป็นองค์กร
สาธารณประโยชน์ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม การจัดสวัสดิการสังคม จะต้องดาเนินกิจกรรม
เก่ียวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุต่อเน่ืองไม่น้อยกว่า 1 ปี และมีส่วน
ราชการหรือหน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรของผู้สูงอายุท่ีจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล หรือองค์กร
สาธารณประโยชนร์ บั รองว่าเปน็ องค์กรท่ีมีผลงานเกี่ยวกับการคมุ้ ครอง การส่งเสรมิ และการสนับสนุน
ผู้สูงอายุ
สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนนุ วิชำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมมัน่ คงของมนุษย์
การพฒั นากระบวนการดา้ นการให้บริการของกองทุนผูส้ งู อายุ ในการสนับสนุนงบประมาณใหแ้ ก่ 8
เครือข่ายผสู้ ูงอายุ ในมติ ดิ ้านการดแู ลและคมุ้ ครองสทิ ธผิ ู้สูงอายุในชมุ ชน
หนว่ ยงานท่ีใหก้ ารสนบั สนนุ
ผู้สูงอายุ องคก์ รของผสู้ งู อายุ หรือองค์กรท่ีทางานด้านผู้สูงอายุสามารถติดต่อหน่วยงาน
ท่ีทาหน้าท่ีรับผิดชอบ เพื่อขอการรับสนับสนุนจากกองทุนผู้สูงอายุหรือประสานงานตามกรณีท่ี
เกี่ยวข้องได้จากกองทุนผู้สูงอายุ กรมกิจการผู้สูงอายุ และสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของ
มนุษย์จังหวัดทกุ จงั หวดั
2.4 งานวิจยั ที่เกีย่ วขอ้ ง
รศ.ดร.จริ าพร เกศพิชยวัฒนา คณะพยาบาลศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทาการ
วิจยั เรื่อง “การศึกษาสถานการณ์ความรนุ แรงและการละเมิดสิทธิต่อผู้สูงอายุในไทย” โดยได้ศึกษาถึง
เหตคุ วามรนุ แรงและการละเมดิ สิทธิในผสู้ งู อายุ ทงั้ จากสถานการณ์ปัจจุบันภายใต้บริบทสังคมไทยทุก
ภาคส่วน พร้อมเก็บรวบรวมสถิติความรุนแรงและการละเมิดที่เกิดจากการนาเสนอในหน้าข่าวของ
สื่อสารมวลชนแขนงต่างๆ ข้อมูลจากศูนย์ช่วยเหลือสังคม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ จากสานักงานตารวจแห่งชาติ ตลอดจนข้อมูลจากเจ้าหน้าท่ี บุคลากร ท่ีมีส่วนในการดูแล
ผู้สงู อายุในพนื้ ที่ต่างๆท่ัวประเทศ ระบวุ า่ ปญั หาความรุนแรงและการละเมิดสิทธิในผู้สูงอายุที่เกิดมาก
สุดเป็นอันดับหน่ึง คือการที่ผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง ไม่มีผู้ดูแลท่ีเหมาะสม พบทั้งประเภทที่มีลูกหลานแต่
ไม่ไดอ้ ยู่ด้วยกัน ประเภทที่มีลูกหลานแต่ถูกทอดท้ิง บางรายมีสภาพท่ีอยู่อาศัยไม่เหมาะสม ทั้งยังต้อง
เล้ียงดูหลานไปด้วย นอกจากน้ียังพบการทอดทอดท้ิงผู้สูงอายุให้ต้องอยู่ตัวคนเดียว จากความพิการ
ร่างกายที่ไม่สามารถช่วยตัวเองได้ ความพิการทางสมอง ท่ีร้ายสุดคือการท่ีผู้สูงอายุถูกลูกหลานนามา
ปล่อยไว้ในสถานที่สาธารณะ เหตุทั้งหมดน้ีเมื่อปรากฏข่าวสารทางหน้าสื่อ ก็มักจะมีหน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้องเข้าไปดูแลเป็นกรณีๆไป ปัญหาต่อมาคือ การถูกทาร้ายร่างกาย ท่ีพบว่าผู้กระทาส่วนใหญ่
มักเป็นคนในครอบครัว และเป็นผู้ทาหน้าท่ีดูแลผู้สูงอายุ จากการวิเคราะห์พบว่าส่วนใหญ่ผู้กระทามี
ความเครียด บ้างบกพร่องทางสติปัญญา ติดสารเสพติด บางคร้ังพบผู้สูงอายุถูกทาร้ายร่างกายโดย
บตุ รหลานทต่ี อ้ งการทรัพยส์ นิ มาเป็นของตัวเอง สว่ นการถูกทาร้ายจากบุคคลภายนอกน้ันรายงานวิจัย
พบว่า สว่ นใหญ่เปน็ คดีอาชญากรรมท่ผี ู้กระทามุ่งต่อทรัพย์สินผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียว มิจฉาชีพเลือกลง
มือเพราะเห็นเหย่ือไม่สามารถปกป้องตัวเองได้
ท่ีน่าเศร้าคือ การข่มขืนและคุกคามทางเพศ ที่เริ่มพบมากขึ้นและปรากฏบ่อยในสื่อ
สาธารณะ รายงานวิจัย ระบุว่า ผู้กระทามักเป็นบุคคลในครอบครัว ส่วนใหญ่เป็นหลาน แต่เหตุท่ีเกิด
จากการกระทาของบุคคลภายนอกก็มีให้เห็น น่าสังเกตคือผู้ที่กระทาทั้งหมดจะอ้างว่าเมาสุรา แล้ว
เหน็ ผู้สงู อายุหญิงอยู่คนเดียวไมส่ ามารถปอ้ งกันตัวเองได้จึงเป็นเหยื่อให้เลือกท่ีจะลงมือเป็นอันดับแรก
แต่อีกปัญหาท่ีน่าห่วงไม่แพ้กัน คือการละเมิดด้วยการเอารัดเอาเปรียบหลอกลวงผู้สูงอายุให้เสีย
ทรัพย์สิน ที่ส่วนใหญ่เกิดจากบุตรหลานและบุคคลในครอบครัวและคนใกล้ชิดเช่นเคย รูปแบบการ
ละเมิดมีท้ังการหลอกให้หลงเชื่อทาธุรกรรมทางการเงิน หลอกให้ลงนามสัญญากู้ยืม นอกจากน้ี
ผสู้ ูงอายจุ านวนมากยังถูกหลอกลวงโดยใช้ส่ือเป็นเคร่ืองมือล่อให้ซื้อสินค้าไม่ได้มาตรฐาน ซึ่งพบว่าใน
รอบสบิ ปที ีผ่ ่านมาการเอารดั เอาเปรยี บผสู้ งู อายุในลกั ษณะนเ้ี กดิ ขึน้ อย่อู ยา่ งตอ่ เนื่อง
สำนกั งำนส่งเสริมและสนบั สนุนวิชำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์
การพฒั นากระบวนการดา้ นการใหบ้ ริการของกองทนุ ผสู้ งู อายุ ในการสนับสนนุ งบประมาณใหแ้ ก่ 9
เครือข่ายผูส้ ูงอายุ ในมติ ดิ ้านการดแู ลและคมุ้ ครองสทิ ธิผู้สูงอายใุ นชมุ ชน
“จากการวิจัยภาคสนามพบสถานการณ์ความรุนแรงและการละเมิดผู้สูงอายุในชุมชน
ส่วนใหญ่เกิดจากบุคคลใกล้ชิด หรือคนในครอบครัว คู่สมรส เพ่ือนบ้านใกล้เคียง นอกจากจะมี
แนวโน้มว่าจะเพิ่มสูงข้ึนแล้ว ยังมีลักษณะซ่อนเร้นปัญหา ปัจจัยสาคัญของการละเมิดคือ ปัญหาด้าน
เศรษฐกิจในครอบครัวบุตรหลานต้องย้ายถ่ินไปหางานทา ถ้ามีรายได้ไม่พอท่ีจะเอาตัวรอด ก็จะไม่
สามารถสง่ เสยี ดูแลผ้สู ูงอายไุ ดจ้ นนามาสูก่ ารถกู ทอดทงิ้ ประกอบกับความเครียดในครอบครัวท่ีมาจาก
ปญั หาทางเศรษฐกจิ ก็จะนามาสู่การกระทบกระท่ัง ทะเลาะรุนแรง คาดการณ์ว่า ยังมีปัญหาผู้สูงอายุ
ท่ยี งั ถกู ปิดบังซ่อนเรน้ อยู่ในสงั คมอกี ไม่น้อย เน่ืองจากผูส้ งู อายุจานวนหนึ่งไมต่ ้องการเปิดเผยข้อมูล ให้
เกิดปญั หากบั ลกู หลาน และบุคคลในครอบครวั ”
งานวิจัยยังได้เสนอแนะแนวทางแก้ปัญหาความรุนแรงและการละเมิดในผู้สูงอายุเอาว่า
ตอ้ งเรมิ่ จากระดับบุคคล ทีค่ วรชว่ ยกันปลูกฝงั ทัศนคติ ส่งเสริมพฤติกรรมเกื้อกูลเลี้ยงดูบุพการี รวมท้ัง
ค่านิยมต่อต้านความรุนแรงทุกรูปแบบ ส่วนในระดับครอบครัวจะต้องส่งเสริมความสัมพันธ์ใน
ครอบครัว ยกค่านิยมดีงามของวัฒนธรรมไทยท่ีให้เกียรติยกย่องผู้อาวุโส เช่นเดียวกันการดาเนินการ
ในระดับชุมชน ท่ีจะต้องมีการจัดกิจกรรมให้ชุมชนตระหนักถึงภัยความรุนแรงในผู้สูงอายุ จัดระบบ
เฝา้ ระวงั หรืออาสาสมคั ร ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนท่ีมีความเส่ียง สาหรับมาตรการป้องกันในระดับสังคม
คือการให้ความรู้เพ่ือเท่าทันกับระดับปัญหาความรุนแรงที่เกิดและสามารถหาหนทางแก้ มอบหมาย
หน่วยงานรับผดิ ชอบทน่ี ่าจะเป็นองคก์ รปกครองท้องถิน่
นอกจากน้ียังต้องขับเคล่ือนนโยบาย ท้ังใช้กฎหมายเป็นเคร่ืองมือกาหนดมาตรการ
บังคับใช้ให้สังคมต้องปฏิบัติในการดูแลผู้สูงอายุ ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องมียุทธศาสตร์หรือ
แผนงานให้สอดคล้อง สุดท้ายคือการขับเคล่ือนสังคม เช่นการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน การทา
ให้ผู้สูงอายุเป็นพลงั ในเชงิ บวกใหก้ บั ประเทศ
2.5 กรอบแนวคิดการวิจยั
การศึกษาวิจัยเร่ือง “การพัฒนากระบวนงานด้านการให้บริการของกองทุนผู้สูงอายุ ในการ
สนับสนุนงบประมาณให้เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน ”
เป็นการนาประบวนงานประจาท่ีให้บริการเครือข่ายผู้สูงอายุในมิติการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุ
ในชุมชน เพ่ือนาไปสู่การให้บริการผู้สูงอายุในชุมชน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการให้บริการด้านกองทุน
ผู้สงู อายุ ท่สี ามารถขับเคลือ่ นใหก้ ลไกเครือขา่ ยผู้สงู อายุในชุมชน สามารถขบั เคล่ือนงานด้านการดูและ
คมุ้ ครองพทิ กั ษ์สิทธิผู้สูงอายใุ นชุมชน
ด้วยเหตนุ กี้ รอบแนวคดิ การวจิ ัยจึงมุง่ ไปท่กี ารวิเคราะหผ์ ูส้ ูงอายใุ น 3 กล่มุ คือ (1) กลุ่มทฤษฎี
ทางชีววิทยา (Biological Theory) (2) กลุ่มทฤษฎีทางจิตวิทยา (Psychological Theory) และ
(3) กลุ่มทฤษฎีทางสังคมวิทยา (Sociological Theory) เพื่อสร้างความเข้าใจในความต้องการและ
การสนับสนุนการจัดบริการด้านการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ์ผู้สูงอายุในชุมชน รวมถึงการ
วิเคราะห์เช่ือมโยงกลุ่มผู้สูงอายุตามแนวคิดการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน ท่ีจัดผู้สูงอายุ
เปน็ 3 กลุม่ เพื่อให้มีการวิเคราะหร์ ปู แบบการจดั กจิ กรรมท่ีเหมาะสม ประกอบไปดว้ ย
กลุ่มที่ 1 กลุ่มผู้สูงอายุติดสังคม (Social Bound) หมายถึง ผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองได้ดี
ดาเนินชีวิตในสังคมได้อยา่ งอิสระ สามารถทากิจวตั รประจาวนั ต่อเน่อื งได้ เป็นผู้มีสุขภาพท่ัวไปดี ไม่มี
สำนักงำนส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนษุ ย์
การพฒั นากระบวนการดา้ นการให้บรกิ ารของกองทุนผูส้ ูงอายุ ในการสนบั สนนุ งบประมาณใหแ้ ก่ 10
เครือขา่ ยผ้สู ูงอายุ ในมติ ดิ ้านการดแู ลและคุ้มครองสทิ ธิผ้สู ูงอายุในชมุ ชน
โรคเรือ้ รัง หรือเป็นเพียงผู้ท่ีมีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค หรือเป็นผู้ท่ีมีโรคเรื้อรัง 1-2 โรค ที่ยังควบคุม
โรคได้ สามารถช่วยเหลือผูอ้ น่ื สงั คม ชุมชนได้ และมักเขา้ ร่วมกจิ กรรมในสังคม
กลุ่มที่ 2 กลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน (Home Bound) หมายถึง ผู้สูงอายุท่ีช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง
