The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บันทึกการเรียนรู้ นางสาวอทิตยา อนุสนธิ์ 130

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by atitaya.an62, 2021-05-07 11:21:11

บันทึกการเรียนรู้ อทิตยา 130

บันทึกการเรียนรู้ นางสาวอทิตยา อนุสนธิ์ 130

WHERE THERE'S A WILL,
THERE'S A WAY!

LEARNING LOG
บั น ทึ ก ก า ร เ รี ย น รู

รายวิชาการวัดและประเมินการศึกษาและการเรียนรู 21042103

ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2563

จัดทาํ โดย

นางสาวอทิตยา อนุสนธิ์

เสนอ

รองศาสตราจารย ดร.สาํ ราญ กาํ จัดภัย

คํานาํ

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรขู องผเู รยี นตองอยบู นหลกั
การพ้ืนฐาน 2 ประการ คือ การประเมินเพื่อพฒั นาผเู รยี นและ
เพื่อตัดสินผลการเรยี น ในการพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นรูของผู
เรียนใหป ระสบผลสําเรจ็ น้ัน ผเู รยี นจะตองไดร ับการพฒั นาและ
ประเมินตามตัวชี้วดั เพอื ใหบรรลตุ ามมาตรฐานการเรยี นรู
สะทอนสมรรถนะสําคญั และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคของ
ผูเรยี น ซึง่ เปนเปา หมายหลกั ในการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู
ในทุกระดับไมวา จะเปนระดบั ชนั้ เรียน ระดับสถานศึกษา ระดบั
เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา และระดับชาติ การวดั และประเมนิ ผลการ
เรียนรู เปนกระบวนการพัฒนาคณุ ภาพผเู รยี นโดยใชผ ลการ
ประเมนิ เปนขอมลู และสารสนเทศท่แี สดงพัฒนาการความ
กา วหนา และความสําเร็จทางการเรยี นของผูเรียน ตลอดจน
ขอมูลทเ่ี ปนประโยชนต อ การสง เสรมิ ให ผเู รียนเกิดการพฒั นา
และเรียนรอู ยา งเตม็ ตามศกั ยภาพการวดั และประเมนิ ผล
การเรยี นรู

ดงั นน้ั ผูจัดทาํ หวงั เปน อยา งยิ่งวา สมดุ บนั ทึกการเรยี นรู
รายวชิ าการวัดและประเมินการศกึ ษาและการเรียนรเู ลม นีจ้ ะเปน
ประโยชนต อ ผทู ีไดศึกษา หากผิดพลาดประการใดผจู ัดทําตอ ง
ขออภัยมา ณ ที่นด้ี วย

นางสาวอทติ ยา อนุสนธ์ิ
ผจู ดั ทํา



สารบญั

ก คาํ นาํ
ข สารบัญ

01 WEEK 1
ปฐมนิเทศและแนวคิดการเรียนรู้

04 WEEK 2
แนวคิดเบืองต้นเกียวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

07 WEEK 3
ความสาํ คัญ ประเภท หลักการ และจุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

09 WEEK 4
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้แบบทดสอบความเรียง

12 WEEK 5
แบบทดสอบปรนัยชนิดถูกผิด



สารบญั (ตอ)

15 WEEK 6แบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่
18 WEEK 7

แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคําและชนิดตอบแบบสัน

21 WEEK 8
แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ

24 WEEK 9
การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบ

27 WEEK 10 SPSSการวิเคราะห์ข้อสอบด้วย
30 WEEK 11

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานโดยใช้กระบวนการออกแบบย้อนกลับ

33 WEEK 12
การประเมินจากการสือสารระหว่างบุคคล



สารบญั (ตอ )

36 WEEK 13การประเมินจากการปฏิบัติ
39 WEEK 14

การประเมินตามสภาพจริง

42 WEEK 15
การใช้รูบริกส์ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

45 WEEK 16
การประเมินโดยใช้แฟมสะสมผลงาน

48 สัญญาการเรียนและบันทึกการรวมกิจกรรมในช้ันเรียน
50 สะทอนความรูสึกตอวิชานี้
51 สปะรทะอวนัตคิผวูจาัดมทรูสาํ ึกตอวิชานี้



Week 1

ปฐมนิเทศและแนวคิดการเรียนรู

01

แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู

ความหมายของการเรยี นรู พฤติกรรม
ดา นพุทธพิ ิสัย
การเรียนรู (Learning) หมายถงึ “การเปล่ียนแปลง
พฤตกิ รรมที่คอนขางถาวรอันเน่อื งมาจากการไดร บั พฤตกิ รรมดานพุทธิพิสยั (Cognitive) เชน ความจาํ ความเขา ใจ
ประสบการณ” การคิดในรปู แบบตาง ๆ ซ่ึงเกดิ จากพลงั ความสามารถทางสมอง ซ่ึง
ไปมีปฏิสมั พนั ธกับสงิ่ แวดลอ ม มีหลากหลายจาก
การเรยี นรูข องผูเรียน หมายถงึ การเปล่ยี นแปลง งา ย ๆ จนถงึ ซบั ซอ น ทําใหตอ งจําแนกระดับความสามารถทางสมอง
พฤติกรรมของผูเรยี นทคี่ งทนถาวรหรือคอนขา งถาวรทัง้ ทีเ่ ปน หรือสติปญญาออกเปน ระดับตา ง ๆ โดย Bloom และคณะ ได
พฤติกรรมที่แสดงออกใหเ ห็นไดชดั หรือพฤติกรรมท่แี ฝงอยู จําแนกออกเปน 6 ระดบั ดังนี้
ในตัว พรอ มที่จะแสดงออกไดท ุกเมื่อ ซ่ึงการเปล่ียนแปลงนี้
ตอ งเปน ผลเนื่องมาจากการไดร บั ประสบการณท่ีเผชญิ หรือ 1. ความรู (Knowledge) หรอื ความจาํ
ไดก ระทาํ ส่ิงตาง ๆ ในธรรมชาตริ อบกายดว ยตนเองผา น 2. ความเขาใจ (Comprehension) จาํ แนกเปน 3 ลกั ษณะ
ประสาทสมั ผัสทั้ง 5 รวมถงึ ประสบการณต าง ๆ ทคี่ รูผสู อน คอื การแปลความ การตีความ และการขยายความ
เปนผจู ัดให 3. การนําไปใช (Application)
4. การวเิ คราะห (Analysis) มี 3 ลักษณะ คอื การวิเคราะห
สาํ หรับ “พฤติกรรม” ในความหมายของพฤติกรรมการ สวนประกอบ การวิเคราะหความสมั พนั ธ การวิเคราะหห ลกั การ
เรยี นรู (LEARNING BEHAVIOR) 5. การสังเคราะห (Synthesis)
ตามทรรศนะของ BLOOM และคณะ หมายถึงพฤตกิ รรมการ 6. การประเมนิ คา (Evaluation)
เรียนรู 3 ดานใหญ ๆ ไดแ ก
พฤตกิ รรม
พฤติกรรม ดานทักษะพสิ ยั
ดา นจิตพิสัย
พฤติกรรมดา นจิตพิสัย (Affective) พฤติกรรมดา นทักษะพิสยั (Psychomotor) เปน ความสามารถ
เชน ความรสู ึก ความเช่อื เจตคติ ซง่ึ เปน รากฐานทกี่ อเกิด ของบุคคลในการใชอ วยั วะตา ง ๆ ของรางกายทาํ งานอยาง
บคุ ลกิ ภาพหรอื ลักษณะนิสัยของบุคคล ดังแสดงเปนลําดบั ข้ัน ประสานสัมพนั ธก นั โดยจะมีข้นั ตอนของการเกิดพฤติกรรมไปตาม
ไดดังน้ี ลําดบั เชน ลําดับขน้ั การเกดิ ทักษะปฏิบตั ิของ Dave ซงึ่ มี 5 ขน้ั
1. ขน้ั รบั รู (Receiving) ดงั น้ี
2. ข้นั ตอบสนอง (Responding)
3. ขน้ั เหน็ คุณคา หรือสรา งคานิยม (Valuing) 1. รับรูแ ละเลียนแบบ (Imitation)
4. ขน้ั จัดระบบคานิยม (Organization) 2. ลงมอื ปฏิบัติและทาํ ตามได (Manipulation)
3. ลดความผิดพลาดจนสามารถทําไดถ กู ตอง (Precision)
4. ปฏบิ ตั ไิ ดอ ยา งชดั เจนและตอ เน่ือง (Articulation)
5. ปฏบิ ัติไดอยางเปนธรรมชาติ (Naturalization)

5. ข้นั สรางลกั ษณะนิสยั จากคา นิยม
(Characterization)

02

| OAKRIDGE HOLDINGS

สรุปแนวคิด
เกียวกับการเรียนรู้

การเรียนรู (Learning) หมายถึง “การเปล่ียนแปลง
พฤติกรรมที่คอนขางถาวรอนั เน่อื งมาจากการไดร ับ
ประสบการณ” โดยพฤติกรรมการเรยี นรู (Learning
behavior) ตามทรรศนะของ Bloom แบง ได 3
ดา นใหญ ๆ ไดแ ก

1) พฤตกิ รรมดานจติ พิสัย เชน ความรสู ึก ความเชือ่
เจตคติ

2) พฤตกิ รรมดานพทุ ธิพสิ ยั (Cognitive) เชน ความจํา
ความเขาใจ การคิดในรูปแบบตาง ๆ

3) พฤติกรรมดานทกั ษะพสิ ัย เปนความสามารถของ
บคุ คลในการใชอวัยวะตา ง ๆ เชน การวาดภาพ การรอ ง
เพลง การคัดลายมือ

ซึง่ พฤตกิ รรมในแตละดานตางก็มกี ารแยกเปนลาํ ดับข้นั
ลงไปอกี ตามความซับซอ นของพฤตกิ รรม และพฤติกรรม
แตล ะดานลวนมคี วามสัมพันธซ ่งึ กันและกัน

