การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาดนตรี เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวัน การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทักษิณ สิมสิริวัฒน์ รายงานการวิจัยในชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2566
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาดนตรี เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทักษิณ สิมสิริวัฒน์ รายงานการวิจัยในชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2566
ชื่อเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาดนตรี เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวัน การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้วิจัย ทักษิณ สิมสิริวัฒน์ อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก อาจารย์รชต คีตโชติบัณฑิต ครูพี่เลี้ยง คุณครูปิโยรส โลหะพรหม ปริญญา ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ดนตรีศึกษา ปีการศึกษา 2566 อาจารย์ควบคุมการวิจัยในชั้นเรียน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี อนุมัติให้นับงานวิจัยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต .....................................................อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก (อาจารย์รชต คีตโชติบัณฑิต) .....................................................ครูพี่เลี้ยง (คุณครูปิโยรส โลหะพรหม)
บทคัดย่อ ผู้วิจัยได้เล็งเห็นความส าคัญในการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้นักเรียนเกิด กระบวนการทักษะในการทดลองปฏิบัติจริง โดยเฉพาะวิชาดนตรีที่เนื้อหาสาระรายวิชาส่วนใหญ่มุ่ง ประเด็นหลักไปที่หลักการการลงมือปฏิบัติจริง และคิดวิเคราะห์ ผู้วิจัยจึงได้สร้างชุดกิจกรรมการ เรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT มาเป็นต้นแบบในการสร้างและพัฒนาชุดกิจกรรม ซึ่งผู้วิจัยได้ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจากประชากรนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทั้งหมดได้แก่ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6/2 จ านวน 24 คน จากการศึกษาพบว่า ก่อนใช้ชุดกิจกรรม ผู้วิจัยได้ใช้กระบวนการ สอนดนตรีแบบเดิม นั่นคือ การสอนภาคทฤษฎีซึ่งยึดครูผู้สอนเป็นศูนย์กลางความรู้โดยที่ครูใช้วิธีการ บรรยายประกอบกับการใช้กระดานเป็นสื่อในการท าการเรียนการสอน ให้นักเรียนจ าจากนั้นให้ นักเรียนท าความเข้าใจ จากการสังเกตพบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจในชุดค าสั่งที่ครูผู้สอนให้ท าที่ ควร ท าให้การประเมินทักษะอยู่ ่ในระดับค่อนข้างต่ า จากนั้นผู้วิจัยได้ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ วิธีการสอนแบบ 4 MAT กับนักเรียน จากการสังเกตและประเมินพบว่า นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจใน เนื้อหา หลักการ และวิธีการมากขึ้นด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงสรุปได้ว่าชุดกิจกรรมตามแนวคิดการจัดการ เรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ท าให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีขึ้น คิดเป็นค่าเฉลี่ย คะแนนก่อนใช้ชุดกิจกรรมและหลังใช้ชุดกิจกรรมที่ ร้อยละ 80.01 ต่อ 90.00
กิตติกรรมประกาศ รายงานการวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้ส าเร็จได้ด้วยความกรุณาจาก อาจารย์รชต คีตโชติ บัณฑิต อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก และคุณครูเจษฎา งอยจันทร์ศรี ซึ่งได้กรุณาให้ค าแนะน าและ ตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ จนงานวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้มีความสมบูรณ์ ผู้วิจัยขอกราบ ขอบคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณ คณาจารย์คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีทุกท่าน ที่ให้ การอบรมสัมมนาเชิงวิชาการระหว่างการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ที่ได้กรุณาให้ค าชี้แนะใน การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย พร้อมทั้งได้ประสิทธิ์ประสาทความรู้ให้ความช่วยเหลือและให้ ค าแนะน า ในการท าวิจัยในชั้นเรียนแก่ผู้วิจัยครั้งนี้ ขอขอบพระคุณ ผู้อ านวยการสถานศึกษา และคณะครูโรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า ทุกท่านที่อ านวยความสะดวกให้ความร่วมมือช่วยเหลือ และเป็นก าลังใจโดยตลอด ขอขอบใจนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า ปีการศึกษา 2564 ทุกคนที่ให้ความร่วมมือในการ ทดลองเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา สมาชิกทุกคนในครอบครัวผู้วิจัย ซึ่งเป็นผู้อยู่ เบื้องหลังความส าเร็จในครั้งนี้ ขอบคุณเพื่อนนักศึกษาสาขาวิชาดนตรีศึกษา และเพื่อนร่วมรุ่นใน การ ฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ครุศาสตรบัณฑิตทุกท่าน ที่ให้ความช่วยเหลือและเป็นก าลังใจ ให้ ตลอดมาคุณค่าและประโยชน์อันพึงมีของงานวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้ ผู้วิจัยขอมอบแด่คุณบิดา มารดา ผู้เป็นบุพการี ตลอดจนบูรพจารย์ผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชาให้แก่ผู้วิจัยและผู้มีพระคุณทุกท่านสืบไป ทักษิณ สิมสิริวัฒน์
สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญตาราง จ สารบัญภาพ ฉ บทที่ 1 บทน า 1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา 1 วัตถุประสงค์การวิจัย 2 สมมติฐานการวิจัย 2 ขอบเขตการวิจัย 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3 นิยามศัพท์เฉพาะ 3 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 6 หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 7 การจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT 10 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 17 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 24 กรอบแนวคิดการวิจัย 26 บทที่ 3 วิธีด าเนินงานวิจัย 27 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 27 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 27 การเก็บรวบรวมข้อมูล 30 การวิเคราะห์ข้อมูล 31 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 31
สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้า บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 34 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 34 ล าดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ 34 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 35 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 40 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 40 สมมติฐานของการวิจัย 40 วิธีด าเนินการวิจัย 41 สรุปผลการวิจัย 41 อภิปรายผลการวิจัย 41 ข้อเสนอแนะ 42 บรรณานุกรม 44 ภาคผนวก 47 ภาคผนวก ก แผนการจัดการเรียนรู้ 48
สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 2.1 มาตรฐาน ศ 2.1 9 2.2 มาตรฐาน ศ 2.2 9 2.3 ศักยภาพของสมองซีกซ้ายและซีกขวา 13 3.1 แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test Design 30 4.1 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าร้อยละชุดกิจกรรม 4 ชุด () 36 4.2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าร้อยละของคะแนนหลังเรียน 38 ด้วยชุดกิจกรรม () 4.3 ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม (/) 38 4.4 การวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 39 ของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรม
สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า 2.1 กรอบแนวคิด 26
บทที่ 1 บทน า ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา “ดนตรี” มีนิยามความหมายตามพจนานุกรม (ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542) ว่าเสียง ที่ประกอบกันเป็นท านองเพลง เครื่องบรรเลงซึ่งมีเสียงดังท าให้รู้สึกเพลิดเพลินหรือเกิดอารมณ์รัก โศก หรือรื่นเริง เป็นต้น ได้ตามท านองเพลง ผู้คนมากมายใช้เวลาส่วนหนึ่งในชีวิตไปกับการฟังเพลง เช่น การชมคอนเสิร์ต การเปิดเพลงบรรเลงในร้านอาหารหรือรวมไปถึงการใช้ดนตรีเพื่อการบ าบัดโรคบาง ชนิดด้วย ดนตรีนับเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลสูงต่อชีวิตประจ าวันของมนุษย์ บทเพลงในปัจจุบันนั้นได้รับอิทธิพลจากดนตรีตะวันตกค่อนข้างมาก ซึ่งทั้งศิลป์และศาสตร์ เกือบทุกแขนงของตะวันตก ล้วนแล้วแต่ได้รับอิทธิพลจากแนวความคิดทางปรัชญากรีก รวมไปถึง ดนตรีด้วย ชาวกรีก มีความเชื่อว่า ดนตรีและกีฬาเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ ส าหรับการสร้างคน การที่คนจะ มีการศึกษาสมบูรณ์มีคุณภาพชีวิตดีหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับสองสิ่งคือ ดนตรีและกีฬา โดยเฉพาะ อย่าง ยิ่งเป็นโอสถส าหรับจิตใจ เป็นพลังส าคัญที่จะช่วยให้คนมีความคิดและพฤติกรรมไปในทางใด เชื่อว่า ดนตรีที่ดีช่วยให้มีจิตใจดีและดนตรีที่ไม่ดีท าให้คนไม่ดีได้ อย่างไรก็ตาม เสียงดนตรีนี้เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้โดยตรง ดังค ากล่าวที่ว่าดนตรี ประกอบด้วย ลีลา จังหวะ และท่วงท านอง ตลอดจนบันไดเสียงสูง ต่ า มีอิทธิพลต่อระบบประสาท อัตโนมัติของมนุษย์ มนุษย์สามารถรับสัมผัสสัมผัส คือ “หู” เป็นอวัยวะรับความรู้สึกสัมผัสทางการได้ ยิน ได้ฟัง หูจะท าหน้าที่รับ ขยาย และแปลง การสั่นสะเทือนหรือการเคลื่อนไหวของอากาศ และหย่นย่อเอาสิ่งเหล่านั้นมาในระบบประสาท แล้วโสตประสาทจะส่งกระแสแห่งความรู้สึกไปยัง สมองและสมองก็จะแปลงออกมาเป็นความรู้สึกแห่งเสียงนั้น (จ าเนียร ช่วงโชติ, 2539 : 22-42) การที่ มนุษย์ทุกชาติทุกภาษาจะสามารถรับรู้ความรู้สึกหรือเข้าใจความหมายของเสียง ดนตรีได้อย่างถูกต้อง และตรงกันเพียงใดนั้น นับว่าเป็นสิ่งที่น่าสนใจและควรแก่การศึกษาค้นคว้าเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้ เพราะ มนุษย์แต่ละคนย่อมมีความแตกต่างกัน เป็นต้นว่า เกี่ยวกับพื้นฐานทางการศึกษาและความรู้ในทาง ดนตรี“ความรู้เดิมหรือประสบการณ์เดิมที่แตกต่างกันทั้งในด้านปริมาณและความถูกต้องย่อม ท าให้ คนเรามีการรับรู้ที่ต่างกัน” สุชา จันทน์เอม (2536 : 2-160, อ้างใน จ าเนียร ช่วงโชติ) ดนตรีในปัจจุบัน มีอ านาจเหนือจิตใจของวันรุ่นท าให้วัยรุ่นมีอารมณ์หรือความคิดที่คล้อยตาม เพลงมากขึ้น เทื่อเพลงที่มีดนตรีแนวรุนแรง ก็ส่งผลท าให้จิตใจของวัยรุ่นถูกกระตุ้นเกิดกิริยา ตอบสนอง มรความคึกคะนอง ใช้อารมณ์มากกว่าเหตุผล เป็นเหตุก่อให้เกิดการทะเลาะวิวาท พฤติกรรม ของวัยรุ่นในปัจจุบัน มักจะชอบเพลงต่างชาติ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น ตามกระแส และ
เลียนแบบศิลปินที่ชื่นชอบในเรื่องภาษา การแต่งกาย กิริยาท่าทาง ท าให้มีอิทธิพลต่อสังคมไทยใน ปัจจุบัน ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะท าการศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT มาใชในการสอน เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน เพื่อใหผู้เรียนมีโอกาสประสบ ความส าเร็จในการเรียนรูอย่างเท่าเทียมกัน ตามความถนัดของตนเอง และเพื่อเป็นแนวทางในการน า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ไปใชในสวนอื่นของวิชาดนตรีต่อไป วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT วิชาดนตรี เรื่อง ดนตรี สากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาดนตรี เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจ าวัน โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ทั้งก่อนเรียนและหลัง เรียน ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า 3. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT วิชา ดนตรี เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า สมมุติฐานการวิจัย ทักษะการประยุกต์ใช้ดนตรีในชีวิตประจ าวัน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน เทศบาล 3 บ้านเหล่า เมื่อใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT นักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากคะแนนทดสอบหลังเรียนเฉลี่ยไม่ต่ ากว่าร้อยละ 90 ขอบเขตของงานวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ก าลังศึกษาใน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จ านวน 4 ห้องรวม 124 คน ประกอบด้วย ชั้น ม.6/1, ม.6/2, ม. 6/3, ม.6/4 1.2 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ที่ก าลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2566 จ านวน 1 ห้อง จ านวน 24 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling)
2. ตัวแปลที่ใช้ในการวิจัย 2.1 ตัวแปรต้น คือ การจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ทักษะการประยุกต์ใช้ดนตรีในชีวิตประจ าวัน ของนักเรียนที่ เรียนด้วยชุดจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT 3. เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย ตามหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ.2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการ เรียนรู้ศิลปะ สาระที่ 2 ดนตรี หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ดนตรีสากลกับสังคมไทย ประกอบด้วย 3.1 ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อการผ่อนคลาย จ านวน 1 ชั่วโมง 3.2 ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อความบันเทิง จ านวน 1 ชั่วโมง 3.3 ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อประเพณีในท้องถิ่นต่างๆ จ านวน 1 ชั่วโมง 3.4 ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อประกอบการออกก าลังกาย จ านวน 1 ชั่วโมง 4. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย ท าการวิจัยในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จ านวน 4 ครั้ง/ครั้งละ 1 ชั่วโมง เดือนพฤศจิกายน 2566 - เดือนมกราคม 2567 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT วิชาดนตรี เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ที่จะน าไปใช้พัฒนาทักษะได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาดนตรี เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวัน โดยใช้วิธีการเรียนรู้แบบใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT สูงขึ้น นิยามศัพท์เฉพาะ 1. การจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT หมายถึง การจัดกระบวนการการเรียน การสอน ที่ค านึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรียน และการพัฒนาสมองซีกซ้ายและซีกขวา เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ใหนักเรียนเกิดการเรียนรูโดยเป็นกิจกรรมที่ค านึงถึง ความแตกตางแบบการเรียนของนักเรียน 4 แบบ คือ ผู้เรียนแบบที่ 1 (WHY) มีการเรียนรูจากประสบ การณที่เป็นรูปธรรม ผู้เรียนแบบที่ 2 (WHAT) มีการเรียนรูโดยใชการคิดวิเคราะห์และเก็บ รายละเอียดเป็นหลัก ผู้เรียนแบบที่ 3 (HOW) มีการเรียนรูจากการลงมือปฏิบัติทดลองท า และผู้เรียน แบบที่ 4 (IF) มีการเรียนรูจากการคนพบด้วยตนเอง โดยมี 8 ล าดับขั้นตอน ได้แก
1.1. ขั้นสร้างคุณค่าและประสบการณของสิ่งที่เรียน (พัฒนาสมองซีกขวา) ครูกระตุ้นความสนใจให้นักเรียนคิด โดยใช้ค าถามที่กระตุ้นให้นักเรียนสังเกต 1.2. ขั้นวิเคราะห์ประสบการณ (พัฒนาสมองซีกซ้าย) ครูกระตุ้นให้ผู้เรียน อยากเรียนรู้และสนใจในสิ่งที่เรียน 1.3. ขั้นปรับประสบการณเป็นความคิดรวบยอด (พัฒนาสมองซีกขวา) ครู เน้นให้นักเรียนวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล น าความรู้ที่ได้มาเชื่อมโยงกบข้อมูลที่ได้ศึกษาค้นคว้า 1.4. ขั้นพัฒนาความคิดรวบยอด (พัฒนาสมองซีกซ้าย) ครูอธิบายทฤษฎี หรือหลักการของข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจ และพัฒนาความคิดรวบยอดของตนเองในเรื่องที่ เรียน 1.5. ขั้นลงมือปฏิบัติจากกรอบความคิดที่ก าหนด (พัฒนาสมองซีกซ้าย) ครู ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง แบบฝึกหัด การสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม สรุปผลที่ได้ให้ ชัดเจน เปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัยก่อนปฏิบัติกิจกรรม 1.6. ขั้นสร้างชิ้นงานเพื่อความเป็นตนเอง (พัฒนาสมองซีกขวา) ครูเปิด โอกาสให้นักเรียนแสดงความสามารถของตนเองตามความถนัด ความสนใจ 1.7. ขั้นวิเคราะห์คุณค่าและการประยุกตใช (พัฒนาสมองซีกซ้าย) ครู ให้ นักเรียนวิเคราะห์อธิบายขั้นตอนการท างาน ปัญหาอุปสรรคในการท างาน และวิธีการแก ไข โดย บูรณาการประยุกต์ใช้ เพื่อเชื่อมโยงกบชีวิตจริง/อนาคต 1.8. ขั้นแลกเปลี่ยนประสบการณเรียนรูกับผู้อื่น (พัฒนาสมองซีกขวา) ครูควให้ผู้เรียนได้น าผลงานของตนเองมาน าเสนอหรือจัดแสดงในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การจัด นิทรรศการ ป้ายนิเทศ เพื่อให้เพื่อน ๆ ได้ชื่นชอบ 2. ชุดกิจกรรม หมายถึง สื่อการสอนที่ครูผู้สอนสร้างขึ้นอย่างเป็นระบบ โดยการน า วัสดุอุปกรณ์ ประกอบขึ้นเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เนื้อหาและวิธีการ ประเมินผล เพื่อใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เนื้อหาและวิธีการประเมินผล เพื่อใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง หรือเป็น กลุ่มตามขั้นตอน โดนมีครูเป็นผู้คอยแนะน าช่วยเหลือปรึกษา 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลลัพธ์จาการท ากิจกรรมนั้น ๆ อันเป็นไปตาม เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ในการวัดประเมินผลอย่างชัดเจน และน าไปใช้ประโยชน์ได้ จริง วัดได้โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่ผู้วิจับสร้างขึ้น
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่าผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดย น าเสนอตามล าดับ ดังนี้ 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 1.1 วิสัยทัศน์ 1.2 หลักการ 1.3 จุดหมาย 2. หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 2.1 สาระการเรียนรู้ 2.2 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 3. การจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT 3.1 ความหมายของการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT 3.2 ทฤษฎี/หลักการ/แนวคิดของรูปแบบ 3.3 ลักษณะการเรียนรู้ 4 แบบ 3.4 ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ 3.5 กระบวนการเรียนตามการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT 3.6 ประโยชน์ของการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT 3.7 ข้อจ ากัดของการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT 4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5.1 งานวิจัยในประเทศ 5.2 งานวิจัยต่างประเทศ 6. กรอบแนวคิดการวิจัย
1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก าหนดสาระส าคัญ ดังต่อไปนี้ 1.1 วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นก าลังของ ชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตส านึกในความเป็นพลเมืองไทย และเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จ าเป็นต่อการศึกษา การประกอบอาชีพและการศึกษา ตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญเป็นพื้นฐานความเชื่อที่ว่า “ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ” 1.2 หลักการ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่ส าคัญ ดังนี้ 1.2.1 เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายส าหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติและ คุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล 1.2.2 เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับ การศึกษาอย่างเสมอภาค และมีคุณภาพ 1.2.3 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอ านาจ ให้สังคมมีส่วน ร่วมในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น 1.2.4 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้าน สาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้ 1.2.5 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 1.2.6 เป็นหลักสูตรการศึกษาส าหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ 1.3 จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็น คนดีมีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงก าหนดเป็นจุดมุ่งหมาย เพื่อให้เกิดกับผู้เรียนเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1.3.1 มีคุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่า ของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.3.2 มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต 1.3.3 มีสุขภาพและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกก าลังกาย 1.3.4 มีความรักชาติ มีจิตส านึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 1.3.5 มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งท าประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันใน สังคมอย่างมีความสุข 2. หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 2.1 สาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพ ชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจนการน าไปสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเองอันเป็นพื้นฐานใน การศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้ นอกจากนั้น ยังมุ่งเน้นพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจมี ทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซึ้งในคุณค่าของศิลปะ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่าง อิสระในศิลปะแขนงต่าง ๆ ดนตรี ความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรี แสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึกทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ เห็นคุณค่างานดนตรี เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ร้องเพลงและเล่นดนตรีใน รูปแบบต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับประเพณีวัฒนธรรม และเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ 2.2 คุณภาพผู้เรียน รู้เข้าใจถึงความแตกต่างทางด้านเสียง องค์ประกอบ อารมณ์ความรู้สึกของบทเพลง จากวัฒนธรรมต่าง ๆ มีทักษะในการร้อง บรรเลงเครื่องดนตรีทั้งเดี่ยวและรวมวง โดยเน้นเทคนิค การ ร้องบรรเลงอย่างมีคุณภาพ มีทักษะในการสร้างสรรค์บทเพลงอย่างง่าย อ่าน เขียน โน้ตในบันไดเสียง ที่มีเครื่องหมายแปลงเสียงเบื้องต้นได้ รู้และเข้าใจถึงปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบของผลงานทางดนตรี องค์ประกอบของผลงานด้านดนตรีกับศิลปะแขนงอื่น แสดงความคิดเห็นและบรรยายอารมณ์ ความรู้สึกที่มีต่อบทเพลง สามารถน าเสนอบทเพลงที่ชื่นชอบได้อย่างมีเหตุผล มีทักษะในการประเมิน
คุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี รู้ถึงอาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและบทบาทของดนตรี ในธุรกิจบันเทิงเข้าใจถึงอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อบุคคลและสังคมรู้และเข้าใจที่มา ความสัมพันธ์ อิทธิพลและบทบาทของดนตรีแต่ละวัฒนธรรมในยุคสมัยต่าง ๆ วิเคราะห์ปัจจัยที่ท าให้งานดนตรี ได้รับการยอมรับ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึกความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. 1 1. อ่าน เขียน รองโนตไทย และโนตสากล เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี - โนตบทเพลงไทย อัตราจังหวะสองชั้น - โนตสากล ในกุญแจซอลและฟาในบันไดเสียง C Major 2. เปรียบเทียบเสียงรองและเสียง ของเครื่องดนตรีที่มาจากวัฒนธรรม ที่ต่างกัน เสียงรองและเสียงของเครื่องดนตรีในบทเพลงจาก วัฒนธรรมต่าง ๆ - วิธีการขับรอง - เครื่องดนตรีที่ใช 3. รองเพลงและใชเครื่องดนตรีบรรเลง ประกอบการรองเพลงด้วยบทเพลงที่ หลากหลายรูปแบบ การรองและการบรรเลงเครื่องดนตรี ประกอบการรอง - บทเพลงพื้นบ้าน บทเพลงปลุกใจ - บทเพลงไทยเดิม - บทเพลงประสานเสียง ๒ แนว - บทเพลงรูปแบบ ABA - บทเพลงประกอบการเตนร า 4. จัดประเภทของวงดนตรีไทยและ วงดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ วงดนตรีพื้นเมือง วงดนตรีไทย วงดนตรีสากล
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. 1 5. แสดงความคิดเห็นที่มีตออารมณของบทเพลงที่มีความเร็ว ของจังหวะ และความดัง - เบา แตกต่างกัน - การพัฒนางานทัศนศิลป์ - การจัดท าแฟ้มสะสมงาน ทัศนศิลป์ 6. เปรียบเทียบอารมณ ความรูสึกในการฟงดนตรีแต่ละ ประเภท การถ่ายทอดอารมณของบท เพลง - จังหวะกับอารมณเพลง - ความดัง-เบากับอารมณ เพลง - ความแตกต่างของอารมณ เพลง 7. น าเสนอตัวอย่างเพลงที่ตนเองชื่นชอบ และอภิปราย ลักษณะเดนที่ท าใหงานนั้นน่าชื่นชม การน าเสนอบทเพลงที่ตน สนใจ 8. ใชเกณฑส าหรับประเมินคุณภาพ งานดนตรีหรือเพลงที่ฟง การประเมินคุณภาพของบท เพลง - คุณภาพด้านเนื้อหา - คุณภาพดานเสียง - คุณภาพดานองคประกอบ ดนตรี 9. ใชและบ ารุงรักษาเครื่องดนตรี อย่างระมัดระวังและรับผิดชอบ การใชและบ ารุงรักษาเครื่อง ดนตรีของตน ตาราง 2.1 มาตรฐาน ศ 2.1
สาระที่ 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า งานดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. 1 1. อธิบายบทบาทความสัมพันธ์และ อิทธิพลของดนตรีที่มีต่อสังคมไทย บทบาทและอิทธิพลของดนตรี - บทบาทดนตรีในสังคม - อิทธิพลของดนตรีในสังคม 2. ระบุความหลากหลายขององคประกอบดนตรีใน วัฒนธรรมต่างกัน องคประกอบของดนตรีในแต่ละ วัฒนธรรม ตาราง 2.2 มาตรฐาน ศ 2.2 3. การจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT ได้มีนักการศึกษาและนักวิจัยได้ใช้ชื่อเรียกการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT ไว้อย่าง หลากหลาย เช่น การจัดกิจกรรมการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติการเรียนรู้ของมนุษย์ (4 MAT) (เธียร พานิช, 2544: 35) การสอนแบบ 4 MAT (ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์, 2552: 370) รูปแบบการเรียน ตามแนวคิดของ McCarthy (ลักขณา สริวัฒน์, 2557: 116) รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฏจักร การเรียนรู้ 4 MAT (ทิศนา แขมมณี, 2556: 262) การจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT (กันติกาน สืบกินร, 2551: 1) กิจกรรมการเรียนรู้ 4 MAT (ลีลาวดี วัชโรบล, 2553: 52) เป็นต้น ซึ่งทั้งหมดนี้กล่าวถึงสิ่ง เดียวกัน เป็นการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนที่ยึดนักเรียนเป็นส าคัญ เป็นอีกหนึ่งแนวคิดที่ เชื่อมโยงกับแนวคิดของ John Dewey และ ปรัชญากลุ่มพิพัฒนาการนิยม ซึ่งเป็นแนวคิดที่ค านึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล และตระหนักว่า นักเรียนแต่ละคนมีรูปแบบการเรียนรู้ที่แตกต่างกันและ มุ่งเน้นให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ (ดุษฎี มัชฌิมาภิโร, 2553: 128) จากแนวคิดดังกล่าว การจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT แสดงให้เห็นว่า นักเรียนแต่ละคนมีรูปแบบการเรียนรู้ที่แตกต่างกันถึง 4 ลักษณะ ซึ่งสามารถจัดการเรียนการสอนได้ เป็น 8 ขั้นตอน เพื่อให้นักเรียนที่มีลักษณะการเรียนรู้ที่แตกต่างกันได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งกัน และกัน และสามารถพัฒนาตัวเองได้อย่างเต็มศักยภาพ
3.1 ความหมายของการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT ลีลาวดี วัชโรบล (2553: 52) ได้กล่าวว่า การจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT เป็นการจัดการเรียนรู้ที่สามารถแบ่งออกเป็น 8 ขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับลักษณะการเรียนรู้เฉพาะตัว ของ นักเรียน และระบบการท างานของสมองซีกซ้ายและซีกขวา ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ (2552: 80) ได้กล่าวถึงความหมายของการจัดการเรียนรู้ แบบ 4 MAT ว่าเป็นการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่ค านึงถึงแบบการเรียนของนักเรียน 4 แบบ กับการพัฒนาสมองซีกซ้ายและซีกขวาอย่างสมดุล เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้ตามแบบและความต้องการ ของตนเองอย่างเหมาะสมและสามารถพัฒนาตนเองอย่างเต็มตามศักยภาพ ศศิธร เวียงวะลัย (2556: 166) ได้กล่าวว่า McCarthy ได้น าแนวคิดของ Kolb มาประยุกต์และพัฒนาเป็นรูปแบบการเรียนการสอนแบบใหม่ที่ตอบสนองการเรียนรู้ของ นักเรียน 4 แบบ (4 Types of Student) ที่เรียกว่า 4 MAT หรือการจัดกิจกรรมการเรียนให้สอดคล้องกับระบบ การ ท างานของสมองซีกซ้ายและซีกขวา (แนวคิดของ Kolb ได้รากฐานทฤษฎีมาจาก John Dewey, Kurt Lewin, และ Jean Piajet) โดยค าว่า MAT แปลว่า เสื่อ การสาน หรือผสมผสาน ในที่นี้ หมายถึง กิจกรรมการเรียนรู้ที่ผสมผสานกันเพื่อเอื้อแก่นักเรียนทั้ง 4 แบบ สุคนธ์ สินธพานนท์ (2558: 75) ได้กล่าวถึงการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT ว่าเป็น การจัดการเรียนรู้ที่พัฒนามาจากการค้นคว้าวิจัยของ McCarthy นักการศึกษานักแนะแนว การศึกษา ที่ประยุกต์แนวคิดของ Kolb มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ทีฝึกให้นักเรียนได้พัฒนาสมองทั้ง ซีกขวา และซีกซ้ายอย่างสมดุลโดยค านึงถึงความแตกต่างของกลุ่มนักเรียน 3.2 ทฤษฎี/ หลักการ/ หรือแนวคิดของรูปแบบ McCarthy (อ้างถึงใน ทิศนา แขมมณี, 2556: 262; อ้างถึงใน เธียร พานิช, 2544: 22, อ้างถึงใน ดุษฎี มัชฌิมาภิโร, 2553: 133) ได้พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนนี้ขึ้นจาก แนวคิด และทฤษฎีการเรียนรู้ของ David Kolb ซึ่งอธิบายว่า การเรียนรู้เกิดขึ้นจากความสัมพันธ์ของ 2 มิติ คือ การรับรู้ (Perception) และกระบวนกาจัดกระท าข้อมูล (Processing) นั่นคือการเรียนรู้จะ เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น เกิดจากการที่คนเรารับรู้ข้อมูลแล้วน าข้อมูลเหล่านั้นไปจัด กระบวนการเสียใหม่ตามความถนัดของตนเอง ซึ่งการรับรู้ของบุคคลมี 2 ช่องทาง คือ ช่องทางที่หนึ่ง ผ่านทางประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรมหรือประสบการณ์ตรง (Concrete Experience) และช่องทางที่ สองผ่านทางความคิดรวบยอดหรือมโนมติที่เป็นนามธรรม (Abstract Conceptualization) ซึ่งจะ แทนด้วยแกนตั้ง (แกน Y) ส่วนกระบวนการจัดกระท ากับข้อมูลที่รับรู้นั้นมีลักษณะเช่นเดียวกัน คือ การลงมือปฏิบัติจริง (Active Experimentation) และการสังเกตโดยใช้ความคิดอย่างไตร่ตรอง (Reflective Observation) ซึ่งจะแทนด้วยแกนนอน (แกน X) เมื่อลากเส้นตรงของช่องทางการรับรู้
2 ช่องทาง และเส้นตรงของกระบวนการจัดกระท าข้อมูลเพื่อให้เกิดการเรียนรู้มาตัดกันแล้วเขียนเป็น วงกลมจะเกิดพื้นที่เป็น 4 ส่วนของวงกลม 3.3 ลักษณะการเรียนรู้ 4 แบบ จากแนวคิดการเรียนรู้ของ Kolb (อ้างถึงใน ทิศนา แขมมณี, 2556: 262; สุคนธ์ สินธพานนท์, 2558: 76) ที่แบ่งรูปแบบการเรียนรู้ตามความแตกต่างของการเรียนรู้เป็น 4 ส่วน ตามจุดตัดกันของแกนรับรู้และแกนของกระบวนการ โดยให้พื้นที่ 4 ส่วนที่เกิดจากตัดกันของแกนการ รับรู้และแกนกระบวนการแทนลักษณะการเรียนรู้ของนักเรียน 4 ประเภท โดยค านึงถึงความคิด เกี่ยวกับระบบการท างานของสมองซีกซ้ายและสมองซีกขวากับธรรมชาติของการเรียนรู้ ได้อธิบาย ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง นั ก เ รี ย น แ ต่ ล ะ แ บ บ ดั ง นี้ ส่วนที่ 1 นักเรียนที่ถนัดจินตนาการ (Imaginative Learners) เป็นนักเรียน ที่เรียนรู้จากประสบการณ์รูปธรรม ผ่านกระบวนการจัดการข้อมูลด้วยการเฝ้าสังเกตอย่างไตร่ตรอง นักเรียนแบบนี้จะมีพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เป็นคนช่างคิดช่างสงสัย ชอบเรียนรู้ด้วยการสังเกตและ สัมผัส ชอบการเรียนรู้จากการฟัง การเฝ้าดู ชอบจินตนาการ แล้วน าไปแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เกี่ยวกับผู้อื่น มักตั้งค าถามว่า "ท าไม" ต้องเรียนเรื่องนี้ ครูจึงจ าเป็นต้องสร้างความรู้สึกที่มีเหตุผลและ ให้นักเรียนคิดอย่างมีเหตุผล ส่วนที่ 2 นักเรียนถนัดการวิเคราะห์ (Analytic Learners) เป็นนักเรียนที่ ถนัดการเรียนรู้ความคิดรวบยอดซึ่งเป็นนามธรรม เรียนรู้โดยรับรู้จากการสังเกตอย่างไตร่ตรองไปสู่ การสร้างประสบการณ์นามธรรม หรือความคิดรวบยอดเป็นผู้สนใจข้อเท็จจริง ชอบเรียนรู้จากการรับ ข้อมูลข่าวสารและสิ่งต่าง ๆ เป็นคนช่างวิเคราะห์และมีเหตุผล นักเรียนในกลุ่มนี้จะตั้งค าถามว่าอะไร (what) เราจะเรียนอะไรกันหน้าที่ของครูคือป้อนข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงที่ท าให้นักเรียนเข้าใจอย่าง ลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น ส่วนที่ 3 นักเรียนที่ถนัดการใช้สามัญส านึก (Commonsense learners) เป็นนักเรียนที่ชอบการเรียนรู้จากการรับรู้ความคิดรวบยอดไปสู่การลงมือปฏิบัติที่สะท้อนระดับความ เข้าใจของตนเอง เรียนแบบนี้จะสนใจในวิธีการต่าง ๆ อยากรู้ว่าสิ่งนั้นท างานอย่างไร ชอบที่จะได้ลง มือปฏิบัติจริง เป็นการเรียนรู้จากสามัญส านึกที่สัมผัสได้ ทดลองท าจริง ปฏิบัติจริง นักเรียนในกลุ่มนี้ จะตั้งค าถามอย่างไร (How) เราจะเรียนเรื่องนี้อย่างไร ครูต้องชักชวนให้นักเรียนได้ปฏิบัติด้วยตนเอง ส่วนที่ 4 นักเรียนที่ถนัดการรับรู้จากประสบการณ์รูปธรรมไปสู่การลงมือ ปฏิบัติ (Dynamic Learners) เป็นนักเรียนที่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง นักเรียนเรียนรู้และสนุกกับการ ได้ค้นพบด้วยตนเองโดยการลงมือปฏิบัติ นักเรียนแบบนี้จะตั้งค าถามว่า ถ้า (IF)......แล้วจะน าไปใช้ อย่างไร ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้และสอนกันเอง เธียร พานิช (2544: 13-19) ได้เสนอว่าจากลักษณะของนักเรียน 4 แบบ