หรือ ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื จากผู้อืน่ เพยี งบางส่วน มีความจากัดในการดาเนินชีวิตในสังคมและเป็น
กลุ่มผู้สูงอายุที่มีโรคเร้ือรังที่ควบคุมไม่ได้ มีภาวะแทรกซ้อนทางด้านร่างกาย หรือทางจิตใจ จะส่งผล
ต่อการร้คู ดิ การตัดสินใจ การปฏบิ ัตกิ จิ วัตรประจาวนั พืน้ ฐาน
กลุ่มท่ี 3 กลุ่มผู้สูงอายุติดเตียง (Bed Bound) หมายถึง ผู้สูงอายุที่ไม่สามารถช่วยเหลือ
ตนเองในการทากิจวัตรประจาวันพื้นฐานได้ ต้องการความช่วยเหลือจากผู้อื่นในการเคล่ือนย้าย การ
ปฏิบัติกิจวตั รประจาวัน มโี รคประจาตัวหลายโรคท่ีควบคุมไม่ได้ มีการเจ็บป่วยเร้ือรังมายาวนาน และ
มีภาวะแทรกซอ้ นจากโรคทีเ่ ปน็ อยู่ เปน็ กลมุ่ ท่ปี ่วยและชว่ ยเหลือตนเองไม่ได้ พิการหรอื ทพุ พลภาพ
อีกทั้งงานวิจัยนี้ยังมุ่งการสังเคราะห์งานวิจัยท่ีเก่ียวข้องในการ การดูแลและคุ้มครองสิทธิ
ผ้สู งู อายใุ นชุมชนในชมุ ชน เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการวิเคราะห์และการกาหนดแนวทางการพัฒนา
โครงการในมิติการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธ์ิผู้สูงอายุในชุมชน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการวิจัยเร่ือง
“การศึกษาสถานการณ์ความรุนแรงและการละเมิดสิทธิต่อผู้สูงอายุในไทย” ท่ีได้ศึกษาถึงเหตุความ
รุนแรงและการละเมิดสิทธิในผู้สูงอายุ ทั้งจากสถานการณ์ปัจจุบันภายใต้บริบทสังคมไทยทุกภาคส่วน
ท้ังน้ีเพื่อเชื่อมโยงองค์ความรู้เกี่ยวกับผู้สูงอายุ นาไปสู่การสร้างความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์
ปรับปรงุ การให้บริการในกระบวนการต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการให้บริการเครือข่ายผู้สูงอายุ ทั้งในส่วน
ของผใู้ หบ้ ริการทีอ่ ยู่ในส่วนของการใหบ้ ริการทีเ่ ชือ่ มโยงกับเครือข่ายผู้สูงอายุของกองทุนผู้สูงอายุ และ
ผู้ใช้บริการที่ต้องมีการค้นหา วิเคราะห์ และประเมินแนวทางการพัฒนาโครงการหรือกิจกรรมที่
เกี่ยวข้องกับการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุในชุมชน โดยเฉพาะในส่วนของเครือข่าย
ผู้สูงอายุ และเครือข่ายแวดล้อมผู้สูงอายุ โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นกลไกเช่ือมประสานใน
ระดับพืน้ ท่ี
สำนกั งำนส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมมั่นคงของมนษุ ย์
บทท่ี 3
ระเบยี บวธิ ีการวจิ ยั
3.1 วธิ กี ารศึกษา
การวจิ ัยคร้ังนเี้ ป็นการวิจยั เพ่ือขับเคล่ือนการดาเนินงานการพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย
(Routine to Research) ใช้วิธีการวจิ ัยแบบผสมผสาน (Mix Methodology) ทีม่ กี ารกาหนดประเด็น
ในการพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย เร่ือง “การพัฒนากระบวนการด้านการให้บริการของกองทุน
ผู้สูงอายุ ในการสนับสนุนงบประมาณให้เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิ
ผู้สูงอายุในชุมชน” ร่วมกับสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดอุตรดิตถ์ และ
ค้นหาสภาพปัญหาท่ีเกิดข้ึนจากงานประจา ประกอบด้วย 1) ศึกษาสภาพปัญหาที่เกิดจากการ
ดาเนินงานของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการ
ดูแลและคุ้มครองสทิ ธผิ ้สู ูงอายุในชมุ ชน และ 2) ศึกษาสภาพปัญหาของเครือข่ายผู้สูงอายุในการเขียน
โครงการ ท่สี อดคล้องกับการดูแลและคมุ้ ครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน โดยมีการเก็บรวบรวบข้อมูลโดย
ใช้การจัดทาเวทีสนทนากลุ่มย่อย (Focus Group) กับผู้แทนสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์จังหวัดอุตรดิตถ์ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ผู้แทนหน่วยงานในระดับพื้นที่
เครือข่ายผู้สูงอายุ และนักวิชาการในพ้ืนที่ รวมถึงการจัดทาแบบสอบถามกลุ่มตัวอย่าง จานวน 40
กลุ่มตัวอย่าง ในพนื้ ทต่ี าบลท่าเสา อาเภอเมอื งอตุ รดติ ถ์ จงั หวดั อตุ รดิตถ์ เป็นการศึกษาสภาพปัญหาที่
เกิดขึ้นจากลักษณะงานประจาที่กาหนดประเด็นไว้ และการหาแนวทางการพัฒนางานหรือปรับปรุง
กระบวนงานใหด้ ียิง่ ขน้ึ ซง่ึ มีรายละเอยี ด ดังน้ี
3.2 การวจิ ัยเอกสาร
การวิจัยเอกสารมีความต้องการเพื่อมุ่งหาข้อเท็จจริงเก่ียวกับการให้บริการ ของกองทุน
ผู้สูงอายุท่ีเก่ียวข้องกับการได้รับการสนับสนุนของเครือข่ายผู้สูงอายุ รวมถึงวิธีการดาเนินงานท่ี
เกยี่ วขอ้ งกบั การพัฒนาระบบการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุในชุมชน โดยใช้ข้อมูลฑุติยภูมิ
จากเอกสาร รายงาน หรอื หนงั สือซึง่ ได้มีการตพี ิมพ์ เช่น วารสาร บทความ และสิง่ ตีพมิ พ์อ่นื ๆ เป็นต้น
3.3 การวจิ ัยแบบผสมผสาน
วิจัยแบบผสมผสาน (Mix Methodology) มีการแบ่งวธิ กี ารวิจัย ดงั น้ี
(1) การวจิ ยั เชิงคุณภาพ โดยมีกาหนดประเดน็ การศึกษา ดงั น้ี
1) ศึกษาสภาพปัญหาท่ีเกิดจากการดาเนินงานของกองทุนผู้สูงอายุ ในการ
สนับสนุนงบประมาณให้แก่เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน
และสภาพปัญหาของเครือข่ายผู้สูงอายุในการเขียนโครงการ ท่ีสอดคล้องกับการดูแลและคุ้มครอง
สิทธผิ สู้ ูงอายุในชุมชน
สำนกั งำนสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนษุ ย์
การพฒั นากระบวนการด้านการใหบ้ รกิ ารของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนบั สนนุ งบประมาณใหแ้ ก่
เครือข่ายผ้สู งู อายุ ในมติ ดิ า้ นการดแู ลและคุม้ ครองสิทธิผู้สูงอายุในชมุ ชน 12
2) จาลองโมเดลกระบวนงานการดาเนินงานของกองทุนผู้สูงอายุ ในการ
สนบั สนนุ งบประมาณใหแ้ ก่เครอื ข่ายผสู้ งู อายุ ในมิตดิ ้านการดแู ลและค้มุ ครองสิทธผิ ู้สูงอายุในชุมชน ที่
ดาเนนิ การอยู่ในปัจจบุ ัน
3) จัดเวทีประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) เพ่ือหาทางแก้หรือพัฒนาการ
ให้บริการที่สอดคล้องกับบริบทของพ้นื ที่
4) ปฏิบัติการพัฒนาโครงการในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุ
ในชมุ ชนของเครือขา่ ย ผา่ นกลไกกองทุนผู้สูงอายุ
5) สัมภาษณ์เชิงลึกโดยใช้แบบสัมภาษณ์ก่ึงโครงสร้าง กับเจ้าหน้าท่ี
ผู้บริหาร เครอื ขา่ ย ท่กี าหนดไว้
(2) การวิจัยเชงิ ปริมาณ โดยมีการกาหนดประเดน็ ในการจัดทาแบบสอบถาม ดงั นี้
1) สภาพปัญหา ความรุนแรงของผู้สูงอายุและแนวทางการป้องกันและ
แก้ไขปัญหา ในด้านการดูแลและคุ้มครองพทิ ักษ์สทิ ธผ์ิ ูส้ งู อายุในพนื้ ท่ี
2) สถานการณ์ปญั หาทเ่ี กีย่ วกบั การคุม้ ครองพิทักษ์สทิ ธิ์ผสู้ ูงอายใุ นพื้นท่ี
3) แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์
สทิ ธิผสู้ งู อายุ ใน 3 กลมุ่
4) แนวทางการพัฒนาโครงการสร้างระบบการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ์
ผสู้ ูงอายแุ กเ่ ครือขา่ ยผู้สงู อยใุ นพ้ืนที่ โดยการมสี ว่ นร่วมของหนว่ ยงานภาครัฐและภาคีเครือข่ายในพ้ืนท่ี
5) ความต้องการให้รัฐบาลกาหนดแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ไม่ให้เกิดความรนุ แรงในผสู้ ูงอายุ
การเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลดาเนินการโดยเจ้าหน้าท่ีสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8
(จงั หวัดอตุ รดติ ถ์) จานวน 5 คน ไดเ้ ก็บข้อมูลด้วยตนเองตามวิธกี ารวิจัย
การวิเคราะหข์ ้อมลู
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นการวิเคราะห์เชิงเน้ือหา (Content Analysis) เป็น
การนาข้อมูลท่ีได้จากเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพจากการจัดทาเวทีสนทนากลุ่มย่อย (Focus
Group) ทาการวิเคราะห์โดยการวิเคราะห์เชิงคุณภาพร่วมกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ และพรรณา
รายละเอียดตคี วาม
การวิเคราะห์เชิงปริมาณ เป็นการวิเคราะห์เชิงสถิติ โดยหาความถี่ของข้อมูลที่รวบรวม
ไว้ และพรรณนารายละเอยี ดตคี วาม
สำนักงำนสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์
การพฒั นากระบวนการดา้ นการให้บรกิ ารของกองทนุ ผู้สูงอายุ ในการสนับสนนุ งบประมาณให้แก่
เครอื ข่ายผู้สงู อายุ ในมติ ดิ า้ นการดแู ลและคมุ้ ครองสทิ ธผิ สู้ งู อายใุ นชมุ ชน 13
ขอบเขตเนื้อหา
1) สภาพปญั หาศึกษาสภาพปัญหาที่เกิดจากการดาเนินงานของกองทุนผู้สูงอายุ ในการ
สนับสนุนงบประมาณให้แกเ่ ครอื ขา่ ยผสู้ งู อายุ ในมิตดิ ้านการดูแลและคุ้มครองสทิ ธผิ ู้สูงอายใุ นชมุ ชน
2) กระบวนการทางานท่ีดาเนนิ การอยใู่ นปัจจุบันของกองทุนผสู้ ูงอายุ
3) กระบวนการที่จะพัฒนาข้ึนตามหลักวิชาการการพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย โดยมุ่ง
สร้างปฏิบัติการวิเคราะห์สภาพปัญหาของผู้สูงอายุในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุใน
ชมุ ชน รว่ มกับเครอื ข่ายผู้สงู อายุ และฝกึ ปฏบิ ัตเิ ขียนโครงการทีส่ อดคล้องกับสภาพปัญหา เสนอขอรับ
งบประมาณจากกองทนุ ผู้สูงอายุ
ขอบเขตประชากร/กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายประกอบไปด้วย 1) เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านกองทุนผู้สูงอายุ สานักงาน
พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดอุตรดิตถ์ 2) ผู้บริหารของสานักงานพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดอุตรดิตถ์ 3) เจ้าหน้าทีที่ปฏิบัติงานด้านผู้สูงอายุ ของเทศบาลตาบลท่า
เสา อาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ 4) แกนนาผู้สูงอายุตาบลท่าเสา อาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
5) นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ และ 6) นักวิชาการจากสานักงานส่งเสริมและ
สนบั สนุนวชิ าการ 8
3.4 การนาเสนอขอ้ มูล
การนาเสนอใช้การนาเสนอเชิงคณุ ภาพ แบง่ เน้ือหา 5 บท ประกอบไปด้วย
บทท่ี 1 บทนา
บทที่ 2 แนวคดิ และเอกสารงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
บทที่ 3 ระเบียบวิธวี จิ ยั
บทท่ี 4 ผลการศึกษา
บทท่ี 5 สรปุ ผลการศกึ ษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
3.5 ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา
ดำเนนิ กำรในช่วงเดือนมกรำคม ๖๓ – สิงหำคม ๖๓
สำนักงำนส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์
บทท่ี 4
ผลการศึกษา
4.1 สภาพปัญหาท่เี กิดจากการดาเนนิ งานของกองทนุ ผู้สูงอายุ ในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่
เครือข่ายผ้สู ูงอายุ ในมิติดา้ นการดแู ลและค้มุ ครองสทิ ธผิ ู้สูงอายุในชุมชน
(1) การทบทวนสภาพปัญหาจากการดาเนินงานกองทุนผู้สูงอายุ ตาบลท่าเสา อาเภอ
เมอื งอตุ รดติ ถ์ จังหวดั อุตรดติ ถ์ และการสร้างแบบจาลองโมเดลกระบวนการดาเนนิ งาน
ในการใช้เครือ่ งมอื ท่ใี ช้ในเวทีการสนทนากลมุ่ กระบวนการดา้ นการพัฒนาการให้บริการ
ของกองทุนผสู้ ูงอายุในการสนับสนนุ งบประมาณใหเ้ ครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครอง
สิทธิผู้สูงอายุในชุมชน ตาบลท่าเสา อาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ในคร้ังน้ีเป็นกระบวนการของการ
วิจัยอย่างง่ายเป็นการสร้างคุณค่างานประจาสู่งานวิจัย (Routine to Research) ได้จัดทาเครื่องมือ
ประเด็นการสนทนากลุ่มผู้มสี ่วนเกย่ี วข้อง จานวน 4 เคร่อื งมือ เพื่อจัดเก็บรวบรวมข้อมูลให้ครอบคลุม
ทุกกลุ่มเป้าหมาย และนาผลท่ีได้มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างแบบจาลองโมเดล กระบวนการ
ดาเนินงาน และเพอื่ พฒั นากระบวนการดาเนินงานของเครือข่ายผู้สูงอายุและกระบวนการดาเนินงาน
ของเจ้าหน้าที่สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด ให้มีกระบวนการและขั้นตอน
การดาเนินงานท่ีง่ายและสะดวกต่อการเข้าถึงบริการของเครือข่ายผู้จัดโครงการขอรับการสนับสนุน
โดยแบ่งประเภทเคร่อื งมอื การจัดเก็บข้อมูลเป็น 4 เครอื่ งมือ ดงั นี้
1) การจัดเก็บข้อมูลกระบวนการดาเนินงานจากเครือข่ายผู้สูงอายุที่ใช้บริการขอรับ
การสนับสนุนงบประมาณในปัจจุบันที่ทาอยู่จริง มีวิธีการจัดเก็บข้อมูล ใน 5 ประเด็น
คือ (1) กระบวนการการค้นหาข้อมูลสถานการณ์ปัญหาที่เก่ียวข้องกับผู้สูงอายุ (2) กระบวนการ
วิเคราะห์สถานการณ์และแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจริง (3) กระบวนการเขียนโครงการที่
สอดคลอ้ งกับสภาพปัญหาฯ (4) กระบวนการดาเนินงาน (ภายหลังได้รับการอนุมัติ งบประมาณ และ
(5) กระบวนการสรปุ ผลการดาเนนิ การ
การจัดเก็บข้อมูลในคร้ังน้ี ใช้วิธีการนาเสนอ และเล่าประสบการณ์ ผลการดาเนินงานที่
ผ่านมาโดย ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ ผู้แทนเครือข่ายผู้สูงอายุ
เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุเทศบาลตาบลท่าเสา และผู้ร่วมเวทีให้ข้อมูล ข้อสะท้อนจากเวที
โดยวิทยากรภาควิชาการ จากมหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ เป็นผู้ให้คาแนะนาและสร้างข้อสรุปจาก
เวที สรปุ ไดด้ งั น้ี
ก. กระบวนการการค้นหาข้อมูลสถานการณ์ปัญหาท่ีเกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ พบว่า
การดาเนินการจัดทาโครงการเพ่ือขอรับการสนับสนุนงบประมาณกองทุนฯ ได้จัดการค้นหาข้อมูล
สถานการณ์ปัญหาจากการประชุม เวทีพูดคุยและการหารือของคณะกรรมการผู้สูงอายุ จากผู้นา
ชุมชนและเครือข่ายผู้สูงอายุ โดยให้มีการสะท้อนปัญหาท่ีมีอยู่จริงและการจัดลาดับความสาคัญของ
ปัญหา ซ่ึงปัญหาท่ีพบส่วนใหญ่เป็นปัญหาเก่ียวกับความรุนแรงในครอบครัว และยังพบว่าการสร้าง
ความรนุ แรงในครอบครัวนั้นส่วนใหญเ่ กิดจากบุคคลในครอบครวั หรือบคุ คลใกล้ชิดเป็นผู้กระทาความ
สำนกั งำนส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมม่ันคงของมนษุ ย์
การพฒั นากระบวนการด้านการให้บริการของกองทุนผสู้ ูงอายุ ในการสนบั สนนุ งบประมาณใหแ้ ก่
เครอื ขา่ ยผู้สงู อายุ ในมิตดิ ้านการดแู ลและคุ้มครองสิทธผิ สู้ งู อายุในชมุ ชน 15
รุนแรงท้ังทางร่างกายและจิตใจ ปัญหาการถูกหลอกให้เสียทรัพย์สิน และปัญหาการโฆษณาชวนเชื่อ
เกินจรงิ ซง่ึ ทาใหผ้ สู้ งู อายุทอี่ ย่บู า้ นตามลาพังจะถูกล่อลวงได้ง่าย
สาเหตุของปัญหา พบว่า ผู้กระทาความรุนแรงซ่ึงเป็นสมาชิกในครอบครัวส่วนใหญ่มี
ความเครียด บางรายสติไม่สมประกอบ บางรายมีภาวะทางจิตขาดการดูแลที่ใกล้ชิดบางรายกินยาไม่
ตอ่ เนอ่ื ง ซงึ่ เปน็ สาเหตใุ นการกระทาความรนุ แรงในครอบครวั ท้ังสิ้น
แนวทางแก้ไข คือ กรณีพบปัญหาควรแก้ที่ต้นเหตุ เช่น ความรุนแรงในครอบครัวต้อง
ร่วมมือกันในชุมชนทุกฝ่าย รวมทั้งขอให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องจัดอบรมให้ความรู้และการเฝ้าระวัง
ปัญหาก่อนทจี่ ะเกดิ ขน้ึ
ข. กระบวนการวิเคราะห์สถานการณ์และแนวทางการแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นจริง
พบว่า กระบวนการดังกล่าวมีวิธีการดาเนินงานโดยผู้นาหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องพิจารณาและจัดลาดับ
ความสาคัญของปญั หา และให้ความสาคัญกับปัญหาที่เกิดข้ึนในชุมชน เพ่ือหาแนวทางการแก้ไข และ
ยังพบว่า แนวทางการขอรับการสนับสนุนกองทุน สปสช. สามารถทาได้ง่ายกว่ากองทุนผู้สูงอายุ
แต่พบปัญหาในการจัดทากิจกรรม เช่นการถูกตัดลดงบประมาณในรายการวัสดุและค่าอาหารลง
ทาใหด้ าเนินการในพ้นื ทไ่ี ด้ไมส่ ะดวกเท่าท่คี วร
สาเหตุของปัญหาทีพ่ บคือ การเขียนโครงการขาดความสมบูรณ์ ขาดความสอดคล้องกัน
ในเรอ่ื งหลกั การและเหตุผล วัตถุประสงค์ กิจกรรมและงบประมาณไมช่ ดั เจน
แนวทางแก้ไข คือ จัดให้มีการฝึกอบรมเติมเต็มความรู้และทักษะการเขียนโครงการ
ใหแ้ ก่เครอื ข่ายผสู้ ูงอายุและองคก์ รต่างๆท่ีจะขอรบั การสนับสนุนจากกองทุน
ค. กระบวนการเขียนโครงการที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาฯ พบว่า องค์กรผู้สูงอายุ
ยังมีจุดอ่อนด้านการเขียนโครงการ และขาดความสอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหาการแก้ปัญหา
ไมน่ าปญั หาทเ่ี กิดขนึ้ จริงในพนื้ ทมี่ าวเิ คราะหเ์ พ่ือแกป้ ญั หา
สาเหตุของปญั หาท่ีพบคอื ขาดทกั ษะการเขยี นโครงการทด่ี ี
แนวทางการแกไ้ ข คอื จัดใหม้ กี ารฝึกอบรม ฝึกทักษะการเขียนโครงการจากหน่วยงานที่
เก่ยี วขอ้ ง และหน่วยงานวิชาการ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่เครือข่ายผู้สูงอายุท่ีขอรับ
การบริการเงนิ กองทนุ ให้สามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารจากรัฐเพ่ือแกไ้ ขปญั หาของคนในชมุ ชนได้
ง. กระบวนการดาเนินงาน (ภายหลงั ไดร้ ับการอนมุ ัติ งบประมาณ) พบวา่ ในส่วนของ
เครอื ข่ายผูส้ ูงอายตุ าบลท่าเสา ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณจาก สป.สช.สามารถดาเนินการตามแผน
ได้ โดยจัดทารายละเอียดกจิ กรรมและการเบิกจา่ ยงบประมาณท่สี อดคล้องกบั การได้งบประมาณ
ค. กระบวนการสรุปผลการดาเนินการ พบว่า ในเวทีได้จัดทาสรุปผลการดาเนินงาน
โดยการจดบันทึกผลการดาเนินงานตลอดช่วงกจิ กรรม
สำนักงำนส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์
การพัฒนากระบวนการด้านการใหบ้ รกิ ารของกองทนุ ผู้สูงอายุ ในการสนบั สนุนงบประมาณใหแ้ ก่
เครือขา่ ยผูส้ ูงอายุ ในมติ ดิ า้ นการดแู ลและคุ้มครองสทิ ธผิ ู้สูงอายใุ นชมุ ชน 16
2) การจัดเก็บข้อมูล กระบวนการท่ีกองทุนดาเนินการอยู่จริงในการสนับสนุน
โครงการ และปัญหาที่เกิดขึ้นในการเขียนโครงการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากแหล่งทุน
สานกั งานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั อุตรดติ ถ์ (พมจ.อตุ รดิตถ์)
ก. การเสนอขอรับสนบั สนนุ งบประมาณจากชมรม/องคก์ ร
ประเด็นที่พบคือ โครงการที่ พมจ.ได้รับและพิจารณาเบื้องต้นแล้วเห็นควรปรับปรุง
แก้ไขเพิม่ เตมิ และส่งกลับให้ชมรม/องค์กร ทาการพัฒนาแก้ไขโครงการใหม่ให้สอดคล้อง ซึ่งพบว่า มี
หลายชม/องค์กร รับไปแล้วแต่ไม่ดาเนนิ การแกไ้ ขและส่งกับมายัง พมจ.เพ่ือขอรับการสนับสนุน จึงทา
ให้ไม่สามารถดาเนินการสาเร็จ และบางกรณีการจัดทาโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ไม่สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ และหลักการและเหตุผลไมช่ ัดเจน
ข. สภาพปญั หาท่ีเกดิ ข้นึ ในการเขยี นโครงการขอรับการสนับสนุนงบประมาณฯ จาก
แหลง่ ทนุ มี 3 ประเดน็ หลกั ดงั นี้
(1) ชมรม/องค์กร เสนอผ่าน พมจ. จากการตรวจสอบ/วิเคราะห์/สกัดข้อมูล มีวิธีการ
ดาเนินงานโดย พมจ.โดยเจ้าหน้าท่ีกองทุน ทาการตรวจสอบข้อมูลในเบ้ืองต้น เพื่อส่งต่อกองทุน
ส่วนกลางและหากพบข้อบกพร่องส่งกลับไปยังผู้เขียนโครงการเพื่อปรับปรุงแก้ไข ให้อยู่ภายใต้
กฎเกณฑท์ ี่กาหนด ปญั หาท่พี บส่วนใหญป่ ระกอบดว้ ย
- โครงการขาดความสอดคลอ้ งและขาดหลักการและเหตุผลวัตถุประสงค์ไม่
ชดั เจน จึงสง่ กลับให้องคก์ รเครอื ข่ายปรับปรงุ แก้ไข
- องค์กรบางแห่งรับไปปรับแก้แล้วไม่ส่งโครงการที่แก้ไขกลับมายัง พมจ.
เพอ่ื ดาเนินการต่อ
สาเหตุของปัญหา คือ องค์กรบางแห่งขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และรวบรัด
ข้นั ตอนในบางกจิ กรรมทาให้ขาดความชัดเจน แนวทางการแก้ไข คือ เติมเต็มความรู้ ทักษะการเขียน
โครงการที่ถูกต้องให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และผลของโครงการสามารถแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นใน
ชุมชนได้ รวมทั้งเผยแพร่หลักเกณฑ์ที่ถูกต้องให้กับเครือข่าย ในการทาโครงการ เช่นผู้ร่วมกิจกรรม
ตอ้ งเปน็ ผสู้ ูงอายุ อยา่ งน้อยร้อยละ 80
(2) พมจ. ตรวจสอบ/วเิ คราะห์/สกัดข้อมูล โดยเจา้ หน้าท่ีกองทุนฯ ทาการตรวจสอบ
ข้อมลู ในเบ้อื งตน้ เพอ่ื สง่ ตอ่ กองทนุ สว่ นกลางและหากพบขอ้ บกพร่องส่งกลับไปยังผู้เขียนโครงการเพ่ือ
ปรับปรุงแก้ไข ให้อยภู่ ายใตก้ ฎเกณฑ์ทก่ี าหนด ปญั หาที่พบในข้ันตอนนี้ คอื
- โครงการที่ขาดความสอดคล้องและขาดหลักการวัตถุประสงค์ ส่งกลับให้
องค์กรเครือขา่ ยปรับปรุงแก้ไข
- องค์กรบางแห่งรับไปปรับแก้แล้วไม่ส่งโครงการที่แก้ไขกลับมายัง พมจ.
เพอ่ื ดาเนินการต่อ
สาเหตุของปัญหา คือ องค์กรบางแห่งขาดความรู้เข้าเข้าใจที่ถูกต้อง และรวบรัด
ขนั้ ตอนในบางกจิ กรรมทาใหข้ าดความชดั เจน
แนวทางแก้ไขในข้ันตอนน้ี คือ พมจ. ต้องเผยแพร่หลักเกณฑ์ท่ีถูกต้องให้กับ
เครอื ข่าย ในการทาโครงการ เช่น ผรู้ ว่ มกจิ กรรมต้องเปน็ ผสู้ ูงอายุ อยา่ งน้อยร้อยละ 80 เปน็ ต้น
สำนกั งำนสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมม่นั คงของมนษุ ย์
การพฒั นากระบวนการด้านการใหบ้ ริการของกองทนุ ผู้สูงอายุ ในการสนับสนนุ งบประมาณให้แก่
เครือขา่ ยผูส้ ูงอายุ ในมิตดิ า้ นการดแู ลและคมุ้ ครองสิทธผิ ู้สงู อายใุ นชมุ ชน 17
(3) ส่วนกลางตรวจสอบ วิเคราะห์ สกัดข้อมูล วิธีดาเนินการจริง คือ ส่วนกลางทา
การตรวจสอบก่อนเสนอคณะคณะกรรมการ เพ่ือพิจารณาอนุมัติ หากโครงการไม่ชัดเจนจะส่งกลับ
มายงั พมจ. เพ่อื ใหอ้ งคก์ รผูส้ ูงอายุปรบั ปรุงแก้ไขโครงการแล้วเสนอเขา้ ไปใหม่
(4) เสนออนุกรรมการพิจารณาเห็นชอบ แนวทางปฏิบัติคือ โครงการที่เสนอขอที่
ผ่านการตรวจสอบจากจังหวัดแลว้ สว่ นใหญ่ ร้อยละ 98 ได้รบั การอนุมตั ิจากคณะกรรมการส่วนกลาง
(3) สภาพปัญหาด้านการรับรู้/เข้าใจในเร่ืองของการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ
ผู้สงู อายุในระดบั พ้ืนที่
สภาพปัญหาท่ีเกิดขึ้นในการเขียนโครงการ ความเข้าใจในความหมายของการดูแลและ
คุม้ ครองพิทักษ์สทิ ธผิ ้สู ูงอายุ (ของทงั้ ผใู้ หบ้ ริการและผู้ใชบ้ รกิ าร)
ข้อมูลท่ีได้รับจากเวทีประชุม คือ ผู้สูงอายุและคนในครอบครัว ยังขาดการรับรู้ในเรื่อง
การดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุท่ี รวมท้ังผู้สูงอายุและคนในชุมชนยังไม่เข้าใจเรื่องการดูแลและ
คมุ้ ครองสทิ ธิผู้สงู อายุ แนวทางการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น สาเหตุเกิดจาก คนส่วนใหญ่เข้าไม่ถึงสิทธ์ิและ
ขาดการรบั ร้ขู ่าวสารในเรอ่ื งสิทธผิ ้สู งู อายุ
ข้อสะท้อนจากเวที คือ การหาแนวทางการแก้ไข โดยการจัดให้มีการประชุม อบรมให้
ความรู้ แกผ่ ู้สงู อายุและผเู้ กย่ี วขอ้ ง เพื่อสรา้ งการรับรู้ถึงสิทธิสวัสดิการต่างๆตามกฎหมาย เพื่อป้องกัน
และแก้ไขปัญหาดังกล่าวของชุมชน โดยกาหนดให้มีเวทีอบรมให้ความรู้ในด้านการดูแล คุ้มครอง
พิทกั ษส์ ิทธิผู้สงู อายุ เนอ่ื งจากในพ้ืนทม่ี ีประเด็นความรุนแรงในผู้สูงอายุและครอบครัว เพ่ือสร้างความ
ตระหนักใหแ้ ก่คนในครอบครัวและชุมชนในการป้องกันปัญหาความรุนแรงในระยะต่อไป และจัดให้มี
การฝึกอบรมการเขียนโครงการ เพ่อื เพิ่มทักษะการเขียนโครงการเสนอขอกองทนุ ผู้สูงอายุ ดงั ตาราง
สำนักงำนส่งเสริมและสนบั สนุนวิชำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์
การพัฒนากระบวนก
เครื่องมือที่ 1 ตารางการจัดเกบ็ ข้อมูลกระบวนการที่เครือขา่ ยดาเนินการขอรับก
ที่ ประเด็นทต่ี ้องการ กระบวนการ/ประเดน็ วิธกี ารที่ดาเนนิ การจ
1) กระบวนการการคน้ หาข้อมลู ในพน้ื ที่
(1) (1) มิติของเครอื ขา่ ย สถานการณ์ปัญหาท่ีเก่ยี วข้องกบั
ผู้สงู อายุ (ผใู้ ช้บริการ) ผสู้ ูงอายุ - ค้นหาจากเวทจี ัด
1) กระบวนการท่ี ประชุม หารือ
เครอื ข่ายดาเนนิ การ 2) กระบวนการวเิ คราะห์ คณะกรรมการและผู้น
ขอรับการสนบั สนุน สถานการณ์และแนวทางการแก้ไข ชุมชนและเครือข่าย
งบประมาณในปัจจุบัน ปญั หาทเี่ กดิ ขึน้ จรงิ ผสู้ ูงอายุ
(ท่ที าอย่จู ริง) - ตัวผ้สู งู อายสุ ะท้อน
- แนวของกองทุน ปัญหาของตนเองจาก
ผ้สู งู อายุ การประชุม
- แนวของ สป.สช. - จากการบอกกล่าว
- แนวของสภาองค์กร ข่าวสารจากผู้นาหรือ
ชมุ ชน ผดู้ แู ลผู้สูงอายุ
2) สภาพปัญหาท่ีเกดิ ขน้ึ
ในการเขยี นโครงการ - ผู้นาหรอื ผมู้ สี ว่ น
ขอรับการสนบั สนนุ เกยี่ วขอ้ งมกี ารเรยี งลา
งบประมาณฯ จากแหลง่ ความสาคญั ของปัญหา
ทุน เกิดข้ึนในชมุ ชน และ
วเิ คราะหป์ ัญหาท่ีเกิดข
การดา้ นการใหบ้ รกิ ารของกองทนุ ผู้สูงอายุ ในการสนับสนุนงบประมาณใหแ้ ก่
เครือข่ายผสู้ งู อายุ ในมติ ดิ า้ นการดแู ลและคุ้มครองสิทธผิ ้สู งู อายใุ นชมุ ชน 18
การสนบั สนุนงบประมาณของเครือขา่ ยผูส้ งู อายุในปัจจุบนั (ท่ีทาอยู่จริง)
จริง สภาพปัญหาที่พบ สาเหตุ แนวทางแกไ้ ข สิ่งที่คาดหวัง
ในแตล่ ะขั้นตอน ไมม่ ี ไมม่ ี
ไมม่ ี
นา
- สภาพปัญหาดา้ น - เครอื ขา่ ยยงั ขาด - เพ่ิมเตมิ องค์
าดับ การดูแลและคมุ้ ครอง ความเข้าใจใน ความรดู้ า้ นการดูแล
าท่ี สทิ ธิผ้สู ูงอายยุ ังไม่ได้ ประเดน็ ด้านการดูแล และค้มุ ครองพิทักษ์
ยกข้นึ มาวิเคราะห์ และคุ้มครองพิทักษ์ สทิ ธิ์ผู้สูงอายุ
ข้ึน อยา่ งจรงิ จงั สิทธิผสู้ งู อายุ - จัดทาแผน่ พับการ
ใหค้ วามร้อู ย่างงา่ ย
สำนกั งำนส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมมน่ั คงของมนุษย์
การพัฒนากระบวนก
ท่ี ประเดน็ ที่ต้องการ กระบวนการ/ประเด็น วิธีการทดี่ าเนินการจ
ในพ้ืนที่
3) กระบวนการเขียนโครงการท่ี - ใช้วธิ ีการเขยี นโครงก
สอดคล้องกบั สภาพปัญหาฯ ทีเ่ ครอื ข่ายเคยร่วมจัดท
เชน่ จากแนวทางการ
ขอรบั งบประมาณจาก
กองทนุ สปสช.
4) กระบวนการดาเนินงาน - สามารถดาเนินการต
(ภายหลงั ไดร้ บั การอนมุ ตั ิ แผนงานกจิ กรรมที่
งบประมาณ) กาหนดไว้ ตามแนวทา
ของแต่ละกองทุน โดย
หน่วยงานราชการใน
พน้ื ทเี่ ป็นพ่ีเลย้ี ง
5) กระบวนการสรปุ ผลการ - ใช้วิธกี ารสรปุ ตาม
ดาเนินการ แนวทางทเี่ คยสรปุ ผล
เช่น การสรปุ ผลโครงก
ที่ได้รบั จากกองทนุ
สปสช.
