การพัฒนากระบวนการด้านการให้บรกิ ารของกองทนุ ผู้สงู อายุ ในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่
เครือข่ายผสู้ งู อายุ ในมติ ดิ า้ นการดแู ลและค้มุ ครองสทิ ธผิ ้สู งู อายใุ นชมุ ชน 36
3) การสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลและคุ้มครองสิทธิ์ผู้สูงอายุในระดับ
พนื้ ที่ กับเครือขา่ ยผูส้ ูงอายุ และเครือข่ายแวดลอ้ มผสู้ งู อายใุ นชุมชน
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 (จังหวัดอุตรดิตถ์) ได้ดาเนินการจัดทาการ
ฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายผู้สูงอายุด้านการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ
ผู้สูงอายุ และแนวทางการเขียนโครงการในมิติการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุท่ีสอดคล้อง
กับบริบทของพ้ืนท่ี” ตามการวิเคราะห์สภาพปัญหา ความต้องการเพ่ือให้เกิดการทางานที่มี
ประสิทธิภาพขึ้นตามการวิเคราะห์สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานของกองทุนผู้สูงอายุ ใน
การสนับสนุนงบประมาณให้แก่เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุใน
ชุมชน ในวันจันทร์ที่ 20 กรกฎาคม 2563 ณ โรงเรียนผู้สูงอายุตาบลท่าเสา อาเภอเมือง จังหวัด
อตุ รดติ ถ์
ทั้งนใี้ นกระบวนการฝกึ อบรมดงั กลา่ วเป็นการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการ
ดูแลแลคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุในชุมชน ไม่เพียงเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุเท่าน้ันแต่รวมถึงกลุ่ม
เครือข่ายแวดล้อมของผู้สูงอายุในระดับพ้ืนท่ี เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจร่วมกัน และสามารถ
เชอื่ มโยงไปยังการเขียนโครงการในมิติการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับบริบท
ของพน้ื ท่ีได้ ผ่านการจัดกระบวนการเรียนรู้ของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 สานักงาน
พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดอุตรดิตถ์ และมหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ โดยใช้
กระบวนการกลุ่มและวเิ คราะหส์ ภาพปญั หาและแนวทางการแก้ไขปญั หาร่วมกัน
4) การสร้างความรู้ความเข้าใจในการเขียนโครงการเพ่ือขอรับการสนับสนุน
งบประมาณจากกองทุนผู้สูงอายุ ในมิติดูแลและคุ้มครองพิทักษ์ผู้สูงอายุในระดับพื้นท่ี กับ
เครือข่ายผู้สูงอายุ และเครือข่ายแวดล้อมผู้สูงอายุในชุมชน และสามารถเชื่อมโยงไปยังแหล่ง
งบประมาณอื่นได้ เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถ่ิน
เปน็ ตน้
กระบวนการสร้างการสร้างความรู้ความเข้าใจในการเขียนโครงการเพ่ือขอรับการ
สนับสนุนงบประมาณจากกองทุนผู้สูงอายุ ในมิติดูแลและคุ้มครองพิทักษ์ผู้สูงอายุในระดับพ้ืนที่ กับ
เครือข่ายผู้สูงอายุ และเครือข่ายแวดล้อมผู้สูงอายุในชุมชน ใช้กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ
ผ่านเวที “การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายผู้สูงอายุด้านการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ และ
แนวทางการเขียนโครงการในมิติการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับบริบทของ
พ้ืนท่ี” โดยได้เช่ือมโยงกับประเด็นการสารวจตามแบบแบบสอบถามความต้องการในการพัฒนา
โครงการด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิ์ผู้สูงอายุ ของเครือข่ายผู้สูงอายุ และเครือข่ายแวดล้อม
ผู้สูงอายุในระดับพ้ืนที่ ที่สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 (จังหวัดอุตรดิตถ์) ได้ทาการ
สารวจเครือข่ายผู้สูงอายุ และเครือข่ายแวดล้อมผู้สูงอายุในชุมชนตาบลท่าเสา อาเภอเมือง จังหวัด
อุตรดิตถ์ เม่ือช่วงเดือนเมษายน ถึงพฤษภาคม 2563 มาเป็นข้อมูลในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ
และวิเคราะห์กาหนดประเด็นในการเขียนโครงการ โดยวิทยากรจากสานักงานพัฒนาสังคมและความ
มัน่ คงของมนุษย์จังหวัดอุตรดติ ถ์
สำนักงำนส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมั่นคงของมนุษย์
การพัฒนากระบวนการดา้ นการใหบ้ รกิ ารของกองทนุ ผสู้ งู อายุ ในการสนับสนุนงบประมาณใหแ้ ก่
เครอื ขา่ ยผู้สูงอายุ ในมิตดิ ้านการดแู ลและคมุ้ ครองสิทธผิ ู้สูงอายุในชมุ ชน 37
5) การสร้างแบบสอบถามความต้องการในการพัฒนาโครงการด้านการดูแลและ
คมุ้ ครองสิทธิ์ผสู้ ูงอายุ ของเครอื ข่ายผสู้ งู อายุ และเครือข่ายแวดล้อมผสู้ งู อายใุ นระดบั พ้ืนท่ี
โดย สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 (จังหวัดอุตรดิตถ์) ได้ออกแบบสอบถาม
เพ่ือใช้เป็นกรณีศึกษาในการหาความต้องการ และแนวทางในการจัดทาโครงการด้านการดูแลและ
คุ้มครองสิทธิ์ผู้สูงอายุ ของเครือข่ายผู้สูงอายุ และเครือข่ายแวดล้อมผู้สูงอายุในระดับพื้นท่ี โดย
แบ่งเปน็ 1) ขอ้ มูลท่วั ไป 2) สภาพปัญหา ความรุนแรงของผู้สูงอายุและแนวทางการป้องกันและแก้ไข
ปญั หาในด้านการดแู ลและคมุ้ ครองสิทธ์ิผู้สูงอายุ 3) แนวทางการพัฒนาโครงการฯ โดยการมีส่วนร่วม
ของหน่วยงานภาครัฐและเครือข่าย และ 4) ความต้องการในการนาไปกาหนดแนวทางการป้องกัน
ปญั หาของรฐั ดงั ภาพ
ภาพที่ 7 แสดงแบบสอบถามความต้องการในการพฒั นาโครงการด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิ์
ผู้สูงอายุของเครือขา่ ยผู้สูงอายุ ตาบลท่าเสา อาเภอเมือง จงั หวดั อุตรดติ ถ์ ในระบบ Google Form
สำนกั งำนสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมั่นคงของมนุษย์
การพฒั นากระบวนการดา้ นการให้บริการของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนบั สนนุ งบประมาณให้แก่
เครอื ข่ายผู้สูงอายุ ในมติ ดิ า้ นการดแู ลและคมุ้ ครองสทิ ธผิ ้สู ูงอายใุ นชมุ ชน 38
ภาพที่ 8 แสดงตัวอย่างคาถามแบบสอบถามความตอ้ งการในการพัฒนาโครงการด้านการดแู ลและ
คมุ้ ครองสทิ ธ์ิผูส้ ูงอายุของเครือข่ายผ้สู งู อายุ ตาบลท่าเสา อาเภอเมอื ง จงั หวดั อุตรดติ ถ์ ในระบบ
Google Form
6) เขียนโครงการตามแนวทางท่ีได้สารวจความต้องการ และกาหนดไว้เช่ือมกับ
แหล่งงบประมาณ และตามแบบฟอรม์ ของแหลง่ งบประมาณ
โดยพื้นที่กาหนดผู้เขียนโครงการ และกาหนดประเด็นตามท่ีได้สารวจ วิเคราะห์ตาม
แบบฟอรม์ ของแหลง่ งบประมาณ และจัดสง่ ตามปฏทิ ินของแหล่งงบประมาณ
สำนักงำนสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์
การพัฒนากระบวนการดา้ นการให้บรกิ ารของกองทุนผูส้ ูงอายุ ในการสนับสนนุ งบประมาณใหแ้ ก่
เครอื ขา่ ยผู้สงู อายุ ในมิตดิ า้ นการดแู ลและค้มุ ครองสิทธผิ สู้ งู อายใุ นชมุ ชน 39
ตารางที่ 1 สรุปการพัฒนาหรือปรับปรุงแนวทางการให้บริการของกองทุนผู้สูงอายุ ในการ
สนับสนุนงบประมาณให้แก่เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุใน
ชมุ ชน
สานกั งานพัฒนาสงั คมและ สานกั งานส่งเสรมิ และ เครือข่ายผู้สูงอายุ
ความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวัด สนบั สนุนวิชาการ 8 ตาบลท่าเสา
งานกองทุนผู้สงู อายุ จังหวัดอตุ รดติ ถ์ อาเภอเมอื ง จังหวัดอตุ รดติ ถ์
(ผ้ใู หบ้ รกิ าร) (ส่วนวิชาการ) (ผใู้ ชบ้ ริการ)
- สร้างความรู้ความเข้าใจ - การวิเคราะห์ สังเคราะห์ - ร่วมสร้างความรู้ความเข้าใจ
ใ ห้ กั บ เ ค รื อ ข่ า ย ผู้ สู ง อ า ยุ งานวิจัยที่เก่ียวข้อง เพ่ือใช้เป็น ใ ห้ กั บ เ ค รื อ ข่ า ย ผู้ สู ง อ า ยุ
และเครือข่ายแวดล้อม ในด้าน แนวทางในการจัดทาโครงการ และเครือข่ายแวดล้อม ในด้าน
การดูแลและคุ้มครองสิทธิ หรือกิจกรรมท่เี กยี่ วขอ้ งกับการ การดูแลและคุ้มครองสิทธิ
ผู้สูงอายุในชมุ ชน ดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ ผ้สู งู อายุในชมุ ชน
- สร้างความรู้ความเข้าใจใน ผูส้ ูงอายใุ นชุมชน - สร้างความรู้ความเข้าใจใน
การเขียนโครงการเพื่อขอรับ - สรุปประเด็นแนวทางการ การเขียนโครงการเพื่อขอรับ
การสนับสนุนงบประมาณจาก จัดทาโครงการฯ ในรูปแบบ การสนับสนุนงบประมาณจาก
กองทนุ ผู้สงู อายุ ในมิติการดูแล Info Graphic ในกล่มุ กองทุนผสู้ ูงอายุ ในมิติการดูแล
และคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุใน 1) ติดบ้าน 2) ติดเตียง และ และคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุใน
ชมุ ชน 3) ติดสังคม ชุมชน
- สรุปประเด็นแนวทางการจัด - กาหนดประเด็นร่วมในการ
กิจกรรมทส่ี อดคล้องของ พัฒนาโครงการที่มาจากสภาพ
1) กลุ่มองค์กรปกครองส่วน ปัญหา และความต้องการของ
ทอ้ งถน่ิ พ้ืนที่ โดยใช้ข้อมูลอ้างอิงจาก
2) กลุ่มครอบครัวผูส้ งู อายุ (สว่ นวชิ าการ)