เราจ าเป็นจะต้องสอนนักเรียนโดยใช้วิธีการสอนทั้งหมดที่สอดคล้องกับนักเรียนทุกแบบอย่างเท่า ๆ กัน เพราะทักษะทางธรรมชาติของนักเรียนทั้ง 4 อย่างจะมีอยู่ในชั้นเรียนรวม ๆ กัน ครูจึงต้อง ออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้เสมอภาคกัน เพื่อให้นักเรียนเกิดความสนุกสนานตามรูปแบบการเรียนรู้ ที่ตนถนัดซึ่งจากการหมุนเวียนรูปแบบการสอนให้สอดคล้องกับนักเรียนทั้ง 4 แบบ ท าให้นักเรียนได้มี โอกาสพัฒนาความสามารถด้านอื่นที่ตนไม่ถนัดด้วยวิธีการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ดังนั้นในการจัดการ เรียนรู้แบบ 4 MAT ครูต้องเข้าใจการท างานและความถนัดของสมอง ซึ่งสมองของมนุษย์มีด้วยกัน สามส่วน คือ สมองส่วนบน (Neocortex) สมองส่วนกลาง (Limbic System) และสมองส่วนล่าง (Brain stem) ซึ่งสมองทั้งสามส่วนนี้จะท างานประสานกันอย่างใกล้ชิด ซึ่งท าหน้าที่เปรียบเสมือนศูนย์ สั่งการคอยควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ ของร่างกาย ทั้งการคิดการเคลื่อนไหวความรู้สึก การพูดนอกจาก จะแบ่งสมองออกเป็น 3 ส่วนแล้วยังสามารถแบ่งสมองออกเป็น 2 ซีก คือซีกซ้ายและซีกขวา โดยในปี ค.ศ. 1972 นายแพทย์ Roger Sperry ศัลยแพทย์ทางประสาทจากสถาบันเทคโนโลยีแห่ง แคลิฟอร์เนีย ได้รับรางวัลโนเบลจากการศึกษาทดลองเกี่ยวกับการท างานของสมองทั้งสองซีก ได้ ข้อสรุปที่น่าสนใจว่า สมองสองซีกจะมีความถนัดในเรื่องต่าง ๆ ที่แตกต่างกัน โดยสมองซีกซ้ายจะมี ศักยภาพเกี่ยวกับภาษา การฟัง ความจ า การวิเคราะห์ เหตุผล การจัดล าดับ การคิดค านวณ สัญลักษณ์ เหตุผลเชิงตรรกะและวิทยาศาสตร์ ส่วนสมองซีกขวาจะมีศักยภาพเกี่ยวกับจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ อารมณ์ ความรู้สึกรับรู้ภาพรวม การรับรู้ทางประสาทสัมผัส ศิลปะ สุนทรี รูปทรง รูปแบบสี ดนตรี มิติสัมพันธ์ และการเคลื่อนไหว ซึ่ง ชนาธิป พรกุล (2554: 27) ได้สรุปไว้คร่าว ๆ ดัง ตาราง 2.3 สมองซีกซ้าย สมองซีกขวา การใช้เหตุผล การใช้ภาษา การพูด การอ่าน การเขียน การวิเคราะห์ การเห็นเป็นส่วนย่อย ทักษะคณิตศาสตร์ รับรู้ทีละสิ่ง การจินตนาการ การใช้ภาษาท่าทาง การสังเคราะห์ การเห็นภาพรวม ทักษะด้านดนตรี ศิลปะ รับรู้ได้หลายสิ่งพร้อมกัน ตาราง 2.3 ศักยภาพของสมองซีกซ้ายและซีกขวา
3.4 ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ที่ค านึงถึงรูปแบบการเรียนรู้ของนักเรียน 4 กลุ่ม กับพัฒนาการสมองซีก ซ้ายและสมองซีกขวาอย่างสมดุล ซึ่ง Morris and McCarthy (1990: 4-23 อ้างถึงในชัยวัฒน์ สุทธิ รัตน์, 2552: 372-374) ได้ก าหนดล าดับขั้นของการเรียนรู้แบบ 4 MAT โดยแบ่งกระบวนการเรียนรู้ ออกเป็น 8 ขั้นตอน ดังมีรายละเอียดของการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT ดังนี้ (สุคนธ์ สินธพานนท์, 2558: 76; เธียร พานิช, 2542: 26-31) นักเรียนแบบที่ 1 (Imaginative Learners) เรียนรู้จากประสบการณ์และ การเฝ้าสังเกตอย่างไตร่ตรอง ขั้นที่ 1 (สมองซีกขวา) การสร้างประสบการณ์ผู้สอนเริ่มต้นจาก การจัดประสบการณ์ให้นักเรียนเห็นคุณค่าของเรื่องที่เรียนด้วยตนเอง ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนสามารถ ตอบค าถามได้ว่า ท าไมจึงต้องเรียนรู้เรื่องนี้ ผู้สอนกระตุ้นความสนใจและแรงจูงใจให้นักเรียนคิดโดย ใช้ค าถามที่กระตุ้นให้สังเกตหรือการออกไปปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมจริงของสิ่งที่เรียน ขั้นที่2 (สมองซีกซ้าย) การวิเคราะห์ประสบการณ์หรือ สะท้อน ความคิดจากประสบการณ์ ช่วยให้นักเรียนเกิดความตระหนักรู้และยอมรับความส าคัญของเรื่องที่ เรียน ผู้สอนกระตุ้นให้นักเรียนอยากรู้และสนใจในสิ่งที่เรียนโดยให้นักเรียนวิเคราะห์หาเหตุผลให้ฝึก ท ากิจกรรมกลุ่มอย่างหลากหลาย เช่น ฝึกเขียนผังมโนมติ (Concept Mapping) ช่วยกันระดมสมอง และมีการอภิปรายร่วมกัน นักเรียนแบบที่ 2 (Analytic Learners) เรียนรู้จากการสังเกต แล้วน าไปสู่ ความคิดรวบยอด ขั้นที่ 3 (สมองซีกขวา) การพัฒนาประสบการณ์เป็นความคิดรวบ ยอดหรือแนวคิด เมื่อนักเรียนเห็นคุณค่าของ เรื่องที่เรียนแล้วผู้สอนจึงจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ช่วยให้ นักเรียนสามารถสร้างความคิดรวบยอดขึ้นด้วยตนเอง ผู้สอนเน้นให้นักเรียนได้วิเคราะห์อย่างไตร่ตรอง น าความรู้ที่ได้มาเชื่อมโยงกับข้อมูลที่ได้ศึกษาค้นคว้าโดยจัดระบบวิเคราะห์ เปรียบเทียบกับการ จัดล าดับความสัมพันธ์ของสิ่งที่เรียน ขั้นที่ 4 (สมองซีกซ้าย) การพัฒนาความรู้ความคิด เมื่อนักเรียนมี ประสบการณ์และเกิดความคิดรวบยอดหรือแนวคิดพอสมควรแล้วผู้สอนจึงกระตุ้นให้นักเรียนพัฒนา ความรู้ความคิดของตนให้กว้างขวางและลึกซึ้งขึ้นโดยการให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากเหล่ง ความรู้ที่หลากหลาย การเรียนรู้ในขั้นที่ 3 และ 4 นี้ คือการตอบค าถามที่ว่า สิ่งที่ได้เรียนรู้คืออะไร ผู้สอนให้ทฤษฎีหลักการที่ลึกซึ้งโดยเฉพาะรายละเอียดของข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและ พัฒนาความคิดรวบยอดของตนในเรื่องที่เรียน จึงควรจัดกิจกรรมที่ให้นักเรียนค้นคว้าหาความรู้จากใบ ความรู้ แหล่งวิทยาการท้องถิ่น การสาธิต การทดลอง ดูวีดีทัศน์การใช้ห้องสมุด เป็นต้น
นักเรียนแบบที่ 3 (Commonsense Learners) สร้างความคิดรวบยอด ไปสู่การลงมือปฏิบัติและสร้างชิ้น งานในลักษณะเฉพาะตัว ขั้นที่ 5 (สมองซีกซ้าย) การปฏิบัติตามแนวคิดที่ได้เรียนรู้ ในขั้นนี้ ผู้สอนเปิดโอกาสให้นักเรียนน าความรู้ความคิดที่ได้รับจากการเรียนรู้ในชั้นที่ 3-4 มาทดลองปฏิบัติจริง และศึกษาผลที่เกิดขึ้น ผู้สอนให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง การสรุปผลการท าแบบฝึกหัดที่ ถูกต้อง ชัดเจน ผู้สอนเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัยก่อนปฏิบัติกิจกรรม ขั้นที่ 6 (สมองซีกขวา) การสร้างสรรค์ชิ้นงานของตนเอง จากการ ปฏิบัติตามแนวคิดที่ได้เรียนรู้ ในขั้นที่ 5 นักเรียนจะเกิดการเรียนรู้ถึงจุดเด่นจุดด้อยของแนวคิด ความ เข้าใจแนวคิดนั้นจะกระจ่างขึ้น ในขั้นนี้ผู้สอนควรกระตุ้นให้นักเรียนพัฒนาความสามารถของตนโดย การน าความรู้ความเข้าใจนั้นไปใช้หรือปรับประยุกต์ใช้ในการสร้างชิ้นงานที่เป็นความคิดสร้างสรรค์ ของตนเอง ดังนั้นค าถามหลักที่ใช้ในขั้นที่ 5-6 ก็คือจะท าอย่างไร ผู้สอนให้นักเรียนแสดง ความสามารถของตนเองตามความถนัดความสนใจเพื่อสร้างสรรค์ชิ้นงานของตนเอง เป็นการแสดงถึง ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาที่เรียน ชิ้นงานได้แก่ สมุดภาพพร้อมค าบรรยาย สิ่งประดิษฐ์ ภาพวาด นิทาน แผ่นพับฯลฯ นักเรียนแบบที่ 4 (Dynamic Learners) เรียนรู้จากประสบการณ์รูปธรรม ไปสู่การลงมือปฏิบัติในชีวิตจริง ขั้นที่ 7 (สมองซีกซ้าย) การวิเคราะห์ผลงานและแนวทางในการ น าไปประยุกต์ใช้เมื่อนักเรียนได้สร้างสรรค์ชิ้นงานของตนตามความถนัดแล้วผู้สอนควรเปิดโอกาสให้ นักเรียนได้แสดงผลงานของตน ชื่นชมกับความส าเร็จและเรียนรู้ที่จะวิพากษ์วิจารณ์อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งรับฟังข้อวิพากษ์วิจารณ์เพื่อการปรับปรุงงานของตนให้ดีขึ้นและการน าไปประยุกต์ใช้ต่อไป ผู้สอนให้นักเรียนวิเคราะห์ชิ้นงานของตนอธิบายขั้นตอนการท างานอุปสรรคในการท างานและวิธีการ แก้ไขโดยบูรณาการประยุกต์ใช้เพื่อเชื่อมโยงกับชีวิตจริงหรืออนาคต อาจวิเคราะห์ชิ้นงานในกลุ่มย่อย หรือกลุ่มใหญ่ตามความเหมาะสม ขั้นที 8 (สมองซีกขวา) ขั้นแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรียนรู้กับ ผู้อื่น ขั้นนี้เป็นขั้นของการขยายขอบข่ายของความรู้โดยการแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดแก่กันและกัน และร่วมกันอภิปรายเพื่อการน าการเรียนรู้ไปเชื่อมโยงกับชีวิตจริงและอนาคต ค าถามหลักในการ อภิปรายก็คือถ้า......จะน าไปใช้อย่างไร ซึ่งอาจน าไปสู่การเปิดประเด็นใหม่ส าหรับนักเรียนในการ เริ่มต้นวัฏจักรของการเรียนรู้ในเรื่องใหม่ต่อไป ผู้สอนให้นักเรียนน าผลงานของตนเองมาน าเสนอจัด แสดงในรูปแบบ ต่าง ๆ เช่นจัดนิทรรศการ จัดป้ายนิเทศโดยให้สมาชิกกลุ่มอื่นได้ชื่นชมและผลัดกัน วิพากษ์วิจารณ์อย่างสร้างสรรค์เป็นการฝึกให้นักเรียนรู้จักรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น
บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอนต้องเตรียมตัวสร้างสรรค์ ประสบการณ์ของตนเองก่อนน าไปสู่การอภิปรายในเสี้ยวแรกของการเรียนการสอนและต้องป้อน ข้อมูลในเสี้ยวที่สอง ส่วนในเสี้ยวที่ 3 ผู้สอนเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้ช่วยชี้แนะ ช่วยฝึกฝนในส่วนที่จ าเป็น ต่อการเรียนรู้ ในเสี้ยวสุดท้ายผู้สอนจะเป็นผู้ซ่อมเสริมและเป็นแหล่งข้อมูลให้นักเรียนได้ค้นพบด้วย ตนเองจากการเรียนรู้ บทบาทของนักเรียนในการเรียนรู้ เมื่อนักเรียนผ่านประสบการณ์ครบ วงจรการเรียนที่ก้าวหน้าตามธรรมชาติได้รับประสบการณ์ความรู้แล้วน าไปพัฒนาความคิด พิสูจน์ ทฤษฎีทดลอง น ามาเป็นความคิดรวบยอด น ามาประยุกต์กับประสบการณ์ที่คล้ายคลึงกัน ท าให้เกิด การผสมผสานระหว่างประสบการณ์เก่ากับประสบการณ์ใหม่ซึ่งจะส่งผลต่อความฉลาดรอบรู้ยิ่งขึ้น จากการสรุปแนวคิดจาก McCarthy เพื่อให้การเตรียมตัวของครูผู้สอนสอดคล้องกับการ เรียนรู้ของนักเรียน ซึ่ง ธิติรัตน์ วิเชียรมงคล (2548: 35) ได้สรุปบทบาทของครูต่อการจัดการเรียนรู้ใน แต่ละส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ครูมีบทบาทกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้นักเรียนเกิดการใฝ่รู้ มีความสนใจต่อ ประสบการณ์ใหม่ที่จะได้รับ โดยครูจะต้องให้เหตุผลในการเรียนรู้ต่าง ๆ แก่นักเรียน ซึ่งบทบาทนี้จะ ประสบความส าเร็จได้หากนักเรียนได้ทราบเหตุผลที่แท้จริง ส่วนที่ 2 ครูมีบทบาทเป็นผู้สอนและให้ข้อเท็จจริง โดยต้องหาวิธีการในการถ่ายทอดข้อมูลให้ นักเรียนได้วิเคราะห์และสร้างความคิดรวบยอด ส่วนที่ 3 ครูมีบทบาทเป็นผู้ให้ค าแนะน าและอ านวยความสะดวก โดยการจัดเตรียมอุปกรณ์ ต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติงาน และคอยเป็นก าลังใจในการท างานให้แก่นักเรียน ส่วนที่ 4 ครูมีบทบาทเป็นผู้ประเมินและแก้ไข โดยครูให้อิสระแก่นักเรียนในการท างาน ส่งเสริมให้นักเรียนได้สร้างสรรค์ผลงานอย่างเต็มที่ เปิดโอกาสให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันอย่าง เต็มที่ และจัดให้มีการประเมินผลงาน และแก้ไขผลงานร่วมกันระหว่างครูและนักเรียน จากบทบาทของครูในแต่ละส่วนจะเห็นว่า ครูเป็นเพียงผู้ช่วยเหลือ ชี้แนะอ านวยความสะดวก แก่นักเรียน โดยในส่วนที่ 1 และ 2 ครูอาจจะมีบทบาทมากหน่อย แต่ส าหรับส่วนที่ 3 และ 4 ครู จะต้องลดบทบาทลงเพื่อให้นักเรียนได้แสดงศักยภาพของตนเองได้อย่างเต็มที่และเกิดการค้นพบ ความรู้ด้วยตนเอง 3.5 กระบวนการเรียนตามการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT สุคนธ์ สินธพานนท์ (2558: 79-80) ได้กล่าวถึงกระบวนการเรียนตามการ จัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT ว่าเริ่มต้นจากการใช้สมองซีกขวาใช้ความรู้สึกรับรู้ประสบการณ์เกี่ยวกับสิ่ง ที่จะเรียนและมีจินตนาการเกี่ยวกับสิ่งนั้น ในขั้นสุดท้ายก็เป็นกิจกรรมของการใช้สมองซีกขวาเช่นกัน แต่ความรู้สึกที่แตกต่างกันเนื่องจากผ่านกระบวนการแสวงหาความรู้ทักษะความคิดและเพี่อสร้าง