การดา้ นการให้บรกิ ารของกองทนุ ผสู้ ูงอายุ ในการสนบั สนนุ งบประมาณให้แก่
เครือขา่ ยผูส้ งู อายุ ในมติ ดิ า้ นการดแู ลและคมุ้ ครองสทิ ธิผ้สู งู อายุในชมุ ชน 19
จริง สภาพปัญหาที่พบ สาเหตุ แนวทางแกไ้ ข ส่งิ ที่คาดหวัง
ในแตล่ ะขน้ั ตอน
- เครือข่าย - ฝึกอบรมทักษะ
การ - การเขยี นโครงการ ผูป้ ฏิบตั งิ านในพ้นื ที่ การเขียนโครงการ
ทา ยังขาดความ ยงั ขาดทักษะการ ทีส่ อดคล้องกบั
เขียนโครงทีด่ ี สภาพปัญหา
สอดคลอ้ งกับ
ก สถานการณป์ ัญหา
การแก้ปัญหา
ตาม ไม่มี ไมม่ ี ไมม่ ี
าง
ยมี
ไม่มี ไมม่ ี ไม่มี
การ
สำนกั งำนส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมม่นั คงของมนุษย์
การพฒั นากระบวนก
เครอ่ื งมอื ท่ี 2 ตารางการจัดเก็บข้อมลู กระบวนการที่ผูใ้ หบ้ รกิ ารกองทนุ ผู้สงู อายดุ าเนิน
ที่ ประเดน็ ท่ีตอ้ งการ กระบวนการ/ประเดน็ วธิ กี ารทดี่ าเนนิ การจ
ในพ้ืนที่
(2) (2) มติ ิของผ้ใู ห้บรกิ าร (ขั้นตอนที่ดาเนนิ การในระดับ
กองทุนผู้สงู อายุ จงั หวัด) - เครือข่ายจดั ทา
1) กระบวนการที่กองทนุ 1) ชมรม/องคก์ ร เสนอผา่ น พมจ. โครงการในพน้ื ท่ี เสนอ
ดาเนินการอยู่จริงในการ ไปยัง พมจ.
สนับสนุนโครงการ
2) สภาพปัญหาท่ีเกดิ ขนึ้
ในการเขยี นโครงการ
ขอรับการสนับสนนุ
งบประมาณฯ จากแหล่ง
ทนุ
2) พมจ. ตรวจสอบ/วเิ คราะห์/ - พมจ.โดยเจ้าหน้าท่ี
สกดั ขอ้ มลู กองทุน ทาการ
ตรวจสอบข้อมูลใน
เบือ้ งต้น เพอ่ื ส่งต่อ
กองทุนสว่ นกลางและ
การดา้ นการใหบ้ รกิ ารของกองทนุ ผสู้ ูงอายุ ในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่
เครือข่ายผสู้ ูงอายุ ในมติ ดิ ้านการดแู ลและคมุ้ ครองสิทธผิ ู้สูงอายุในชมุ ชน 20
นการอยู่จริงในการสนบั สนุนโครงการ (เฉพาะในส่วนของจังหวัดทีท่ าอยจู่ ริง)
จริง สภาพปญั หาท่ีพบ สาเหตุ แนวทางแก้ไข สิ่งท่คี าดหวัง
ในแตล่ ะข้ันตอน
- เครอื ขา่ ยชมรมส่วน - เครือข่ายยงั ขาด - จดั ใหม้ ีการ
อ ใหญ่ไม่สง่ โครงการฯ ความเข้าใจใน ประชมุ พูดคุยถงึ
ขอรบั การสนับสนนุ ประเดน็ ด้านการดูแล ปัญหาอุปสรรคที่
จากกองทุน และคุม้ ครองพิทักษ์ เกดิ ข้นึ โดยอาศยั
สทิ ธิผู้สูงอายุ หนว่ ยงานทป่ี รึกษา
- เครือข่ายขาดความ ทางวิชาการรว่ ม
พยายามทจ่ี ะทาตอ่ ดว้ ย เช่น
ให้ถกู ต้อง มหาวิทยาลัย
ราชภฏั อตุ รดติ ถ์
สานักงานส่งเสริม
และสนบั สนนุ
วชิ าการ เปน็ ต้น
- โครงการขาดความ - องค์กรบางแห่งขาด - เผยแพร่
สอดคล้องและขาด ความรคู้ วามเข้าใจที่ หลักเกณฑ์ทถี่ ูกต้อง
หลกั การ ถกู ต้องในการเขยี น ให้กับเครือขา่ ย ใน
วตั ถปุ ระสงค์ โครงการ และเสนอ การทาโครงการ
- กรณโี ครงการไม่ โครงการ และรวบรดั เช่น ผู้ร่วมกจิ กรรม
สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมมัน่ คงของมนษุ ย์
การพฒั นากระบวนก
ท่ี ประเดน็ ท่ีตอ้ งการ กระบวนการ/ประเดน็ วิธกี ารที่ดาเนนิ การจ
ในพ้นื ที่
หากพบขอ้ บกพร่อง
สง่ กลับไปยังผ้เู ขียน
โครงการเพ่ือปรบั ปรุง
แก้ไข ให้อย่ภู ายใต้
กฎเกณฑท์ ่ีกาหนด
3) สว่ นกลางตรวจสอบ/วิเคราะห์/ - ส่วนกลางทาการ
สกัดข้อมลู
ตรวจสอบกอ่ นเสนอคณ
4) เสนออนุกรรมการพิจารณา คณะกรรมการ เพื่อ
เหน็ ชอบ พิจารณาอนุมัติ
- โครงการที่เสนอขอท
5) อืน่ ๆ ผา่ นการตรวจสอบจาก
จงั หวัดแล้วสว่ นใหญ่
(98%) ได้รับการอนมุ ตั
จากคณะกรรมการ
สว่ นกลาง
ไมม่ ี
การด้านการให้บรกิ ารของกองทนุ ผูส้ งู อายุ ในการสนบั สนนุ งบประมาณให้แก่
เครือขา่ ยผ้สู ูงอายุ ในมิตดิ ้านการดแู ลและคุม้ ครองสทิ ธิผสู้ ูงอายุในชมุ ชน 21
จริง สภาพปัญหาท่ีพบ สาเหตุ แนวทางแก้ไข สิง่ ท่ีคาดหวัง
ในแตล่ ะข้ันตอน ตอ้ งเป็นผสู้ งู อายุ
อย่างน้อย รอ้ ยละ
ผา่ นแลว้ ส่งกลบั ให้ ขัน้ ตอนในบาง 80 เป็นตน้
แกไ้ ข แตเ่ ครือขา่ ยไม่ กิจกรรมทาให้ขาด
แก้ไขสง่ คืน ความชัดเจน
ไมม่ ี ไม่มี ไมม่ ี
ณะ ไมม่ ี ไม่มี
ที่ ไมม่ ี ไม่มี ไม่มี
ก
ติ
ไมม่ ี
สำนกั งำนสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมม่นั คงของมนุษย์
การพัฒนากระบวนก
เครือ่ งมือที่ 3 ตารางการจดั เก็บข้อมูลปัญหาด้านการสรา้ งการรบั รู้/เขา้ ใจใ
ท่ี ประเด็นที่ต้องการ ประเดน็ สภาพปัญหาท่ีพ
(3) สภาพปัญหาท่ีเกิดขน้ึ ใน - ความเข้าใจในความหมายของ - การสอบทานความ
เรื่องการดูแลและคุ้ม
การเขียนโครงการขอรับ การดูแลและคุ้มครอง พทิ ักษ์สิทธิ สทิ ธฺ ผิ ้สู งู อายุ ในเวที
ประชุมตา่ งๆ กบั ผู้สงู
การสนับสนุนงบประมาณฯ ผู้สงู อายุ (ของท้ังผู้ใหบ้ ริการและ และคนในชมุ ชน
- ผสู้ ูงอายุและคนในช
จากแหลง่ ทุน ผใู้ ช้บรกิ าร) ยงั ไม่เข้าใจเรื่องการด
และคุม้ ครองสทิ ธิผู้ส
- ลักษณะกิจกรรมหรือโครงการท่ี - เครอื ข่ายยงั ขาดตวั
สอดคล้องกบั การดูแลและคุม้ ครอง การเขยี นโครงการที่
พทิ กั ษ์สทิ ธผิ ู้สงู อายุ เกยี่ วข้องกับการดูแล
คุ้มครอง พิทักษส์ ิทธ
ผู้สูงอายุ
การดา้ นการใหบ้ ริการของกองทนุ ผู้สงู อายุ ในการสนบั สนุนงบประมาณให้แก่
เครอื ข่ายผสู้ งู อายุ ในมิตดิ า้ นการดแู ลและค้มุ ครองสิทธผิ ู้สูงอายใุ นชมุ ชน 22
ในเรื่องของการดูแลและคุ้มครอง พิทักษ์สทิ ธิผสู้ ูงอายุในระดับพนื้ ท่ี
พบ สาเหตุ แนวทางแก้ไข สงิ่ ท่คี าดหวัง
มเขา้ ใจ - คนสว่ นใหญ่เขา้ ไม่ถงึ - จัดใหม้ ีเวทที บทวนความรู้
มครอง สทิ ธแ์ิ ละขาดการรบั รู้ เร่อื งการดูแลและคมุ้ ครอง
สิทฺธผิ ูส้ งู อายุ ในเวทีประชุม
ข่าวสารในเรอ่ื งสิทธิ ตา่ งๆ กบั ผสู้ ูงอายุและคนใน
งอายุ ผสู้ ูงอายุ ชมุ ชน
- จดั หาส่ืออยา่ งง่ายใหก้ บั
ชุมชน เครือข่ายได้เรยี นรเู้ รื่องการ
ดูแล ดูแลและคุ้มครองสิทฺธิผสู้ งู อายุ
สงู อายุ
วอย่าง - ในระดับพน้ื ทยี่ งั ไม่มี - จัดทารา่ งโครงการที่
หนว่ ยงาน หรอื องค์กรใด เกี่ยวข้องกับเรื่องการดูแลและ
ลและ เสนอโครงการท่ี คมุ้ ครองสิทฺธผิ ู้สงู อายุในชมุ ชน
ธิ เกย่ี วขอ้ ง - กาหนดประเดน็ ปัญหา และ
ยกร่าง พฒั นารว่ มกนั กับทีมที่
ปรึกษาวชิ าการ และทอ้ งถ่ิน
สำนักงำนสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์
การพฒั นากระบวนก
ท่ี ประเดน็ ที่ต้องการ ประเด็น สภาพปัญหาท่ีพ
- การวิเคราะห์สภาพปญั หาที่ - เครือขา่ ยยงั ไม่มีกา
เกิดขึ้นจรงิ ท่ีเกี่ยวกับการดแู ลและ วเิ คราะหป์ ัญหาการด
ค้มุ ครอง พิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ และคมุ้ ครอง พิทักษ
ผู้สงู อายุอย่างจริงจัง
4) อืน่ ๆ ไมม่ ี
การดา้ นการใหบ้ ริการของกองทนุ ผสู้ งู อายุ ในการสนับสนุนงบประมาณใหแ้ ก่
เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิตดิ ้านการดแู ลและคมุ้ ครองสิทธิผู้สงู อายใุ นชมุ ชน 23
พบ สาเหตุ แนวทางแกไ้ ข สิ่งที่คาดหวัง
าร - เครือขา่ ยบางคนยังคิด - จัดกระบวนการด้านการ
ดแู ล วา่ เปน็ เรื่องสิทธิส่วน ปรับมมุ มองเก่ยี วกับการดูแล
ษ์สทิ ธิ บคุ คลในเร่ืองการละเมดิ และคุม้ ครองพิทักษ์สิทธิ์
- ครอบครัวของผสู้ งู อายุ ผ้สู งู อายุ
ทถี่ ูกละเมดิ ไม่เปิดเผย - สร้างความตระหนกั ให้แก่
ขอ้ มลู เครือข่ายแวดลอ้ ม และ
ครอบครัวของผสู้ ูงอายุ
ไม่มี ไม่มี
สำนกั งำนส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนุษย์
การพัฒนากระบวนการด้านการใหบ้ รกิ ารของกองทนุ ผู้สงู อายุ ในการสนบั สนนุ งบประมาณใหแ้ ก่
เครอื ขา่ ยผสู้ ูงอายุ ในมิตดิ ้านการดแู ลและคุม้ ครองสทิ ธผิ ูส้ ูงอายุในชมุ ชน 24
4.2 การทบทวนแนวทางการดาเนินงานของเครือข่ายผู้สูงอายุตาบลท่าเสา อาเภอเมืองอุตรดิตถ์
จังหวัดอตุ รดติ ถ์ ในมติ ดิ า้ นการดแู ลและคุ้มครองสิทธิผสู้ งู อายใุ นชุมชน
จากการสรุปการถอดบทเรียน “สร้างและพัฒนาระบบดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ
ผู้สูงอายุในระดับพ้ืนที่” ตาบลท่าเสา อาเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ สานักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 8 (จังหวัดอุตรดิตถ์) ได้ดาเนินการเมื่อช่วงเดือนตุลาคม 2563 สรุปรายละเอียด
ประกอบไปดว้ ย
1) วิธีวิทยาในการถอดบทเรียน
ประเด็นการถอดบทเรียนโครงการ “สร้างและพัฒนาระบบดูแลและคุ้มครองพิทักษ์
สทิ ธผิ สู้ งู อายใุ นระดบั พืน้ ที่” ตาบลท่าเสา อาเภอเมอื งอุตรดิตถ์ จงั หวดั อุตรดิตถ์ วันพุธที่ 11 กันยายน
2562 มีจุดมุ่งหมายหลักของโครงการ “เพือ่ สรา้ งพน้ื ทตี่ น้ แบบให้มีระบบการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์
สิทธิผสู้ งู อายุ” โดยมีวตั ถปุ ระสงค์หลัก คือ การทบทวนการทางานโครงการสร้างและพัฒนาระบบดูแล
และคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุในระดับพื้นที่ ใน 3 กลุ่มได้แก่ 1) ติดสังคม 2) ติดบ้าน และ
3) ติดเตียง และถอดประเด็นรอง คือ
(ก) ผู้สูงอายุได้รับการดูแลและคุ้มครองสิทธิใน 4 มิติ 1) ด้านสุขภาพ
2) ดา้ นเศรษฐกิจ 3) ด้านสงั คม และ 4) ดา้ นสภาพแวดลอ้ มและบรกิ ารสาธารณะ
(ข) ผู้สูงอายุสามารถอย่รู ว่ มกบั ผอู้ ่ืนในสังคมและดารงชวี ิตไดอ้ ยา่ งปลอดภัย
(ค) เพ่ือให้เกิดกลไกขับเคลื่อนการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุได้
อย่างมปี ระสทิ ธภิ า
(ง) เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของพื้นที่ในการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ
ผูส้ งู อายุ
วิธีการถอดบทเรียนใช้วิธีการตั้งคาถามให้ผู้เข้าร่วมเวทีทบทวนโดยใช้วิธีการเล่าเรื่อง
(Story Telling) ถึงวธิ กี ารดาเนินการในขั้นตอนต่างๆ รวมถึงการเล่าถึงความสาเร็จในการดาเนินการ
ในกิจกรรมท่ีโดดเด่น (Best Practice) การให้เครือข่ายผู้สูงอายุสะท้อนการเข้าร่วม การสนับสนุน
บทบาทหนา้ ที่ และการนาเสนอปญั หาและอปุ สรรคในการดาเนินงาน
แนวการตั้งคาถามถอดบทเรียนโครงการ “สร้างและพัฒนาระบบดูแลและคุ้มครอง
พิทักษ์สทิ ธิผูส้ ูงอายใุ นระดบั พ้นื ที่” ตาบลท่าเสา อาเภอเมอื งอุตรดิตถ์ จงั หวดั อุตรดติ ถ์
1) ในการตั้งเป้าหมายให้เป็นพื้นท่ีต้นแบบให้มีระบบการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ
ผู้สูงอายุ ทา่ นคดิ ว่าตาบลทา่ เสาสามารถเป็นแบบอยา่ งไดห้ รอื ไม่ อย่างไร
2) อะไรทเี่ ปน็ จุดแขง็ ในการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุในระดับพ้ืนท่ีตาบลท่า
เสา ยกตวั อยา่ งกิจกรรมทโี่ ดดเด่น ใน 4 มติ ิ
3) ปัจจัยความสาเร็จในการดาเนินงานขับเคลื่อนคืออะไร (คน/เงิน/งาน/การบริหาร)
วิเคราะห์ 4 Ms
4) ในขณะเดียวกันการขับเคลื่อนมีปัญหาหรืออุปสรรคหรือไม่ อย่างไร (คน/เงิน/งาน/
การบรหิ าร) วิเคราะห์ 4 M
5) ข้อเสนอแนะในการพัฒนาดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุในระดับพื้นที่ตาบล
ทา่ เสา เพอื่ สร้างพ้ืนท่ตี ้นแบบใหม้ รี ะบบการดูแลและค้มุ ครองพทิ ักษส์ ทิ ธิผู้สงู อายุ ใน 4 ข้อ คือ
สำนักงำนสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมมั่นคงของมนษุ ย์
การพัฒนากระบวนการด้านการให้บรกิ ารของกองทนุ ผ้สู งู อายุ ในการสนับสนนุ งบประมาณใหแ้ ก่
เครอื ข่ายผู้สูงอายุ ในมิตดิ า้ นการดแู ลและค้มุ ครองสทิ ธิผสู้ งู อายุในชมุ ชน 25
(ก) ผู้สูงอายุได้รับการดูแลและคุ้มครองสิทธิใน 4 มิติ 1) ด้านสุขภาพ
2) ดา้ นเศรษฐกจิ 3) ดา้ นสงั คม และ 4) ด้านสภาพแวดล้อมและบริการสาธารณะ
(ข) ผู้สงู อายุสามารถอยู่รว่ มกบั ผู้อืน่ ในสังคมและดารงชีวิตไดอ้ ย่างปลอดภยั
(ค) เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุได้
อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
(ง) เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของพื้นที่ในการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ
ผู้สูงอายุ
2) “สร้างและพัฒนาระบบดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุในระดับพ้ืนที่”
ตาบลท่าเสา อาเภอเมอื งอตุ รดิตถ์ จังหวัดอุตรดติ ถ์
ก) การต้ังเป้าหมายให้เป็นพื้นที่ต้นแบบให้มีระบบการดูแลและคุ้มครอง
พิทกั ษ์สิทธผิ ูส้ ูงอายุ
พ้ืนที่ตาบลท่าเสา สามารถเป็นต้นแบบท่ีมีระบบการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ
ผู้สูงอายุได้เพราะมีปัจจัยหลายอย่างท่ีสามารถเป็นแบบอย่างได้ ประกอบด้วย การมีแกนนา ผู้นา
ชุมชน และคณะกรรมการที่สามารถขับเคลื่อนงานได้ ผู้นามีจิตอาสา สามารถทางานได้โดยไม่ต้องมี
การสั่งการจากหน่วยงานภาครัฐ ซ่ึงผู้นาจิตอาสาเหล่าน้ีมองเห็นถึงความสาคัญของผู้สูงอายุและ
ต้องการให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพมีการดูแลที่ดีขึ้น การมีอาสาสมัครพัฒนาสังคม (อพม.) ที่สามารถ
นาเสนอและประสานงานได้ โดยที่ อพม. เหล่าน้ีบางส่วนทาหน้าท่ีเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver)
มหี น้าทีใ่ นการดแู ลผสู้ งู อายุตดิ บ้าน ตดิ เตียง ให้มีการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพใจ เพ่ือคุณภาพชีวิตที่ดี
รวมท้ังการดาเนินกิจกรรมต่างๆของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุน้ี ได้รับความ
ร่วมมือในทุกภาคส่วน (ชุมชน ภาครัฐ เอกชน เทศบาล วัด โรงเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยว) ทาให้
สามารถขับเคล่ือนงานตามนโยบายของทุกกระทรวง โดยเฉพาะกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์ที่เป็นเจ้าภาพหลักในการดาเนินการ ส่งผลให้ประชาชนในพ้ืนที่โดยเฉพาะกลุ่ม
ผู้สงู อายุเกิดความรักสามัคคี มคี วามเออื้ อาทรซ่ึงกันและกัน มคี วามรว่ มมอื และสามารถรวมกลุ่มกันทา
กิจกรรมในตาบลได้เป็นอย่างดี จากการรวมกลุ่มทากิจกรรมส่งผลให้เกิดเวทีให้พบปะพูดคุยและ
แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ซง่ึ กนั และกัน
ข) จุดแข็งในการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุในระดับพ้ืนท่ี
ตาบลท่าเสา อาเภอเมอื งอตุ รดติ ถ์ จงั หวดั อุตรดิตถ์
จุดแข็งในการดแู ลและคุ้มครองพทิ ักษ์สทิ ธิผูส้ ูงอายุ มี 4 ด้าน ประกอบด้วย
ดา้ นสุขภาพ
ในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ จะมีเจ้าหน้าท่ีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (CG) จานวน
12 คน ซ่ึงเพียงพอ ต่อการทาหน้าท่ีในการดูแลผู้สูงอายุที่ติดบ้าน ติดเตียง ในตาบลท่าเสา ดูแลท้ัง
ทางด้านร่างกายและจิตใจ ท้ังนี้ โดยการมีส่วนร่วมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลร่วมดูแล
ผปู้ ว่ ยตดิ บา้ น ตดิ เตยี ง อยา่ งต่อเนอ่ื ง
มีการสง่ เสริมสุขภาพด้วยการอบสมุนไพร ซึ่งในพื้นท่ีตาบลท่าเสามีการประยุกต์ใช้ การ
อบสมนุ ไพรด้วยผ้ากระโจมสามารถใช้ได้ทุกครัวเรือน การสนับสนุนให้ผู้สูงอายุและประชาชนท่ัวไปมี
สำนกั งำนสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมมนั่ คงของมนุษย์
การพัฒนากระบวนการด้านการใหบ้ รกิ ารของกองทุนผสู้ งู อายุ ในการสนับสนนุ งบประมาณให้แก่
เครอื ข่ายผ้สู ูงอายุ ในมิตดิ า้ นการดแู ลและคุ้มครองสทิ ธิผู้สูงอายุในชมุ ชน 26
การออกกาลงั กายดว้ ยการราวงประยุกตร์ วมท้ังการดแู ลเรอ่ื งอาหารหลังคลอดเพ่ือเสริมสร้างน้านมแม่
อกี ด้วย
ดา้ นเศรษฐกจิ
มีการส่งเสริมอาชีพแก่ผู้สูงอายุท่ีมีศักยภาพในการทางาน เช่น การฝึกอาชีพ การทา
รองเทา้ การสานตะกร้า ทากระเปา๋ ทาอาหารไทย ขนมไทยพ้ืนบ้าน เพอื่ เสรมิ สร้างรายได้ ลดรายจ่าย
และสามารถทาให้ผสู้ ูงอายุใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชน์สูงสุด และการนาภูมิปัญญาท้องถิ่น พี่สอนน้อง
ตายายสอนลูกหลาน นามาใช้ให้เกิดอาชีพเพือ่ สร้างรายไดใ้ นชมุ ชน
ด้านสงั คม
มีกิจกรรมในชุมชนที่ต่อเน่ือง สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เช่น การฝึกอาชีพ
การออกกาลังกายร่วมกัน การทางานเพ่ือสาธารณประโยชน์ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้าง
เครอื ข่ายในการทางานได้มากขึน้
ด้านสิ่งแวดลอ้ มและสาธารณะ
รว่ มกันอนุรกั ษส์ ง่ิ แวดล้อมเช่น การห่อข้าวใส่ป่ินโตมาทานในโรงเรียนผู้สูงอายุโดยไม่ใช้
ถุงพลาสติก การนาแก้วน้ามาใช้โดยไม่ใช้แก้วพลาสติก การปลูกพืชผักปลอดสารพิษในครัวเรือนเพ่ือ
รับประทานเองและลดค่าใช้จา่ ยในครอบครัว และการทาธนาคารนา้ ด่ืม
3) ปัจจยั ความสาเรจ็ ในการดาเนินงานขบั เคลือ่ น (คน/เงิน/งาน/การบริหาร)
บุคลากร บุคลากรมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการทางานสูง การจูงใจ การ
ชักชวนให้เกิดการร่วมกิจกรรมในชุมชน การให้ความรู้และแนะนาญาติให้สามารถดูแลตนเองได้ มี
เทคนคิ ในการประสานความรว่ มมือการทางานร่วมกันจนกลายเป็นกลุ่มใหญ่ข้ึน มีการสื่อสารท่ีดี และ
เข้าใจกันระหว่างผู้รับกับผู้ให้ ผู้ให้ทาด้วยจิตอาสา มีความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน ผู้รับมีความเข้าใจ ทาให้
สามารถปฏิบตั ไิ ด้อย่างต่อเนือ่ ง
งบประมาณ ได้รับสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานท้ังภายนอกและจากชุมชน
(ชุมชนพึ่งตนเอง) เนื่องจากเป็นศูนย์ท่ีมีความเข้มแข็งและเป็นแบบอย่างที่ดีจึงมีหน่วยงานภายนอก
เข้ามาหนุนเสริมในการทากิจกรรมต่างๆ ในชุมชน เช่น การฝึกอาชีพสานตะกร้า การทารองเท้า
สามารถนามาเป็นรายได้เสริม เป็นการสร้างรายได้ให้แก่ครอบครัว รวมทั้งมีหน่วยงานให้การ
สนับสนนุ อย่างตอ่ เนอื่ ง
งาน/กิจกรรม มกี ิจกรรมในชุมชนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เป็นการสร้างอาชีพให้กับผู้สูงอายุมีงาน
ทา สามารถต่อยอดและสรา้ งรายไดใ้ ห้ครอบครวั
การบริหาร มีการบริหารจัดการและการจัดกิจกรรมอย่างเป็นระบบ มีคณะกรรมการ
ทางานท่ีชัดเจน ผู้นาเข้มแข็ง สามารถขับเคล่ือนงานผู้สูงอายุในพ้ืนที่ได้ มีการจัดกิจกรรมท่ีเหมาะสม
กับภารกิจ บรบิ ทพืน้ ท่ี การสรา้ งเครือข่ายในการขับเคล่ือนงานแบบมีสว่ นร่วมจากทุกภาคส่วน
3) กิจกรรมท่ีโดดเด่น (Best Practice) ในระบบดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ
ผูส้ งู อายุในระดับพนื้ ที่” ตาบลท่าเสา อาเภอเมอื งอุตรดิตถ์ จงั หวัดอุตรดิตถ์
กิจกรรมท่มี คี วามโดดเด่น (Best Practice) ทดี่ าเนนิ การภายใต้การขับเคลื่อนงานระบบ
ดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุในระดับพื้นท่ี” ตาบลท่าเสา อาเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัด
สำนักงำนส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนุษย์
การพัฒนากระบวนการด้านการให้บรกิ ารของกองทุนผู้สงู อายุ ในการสนับสนุนงบประมาณใหแ้ ก่
เครอื ข่ายผสู้ ูงอายุ ในมติ ดิ า้ นการดแู ลและคมุ้ ครองสทิ ธผิ ้สู ูงอายุในชมุ ชน 27
อุตรดิตถ์ เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรม โดยกิจกรรมท่ีโดดเด่นของ
ตาบลทา่ เสาคือ กจิ กรรมดแู ลผ้สู งู อายุแบบครบวงจร (Care Giver)
กิจกรรมดูแลผูส้ ูงอายุแบบครบวงจร โดยมีเจ้าหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) ซึ่งเป็น
กิจกรรมทป่ี ระสานการทางานรว่ มกันกับโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลท่าเสา โดยผู้ดูแลผู้สูงอายุนี้
จะมีความรู้พื้นฐานในการดูแลผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ดูแลกิจวัตรประจาวันของผู้สูงอายุ เช่น การ
รับประทานอาหาร การนอนหลับพักผ่อน การเคลื่อนย้าย การขับถ่าย ให้ถูกสุขลักษณะปลอดภัย
เหมาะสมกับวัยของผู้สูงอายุ Care Giver มีบทบาทเพ่ิมขึ้นเร่ือยๆ ตามความชราภาพของผู้สูงวัย
ผู้ดูแลสุขภาพมีความรู้ความเข้าใจ รู้จักประมาณจะช่วยให้ผู้สูงอายุปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตได้อย่าง
เหมาะสม โดยมีการเช่ือมโยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลร่วมกันในการดูแลด้านสุขภาพของ
ผูส้ ูงอายุในพื้นท่ีตาบลท่าเสา โดยเนน้ ผ้สู งู อายุท่ตี ดิ บ้าน ติดเตยี ง เพ่ือให้มคี ณุ ภาพชวี ิตความเป็นอยู่ที่ดี
ข้นึ สามารถพ่ึงพาตนเองและอยรู่ ว่ มกบั ครอบครวั ชมุ ชน ไดอ้ ย่างปกตสิ ุข
นอกจากนนั้ ยังมกี จิ กรรมทีด่ าเนนิ การคขู่ นานกัน ประกอบด้วยหลายกจิ กรรม เช่น
- การอบสมุนไพรด้วยกระโจม การอบสมุนไพรเป็นภูมิปัญญาไทยต้ังแต่
สมัยโบราณ เป็นการอบสมุนไพรเพ่ือการรักษาโรค หรือการอบสมุนไพรเพ่ือสุขภาพและความงาม
เป็นการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีมีการอนุรักษ์สู่คนรุ่นหลัง ซึ่งในตาบลท่าเสาจะใช้สมุนไพรท่ีปลูกไว้ใน
ครัวเรือนมาใช้ประโยชน์ เป็นการสนับสนุนผู้สูงอายุท่ีอยู่ติดบ้าน และผู้สูงอายุท่ีมีภาระเล้ียงดูบุตร
หลานได้สามารถสร้างรายได้ให้แก่ตนเองและชุมชน มีกลุ่มคนให้ความสนใจท้ังในและนอกชุมชนใน
การนาสมุนไพรมาใช้ประโยชนใ์ นการรกั ษาคนในชุมชน
- การใช้โรงเรียนเป็นพน้ื ฐาน ซ่ึงโรงเรียนเป็นส่วนสาคัญในการปลูกฝังเด็ก
ใหเ้ ดก็ นกั เรียน ผู้ปกครอง ผสู้ ูงอายุ ไดท้ ากิจกรรมรว่ มกนั ทาให้มกี ารส่ือสาร สร้างการรับรู้ ปรับความ
เขา้ ใจ แสดงความคิดเห็นระหว่างบคุ คล ในระหว่างคน 3 วัย เช่น การรับประทานอาหารร่วมกัน การ
ออกกาลังกายรว่ มกัน การเข้าวัดฟังธรรม เป็นการสานสัมพันธ์กันระหว่างคนในครอบครัวท่ีดี เป็นอีก
วิธีท่ีส่งผลให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและใจท่ีแข็งแรง มารถดูแลบุตรหลานได้ ลดปัญหาที่จะเกิดข้ึนใน
ชุมชน เป็นการส่งเสรมิ และเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุในการถ่ายทอดภูมิปัญญา ความรู้และประสบการณ์
ส่ลู ูกหลานและคนในชมุ ชนอกี ทางหนง่ึ
- กิจกรรมฝึกอาชีพ ผู้สูงอายุตาบลท่าเสามีความสนใจในการรวมกลุ่มฝึก
อาชีพ เพื่อให้เกิดอาชีพ สร้างรายได้ ลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว เช่น การสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก
การทารองเท้า การพับเหรียญโปรยทาน เป็นการเสริมสร้างรายได้ และทาให้ผู้สูงอายุผ่อนคลาย ไม่
เหงา ไมเ่ กิดโรคซึมเศร้าในผู้สงู อายุ และยงั สามารถตอ่ ยอด สร้างรายได้ใหค้ รอบครวั อีกด้วย
- โครงการเศรษฐกจิ พอเพียง เน้นให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมโดยภูมิปัญญาของ
ผู้สูงอายุ สร้างกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมอาชีพในชุมชน การรวมกลุ่ม จิตอาสา เพื่อเป็นศูนย์การ
เรียนรู้ในชุมชน มีการปลูกผลิตผลทางการเกษตร โดยเน้นการใช้น้า หมักชีวภาพ งดใช้สารเคมี
แนวคิดในการทาธนาคารน้า ดัดแปลงวัสดุท่ีมีอยู่ในชุมชนมาเป็นราวจับในห้องน้าให้กับผู้สูงอายุ
โดยใช้วัสดุท่ีมีอยู่ หาง่ายในชุมชนมาดัดแปลง ลดค่าใช้จ่าย รวมทั้งกิจกรรมต่างๆท่ีเหมาะสมกับ
ผสู้ งู อายทุ ่ีได้รวมกลมุ่ ทากจิ กรรมร่วมกนั ในชมุ ชน
สำนักงำนส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมม่ันคงของมนษุ ย์
การพัฒนากระบวนการดา้ นการให้บรกิ ารของกองทนุ ผ้สู งู อายุ ในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่
เครอื ข่ายผสู้ งู อายุ ในมิตดิ ้านการดแู ลและคมุ้ ครองสทิ ธผิ สู้ งู อายุในชมุ ชน 28
4) บทเรยี น/ส่ิงท่ไี ดเ้ รียนรู้จากกระบวนการทางาน
ก. การมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุในชุมชนท่ีเสริมด้านต้นทุนทางสังคมกับ
ผู้สูงอายุข้าราชการบานาญที่เสริมด้านองค์ความรู้ด้านการบริหารงาน เป็นผู้นาท่ีสามารถเชื่อมการ
บริหารกจิ กรรมตา่ งๆของเครือข่ายได้
ข. มีการประสานเครือข่ายที่เก่ียวข้องเข้าร่วมในการขับเคลื่อนงาน เช่น
สภาเด็ก กลุ่มผู้พิการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล สภาองค์กรชุมชน ฯลฯ เข้าร่วมการ
ขับเคลือ่ นงาน
ค. การบูรณาการความร่วมกับเครือข่ายโดยใช้หลัก “บวร” ร่วมกับ
ท้องท่ี ท้องถนิ่ จิตอาสา มคี วามสาคญั ในการขับเคล่ือนงาน เพอื่ ให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างต่อเน่ือง
และมปี ระสิทธิภาพ
ง. ขับเคลื่อนและพัฒนาจากทุนเดิมโดยใช้ อสม. Care Giver และ
เครอื ขา่ ยทเ่ี ก่ยี วข้อง ในการขับเคลอื่ น
5) ข้อค้นพบจากการถอดบทเรียน “สร้างและพัฒนาระบบดูแลและคุ้มครองพิทักษ์
สิทธผิ ู้สงู อายุในระดับพ้ืนท่ี” ตาบลทา่ เสา อาเภอเมอื งอุตรดิตถ์ จงั หวดั อตุ รดติ ถ์
ก. การจัดสวัสดิการผู้สูงอายุให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและสิทธ์ิของ
ผู้สูงอายุท่ีพึงจะได้รับตามกฎหมาย แต่ยังมีระบบข้าราชการบานาญท่ียังไม่ได้รับการให้บริการบาง
เรื่อง (การเข้าสรู่ ะบบการให้บริการของ CG.)
ข. การจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพด้านอาชีพในรูปแบบการรวมกลุ่ม
นอกเหนือจากการทาให้ผู้สูงอายุมีอาชีพและรายได้เพิ่มขึ้นแล้ว ยังทาให้มีการส่ือสารสร้างการรับรู้
ปรับความเข้าใจ แสดงความคิดเห็นระหว่างบุคคลและกลุ่มทาให้ความสัมพันธ์ไปในทิศทางบวก ใน
ระหว่างคน 3 วยั รวมถงึ สง่ ผลในการทาให้สภาพจิตใจดีขึน้
ค. การรวมกลุ่มในลักษณะ Day Care สามารถทาให้ลดปัญหาผู้สูงอายุถูก
ละเมิดสิทธใิ์ นประเด็นต่างๆได้
ง. กิจกรรมที่ดาเนินการใน ศพอส. ท่ีสามารถดาเนินการได้อย่างต่อเนื่อง
และสร้างการมีสว่ นร่วมได้อย่างมาก เนอ่ื งจากเนน้ กิจกรรมท่ีสามารถเช่ือมโยงให้ทุกกลุ่มเป้าหมายเข้า
รว่ มกจิ กรรมได้
จ. แกนนา เครือข่าย ทสี่ วมหมวกหลายใบ (ขับเคลอื่ นภารกจิ ทหี่ ลากหลาย)
สามารถเชอ่ื มโยงกจิ กรรมของเครือขา่ ยชุมชนได้เป็นอยา่ งดี
ฉ. สมาชิกที่เป็นข้าราชการบานาญสามารถเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับ
เครือข่ายในการดาเนินงานสร้างและพัฒนาระบบดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุในระดับพื้นที่
ค่ขู นานไปกับสมาชกิ ทเ่ี ป็นปราชญ์ชมุ ชน
ช. บางกิจกรรมไม่จาเป็นต้องมีงบประมาณก็สามารถดาเนินการได้ โดย
บูรณาการกับทุนทางสังคมในพ้ืนที่ เช่น การเข้าวัดฟังธรรม การทาบุญตักบาตรในวันสาคัญทาง
พระพุทธศาสนา ประเพณีตา่ งๆ การสนทนาธรรมกับผนู้ าทางศาสนา
สำนกั งำนสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์
การพฒั นากระบวนการดา้ นการใหบ้ รกิ ารของกองทนุ ผู้สงู อายุ ในการสนบั สนุนงบประมาณใหแ้ ก่
เครือขา่ ยผ้สู ูงอายุ ในมิตดิ ้านการดแู ลและคมุ้ ครองสิทธผิ ู้สูงอายุในชมุ ชน 29
6) ปัญหา อุปสรรค ในการ“สร้างและพัฒนาระบบดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ
ผู้สูงอายุในระดับพ้ืนที่”ตาบลทา่ เสา อาเภอเมืองอุตรดติ ถ์ จังหวัดอตุ รดติ ถ์
ก. การรวมกลุ่มของผู้สูงอายุยังไม่ครอบคลุม ผู้สูงอายุที่มีอายุมากไม่
สามารถเขา้ ร่วมกิจกรรมได้ เนื่องจากการเดินทางไม่สะดวก มีภาระเล้ียงดูบุตรหลาน บางกลุ่มมีความ
คดิ เหน็ ทต่ี า่ งกนั ไม่เปดิ ใจยอมรับในการเขา้ ร่วมกิจกรรมในชุมชน
ข. งบประมาณในการจัดกิจกรรมส่วนใหญ่มาจากภาครัฐ จึงควรจัดสรร
งบประมาณเพื่อสนับสนุนโครงการ/กิจกรรมให้กับผู้สูงอายุมีกิจกรรมทาอย่างต่อเนื่อง เพ่ือท่ีจะ
สามารถนาไปตอ่ ยอดในการดาเนินชวี ติ ต่อไปได้
7) ปจั จัยความสาเรจ็
ก. มีกระบวนการจิตอาสาเป็นกลไกในการสร้างและพัฒนาระบบดูแลและ
คมุ้ ครองพทิ ักษ์สทิ ธิผู้สูงอายุ
ข. มีบุคลากร/ผู้สูงอายุที่มีองค์ความรู้ เป็นผู้เสียสละ สามารถเช่ือมโยง
เครือขา่ ยท่ีเกี่ยวข้องในการขับเคลือ่ นงานได้
ค. ความเป็นเอกภาพในการดาเนินงาน
ง. เนน้ การประยุกต์ใช้ภูมปิ ญั ญาเขา้ มาสนบั สนุนกจิ กรรมผสู้ ูงอายุ
ฉ. มีการใช้ระบบการประสานทรัพยากรรว่ ม เช่ือมกิจกรรมต่างๆของชมุ ชน
ช. เชื่อมระบบการบริหารงานและการประสานข้อมูลกับการขับเคล่ือนของ
คณะกรรมการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตระดบั อาเภอ (พชอ.)
