92 2. แบ่งเด็กออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 - 5 คน 3. เด็กรับอุปกรณ์การทดลอง และถามเด็กๆ ว่า จะวางเหรียญในเรืออย่างไร และบรรทุกได้กี่ตัว 4. ให้เด็กสร้างเรือจากดินน้ำมันในรูปแบบที่หลากหลาย โดยคำนึงถึงการขนส่งในปริมาณมากที่สุด เท่าที่เป็นไปได้ 5. นำกะละมังใส่น้ำจำนวนครึ่งกะละมัง นำเรือวางลงในน้ำ และใส่เหรียญลงไปทีละเหรียญ 6. เด็ก ๆ สังเกตเห็นอะไรเมื่อเรือดินน้ำมันบรรทุกเหรียญมากเกินไปเรือจะจมลงทันทีอย่างรวดเร็ว หรือยังคงแล่นต่อไปโดยมีน้ำอยู่เต็มเรือ และเกิดอะไรขึ้นถ้าเรือหยุดพักนานขึ้นเพื่อบรรทุกสิ่งของ 7. เรือแบบไหนบรรทุกเหรียญได้มากที่สุด มีความพิเศษเกิดขึ้นหรือไม่ มีความแตกต่างอย่างไร 8. เปรียบเทียบเรือดินน้ำมันที่ประสบความสำเร็จเป็นพิเศษกับเรือบรรทุกสินค้าจริง เด็ก ๆ เห็นความ คล้ายคลึงใดบ้าง 9. ให้เด็กบันทึกผลการทดลองที่ได้ 10. ให้เด็กแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอ 11. ครูและเด็กร่วมกันสรุปกิจกรรมเรื่อง เรือแบบใดบรรทุกน้ำหนักได้มากที่สุด สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ดินน้ำมัน 2. น้ำ 3. กะละมังใส่น้ำ การประเมินผล สังเกต 1. การคิดเชิงเหตุผลเกี่ยวกับการเปรียบเทียบในการทำกิจกรรม และการคิดเชื่อมโยงเหตุและผลของ กิจกรรม 2. การคิดเชิงเหตุผลโดยใช้ผังกราฟิกแบบผังแสดงเหตุผล
93 ใบบันทึกกิจกรรม เรือแบบใดบรรทุกน้ำหนักได้มากที่สุด วันที่ทำการทดลอง วัน ศุกร์ที่22 เดือน กันยายน พุทธศักราช 2566 ชื่อ..........................................................................................................ชั้น อนุบาล 3/1 บันทึกคำพูด ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................................
94 ภาคผนวก ค - แบบประเมินคุณภาพของแผนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ - ผลการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อแบบทดสอบวัดทักษะ การคิดเชิงเหตุผลระดับปฐมวัย
95 แบบประเมินคุณภาพของแผนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่......... เรื่อง........................................................................................................ ครูผู้รับการประเมิน.............................................ตำแหน่ง.......................วิทยฐานะ.............................. กลุ่มสาระการเรียนรู้...........................................ชื่อวิชาที่สอน....................................ระดับชั้น............ คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย / ในช่องระดับความเหมาะสมที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน และขอ ความกรุณาเขียนข้อเสนอแนะอื่น ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ต่อไป ระดับการประเมิน 5 หมายถึง ดีมาก ระดับการประเมิน 4 หมายถึง ดี ระดับการประเมิน 3 หมายถึง พอใช้ ระดับการประเมิน 2 หมายถึง ปรับปรุง ระดับการประเมิน 1 หมายถึง ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น 5 4 3 2 1 1. สาระสำคัญ 1.1 มีความชัดเจนเข้าใจง่าย 1.2 มีความเหมาะสมกับวัยของเด็ก 1.3 ความถูกต้อง 1.4 มีประโยชน์ต่อชีวิตประจำวัน 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 สอดคล้องกับหลักสูตร 2.2 มีความเหมาะสมกับกิจกรรม 2.3 มีความชัดเจนเข้าใจง่าย 2.4 สามารถสอนให้บรรลุพฤติกรรม
96 3. เนื้อหาสาระ 3.1 สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 3.2 สอดคล้องกับวัยของผู้เรียน 3.3 สอดคล้องกับหลักสูตร 3.4 มีความชัดเจนเข้าใจง่าย 4. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 เรียงลำดับกิจกรรมได้ 4.2 สอดคล้องกับเนื้อหาสาระ 4.3 สอดคล้องกับจุดประสงค์ 4.4 เหมาะสมกับวัยของเด็ก 4.5 ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม 5. การวัดผลประเมินผล 5.1 สอดคล้องกับเนื้อหา 5.2 สอดคล้องกับจุดประสงค์ 5.3 เครื่องมือที่ใช้เหมาะสมกับวัยของเด็ก รวม รวมเฉลี่ย ................. ระดับ ................. ข้อเสนอแนะในการปรับปรัง / แก้ไข ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ หมายเหตุ: รูปแบบที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน .............................................................................. ลงชื่อ........................................................ผู้ประเมิน (................................................................) ตำแหน่ง...........................................................