ผลงานจากการเรียน รู้ด้วยตนเองภายใต้การพัฒนาสมองแต่ละซีกคือ ขวา-ซ้าย-ขวา-ซ้าย-ซ้าย-ขวา ซ้าย-ขวา เธียร พานิช (2544:31-32) ได้กล่าวว่า ในการเรียนตามแบบ 4 MAT นักเรียนแต่ละแบบต้องใช้สมองทั้งซีกซ้ายและซีกขวาสลับกันไป โดยเริ่มต้นด้วยการใช้สมองซีกขวา เพื่อให้เกิดภาพรวมก่อนในขั้นที่ 1 จากนั้นจึงเป้นหน้าที่ของสมองซีกซ้ายเมื่อพูดถึงรายละเอียดของ เนื้อหา และจบลงด้วยภาพรวมอีกครั้งหรือด้วยการใช้สมองซีกขวานั่นเอง โดยใช้หลักการที่ว่า กิจกรรมการสอนทั้งหมดจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ กิจกรรมที่เน้นรายละเอียด และกิจกรรม ประเภทสร้างสรรค์ซึ่งจะไม่เป็นอุปสรรคต่อการใช้ 4 MAT ในการจัดการเรียนการสอน 3.6 ประโยชน์ของการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT สุนีย์ เหมะประสิทธิ์ (2543: 46-47) กล่าวถึงข้อดีของการจัดการเรียนรู้ด้วย กิจกรรม 4 MAT ว่าสามารถพัฒนานักเรียนในด้านต่าง ๆ ทั้งในด้านของความฉลาดทางอารมณ์ได้แก่ ทักษะการกับอารมณ์ของตนเอง ทักษะการสร้างแรงจูงใจ และทักษะทางด้านการสื่อสารเพราะการ จัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรม 4 MAT ท าให้นักเรียนรู้จักการท างานเป็นกลุ่ม กล้าซักถามกล้าแสดงความ คิดเห็น ส่วนในด้านของความฉลาดทางจริยธรรม ได้แก่ การรู้จักแบ่งปัน ความตรงต่อเวลา การมีจิต สาธารณะ เห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็นสิ่งส าคัญ ซึ่งจะท าให้นักเรียนเกิดความสามัคคีร่วมมือกันท างาน กลุ่มให้ประสบผล ส าเร็จ และในส่วนของความฉลาดทางปัญญา ได้แก่ การพัฒนาและประยุกต์ใช้มโน ทัศน์ การพัฒนาทักษะด้านการคิด เช่น การวางแผน การคิดวิเคราะห์การท างานอย่างเป็นระบบ เป็น ต้น สุคนธ์ สินธพานนท์ (2558: 80) ได้สรุปประโยชน์ของการจัดการเรียนรู้ แบบ 4 MAT ได้ดังนี้ 1) นักเรียนได้พัฒนาสมองทั้งซีกซ้ายและซีกขวาอย่างสมดุล 2) นักเรียนมีประสบการณ์ตรงในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รู้จักการ ท างานร่วมกันเป็นกลุ่ม ฝึกความเป็นประชาธิปไตยรู้จักรับฟังและยอมรับความคิดเห็นผู้อื่น 3) นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิดและการตัดสินใจในการท ากิจกรรมต่าง ๆ ได้ แสดงออกซึ่งเป็นความคิดสร้างสรรค์ 4) นักเรียนมีความสุขในการเรียนรู้จากการสร้างชิ้นงานต่าง ๆ ด้วยตนเอง มีความภาคภูมิใจในความส าเร็จของตนเอง 3.7 ข้อจ ากัดของการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT ธิติรัตน์ วิเชียรมงคล (2548: 35 อ้างถึงใน ลีลาวดี วัชโรบล, 2553: 68) ได้ กล่าวถึงข้อจ ากัดของการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT คือ การใช้เวลาในการเรียนรู้ค่อนข้างมาก และ ต้องจัดกิจกรรมที่หลากหลาย และสอดคล้องกับความสนใจของนักเรียน และการพัฒนาสมองแต่ละ
ซีก จึงท าให้ต้องมีการวางแผนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ การจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบนี้จะไม่ ประสบความส าเร็จหากนักเรียนไม่มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ และครูไม่มีความเข้าใจในความ ถนัดของนักเรียน สุคนธ์ สินธพานนท์ (2558: 80) ได้สรุปข้อจ ากัดของการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT ได้ดังนี้ 1) ผู้สอนต้องวางแผนการจัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อให้นักเรียนได้ใช้ ทักษะในการพัฒนาสมองและการสร้างสรรค์ชิ้นงาน 2) ผู้สอนต้องติดตามการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนอย่างสม่ าเสมอ และ คอยชี้แนะนักเรียนบางคนหรือบางกลุ่มที่ไม่สามารถพัฒนาตนได้เท่าเทียมกับเพื่อน 3) ใช้เวลาหรือจ านวนชั่วโมงในการจัดกิจกรรมจ านวนมาก ใช้เวลาหลาย ชั่วโมงผู้สอนจึงควรระบุเวลาแต่ละชั่วโมงให้ชัดเจน 4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.1 ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถ ความส าเร็จและสมรรถภาพด้านต่างๆ ของ นักเรียนที่ได้จากการเรียนรู้อันเป็นผลมาจากการเรียนการสอน การฝึกฝนหรือประสบการณ์ของแต่ละ บุคคลซึ่งสามารถวัดได้จากการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ (สมพร เชื้อพันธ์ 2547: 53) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Learning Achievement) เป็นผลที่เกิดจากปัจจัยต่างๆในการจัด การศึกษา นักการศึกษาได้ให้ความส าคัญกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเนื่องจากผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนเป็นดัชนีประการหนึ่งที่สามารถบอกถึงคุณภาพการศึกษา ดังที่ Anatasi (1970: 107 อ้างถึง ใน ปริยทิพย์ บุญคง, 2546: 7) กล่าวไว้พอสรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีความสัมพันธ์กับ องค์ประกอบ ด้านสติปัญญา และองค์ประกอบด้านที่ไม่ใช้สติปัญญา ได้แก่ องค์ประกอบด้าน เศรษฐกิจ สังคม แรงจูงใจ และอื่น ๆ Eysenck, Arnold และ Meili (อ้างถึงใน ปริยทิพย์ บุญคง, 2546: 7) ได้ให้ความหมายของ ค าว่า ผลสัมฤทธิ์ หมายถึง ขนาดของความส าเร็จที่ได้จากการท างานที่ต้องอาศัยความพยายามอย่าง มาก ซึ่งเป็นผลมาจากการกระท าที่ต้องอาศัยทั้งความสามารถทั้งทางร่างกายและทางสติปัญญา ไพศาล หวังพานิช (2536: 89) ที่ให้ความหมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนว่า หมายถึง คุณลักษณะและความสามารถของบุคคลอันเกิดจากการเรียนการสอนเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และประสบการณ์การเรียนที่เกิดขึ้นจากการฝึกอบรมหรือการสอบ จึงเป็นการตรวจสอบระดับ ความสามารถของบุคคลว่าเรียนแล้วมีความรู้เท่าใด สามารถวัดได้โดยการใช้แบบทดสอบต่างๆ เช่น ใช้ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ข้อสอบวัดภาคปฏิบัติ
ทิศนา แขมมณี (2545: 10) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ คือ การท าให้ส าเร็จ หรือประสิทธิภาพ ทางด้านการกระท าในทักษะที่ก าหนดให้หรือด้านความรู้ ส่วนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง การ เข้าถึงความรู้ การพัฒนาทักษะในด้านการเรียน ซึ่งอาจพิจารณาจากคะแนนสอบที่ก าหนดให้คะแนน ที่ได้จากงานที่ครูมอบหมายให้หรือทั้งสองอย่าง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจึงหมายถึง ความรู้หรือทักษะที่นักเรียนแสดงออกมาจากการได้รับ การจัดการเรียนการสอน ซึ่งอาจจะสามารถวัดโดยการทดสอบหรือจากการให้คะแนนของครูผู้สอน ดังนั้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจึงเป็นขนาดของความส าเร็จที่ได้จากการเรียนโดยอาศัยความสามารถ เฉพาะตัวบุคคล ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชีววิทยา เรื่องอาณาจักรสัตว์ ซึ่ง นักเรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่เรียนแล้วแสดงออกมาในรูปของคะแนนผลสัมฤทธิ์เพื่อ ประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนได้ 4.2 การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอาจได้จากกระบวนการที่ไม่ต้องอาศัยการทดสอบ เช่น การ สังเกต หรือการตรวจการบ้าน หรืออาจได้ในรูปของเกรดจากโรงเรียน ซึ่งต้องอาศัยกระบวนการที่ ซับซ้อน และระยะเวลานานพอสมควร หรืออาจได้จากการวัดแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั่วไป การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผู้สอนจะต้องค านึงถึงความเหมาะสมทั้งในด้านของเวลาที่ใช้และ รูปแบบของการประเมิน (ชนาธิป พรกุล, 2545: 94-95) เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินการเรียนรู้หรือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เช่น แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์และแบบสังเกต ซึ่งเครื่องมือ เหล่านี้ใช้วัดความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะของนักเรียน เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้เป็นไป ตามเกณฑ์ที่ก าหนด (ประสาท เนืองเฉลิม, 2558: 303) ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยเลือกใช้แบบทดสอบ เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชีววิทยา เรื่อง อาณาจักรสัตว์ พิสณุ ฟองศรี (2552: 112- 115) ได้มีการแบ่งประเภทของแบบทดสอบตามเกณฑ์การแบ่งถึง 8 เกณฑ์ ดังนี้ 1) แบ่งตามเกณฑ์จุดประสงค์ในการวัด - แบบสอบอิงเกณฑ์ (Criterion-Referenced Test) ใช้วัดความรู้เพื่อทราบว่านักเรียนมี ทักษะตามเนื้อหาเป็นไปตามเกณฑ์ที่ก าหนดหรือไม่ ซึ่งถ้าไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่คาดหวังก็จะน าไปสู่ การปรับปรุงซ่อมเสริมต่อไป - แบบสอบอิงกลุ่ม (Norm-Referenced Test) ใช้วัดความรู้ความสามารถของ นักเรียน เพื่อจ าแนกว่านักเรียนอยู่ในระดับใดของนักเรียนทั้งหมดในห้องเรียน 2) แบ่งตามเกณฑ์เวลาสอบ - แบบสอบวัดความเร็ว (Speed Test) ใช้วัดว่านักเรียนสามารถตอบค าถามได้ทันตามเวลาที่ ก าหนดหรือไม่ โดยมีข้อสอบหลายข้อ แต่ก าหนดเวลาในการตอบน้อย โดยค าถามของข้อสอบจะ ค่อนข้างง่าย
- แบบสอบวัดความสามารถ (Power Test) แบบสอบประเภทนี้ไม่เน้นเวลาแต่เน้น ความสามารถ นั่นคือ ถ้ามีความรู้ความสามารถก็ตอบได้ทัน ถ้าไม่รู้หรือขาดความสามารถใช้เวลานาน เท่าไรก็ตอบไม่ได้ 3) แบ่งตามเกณฑ์จ านวนผู้สอบ - แบบทดสอบเดี่ยว (Individual Test) ใช้กับผู้สอบครั้งละ 1 คน อาจเป็นการสอบซ่อมเสริม หรือสอบปากเปล่า เป็นต้น - แบบทดสอบกลุ่ม (Group Test) ใช้กับผู้สอบครั้งละหลาย ๆ คนพร้อมกัน ซึ่งมักเป็นการ สอบปกติ หรือสอบแข่งขันต่าง ๆ 4) แบ่งตามเกณฑ์วิธีการตอบ - แบบให้เขียนตอบ (Paper pencil Test) ใช้ในการสอบของสถานศึกษา หรือการ สอบแข่งขันที่มีผู้เข้าสอบจ านวนมาก - แบบปฏิบัติ (Performance Test) เป็นการสอบเกี่ยวกับทักษะต่าง ๆ ทั้ง กระบวนการ ผลผลิต หรือชิ้นงาน - แบบปากเปล่า (Oral Test) เป็นการสอบครั้งละคน เช่น สอบสัมภาษณ์ และการแสดง วิสัยทัศน์ของผู้บริหารเพื่อเข้ารับต าแหน่ง เป็นต้น - แบบใช้คอมพิวเตอร์ (Computer Test) คล้ายกับการเขียนตอบ แต่เป็นการใช้ คอมพิวเตอร์แทนกระดาษ ดินสอ ปากกา เช่น การสอบ TOEFL หรือการสอบเยียวยาในการสอบ เลื่อนวิทยฐานะของครู เป็นต้น 5) แบ่งตามเกณฑ์ลักษณะการใช้ - แบบสอบย่อย (Formative Test) เป็นการสอบย่อยตามเนื้อหาแต่ละส่วน ให้ทราบว่าบรรลุ จุดมุ่งหมายหรือไม่ เพื่อจะน าผลไปปรับปรุงการเรียนการสอน หรือหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม สื่อ ที่ใช้สอนเป็นต้น - แบบสอบรวม (Summative Test) เป็นการสอบเพื่อวัดความรู้ของเนื้อหาทั้งหมดเพื่อ ตัดสินว่ามีความรู้เพียงใด เช่น การสอบปลายภาค หรือการสอบวัดคุณสมบัติของนักศึกษาปริญญาเอก (Qualify Examination) เป็นต้น 6) แบ่งตามเกณฑ์ของสิ่งที่วัด - แบบทดสอบวัดความรู้ (Achievement Test) หรือเรียกกันทั่วไปว่า แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ ซึ่งมีการใช้แพร่หลายมากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการวิจัย การประเมิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน การเรียนการสอน ซึ่งเป็นการวัดความรู้ เนื้อหาที่สอนหรืออบรม เพื่อตัดเกรดหรือตัดสินผล - แบบทดสอบวัดความถนัด (Aptitude Test) หรือเรียกว่า “แบบวัดแวว” ซึ่งแบ่งย่อย ออกเป็น 2 แบบ คือ แบบแรกเป็นแบบวัดความถนัดทางการเรียน (Scholastic Aptitude Test) ซึ่ง
วัดเกี่ยวกับความสามารถด้านภาษา การจ าแนกการอุปมาอุปมัย การสรุปความ จ านวนและมิติ สัมพันธ์ เป็นต้น แบบที่สองเป็นแบบวัดความถนัดเฉพาะ (Specific Aptitude Test) ใช้วัด ความสามารถเฉพาะด้านต่าง ๆ เช่น กลไก เสมียน ดนตรี และศิลป์ เป็นต้น เพื่อให้ทราบความถนัดใน การประกอบวิชาชีพ - แบบทดสอบวินิจฉัย (Diagnostic Test) ซึ่งวัดเกี่ยวกับความบกพร่องการเรียนรู้ ได้แก่ แบบทดสอบวินิจฉัยวัดความบกพร่องในการเรียนรู้ เช่น แบบสอบวินิจฉัยวัดความบกพร่องในการคิด ค านวณ ท าให้ทราบว่ามีข้อบกพร่องอย่างไรบ้างเพื่อจะได้แก้ไขข้อบกพร่องได้ - แบบทดสอบวัดความพร้อม (Readiness Test) ซึ่งวัดความพร้อมของนักเรียนด้าน ต่าง ๆ เช่น ด้านสมอง ทักษะ หรือกลไกทางร่างกาย เพื่อให้ทราบว่านักเรียนมีความพร้อมที่จะเรียนรู้แล้ว หรือยัง 7) แบ่งตามเกณฑ์ความเป็นมาตรฐาน - แบบสอบมาตรฐาน (Standardized Test) เป็นการสอบที่ผ่านการสร้าง การทดลองใช้ วิเคราะห์ ปรับปรุง เพื่อพัฒนาคุณภาพงาน เป็นแบบสอบมาตรฐานที่มักสร้างโดยหน่วยงานใน ลักษณะของผู้เชี่ยวชาญด้านสาขาต่าง ๆ - แบบสอบที่ครูสร้าง (Teacher-Made Test) การใช้ชื่อว่า แบบสอบที่ครูสร้างนั้นเนื่องจาก ส่วนใหญ่แล้วครูจะเป็นผู้ออกข้อสอบในการเรียนการสอน หรืออาจจะเป็นบุคคลอื่นก็ได้ที่สร้าง แบบทดสอบขึ้นมาเพื่อวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ซึ่งในที่นี่หมายถึงนักวิจัยหรือนักประเมินนั่นเอง 8) แบ่งตามเกณฑ์การตอบ - แบบสอบอัตนัย (Subjective Test) หรืออาจเรียกว่า “แบบสอบความเรียง” (Essay Test) เป็นแบบสอบที่ก าหนดค าถามให้ผู้สอบตอบในลักษณะการบรรยายหรือเขียนตอบเพื่อวัด ความรู้ขั้นสูง ๆ - แบบสอบปรนัย (Objective Test) หรืออาจเรียกว่า “แบบตอบสั้น ๆ” (Short Answer) ซึ่งแบ่งย่อยได้เป็น 4 ชนิด คือ แบบถูก-ผิด (True-Fault) แบบเติมค า (Completion) แบบจับคู่ (Matching) และแบบเลือกตอบ (Multiple choice) แบบทดสอบแต่ละประเภทตามเกณฑ์การแบ่งข้างต้น อาจมีการแบ่งในรูปแบบอื่นทั้งนี้ขึ้นอยู่ กับการใช้เกณฑ์ของแต่ละคน ซึ่งมีแบบทดสอบหลายประเภทที่เป็นแบบทดสอบชุดเดียวกันแต่การใช้ เกณฑ์ในการแบ่งและการเรียกชื่อต่างกัน โดยในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยเลือกใช้แบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการแบบสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 4.3 คุณลักษณะที่ดีของแบบทดสอบ คุณลักษณะที่ดีของข้อสอบมีหลายประการ ซึ่งนักการศึกษาหลายท่านได้กล่าวไว้ดังนี้ (ราตรี นันทสุคนธ์, 2555: 87)
4.3.1 ความเชื่อมั่น (Reliability) หมายถึง คุณลักษณะของแบบทดสอบที่ สามารถวัดแล้วได้ผลคงเดิม ไม่ว่าจะน ามาใช้วัดกี่ครั้งก็ตาม เช่น ผู้สอบคนหนึ่งสอบได้คะแนนสูงใน การสอบครั้งแรก เมื่อให้สอบด้วยแบบทดสอบเดิมอีกครั้งควรได้คะแนนสูงด้วยคุณลักษณะด้านความ เที่ยงของแบบทดสอบนี้จะมีปัจจัยต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลท าให้ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบต่ าได้ เช่น จ านวนข้อสอบน้อย ข้อสอบในแบบทดสอบไม่ได้วัดคุณลักษณะเดียวหรือไม่มีความเป็นเอกพันธ์ (Homogeneity) ข้อสอบที่มีค่าอ านาจจ าแนกต่ า ข้อสอบที่ง่ายมากและยากมาก ๆ ข้อสอบที่มีความ เป็นปรนัยต่ า กลุ่มผู้สอบที่มีความสามารถใกล้เคียงกัน ระดับความสามารถเฉลี่ยของกลุ่มผู้ตอบที่สูง และต่ ากว่าปกติ และเวลาที่ใช้ในการท าแบบทดสอบมากเกินไป เป็นต้น 4.3.2 ความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง แบบทดสอบนั้นให้ผลการวัดได้ ตรงคุณลักษณะของสิ่งที่ต้องการวัดตามจุดมุ่งหมายที่ต้องการความเที่ยงตรงของแบบทดสอบนี้อาจ พิจารณาได้หลายลักษณะดังนี้ ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) หมายถึง คุณลักษณะของแบบทดสอบที่สามารถวัดเนื้อหาครบถ้วนครอบคลุมตามจุดมุ่งหมายที่ก าหนดไว้ใน หลักสูตร และเป็นตัวแทนที่ดีของเนื้อหาที่ต้องการวัด ความเที่ยงตรงประเภทนี้มีความจ าเป็นมาก ส าหรับแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนซึ่งสามารถตรวจสอบได้กับตารางวิเคราะห์หลักสูตร ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (Construct validity) หรือความ เที่ยงตรงตามทฤษฎี หมายถึง คุณลักษณะของแบบทดสอบที่สามารถวัดได้ผลตรงหรือสอดคล้องกับ ทฤษฎีของสิ่งที่วัดครั้งนั้น ความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ (Predictive validity) หมายถึง คุณลักษณะของแบบทดสอบที่สามารถท านายความสามารถ หรือความส าเร็จในอนาคตได้ ความ เที่ยงตรงประเภทนี้จ าเป็นมากส าหรับแบบทดสอบวัดความถนัด หาได้โดยให้ท าแบบทดสอบแล้วรอ เวลาให้ผ่านไประยะหนึ่งต่อจากนั้นให้ผู้สอบท าแบบทดสอบวัดความถนัดอีกครั้งหนึ่ง แล้วน าผลจาก การตอบทั้ง 2 ครั้งมาหาค่าความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนการสอบทั้ง 2 ครั้ง หรืออาจหาค่า ความสัมพันธ์ระหว่างการตอบแบบทดสอบวัดความถนัดกับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนในระยะต่อมา ความเที่ยงตรงตามสภาพ ( Concurrent validity) หมาย ถึง คุณลักษณะของแบบทดสอบที่สามารถวัดความสามารถหรือคุณลักษณะต่าง ๆ (Traits) ได้ตามสภาพ ที่แท้จริงของบุคคล เช่น ผู้ที่มีความสามารถในเรื่องนั้นสูงก็ต้องท าแบบทดสอบวิชานั้นได้คะแนนสูง คุณลักษณะด้านความเที่ยงตรงของแบบทดสอบนี้มีปัจจัยหลายอย่างที่มีผลท าให้ค่า ความเที่ยงตรงของแบบทดสอบต่ า เช่น ปัจจัยที่เกิดจากตัวแบบทดสอบ การจัดการเรียนการสอนการ ด าเนินการสอบและการตรวจให้คะแนนตัวผู้เข้าสอบเอง และปัจจัยที่เกิดจากลักษณะของกลุ่มผู้สอบที่ แตกต่างกัน
4.3.3 ความยาก (Difficulty) หมายถึง คุณลักษณะของข้อสอบที่มีค่าความ ยากง่ายเหมาะสมกับเนื้อหา นั่นคือจะมีผู้เข้าสอบประมาณครึ่งหนึ่งของจ านวนทั้งหมดตอบถูกค่า ความยากที่ใช้ได้จะมีค่า ระหว่าง .20 - .80 2.3.4 อ านาจจ าแนก (Discrimination) หมายถึง คุณลักษณะของข้อสอบที่สามารถ แสดงความแตกต่างของสิ่งที่ต้องการวัดได้ เช่น ผลการวัดสามารถแยกนักเรียนเก่งและนักเรียนอ่อนได้ ถูกต้อง ซึ่งค่าอ านาจจ าแนกที่เหมาะสมของข้อสอบนั้นสามารถค านวณได้ ค่าที่ใช้ได้มีค่าระหว่าง .20 - 1.00 4.3.5 ความเป็นปรนัย (Objectivity) หมายถึง คุณลักษณะของ แบบทดสอบที่อ่านแล้วสามารถเข้าใจได้ตรงกัน ให้คะแนนได้ตรงกันและแปลความหมายของคะแนน ได้ตรงกันนั่นคือข้อค าถามของแบบทดสอบต้องชัดเจนไม่ก ากวม มีวิธีการให้คะแนนที่เป็นระบบอย่าง มีหลักเกณฑ์คือ ถามได้เจาะจง และถามให้ลึกๆ ดังนี้ ถามได้เจาะจง (Definite) หมายถึง แบบสอบที่เขียนข้อค าถามได้ ชัดเจน โดยถามให้เจาะจงลงไปว่าถามอะไร โดยไม่ควรตั้งค าถามที่คลุมเครือหรือวกวน เพราะจะท า ให้นักเรียนสับสนกับข้อค าถามที่ครูตั้งขึ้น ซึ่งมีผลท าให้ข้อสอบขาดความเป็นปรนัยไปด้วย ถามให้ลึก ๆ (Searching) หมายถึง แบบทดสอบฉบับนั้นต้อง ประกอบด้วยข้อสอบถามพฤติกรรมความเข้าใจ การน าไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการ ประเมินค่าอย่างเหมาะสมสอดคล้องกับพฤติกรรมที่ก าหนดไว้ในหลักสูตร ไม่ถามเฉพาะความรู้ ความจ าเพียงอย่างเดียว เพราะจะมีผลต่อความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างทันที 4.3.6 ยุติธรรม (Fairness) หมายถึงแบบทดสอบนั้นต้องไม่ประกอบด้วย ข้อสอบที่เปิดโอกาสให้ผู้เข้าสอบคนในคนหนึ่งเดาได้ถูก และต้องไม่เปิดโอกาสให้ผู้สอบที่ไม่รู้จริงท า คะแนนได้มาก ดังนั้นแบบทดสอบที่มีความยุติธรรมจะต้องสร้างข้อสอบตามหลักการเขียนข้อสอบที่ดี และต้องครอบคลุมหลักสูตรทั้งหมด 4.3.7 ค าถามมีลักษณะยั่วยุ (Challenge) และเป็นตัวอย่างที่ดี (Exemplary) หมายถึง แบบทดสอบนั้นประกอบด้วยข้อสอบที่มีลักษณะท้าทายให้อยากท าข้อสอบ และเป็นตัวอย่างที่ดี เช่น เรียงข้อจากง่ายไปยาก หรือข้อสอบที่ถามแบบสถานการณ์ ถามเรื่องที่ น่าสนใจ ถามเรื่องที่เป็นแบบอย่างในทางดี 4.3.8 มีประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง แบบทดสอบนั้นสามารถ น าไปใช้ได้ง่าย ไม่ยุ่งยาก ไม่สิ้นเปลืองเวลา เงินและแรงงานมาก และสามารถน าผลการสอบไปใช้ได้ อย่างคุ้มค่า เช่น ถามได้ครอบคลุม ไม่ถามตามต ารา ถามในสิ่งที่ส าคัญ การพิมพ์ต้องอ่านง่ายชัดเจน เวลาที่ก าหนดให้ต้องเหมาะสม การด าเนินการสอบเป็นไปอย่างมีระเบียบ การตรวจเป็นปรนัย เป็น ต้น
4.4 ข้อสอบแบบเลือกตอบ (Multiple choice Test) ข้อสอบแบบเลือกตอบ (Multiple choice Test) หรือเรียกว่า ข้อสอบหลายตัวเลือก เป็น ข้อสอบที่นิยมใช้กันอย่างกว้างขวาง เป็นข้อสอบที่ให้ผู้ตอบเลือกค าตอบจากตัวเลือกที่ก าหนดให้ ซึ่ง ข้อสอบแบบเลือกตอบประกอบด้วยส่วนของตัวค าถาม (stem) และตัวเลือก (alternative) ซึ่งนิยมใช้ 3-6 ตัวเลือก ซึ่งในตัวเลือกจะมีตัวเลือกที่ถูกเพียงตัวเลือกเดียวซึ่งเป็น “ตัวค าตอบ” (Answer key) ส่วนตัวเลือกที่เหลือจัดว่าเป็น “ตัวลวง” (discrimination) (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2556: 197) 4.4.1 รูปแบบค าถามของข้อสอบแบบเลือกตอบ ข้อสอบแบบเลือกตอบสามารถสร้างโดยมีรูปแบบค าถาม (ศิริชัย กาญจน วาสี, 2556: 197) ดังนี้ 1. แบบค าถามเดี่ยว (Single Question) เป็นข้อความเรื่องเดียว โดยเฉพาะ แต่ละข้อค าถามมีความสมบูรณ์ในตัวเอง ไม่ต้องอาศัยตัวเลือกจากข้ออื่น ซึ่งรูปแบบของ ค าถามเดี่ยวอาจให้เลือกค าตอบถูก (Correct answer) ให้เลือกค าตอบผิด (Incorrect answer) ให้ เลือกค าตอบที่ดีที่สุด (Best answer) หรือแบบให้เรียงล าดับค าตอบ 2. แบบตัวเลือกคงที่ (Constant Choice Question) เป็น แบบ ที่ก าหนดตัวเลือกให้ชุดหนึ่งส าหรับตอบค าถามหลาย ๆ ข้อ โดยข้อค าถามจะถามครอบคลุม ใน เรื่องเดียวกันหรือเกี่ยวกันเป็นลักษณะท านองเดียวกัน โดยใช้ชุดตัวเลือกชุดเดียวในการตอบ ค าถามแต่ละข้อ 3. แบบสถานการณ์ (Situation Question) เป็นข้อสอบที่อาจใช้ สถานการณ์หรือบทความขึ้นมาเป็นตัวเรื่อง หรือเป็นการก าหนดข้อความ ภาพหรือตารางตัวเลขให้ นักเรียนพิจารณาแล้วตั้งค าถามเกี่ยวกับข้อความหรือภาพหรือตารางตัวเลขที่ก าหนดให้นั้น อาจเป็น การถามเกี่ยวกับการอ่านแผนภูมิ ตาราง หรือกราฟ การตีความหมาย การวิเคราะห์แนวโน้ม เป็นต้น ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยเลือกใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาดนตรี เรื่องดนตรี สากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ซึ่งเป็นแบบสัมภาษณ์ โดยวัดพฤติกรรมด้านพุทธพิสัยของ Bloom ซึ่งมีล าดับ 6 ขั้น คือ ความรู้ความจ า ความเข้าใจ การน าไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และ ประเมิน โดยผู้วิจัยจะวัดนักเรียนใน 4 ระดับ คือ ความรู้ความจ า ความเข้าใจ การน าไปใช้ และการ วิเคราะห์ 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5.1 งานวิจัยในประเทศ ปิ่นแก้ว สระแก้ว (2555: 83-85) ศึกษาผลการจักกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4 MAT เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก รายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เพื่อหาดัชนี ประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่าง ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4 MAT และเพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการ เรียนรู้แบบ 4 MAT ผลการค้นคว้าพบว่า แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4 MAT มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 86.47/85.88 ดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT เท่ากับ 0.694 แสดง ว่านักเรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 69.35 ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบ 4 MAT อยู่ในระดับมากที่สุด โดยแยกออกเป็น 4 ด้าน คือ ด้านเนื้อหาด้านการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ด้านสื่อการเรียนการสอน และด้านการวัดและประเมินผล เนื่องจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบ 4 MAT เป็นวิธีการสอนที่ค านึงถึงรูปแบบการเรียนรู้ที่เป็นของตนเองของนักเรียนทั้ง 4 แบบ ตลอดจนพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาโดยใช้เทคนิคการพัฒนาสมองซีกซ้ายและซีกขวาให้ ท างานร่วมกันอย่างสมดุล และนักเรียนได้ปฏิบัติตามขั้นตอนซึ่งท าให้นักเรียนไม่สับสนในเนื้อหาและ เข้าใจบทเรียนมากยิ่งขึ้น นักเรียนได้มีการพัฒนาที่รอบด้านอย่างสมดุลและสนองความต้องการที่ แตกต่างกันของนักเรียนแต่ละคนเรียนรู้อย่างมีความสุข อีกทั้งครูผู้สอนคอยแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่าง มีเหตุผล จึงส่งผลให้นักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนเพิ่มขึ้น และจากผลของแบบวัดความพึง พอใจที่นักเรียนมีความพึงพอใจโดยรวมในระดับมากที่สุดเนื่องจากนักเรียนสามารถเรียนรู้ตาม กระบวนการเรียนรู้ที่ครูตั้งจุดประสงค์การเรียนรู้ไว้นักเรียนสามารถสร้างประสบการณ์ วิเคราะห์ ประสบการณ์ ปรับประสบการณ์เป็นความคิดรวบยอด พัฒนาเป็นทฤษฎีและความคิดรวบยอด ลงมือ ปฏิบัติตามหลักการ สร้างผลงานตามความถนัดและความสนใจ วิเคราะห์ชิ้นงานและแนวทางการ น าไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้อื่น จึงท าให้นักเรียนมีความพึงพอใจใน การปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบ 4 MAT วัชรพร กิจโป้ (2555: 76-79) ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เพศศึกษาของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ (4 MAT) ในกลุ่ม สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT โดยมีจ านวนนักเรียนไม่น้อยกว่า 80% ของนักเรียน ทั้งหมด มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จ านวน 30 คน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนร้อยละ 83.33 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนร้อยละ 80 ขึ้นไป ซึ่ง เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก าหนดไว้เนื่องจากการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT เปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนได้ฝึกคิด ได้อภิปรายร่วมกัน แล้วแสดงความคิดเห็น และฝึกคิด วิเคราะห์จากสถานการณ์ต่าง ๆ ฝึกปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตามแผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบ 4 MAT ซึ่งในขั้นตอนที่ 6 นักเรียนได้น าความรู้ความเข้าใจที่ได้รับมาสร้างสรรค์
ผลงานของตนเอง ชิ้นงานของนักเรียนสะท้อนให้เห็นถึงการน าความรู้ ทักษะกระบวนการจากขั้นตอน ที่ผ่านมาใช้ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานของตนเองในขั้นตอนที่ 6 นอกจากนี้ยังได้ข้อสังเกตจากการวิจัย ว่า การใช้รูปภาพที่เกี่ยวข้องกับนักเรียนและบทเรียนเป็นสื่อการเรียนรู้ในขั้นตอนที่ 1 สามารถดึงดูด ความสนใจและสร้างแรงจูงใจในการเรียนให้นักเรียนได้ดีมาก อีกทั้งยังช่วยส่งเสริมให้นักเรียนได้คิด เชื่อมโยงกับประสบการณ์และเกิดการเรียนรู้ที่ดียิ่งขึ้นในขั้นต่อไป 5.2 งานวิจัยต่างประเทศ Aktas and Bilgin (2014: abstract) ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT ที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแรงจูงใจในการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในการเรียนเรื่อง อนุภาคของสสาร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน และศึกษาความ คิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT นักวิจัยหลายท่านยอมรับว่า เนื้อหาในเรื่อง ธรรมชาติของสสารเป็นเรื่องยากส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา เนื่องจากไม่ได้พิจารณาความ แตกต่างของบุคคล การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ผลการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT ที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแรงจูงใจในการเรียนเรื่องธรรมชาติของสสาร 2) ศึกษาความคิดเห็นของ นักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบ 4 mat กลุ่มตัวอย่างชื่อนักเรียน 235 คน กลุ่มทดลอง 115 คน กลุ่มควบคุม 120 คน ผลการวิจัยพบว่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแรงจูงใจในการเรียน ระหว่างนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ซึ่งแสดงให้การ จัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT ช่วยสร้างแรงจูงใจให้กับนักเรียนและเพิ่มการมีส่วนร่วมในการเรียน Irfan, Almufadi and Brisha (2016: 1-11) ศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT ที่ มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาเศรษฐศาสตร์วิศวกรรมของนักศึกษาระดับปริญญาตรี โดยการเปรียบเทียบระหว่างการสอนแบบ 4 MAT กับการสอนแบบดั้งเดิม ผลการวิจัยพบว่า นักเรียน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT มีประสบการณ์ทางการเรียนที่หลากหลายมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ และเจตคติต่อวิชาเศรษฐศาสตร์วิศวกรรมพื้นฐานเพิ่มขึ้น ยิ่งไปกว่านั้นการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT ช่วยเพิ่มความมีเหตุผลในตัวนักเรียนที่ขาดความมั่นใจในการแสดงความคิดสร้างสรรค์ในชั้นเรียน และ ช่วยพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนแบบ จากการศึกษางานวิจัยในด้านของวิธีการสอนแบบ 4 MAT ต่อวิชาต่าง ๆ พบว่า กลุ่ม ทดลอง ทั้งหมดมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสนใจในการเรียน และเจตคติทางการเรียนสูงขึ้น นอกจากนี้ ในด้านรูปแบบของการเรียนรู้ที่น ามาใช้ใน เรื่องดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน คือ รูปแบบการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ การใช้ชุดกิจกรรมการสอน และรูปแบบการประยุกต์ใช้กระบวนการ ทางแนะแนว ซึ่งมีลักษณะเดียวกับ วิธีการสอนแบบ 4 MAT คือ ค านึงถึงความต้องการและความ สนใจของผู้เรียนเป็นส าคัญพบว่ารูปแบบ การเรียนรู้ดังกล่าว มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความรู้
เจตคติและการปฏิบัติของกลุ่มทดลอง อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ หลังจากการศึกษางานวิจัยต่างๆแล้ว ผู้วิจัยจึงสนใจน ารูปแบบการสอน แบบ 4 MAT มาทดลองใช้ในการสอนดนตรีสากลกับการ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตามสาระที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า
6. กรอบแนวคิดการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาดนตรี ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการ สอนแบบ 4 MAT ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาดนตรี เรื่อง การสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ วิธีการสอนแบบ 4 MAT (K) ความสามารถในการเรียนรู้โดยใช้ วิธีการสอนแบบ 4 MAT (P) ความพึงพอใจ (A)
บทที่ 3 วิธีการด าเนินงานวิจัย ในการด าเนินการวิจัย เรื่อง การสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า ผู้วิจัยได้ด าเนินการตามลักษณะ ของการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) ซึ่งมีขั้นตอนในการด าเนินการวิจัย ดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 5. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยรายละเอียดในแต่ละขั้นตอน มีดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ก าลังศึกษาใน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จ านวน 4 ห้องรวม 124 คน ประกอบด้วย ชั้น ม.6/1, ม.6/2, ม. 6/3, ม.6/4 1.2 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ที่ก าลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2566 จ านวน 1 ห้อง จ านวน 24 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) 2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 2.1.1 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT วิชาดนตรี เรื่อง ดนตรี สากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน จ านวน 4 ชุด 2.1.2 แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอน แบบ 4 MAT วิชาดนตรี เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน จ านวน 4 แผน
2.2 ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ 2.2.1 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ผู้วิจัยด าเนินการ ดังนี้ 2.2.1.1 ศึกษาเอกสาร หลักการ ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับชุด กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวัน 2.2.2 การสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ผู้วิจัยด าเนินการ ดังนี้ 2.2.2.1 ก าหนดรูปแบบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดของ หลักการที่ กล่าวถึงในบทที่ 2 ซึ่งมีส่วนประกอบ ดังนี้ 1. ชื่อชุดกิจกรรม 2. ค าน า 3. ค าชี้แจง 4. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT 2.2.2.2 ด าเนินการสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่องดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวัน จ านวน 4 ชุด ดังนี้ 1. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อการ ผ่อนคลาย 2. ชุดกิจกรรมที 2 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อความ บันเทิง 3. ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อ ประเพณีในท้องถิ่นต่างๆ 4. ชุดกิจกรรมที่ 4 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อ ประกอบการออกก าลังกาย 2.2.3 น าชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ฉบับร่างเสนอต่อ คณาจารย์ ผู้ควบคุมงานวิจัย เพื่อตรวจสอบ และแก้ไขเบื้องต้น แล้วน ามาปรับปรุงแก้ไขตามที่ คณะกรรมการ ผู้ควบคุมงานวิจัย เสนอแนะ
2.2.4 สร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน พร้อมแผนการ จัดการเรียนรู้ เสนอคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบความเหมาะสม 2.3 แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยใช้ในการวิจัย เป็นเนื้อวิชาดนตรี ศ 33102 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ศิลปะ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จ านวน 4 แผน ตามล าดับขั้นตอน ดังนี้ 2.3.1 ศึกษาแนวคิด หลักการ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.3.2 ศึกษาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า 2.3.3 น าความรู้ที่ได้มาก าหนดแนวทางเพื่อน าไปสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ 2.3.4 สร้างแผนการเรียนรู้ตามขอบเขตเนื้อหาที่ก าหนดไว้ จ านวน 4 แผนการ จัดการเรียนรู้ 2.3.5 น าแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างเสร็จแล้วเสนอต่อคณะกรรมการผู้ ควบคุม เพื่อตรวจสอบแก้ไขความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้ แล้วน ามาปรับปรุง แก้ไข ข้อบกพร่องตามค าแนะน า 2.3.6 น าแผนการจัดการเรียนรู้เสนอผู้เชี่ยวชาญชุดเดิม เพื่อพิจารณา ความ เหมาะสมความสอดคล้องด้านโครงสร้าง และเนื้อหาของแผนการจัดการเรียนรู้ 2.3.7 ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ 2.3.8 น าไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามก าหนดการที่วางไว้ 2.4. แบบวัดชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ผู้วิจัยได้สร้างแบบทดสอบวัดชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นแบบทดสอบชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 3 ระดับ โดยมีขั้นตอน การสร้าง ดังนี้ 2.4.1 ศึกษาหลักสูตร คู่มือครู เนื้อหา คู่มือการวัดผลประเมินผล วิธีการ สร้างแบบทดสอบวัดทักษะดนตรีให้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ 2.4.2 สร้างแบบทดสอบวัดชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 3 ระดับจ านวน 1 ฉบับ ซึ่งมีรายละเอียดครอบคลุมในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ 2.4.2.1 บุคลิก ท่าทาง ปฏิภาณไหวพริบ และความมั่นใจในตนเอง 2.4.2.2 ความสนใจ ตอบค าถามในชั้นเรียน
2.4.2.3 สามารถปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ดี 2.4.2.5 สามารถการบอกการประยุกต์ใช้ดนตรีในชีวิตประจ าวันได้ 2.4.3 น าแบบทดสอบวัดชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ที่ สร้างเสร็จแล้วเสนอต่อคณะกรรมการผู้ควบคุมงานวิจัยเพื่อตรวจสอบแล้วน ามาปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพร่องตามค าแนะน า 2.4.4 น าแบบทดสอบวัดชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ที่ แก้ไขปรับปรุงแล้วให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาความสอดคล้องของแบบทดสอบกับผลการเรียนรู้ (Index of Item Objective Congruence: IOC) โดยก าหนดเกณฑ์ให้คะแนน ดังนี้ +1 เมื่อแน่ใจว่า ข้อค าถามข้อนั้นวัดได้ตรงตามเนื้อหา 0 เมื่อไม่แน่ใจว่า ข้อค าถามข้อนั้นวัดได้ตรงตามเนื้อหา -1 เมื่อแน่ใจว่า ข้อค าถามข้อนั้นไม่ได้วัดตรงตามเนื้อหา 2.4.5 จัดพิมพ์แบบทดสอบวัดชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ให้เป็นฉบับสมบูรณ์ 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิจัยในครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test Design ตามตาราง ต่อไปนี้ กลุ่ม Pretest Treatment Posttest กลุ่มทดลอง T1 X T2 ตาราง 3.1 แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test Design สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบแผนการทดลอง T1 หมายถึง การทดสอบก่อนทดลอง (Pre-test) X หมายถึง การทดลองโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอน แบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ดนตรีสากลกับการ ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวัน T2 หมายถึง การทดสอบหลังทดลอง (Post-test) 3.1 ขั้นตอนในการด าเนินการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ด าเนินการทดลองตามขั้นตอน ดังนี้
3.1.1 ทดสอบก่อนเรียนด้วยแบบวัดชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ วิธีการสอนแบบ 4 MAT เพื่อประเมินความรู้พื้นฐานนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง 3.1.2 ด าเนินการสอนตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียน โดยผู้วิจัย เป็นผู้สอนด้วยตนเอง สัปดาห์ละ 1 แผน รวมทั้งสิ้น 4 สัปดาห์ ไม่รวมเวลาทดสอบก่อนเรียนและหลัง เรียน 3.1.3 ทดสอบหลังเรียนด้วยแบบวัดชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ วิธีการสอนแบบ 4 MAT ฉบับเดิมแล้วบันทึกผลเป็นคะแนนทดสอบหลังเรียน 4. การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 4.1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพ ของแบบวัดชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตาม เกณฑ์ 90/90 ดังนี้ 4.1.1 น าคะแนนจากการทดสอบ แบบวัดชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวัน ทั้ง 4 ชุด มาหาค่าเฉลี่ย และคิดเป็นร้อยละเทียบกับเกณฑ์ 90 ตัวแรก 4.1.2 น าคะแนนจากการทดสอบ แบบวัดชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ วิธีการสอนแบบ 4 MAT หลังเรียนมาหาค่าเฉลี่ยและคิดเป็นร้อยละเทียบกับเกณฑ์ 90 ตัวแรก 4.1.3 น าคะแนนจากการทดสอบ แบบวัดชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ วิธีการสอนแบบ 4 MAT หลังเรียนมาหาค่าเฉลี่ยและคิดเป็นร้อยละเทียบกับเกณฑ์ 90 ตัวหลัง 4.2 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ย ของผลการทดสอบแบบวัดชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ วิธีการสอนแบบ 4 MAT ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้สถิติ t-test (Dependent Samples) 5. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 5.1. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หาคุณภาพเครื่องมือ 1.1 การหาค่าความเที่ยงตรง (Validity) ของแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรม การเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ชุด กิจกรรมการเรียนรู้ ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน แบบประเมินทักษะกระบวนการทางดนตรี โดยใช้สูตรดัชนีความสอดคล้อง IOC ดังนี้ (สมนึก ภัททิยธนี, 2558 : 220-221) IOC = เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์กับเนื้อหา หรือ ระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด N แทน จ านวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด 5.2. สถิติพื้นฐาน 5.2.1 ร้อยละ (Percentage) มีสูตรค านวณ ดังนี้ (สมบัติ ท้ายเรือค า, 2553 : 29) เมื่อ p แทน ร้อยละ f แทน ความถี่ที่ต้องการแปลงให้เป็นร้อยละ N แทน จ านวนความถี่ทั้งหมด 5.2.2 ค่าเฉลี่ย (Mean) มีสูตรค านวณ ดังนี้ (สมบัติ ท้ายเรือค า, 2553 : 29) เมื่อ แทน ค่าเฉลี่ย แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลุ่ม N แทน จ านวนคะแนนในกลุ่ม 5.2.3 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) มีสูตรค านวณ ดังนี้ (สมบัติ ท้ายเรือค า, 2553 :123) เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด X แทน คะแนนแต่ละตัว N แทน จ านวนคะแนนในกลุ่ม
5.3. การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพและดัชนีประสิทธิผล การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวัน ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 5.3.1 หาค่าประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ ( / ) ตามเกณฑ์ 90/90 การหาค่า และ ใช้สูตร ดังนี้ (เผชิญ กิจระการ, 2544 : 49) เมื่อ แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ แทน คะแนนรวมของแบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบย่อยทุกชุดรวมกัน A แทน คะแนนเต็มของแบบฝึกหัดทุกชุดรวมกัน N แทน จ านวนนักเรียนทั้งหมด เมื่อ แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ แทน คะแนนรวมของแบบแบบทดสอบหลังเรียน B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน N แทน จ านวนนักเรียนทั้งหมด 5.4. สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน 5.4.1 การเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางดนตรี หลังเรียนกับเกณฑ์ ใช้สูตรค านวณหาค่า t-test แบบ One Samples (พวงรัตน์ ทวีรัตน์, 2543 : 165-167) เมื่อ แทน ค่าสถิติที่จะใช้เปรียบเทียบกับค่าวิกฤต เพื่อทราบนัยส าคัญ แทน ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง แทน จ านวนคะแนนในแต่ละกลุ่ม
แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แทน ค่าเฉลี่ยของประชากร 5.4.2 การเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดนตรีก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้สูตรค านวณหาค่า t-test แบบ Dependent Samples (บุญชม ศรีสะอาด, 2556 : 68) เมื่อ แทน ค่าสถิติที่จะใช้เปรียบเทียบกับค่าวิกฤต เพื่อทราบนัยส าคัญ แทน ความแตกต่างระหว่างคะแนนแต่ละคู่ แทน จ านวนกลุ่มตัวอย่างหรือจ านวนคู่ แทน ผลรวม df แทน ความเป็นอิสระมีค่าเท่ากับ N - 1
บทที่ 4 ผลการวิจัย ในการด าเนินการวิจัย เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน โดยใช้ ชุด กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ ผู้วิจัยได้ ด าเนินการศึกษาและขอเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามล าดับหัวข้อ ดังนี้ 1. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 2. ล าดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 1. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้เกิดความเข้าใจในการแปลความหมายและเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลได้ถูกต้อง ผู้วิจัยได้ก าหนดความหมายของสัญลักษณ์ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังต่อไปนี้ N แทน จ านวนกลุ่มตัวอย่าง แทน ผลรวม แทน ค่าเฉลี่ย S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน df แทน ค่าความเป็นอิสระ Sig. แทน ค่านัยส าคัญ (significant) แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการของชุดการสอน แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ของชุดการสอน 2. ล าดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูล และได้ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ วิเคราะห์ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน เกณฑ์ 90/90
3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล เลขที่ คะแนนแบบฝึกระหว่างเรียน รวมคะแนน แบบฝึก (80) ชุดที่ 1 (20) ชุดที่ 2 (20) ชุดที่ 3 (20) ชุดที่ 4 (20) 1 16 16.5 16 17 65.5 2 16.5 15 16 15.5 63 3 15 16 17 16 64 4 17 17 15 17 66 5 18 14.5 19 15 66.5 6 15 16 15 16 62 7 15.5 17 17 17 66.5 8 17 15 15 15.5 62.5 9 16.5 16 16 16.5 65 10 15.5 17 15.5 17 65 11 16 15.5 16.5 16 64 12 17 16.5 15 16 64.5 13 18 17 16 16 67 14 16 16 17 14.5 63.5 15 16 16 16 15 63 16 17 14.5 15 17 63.5 17 15 15 17 16 63 18 19 17 15 14.5 65.5 19 15 18 16 15 64 20 17 15 15.5 17 64.5 21 15 15.5 17 18 65.5 22 16 17 18 15 66 เลขที่ คะแนนแบบฝึกระหว่างเรียน รวมคะแนน ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ชุดที่ 4 แบบฝึก
ผู้วิจัยได้น าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็น 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าห รับนักเ รียนชั้นมัธยมศึกษ าปีที่ 1 เ รื่อง ดนต รีส ากลกับก า รป ระยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวัน เกณฑ์ 90/90 ปรากฏผลดังตาราง ตาราง 4.1 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าร้อยละชุดกิจกรรม 4 ชุด ( ) จากตาราง 4.1 พบว่า ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตฐาน และค่าร้อยละของชุดกิจกรรมการ เรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง ดนตรีสากลกับการ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ทั้ง 4 ชุด มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 64.08 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 2.28 และค่าร้อยละ เท่ากับ 80.10 เลขที่ คะแนนหลังเรียน ร้อยละ 1 18 90 2 18 90 3 18 90 4 17 85 5 18 90 6 17 85 (20) (20) (20) (20) (80) 23 15.5 16.5 15 17 64 24 16.5 15.5 15.5 15 62.5 รวม 599.5 595 594 582.5 2,371 16.203 16.081 16.054 15.743 64.081 S.D. 1.00 0.89 0.97 2.02 2.28
7 17 85 8 18 90 9 18 90 10 19 95 11 17 85 12 18 90 13 17 85 14 18 90 15 18 90 16 17 85 17 18 90 18 18 90 19 19 95 20 18 90 21 20 100 22 17 85 23 18 90 24 17 85 รวม 666 3,330 18.00 S.D. 0.85 ร้อยละ 90.00 ตาราง 4.2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าร้อยละของคะแนนหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรม( ) จากตาราง 4.2 พบว่า ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตฐาน และค่าร้อยละของคะแนนทดสอบ หลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน มีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 18.00 คะแนน ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.85 และค่าร้อยละ เท่ากับ 90.00 ประสิทธิภาพ คะแนน S.D. ร้อยละ
ประสิทธิภาพของกระบวนการ 80 64.081 2.28 80.10 ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ 20 18.00 0.85 90.00 ตาราง 4.3 ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม ( / ) จากตาราง 4.3 พบว่า ประสิทธิภาพของกระบวนการและผลลัพธ์ของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ดนตรีสากลกับการ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน เท่ากับ 80.01/90.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและ หลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ปรากฏผลดังต่อไปนี้ คะแนนเฉลี่ย N S.D. df t Sig ก่อนเรียน หลังเรียน 80.01 90.00 24 -10 3.13 36 10.80 .000 ตาราง 4.4 การวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรม จากตาราง 4.4 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียน ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ก่อนเรียนมีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 80.01 คะแนนและหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 90.00 คะแนน