ซ. ใชร้ ูปแบบ “บวร” ในการขับเคลื่อน (สรา้ งเครือข่ายแนวระนาบ)
8) ข้อเสนอแนะในการพัฒนาเป็นตัวแบบ (Model) ในการขยายผลการ“สร้างและ
พัฒนาระบบดแู ลและคุม้ ครองพทิ ักษ์สิทธผิ ู้สูงอายใุ นระดับพืน้ ที่” สพู่ ื้นท่ีอ่ืน
ก. จัดสถานทส่ี าธารณะให้มีพืน้ ที่ใช้ประโยชน์ในการทากิจกรรมร่วมกันของ
ชุมชน เช่น ศูนย์เรียนรู้ในชุมชน ลานชุมชน ลานวัฒนะธรรม สถานท่ีออกกาลังกายด้วยภูมิปัญญา
เช่น การบริหารเท้าด้วยกะลามะพร้าวหรือก้อนกรวด เป็นการชักจูงให้ผู้สูงอายุร่วมกิจกรรมและเข้า
สังคม
ข. ทาการสารวจการละเมิดสิทธิ์ผู้สูงอายุที่ถูกละเมิดสิทธิในด้านต่างๆเพ่ือ
หาวธิ ีปอ้ งกันและแก้ไข
ค. เน้นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรักตัวเอง มีความสามารถในการ
ชว่ ยเหลือตนเองเบอ้ื งตน้ โดยมีการอบรมทักษะการดูแลตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน
ง. สง่ เสริมให้ผู้สงู อายุในชมุ ชนมอี าชีพ/กจิ กรรมทาอยา่ งสมา่ เสมอ
จ. เน้นบูรณาการความร่วมมือทุกหน่วยงาน สร้างเครือข่ายในชุมชนอย่าง
ทวั่ ถงึ
ฉ. ให้ความรู้ สิทธิ กฎหมายต่างๆท่ีเก่ียวข้องกับผู้สูงอายุ เพ่ือให้ผู้สูงอายุมี
ความรคู้ วามเขา้ ใจและสามารถรกั ษาสทิ ธิของตนเองและชมุ ชนได้
ช. สนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตท่ีดี โดยปรับปรุงส่ิงก่อสร้างท้ังใน
บ้านและนอกบา้ นให้เอ้ือต่อการใชช้ วี ติ ประจาวัน
สำนักงำนส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมม่นั คงของมนษุ ย์
การพฒั นากระบวนการด้านการให้บริการของกองทุนผสู้ งู อายุ ในการสนบั สนุนงบประมาณใหแ้ ก่
เครอื ขา่ ยผู้สูงอายุ ในมิตดิ า้ นการดแู ลและคุ้มครองสิทธผิ ู้สูงอายุในชมุ ชน 30
ซ. จัดระบบบริการสาธารณสุขท่ีเหมาะสมกับการให้บริการผู้สูงอายุ
ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้สูงอายมุ หี ลักประกนั รายได้ท่ีมั่นคงและยง่ั ยืน
ฌ. จัดให้มีแนวทาง วิธีการในการเฝ้าระวังปัญหาผู้สูงอายุที่อาจถูกละเมิด
สทิ ธ์ิ
4.3 การพัฒนาหรือปรับปรุงแนวทางการให้บริการของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนุน
งบประมาณใหแ้ ก่เครอื ขา่ ยผู้สูงอายุ ในมติ ิด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธผิ ู้สงู อายุในชมุ ชน
การพัฒนาหรือปรับปรุงแนวทางการให้บริการของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนุน
งบประมาณให้แกเ่ ครือข่ายผู้สูงอายุ ในมติ ิดา้ นการดแู ลและคมุ้ ครองสทิ ธผิ สู้ ูงอายใุ นชมุ ชน
ผูศ้ ึกษาได้จัดทาการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือการพัฒนาหรือปรับปรุง
แนวทางการให้บริการของกองทนุ ผสู้ งู อายุ ในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติ
ดา้ นการดูแลและคมุ้ ครองสทิ ธผิ สู้ งู อายุในชุมชน สามารถสรปุ ได้ใน 6 ประเดน็ ประกอบไปดว้ ย
1) การเชื่อมหรือสังเคราะห์งานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการจัดทา
โครงการหรือกจิ กรรมท่เี ก่ียวขอ้ งกับการดแู ลและค้มุ ครองสทิ ธิผู้สูงอายใุ นชุมชน
ก. การสรุปงานวิจัยเรื่อง “การป้องกันความรุนแรงและการละเมิดสิทธิต่อ
ผู้สูงอายุไทย” ท่ีทาการศึกษาโดย รศ.ดร.จิราพร เกศพิชยวัฒนา คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั
ภาพที่ 1 แสดงการสรุปงานวจิ ัยเรื่อง “การป้องกนั ความรนุ แรงและการละเมิดสิทธติ ่อผ้สู ูงอายุไทย”
ในรูปแบบ Info Graphic
สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมม่นั คงของมนษุ ย์
การพัฒนากระบวนการดา้ นการใหบ้ ริการของกองทนุ ผสู้ ูงอายุ ในการสนบั สนนุ งบประมาณใหแ้ ก่
เครือขา่ ยผู้สงู อายุ ในมติ ดิ ้านการดแู ลและคุ้มครองสทิ ธิผู้สูงอายใุ นชมุ ชน 31
ข. การสรุปงานวจิ ัยเรอ่ื ง “การพฒั นาผสู้ ูงอายใุ นภาวะพฤฒพลังใหเ้ กิดการ
ยังประโยชน์เพ่อื สังคม” ทท่ี าการศึกษาโดยสานักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 1 – 12 กระทรวง
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ภาพท่ี 2 แสดงการสรปุ งานวิจัยเรือ่ ง “การพฒั นาผู้สูงอายใุ นภาวะพฤฒพลังให้เกิดการ
ยงั ประโยชนเ์ พอื่ สงั คม” ในรูปแบบ Info Graphic
สำนกั งำนสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมมัน่ คงของมนษุ ย์
การพฒั นากระบวนการด้านการให้บรกิ ารของกองทุนผสู้ งู อายุ ในการสนบั สนนุ งบประมาณให้แก่
เครือข่ายผ้สู ูงอายุ ในมิตดิ ้านการดแู ลและคุ้มครองสทิ ธิผู้สงู อายใุ นชมุ ชน 32
ค. การสรปุ งานวิจัยเร่ือง “การจดั สวัสดิการสาหรับผู้สูงอายุที่มีภาระเลี้ยงดู
บุตรหลาน” ท่ีทาการศึกษาโดยสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 (จังหวัดอุตรดิตถ์)
กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์
ภาพที่ 3 แสดงการสรุปงานวจิ ยั เรอื่ ง “การจัดสวสั ดกิ ารสาหรบั ผู้สงู อายุทมี่ ภี าระเลยี้ งดบู ุตรหลาน”
ในรูปแบบ Info Graphic
2) การสรุปประเด็นท่ีได้เก็บรวบรวมข้อมูลมาเป็นแนวทางในการจัดทาโครงการใน
รูปแบบ Info Graphic โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ประกอบไปด้วย (1) กลุ่มองค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ิน (2) กลุ่มครอบครัวผู้สูงอายุ และ (3) กลุ่มผู้สูงอายุ และแบ่งหรือจัดกลุ่มผู้สูงอายุเป็น 3
กล่มุ คือ (1) กล่มุ ตดิ บา้ น (2) กลุ่มติดเตียง และ (3) กลมุ่ ติดสังคม ดงั ภาพ
สำนักงำนสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมมนั่ คงของมนุษย์
การพฒั นากระบวนการดา้ นการใหบ้ ริการของกองทุนผสู้ ูงอายุ ในการสนบั สนนุ งบประมาณให้แก่
เครอื ขา่ ยผสู้ งู อายุ ในมิตดิ ้านการดแู ลและคุ้มครองสทิ ธิผู้สูงอายใุ นชมุ ชน 33
ก. ตัวอย่างภาพ Info Graphic ระบบดูแลและคุ้มครองพิทักษ์ผู้สูงอายุใน
ระดับพ้นื ท่ี และแนวทางการจดั กิจกรรมสาหรบั กลุม่ “ตดิ บา้ น”
ภาพท่ี 4 info Graphic ระบบดูแลและคุ้มครองพิทกั ษ์ผสู้ ูงอายุในระดบั พน้ื ที่
และแนวทางการจดั กจิ กรรมสาหรับกลุ่ม “ตดิ บา้ น”
สำนกั งำนสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์
การพฒั นากระบวนการด้านการให้บรกิ ารของกองทุนผ้สู งู อายุ ในการสนับสนนุ งบประมาณให้แก่
เครือข่ายผู้สงู อายุ ในมิตดิ า้ นการดแู ลและคุ้มครองสทิ ธผิ ้สู ูงอายุในชมุ ชน 34
ข. ตัวอย่างภาพ Info Graphic ระบบดูแลและคุ้มครองพิทักษ์ผู้สูงอายุใน
ระดับพ้นื ที่ และแนวทางการจัดกจิ กรรมสาหรบั กลุม่ “ตดิ เตยี ง”
ภาพที่ 5 info Graphic ระบบดแู ลและคุ้มครองพิทักษ์ผูส้ ูงอายุในระดบั พื้นท่ี
และแนวทางการจดั กจิ กรรมสาหรบั กลมุ่ “ตดิ เตยี ง”
สำนักงำนสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์
การพฒั นากระบวนการด้านการใหบ้ รกิ ารของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนนุ งบประมาณให้แก่
เครอื ขา่ ยผู้สูงอายุ ในมิตดิ ้านการดแู ลและคุม้ ครองสิทธผิ ้สู ูงอายุในชมุ ชน 35
ค. ตัวอย่างภาพ Info Graphic ระบบดูแลและคุ้มครองสิทธิ์ผู้สูงอายุใน
ระดับพ้นื ที่ และแนวทางการจัดกจิ กรรมสาหรับกล่มุ “ตดิ สงั คม”
ภาพที่ 6 info Graphic ระบบดแู ลและคุ้มครองพิทักษผ์ ้สู ูงอายุในระดับพื้นที่
และแนวทางการจัดกจิ กรรมสาหรับกลุม่ “ตดิ สังคม”
สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมัน่ คงของมนุษย์