97 เกณฑ์การประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 4.51 – 5.00 หมายถึง ดีมาก 3.51 – 4.50 หมายถึง ดี 2.51 – 3.50 หมายถึง พอใช้ 1.51 – 2.50 หมายถึง ปรับปรุง ต่ำกว่า 1.50 หมายถึง ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน
98 ผลการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อแบบทดสอบวัด ทักษะการคิดเชิงเหตุผลระดับปฐมวัย รายการประเมิน ผู้เชี่ยวชาญ ค่า IOC สรุป คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 1. ประเด็นคำถามเหมาะสมกับเด็กปฐมวัย 1 1 1 1 ใช้ได้ 2. ภาษาชัดเจนเข้าใจง่าย 1 0 1 0.67 ใช้ได้ 3. รูปภาพมีความเหมาะสม 1 1 1 1 ใช้ได้ 4. จำนวนการประเมินเหมาะสมกับวัยของเด็ก 0 1 1 0.67 ใช้ได้ 5. เวลาที่ใช้ในการทดสอบเหมาะสมกับช่วงความสนใจของ เด็ก 1 1 0 1 ใช้ได้ 6. แบบประเมินสามารถวัดความสามารถในการใช้ทักษะการ คิดเชิงเหตุผล 1 1 1 1 ใช้ได้ 7. วิธีดำเนินการทดสอบเข้าใจง่ายเหมาะสมกับ 1 1 0 0.67 ใช้ได้ 8. เกณฑ์การให้คะแนนชัดเจน 1 0 1 0.67 ใช้ได้ 9. ลักษณะแบบประเมินเหมาะสมกับเด็กปฐมวัย 1 1 1 1 ใช้ได้ 10. คู่มือในการประเมินอธิบายได้ครอบคลุมประเด็นสำคัญ อย่างสอดคล้อง และมีความชัดเจน 1 1 1 1 ใช้ได้ เกณฑ์การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อแบบทดสอบวัดทักษะการคิดเชิง เหตุผลระดับปฐมวัย ค่า IOC ≥ 0.5 ถึงจะใช้ได้ ค่า IOC < 0.5 แสดงว่า วัดได้ไม่ตรงต้องปรับปรุง หรือใช้ไม่ได้ ดังนั้น ค่า IOC = 1+0.67+1+0.67+1+1+0.67+0.67+1+1/10 = 9.67/10 = 0.87 สรุปว่า แบบตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อแบบทดสอบวัดทักษะการคิดเชิงเหตุผล ระดับปฐมวัย สามารถใช้ได้
99 ภาคผนวก ง ภาพการปฏิบัติการทำงานวิจัยในชั้นเรียน
100 ภาพการทำกิจกรรมเรื่อง แม่เหล็กสามารถดูสิ่งของอื่น ๆ ได้
101 ภาพการทำกิจกรรมเรื่อง ทอร์นาโดในขวด
102 ภาพการทำกิจกรรมเรื่อง สนุกกับไฟฟ้าสถิต
103 ภาพการทำกิจกรรมเรื่อง การกรองน้ำ
104 ภาพการทำกิจกรรมเรื่อง เรือแบบใดบรรทุกน้ำหนักได้มากที่สุด
105 ประวัติผู้วิจัย ชื่อ – สกุล นางสาวศศิกาญจน์ เครือแก้ว วัน เดือน ปีเกิด 7 เดือน พฤศจิกายน 2544 สถานที่เกิด โรงพยาบาลตากสิน แขวงคลองสาน เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร 10600 สถานปัจจุบันที่ 55 หมู่4 ตำบลโนนรัง อำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา 30270 ประวัติการศึกษา ปีการศึกษา พ.ศ. 2556 จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านโคกเพชร ปีการศึกษา พ.ศ. 2562 จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนตลาดไทรพิทยาคม ปีการศึกษา พ.ศ. 2563 - ปัจจุบัน คณะครุศาสตร์ สาขาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา