บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน มีขั้นตอนในการศึกษาค้นคว้า และสรุปผล ดังนี้ 1. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2. สมมติฐานของการวิจัย 3. วิธีด าเนินการวิจัย 4. สรุปผลการวิจัย 5. อภิปรายผลการวิจัย 6. ข้อเสนอแนะ 1. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.1 เพื่อสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า 1.2 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งก่อนเรียนและหลังเรียน วิชาดนตรี เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า 1.3 เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านเหล่า 2. สมมติฐานของการวิจัย การประยุกต์ใช้ดนตรีสากลในชีวิตประจ าวัน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน เทศบาล 3 บ้านเหล่า เมื่อใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT นักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากคะแนนทดสอบหลังเรียนเฉลี่ยไม่ต่ ากว่าร้อยละ 90 3. วิธีด าเนินการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ด าเนินการทดลองตามขั้นตอน ดังนี้ 3.1 ทดสอบก่อนเรียนด้วยแบบวัดชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT เพื่อ ประเมินความรู้พื้นฐานนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง
3.2 ด าเนินการสอนตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียน โดยผู้วิจัยเป็นผู้สอนด้วยตนเอง สัปดาห์ละ 1 แผน รวมทั้งสิ้น 4 สัปดาห์ ไม่รวมเวลาทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 3.3 ทดสอบหลังเรียนด้วยแบบวัดชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ฉบับเดิมแล้วบันทึกผลเป็นคะแนนทดสอบหลังเรียน 4. สรุปผลการวิจัย 4.1 ประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอน แบบ 4 MAT วิชาดนตรี เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ส าหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพของ / เท่ากับ 80.01/90.00 ที่พัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพสูง กว่า 90/90 ที่ก าหนดไว้ 4.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ด้วย ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติระดับ .01 5. อภิปรายผลการวิจัย การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้เป็นการศึกษาการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ วิธีการสอนแบบ 4 MAT วิชาดนตรี เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ส าหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สามารถน ามาอภิปรายผลได้ดังนี้ 1. การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT วิชาดนตรี เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มี ประสิทธิภาพเท่ากับ 80.01/90.00 หมายความว่า นักเรียนทั้งหมดได้คะแนนเฉลี่ยจากการท า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท้ายแผนการจัดการเรียนรู้ทั้ง 4 แผน คิดเป็นร้อยละ 80.01 คะแนนเฉลี่ยจากการท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 90.00 แสดงว่า การ จัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ที่ผู้ศึกษาค้นคว้าพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้คือ 90/90 และเป็นไปตาม ความมุ่ง หมายของการศึกษาค้นคว้าซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ นงรัก ศรีสุขา (2558) พบว่า แผนการ เรียนรู้ที่แบบร่วมมือแบบเกมการแข่งขันเป็นกลุ่มเสริมด้วยเทคนิคชุดการเรียนรู้วิธีการสอนแบบ 4 MAT และนักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด สอดคล้องกับผล การศึกษาของ ศิริสร เพ็งลี (2555) พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยชุดการเรียนรู้ วิธีการสอนแบบ 4 MAT
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT วิชา ดนตรี เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้ศึกษาค้นคว้าพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้อันเนื่องมาจากสาเหตุดังต่อไปนี้ 1.1 แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT วิชาดนตรี เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ผู้ศึกษาค้นคว้าพัฒนาขึ้นได้ผ่านขั้นตอนการสร้างอย่างมีระบบ 1.2 การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT วิชา ดนตรีเรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ผู้ ศึกษาค้นคว้าพัฒนาขึ้นได้ผ่านการทดลองกับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง ก่อนที่จะน าไปทดลองจริง ทั้งนี้เพื่อทราบปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างทดลองและเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงก่อนทดลองสอนจริง เพื่อให้มีความเหมาะสมและมีคุณภาพมากขึ้น 1.3 กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดย ใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT วิชาดนตรี เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ส าหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เป็นกิจกรรมที่ค านึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ระหว่าง ความสามารถที่ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานมีพื้นฐานในการสร้างสรรค์ผลงานดนตรีไม่เท่ากัน 1.4 การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ใช้ใบงานหลายรูปแบบ เพื่อช่วยให้นักเรียนอ่านเนื้อหาและท าความเข้าใจเนื้อหาได้ง่ายขึ้นและผู้สอนได้แจ้งผลการเรียนให้ นักเรียนทราบจึงท าให้นักเรียนกระตือรือร้น ที่จะรู้ผลคะแนนก่อนเรียน ระหว่างเรียนและหลังเรียน เพื่อให้ทราบถึงความก้าวหน้าทางการเรียนของตนท าให้มีการแข่งขันการเรียนรู้ในทางที่ดีขึ้นส่งผลให้ นักเรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้น 1.5 นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการ สอนแบบ 4 MAT วิชาดนตรี เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน มีคะแนนเฉลี่ย หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการประเมิน แผนการจัดการเรียนรู้ เมื่อจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้เรียบร้อยแล้ว ควรมีการประเมินแผนการ จัดการเรียนรู้เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง เหมาะสม ครอบคลุม เพื่อการปรับปรุงแก้ไขแผนการจัดการ เรียนรู้เหมาะสมยิ่งขึ้น
6. ข้อเสนอแนะ จากผลการวิจัยดังกล่าว ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังต่อไปนี้ 6.1. ข้อเสนอแนะในการน าผลการวิจัยไปใช้ 1.1 การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ครู ควรมีการวางแผนเตรียมตัวให้พร้อมและท าความเข้าใจกับขั้นตอนการท ากิจกรรมและเตรียมอุปกรณ์ ให้พร้อมเพื่อควบคุมเวลาให้เหมาะสม บางขั้นที่ต้องใช้เวลาค่อนข้างมาก และให้ด าเนินกิจกรรม เป็นไปได้ด้วยความเรียบร้อย 1.2 ก่อนน ากิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ไปใช้ ครูผู้สอนควรศึกษาขั้นตอน และวิธีการให้ถูกต้องชัดเจน เพื่อให้การจัดกิจกรรมด้วยวิธี ดังกล่าวมีประสิทธิภาพสูงสุด 1.3 ในการน าชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบ 4 MAT ไปใช้ในการ เรียนรู้ ครูควรแนะน าเกี่ยวกับรูปแบบและจุดเด่นของวิธีการสอนแบบ 4 MAT ในแต่ละรูปแบบเพื่อให้ นักเรียนเลือกใช้เทคนิควิธีการสอนแบบ 4 MAT ให้เหมาะสมกับเนื้อหาสาระในการน าเสนอข้อมูลให้ ถูกต้องชัดเจน
บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: โรง พิมพ์ คุรุสภา ลาดพร้าว. _______________. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. ส านักวิชาการ และมาตรฐานการศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กรุงเทพฯ ชนาธิป พรกุล. (2545). แคทส์ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่นักเรียนเป็นศูนย์กลาง. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ___________. (2554). การสอนกระบวนการคิด: ทฤษฎีและการน าไปใช้. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2552). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นส าคัญ. กรุงเทพฯ: แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น. ทิศนา แขมมณี. (2545). รูปแบบการสอน: ทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ___________. (2556). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 17). กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ธิติรัตน์ วิเชียรมงคล. (2548). ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบวัฏจักร 4 MAT ที่มีต่อเจตคติ และผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้วรรณคดีไทยของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. เธียร พานิช. (2544). 4 MAT การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ การเรียนรู้ของนักเรียน. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์. ประสาท เนืองเฉลิม. (2558). การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปิ่นแก้ว สระแก้ว. (2555). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4 MAT เรื่องระบบประสาทและ อวัยวะรับความรู้สึก รายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. การค้นคว้าอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ,
มหาสารคาม.94 ปริยทิพย์ บุญคง. (2546). การศึกษาปัจจัยบางประการที่สัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ. ไพศาล หวังพานิช. (2536). วิธีการวิจัย. กรุงเทพฯ : งานส่งเสริมวิจัยและต ารากองบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. ลักขณา สริวัฒน์. (2557). จิตวิทยาส าหรับครู. กรุงเทพฯ: โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์. ลีลาวดี วัชโรบล. (2553). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนทางไกลโดยบูรณาการกิจกรรมการ เรียนรู้แบบ 4 MAT และทฤษฎีปลูกฝังนิสัยเพื่อพัฒนาเหตุผลเชิงจริยธรรมของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, กรุงเทพฯ. วัชรพร กิจโป้. (2555). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เพศศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 1 โดยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ (4 MAT) ในกลุ่ม สารการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. ศศิธร เวียงวะลัย. (2556). การจัดการเรียนรู้ = Learning management. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.96 ศิริชัย กาญจนวาสี. (2556). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุคนธ์ สินธพานนท์. (2558). การจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่เพื่อพัฒนาทักษะนักเรียนในศตวรรษ ที่ 21. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจ ากัด 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์. (2543). ชุดกิจกรรมแบบ 4 MAT กับการพัฒนาศักยภาพนักเรียน. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์, 1(3). 45-58. Aktas, I., and Bilgin, I. (2014). The effect of the 4MAT learning model on the achievement and motivation of 7th grade students on the subject of particulate nature of matter and an examination of student opinions on the model. Research in Science & Technological Education. 33 (1). 1-21. Irfan, O. M., Almufadi, F. A., and Brisha, A. M. (2016). Effect of using 4mat method on academic achievement and attitudes toward engineering economy for
undergraduate students. International journal of vocational and technical education. 8 (1) 1-11. McCarhy, B. (1997). A Tale of Four Learners 4 MAT Learning Styles. Education Leadership. 54 (6): 46-51. Retrieved November, 1, 2015, from http://www.ascd.org/publications/educational-leadership/mar97/vol54 /num06/A-Tale-of-Four-Learners@-4MAT's-Learning-Styles.aspx.
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก แผนการจัดการเรียนรู้ \
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี) มัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ดนตรีกับสังคมไทย เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อการผ่อนคลาย เวลา 1 ชั่วโมง วันที่ ........ เดือน ...................... พ.ศ. ................ ผู้สอน นายทักษิณ สิมสิริวัฒน์ มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรี ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด ม.1/1 อธิบายบทบาทความสัมพันธ์และอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อสังคมไทย จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อให้นักเรียนสามารถอธิบายการประยุกต์ใช้ดนตรีสากลเพื่อการผ่อนคลายได้ (K) 2. เพื่อให้นักเรียนสาธิตการประยุกต์ใช้ดนตรีสากลเพื่อการผ่อนคลายได้ (P) 3. เพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าของดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อการผ่อนคลาย (A) สาระส าคัญ ดนตรี และเสียงเพลง มีอิทธิพลต่ออารมณ์ และความรู้สึกของคนเราเป็นอย่างยิ่ง สาระการเรียนรู้ ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อการผ่อนคลาย สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นในการท างาน ภาระชิ้นงาน ใบงานที่ 1 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อผ่อนคลาย
กระบวนการจัดการเรียนรู้ วิธีสอนแบบประสาทสัมผัส ( Method of Sense Realism) เป็นวิธีสอนที่ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัส John Amos Comenius ให้ความเห็นเกี่ยวกับวิธีการสอนแบบนี้ว่า การสอนทุกอย่างต้องใช้ประสาทสัมผัสเป็นสื่อ และการใช้ ประสาทสัมผัสหลายๆ ทาง จะท าให้นักเรียนเกิดความจ าและเข้าใจ เช่น การใช้รูปภาพซึ่งจะท าให้ นักเรียนเกิดความเข้าใจมากขึ้น การเรียนด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทางตาในการมองและการสังเกต การเรียนรู้ด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทางหูในการได้ยินหรือฟังเสียงต่างๆ ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูตั้งค าถามเกี่ยวกับเสียงดนตรี แล้วถามนักเรียนว่า “นักเรียนฟังเพลงแนวไหนกัน” ทราบ ไหมว่าเพลงที่เราฟังช่วงนั้นจะบ่งบอกอารมณ์ของนักเรียนว่ารู้สึกอะไรอยู่” เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ ถ่ายทอดความรู้สึก ขั้นสอน 1. ครูน าเสนอวิดีโอเพลงดนตรีสากลมาประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิตประจ าวันดังนี้ ใช้เพื่อการผ่อนคลาย ดนตรีสร้างความเพลิดเพลินให้กับผู้ที่ได้รับฟัง สร้างบรรยากาศเป็นไป ตามจังหวะและท านองที่ผู้แต่งประสงค์จะให้เป็น จึงน าเสียงเพลงบรรเลงหรือเพลงร้องในความเร็ว ป านกล างม าป ร ะกอบใช้ในกิจก ร รมต่ างๆ ในชี วิตป ระจ า วัน เช่น เปิดเพลงเบ าๆใน ส านักงาน ห้างสรรพสินค้า โรงพยาบาล และร้านหนังสือ โดยการใช้ประสาทสัมผัส 2 ด้าน การ เรียนรู้ด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทางหูในการได้ยินหรือฟังเสียงต่างๆ การเรียนด้วยการใช้ประสาท สัมผัสทางตาในการมองและการสังเกต 2. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นว่าเพลงลักษณะนี้แล้วรู้สึกอย่างไร น าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ หรือไม่ จากวิดีโอที่ครูน าเสนอเรียงตามล าดับ ขั้นสรุป นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายความรู้เกี่ยวกับการน าดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อการ ผ่อนคลาย มีประโยชน์ในการน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้อย่างไร และใช้วงดนตรีหรือเครื่องดนตรี รูปแบบใด ในการสื่อสาร
กระบวนการวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัด 1.1 ตรวจใบงานที่ 1 1.2 สังเกตพฤติกรรม 1.3 การตอบค าถามในชั้นเรียน 2. เครื่องมือในการวัด 2.1 ใบงานที่ 1 2.2 แบบสังเกตพฤติกรรม 2.3 ประเมินการตอบค าถามในชั้นเรียน 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ขึ้นไป 3.2 ผ่านในระดับดี 3.3 ผ่านในระดับดี สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. สื่อการเรียนรู้ 1.1. วิดีโอคลิป 1.2. power point 2. แหล่งการเรียนรู้ หนังสือเรียน ดนตรี – นาฏศิลป์ ม.1
ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อการผ่อนคลาย ใครต่อใครที่ชื่นชอบเสียงเพลงมักใจตรงกันว่า ดนตรี นี่แหละช่วยปรุงจิตใจให้กลมกล่อมขึ้น ได้ เริ่มสร้างบรรยากาศยามเช้าให้สดใสด้วยเสียงเพลงเบาๆ ภายในบ้าน ดนตรี คุณค่าทางจิตใจ ระหว่างขับรถไปท างานเปิดวิทยุฟังดีเจเลือกสรรเพลงเพราะๆให้ฟัง หรือเหนื่อยๆกลับมา บ้านก็ฟังเพลงโปรดคลายอารมณ์เสียหน่อย หากมีฝีไม้ลายมือเล่นดนตรีกล่อม ตัวเอง ก็เกิดสุนทรีทางอารมณ์ได้เช่นกัน นี่คือการหาทางออกเพื่อผ่อนคลายอย่างง่ายๆที่สามารถท าได้ ด้วยตัวเอง โดยไม่ต้องร่ าเรียนวิชาใดๆมา เพราะดนตรีมีคุณค่าทางจิตใจนั่นเอง แค่ได้ยินเสียงดนตรี เพราะๆ ก็ท าให้ผู้ฟังเกิด ความสบายใจเพลิดเพลินไปกับเสียงดนตรีได้เช่นนี้แล้ว จึงมีการน าดนตรีมา ใช้บ าบัดจิตใจในระดับลึกซึ้งไปกว่าการฟังเพลงธรรมดาทั่วๆไป เราจึงต้องพบปะพูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญ ค่ะ ว่าเขาคิดค้นหาวิธีการน าดนตรีมาคลายเครียดอย่างไรกันบ้าง คลายเครียด ต้องเลือกฟังดนตรีที่มีคุณภาพ เพราะดนตรีเปรียบเหมือนอาหาร มีทั้งที่มี คุณภาพและเป็นขยะ การฟังดนตรีไม่มีคุณภาพจะไม่เกิดประโยชน์ต่อการบ าบัดจิตใจ “ดนตรีที่มี คุณภาพนั้นจะต้องมีท่วงท านองสูงต่ าไพเราะ จังหวะของดนตรีจะช้าก็ต้องช้าให้สม่ าเสมอ หรือเร็วก็ ต้องเร็วสม่ าเสมอ ไม่ใช่เดี๋ยวช้าเดี๋ยวเร็ว เพราะหัวใจของเราจะตามจังหวะของเสียงดนตรี เนื้อร้องต้อง สร้างสรรค์ ไม่ส่งเสริมไปในทางผิด หรือท าให้ท้อแท้สิ้นหวัง และต้องมีการประสานเสียงที่กลมกลืนถ้า มีดนตรีมากกว่าหนึ่งเสียง และระดับเสียงที่ช่วยให้ผ่อนคลายก็คือไม่ดังมากเกินไปราว ๆ 40-50 เดซิ เบลก็เพียงพอแล้ว “การฟังดนตรีแบบผ่าน ๆ ไม่ได้ใช้สมาธิหรือกระบวนการเข้าช่วย เป็นเพียงการ เบี่ยงเบนความเครียด รากเหง้าของมันยังไม่ได้รับการรักษา การผ่อนคลายอย่างแท้จริง คือการให้ ความสุขมาแทนที่ความเครียด เราเลือกสรรเพลงและการปฏิบัติประกอบ ในหลักสูตร ลมหายใจ ดนตรี ชีวิต มี 4 ขั้นตอนในการปฏิบัติ ซึ่งการฝึกตามขั้นตอนดังกล่าว จะช่วยผ่อนคลายความเครียดได้ ในระดับที่สูงขึ้นไปอีกขั้นหนึ่ง” กิจกรรม ปฏิบัติตามขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นตอนแรกคือฝึกหายใจ ต่อมาก็การเคลื่อนไหวร่างกาย ฝึกร้อง เพลง และฟังดนตรีเพื่อให้เกิดจินตนาการ 1.ฝึกหายใจ ที่ถูกต้องลึกซึ้ง จะน าไปสู่การสร้างสมาธิ ที่น าความสงบนิ่งมาสู่จิตใจ เริ่มฝึกด้วย การหายใจเข้าออกลึกๆโดยอกไม่กระเพื่อม ไหล่ไม่ยก หายใจเข้าพุงป่อง หายใจออกพุงยุบ ประมาณ 20-30 ครั้ง เปิดดนตรีบรรเลงคลอเบาๆ
2. ฝึกเคลื่อนไหวร่างกาย เพื่อให้เกิดความพร้อมในการท างาน ผ่อนคลายกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกาย ตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า เช่น การฝึกเหวี่ยงแขนไปมาตามจังหวะเสียงลูกตุ้มนาฬิกา 3. ฝึกร้องเพลง เป็นการฝึกเพื่อให้พละก าลังที่สะสมอยู่ในร่างกายโดยไม่ได้ใช้ ประโยชน์ แปรเปลี่ยนเป็นกระแสเสียง ด้วยการฝึกหายใจเข้าเต็มปอดแล้วเปล่งเสียงออกมาฝึกร้องโน้ตดนตรี ฝึก จังหวะหายใจในการร้องเพลง และระหว่างร้องเพลงหน้าตาต้องยิ้มแย้มแจ่มใส 4.สร้างจินตนาการ เพื่อให้ร่างกายจิตใจผ่อนคลายเต็มที่ นึกถึงแต่เรื่องสบายใจ เช่นให้นอน ราบกับพื้น ผ่อนคลายกล้ามเนื้อทุกส่วนในร่างกาย ไม่แข็งเกร็ง แล้วเริ่มจินตนาการถึงสิ่ง สวยงาม ตามเสียงเพลงที่มีเสียงธรรมชาติอย่างน้ าตก เสียงฝนหรือเสียงนกประกอบ เมื่อรู้วิธีแล้ว ผู้ ผ่านการอบรมกลับไปท าเองที่บ้านได้ เพื่อช่วยให้ตัวเองคลายความเครียด จิตใจผ่อนคลายและรู้สึก เป็นสุขได้ง่าย ลมหายใจ ดนตรี ชีวิต คืออีกวิธีหนึ่งที่น าดนตรีมาใช้ให้ประโยชน์ต่อจิตใจ เพื่อการผ่อน คลายที่ลึกล้ ากว่าการฟังเพลงตามธรรมดาทั่วไป
ใบงานที่ 1 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อผ่อนคลาย ค าชี้แจง : ให้นักเรียนเติมชื่อเพลงที่ผ่อนคลายลงในกล่องข้อความที่ก าหนดให้ (10 คะแนน) ชื่อ -สกุล.........................................................เลขที่................ ชั้น.............
แบบสังเกตพฤติกรรม ค าชี้แจง : ให้ท าเครื่องหมาย √ ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ เลขที่ ชื่อ-นามสกุล เกณฑ์การให้คะแนน (20 คะแนน) รวม (20) ความสนใจ (5) ค าถามในชั้นเรียน (5) แสดงความคิดเห็น (5) ร่วมกิจกรรม (5) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ช่วงคะแนน ช่วงคะแนน 14 – 20 ดี 7 – 13 พอใช้ ต่ าากว่า 6 ปรับปรุง
เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 5 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 3 คะแนน ไม่ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรม ให้ 1 คะแนน ลงชื่อ……………………………………………………… (……………………………………………………………) ………………./………………………../……………….. ผู้ประเมิน บันทึกผลหลังสอน 1.ปัญหาที่เกิดขึ้น ............................................................................................................................. ............................ ....................................................................................................... .................................................. 2. วิธีการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ............................ ......................................................................................................................................................... 3. ผลการแก้ปัญหา ...................................................................................................................... ................................... ............................................................................................................................. ............................ ลงชื่อ................................................................ (..............................................................) ครูผู้สอน .............../.............../.................
ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ................................... ........................................................................................................................................... ..................... ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ............................................................... (..............................................................) ครูพี่เลี้ยง ............../.............../.................. ความคิดเห็นของผู้บริหาร ............................................................................................................................. ................................... ........................................................................................................................................... ..................... ................................................................................................................................................................ . ลงชื่อ.............................................................. (..............................................................) ผู้บริหารสถานศึกษา .............../.............../................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ดนตรีกับสังคมไทย เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อความบันเทิง เวลา 1 ชั่วโมง วันที่ ........ เดือน ...................... พ.ศ. ................ ผู้สอน นายทักษิณ สิมสิริวัฒน์ มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรี ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด ม.1/1 อธิบายบทบาทความสัมพันธ์และอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อสังคมไทย จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อให้นักเรียนสามารถอธิบายการประยุกต์ใช้ดนตรีสากลเพื่อความบันเทิงได้ (K) 2. เพื่อให้นักเรียนสาธิตการประยุกต์ใช้ดนตรีสากลเพื่อความบันเทิงได้ (P) 3. เพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าของดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อความบันเทิง (A) สาระส าคัญ ดนตรี และเสียงเพลง มีอิทธิพลต่ออารมณ์ และความรู้สึกของคนเราเป็นอย่างยิ่ง สาระการเรียนรู้ ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อความบันเทิง สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นในการท างาน ภาระชิ้นงาน ใบงานที่ 2 ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อความบันเทิง กระบวนการจัดการเรียนรู้ วิธีสอนแบบประสาทสัมผัส ( Method of Sense Realism)
เป็นวิธีสอนที่ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัส John Amos Comenius ให้ความเห็นเกี่ยวกับวิธีการสอนแบบนี้ว่า การสอนทุกอย่างต้องใช้ประสาทสัมผัสเป็นสื่อ และการใช้ ประสาทสัมผัสหลายๆ ทาง จะท าให้นักเรียนเกิดความจ าและเข้าใจ เช่น การใช้รูปภาพซึ่งจะท าให้ นักเรียนเกิดความเข้าใจมากขึ้น การเรียนด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทางตาในการมองและการสังเกต การเรียนรู้ด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทางหูในการได้ยินหรือฟังเสียงต่างๆ ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูตั้งค าถามเกี่ยวกับเสียงดนตรี แล้วถามนักเรียนว่า “นักเรียนฟังเพลงแนวไหน กัน ทราบไหมว่าเพลงที่เราฟังช่วงนั้นจะบ่งบอกอารมณ์ของนักเรียนว่ารู้สึกอะไรอยู่” เปิดโอกาสให้ นักเรียนได้ถ่ายทอดความรู้สึก ขั้นสอน 1. ครูน าเสนอวิดีโอเพลงดนตรีสากลมาประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิตประจ าวันดังนี้ ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อความบันเทิง ดนตรีที่มีเสียงดัง มีจังหวะที่ ค่อนข้างเร็ว จะช่วยกระตุ้นให้ผู้ฟังรู้สึกสดชื่น กระฉับกระเฉง อยากเคลื่อนไหวร่างกาย ดนตรี ลักษณะนี้สร้างความบันเทิงให้กับผู้ฟังเป็นการส่วนตัว และเป็นหมู่คณะ ดนตรีท าให้ผู้ฟังเกิดอารมณ์ ความรู้สึกต่างๆ เช่น เพลงช้า ท าให้เกิดอารมณ์เศร้า เพลงจังหวะเร็วท าให้เกิดอารมณ์ สนุกสนาน ดังนั้นดนตรีท าให้เกิดพัฒนาการทางด้านอารมณ์ที่หลากหลาย โดยการใช้ประสาทสัมผัส 2 ด้าน การเรียนรู้ด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทางหูในการได้ยินหรือฟังเสียงต่างๆ การเรียนด้วยการใช้ ประสาทสัมผัสทางตาในการมองและการสังเกต 2. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นว่าเพลงลักษณะนี้แล้วรู้สึกอย่างไร น าไปใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้หรือไม่ จากวิดีโอที่ครูน าเสนอเรียงตามล าดับ ขั้นสรุป นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการน าดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อ ความบันเทิงประโยชน์ในการน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้อย่างไร และใช้วงดนตรีหรือเครื่องดนตรี รูปแบบใดในการสื่อสาร กระบวนการวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัด 1.1 ตรวจใบงานที่ 2 1.2 สังเกตพฤติกรรม 1.3 การตอบค าถามในชั้นเรียน
2. เครื่องมือในการวัด 2.1 ใบงานที่ 2 2.2 แบบสังเกตพฤติกรรม 2.3 ประเมินการตอบค าถามในชั้นเรียน 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ขึ้นไป 3.2 ผ่านในระดับดี 3.3 ผ่านในระดับดี สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. สื่อการเรียนรู้ 1.1. วิดีโอคลิป 1.2. Power point 2. แหล่งการเรียนรู้ หนังสือเรียน ดนตรี – นาฏศิลป์ ม.1
ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อความบันเทิง กิจกรรม ปฏิบัติตามขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นตอนแรกคือฝึกหายใจ ต่อมาก็การเคลื่อนไหวร่างกาย ฝึกร้อง เพลง และฟังดนตรีเพื่อให้เกิดจินตนาการ 1.ฝึกการฟังวิเคราะห์จากวิดีโอที่ครูเปิด 2. ฝึกเคลื่อนไหวร่างกาย เพื่อให้เกิดความพร้อมในการท างาน ผ่อนคลายกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกาย ตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า เช่น การฝึกเหวี่ยงแขนไปมาตามจังหวะเสียงลูกตุ้มนาฬิกา 3. ฝึกร้องเพลง เป็นการฝึกเพื่อให้พละก าลังที่สะสมอยู่ในร่างกายโดยไม่ได้ใช้ ประโยชน์ แปรเปลี่ยนเป็นกระแสเสียง ด้วยการฝึกหายใจเข้าเต็มปอดแล้วเปล่งเสียงออกมาฝึกร้องโน้ตดนตรี ฝึก จังหวะหายใจในการร้องเพลง และระหว่างร้องเพลงหน้าตาต้องยิ้มแย้มแจ่มใส 4.สร้างจินตนาการ เพื่อให้ร่างกายจิตใจสนุกสนานเต็มที่ นึกถึงแต่เรื่องความสนุก เช่น ให้ ออกแบบท่าเต้นตามเสียงเพลงที่มีความสนุกสนาน เมื่อรู้วิธีแล้ว ผู้ผ่านการอบรมกลับไปท าเองที่บ้าน ได้ เพื่อช่วยให้นักเรียนสร้างความบันเทิงได้ จะได้ไม่เป็นโรคซึมเศร้า
ใบงานที่ 2 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อความบันเทิง ค าชี้แจง : ให้นักเรียนเติมชื่อเพลงที่ให้ความบันเทิงลงในกล่องข้อความที่ก าหนดให้ (10 คะแนน) ชื่อ -สกุล.........................................................เลขที่................ ชั้น.............
แบบสังเกตพฤติกรรม ค าชี้แจง : ให้ท าเครื่องหมาย √ ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ เลขที่ ชื่อ-นามสกุล เกณฑ์การให้คะแนน (20 คะแนน) รวม (20) ความสนใจ (5) ค าถามในชั้นเรียน (5) แสดงความคิดเห็น (5) ร่วมกิจกรรม (5) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ช่วงคะแนน ช่วงคะแนน 14 – 20 ดี 7 – 13 พอใช้ ต่ ากว่า 6 ปรับปรุง
เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 5 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 3 คะแนน ไม่ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรม ให้ 1 คะแนน ลงชื่อ……………………………………………………… (……………………………………………………………) ………………./………………………../……………….. ผู้ประเมิน บันทึกผลหลังสอน 1.ปัญหาที่เกิดขึ้น ............................................................................................................................. ............................ ..................................................................................................................................... .................... 2. วิธีการแก้ปัญหา ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................ 3. ผลการแก้ปัญหา .................................................................................................................................................... ..... ............................................................................................................................. ............................ ลงชื่อ................................................................ (..............................................................) ครูผู้สอน .............../.............../.................
ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................... ....... ลงชื่อ............................................................... (..............................................................) ครูพี่เลี้ยง ............../.............../.................. ความคิดเห็นของผู้บริหาร ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................... ....... . ลงชื่อ.............................................................. (..............................................................) ผู้บริหารสถานศึกษา .............../.............../................ ..
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ดนตรีกับสังคมไทย เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อประเพณีในท้องถิ่นต่างๆ เวลา 1 ชั่วโมง วันที่ ........ เดือน ...................... พ.ศ. ................ ผู้สอน นายทักษิณ สิมสิริวัฒน์ มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรี ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด ม.1/1 อธิบายบทบาทความสัมพันธ์และอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อสังคมไทย จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อให้นักเรียนสามารถอธิบายการประยุกต์ใช้ดนตรีสากลเพื่อประเพณีในท้องถิ่นต่างๆได้ (K) 2. เพื่อให้นักเรียนสาธิตการประยุกต์ใช้ดนตรีสากลเพื่อประเพณีในท้องถิ่นต่างๆได้ (P) 3. เพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าของดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อประเพณีในท้องถิ่นต่างๆ (A) สาระส าคัญ ดนตรี และเสียงเพลง มีอิทธิพลต่ออารมณ์ และความรู้สึกของคนเราเป็นอย่างยิ่ง สาระการเรียนรู้ ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อประเพณีในท้องถิ่นต่างๆ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นในการท างาน ภาระชิ้นงาน ใบงานที่ 3 ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อประเพณีในท้องถิ่นต่างๆ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ วิธีสอนแบบประสาทสัมผัส ( Method of Sense Realism) เป็นวิธีสอนที่ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัส John Amos Comenius ให้ความเห็นเกี่ยวกับวิธีการสอนแบบนี้ว่า การสอนทุกอย่างต้องใช้ประสาทสัมผัสเป็นสื่อ และการใช้ ประสาทสัมผัสหลายๆ ทาง จะท าให้นักเรียนเกิดความจ าและเข้าใจ เช่น การใช้รูปภาพซึ่งจะท าให้ นักเรียนเกิดความเข้าใจมากขึ้น การเรียนด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทางตาในการมองและการสังเกต การเรียนรู้ด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทางหูในการได้ยินหรือฟังเสียงต่างๆ ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูตั้งค าถามเกี่ยวกับเสียงดนตรี แล้วถามนักเรียนว่า “นักเรียนฟังเพลงแนวไหน กัน ทราบไหมว่าเพลงที่เราฟังช่วงนั้นจะบ่งบอกอารมณ์ของนักเรียนว่ารู้สึกอะไรอยู่” เปิดโอกาสให้ นักเรียนได้ถ่ายทอดความรู้สึก ขั้นสอน 1. ครูน าเสนอวิดีโอเพลงดนตรีสากลมาประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิตประจ าวัน ดังนี้ ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อประเพณีในท้องถิ่นต่างๆ เพื่อให้กิจกรรม หรือ ประเพณีที่ถือปฏิบัติกันมามีความคึกคักสนุกสนาน จึงน าดนตรีเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม หรือ ประเพณีต่างๆ โดยการใช้ประสาทสัมผัส 2 ด้าน การเรียนรู้ด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทางหูในการได้ ยินหรือฟังเสียงต่างๆ การเรียนด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทางตาในการมองและการสังเกต 2. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นว่าเพลงลักษณะนี้แล้วรู้สึกอย่างไร น าไปใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้หรือไม่ จากวิดีโอที่ครูน าเสนอเรียงตามล าดับ ขั้นสรุป นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการน าดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อ ประเพณีในท้องถิ่นต่างๆ มีประโยชน์ในการน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้อย่างไร และใช้วงดนตรีหรือ เครื่องดนตรีรูปแบบใดในการสื่อสาร กระบวนการวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัด 1.1 ตรวจใบงานที่ 3 1.2 สังเกตพฤติกรรม 1.3 การตอบค าถามในชั้นเรียน 2. เครื่องมือในการวัด 2.1 ใบงานที่ 3 2.2 แบบสังเกตพฤติกรรม
2.3 ประเมินการตอบค าถามในชั้นเรียน 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ขึ้นไป 3.2 ผ่านในระดับดี 3.3 ผ่านในระดับดี สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. สื่อการเรียนรู้ 1.1. วิดีโอคลิป 1.2. Power point 2. แหล่งการเรียนรู้ หนังสือเรียน ดนตรี – นาฏศิลป์ ม.1
ใบงานที่ 3 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อประเพณีในท้องถิ่นต่างๆ ค าชี้แจง : ให้นักเรียนเติมชื่อเพลงที่ใช้เพื่อประเพณีในท้องถิ่นต่างๆลงในกล่องข้อความที่ก าหนดให้ (10 คะแนน) ชื่อ -สกุล.........................................................เลขที่................ ชั้น.............
แบบสังเกตพฤติกรรม ค าชี้แจง : ให้ท าเครื่องหมาย √ ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ เลขที่ ชื่อ-นามสกุล เกณฑ์การให้คะแนน (20 คะแนน) รวม (20) ความสนใจ (5) ค าถามในชั้นเรียน (5) แสดงความคิดเห็น (5) ร่วมกิจกรรม (5) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ช่วงคะแนน ช่วงคะแนน 14 – 20 ดี 7 – 13 พอใช้ ต่ ากว่า 6 ปรับปรุง
เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 5 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 3 คะแนน ไม่ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรม ให้ 1 คะแนน ลงชื่อ……………………………………………………… (……………………………………………………………) ………………./………………………../……………….. ผู้ประเมิน บันทึกผลหลังสอน 1.ปัญหาที่เกิดขึ้น ............................................................................................................................. ............................ ....................................................................................................... .................................................. 2. วิธีการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ............................ ......................................................................................................................................................... 3. ผลการแก้ปัญหา ...................................................................................................................... ................................... ............................................................................................................................. ............................ ลงชื่อ................................................................ (..............................................................) ครูผู้สอน .............../.............../.................
ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ................................... ........................................................................................................................................... ..................... ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ............................................................... (..............................................................) ครูพี่เลี้ยง ............../.............../.................. ความคิดเห็นของผู้บริหาร ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................. ... ............................................................................................................................................. ................... . ลงชื่อ.............................................................. (..............................................................) ผู้บริหารสถานศึกษา .............../.............../................ ..
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ดนตรีกับสังคมไทย เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อประกอบการออกก าลังกา เวลา 1 ชั่วโมง วันที่ ........ เดือน ...................... พ.ศ. ................ ผู้สอน นายทักษิณ สิมสิริวัฒน์ มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรี ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด ม.1/1 อธิบายบทบาทความสัมพันธ์และอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อสังคมไทย จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อให้นักเรียนสามารถอธิบายการประยุกต์ใช้ดนตรีสากลเพื่อประกอบการออกก าลังกาย ได้ (K) 2. เพื่อให้นักเรียนสาธิตการประยุกต์ใช้ดนตรีสากลเพื่อประกอบการออกก าลังกายได้ (P) 3. เพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าของดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อประกอบการออกก าลัง กาย (A) สาระส าคัญ ดนตรี และเสียงเพลง มีอิทธิพลต่ออารมณ์ และความรู้สึกของคนเราเป็นอย่างยิ่ง สาระการเรียนรู้ ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อประกอบการออกก าลังกาย สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นในการท างาน ภาระชิ้นงาน ใบงานที่ 4 ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อประกอบการออกก าลังกาย
กระบวนการจัดการเรียนรู้ วิธีสอนแบบประสาทสัมผัส ( Method of Sense Realism) เป็นวิธีสอนที่ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัส John Amos Comenius ให้ความเห็นเกี่ยวกับวิธีการสอนแบบนี้ว่า การสอนทุกอย่างต้องใช้ประสาทสัมผัสเป็นสื่อ และการใช้ ประสาทสัมผัสหลายๆ ทาง จะท าให้นักเรียนเกิดความจ าและเข้าใจ เช่น การใช้รูปภาพซึ่งจะท าให้ นักเรียนเกิดความเข้าใจมากขึ้น การเรียนด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทางตาในการมองและการสังเกต การเรียนรู้ด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทางหูในการได้ยินหรือฟังเสียงต่างๆ ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูตั้งค าถามเกี่ยวกับเสียงดนตรีแล้วถามนักเรียนว่า “นักเรียนฟังเพลงแนวไหน กัน ทราบไหมว่าเพลงที่เราฟังช่วงนั้นจะบ่งบอกอารมณ์ของนักเรียนว่ารู้สึกอะไรอยู่” เปิดโอกาสให้ นักเรียนได้ถ่ายทอดความรู้สึก ขั้นสอน 1. ครูน าเสนอวิดีโอเพลงดนตรีสากลมาประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิตประจ าวันดังนี้ ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อประกอบการออกก าลังกาย ด้วยคุณสมบัติของ ดนตรีที่มีจังหวะสม่ าเสมอ จึงน าเพลงในจังหวะที่เหมาะสมมาใช้ประกอบกับการออกก าลัง กาย ก่อให้เกิดผลดี ท าให้ผู้ออกก าลังกายเพลิดเพลินไปกับเสียงเพลงและจังหวะในเพลงนั้นๆ ท าให้ผู้ ที่ออกก าลังกายสามารถออกก าลังกายได้นาน ท าให้ร่างกายแข็งแรง มีสุขภาพดี และเกิดความ สนุกสนานไม่รู้เบื่อ เช่น การเต้นแอโรบิก โยคะ วิ่ง เป็นต้น โดยการใช้ประสาทสัมผัส 2 ด้าน การ เรียนรู้ด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทางหูในการได้ยินหรือฟังเสียงต่างๆ การเรียนด้วยการใช้ประสาท สัมผัสทางตาในการมองและการสังเกต 2. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นว่าเพลงลักษณะนี้แล้วรู้สึกอย่างไร น าไปใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้หรือไม่ จากวิดีโอที่ครูน าเสนอเรียงตามล าดับ ขั้นสรุป นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการน าดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อ ประกอบการออกก าลังกาย มีประโยชน์ในการน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้อย่างไร และใช้วงดนตรี หรือเครื่องดนตรีรูปแบบใดในการสื่อสาร กระบวนการวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัด 1.1 ตรวจใบงานที่ 4 1.2 สังเกตพฤติกรรม 1.3 การตอบค าถามในชั้นเรียน
2. เครื่องมือในการวัด 2.1 ใบงานที่ 4 2.2 แบบสังเกตพฤติกรรม 2.3 ประเมินการตอบค าถามในชั้นเรียน 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ขึ้นไป 3.2 ผ่านในระดับดี 3.3 ผ่านในระดับดี สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. สื่อการเรียนรู้ 1.1. วิดีโอคลิป 1.2. power point 2. แหล่งการเรียนรู้ หนังสือเรียน ดนตรี – นาฏศิลป์ ม.1
ใบงานที่ 4 เรื่อง ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้เพื่อประกอบการออกก าลังกาย ค าชี้แจง : ให้นักเรียนเติมชื่อเพลงที่ใช้เพื่อประกอบการออกก าลังกายลงในกล่องข้อความที่ก าหนดให้ (10 คะแนน) ชื่อ -สกุล.........................................................เลขที่................ ชั้น.............
แบบสังเกตพฤติกรรม ค าชี้แจง : ให้ท าเครื่องหมาย √ ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ เลขที่ ชื่อ-นามสกุล เกณฑ์การให้คะแนน (20 คะแนน) รวม (20) ความสนใจ (5) ค าถามในชั้นเรียน (5) แสดงความคิดเห็น (5) ร่วมกิจกรรม (5) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ช่วงคะแนน ช่วงคะแนน 14 – 20 ดี 7 – 13 พอใช้ ต่ ากว่า 6 ปรับปรุง
เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 5 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 3 คะแนน ไม่ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรม ให้ 1 คะแนน ลงชื่อ……………………………………………………… (……………………………………………………………) ………………./………………………../……………….. ผู้ประเมิน บันทึกผลหลังสอน 1.ปัญหาที่เกิดขึ้น ............................................................................................................................. ............................ ......................................................................................................................................................... 2. วิธีการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ............................ .......................................................................................................................................... ............... 3. ผลการแก้ปัญหา .................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ............................ ลงชื่อ................................................................ (..............................................................) ครูผู้สอน .............../.............../.................
ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ................................... ........................................................................................................................................... ..................... ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ............................................................... (..............................................................) ครูพี่เลี้ยง ............../.............../.................. ความคิดเห็นของผู้บริหาร ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................. ... ............................................................................................................................................. ................... . ลงชื่อ.............................................................. (..............................................................) ผู้บริหารสถานศึกษา .............../.............../................