3) กลุม่ ผู้สูงอายุ - กาหนดคณะผู้เขียนโครงการ
- สร้างแบบสอบถามความ ต า ม แ น ว ท า ง ท่ี ไ ด้ ส า ร ว จ
ต้องการในการพัฒนาโครงการ วิเคราะห์ และกาหนดเชื่อมกับ
ด้านการดูแลและคุ้มครอง แหล่งงบประมาณ และเขียน
พิ ทั ก ษ์ สิ ท ธิ์ ข อ ง เ ค รื อ ข่ า ย ตามแบบฟอร์มของแหล่ ง
ผู้สูงอายุ เพื่อทราบคว าม งบประมาณ
ต้ อ ง ก า ร ใ น ก า ร พั ฒ น า
โครงการฯ
สำนักงำนสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์
การพัฒนากระบวนการด้านการให้บรกิ ารของกองทนุ ผสู้ ูงอายุ ในการสนบั สนนุ งบประมาณให้แก่
เครอื ขา่ ยผูส้ งู อายุ ในมติ ดิ า้ นการดแู ลและคมุ้ ครองสิทธผิ สู้ ูงอายใุ นชมุ ชน 40
4.4 ผลการสอบถามความต้องการในการพัฒนาโครงการด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิ์ผู้สูงอายุ
ของเครือข่ายผู้สูงอายุ ตาบลท่าเสา อาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ท่ีสานักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวชิ าการ 8 ทาการสารวจช่วงเดือนเมษายน ถงึ พฤษภาคม 2563 สรุปได้ ดงั นี้
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลทัว่ ไป
(1) เพศ พบว่า มผี ตู้ อบเปน็ เพศหญงิ รอ้ ยละ 56.3 และเพศชาย ร้อยละ 43.8
(2) ชว่ งอายุ พบวา่ ผตู้ อบอยู่ในช่วงอายรุ ะหว่าง 42 – 72 ปี
(3) ศาสนา พบว่า ผูต้ อบท้ังหมดนบั ถือศาสนาพทุ ธ
(4) ระดับการศึกษา พบว่า กลุ่มผู้ตอบ ไม่ได้เรียนหนังสือตอบมากที่สุด ร้อยละ 43.8
รองลงมา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย อนุปริญญา และสูงกว่าปริญญาตรี ตอบเท่ากัน
ที่ ร้อยละ 12.5 และ ประถมศกึ ษา ตอบนอ้ ยสุดที่ ร้อยละ 6.3 ตามลาดบั
(5) อาชีพ พบว่า กลุ่มอาชีพที่ตอบมากท่ีสุด คือ กลุ่มข้าราชการบานาญ/เกษียณ และกลุ่ม
ขา้ ราชการ/พนักงาน/ลูกจ้างของรัฐ ร้อยละ 25 รองลงมา คือ กลุ่มแม่บ้าน และค้าขาย ร้อยละ 12.5
ตามลาดับ
ส่วนท่ี 2 สภาพปัญหา ความรุนแรงของผู้สูงอายุและแนวทางการป้องกันและแกไ้ ขปัญหา ใน
ด้านการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ ตาบลท่าเสา
2.1 ความคิดเห็นในประเด็นความรนุ แรงของผสู้ ูงอายใุ นตาบลท่าเสา
2.1.1 การกระทาความรุนแรงในผู้สูงอายุมากที่สุด พบว่า การถูกทอดท้ิง ขาดผู้ดูแล
มผี ้ตู อบมากที่สดุ รอ้ ยละ 56.3 รองลงมา การทาร้ายจิตใจ รอ้ ยละ 18.8 และการทาร้ายร่างกาย 12.5
ตามลาดับ ดงั แผนภูมิ
แผนภมู ทิ ่ี 1 แสดงการกระทาความรนุ แรงต่อผู้สูงอายุ
สำนกั งำนสง่ เสริมและสนับสนุนวิชำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์
การพัฒนากระบวนการดา้ นการให้บริการของกองทุนผ้สู งู อายุ ในการสนบั สนนุ งบประมาณใหแ้ ก่
เครือข่ายผสู้ งู อายุ ในมติ ดิ ้านการดแู ลและคุม้ ครองสทิ ธิผู้สูงอายุในชมุ ชน 41
2.1.2 ใครเปน็ ผ้กู ระทาความรนุ แรงต่อผสู้ งู อายมุ ากที่สดุ พบวา่ บคุ คลในครอบครัวมี
ผตู้ อบมากที่สดุ ร้อยละ 62.5 รองลงมา บคุ คลใกล้ชิด ร้อยละ 25 และ บุคคลอ่ืน ร้อยละ 1ตามลาดับ
ดังแผนภมู ิ
ใครเป็นผู้กระทาความรุนแรงต่อผู้สูงอายุมากที่สุด
(3 ลาดับแรก)
3) บุคคลอน่ื 1
2) บคุ คลใกลช้ ิด 25
1) บุคคลในครอบครัว 62.5
0 10 20 30 40 50 60 70
แผนภมู ทิ ี่ 2 แสดงใครเป็นผู้กระทาความรุนแรงต่อผสู้ งู อายุมากทสี่ ุด
2.1.3 สาเหตุ หรือปัจจัยใดที่ทาให้ผู้สูงอายุถูกกระทาความรุนแรงมากท่ีสุด พบว่า
ผู้สูงอายุช่วยเหลือตนเองไม่ได้เน่ืองจากความเจ็บป่วยและพิการ ตอบมากที่สุด ร้อยละ 31.3
รองลงมา ผู้ดูแลรู้สึกว่าตนเองเป็นภาระ ร้อยละ 25 และ ผู้ดูแลมีภาระหน้ีสิน รายได้ไม่เพียงพอ ร้อย
ละ 12.5 ตามลาดับ ดังแผนภมู ิ
สาเหตุ หรือปัจจัย (3 ลาดับแรก)
3) ผูด้ ูแลมภี าระหน้สี ิน รายได้ไมเ่ พยี งพอ 12.5
2) ผูด้ ูแลรู้สึกวา่ ผู้สงู อายเุ ป็นภาระ 25
1) ผ้สู งู อายุชว่ ยเหลือตนเองไม่ได้ เนือ่ งจากความ 31.3
เจ็บป่วยและพิการ
0 5 10 15 20 25 30 35
แผนภูมทิ ่ี 3 สาเหตุ หรือปจั จัยใดที่ทาให้ผู้สูงอายุถูกกระทาความรุนแรงมากท่ีสดุ
สำนกั งำนส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมั่นคงของมนษุ ย์
การพฒั นากระบวนการด้านการใหบ้ รกิ ารของกองทุนผู้สงู อายุ ในการสนับสนุนงบประมาณใหแ้ ก่
เครอื ข่ายผู้สูงอายุ ในมติ ดิ ้านการดแู ลและค้มุ ครองสทิ ธผิ ้สู ูงอายุในชมุ ชน 42
2.1.4 หากพบเห็นเหตุการณ์ความรุนแรงกับผู้สูงอายุจะทาอย่างไร พบว่า แจ้ง
กานนั /ผ้ใู หมบ่ า้ น/ผ้นู าชมุ ชน ตอบมากท่ีสุด รอ้ ยละ 62.5 รองลงมา เขา้ ไปช่วยเหลือเอง ร้อยละ 31.3
และ แจง้ สายด่วน 1300 ร้อยละ 6.3 ตามลาดบั
2.2 อะไรคอื สาเหตทุ ่ีผู้สูงอายถุ ูกทอดท้งิ
2.2.1 สาเหตุทที่ าใหผ้ สู้ งู อายุถกู ทอดทิง้ พบวา่ ความยากจน ร้อยละ 81.3 รองลงมา
68.8 และ อยู่ในสภาพทีอ่ ยู่อาศัยไมเ่ หมาะสม ร้อยละ 25 ตามลาดับ ดังแผนภมู ิ
อะไรเป็นสาเหตุให้ผู้สูงอายุถูกทอดท้ิง
(3 ลาดับแรก)
3) อยใู่ นสภาพทีอ่ ยูอ่ าศัยไม่เหมาะสม 25
2) ไม่มีผูด้ แู ลที่เหมาะสม 68.8
1) ความยากจน 81.3
0 10 20 30 40 50 60 70 80 90
แผนภูมทิ ่ี 4 สาเหตุที่ทาให้ผูส้ ูงอายถุ ูกทอดทง้ิ
2.2.2 สาเหตุท่ีผู้สูงอายุถูกทาร้ายร่างกาย พบว่า ความเครียดของผู้ดูแลผู้สูงอายุ
ร้อยละ 75 รองลงมา จากการกระทาของบุคคลภายนอก ร้อยละ 43.8 และ จาดตัวของผู้สูงอายุเอง
ร้อยละ 37.5 ตามลาดับ ดงั แผนภมู ิ
การที่ผู้สูงอายุถูกทาร้ายร่างกายเกิดจากอะไร
(3 ลาดับแรก)
3) จากตวั ของผู้สงู อายุเอง 37.5
2) จากการกระทาของบุคคลภายนอก 43.8
1) ความเครยี ดของผดู้ ูแลผสู้ ูงอายุ 75
0 10 20 30 40 50 60 70 80
แผนภูมิที่ 5 สาเหตุที่ผู้สูงอายุถูกทาร้ายรา่ งกาย
สำนักงำนสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมัน่ คงของมนุษย์
การพฒั นากระบวนการดา้ นการให้บริการของกองทุนผูส้ งู อายุ ในการสนบั สนุนงบประมาณใหแ้ ก่
เครือขา่ ยผสู้ ูงอายุ ในมิตดิ ้านการดแู ลและคุ้มครองสิทธิผ้สู ูงอายุในชมุ ชน 43
2.2.3 สาเหตุที่ทาให้ผู้สูงอายุถูกหลอกลวงให้เสียทรัพย์สิน พบว่า เกิดจากความเชื่อ
ผดิ ๆ และอยากหายจากโรค รอ้ ยละ 68.8 รองลงมา หลอกใหท้ าธรกรรมการเงิน (ไม่รู้เท่าทัน) ร้อยละ
62.5 และ ใช้ส่อื หลอกใหซ้ อื้ สนิ ค้าไมม่ ีคุณภาพ ร้อยละ 50 ตามลาดบั ดังแผนภมู ิ
สาเหตุที่ทาให้ผู้สูงอายุถูกหลอกให้เสียทรัพย์สิน (3 ลาดับ
แรก)
3) ใช้ส่อื หลอกให้ซื้อสนิ ค้าไม่มีคุณภาพ 50
2) หลอกให้ทาธุรกรรมการเงนิ (ไม่รเู้ ทา่ ทัน) 62.5
1) ความเช่ือท่ผี ิดๆ และอยากได้ อยากหายจากโรค 68.8
0 10 20 30 40 50 60 70 80
แผนภมู ทิ ่ี 6 สาเหตทุ ผ่ี ู้สงู อายุถกู ถูกหลอกลวงให้เสยี ทรพั ย์สนิ
2.2.4 ปัญหาทีพ่ บในครอบครวั ของผู้สูงอายใุ นพน้ื ทต่ี าบลท่าเสา พบว่า ครอบครัวไม่
สนใจ ไม่ให้ความสาคัญต่อผู้สูงอายุ ร้อยละ 73.3 รองลงมา ปัญหารายได้ไม่เพียงพอต่อการยังชีพ
ร้อยละ 66.7 และ ความรนุ แรงในครอบครัว รอ้ ยละ 53.3 ตามลาดับ ดงั แผนภูมิ
ปัญหาท่ีพบในครอบครัวของผู้สูงอายุ (3 ลาดับแรก)
3) ความรนุ แรงในครอบครัว 53.3
2) ปญั หารายไดไ้ ม่เพยี งพอ 66.7
1) ไมส่ นใจ ไม่ใหค้ วามสาคัญตอ่ ผูส้ งู อายุ 73.3
0 10 20 30 40 50 60 70 80
แผนภูมทิ ่ี 7 ปัญหาท่ีพบในครอบครวั ของผู้สูงอายุในพืน้ ท่ีตาบลทา่ เสา
สำนกั งำนสง่ เสริมและสนับสนุนวิชำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมม่ันคงของมนษุ ย์
การพัฒนากระบวนการดา้ นการให้บริการของกองทนุ ผูส้ งู อายุ ในการสนบั สนนุ งบประมาณให้แก่
เครอื ข่ายผสู้ ูงอายุ ในมิตดิ า้ นการดแู ลและค้มุ ครองสิทธิผู้สูงอายุในชมุ ชน 44
2.2.5 ปัญหาความรุนแรงต่อผู้สูงอายุที่ท่านพบเห็นในพ้ืนท่ี พบว่า ถูกกระทาจาก
ความรุนแรงจากบุคคลในครอบครัว และ ความขัดแย้งภายในครอบครัว ร้อยละ 66.7 รองลงมา
ถกู กระทาความรุนแรงจากบุคคลอนื่ รอ้ ยละ 26.7 ตามลาดบั
ปัญหาความรุนแรงต่อผู้สูงอายุที่พบในพื้นท่ี (3 ลาดับแรก)
3) ถูกกระทาความรนุ แรงจากบุคคลอื่น 26.7
2) ความขัดแยง้ ภายในครอบครวั 66.7
1) ถูกกระทาความรนุ แรงจากบคุ คลในครอบครัว 66.7
0 10 20 30 40 50 60 70 80
แผนภูมิที่ 8 ปญั หาความรุนแรงตอ่ ผู้สูงอายุท่ีท่านพบเห็นในพื้นท่ี
2.3 แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธ์ิผู้สูงอายุ
เครอื ข่ายผูส้ ูงอายตุ าบลท่าเสา
2.3.1 แนวทางการจัดกิจกรรมท่ีเหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน พบว่า
ทางานอดเิ รกทต่ี นเองสนใจ ร้อยละ 93 รองลงมา ทากิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพกายและจิตใจ รวมถึง
เข้าร่วมกิจกรรมกบั ครอบครวั และชมุ ชน รอ้ ยละ 81.3 ตามลาดับ ดงั แผนภมู ิ
แนวทางการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมสาหรับกลุ่มผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน
(3 ลาดับแรก)
3) เขา้ ร่วมกิจกรรมกบั ครอบครัวและชมุ ชน 81.3
2) ทากิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพกายและจติ ใจ 81.3
1) ทางานอดเิ รกท่ีตนเองสนใจ 93.8
74 76 78 80 82 84 86 88 90 92 94 96
แผนภูมทิ ี่ 9 แนวทางการจดั กิจกรรมทีเ่ หมาะสมสาหรบั ผสู้ งู อายกุ ลุ่มติดบา้ น
สำนกั งำนสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมมั่นคงของมนุษย์
การพฒั นากระบวนการด้านการใหบ้ ริการของกองทนุ ผู้สูงอายุ ในการสนับสนุนงบประมาณใหแ้ ก่
เครอื ข่ายผ้สู งู อายุ ในมิตดิ า้ นการดแู ลและค้มุ ครองสทิ ธผิ สู้ งู อายุในชมุ ชน 45
2.3.2 แนวทางการจัดกิจกรรมท่เี หมาะสาหรับครอบครวั ทมี่ ีผสู้ ูงอายทุ ี่ติดบ้าน พบว่า
ปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม ปลอดภัย ร้อยละ 87.5 รองลงมา สร้างความรู้ ความเข้าใจใน
ครอบครัว และ กระตุ้นและสนบั สนุนผู้สูงอายุทากจิ กรรม ร้อยละ 81.3 ตามลาดับ ดังแผนภมู ิ
แนวทางการจัดกิจกรรมท่ีเหมาะสมสาหรับครอบครัว
กลุ่มติดบ้าน (3 ลาดับแรก)
3) กระตุ้นและสนับสนนุ ผ้สู ูงอายุทากิจกรรม 81.3
2) สร้างความรู้ ความเข้าใจในครอบครวั 81.3
1) ปรับสภาพแวดล้อมใหเ้ หมาะสม ปลอดภยั 87.5
78 80 82 84 86 88
แผนภูมทิ ่ี 10 แนวทางการจัดกิจกรรมท่เี หมาะสมสาหรบั ครอบครวั ที่มีผู้สูงอายุทีต่ ิดบา้ น
2.3.3 หนว่ ยงานที่เกย่ี วข้องในพืน้ ที่ เชน่ เทศบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล
ควรจัดกิจกรรมที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุท่ีติดบ้านอย่างไร พบว่า ควรจัดกิจกรรมท่ีเหมาะสม
สอดคลอ้ ง ตรงกับความต้องการ และ อบรมให้ความรู้เก่ียวกับสิทธิสวัสดิการ รวมถึงลงเยี่ยมบ้าน ให้
คาปรึกษา ตอบเทา่ กัน ร้อยละ 81.3 ดงั แผนภมู ิ
แนวทางการจัดกิจกรรมท่ีเหมาะสมสาหรับหน่วยงาน
กลุ่มติดบ้าน (3 ลาดับแรก)
3) ลงเยีย่ มบา้ น ให้คาปรึกษา 81.3
2) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกบั สิทธิสวสั ดกิ าร 81.3
1) จดั กจิ กรรมที่เหมาะสม สอดคล้อง ตรงกบั ความ 81.3
ต้องการ
0 10 20 30 40 50 60 70 80 90
แผนภมู ิท่ี 11 แนวทางการจัดกจิ กรรมกลมุ่ ติดบา้ นท่เี หมาะสมสาหรับหนว่ ยงาน
สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมม่ันคงของมนุษย์
การพฒั นากระบวนการดา้ นการให้บรกิ ารของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนนุ งบประมาณใหแ้ ก่
เครอื ขา่ ยผ้สู งู อายุ ในมิตดิ ้านการดแู ลและค้มุ ครองสทิ ธิผู้สูงอายใุ นชมุ ชน 46
2.3.4 แนวทางการจัดกิจกรรมท่ีเหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียง พบว่า
แนะนา สนทนา พูดคยุ เพอ่ื ลดความเครียด รอ้ ยละ 93.8 รองลงมา กายภาพบาบัด ร้อยละ 87.5 และ
เยี่ยมบ้าน ใหก้ าลงั ใจ/ของฝาก ร้อยละ 81.3 ตามลาดับ ดงั แผนภมู ิ
แนวทางการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียง
(3 ลาดับแรก)
3) เยี่ยมบา้ น ให้กาลังใจ/ของฝาก 81.3
2) กายภาพบาบดั 87.5
1) แนะนา สนทนา พูดคยุ เพ่อื ลดความเครียด 93.8
74 76 78 80 82 84 86 88 90 92 94 96
แผนภูมทิ ่ี 12 แนวทางการจดั กจิ กรรมท่ีเหมาะสมสาหรับผสู้ งู อายุกลมุ่ ติดเตยี ง
2.3.5 แนวทางการจัดกิจกรรมท่ีเหมาะสมสาหรับครอบครัวท่ีมีผู้สูงอายุติดเตียง
พบว่า สร้างความรู้ ความเข้าใจครอบครัวเร่ืองการดูแล ร้อยละ 93.3 รองลงมา ครอบครัวให้กาลังใจ
ผู้สูงอายุโดยการพูดคุย และ การดูแลเรื่องการรับประทานยาตามแพทย์ส่ัง ร้อยละ 86.7 ตามลาดับ
ดังแผนภมู ิ
แนวทางการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมสาหรับครอบครัว
กลุ่มติดเตียง (3 ลาดับแรก)
3) การดแู ลเรอ่ื งการรบั ประทานยาตามแพทยส์ ง่ั 86.7
2) ครอบครัวใหก้ าลงั ใจผู้สูงอายโุ ดยการพดู คยุ 86.7
1) สร้างความรู้ ความเขา้ ใจครอบครัวเรอ่ื งการดูแล 93.3
82 84 86 88 90 92 94
แผนภมู ิท่ี 13 แนวทางการจดั กจิ กรรมทเี่ หมาะสมสาหรบั ครอบครัวทม่ี ผี ู้สูงอายุตดิ เตียง
สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมมั่นคงของมนษุ ย์
การพัฒนากระบวนการดา้ นการใหบ้ ริการของกองทนุ ผู้สูงอายุ ในการสนับสนนุ งบประมาณให้แก่
เครอื ขา่ ยผูส้ ูงอายุ ในมติ ดิ ้านการดแู ลและคมุ้ ครองสทิ ธผิ ู้สงู อายุในชมุ ชน 47
2.3.6 หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งในพืน้ ที่ เชน่ เทศบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล
ควรจัดกิจกรรมท่ีเหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุท่ีติดเตียงอย่างไร พบว่า เจ้าหน้าท่ี/อาสาสมัคร ลงพ้ืนท่ี
เยี่ยมเยยี น รอ้ ยละ 87.5 รองลงมา ดแู ลฟืน้ ฟสุ มรรถภาพ ลดความเจ็บป่วยซ้าซ้อน และ ให้คาแนะนา
ผ้สู ูงอายแุ ละครอบครัว ร้อยละ 81.3 ตามลาดับ ดงั แผนภมู ิ
แนวทางการจัดกิจกรรมท่ีเหมาะสมสาหรับหน่วยงาน
กลุ่มติดเตียง (3 ลาดับแรก)
3) ให้คาแนะนาผสู้ งู อายแุ ละครอบครัว 81.3
2) ดแู ลฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ลดความเจ็บป่วยซ้าซ้อน 81.3
1) จนท./อาสาสมคั ร ลงพนื้ ที่เยีย่ มเยยี น 87.5
78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88
แผนภมู ทิ ี่ 14 แนวทางการจัดกจิ กรรมกลุ่มติดเตยี งที่เหมาะสมสาหรับหน่วยงาน
2.3.7 แนวทางการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม พบว่า
ติดตามข้อมูลข่าวสารผ่านส่ือต่างๆ ร้อยละ 93 รองลงมา กิจกรรมเย่ียมบ้านผู้สูงอายุ และ กิจกรรม
บาเพญ็ ประโยชน์/จติ อาสา ร้อยละ 81.3 ตามลาดับ ดังแผนภมู ิ
แนวทางการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม
(3 ลาดับแรก)
3) กิจกรรมบาเพญ็ ประโยชน์/จติ อาสา 81.3
2) กจิ กรรมเย่ียมบา้ นผู้สูงอายุ 81.3
1) ติดตามข้อมูลขา่ วสารผา่ นสอ่ื ตา่ งๆ 93.8
74 76 78 80 82 84 86 88 90 92 94 96
แผนภูมทิ ่ี 15 แนวทางการจัดกจิ กรรมทเี่ หมาะสมสาหรับผสู้ งู อายุกลุ่มติดสงั คม
สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมม่นั คงของมนษุ ย์
การพัฒนากระบวนการด้านการให้บริการของกองทุนผู้สงู อายุ ในการสนับสนนุ งบประมาณใหแ้ ก่
เครือขา่ ยผูส้ งู อายุ ในมิตดิ ้านการดแู ลและคุ้มครองสิทธผิ สู้ ูงอายุในชมุ ชน 48
2.3.8 แนวทางการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมสาหรับครอบครัวที่มีผู้สูงอายุติดสังคม
พบว่า สร้างความรู้ ความเข้าใจในครอบครัวเรื่องการดูแลและลดความเส่ือมถอย ร้อยละ 37.5
รองลงมา เฝ้าระวัง สอดส่อง เอาใจใส่ ดูแลใกล้ชิด ร้อยละ 31.3 และ ปรับสภาพแวดล้อมให้
เหมาะสม ปลอดภัย รอ้ ยละ 25 ตามลาดับ ดังแผนภูมิ
แนวทางการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมสาหรับครอบครัว
กลุ่มติดสังคม (3 ลาดับแรก)
3) ปรบสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม ปลอดภัย 25
2) เฝ้าระวัง สอดส่อง เอาใจใส่ ดแู ลใกล้ชิด 31.3
1) สรา้ งความรู้ ความเข้าใจในครอบครวั เร่ืองการ 37.5
ดแู ลและลดความเสือ่ มถอย
0 5 10 15 20 25 30 35 40
แผนภูมิท่ี 16 แนวทางการจัดกจิ กรรมท่เี หมาะสมสาหรบั ครอบครวั ท่ีมีผู้สูงอายตุ ดิ สังคม
2.3.9 หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องในพน้ื ที่ เชน่ เทศบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล
ควรจัดกิจกรรมท่ีเหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุท่ีติดสังคมอย่างไร พบว่า ส่งเสริมกิจกรรมให้ผู้สูงอายุ
รอ้ ยละ 37.5 รองลงมา ส่งเสรมิ ความรูเ้ ก่ียวกับสิทธิสวัสดิการและการดูแลสุขภาพ ร้อยละ 31.3 และ
ส่งเสริมความรู้เรือ่ งการถูกหลอกและถูกละเมิดสิทธิ รอ้ ยละ 25 ตามลาดับ ดงั แผนภูมิ
แนวทางการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมสาหรับหน่วยงาน
กลุ่มติดสังคม (3 ลาดับแรก)
3) สง่ เสรมิ ความรูเ้ ร่อื งการถกู หลอกและถกู ละเมดิ 25
สทิ ธิ 31.3
2) สง่ เสริมความรเู้ กย่ี วกับสทิ ธสิ วสั ดกิ ารและการ
ดูแลสุขภาพ
1) ส่งเสริมกิจกรรมให้ผสู้ งู อายุ 37.5
0 5 10 15 20 25 30 35 40
แผนภูมทิ ่ี 17 แนวทางการจัดกิจกรรมกล่มุ ตดิ สงั คมทเ่ี หมาะสมสาหรบั หนว่ ยงาน
สำนักงำนสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมัน่ คงของมนษุ ย์
การพัฒนากระบวนการดา้ นการใหบ้ รกิ ารของกองทนุ ผู้สูงอายุ ในการสนับสนนุ งบประมาณใหแ้ ก่
เครอื ข่ายผสู้ ูงอายุ ในมิตดิ า้ นการดแู ลและคุ้มครองสิทธิผสู้ งู อายใุ นชมุ ชน 49
ส่วนที่ 3 แนวทางการพัฒนาโครงการสร้างระบบการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ์ผู้สูงอายุ
แก่เครือข่ายผู้สูงอายุตาบลท่าเสา โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐและภาคีเครือข่ายใน
พนื้ ที่
พบว่า แนวทางการพัฒนาควรให้ท้องถ่นิ สนับสนุนงบประมาณอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ
81.3 รองลงมา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล เป็นแกนหลักใน
การจัดกิจกรรม ร้อยละ 75 และ สนับสนุนให้ผู้นาชุมชน แกนนาผู้สูงอายุ มีบทบาทในการพัฒนา
ศักยภาพ ตามลาดบั ดังแผนภูมิ
แนวทางการพฒั นาโครงการ (3 ลาดบั แรก)
68.8 81.3
75
1) ให้ท้องถ่นิ สนบั สนุนงบประมาณอย่างต่อเนื่อง
2) อปท. และ รพ.สต. เปน็ แกนหลักในการจัดกจิ กรรม
3) สนบั สนนุ ให้ผนู้ าชุมชน แกนนาผ้สู ูงอายุ มบี ทบาทในการพฒั นาศกั ยภาพ
แผนภมู ิที่ 18 แนวทางการพัฒนาโครงการสร้างระบบการดแู ลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธผ์ิ สู้ ูงอายุ
แกเ่ ครือข่ายผูส้ ูงอายุตาบลทา่ เสา โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐและภาคเี ครือข่ายในพ้ืนท่ี
สำนกั งำนสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนุษย์
การพัฒนากระบวนการดา้ นการให้บรกิ ารของกองทุนผสู้ ูงอายุ ในการสนับสนนุ งบประมาณใหแ้ ก่
เครือข่ายผ้สู งู อายุ ในมติ ดิ ้านการดแู ลและคุ้มครองสิทธิผสู้ ูงอายใุ นชมุ ชน 50
สว่ นที่ 4 ความตอ้ งการใหร้ ฐั บาลกาหนดแนวทางในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาไม่ใหเ้ กิด
ความรนุ แรงในผสู้ ูงอายุ
พบว่า รัฐบาลควรส่งเสริมให้สถาบันการศึกษาปลูกฝังทัศนคติ ไม่ใช้ความรุนแรง
ต้ังแต่เด็ก ร้อยละ 75 รองลงมา ส่งเสริมการสร้างทัศนคติให้เห็นคุณค่าของผู้สูงอายุ ร้อยละ 68.8
และ สง่ เสริมใหค้ รอบครัวเปน็ แบบอย่างทีด่ ใี นการไม่ใชค้ วามรุนแรง ตามลาดับ ดังแผนภมู ิ
รัฐบาลควรกาหนดแนวทางในการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา
ความรุนแรงในผสู้ งู อายุอยา่ งไร (3 ลาดับแรก)
62.5 75
68.8
1) สง่ เสรมิ ใหส้ ถาบันการศึกษาปลกู ฝังทศั นคติ ไมใ่ ชค้ วามรนุ แรงตั้งแตเ่ ดก็
2) สง่ เสริมการสรา้ งทัศนคตใิ หเ้ ห็นคณุ คา่ ของผสู้ งู อายุ
3) สง่ เสรมิ ให้ครอบครัวเป็นแบบอย่างที่ดใี นการไมใ่ ช้ความรนุ แรง
แผนภูมทิ ี่ 19 ความต้องการให้รฐั บาลกาหนดแนวทางในการป้องกันและแกไ้ ขปัญหาไมใ่ ห้เกิด
ความรนุ แรงในผู้สงู อายุ
สำนกั งำนส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมมั่นคงของมนษุ ย์
บทท่ี 5
สรปุ ผลการศกึ ษา อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ
5.1 สรปุ ผลการศึกษา และอภิปรายผล
การจัดทาโครงการพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย ในเร่ือง “การพัฒนากระบวนงานด้าน
การให้บริการของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนุนงบประมาณให้เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการ
ดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สงู อายใุ นชุมชน” สรปุ ตามวัตถปุ ระสงค์การวจิ ยั ได้ ดังน้ี
การนาเสนอสรุปผลการพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย (Routine to Research) เป็นการ
นาเสนอ “การพัฒนากระบวนการด้านการใหบ้ รกิ ารของกองทนุ ผ้สู งู อายุ ในการสนับสนุนงบประมาณ
ให้แก่เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุในชุมชน ตาบลท่าเสา
อาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์” ตามวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาท่ีเกิดจากการ
ดาเนินงานของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการ
ดูแลและคมุ้ ครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน 2) เพ่ือทบทวนแนวทางการดาเนินงานของเครือข่ายผู้สูงอายุ
ตาบลท่าเสา อาเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุใน
ชุมชน 3) เพื่อพัฒนาหรือปรับปรุงแนวทางการให้บริการของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนุน
งบประมาณให้แก่เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน 4) ผลการ
สอบถามความต้องการในการพัฒนาโครงการด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธ์ิผู้สูงอายุของเครือข่าย
ผู้สูงอายุ ตาบลท่าเสา อาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ที่สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 ทา
การสารวจช่วงเดือนเมษายน ถึงพฤษภาคม 2563 โดยมีผู้แทนจากสานักงานพัฒนาสังคมและความ
ม่ันคงของมนุษย์จังหวัดอุตรดิตถ์ ในฐานะผู้ให้บริการ ผู้แทนจากมหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ ใน
ฐานะนักวิชาการในระดับพื้นที่ และแกนนาเครือข่ายผู้สูงอายุตาบลท่าเสา อาเภอเมือง จังหวัด
อตุ รดิตถ์ รวมถึงแกนนาท้องถ่ิน/ท้องที่ตาบลท่าเสา อาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ในฐานะผู้ใช้บริการ
เป็นผ้สู ะทอ้ นแลกเปลย่ี นข้อคิดเหน็ และขอ้ เสนอในการพฒั นางาน โดยสรุปผลการดาเนินการ R to R
“การให้บริการกองทุนผู้สูงอายุสู่การให้บริการเครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์
สิทธผิ สู้ งู อายุในระดบั พื้นที่” มีดงั น้ี
(1) สภาพปัญหาที่เกิดจากการดาเนินงานของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนุน
งบประมาณให้แก่เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน พบว่า
ข้ันตอนการให้บริการของกองทุนผู้สูงอายุไม่เป็นปัญหาในการให้บริการ ปัญหาส่วนใหญ่เกิดข้ึนจาก
เครือข่ายผู้สูงอายุไม่ได้มีการนาเสนอโครงการท่ีเก่ียวข้อง ในมิติการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ
ผู้สูงอายุสู่กองทุนผู้สูงอายุ รวมถึงการที่เครือข่ายผู้สูงอายุและเครือข่ายแวดล้อมผู้สูงอายุ ยังมีความ
เข้าใจในการเขียนโครงการในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน และการวิเคราะห์
ข้อมูลที่เก่ียวข้องด้านด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน เพื่อนาสู่การวางแผนการจัด
โครงการ หรือกิจกรรม โดยเฉพาะการกาหนดแนวทางผู้สูงอายุได้รับการดูแลและคุ้มครองสิทธิใน
4 มิติ 1) ด้านสุขภาพ 2) ด้านเศรษฐกิจ 3) ด้านสังคม และ 4) ด้านสภาพแวดล้อมและบริการ
สาธารณะ
การพัฒนากระบวนการดา้ นการใหบ้ รกิ ารของกองทุนผู้สงู อายุ ในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่
เครอื ขา่ ยผสู้ งู อายุ ในมิตดิ า้ นการดแู ลและคุม้ ครองสทิ ธิผู้สูงอายุในชมุ ชน 52
(2) การทบทวนแนวทางการดาเนินงานของเครือข่ายผู้สูงอายุตาบลท่าเสา อาเภอเมือง
อุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน พบว่า เครือข่าย
ผู้สูงอายุตาบลท่าเสา อาเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ มีต้นทุนการดาเนินงานด้านการพัฒนา
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผ่านทางเครือข่ายผู้สูงอายุในชุมชน โดยเฉพาะอย่างย่ิงเครือข่ายศูนย์พัฒนา
คุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ โรงเรียนผู้สูงอายุ ที่ประสานความร่วมมือกับเครือข่าย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ที่ดาเนินการผ่านกลไกอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน (อสม.) และ
เครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) ที่ดาเนินการผ่านกลไกนักพัฒนาชุมชน และสมาชิก
เทศบาล (สท.) ร่วมกับเครือข่ายแกนนาท้องท่ี ท้องถิ่น ประกอบกับมีการอาศัยการจัดกิจกรรมด้าน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถ่ิน และสร้างการเรียนรู้
เป็นเครือข่ายใยแมงมุมร่วมกับเครือข่ายในระดับอาเภอ จังหวัด และกลุ่มจังหวัด ผ่านผู้นาท่ีเป็นจิต
อาสา และมีประสบการณ์ในการบริหารจัดการจากการเป็นอดีตข้าราชการจากหน่วยงานภาครัฐ เข้า
มาร่วมดาเนนิ การขบั เคลอ่ื น
(3) การพฒั นาหรอื ปรบั ปรงุ แนวทางการให้บริการของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนุน
งบประมาณให้แก่เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน เป็นการ
วิเคราะห์สภาพปัญหาท่เี กิดจากการดาเนินงานของกองทุนผู้สงู อายุ ในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่
เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน และการทบทวนการ
ดาเนินงานของเครือข่ายผู้สูงอายุตาบลท่าเสา อาเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ในมิติด้านการ
ดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน โดยมีการกาหนดการพัฒนาหรือปรับปรุงแนวทางการ
ใหบ้ รกิ ารของกองทนุ ผสู้ ูงอายุ ในการสนบั สนนุ งบประมาณให้แกเ่ ครือขา่ ยผสู้ งู อายุ ดงั น้ี
ก. การจดั ทากรอบแนวทางการดาเนินงานของเครอื ข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้าน
การดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน โดยการเช่ือมหรือสังเคราะห์งานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือใช้
เป็นแนวทางในการจัดทาโครงการหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุใน
ชุมชน ประกอบไปด้วย การสรุปงานวิจัยเรื่อง “การป้องกันความรุนแรงและการละเมิดสิทธิต่อ
ผู้สูงอายุไทย” ที่ทาการศึกษาโดย รศ.ดร.จิราพร เกศพิชยวัฒนา คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย การสรุปงานวิจัยเร่ือง “การพัฒนาผู้สูงอายุในภาวะพฤฒพลังให้เกิดการยังประโยชน์
เพื่อสังคม” ที่ทาการศึกษาโดยสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 – 12 กระทรวงการพัฒนา
สังคมและความม่ันคงของมนุษย์ และการสรุปงานวิจัยเร่ือง “การจัดสวัสดิการสาหรับผู้สูงอายุที่มี
ภาระเล้ียงดูบุตรหลาน” ท่ีทาการศึกษาโดยสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 (จังหวัด
อุตรดิตถ์) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เพื่อสร้างความเชื่อมโยงกับหลัก
วชิ าการท่ีมาจากการค้นควา้ วิจยั สกู่ ารสรา้ งการยอมรับและเชื่อถอื ใหก้ บั เครือข่ายผสู้ ูงอายุ
ข. การสรุปประเด็นที่ได้เก็บรวบรวมข้อมูลมาเป็นแนวทางในการจัดทา
โครงการในรูปแบบ Info Graphic โดยแบ่งเป็น 3 กลุม่ ประกอบไปด้วย (1) กลุ่มองค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ิน (2) กลุ่มครอบครัวผู้สูงอายุ และ (3) กลุ่มผู้สูงอายุ และแบ่งหรือจัดกลุ่มผู้สูงอายุเป็น 3 กลุ่ม
คอื (1) กลุม่ ตดิ บ้าน (2) กล่มุ ติดเตียง และ (3) กล่มุ ตดิ สังคม ซ่งึ เป็นการประยุกต์ใช้เครื่องมือจากคู่มือ
ระบบดูแลและพิทักษค์ ุ้มครองสิทธิผสู้ งู อายใุ นระดับพนื้ ท่ี ปี 2562 ที่จัดทาโดยกรมกิจการผู้สูงอายุ มา
สำนักงำนส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์
การพฒั นากระบวนการด้านการให้บริการของกองทุนผู้สงู อายุ ในการสนับสนนุ งบประมาณใหแ้ ก่
เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิตดิ า้ นการดแู ลและคุ้มครองสทิ ธิผูส้ ูงอายใุ นชมุ ชน 53
ใชเ้ ป็นกรอบการสร้างความร้คู วามเข้าใจในแนวทางการจดั โครงการ/กิจกรรม ให้กับเครือข่ายผู้สูงอายุ
ในระดับพื้นท่ี
ค. การจัดทาแบบสารวจในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุใน
ชุมชน โดยให้เครือขา่ ยผ้สู งู อายุและเครือข่ายแวดลอ้ มผสู้ งู อายุเป็นผู้ตอบแบบสารวจ และนาข้อมูลมา
วิเคราะห์ประมวลผล เพ่ือนาไปสู่การกาหนดประเดน็ ในการจัดทาโครงการในมิติการดูแลและคุ้มครอง
พิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ และนาสู่การพัฒนาศักยภาพของเครือข่ายคณะทางานท่ีกาหนดข้ึนมาเพื่อเขียน
โครงการสู่แหล่งงบประมาณ ทั้งนี้การกาหนดประเด็นคาถามในการสารวจมาจากการสังเคราะห์
งานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงการประยุกต์ใช้เคร่ืองมือจากคู่มือระบบดูแลและพิทักษ์คุ้มครองสิทธิ
ผู้สงู อายุในระดับพ้ืนที่ ปี 2562 ทจ่ี ดั ทาโดยกรมกิจการผสู้ งู อายุ มาใช้เป็นกรอบ
ง. การฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายผู้สูงอายุและเครือข่ายแวดล้อม
ผู้สงู อายุ รวมถึงคณะทางานท่ีกาหนดขึ้น เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์สภาพปัญหาใน
มิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน การนาข้อมูลท่ีประมวลผลจากแบบสารวจมา
ประยุกตใ์ ช้ในการพัฒนาโครงการสู่แหล่งงบประมาณ
ท้ังน้ี การดาเนินงานพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย ในเร่ือง “การพัฒนากระบวนงานด้าน
การให้บริการของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนุนงบประมาณให้เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการ
ดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน” เป็นการเช่ือมโยงการใช้หลักการวิจัยเข้าสู่การวิเคราะห์การ
ปฏิบัติงานจริงในพ้ืนที่โดยเฉพาะประเด็นท่ีสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 เป็นส่วน
วิชาการท่ีเข้าร่วมปฏิบัติการส่งเสริมและสนับสนุนในเชิงวิชาการในพื้นท่ีตาบลท่าเสา อาเภอเมือง
จังหวัดอุตรดิตถ์ เม่ือปีงบประมาณ 2562 เช่ือมโยงกับการให้บริการท่ีเกี่ยวข้องในส่วนการพัฒนา
โครงการในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน ผ่านกลไกเครือข่ายผู้สูงอายุตาบล
ท่าเสา และเทศบาลตาบลท่าเสา ในฐานะผู้ใช้บริการ เชื่อมโยงกับผู้ให้บริการในมิติการสนับสนุน
งบประมาณขับเคล่อื นผา่ นกองทุนผสู้ ูงอายุ ท่ีสานกั งานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
อุตรดิตถ์ เปน็ ผู้ให้บริการ
ดังน้ัน การพัฒนากระบวนงานด้านการให้บริการของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนุน
งบประมาณให้เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุในชุมชน จึงมุ่งเน้น
กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับเครือข่ายผู้สูงอายุทั้งในระดับจังหวัดและระดับพ้ืนท่ี
เครอื ขา่ ยองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายวิชาการ ในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุ
ในชุมชน บนพนื้ ฐานการค้นหา วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาของผู้สูงอายุในระดับพื้นท่ี ผ่านกลไกของ
ชุมชน และท่ีสาคัญคือการสร้างเครือข่ายคณะทางานที่จะเป็นผู้พัฒนาโครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
อย่างมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วนในชุมชน จึงจะสามารถขับเคล่ือนระบบการดูแลและคุ้มครองสิทธิ
ผูส้ งู อายใุ นชุมชน ไดอ้ ยา่ งเป็นรปู ธรรม
สำนกั งำนสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์
การพัฒนากระบวนการด้านการใหบ้ ริการของกองทนุ ผู้สงู อายุ ในการสนับสนุนงบประมาณใหแ้ ก่
เครอื ข่ายผู้สงู อายุ ในมิตดิ า้ นการดแู ลและคุม้ ครองสทิ ธิผู้สูงอายใุ นชมุ ชน 54
5.2 ข้อเสนอแนะ
(1) ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย
1) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ควรพิจารณาในการให้ความช่วยเหลือกลุ่ม
ผู้สูงอายุ หรือสนับสนุนโครงการอย่างเป็นระบบ ที่เอื้อให้สังคมแวดล้อมผู้สูงอายุเข้ามามีส่วนร่วมใน
การพัฒนาระบบการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ เพื่อให้การดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ
ผูส้ งู อายุ ครอบคลุมทุกกลมุ่ เปา้ หมายในชุมชน และสงั คมแวดล้อมผู้สูงอายุ ต้ังแตเ่ ด็กจนถงึ ผใู้ หญ่
2) ในระดับกรรมการผู้พิจารณาโครงการที่ถูกเสนอจากเครือข่ายผู้สูงอายุ
ควรคานึงถงึ การเขียนโครงการโดยตัวเครือข่ายผู้สูงอายุ ซ่ึงไม่ใช่ผู้ท่ีมาจากหน่วยงาน หรือนักวิชาการ
ดังน้ันการให้ข้อพิจารณาจึงอาจต้องให้ข้อคานึงถึงการเขียนที่อาจใช้ภาษาหรือลักษณะการเขียนท่ีไม่
สวยงาม แตม่ คี วามตง้ั ใจในการปฏบิ ตั จิ รงิ
3) รัฐบาลควรกาหนดแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง
ในผู้สูงอายุ ดังนี้ (1) ส่งเสริมให้สถาบันการศึกษาปลูกฝังทัศนคติ ไม่ใช้ความรุนแรงตั้งแต่เด็ก
(2) ส่งเสรมิ การสรา้ งทัศนคติให้เห็นคุณค่าของผู้สูงอายุ และ (3) ส่งเสริมให้ครอบครัวเป็นแบบอย่างท่ี
ดีในการไม่ใช้ความรุนแรง
(2) ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ
1) เครือข่ายผู้สูงอายุ รวมถึงเครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ควรมี
การนาเทคโนโลยีการส่ือสารมาใช้ประโยชน์ในการประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้ในมิติการดูแลและ
คมุ้ ครองพิทักษส์ ิทธผิ สู้ งู อายุใหก้ ับชุมชน
2) หน่วยงานที่เก่ียวของด้านการขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุ ควรมีการจัดการ
ความรู้ในมิตกิ ารทางานด้านผู้สงู อายุในพื้นท่ี
3) องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น และเครือข่ายผู้สูงอายุควรมีการกาหนดการ
ตดิ ตามประเมินผล ดูความคมุ้ ค่า ทันเวลา และยดื หยนุ่ ในการพฒั นาโครงการ
4) การพัฒนาโครงการในมิติด้านการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ
ในชุมชน ควรมีการกาหนดประเด็นร่วมในการดาเนินการและพัฒนาโครงการ จากข้อมูลที่จัดเก็บ
นาเสนอ และผ่านการวิเคราะห์ร่วมกัน โดยอาศัยการจัดเวทีให้เครือข่ายวิเคราะห์ประเด็นข้อมูลตาม
แบบสอบถามเพิ่มเติม เพือ่ นาไปใชใ้ หต้ รงตามกลุ่มเปา้ หมายและความตอ้ งการจรงิ
5) เครือข่ายผู้สูงอายุควรจดทะเบียนรับรองเป็นองค์กรสาธารณประโยชน์
เพื่อสร้างความน่าเชอื่ ถือ และเข้าถึงกองทุนตา่ งๆ ไดต้ ามสทิ ธิ
6) เครือข่ายผู้สูงอายุควรกาหนดผู้เขียนโครงการในมิติด้านการดูแล
และคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุในชุมชน แต่ละมิติ ดังนี้ (1) กลุ่มติดบ้าน (2) กลุ่มติดเตียง และ
(3) กลมุ่ ติดสังคม
7) ในมติ กิ ารเขยี นโครงการเครือข่ายผู้สูงอายุควรเขียนหลักการและเหตุผล
ท่ีเช่ือมโยงกับยุทธศาสตร์/แผนงานของแหล่งงบประมาณ พร้อมทั้งการจัดทาแผนกิจกรรมท่ีระบุ
กิจกรรมย่อยในทุกมิติในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เพื่อให้เห็นภาพของการพัฒนาโครงการทั้ง
ระบบ
สำนกั งำนสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมมน่ั คงของมนษุ ย์
การพัฒนากระบวนการดา้ นการใหบ้ รกิ ารของกองทุนผูส้ งู อายุ ในการสนบั สนนุ งบประมาณให้แก่
เครอื ข่ายผสู้ งู อายุ ในมิตดิ า้ นการดแู ลและคมุ้ ครองสิทธิผสู้ ูงอายุในชมุ ชน 55
8) เครือข่ายผู้สูงอายุควรมีการวิเคราะห์ แยกแยะกลุ่มเป้าหมายของ
โครงการท่ีชัดเจน เช่น กลุ่มครอบครัว กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นต้น จะสามารถนาไปสู่การของบประมาณ
จากแหลง่ ทนุ ตา่ งๆ ไดช้ ัดเจนขนึ้
9) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และเครือข่ายผู้สูงอายุควรเขียนแผนงาน
โครงการท่ีมิความหลากหลายสามารถทาให้มองเหน็ ภาพของการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุทั้งระบบ
ได้ ไม่เพยี งเฉพาะในมิตดิ า้ นการดูแลและคมุ้ ครองพิทักษส์ ิทธ์ิผู้สงู อายุเทา่ น้ัน
10) การปฏิบัติในพ้ืนที่ เครือข่ายผู้สูงอายุควรมีการกาหนดประเด็นเพ่ือ
พัฒนาเปน็ โครงการ และควรกาหนดผู้เขียนโครงการเพ่อื ใหส้ ามารถเขียนโครงการไดต้ รงประเด็น และ
ทันต่อระยะเวลา ดังนี้ (1) ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (ศพอส.) (2) โรงเรียน
ผสู้ งู อายุ (3) เทศบาลตาบลทา่ เสา
11) การเขียนโครงการมีความจาเป็นต้องเขียนไว้ล่วงหน้า และรอช่วงเวลา
ในการรับข้อเสนอโครงการจากแหลง่ งบประมาณ ตามปฏิทินการรับข้อเสนอโครงการของแต่ละแหล่ง
งบประมาณ
12) ในมิติการเขียนโครงการ เครือข่ายผู้สูงอายุ และองค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถ่ินสามารถเช่ือมการสนับสนุนเชิงวิชาการ กับสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 รวมถึง
มหาวิทยาลัยราชภฎั อตุ รดติ ถ์ ซง่ึ เป็นสถาบนั การศึกษาท่สี นับสนุนเชิงวชิ าการในระดบั พ้ืนที่
13) เครือข่ายผู้นาท้องถิ่น ท้องที่ ควรร่วมกันในการพัฒนาโครงการอย่างมี
ส่วนร่วมโดยใช้ข้อมูล หลักการ ที่มีการสนับสนุนจากกระบวนการวิจัย วิชาการมาสร้างกระบวนการ
ผ่านเครอื ขา่ ย
14) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควรสนับสนุนงบประมาณในมิติด้านการ
ดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ์ผู้สูงอายุในชุมชนอย่างต่อเน่ือง และสนับสนุนให้ผู้นาชุมชน แกนนา
ผสู้ ูงอายุ มบี ทบาทในการพฒั นาศกั ยภาพ
สำนกั งำนสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมม่ันคงของมนษุ ย์
การพฒั นากระบวนการด้านการให้บริการของกองทุนผ้สู ูงอายุ ในการสนบั สนนุ งบประมาณใหแ้ กเ่ ครอื ข่ายผู้สูงอายุ
ในมติ ิดา้ นการดูแลและค้มุ ครองสทิ ธิผู้สงู อายใุ นชุมชน 56
บรรณานุกรม
จริ าพร เกศพิชญวัฒนา(2560).การศกึ ษาสถานการณ์ความรนุ แรงและการละเมิดสิทธติ ่อผูส้ ูงอายใุ นไทย.มูลนิธิ
สถาบนั วจิ ัยและพัฒนาผสู้ ูงอายไุ ทย(มส.ผส.).สานักงานกองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสริมสุขภาพ.
จันทนา รณฤทธิ์วิชัย. (2533). คู่มือการพยาบาลผู้สูงอายุ. กรุงเทพมหานคร : คณะพยาบาลศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล.
ไมตรี ติยะรัตนกูร. (2536). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสุขภาพจิตของผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร:
กรณศี ึกษาผสู้ งู อายใุ นชมรมผสู้ ูงอายกุ รงุ เทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมศาสตมหาบัณฑิต,
สาขาวจิ ัยประชากรและสังคม, บณั ฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลยั มหดิ ล.
บรรลุ ศริ ิพานชิ . (2542). ผสู้ ูงอายุไทย. กรุงเทพมหานคร: หมอชาวบ้าน.
ปราโมทย์ วังสะอาด. (2530). ปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์ต่อสุขภาพจิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมือง
กาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาประชากรศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย,
มหาวิทยาลยั มหดิ ล.
มลู นิธสิ ถาบันวจิ ัยและพัฒนาผูส้ ูงอายุไทย, ๒๕๕๙ https://thaitgri.org
Ebersole, P. & Hess, P. (1998). Toward healthy aging : Human need and nursing response.
(5th) St. Louis. Toronto. London : The C. V. Mosby Company.
Ferrini, A.F., & Ferrini, R.L. (1993). Health in the later years (2nd ed.). Madison, WI : Brown &
Benchmark.
สำนกั งำนส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมั่นคงของมนษุ ย์
ภาคผนวก
การพัฒนากระบวนการดา้ นการใหบ้ รกิ ารของกองทุนผู้สูงอายุ ในการสนับสนุนงบประมาณใหแ้ ก่ 58
เครอื ขา่ ยผ้สู งู อายุ ในมิตดิ ้านการดแู ลและคุ้มครองสิทธิผสู้ งู อายุในชมุ ชน
แบบสอบถามความตอ้ งการในการพัฒนาโครงการดา้ นการดแู ลและคมุ้ ครองพทิ กั ษ์
สิทธผิ ู้สงู อายเุ ครือขา่ ยผ้สู ูงอายตุ าบลท่าเสา อาเภอเมือง จังหวดั อุตรดติ ถ์
****************
วตั ถุประสงค์
1. เพื่อสารวจความต้องการในการพัฒนาโครงการด้านการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ
ผูส้ งู อายุเครอื ข่ายผูส้ ูงอายตุ าบลท่าเสา อาเภอเมือง จงั หวดั อุตรดิตถ์
2. เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาโครงการด้านการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ
เครือขา่ ยผู้สงู อายใุ นระดับพืน้ ที่
3. เพ่ือนาผลการสารวจไปประกอบการจัดทาโครงการการด้านการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์
สิทธิผู้สูงอายุเครือข่ายผู้สูงอายุตาบลท่าเสา อาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ร่วมกับเครือข่ายในการ
ขอรบั การสนับสนนุ งบประมาณจากกองทุนผู้สอู ายุ
สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู ท่วั ไป หญงิ อ่นื ๆ (ระบุ) ...............
1.เพศ
ครสิ ต์
ชาย อนื่ ๆ (ระบุ) ................
2. อายุ ……………………. ปี
3. ศาสนา ประถมศึกษา
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช.
พุทธ ปริญญาตรี
อสิ ลาม อนื่ ๆ (ระบุ) ................
4. การศึกษา
ไม่ได้เรียน ภาครฐั วิสาหกิจ
มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ภาคเกษตรกรรม
อนุปริญญา/ปวส. พนกั งานบริการ /พนกั งานขายในรา้ นคา้
สงู กวา่ ปริญญาตรี แมบ่ า้ น
5. อาชีพ อ่ืน ๆ (ระบ)ุ ................
ภาคราชการ
ภาคธรุ กิจเอกชน
ธุรกิจส่วนตัว /ค้าขาย
รับจา้ งท่ัวไป
ว่างงาน
สำนกั งำนส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมัน่ คงของมนษุ ย์
การพฒั นากระบวนการดา้ นการใหบ้ ริการของกองทนุ ผ้สู ูงอายุ ในการสนบั สนุนงบประมาณให้แก่ 59
เครอื ขา่ ยผสู้ ูงอายุ ในมิตดิ ้านการดแู ลและคมุ้ ครองสทิ ธิผูส้ งู อายุในชมุ ชน
สว่ นท่ี 2 สาเหตุของปัญหา แนวทางการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา ในดา้ นการดแู ลและคุม้ ครอง
พิทกั ษ์สิทธิผู้สงู อายุ ตาบลท่าเสา
2.1 ความคดิ เหน็ ในประเดน็ ความรนุ แรงของผสู้ งู อายุในตาบลทา่ เสา
2.1.1 ท่านคดิ ว่าการกระทาใด คือ การกระทาความรนุ แรงในผูส้ งู อายมุ ากทส่ี ุด
(เลอื กตอบ 1 ข้อ)
o การทาร้ายร่างกาย (เชน่ ทะเลาะววิ าท การทุบ ตี ต่อย เตะ เปน็ ตน้ )
o การทาร้ายจติ ใจ (เชน่ วาจา ดา่ ทอ ท่าทาง สายตา สีหนา้ ทาให้เจ็บชา้ นา้ ใจ
อบั อาย เป็นตน้ )
o การทารา้ ยทางเพศ (เช่น การทารุนแรงทางเพศ การคุกคามทางเพศ การบังคับ
ใหม้ ีเพศสมั พันธ์ การลว่ งละเมดิ ทางเพศ)
o การถูกทอดทิง้ ขาดผู้ดูแล
o การถกู ล่อลวง และบังคบั แสวงหาผลประโยชน์
o อน่ื ๆ (ระบ)ุ ...........................
2.1.2 ทา่ นคดิ ว่า ใคร เปน็ ผู้กระทาความรนุ แรงตอ่ ผ้สู ูงอายมุ ากทีส่ ุด (เลอื กตอบ 1 ขอ้ )
o บุคคลอื่น หมายถึง คนแปลกหน้า มิจฉาชีพ
o บุคคลใกล้ชดิ หมายถึง ญาติ เพอื่ นบ้าน เพอื่ นสนิท
o บุคคลในครอบครัว หมายถงึ พ่อ แม่ พี่น้อง สามี ภรรยา ลูก หลาน
o อื่นๆ (ระบุ)...........................
2.1.3 ท่านคิดวา่ สาเหตุ หรือ ปัจจยั ใด ทที่ าใหผ้ ู้สงู อายุถกู กระทาความรุนแรงมากที่สดุ
(เลือกตอบ 1 ขอ้ )
o ผูส้ ูงอายุชว่ ยเหลอื ตัวเองไม่ได้ เนือ่ งจากความเจ็บปว่ ยและความพิการ
o ผู้สูงอายอุ ยู่ตามลาพัง
o ตอ้ งการทรพั ย์สนิ ของผู้สงู อายุ
o ความเครยี ดจากผดู้ ูแล
o ผดู้ ูแลติดอบายมุข เชน่ การพนนั สรุ า ยาเสพติด
o ผู้ดแู ลร้สู ึกวา่ ผ้สู ูงอายเุ ปน็ ภาระ
o ผู้ดแู ลมภี าระหนี้สิน รายได้ไม่เพยี งพอ
o อื่นๆ (ระบุ)...........................
สำนักงำนสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์
การพฒั นากระบวนการดา้ นการให้บริการของกองทนุ ผ้สู ูงอายุ ในการสนับสนุนงบประมาณใหแ้ ก่ 60
เครอื ข่ายผสู้ งู อายุ ในมิตดิ ้านการดแู ลและคมุ้ ครองสทิ ธิผ้สู งู อายุในชมุ ชน
2.1.4 หากท่านทราบ/พบเห็น เหตุการณ์ความรุนแรงกับผู้สูงอายุ จะทาอย่างไร
(เลือกตอบ 1 ขอ้ )
o เข้าไปชว่ ยเหลือ
o แจง้ ตารวจ
o แจ้ง กานัน/ผ้ใู หญ่บา้ น/ผูน้ าชุมชน/ผนู้ าทอ้ งถ่ิน
o แจง้ สายด่วน 191 แจง้ เหตดุ ว่ นเหตรุ า้ ย
o แจง้ สายดว่ น 1300 ศูนย์ชว่ ยเหลือสงั คม
o แจง้ สายด่วน 1669 หนว่ ยบรกิ ารการแพทย์ฉุกเฉิน ศนู ยน์ เรนทร
o แจง้ สายดว่ น 1567 ศูนย์ดารงธรรม
o ถา่ ยรปู / คลปิ / ไลฟ์สด
o หลกี เล่ยี ง (กลัวโดนลกู หลง)
o เพกิ เฉย / ไมส่ นใจ
o อนื่ ๆ (ระบ)ุ ...........................
2.2 สถานการณ์ปัญหาท่เี กย่ี วกับการคุ้มครองพทิ กั ษ์สทิ ธผิ ู้สูงอายุตาบลท่าเสา
2.2.1 ทา่ นคดิ ว่าอะไรบา้ งเปน็ สาเหตทุ าให้ผู้สงู อายุถกู ทอดท้งิ (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ )
o ไมม่ ีผู้ดูแลท่เี หมาะสม
o อย่ใู นสภาพท่ีอยู่อาศยั ไมเ่ หมาะสม
o ถกู นามาปล่อยในที่สาธารณะ
o ความยากจน
o อ่ืนๆ (ระบ)ุ ...........................
2.2.2 การทผ่ี สู้ ูงอายุถูกทารา้ ยรา่ งกายเกิดจากอะไร (ตอบได้มากกวา่ 1 ขอ้ )
o ความเครียดของผ้ดู ูแลผูส้ งู อายุ
o จากการกระทาของบคุ คลภายนอกโดยเฉพาะการมุ่งต่อทรพั ย์
o การคกุ คามทางเพศ
o ตวั ผสู้ งู อายุเอง
o อืน่ ๆ (ระบ)ุ ...........................
สำนกั งำนสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมม่ันคงของมนุษย์
การพฒั นากระบวนการดา้ นการให้บริการของกองทนุ ผ้สู ูงอายุ ในการสนบั สนนุ งบประมาณให้แก่ 61
เครือข่ายผู้สูงอายุ ในมติ ดิ ้านการดแู ลและค้มุ ครองสิทธิผ้สู ูงอายใุ นชมุ ชน
2.2.3 สาเหตทุ ท่ี าให้ผสู้ งู อายุถกู หลอกลวงให้เสียทรัพยส์ ิน (ตอบได้มากกวา่ 1 ขอ้ )
o หลอกให้ทาธุรกรรมการเงนิ (ไม่รเู้ ทา่ ทนั )
o ใชส้ ือ่ หลอกให้ซ้ือสินค้า ไม่มคี ุณภาพ/มาตรฐาน
o ความเชอื่ ที่ผดิ ๆ และอยากได้ อยากหายจากโรค
o อ่นื ๆ (ระบ)ุ ...........................
2.2.4 ปัญหาทีท่ ่านพบ ในครอบครวั ของผ้สู ูงอายุ ในพน้ื ที่ตาบลทา่ เสา มีอะไรบ้าง
(ตอบไดม้ ากกว่า 1 ข้อ)
o ความรนุ แรงในครอบครัว เช่น บ่น ด่า วา่ กล่าว ผู้สงู อายุดว้ ยถ้อยคารนุ แรง
o ไมส่ นใจ ไม่ใหค้ วามสาคญั ต่อผู้สูงอายุ
o ผู้สงู อายุอยูต่ ามลาพัง
o ปัญหารายได้ไมเ่ พยี งพอต่อค่าใช้จา่ ย
o อ่นื ๆ (ระบุ)...........................
2.2.5 ปัญหาความรุนแรงต่อผู้สูงอายุท่ที ่านพบเหน็ ในพื้นที่ (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ)
o ถูกกระทาความรนุ แรงจากบุคคลภายในครอบครวั
o ความขดั แย้งภายในครอบครวั
o ถกู กระทาความรุนแรงจากบคุ คลอ่นื หรือบุคคลภายนอกครอบครัว
o อนื่ ๆ (ระบุ)...........................
2.3 แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา ด้านการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุเครือข่าย
ผสู้ ูงอายุตาบลท่าเสา
2.3.1 แนวทางการจัดกจิ กรรมทเ่ี หมาะสมสาหรบั ผสู้ ูงอายกุ ลุ่มตดิ บ้าน
(ตอบไดม้ ากกว่า 1 ข้อ)
o ทากจิ กรรมเสรมิ สร้างสขุ ภาพกาย และจติ ใจให้กับตนเอง
o เข้าร่วมกิจกรรมกับครอบครัวและชุมชน เช่นโรงเรียนผู้สูงอายุ รับประทาน
อาหารร่วมกนั
o ฝึกอาชีพใหเ้ หมาะสมและมีความถนัดกับตวั เอง เพอ่ื นาไปประกอบอาชีพ
o ทางานอดิเรก ทต่ี นเองสนใจ
o อ่นื ๆ (ระบ)ุ ......................................
สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์
การพฒั นากระบวนการดา้ นการให้บรกิ ารของกองทนุ ผ้สู งู อายุ ในการสนบั สนุนงบประมาณให้แก่ 62
เครอื ขา่ ยผู้สงู อายุ ในมติ ดิ ้านการดแู ลและคุ้มครองสทิ ธิผู้สงู อายุในชมุ ชน
2.3.2 แนวทางการจดั กจิ กรรมท่ีเหมาะสมสาหรบั ครอบครวั ท่มี ผี สู้ งู อายทุ ี่ตดิ บ้าน
(ตอบไดม้ ากกว่า 1 ข้อ)
o สร้างความรู้ความเข้าใจในครอบครัว เร่ืองการดูแลและความเข้าใจความเส่ือม
ถอยของผู้สงู อายุ
o จัดกจิ กรรมรว่ มกันภายในครอบครวั เช่น พูดคุย ปลกู ตน้ ไม้
o กระต้นุ และสนบั สนุนให้ผสู้ ูงอายุทากิจกรรมของครอบครัว ชุมชน และกิจกรรม
ตามประเพณี
o พาผสู้ งู อายุตรวจสขุ ภาพประจาปี
o ดูแลเรอ่ื งการรบั ประทานยาใหเ้ ปน็ ไปตามแพทย์ส่ัง
o ปรบั สภาพล้อมให้เหมาะสมและปลอดภัยกับผู้สูงอายุ เช่นพ้ืนไม่ล่ืน มีแสงสว่าง
เพยี งพอ
o อื่นๆ (ระบ)ุ ...............................
2.3.3 ท่านคิดว่าหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในพ้ืนที่ตาบลของท่าน เช่น เทศบาล, รพ.สต. ควรจัด
กิจกรรมทเี่ หมาะสม สาหรับผู้สูงอายุที่ตดิ บา้ น อย่างไร (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ)
o จัดกจิ กรรมท่ีเหมาะสม สอดคลอ้ ง ตรงกบั ความต้องการของผู้สงู อายุ
o ป้องกัน และเฝ้าระวัง ดูแลผู้สูงอายุให้ปลอดภัยจากอันตรายต่างๆ รอบตัว
ผสู้ ูงอายุ
o อบรมให้ความรู้เก่ียวกับสิทธิสวัสดิการ และการดูแลสุขภาพให้กับผู้สูงอายุ
ครอบครัวและอาสาสมัคร
o ปรับสภาพบ้านและส่ิงแวดล้อมให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ เช่น ราวทางเดิน
ห้องนา้ ราวบนั ได แสงสว่าง เพ่ืออานวยความสะดวกแกผ่ สู้ ูงอายุ
o ลงพ้นื ท่เี ย่ยี มเยยี น ใหค้ าปรกึ ษาแก่ผู้สูงอายุ
o อ่นื ๆ (ระบ)ุ ...............................
2.3.4 แนวทางการจัดกิจกรรมทเี่ หมาะสมสาหรบั ผู้สูงอายุกลมุ่ ตดิ เตยี ง
(ตอบไดม้ ากกว่า1 ขอ้ )
o กายภาพบาบดั (ด้วยตนเอง/บุคคลอน่ื ) เพอื่ บาบัด ฟน้ื ฟูกล้ามเน้อื ตา่ งๆ
o เยี่ยมบ้าน ใหก้ าลังใจ /ของฝาก
o แนะนา สนทนาพดู คุย เพือ่ ลดความเครยี ดแก่ผสู้ ูงอายตุ ิดเตยี ง
o พาทาบุญถวายสงั ฆทาน โดยนิมนต์พระสงฆอ์ อกบิณฑบาต เย่ยี มบา้ น
o อนื่ ๆ (ระบ)ุ ...............................
สำนกั งำนส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์
การพัฒนากระบวนการดา้ นการใหบ้ รกิ ารของกองทุนผสู้ งู อายุ ในการสนับสนุนงบประมาณใหแ้ ก่ 63
เครอื ขา่ ยผสู้ ูงอายุ ในมติ ดิ า้ นการดแู ลและคุ้มครองสิทธผิ ู้สงู อายใุ นชมุ ชน
2.3.5 แนวทางการจดั กิจกรรมทเ่ี หมาะสมสาหรับครอบครัวท่มี ผี ู้สงู อายุท่ีติดเตยี ง
(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
o สร้างความรู้ความเข้าใจครอบครัว เร่ืองการดูแล และความเข้าใจความเสื่อม
ถอยของผู้สงู อายุ
o ครอบครัวให้กาลังใจกบั ผสู้ งู อายุ โดยพูดคยุ รับฟัง จบั มือ และโอบกอด
o ดูแลเรื่องการรับประทานยาให้เป็นไปตามแพทยส์ ัง่
o ปรบั สภาพแวดล้อมให้เหมาะสมและปลอดภัยกับผู้สูงอายุเชน่ เตียงของผู้สูงอายุ
ไมค่ วรสงู จากพ้นื ประมาณ 45 ซม. และควรมีราวกั้นเพือ่ ป้องกันการพลัดตก
ลงมา อากาศถ่ายเทสะดวก
o อน่ื ๆ (ระบุ) ...............................
2.3.6 ท่านคิดว่าหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในพ้ืนท่ีตาบลของท่าน เช่น เทศบาล, รพ.สต. ควรจัด
กิจกรรมที่เหมาะสม สาหรับผู้สูงอายุท่ีติดเตียง อย่างไร (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ )
o อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุติดเตียง การใช้กายอุปกรณ์ และการ
ทากายภาพบาบัดเบอ้ื งต้นทถ่ี ูกวิธีให้กบั ครอบครัวและอาสาสมคั ร
o ส่งเสริมความรเู้ ร่อื ง การปรับสภาพบา้ นและสง่ิ แวดล้อมใหเ้ หมาะสมกับผู้สูงอายุ
ให้กบั ครอบครัว อาสาสมคั ร และช่างท้องถิน่
o จนท.อปท./อาสาสมัคร ลงพื้นท่ีเย่ยี มเยียน พดู คยุ สังเกตการณ์
การเปลยี่ นแปลงร่างกาย อารมณ์ และจติ ใจของผูส้ ูงอายุ
o จนท.อปท./อาสาสมัคร พาผู้สงู อายุไปพบแพทย์
o ดแู ลฟน้ื ฟสู มรรถภาพ ลดความเจ็บปว่ ยซ้าซ้อน
o ใหค้ าแนะนาการดแู ลผูส้ ูงอายตุ ดิ เตยี งกบั ครอบครวั ผสู้ งู อายุ และอาสาสมัคร
o อน่ื ๆ (ระบ)ุ ...............................
2.3.7 แนวทางการจดั กิจกรรมท่ีเหมาะสมสาหรบั ผสู้ ูงอายกุ ลมุ่ ตดิ สังคม
(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
o ดแู ลตนเองดา้ นร่างกาย และจิตใจ
o ติดตามข้อมูลข่าวสารผ่านส่ือต่างๆ ให้มีความรู้เท่าทันข่าวสาร เพ่ือป้องกันการ
ถูกละเมิด
o กจิ กรรมเย่ียมบา้ นผู้สงู อาย.ุ ..เพอื่ นเย่ียมเพ่ือน
o จดั กจิ กรรมบาเพ็ญประโยชน์ / จิตอาสา
o จัดกจิ กรรม “ให.้ ...เพื่อสังคม”
o อ่นื ๆ (ระบ)ุ ...............................
สำนกั งำนส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมมน่ั คงของมนุษย์
การพัฒนากระบวนการด้านการให้บรกิ ารของกองทุนผู้สงู อายุ ในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่ 64
เครือข่ายผ้สู งู อายุ ในมติ ดิ า้ นการดแู ลและคมุ้ ครองสทิ ธผิ ้สู งู อายุในชมุ ชน
2.3.8 แนวทางการจัดกจิ กรรมทีเ่ หมาะสมสาหรับครอบครัวท่ีมีผ้สู ูงอายุทีต่ ิดสังคม
(ตอบได้เพยี ง 1 ข้อ)
o สร้างความรู้ ความเข้าใจในครอบครัว เร่ืองการดูและความเข้าใจ ความเสื่อม
ถอยของผสู้ ูงอายุ
o เฝา้ ระวัง สอดสอ่ ง สงั เกตการณ์ เอาใจใส่ ดแู ลอยา่ งใกล้ชิด เพอื่ ป้องกันภยั ต่างๆ
รอบตัวผสู้ ูงอายุ
o สมาชกิ ในครอบครวั มีการพดู คุยใหก้ าลังใจรับประทานอาหารรว่ มกัน ทา
กจิ กรรมรว่ มกัน
o พาผสู้ งู อายุตรวจสุขภาพประจาปี
o ปรับสภาพแวดลอ้ มให้เหมาะสมและปลอดภยั กบั ผ้สู ูงอายุ เช่น พน้ื ไม่ลน่ื มี
ระดับ ไม่มขี ้นั ที่จะทาให้สะดุดล้ม มีแสงสวา่ งเพียงพอ
o อ่นื ๆ (ระบุ) ...............................
2.3.9 ทา่ นคดิ วา่ หนว่ ยงานที่เก่ียวข้องในพนื้ ทตี่ าบลของท่าน เชน่ เทศบาล, รพ.สต. กจิ กรรม
ทเี่ หมาะสมสาหรบั ผ้สู งู อายทุ ี่ติดสังคม อย่างไร (ตอบไดเ้ พียง 1 ข้อ)
o ส่งเสริมความรู้เก่ียวกับสิทธิสวัสดิการ และการดูแลสุขภาพ ให้กับผู้สูงอายุ
ครอบครัว และอาสาสมคั ร
o ส่งเสริมความรู้เรื่องการป้องกันจากการถูกหลอกหลวงจากภัยต่างๆ และ
ถูกละเมิดสิทธิให้กับผู้สูงอายุ ครอบครัว และอาสาสมัคร เพื่อลดความเสี่ยงใน
การถูกหลอกหลวง
o ส่งเสริมความรู้เรื่องกฎหมายเก่ียวกับผู้สูงอายุถูกกระทาความรุนแรง ให้กับ
ผู้สงู อายคุ รอบครัวและอาสาสมัคร
o เฝา้ ระวัง สอดคล้อง ดูแลผสู้ งู อายเุ พ่ือป้องกันภยั ต่างๆ รอบตวั ผสู้ งู อายุ
o ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้ผู้สูงอายุ พัฒนาศักยภาพและภูมิปัญญาให้เหมาะสม
เชน่ โรงเรยี นผสู้ ูงอายุ ถา่ ยทอดภมู ิปัญญาให้เด็กและเยาวชน
o ส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตามความถนัดและสนใจ เช่น หัตกรรม การแปรรูป
อาหาร
o ส่งเสรมิ ใหม้ โี รงเรียนผสู้ ูงอายใุ นชมุ ชน และจัดกิจกรรมอย่างต่อเนอ่ื ง
o ใหค้ าปรกึ ษาในปญั หาต่าง ๆ และใหค้ วามรู้ ความเข้าใจ เพ่อื กระตุ้นในการสร้าง
สมั พันธภาพระหว่างสมาชกิ ในครอบครัว
o อน่ื ๆ (ระบ)ุ .................................
สำนกั งำนส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมมัน่ คงของมนุษย์
การพัฒนากระบวนการด้านการใหบ้ ริการของกองทุนผู้สงู อายุ ในการสนบั สนุนงบประมาณใหแ้ ก่ 65
เครอื ขา่ ยผู้สงู อายุ ในมติ ดิ ้านการดแู ลและค้มุ ครองสิทธผิ ูส้ งู อายุในชมุ ชน
3. แนวทางการพัฒนาโครงการ สร้างระบบการดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ แก่เครือข่าย
ผสู้ ูงอายตุ าบลทา่ เสา โดยการมสี ่วนร่วมของหนา่ ยงานภาครัฐและภาคีเครือข่ายในพ้ืนท่ี ประกอบด้วย
อะไรบา้ ง (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
o การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพเพื่อสร้างพลังบวกให้แก่ผู้สูงอายุ ในชุมชน
และในโรงเรยี น อย่างตอ่ เน่อื ง
o การสนับสนุนให้ผู้นาชุมชน แกนนาผู้สูงอายุมีบทบาทในการพัฒนาศักยภาพ
และความสามารถของผ้สู ูงอายุ
o ให้หน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สนับสนุนการดาเนินกิจกรรมด้าน
ผสู้ ูงอายุอย่างต่อเน่อื ง และสอดคล้องกบั ความต้องการของผู้สงู อายุ
o เทศบาลตาบล โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบล ประธานชมรม/ กลุ่มผู้สูงอายุ
และผู้นาชุมชน เป็นเจ้าภาพหลักในการติดตามและพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ผสู้ ูงอายุ
o อน่ื ๆ (ระบุ) ............................................................
4. ท่านต้องการให้รัฐบาลกาหนดแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาไม่ให้เกิดความรุนแรงใน
ผูส้ งู อายอุ ย่างไร (ตอบได้มากกวา่ 1ขอ้ )
o ส่งเสรมิ ใหส้ ถาบันการศกึ ษาปลกู ฝังทศั นคตไิ ม่ใช้ความรนุ แรง ตงั้ แตเ่ ด็ก
o สง่ เสริมให้ครอบครัวเป็นแบบอย่างทด่ี ีในการไมใ่ ชค้ วามรุนแรง
o สง่ เสริมการสรา้ งความสัมพนั ธท์ ด่ี ีในครอบครัว/อบรมส่งั สอน
o ส่งเสริมการสรา้ งทัศนคตใิ ห้เห็นคุณค่าของผูส้ ูงอายุ (เชน่ ความกตัญญู
เออ้ื อาทร การชว่ ยเหลอื เกื้อกูล)
o รณรงค์ยุติปญั หาความรนุ แรง (เช่น การจดั กิจกรรม สรา้ ง/ปลูกฝังจิตสานกึ )
o การบงั คบั ใชก้ ฎหมาย (มีบทลงโทษท่เี ดด็ ขาด)
o จัดให้มีระบบ/กลไกการเฝ้าระวงั ในชุมชน (Early Detection/Early warning)
o อน่ื ๆ (ระบ)ุ ............................................................
5. ขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
สำนักงำนสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ ำกำร 8 กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำมมัน่ คงของมนษุ ย์
คณะผจู้ ดั ทำ
ที่ปรกึ ษำโครงกำร
นำงสำวบงกช สจั จำนติ ย์ ผูอ้ ำนวยกำรสำนักงำนสง่ เสริมและสนับสนุนวิชำกำร 8
คณะผวู้ ิจัย
1. นายนครนิ ทร์ เขม็ ทอง นกั พฒั นาสังคมชานาญการพเิ ศษ
2. นางสาวศศิยาภรณ์ เศรษฐธ์ นโชค นกั พัฒนาสงั คมชานาญการ
3. นางสาวสุธิศา วรรณบรู ณ์ นกั จดั การงานทว่ั ไปปฏิบัตกิ าร
4. นางวิมลทพิ ย์ พันชน พนักงานบริการ
5. นางสาวชนกพร พรมภา พนักงานบริการ
6. นางสาวพรพรรณ มีง้วิ นกั พฒั นาสังคม