การปฐมนเิ ทศในครงั้ นม้ี ีการทาํ สัญญาการเรยี น การ
กาํ หนดขอ ตกลงตา ง ๆ ในการเรยี นวิชานี้ รายละเอยี ดและ
จดุ มงุ หมายของรายวชิ า รวมถงึ ภาระงานและเกณฑการให
คะแนนในรายวชิ าดว ย

03

Week 2

แนวคิดเบ้ืองตนเก่ียวกับการวัด
และประเมินผลการเรียนรู

04

แนวคดิ เก่ยี วกับการวัดผลการเรียนรู มาตรการวดั ผล มี 4 ระดับ ดงั น้ี
“การวัดผลการเรยี นรู” เกดิ จากคาํ 2 คาํ มารวมกนั คือ การวัดผล ระดับที่ 1 มาตรการวัดผลระดับนามบัญญตั ิ (Nominal

กบั การเรียนรู “การวดั ผลการเรยี นร”ู ในสถานการณท่ีเกย่ี วของ scale) เชน เพศ ซงึ่ เปนขอ มลู เชงิ คุณภาพ
ระหวางครูผูส อนกบั ผเู รยี นกน็ า จะหมายถึงกระบวนการท่คี รูผูสอนนาํ ระดับที่ 2 มาตรการวัดผลระดับเรยี งอนั ดบั (Ordinal
เคร่ืองมอื อยา งใดอยา งหน่งึ ไปใชกับผูเ รียน เพอื่ ใหผเู รยี นตอบสนองหรอื
แสดงพฤตกิ รรมการเรียนรู ซง่ึ เปนพฤติกรรมที่เปลี่ยนคอนขา งถาวร scale) เปน ขอมลู เชิงคณุ ภาพ และสามารถนาํ มาเปรยี บเทยี บ
องคป ระกอบสาํ คญั ของการวดั ผลการเรยี นรู ไดแก กนั ได

1. สง่ิ ท่ตี อ งการวัดผล คือ การเรยี นรูต ามเปาหมายทกี่ าํ หนด ระดบั ท่ี 3 มาตรการวดั ผลระดับอนั ตรภาค (Interval
2. วธิ ีการและเคร่อื งมือทใี่ ชในการวัดผล เชน “การทดสอบ” เปน scale) สามารถบวกลบกนั ได ไมมีศูนยแ ท
วิธกี ารวัดผล เครอ่ื งมือท่ีใชใ นการทดสอบก็คอื “แบบทดสอบ”
3. ขอมูลซง่ึ เปน ตวั เลขหรือสัญลกั ษณแทนปริมาณหรอื คณุ ภาพ ระดับที่ 4 มาตรการวดั ผลระดับอตั ราสวน (Ratio scale)
ของพฤติกรรมการเรยี นรทู ี่ไดจากการวดั ผล เชน คะแนนของผเู รียน มศี ูนยแท ตัวเลขมาบวก ลบ คูณ หารกันได เปนขอ มลู เชงิ
แตล ะคนจากการทําแบบทดสอบ เปน ตน ปรมิ าณ เชน น้ําหนกั เปน ตน

แนวคดิ เกยี่ วกบั
การวดั ผล

แนวคดิ เกี่ยวกบั แนวคดิ เบ้อื งตนเกีย่ วกับการวัด วิธีการวัดผล มวี ธิ กี ารใหญ ๆ 2 วิธี คอื
การประเมนิ ผล และประเมนิ ผลการเรยี นรู 1. การวดั ผลทางตรง หมายถงึ

การวดั โดยตรงจริง ๆ เปนการวัดทาง
กายภาพ เชน วดั น้าํ หนักของนักเรยี น
“การประเมนิ ผลการเรียนร”ู ในความหมายของคาํ วา กาแรนปวรทะาเมงินกากรานรเาํ รผียลนรู 2. การวดั ผลทางออ ม หมายถึง
Evaluation หมายถงึ กระบวนการตดั สินคุณคาหรือ ไปใชป ระโยชน
คณุ ภาพเกี่ยวกับการเรียนรูของผูเรียนโดยมกี ารเก็บ การวดั ผลทไ่ี มสามารถวัดสิง่ ท่ีตอง
รวบรวมและจัดกระทําขอ มลู เพอ่ื ตัดสนิ ระดบั คุณภาพตาม การวัดไดโ ดยตรง จงึ ตองอาศัยวดั จาก
เกณฑหรอื มาตรฐานท่ีไดต ัง้ ไวอ ยางชดั เจน จดุ มงุ หมาย สิ่งอื่นแทน
ของการประเมนิ ผลอยทู ่ีการตัดสนิ คุณคา เก่ียวกบั การ
เรียนรูข องผูเรยี น และผูตัดสินคณุ คา นีต้ อ งเปนผปู ระเมิน
หรอื ครผู ูสอน ถาผปู ระเมินไมไดต ดั สินคุณคา ส่ิงประเมิน
ถือวา ยงั ทาํ หนา ทีไ่ มส มบูรณ สว น Assessment เปน แนวทางการนาํ ผลการประเมนิ การเรียนรไู ปใชประโยชน
กระบวนการเกบ็ รวบรวมขอ มลู ท่เี กย่ี วขอ งกับพฤตกิ รรม 1. การใชผลการประเมนิ เพื่อวางแผนการจดั การเรียนรู
การเรยี นรูของผเู รียน ท้ังขอ มลู เชิงปริมาณท่เี ปนตวั เลข 2. การใชผลการประเมินเพอ่ื ปรับปรงุ พฒั นา
และขอมลู เชงิ คณุ ภาพทไี่ มเ ปนตัวเลข โดยใชเทคนิควธิ ี 3. การใชผลการประเมนิ เพ่อื สรุปและตดั สนิ ผลการเรยี นรู
การทหี่ ลากหลายรวมกนั อยา งบรู ณาการ แลว นําขอมลู ที่ 4. การใชผ ลการประเมนิ เพอ่ื การรายงานตอ ผปู กครองและผู
ไดมาจัดกระทําใหไดสารสนเทศทั้งจุดแขง็ และจุดออ น เกี่ยวของ
พรอ มใหข อ มูลปอนกลับ เพ่ือการปรบั ปรุงหรอื พัฒนาการ
เรียนรูข องผูเ รยี นใหดยี งิ่ ขึ้น

05

| OAKRIDGE HOLDINGS

สรุปแนวคิดเบืองต้น
เกียวกับการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้

แนวคิดเกียวกับการวัดผล

หมายถงึ กระบวนการทีค่ รผู ูสอนนําเคร่ืองมืออยางใดอยาง
หน่งึ ไปใชก บั ผูเรยี นเพ่ือใหผ เู รยี นตอบสนองหรอื แสดงพฤตกิ รรม
การเรียนรู

องคประกอบสาํ คญั ของการวดั ผลการเรียนรู ไดแก สิ่งที่
ตอ งการวัดผล วิธีการและเครื่องมอื ท่ใี ชใ นการวัดผล และขอ มูล
ซ่ึงเปนตัวเลขหรือสญั ลักษณแ ทนปริมาณหรอื คุณภาพขอ
พฤตกิ รรมการเรียนรูท่ีไดจากการวัดผล

มาตรการวดั ผล มี 4 ระดบั ดังนี้ ระดับที่ 1 มาตรการวดั ผล
ระดบั นามบญั ญัติ เปนขอ มลู เชิงคณุ ภาพ ระดับท่ี 2 มาตรการ
วัดผลระดบั เรียงอนั ดบั เปน ขอมูลเชิงคุณภาพ และนาํ มาเปรยี บ
เทียบได ระดบั ที่ 3 มาตรการวดั ผลระดับอันตรภาค สามารถ
บวกลบกันได ไมม ศี นู ยแท ระดบั ที่ 4 มาตรการวดั ผลระดับ
อัตราสวนมีศนู ยแ ท ตัวเลขมาบวก ลบ คณู หารกนั ได

วิธีการวดั ผล มวี ิธีการใหญ ๆ 2 วิธี คอื การวดั ผลทางตรง
และการวดั ผลทางออ ม อยูท ่สี ่ิงทีต่ องการวดั

แนวคิดเกียวกับการประเมินผล

ในความหมายของคาํ วา Evaluation หมายถึง กระบวนการ
ตัดสนิ คุณภาพเก่ียวกับการเรยี นรขู องผเู รียน สวน Assessment
เปนกระบวนการเกบ็ รวบรวมขอมลู ทีเ่ กย่ี วของกบั พฤตกิ รรมการ
เรยี นรขู องผเู รยี น และมกี ารใหข อมูลปอนกลับ เพ่อื การปรบั ปรุง
หรอื พัฒนาการเรยี นรูของผูเรยี นใหด ียิ่งข้นึ

แนวทางการนําผลการประเมินการเรียนรู้
ไปใช้ประโยชน์

การนําผลการประเมินการเรียนรูไปใชป ระโยชนม ีมากมาย
เชน เพ่ือวางแผนการจัดการเรียนรู เพ่อื ปรับปรุงพฒั นา เพอื่ สรุป
และตดั สนิ ผลการเรยี นรู และเพือ่ การรายงานตอ ผปู กครองและ
ผเู กย่ี วขอ ง

06

Week 3

ความสาํ คัญ ประเภท หลักการ และจุดมุงหมายของ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู

07

ความสําคัญ ประเภท หลักการ และจุดมุงหมาย
ของการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู

ความสาํ คัญของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู

1. ความสาํ คญั ตอ ผเู รียน เมอื่ ผสู อนมีการวดั และประเมินผลการเรียนรู 2. ความสาํ คัญตอ ผูสอน เม่อื ผสู อนมกี ารวัดและประเมินผลการเรียนรู
ดงั น้ี ดังนี้

1.1 กอ นเรียน กจ็ ะทําใหผเู รียนรูว ามพี น้ื ฐานความรเู ร่อื งนัน้ เพยี งใด 2.1 กอ นจดั การเรียนการสอน กจ็ ะทาํ ใหผ ูสอนไดข อ มูลพ้ืนฐานของ
1.2 ในขณะหรือระหวา งจัดการเรียนการสอนอยางตอเนือ่ ง จากนั้น ผเู รียนเปนรายบคุ คลและท้ังช้ัน
ใหขอมูลยอนกลบั แกผเู รียน เพื่อพฒั นาสงิ่ ท่ดี อี ยแู ลวใหดีย่งิ ข้ึน
1.3 1) หลังเรียนจบบทเรียน ก็จะทาํ ใหผ ูเรยี นไดท ราบวา บทเรยี น 2.2 ระหวา งจัดการเรียนการสอนแตล ะบทเรียนก็จะทําใหผ สู อนได
หรอื หนว ยการเรยี นรูน้นั ๆ ตนมีระดับคุณภาพการเรียนรอู ยูในระดับใด ทราบวาในการสอนคร้งั น้นั ๆ ผเู รยี นแตล ะคนมพี ัฒนาการเปนอยา งไร
2) หลงั เรยี นจบรายวชิ าเพ่อื ตัดสนิ ใหร ะดบั ผลการเรยี น (ตัดเกรด) ก็จะ
ทําใหผ เู รยี นทราบวา ตลอด 1 ภาคเรยี น ผลการเรียนรายวชิ านัน้ อยใู น 2.3 1) หลงั เรียนจบบทเรยี น จะทําใหท ราบวา ผเู รยี นแตละคนบรรลุ
ระดบั ใด เปาหมายทร่ี ะบไุ วหรือไม และ 2) หลงั เรยี นจบรายวิชาเพอ่ื ตดั สนิ ให
ระดับผลการเรียน ก็จะทําใหท ราบวา ตลอด 1 ภาคเรียน ผลการเรยี นรู
ของผูเ รียนแตละคนในรายวิชานน้ั มคี ุณภาพอยูในระดับใด

ประเภทของการวดั และประเมินผลการเรยี นรู

1. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู จาํ แนกตามขั้นตอนการจัดการ 2. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรจู าํ แนกตามวิธกี ารแปลความ
เรียนการสอน กอ นเรยี น ระหวางเรยี น และหลังเรยี น หมายผลการเรยี นรู หรือตามการอา งอิง

1.1 การวัดและการประเมนิ เพื่อจัดวางตําแหนง 2.1 การวัดและการประเมนิ แบบอิงตน (Self - referenced
(Placement assessment) assessment)
2.2 การวดั และประเมินแบบองิ กลุม (Norm - referenced
1.2 การวัดและการประเมินเพือ่ วินจิ ฉยั (Diagnostic assessment) assessment)
1.3 การวดั และการประเมนิ เพอื่ การพฒั นา หรอื การวัดและ 2.3 การวดั และประเมินแบบอิงเกณฑ (Criterion - referenced
assessment)
การประเมินยอย (Formative assessment)
1.4 การวัดและการประเมนิ เพอื่ สรุปผลการเรียนรู หรอื การวดั และ

ประเมินเพ่อื สรปุ รวบยอด (Summative assessment)

หลกั การของการวัดและประเมินผลการเรยี นรูในแนวปฏิบตั กิ ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

1. สถานศึกษาเปน ผรู ับผดิ ชอบการวัดและการประเมินผลการเรียนรูข องผเู รียนโดยเปด โอกาสใหผ ูท่ีเก่ียวของมสี ว นรว ม
2. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู มจี ุดมงุ หมายเพือ่ พฒั นาผเู รียนและตัดสนิ ผลการเรยี น
3. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรตู องสอดคลอ งและครอบคลมุ มาตรฐานการเรยี นรู/ตวั ชว้ี ดั ทกี่ าํ หนดในหลักสตู รสถานศึกษา
4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรเู ปน สว นหนึ่งของกระบวนการจดั การเรียนการสอน ตองดําเนินการดว ยเทคนคิ วิธีการท่ีหลากหลาย
5. การประเมนิ ผูเ รียนพิจารณาจากพัฒนาการของผูเรยี น ความประพฤติ การสงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู การรวมกิจกรรม และการทดสอบ
6. เปดโอกาสใหผ เู รยี นและผมู สี วนเก่ยี วของตรวจสอบผลการประเมินผลการเรยี นรู
7. ใหม ีการเทยี บโอนผลการเรยี นระหวา งสถานศึกษาและระหวา งรูปแบบการศึกษาตา ง ๆ
8. ใหสถานศึกษาจดั ทําและออกเอกสารหลกั ฐานการศึกษา เพื่อเปน หลักฐานการประเมนิ ผลการเรียนรู

จุดมงุ หมายของการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู

1. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูมีจดุ มงุ หมายเพ่ือพัฒนาผูเรียน เปนการวัดและประเมินผลเพ่ือการพฒั นา 08
2. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรมู ีจุดมงุ หมายเพือ่ ตัดสินผลการเรียน เปน การประเมนิ สรปุ ผลการเรยี นรู

| OAKRIDGE HOLDINGS

สรุปความสาํ คัญ ประเภท
หลักการ และจุดมุ่งหมายของ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ความสาํ คัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

มคี วามสําคญั ทั้งกับผเู รยี นและผูสอน คือ ผเู รยี นจะไดรู
ระดับความสามารถของตนเองในหนว ยการเรยี นรนู ้ัน หรอื ใน
วชิ านัน้ ชว ยใหผ ูเรยี นสามารถกระตนุ ตนเองหรือวางแผนการ
เรียนเพอื่ พัฒนาตนเองได สวนครูผูสอนกจ็ ะไดรรู ะดับความ
สามารถของนักเรยี นตนเอง เพอื่ ที่จะไดว างแผนการสอนให
เหมาะสม และชวยนํามาปรบั ปรงุ และพัฒนาการสอนของตนเอง
ใหดีขึน้ ได

ประเภทของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จําแนกตามขนั้ ตอนการจดั การเรยี นการสอน ไดแก เพ่อื จดั
วางตาํ แหนง เพือ่ วินิจฉยั เพ่อื การพฒั นา และเพอ่ื สรุปผลการเรยี นรู

จาํ แนกตามวธิ กี ารแปลความหมายผลการเรยี นรู ไดแก แบบ
องิ ตน แบบอิงกลุม และแบบอิงเกณฑ

หลักการของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ในแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

2 5 5 1ต า ม ห ลั ก สู ต ร แ ก น ก ล า ง ก า ร ศึ ก ษ า ขั น พื น ฐ า น

พุ ท ธ ศั ก ร า ช

สถานศกึ ษาเปนผูร ับผดิ ชอบโดยเปดโอกาสใหผ ูทีเ่ กีย่ วของมี
สว นรว ม มีจุดมงุ หมายเพื่อพฒั นาผูเรียนและตดั สนิ ผลการเรียน
จัดใหเ ปน สว นหน่งึ ของกระบวนการจดั การเรียนการสอน และ
ตองใชวธิ กี าร และการพจิ ารณาทีห่ ลากหลาย ผูเ รียนและผมู ีสว น
เกีย่ วของตรวจสอบผลได

จุ ด มุ่ง ห ม า ย ข อ ง ก า ร วัด แ ล ะ ป ร ะ เ มิน ผ ล ก า ร เ รีย น รู้

เพื่อพฒั นาผูเ รียน และเพ่ือตัดสนิ ผลการเรยี น

09

Week 4

การวัดและประเมินผลการเรียนรโู ดยใชแ บบทดสอบความเรียง

10

การวดั และประเมนิ ผล
การเรยี นรูโ้ ดยใช้
แบบทดสอบ
ความเรยี ง

ความหมายของแบบทดสอบ หลักการหรอื แนวทางใน
ความเรยี ง การสรา้ งแบบทดสอบ
ความเรยี ง
“แบบทดสอบความเรียง” เปนชุดของขอ คาํ ถามทีผ่ ู
สอนกาํ หนดขน้ึ เพ่ือใหผูเ รยี นเขียนเรยี บเรียงคําตอบ 1) เลือกและกําหนดผลการเรยี นรูทเ่ี ก่ียวขอ งกับ
อยา งอสิ ระ โดยใชความรู ความสามารถในการคดิ การใชสตปิ ญญาขั้นสงู ทไ่ี มสามารถวัดไดโ ดยใชแบบ
ระดับสงู ตา ง ๆ อาทิ วเิ คราะห สังเคราะห ริเร่มิ ทดสอบปรนัย หรอื การทดสอบภาคปฏิบัติ
สรา งสรรค และประเมินคา รวมทงั้ ความสามารถใน
การจดั ระบบแนวคิดและทกั ษะการเขียน 2) กาํ หนดจํานวนขอคําถามในแตล ะผลการเรยี นรู
ที่เลือกไว โดยควรเลอื กใชข อ คําถามที่มีคาํ ตอบไม
แนวทางการตรวจให้คะแนน ยาวนัก จะไดอ อกไดหลายขอ
ขอ้ สอบความเรยี ง
3) เขยี นขอ คาํ ถามโดยใชถอ ยคําท่ีชัดเจน
1) สรา งเกณฑก ารใหคะแนน (Rubrics) อยา ง สอดคลองกับผลการเรียนรทู ตี่ อ งการวดั
ละเอียดชดั เจน โดยในแตละขอคําถามควรสรา งแบบ
จาํ ลองคําตอบ (Model answer) พรอ มระบุนา้ํ หนัก 4) ระบนุ าํ้ หนกั คะแนน ความยาวของคาํ ตอบ และ
คะแนนในแตล ะประเดน็ ยอย ชว งระยะเวลาในการทาํ ขอ สอบแตล ะขอ

2) ควรระมัดระวังเกีย่ วกบั ความลําเอียงหรืออคติ 5) ระบุเกณฑการใหคะแนนใหผเู รยี นทราบ
3) ควรตรวจใหคะแนนคาํ ตอบของผเู รยี นทุกคนให 6) ตรวจสอบคณุ ภาพเบ้ืองตนของขอสอบแตละ
เสรจ็ ท่ลี ะขอ คาํ ถามในเวลาทตี่ อ เนอื่ งกัน ขอกอนนําไปใช
4) ในกรณที จี่ าํ เปนตองใชผ ูต รวจหลายคนควร
ปฏบิ ัตดิ ังน้ี “แบงขอสอบใหผ ตู รวจคนละหนงึ่ หรือ 6.1) ตรวจสอบดวยตนเอง โดยการลองตอบ
สองขอ แลว ตรวจใหคะแนนคําตอบขอนน้ั ๆ ของผู คาํ ถามจากมมุ มองของผูเรยี นทวั่ ไป
เรียนทุกคน จากนน้ั คอ ยนาํ คะแนนของแตล ะขอ มา
รวมกนั 6.2) สอบถามเพอื่ นรวมงานท่ีมคี วามรู เพอ่ื
5) ในขณะตรวจใหค ะแนนขอคําถามหนง่ึ ๆ ควร ทบทวนและวพิ ากยค วามชดั เจนของขอ คาํ ถาม
เกบ็ รวบรวมบนั ทกึ ขอ ผดิ พลาดตาง ๆ ท่ีผูต รวจไดมี
การหกั คะแนนไว 7) หลงั การนาํ ขอสอบไปใช ควรมีการทบทวน
6) ไมควรนาํ เอาประเดน็ ความถกู ตองเก่ียวกับ แนวหรอื ขอบขายคาํ ตอบของผูเรยี นในแตล ะขอ
ไวยากรณ หรอื โครงสรา งของประโยค หรือการสะกด
คํา มาเปน เกณฑใ นการใหคะแนนคาํ ตอบของผเู รยี น

11

| OAKRIDGE HOLDINGS

สรุปการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้โดยใช้
แบบทดสอบความเรียง

ความหมายของแบบทดสอบความเรียง

คอื แบบทดสอบท่ีผเู รียนสามารถเขียนคําตอบอยา งอิสระ
โดยใชก ารคดิ ระดับสูงตาง ๆ

หลักการหรือแนวทางในการสร้างแบบทดสอบ
ความเรียง

เขยี นขอคําถามโดยใชถ อยคาํ ทีช่ ัดเจน ระบุชวงระยะเวลาในการ
ทําขอ สอบแตล ะขอ ระบุเกณฑการใหคะแนนใหผูเรยี นทราบ และ
ควรตรวจสอบคณุ ภาพเบ้อื งตน ของขอสอบแตละขอกอนนาํ ไปใช

แนวทางการตรวจให้คะแนนข้อสอบความเรียง

ตอ งสรางเกณฑการใหค ะแนนอยางละเอยี ด ผูใดมาใชก ็ใหผ ล
ทเ่ี หมือนกัน ไมลาํ เอียงในการใหคะแนน ควรเกบ็ รวบรวมบนั ทกึ
ขอ ผิดพลาดตาง ๆ ทไ่ี ดห ักคะแนนไว และไมควรความถูกตอ ง
เกย่ี วกับไวยากรณ หรอื การสะกดคาํ เปน เกณฑใ นการใหค ะแนน

12

Week 5

แบบทดสอบปรนัยชนิดถูกผิด

13

(True or false test)

แบบทดสอบปรนยั ชนดิ ถกู ผดิ

หลักการหรอื แนวทางใน ความหมายและลักษณะของ
การสรา้ งแบบทดสอบปรนยั แบบทดสอบปรนยั ชนดิ ถกู ผดิ
ชนดิ ถกู ผดิ
“แบบทดสอบปรนยั ชนดิ ถกู ผดิ (True or false
1) เขยี นคาํ ชีแ้ จงในการทาํ แบบทดสอบใหช ัดเจนวา test)” เปน ชดุ ของขอความซง่ึ อาจเขียนอยใู นรปู
จะใหผเู รียนตอบอยา งไร ประโยคบอกเลาธรรมดาหรือประโยคคาํ ถามกไ็ ด เพอ่ื
ใหผ ูเรียนพจิ ารณาวา ขอความนัน้ ๆ ถูกหรอื ผดิ ตาม
2) ขอความที่เปน สถานการณของขอ คาํ ถามจะตอ งถกู หลกั วชิ า โดยอาจเลอื กตอบจากสองทางเลอื กระหวาง
หรอื ผิดอยางแทจรงิ อยา งใดอยา งหนง่ึ เทา นั้น “ถูก-ผิด” หรือ “จรงิ -ไมจริง” หรือ “ใช- ไมใ ช”
เปนตน
3) เขียนขอความท่เี ปนสถานการณของขอ คาํ ถามดว ย
ภาษาที่เรยี บงา ย และชัดเจนทีส่ ุดเทาทจ่ี ะเปน ไปได 14

4) ในแตละขอ คําถามควรถามเพยี งประเด็นเดียว
5) ในแตล ะขอ คําถามควรใหขอมลู สารสนเทศพืน้ ฐาน

ท่เี พียงพอ เพือ่ ชวยใหส ามารถตัดสินใจไดง า ยข้ึน
6) หลีกเล่ียงการลอกขอ ความจากหนงั สือเรียนหรอื

จากแหลง อื่น ๆ มาเปนขอ ความที่ถาม
7) ขอ คาํ ถามโดยท่ัวไปนยิ มเขียนอยูในรปู ประโยค

บอกเลาธรรมดา แตถาจาํ เปน ตอ งเขยี นอยใู นรูป
ของประโยคปฏเิ สธ ใหข ดี เสนใตคาํ ปฏเิ สธนัน้
8) ควรหลกี เล่ียงการใชคาํ ศพั ทท ผ่ี ูเรียนไมคุนเคย
หรือไมเ หมาะสมกับวัยของผูเ รยี น
9) ควรหลีกเลีย่ งคาํ บางคําทเี่ ปนเครอื่ งชี้คาํ ตอบ
หรอื ชว ยใหคําตอบถูกหรือผิดเดน ชัดข้นึ
10) ไมค วรใชขอความปฏิเสธซอน
11) คาํ ตอบของขอคาํ ถามควรถกู หรือผิดตามหลกั วชิ า
12) สิง่ ที่กําหนดวาถูกหรือผิดควรเปนสวนสําคัญที่
เก่ยี วของกับขอความทีถ่ าม
13) ขอคาํ ถามแตล ะขอ ควรเปนอสิ ระแกกนั
14) ควรใหมจี ํานวนขอ ถูกขอผิดใกลเ คียงกนั
15) ขอถูกและขอผดิ ควรอยูกระจายกนั ออกไป ไมควร
ใหอยูรวมกันเปน กลุม หรือเรียงกันอยางมรี ะบบ
16) ในกรณีที่ขอสอบหลายประเภทอยูในฉบับเดยี วกนั
ควรจัดขอ สอบแบบถูก-ผดิ ไวตอนตน ๆ ของแบบ
ทดสอบ เพราะเปนขอ สอบทีค่ อนขา งงา ย เพ่ือเรา
ใหผ เู รียนอยากทําขอตอ ๆ ไป

| OAKRIDGE HOLDINGS

สรุปแบบทดสอบปรนัย
ชนิดถูกผิด

ความหมายและลักษณะของแบบทดสอบปรนัย
ชนิดถูกผิด

เปนขอ สอบท่ีใหผเู รยี นเลอื กคาํ ตอบระหวาง“ถูก-ผดิ ” หรือ
“จริง-ไมจ ริง” หรือ “ใช- ไมใ ช” เปนตน อยา งใดอยางหนง่ึ ซงึ่
อาจเขยี นอยใู นรูปประโยคบอกเลาธรรมดาหรือประโยคคาํ ถาม
ก็ได

หลักการหรือแนวทางใน
การสร้างแบบทดสอบปรนัยชนิดถูกผิด

เขียนคาํ ชแ้ี จงในการทําแบบทดสอบใหช ัดเจนวา ขอ คําถามจะ
ตองถกู หรอื ผิดอยา งใดอยางหน่งึ เทา น้ัน เขยี นดว ยภาษาที่เรยี บงาย
และชัดเจนที่สุดเทาท่ีจะเปนไปได ใหข อมลู ที่เพยี งพอ เพือ่ ชวยให
สามารถตดั สนิ ใจไดงายข้ึน หลกี เล่ยี งการลอกขอความจากหนงั สอื
จากแหลงอื่น ๆ มาเปนขอ ความทถ่ี าม ขอคําถามถา จาํ เปน ตอ งเขียน
อยใู นรปู ของประโยคปฏเิ สธ ใหขีดเสนใตคาํ ปฏเิ สธน้นั และไมค วรใช
ขอความปฏเิ สธซอน

15

Week 6

แบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู

16

แบบทดสอบปรนยั
ชนดิ จบั คู่

(MATCHING TEST)

ความหมายและลักษณะของ หลักการหรือแนวทางในการสร้าง
แบบทดสอบปรนยั แบบทดสอบปรนัยชนิดถูกผิด
ชนดิ จบั คู่
1) คาํ วลี ตวั เลข หรอื สัญลักษณตาง ๆ ท้งั ที่อยูในคอลมั นข อคาํ ถาม
แบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู (Matching และคอลมั นค าํ ตอบ ควรเปน เรือ่ งราวหรือเนือ้ หาเดยี วกัน
test) เปน รูปแบบหน่ึงของแบบทดสอบ (Homogeneous content) ซึ่งหลกั การขอนถี้ ือวามคี วามสําคัญมาก
ปรนยั ซึง่ ลักษณะโดยทว่ั ไปมักจะวางกลุมของคํา ในการออกขอสอบแบบจับคู
วลี ตวั เลข หรือสัญลักษณไ วเ ปน 2 คอลมั น
ไดแ ก คอลัมนซ า ยจะวางคํา วลี ตวั เลข หรอื 2) เขียนคําชแี้ จงในการจบั คูระหวางชดุ รายการขอ คําถามกบั ชดุ
สัญลกั ษณ เปน ขอ ๆ เรียกวา กลมุ ขอคําถาม รายการคําตอบใหชัดเจน
และคอลมั นขวาจะวางคาํ วลี ตัวเลข หรือ
สัญลักษณต ามลาํ ดบั ตัวอกั ษร เรยี กวา กลุม คํา 3) ควรทบทวนรายการขอ คําถามและขอ คําตอบของชุดขอสอบจบั คู
ตอบ ซึ่งในการตอบผเู รียนจะอานหรอื สงั เกตคํา อยา งรอบคอบวา ไมไดชี้แนะคําตอบอยา งเดนชัด
วลี ตวั เลข หรือสัญลักษณ ในคอลัมนซา ยแตล ะ
ขอ จากนนั้ กจ็ ะพจิ ารณาดูวามีความเกีย่ วของ 4) ควรเพิ่มจํานวนรายการขอคําตอบ เพือ่ ลดโอกาสในการเดา
หรือสามารถจบั คไู ดก บั คํา วลี ตวั เลข หรอื 5) ชดุ ขอสอบจบั คชู ุดหน่งึ ๆ ควรกําหนดจาํ นวนรายการขอ ค าถาม
สญั ลักษณ ในคอลมั นข วา (คอลัมน A) ทอ่ี ยูทางซายมอื ใหเ หมาะสม ไมค วรมีนอยหรือมากเกนิ ไป
6) การเรยี งลําดับกอนหลังของรายการขอ คําตอบทอ่ี ยูทางขวามอื
ควรจดั เรียงใหส มเหตสุ มผลเพือ่ ความสะดวกในการคนหาคาํ ตอบ
7) รายขอคําถามและรายการขอ คําตอบท้ังหมดในชุดหน่ึง ๆ ของ
ขอ สอบจบั คแู ตละชดุ ควรจดั ใหอ ยูในกระดาษหนา เดยี วกนั

17

| OAKRIDGE HOLDINGS

สรุปแบบทดสอบปรนัย
ชนิดจับคู่

ความหมายและลักษณะของแบบทดสอบปรนัย
ชนิดจับคู่

เปนแบบทดสอบปรนัยที่วางกลุม ของคํา วลี ตวั เลข หรือ
สญั ลกั ษณไวเปน 2 คอลัมน ไดแ ก คอลมั นซ าย เรียกวา กลุม ขอ
คาํ ถาม และคอลัมนขวา เรยี กวา กลุม คาํ ตอบ จากนนั้ ก็จะ
พิจารณาความเกีย่ วของของทง้ั สองคอลัมน

หลักการหรือแนวทางในการสร้าง
แบบทดสอบปรนัยชนิดถูกผิด

คอลัมนข อ คาํ ถาม และคอลมั นคาํ ตอบ ควรเปน เรื่องราวหรือ
เนอ้ื หาเดียวกนั ซง่ึ หลกั การขอ นี้ถือวา มีความสาํ คัญมาก เขยี นคํา
ชีแ้ จงใหช ัดเจน ควรเพิม่ จํานวนรายการขอคาํ ตอบ เพอ่ื ลดโอกาส
ในการเดา ชุดขอสอบจับคชู ดุ หนึ่ง ๆ ท่ีอยทู างซายมอื ใหเ หมาะ
สม ไมค วรมนี อ ยหรือมากเกินไป และคําถามและรายการขอ คํา
ตอบทง้ั หมดใของขอสอบควรจัดใหอยูในกระดาษหนา เดยี วกัน

18

Week 7

แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคาํ และชนิดตอบแบบส้ัน

19

แ บ บ ท ด ส อ บ ป ร นั ย ช นิ ด เ ติ ม คํา แ ล ะ
ชนิดตอบแบบสัน

COMPLETION TEST & SHORT ANSWER TEST

ความหมายและลักษณะของ หลักการหรือแนวทางการสร้างแบบทดสอบ
แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคํา ปรนัยชนิดเติมคํา

แบบทดสอบชนดิ เตมิ คํา (Completion test) เปน 1) ใหข อแนะนําในการตอบขอสอบอยางชัดเจน โดยระบุ
แบบทดสอบปรนัยชนดิ หน่ึงท่ีมุงใหผ ูเรียนคดิ หาคาํ ตอบ รายละเอยี ดของคําตอบวาควรเปนอยางไร
ดว ยตนเอง ซ่ึงอําจเปนคาํ วลี หรือประโยค แลวเขยี น
คําตอบนัน้ ลงในชอ งวางตอจากขอ ความทีไ่ ดเ ขยี น 2) เขียนประโยคขอ ความท่ีเปนขอ คําถามใหช ัดเจนและสมบูรณ
คา งไว เพอื่ ใหเปน ขอ ความที่ถกู ตองสมบูรณ เพยี งพอเพอื่ ใหม คี าํ ตอบท่ีถกู ตอ งเพียงคําตอบเดยี ว

ความหมายและลักษณะของ 3) ประโยคขอ ความทเ่ี ปน ขอ คาํ ถามควรสรา งข้นึ ใหม
แบบทดสอบปรนัยชนิดตอบแบบสัน 4) ควรเวน ชอ งวา งสาํ หรบั เตมิ คําตอบใหม คี วามยาวเพยี งพอ และถา
เปน ไปไดควรใหม ขี นาดของชอ งวางท่ีเทากันทกุ ขอ คถาม
5) ขอ คําถามควรเปน เร่ืองที่สาํ คญั ของบทเรยี น สอดคลอ งกบั
วตั ถปุ ระสงคข องการเรยี นรู

แบบทดสอบชนิดตอบแบบสั้น (Short answer หลักการหรือแนวทางการสรางแบบทดสอบ
test) เปน แบบทดสอบปรนัยชนิดหนงึ่ ทีม่ งุ ใหผ เู รียน ปรนัยชนิดตอบแบบสัน
ตอบขอ สอบซึ่งอยูในรปู ของประโยคคาํ ถามหรอื
ประโยคคาํ สัง่ โดยการเขยี นคําตอบขึน้ มาเองสั้น ๆ 1) ใหขอ แนะนาํ ในการตอบขอ สอบอยางชดั เจน โดยระบรุ าย
กระชับ ตรงตามความเปน จรงิ หรืออยใู นขอบเขตคํา ละเอยี ดของคําตอบวาควรเปน อยา งไร
ตอบทข่ี อสอบกําหนด
2) เขียนขอคําถามใหช ัดเจนในรปู ของประโยคคําถาม หรอื ประโยค
คําสง่ั

3) ขอ คําถามควรใหมีคําตอบถูกตอ งเพียงคาํ ตอบเดียวเทาน้ัน
4) ผูสอนควรประยกุ ตขอคําถามใหวัดสติปญญาในระดบั สูงกวา
ความรูความจาํ ดว ย

20

| OAKRIDGE HOLDINGS

สรุปแบบทดสอบปรนัย
ชนิดเติมคําและชนิด
ตอบแบบสัน

แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคํา

เปน แบบทดสอบทใ่ี หเขียนคําตอบนั้นลงในชองวา งตอ จาก
ขอความที่ไดเขยี นคา งไว เพ่อื ใหเปน ขอความท่ถี กู ตอ งสมบรู ณ มี
หลกั การหรือแนวทางการสรา ง คอื เขียนประโยคที่เปน ขอ
คาํ ถามใหช ัดเจนเพยี งพอเพ่ือใหมคี ําตอบที่ถูกตอ งคําตอบเดยี ว
เวน ชอ งวา งสาํ หรบั เติมคําตอบใหมีความยาวเพียงพอ และขอ
คําถามสอดคลองกับวตั ถุประสงคข องการเรียนรู

แบบทดสอบปรนัยชนิดตอบแบบสัน

เปนแบบทดสอบซึง่ อยูในรูปของประโยคคาํ ถามหรอื ประโยค
คาํ สงั่ โดยการเขียนคําตอบขึ้นมาเองสั้น ๆ และกระชบั มหี ลัก
การหรือแนวทางการสรา ง คือ เขียนคําถามใหชดั เจนในรูปของ
ประโยคคําถาม หรอื คาํ ส่ังขอ คาํ ถามควรใหม คี ําตอบถูกตองเพียง
คาํ ตอบเดียวเทา นั้นและควรประยกุ ตขอคาํ ถามใหว ดั สติปญ ญา
ในระดับสงู กวาความรูความจํา

21

Week 8

แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ

22

แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ

(MULTIPLE CHOICE TEST)

ความหมายและลักษณะของ หลักการหรือแนวทางการสรางแบบทดสอบปรนัย
แบบทดสอบปรนัย ชนิดเลือกตอบ
ชนิดเลือกตอบ
1) ควรเขยี นขอคาํ ถามใหชดั เจน กระชับ รดั กุม
แบบทดสอบชนิดเลือกตอบ (Multiple 2) ขอ สอบแตล ะขอ ควรมจี าํ นวนตัวเลอื กอยใู นชวง 3 ถงึ 5 ตัวเลือก
choice test) เปน แบบทดสอบทม่ี กี ารกาํ หนดคาํ 3) นยิ มเขยี นคําถามใหมีรายละเอียดเน้ือหาไวอยา งชดั เจนอยแู ลว
ตอบไวหลายตวั เลือกในขอสอบแตล ะขอ สาํ หรบั ดังน้ันสวนตวั เลือกควรเขียนใหกระชบั
ใหผูเรียนไดเ ลอื กตอบตามตอ งการ ซ่งึ ขอ สอบ 4) หลกี เลี่ยงการใชขอความทีค่ ดั ลอกจากหนังสือหรือตําราเรยี น
แตละขอ จะประกอบดว ย 2 สว น ไดแก 1) สว น 5) ขอ คาํ ถามประเภทใหเ ลือกคาํ ตอบทดี่ ีท่ีสดุ (Best answers)
ของคาํ ถามนาํ (Stem) ซง่ึ สามารถเขยี นได 2 รปู เปน ขอคาํ ถามทม่ี ีประโยชนม ากสาํ หรบั กาํ รวัดกระบวนการคิดข้นั สงู
แบบ คอื เขยี นเปน คาํ ถามโดยตรง (Direct- 6) หลกี เลย่ี งการสรา งขอคาํ ถามที่เปนเชงิ ลบหรือปฏิเสธ
question format) กับเขยี นเปน ประโยคหรือ 7) ตอ งแนใ จวา ขอสอบขอหนง่ึ ๆ มตี วั เลือกซงึ่ เปนคําตอบทถี่ ูกตอง
ขอความท่ไี มส มบรู ณ (Incomplete-sentence เพยี งตวั เลือกเดียว
format) และ 2) สว นของตวั เลอื ก 8) หลีกเล่ยี งการใชคํา หรือสัญลักษณใด ๆ ที่เปน การชแี้ นะคําตอบ
(Alternatives) หรือคําตอบท้งั หมดทีก่ ําหนดให 9) ตอ งมั่นใจวาตัวเลือกท้งั หมดมีความถกู ตองตามหลกั ไวยากรณ
เปน ทางเลอื กในการตอบคาํ ถามขอ นั้น ๆ มี 2 10) ตอ งม่ันใจวา ไมมีขอสอบขอ ใดไปเปดเผยคําตอบคาํ ถามขอ อน่ื ๆ
ชนดิ คือ ตัวเลือกทเี่ ปน คาํ ตอบถูกและตวั เลอื กท่ี 11) ขอ สอบแตล ะขอ “ตวั ลวง” ควรเปนตวั ลวงทด่ี ีมปี ระสทิ ธภิ าพ
เปนคําตอบผิดหรอื ตัวลวง 12) ตาํ แหนง ตวั เลอื กท่ีถูกตอ งของขอ สอบจากขอ 1 ถงึ ขอสดุ ทาย
จะตอ งเปนไปอยางสมุ
13) หลกี เลย่ี งตัวเลอื กท่เี ปน “ผดิ ทกุ ขอ ” หรือ “ถูกทกุ ขอ”
14) ถาไมตองการวดั ความสามารถในการอานควรหลกี เล่ียงการใชค าํ ท่ี
คลุมเครือ
15) หลีกเลย่ี งการใชค าํ ขยายบางคําทีไ่ มเหมาะสมในตัวเลอื ก
16) ควรวางแผนอยางรอบคอบเกี่ยวกบั ความเหมาะสมของแบบ
ทดสอบทัง้ ฉบบั ในประเด็นตา ง ๆ เชน ความสอดคลอ งและครอบคลมุ กับ
เนือ้ หาและจุดประสงคก ารเรยี นรูท ี่ตอ งการวัด

23

| OAKRIDGE HOLDINGS

แบบทดสอบปรนัย
ชนิดเลือกตอบ

ความหมายและลักษณะของแบบทดสอบปรนัย
ชนิดเลือกตอบ

เปนแบบทดสอบทีม่ กี ารกําหนดคาํ ตอบไวหลายตวั เลือกใน
ขอ สอบแตละขอ สําหรบั ใหผเู รียนไดเ ลอื กตอบตามตองการ

หลักการหรือแนวทางการสรางแบบทดสอบปรนัย
ชนิดเลือกตอบ

ขอสอบแตละขอ ควรมจี าํ นวนตวั เลอื กอยใู นชวง 3 ถงึ 5 ตัว
เลอื ก ตัวเลอื กควรเขียนใหกระชบั หลีกเล่ยี งการสรางขอ คําถาม
ท่เี ปน เชิงลบหรอื ปฏิเสธ มคี ําตอบท่ถี ูกตอ งเพยี งตวั เลอื กเดียว
“ตวั ลวง” ควรเปนตวั ลวงทีด่ มี ปี ระสิทธภิ าพ หลกี เลย่ี งตัวเลอื กท่ี
เปน “ผิดทกุ ขอ ” หรือ “ถูกทุกขอ ” ถาไมต อ งการวดั ความ
สามารถในการอานควรหลีกเล่ียงการใชคําทคี่ ลมุ เครอื ควร
วางแผนอยางรอบคอบเกยี่ วกับความเหมาะสมของแบบทดสอบ
ทั้งฉบับในประเด็นตาง ๆ

24

Week 9

การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบ

25

การตรวจสอบคณุ ภาพของ
แบบทดสอบ

เกณฑห รือคุณลักษณะใชป ระเมนิ คณุ ภาพของแบบ 4. อํานาจาํ แนกรายขอ้
ทดสอบมหี ลายประการ ในท่ีนจ้ี ะขอกลา วเฉพาะสําคญั ๆ
5 ประการ ก ร ณี แ บ บ ท ด ส อ บ อิ ง ก ลุ่ ม
1) กรณีให้คะแนนเปน 0 กับ 1
1. ความเทียงตรง
2) กรณีให้คะแนนไม่ใช่ 0 กับ 1
ความเที่ยงตรงของเครื่องมือวดั ผล หมายถึงระดบั คณุ ภาพ ก ร ณี แ บ บ ท ด ส อ บ อิ ง เ ก ณ ฑ์
ของเครือ่ งมอื วดั ผลท่บี ง บอกวา ขอมลู ท่ีไดจากการวดั ตวั แปร
คุณลกั ษณะหรอื สิง่ ทีต่ อ งการวดั ดวยเครอื่ งมอื นนั้ ๆ มีความถูก 5. ความเชือมันของแบบทดสอบ
ตองหรือไม เพยี งใด”
ก ร ณี แ บ บ ท ด ส อ บ อิ ง ก ลุ่ ม
2. ความเปนปรนัย 1) กรณีให้คะแนนเปน 0 กับ 1

บง บอกวาแบบทดสอบชดุ นั้นมคี วามชดั แจง ในการเขียนคาํ 2) กรณีให้คะแนนไม่ใช่ 0 กับ 1
ช้แี จงและขอคeถามแตละขอ รวมถงึ ตวั เลือกตาง ๆ
ก ร ณี แ บ บ ท ด ส อ บ อิ ง เ ก ณ ฑ์
3. ความยากรายข้อ

1) กรณีทีให้คะแนนเปน 0 กับ 1

2) กรณีทีการให้คะแนนไม่ใช่ 0 กับ 1

การวิเคราะห “ดชั นีความยากรายขอ (Item difficulty ความเชอ่ื ม่ันของแบบทดสอบประเภทองิ เกณฑ มกี ารแปล
index)” สัญลกั ษณท่ใี ชคือ “p” ซง่ึ การหาดชั นีความยากราย ความหมายระดบั ความเชอื่ ม่นั ของแบบทดสอบเหมอื นกันทุก
ขอน้ี นิยมใชเฉพาะทเี่ ปน แบบทดสอบอิงกลุม (Norm- ประการกบั แบบทดสอบประเภทองิ กลมุ
reference test)

CONTACT +90 887 345 • [email protected] • LOS ANGELES, CALIFORNIA

26

| OAKRIDGE HOLDINGS สรุปการตรวจสอบ
คุณภาพของแบบทดสอบ
2. ความเปนปรนัย
เกณฑห รือคุณลกั ษณะใชประเมนิ คุณภาพของแบบทดสอบมี
หลายประการทส่ี ําคญั ๆ ไดแ ก

1. ความเทียงตรง

เปนคณุ ลักษณะของเครือ่ งมือที่สามารถวัดในสง่ิ ท่ีตอ งการวัด
ไดถ ูกตอ ง แมน ยําไมผดิ พลาด

2. ความเปนปรนัย

บง บอกวาแบบทดสอบชดุ นน้ั มคี วามชัดแจงในการเขียนคํา
ช้ีแจงและขอคeถามแตล ะขอ รวมถงึ ตวั เลือกตาง ๆ

3. ความยากรายข้อ

นยิ มใชเ ฉพาะทเี่ ปน แบบทดสอบองิ กลมุ (Norm-reference
test)

4. อํานาจจาํ แนกรายข้อ

เปน การตรวจสอบดวู าขอ คําถามแตละขอ ในแบบทดสอบน้ัน
ๆ สามารถแยกเดก็ เกง – ออน ออกจากกนั ไดหรือไม

5. ความเชือมันของแบบทดสอบ

แสดงใหร วู าคาของคะแนนทเี่ ปนผลมาจากการวดั ดว ยเครอ่ื ง
มือและวธิ ีการวัดประเมนิ ทมี่ คี วามคงตัว หรือไมเพียงใด

27

Week 10

การวิเคราะหขอสอบดวย SPSS

28

การวิเคราะห์ ข้อสอบด้ วย SPSS

ก า ร ส ร้ า ง ไ ฟ ์ล ข้ อ ูม ล คี ย์ ข้ อ มู ล ส ร้ า ง ตั ว แ ป ร บั น ทึ ก ไ ฟ ล์

ก า ร ห า ่ค า I . O . C . รายขอ ก า ร ห า ่ค า ค ว า ม ย า ก ่ง า ย รายขอ
1. เลอื ก Analyze 1. เลอื ก Analyze
PROFILE 2. เลือก Descriptive Statistics 2. เลือก Descriptive Statistics
3. คลิกที่ descriptive 3. คลกิ ที่ descriptive
P R O F E S S I O NกAาLรSหK IาL ่คL Sา ค ว า ม เ ชื อ มั น 4. คลิกเลือกขอ มลู มาไวที่ดานขวามอื ก า ร ห า ่ค า ํอา น า จ จํา แ น ก 4. คลกิ เลือกขอมูลมาไวทด่ี านขวามอื
5. คลิก OK 5. คลิก OK
6. อา นคา I.O.C. ทีค่ า Mean 6. อานคา ความยากงาย ท่คี า Mean
7. ถาคา Mean 0.50 – 1.00 ถอื วา ขอ สอบ/ 7. ถาคา Mean 0.20 – 0.80 ถือวา ขอสอบ/

แบบทดสอบขอ น้นั ยอมรับได แบบทดสอบ ขอน้นั ใชไ ด ยอมรบั ได
รายฉบบั รายขอ
1. เลือก Analyze 1. เลือก Analyze
2. เลอื ก Scale 2. เลอื ก Scale
3. คลกิ ท่ี Reliability 3. คลิกท่ี Reliability
4. คลิกเลอื กขอ มูลมาไวทดี่ านขวามอื 4. คลิกเลือกขอ มลู มาไวท่ีดานขวามอื
5. เลอื ก Item, Scale, Scale if Item deleted 5. เลอื ก Item, Scale, Scale if Item deleted
6. เลอื ก Continue 6. เลือก Continue
7. คลกิ OK 7. คลกิ OK
8. อานคาความเชือ่ มั่น 0.7 ขึน้ ไป ถอื วามี 8. อานคาความเช่ือมน่ั correlation
9. คา ความเช่ือมน่ั ตองไมตา่ํ กวา 0.20 – 1
คาความเชอื่ มนั่

29

| OAKRIDGE HOLDINGS

สรุปการวิเคราะห์
ข้อสอบด้วย SPSS

ในอดตี การตรวจและวเิ คราะหข อ สอบใชว ิธีการทํา ดวยมอื
ซงึ่ ทาํ ใหเสยี เวลาในการวิเคราะหเ ปน อยางมากใน แตป จ จุบันมี
โปรแกรมคอมพวิ เตอรชวยในการวเิ คราะหท าํ ใหม คี วามสะดวก
มากขึ้น เชน การวิเคราะหขอสอบผา นโปรแกรมคอมพวิ เตอร
SPSS ซึ่งสามารถเขาถงึ การใชง าน ทส่ี ะดวก และคาํ นวณท่ีอยาง
รวดเร็ว และแมนยํา เหมาะกบั การวิเตราะหขอมูลหรอื ขอ สอบ
ตาง ๆ ข้ันสงู ทม่ี คี วามซบั ซอ น โดยสามารถวเิ คราะหหาไดห ลาก
หลายคา เชน ความยากรายขอ อาํ นาจจําแนก หรอื คาความเช่อื
มัน่ เปน ตน

30

Week 11

การออกแบบหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน
โดยใชกระบวนการออกแบบยอนกลับ

31

การออกแบบหนว่ ยการ
เรยี นรูอ้ ิงมาตรฐาน
โดยใชก้ ระบวนการ
ออกแบบยอ้ นกลับ

ความหมายของการ “การออกแบบหนวยการเรียนรอู งิ มาตรฐาน” เปน การวางแผนและ
อ อ ก แ บ บ ห น่ ว ย ก า ร จัดทาํ หนว ยการเรยี นรู ซึ่งเปน สาระการเรียนรูย อ ยของรายวชิ า โดยมี
เ รี ย น รู้ อิ ง ม า ต ร ฐ า น “มาตรฐานการเรยี นรูและตัวช้ีวัด” เปน เปาหมายสําคญั ของการเรยี นรู ซ่งึ
ในการออกแบบจะตองมกี ารวเิ คราะหเชอ่ื มโยงมาตรฐานและตวั ชี้วดั
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง สาระการเรียนรู วิธกี ารจดั การเรียนการสอน วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผล
ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ การเรียนรู อยางสมั พันธกนั
อิ ง ม า ต ร ฐ า น โ ด ย ใ ช้
กระบวนการออกแบบ (1) ชอื่ หนว ยการเรียนรู
(2) มาตรฐานและตัวชี้วัด (ในรายวิชาพื้นฐาน) หรือผลการเรียนรู
ย้ อ น ก ลั บ
(ในวิชาเพิ่มเติม)
ขันตอนการออกแบบ (3) สาระสาํ คัญ (ความคิดรวบยอด) ประจาํ หนวยการเรยี นรู
ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ (4) สาระการเรยี นรู (องคความรู ทักษะ และคานิยมท่ีผเู รยี นควรเรยี นรู
อิ ง ม า ต ร ฐ า น (5) ช้ินงานหรอื ภาระงานทีใ่ หผ เู รยี นปฏิบตั ิ
(6) วิธีการวดั และประเมินผลการเรียนรู
โดยใช้กระบวนการ (7) กิจกรรมการเรียนรูห รือวธิ ีการจัดการเรียนการสอน
อ อ ก แ บ บ ย้ อ น ก ลั บ (8) เวลาเรยี น และน้าํ หนักคะแนนประจาํ หนว ยการเรยี นรู

ขัน้ ตอนท่ี 1 ระบผุ ลลพั ธท่ีตอ งการ หรอื ขนั้ กาํ หนดเปาหมาย
ข้นั ตอนที่ 2 กําหนดหลักฐานการเรยี นรูท ี่ยอมรับได
ข้นั ตอนที่ 3 วางแผนการจดั ประสบการณก ารเรยี นรหู รอื

การเรียนการสอน

32

| OAKRIDGE HOLDINGS การออกแบบหน่วย
การเรียนรู้อิงมาตรฐาน
2. ความเปนปรนัย
โดยใช้กระบวนการ
ออกแบบย้อนกลับ

“การออกแบบหนว ยการเรยี นรอู ิงมาตรฐาน” เปนการ
วางแผนและจัดทาํ หนว ยการเรียนรู ซึ่งเปน สาระการเรยี นรูยอย
ของรายวิชา โดยมี “มาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวช้วี ดั ” เปน เปา
หมายสาํ คญั ซ่ึงมีข้ันตอนทสี่ าํ คญั ไดแ ก ข้นั ตอนท่ี 1 ระบุ
ผลลัพธท ่ีตองการ หรือข้นั กําหนดเปาหมาย ขัน้ ตอนท่ี 2 กาํ หนด
หลกั ฐานการเรยี นรทู ่ียอมรบั ได และขน้ั ตอนที่ 3 วางแผนการจัด
ประสบการณการเรียนรหู รอื การเรียนการสอน

ซง่ึ การออกแบบหนว ยการเรียนรอู งิ มาตรฐานนี้ จัดวา เปน
ขั้นตอนสาํ คญั ทีส่ ุดในการจัดทําหลกั สูตรสถานศึกษาในแบบ
หลกั สตู รอิงมาตรฐาน เพราะเปน สวนทจี่ ะนํามาตรฐานการ
เรยี นรไู ปสกู ารปฏบิ ตั ใิ นการเรียนการสอนอยางแทจริง

33

Week 12

การประเมินจากการส่ือสารระหวางบุคคล

34

การประเมินจากการ วิธีการหลากหลายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
สื อ ส า ร ร ะ ห ว่ า ง บุ ค ค ล จากการสือสารระหว่างบุคคล

ความรู้เบืองต้นเกียวกับการสือสาร 1. วธิ ีการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูจ ากการ
ระหว่างบุคคล ถามตอบในชน้ั เรยี น

“การสอื่ สารระหวา งบุคคล (Interpersonal 2. วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูจากการพบปะ
Communication)” เปน กระบวนการของการติดตอ พูดคุยกับผเู รียน
สอื่ สาร หรือการแสดงปฏกิ ิริยาโตต อบระหวางบุคคล
สองคนหรอื มากกวานน้ั ข้ึนไป 3. วิธกี ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรจู ากการพูดคยุ
กบั ผูท เี่ กย่ี วของกับผเู รยี น
องคป ระกอบของการสื่อสารระหวางบุคคล
มี 4 องคป ระกอบ ไดแก 4. วิธีการวดั และประเมินผลการเรยี นรูจากการอภิ
ปรายในชั้นเรียน
1. ผสู ง สาร
2. สาร 5. วิธีการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูจ ากการสอบ
3. ส่อื หรือชองทาง ปากเปลา
4. ผรู ับสาร
6. วธิ ีการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรจู ากการบันทึก
ความหมายของการวัดและประเมินผลการ เหตกุ ารณข องผเู รยี น
เรียนรู้จากการสือสารระหว่างบุคคล
7. วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลการเรียนรจู ากการตรวจ
หมายถงึ กระบวนการเก็บรวบรวม วเิ คราะห การบา นหรือแบบฝกหดั ประจาํ วนั
ตีความบันทึกขอมูลที่ไดจ ากการติดตอ ส่อื สาร หรอื การ
แสดงปฏิกิรยิ าโตตอบระหวางผูส อนกับผูเรยี นหรอื ผูที่
เกีย่ วของ

35

| OAKRIDGE HOLDINGS

การประเมินจาก
การสือสาร
ระหว่างบุคคล

“การส่อื สารระหวา งบคุ คล" เปนกระบวนการของการตดิ ตอ
สื่อสาร หรือการแสดงปฏกิ ิรยิ าโตต อบระหวา งบคุ คลสองคนหรอื
มากกวานนั้ ข้นึ ไป มกี ระบวนการเกบ็ รวบรวม วเิ คราะห ตคี วาม
บนั ทกึ ขอ มลู ทไ่ี ดจากการตดิ ตอ สือ่ สาร หรอื การแสดงปฏกิ ริ ิยา
โตตอบระหวางผสู อนกบั ผูเรยี นหรือผูทเ่ี ก่ียวของ ซง่ึ สามารถวัด
ดวยงธิ ีการทหี่ ลากหลาย ไดแ ก จากการถามตอบในชั้นเรียน
จากการพบปะพดู คุยกบั ผูเ รียน จากการพูดคุยกับผูท่ีเกย่ี วขอ ง
กบั ผเู รยี น จากการอภิปรายในชัน้ เรยี น จากการสอบปากเปลา
จากการบันทกึ เหตกุ ารณของผเู รียน และจากการตรวจการบา น
หรอื แบบฝกหัดประจําวนั

36

Week 13

การประเมินจากการปฏิบัติ

37

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ขันตอนการประเมินการปฏิบัติ

แนวคิดและความหมายของการประเมิน ขั้นที่ 1 กาํ หนดจุดมงุ หมายของการประเมนิ การปฏบิ ตั ิ
การปฏิบัติ ข้นั ที่ 2 กําหนดรายการทกั ษะ ความสามารถ ความรู
และการประยุกตใชรวมถึงคณุ ลกั ษณะตาง ๆ ท่คี าดหวังให
หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวมขอมลู เกี่ยวกับ ผูเรียนไดเ รยี นรูหรือทตี่ องการวัดและประเมินผล
พฤตกิ รรมการเรยี นรขู องผเู รยี น ผานการลงมือ ข้ันท่ี 3 ออกแบบงานหรือภาระงานใหผ ูเรยี นปฏบิ ตั ิ
ปฏบิ ตั จิ รงิ ตามภาระงานท่ีผูสอนไดอ อกแบบไว แลว น า ขน้ั ที่ 4 พฒั นาเกณฑเมินการปฏบิ ัติงานแตละงาน
ขอมูลท่ีไดม าวิเคราะหใหไ ดส ารสนเทศสําหรบั พฒั นา ขัน้ ที่ 5 เลือกวิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ มลู และเครอื่ งมือทใ่ี ช
ผูเรียน หรือตดั สนิ คณุ ภาพการเรยี นรู ขั้นที่ 6 ทาํ ใบงานเพอื่ ช้ีแจงการปฏิบัติงานอยางชัดเจน
ขั้นท่ี 7 วางแผนและดําเนนิ การลดความคลาดเคลอื่ น
ลักษณะสาํ คัญของการประเมินการปฏิบัติ ในการใหคะแนนหรือประเมนิ การปฏบิ ตั ิงานของผูเรยี น

1. การประเมินการปฏบิ ตั ิ ตอ งมี “ภาระงาน” จุ ด แ ข็ง
2. การประเมนิ การปฏบิ ตั ิ สามารถประเมิน
พฤตกิ รรมการเรยี นรไู ดท ัง้ ทเี่ ปน 1) ทกั ษะพิสัย 2) 1.1 วดั ความสามารถท่ีไมอ าจวดั โดยวิธอี นื่ ได
ทักษะทางสมอง 3) คณุ ลักษณะนสิ ัยในการทาํ งาน 1.2 เหมาะกับทฤษฎกี ารเรยี นรูรวมสมยั
3. สามารถประเมินไดจ าก “กระบวนการปฏบิ ัติ 1.3 สงผลใหก ารจัดการเรียนการสอนไดดีกวาการใชวธิ ีการ
งาน (Process)” และ/หรอื “ผลงาน (Product)” ทดสอบเพยี งอยา งเดียว
4. มีจดุ มงุ หมาย คอื 1) การวัดและประเมนิ ผล 1.4 สามารถประเมนิ ไดทง้ั กระบวนการ และผลผลติ หรือผลงาน
เพื่อพัฒนาการเรยี นรูของผเู รียน และ 2) การวัด 1.5 ขยายวิธีการวัดประเมนิ ผลของผูเรยี นใหมีความหลากหลาย
และประเมนิ ผลเพอ่ื ตดั สินผลการเรยี น
5. การประเมนิ การปฏบิ ัติมักมีความเปน อัตนยั จุ ด อ่ อ น
6. หากเนนการประเมนิ “กระบวนการปฏบิ ัติ
งาน (Process)” ผูสอนจะตอ งเฝาสังเกตดวู า 1.1 การใหค ะแนนใหม คี วามเช่ือมัน่ คอ นขางทําไดย าก
สามารถท่ีจะดําเนนิ การปฏิบัตงิ านทีก่ ําหนดไดหรอื 1.2 มีขอจํากดั ในการเลอื กเนื้อหาทนี่ ํามากําหนดเปน ภาระงาน
ไม สว นการประเมนิ ท่ีเนน เฉพาะชิ้นงาน 1.3 คอ นขา งใชเวลานานและยากในการพัฒนาใหส มบรู ณ
(Product) อาจไมจ ําเปนตอ งเฝา ดอู ยา งจรงิ จัง 1.4 มขี อ จาํ กดั เก่ยี วกับปจ จัยตา ง ๆ ที่เกี่ยวขอ งกบั การประเมิน

38

| OAKRIDGE HOLDINGS

การประเมิน
การปฏิบัติ

หมายถงึ กระบวนการเก็บรวบรวมขอ มูลเกยี่ วกับพฤตกิ รรม
การเรียนรูของผูเ รยี น ผานการลงมอื ปฏิบัตจิ รงิ ตามภาระงาน
ทผี่ สู อนไดออกแบบไว แลว นาํ ขอมลู ทไ่ี ดมาวิเคราะหใ หได
สารสนเทศสาํ หรับพฒั นาผเู รียน หรอื ตดั สินคุณภาพการเรยี นรู

มลี กั ษณะสาํ คัญ คือ ตอ งมี “ภาระงาน” สามารถประเมนิ
พฤตกิ รรมการเรียนรไู ดหลากหลาย สามารถประเมินไดจาก
กระบวนการปฏิบัติงาน และผลงาน มีจดุ มงุ หมาย คอื เพือ่
พฒั นาการเรยี นรูข องผเู รยี น และเพอื่ ตดั สนิ ผลการเรยี น มีจุดแขง็
คือ วัดความสามารถทไ่ี มอาจวัดโดยวธิ อี ่ืนได เหมาะกบั ทฤษฎีการ
เรยี นรูรวมสมัย ดกี วา การใชวิธีการทดสอบเพยี งอยา งเดยี ว
ประเมนิ ไดทงั้ กระบวนการ และผลผลิตหรือผลงาน สวนจดุ ออ น
คือ การใหคะแนนใหมีความเชอ่ื มั่นคอ นขางทาํ ไดยาก มีขอจํากัด
ในการเลือกเนื้อหา ใชเ วลานานและยากในการพัฒนาใหส มบูรณ
และมขี อจาํ กัดเก่ยี วกับปจจยั ตา ง ๆ มากมาย

39

Week 14

การประเมินตามสภาพจริง

40

การประเมนิ ลักษณะสาํ คัญของการประเมินตามสภาพจริง
ตามสภาพจรงิ
1. จะมุงประเมินความสามารถของผูเรียนแบบองครวม
ในชนั เรยี น 2. ผูเรียนตองไดใชทักษะการคิดขั้นสูง และการประยุกตใชความรู
3. เนนการประเมินที่ใหผูเรียนไดตอบสนองหรือแสดงออกอยางหลากหลาย
1. แนวคิดเกียวกับการ 4. เปนการวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง
ประเมินตามสภาพจริง 5. มีการใหผูเรียนประเมินผลงานตนเอง ซ่ึงชวยใหมองเห็นจุดออน จุดแข็งของตนเอง
1. การประเมนิ ความสามารถของผเู รยี นแบบองค 6. มีการใชเครื่องมือและวิธีการหลากหลายอยางตอเนื่องตลอดชวงระยะเวลาหน่ึง
รวม 7. เปนการประเมินแบบอิงเกณฑ
2. การทีผ่ ูเรยี นไดตอบสนองหรอื แสดงออกอยาง 8. สามารถดําเนินการควบคูไปกับการเรียนการสอนปกติท้ังในและนอกหองเรียน
หลากหลาย 9. ไดผลสัมฤทธ์ิของผูเรียนที่ตรงตามสภาพการเรียนรูท่ีแทจริงของผูเรียน
3. ผลการประเมินสิง่ ท่ีผูเรยี นไดเรยี นรมู คี วามถูก 10. ใชการประเมินในแงของ “Assessment”
ตองแมน ยาํ และเปน สว นหนึ่งของการจดั การเรยี น 11. ยังมีขอจาํ กัด บางอยาง อาทิ 1) อาจใชไดไมเหมาะสมกับทุกกรณี 2) การใหความ
การสอนที่ นาเช่ือถือ การไดรับการยอมรับโดยท่ัวไปยังนอย 3) การต้ังความคาดหวังที่อาจสูงเกินไป
4. เนน ผูเรยี นเปน สําคญั 12. การประเมินแบบดั้งเดิมยังคงใชรวมกับการประเมินตามสภาพจริงได ขึ้นอยูกับ
5. การใชวิธีการและเคร่ืองมือทีห่ ลากหลาย สถานการณและผลลัพธที่คาดหวังใหเกิดกับผูเรียน

2. ความหมายของการ ข้ อ แ ต ก ต่ า ง ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ป ร ะ เ มิ น ก า ร ป ฏิ บั ติ
ประเมินสภาพจริงในชันเรียน กั บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต า ม ส ภ า พ จ ริ ง
หมายถึง กระบวนการวัดและประเมิน
ศักยภาพของผูเรียนแบบองครวมท้ังดาน “การประเมนิ การปฏิบัติ” จะมงุ ตรวจสอบการตอบสนองของผูเรียน ในขณะท่ี
พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัย ผานการ “การประเมนิ ตามสภาพจริง” ใหความสนใจบริบทส่ิงแวดลอมทีเ่ กีย่ วขอ งกับการตอบสนอง
ลงมือปฏิบัติงานที่สอดคลองกับชีวิตจริงและมี นั้น MEYER กลา ววา “ไมใชท้งั หมดของการประเมนิ การปฏบิ ัตจิ ะเปนการประเมนิ ตามสภาพ
ความหมายตอผูเรียน จรงิ แตม ันเปน การยากทีจ่ ะบอกวา การประเมินสภาพจริงสถานการณใดสถานการณห นึ่งไม
เปน การประเมินการปฏบิ ัต”ิ

แนวทางการประเมินตามสภาพจริงในการจัด
การเรียนการสอน

การประเมนิ ตามสภาพจรงิ มักใชค วบคูไปกบั การจดั การเรียนการสอนท่ีเนน ให
ผูเรียนเกดิ การเรยี นรูท ีแ่ ทจริงหรือเกิดการเรยี นรตู ามสภาพจริง (Authentic learning)
โดยที่ การเรียนตามสภาพจรงิ น้ี Steve Revington ไดนยิ ามวา เปน การเรยี นรูใ น
ชวี ติ จริง (Real life learning) และเปนรูปแบบการเรยี นรทู ่สี งเสริมใหผ ูเรยี นสรา งผลผลติ
หรอื ผลงานทเ่ี ปนรูปธรรม มีประโยชนและมคี วามหมายตอชวี ิตจริงของพวกเขา โดยงานท่ี
ผเู รยี นไดล งมือปฏบิ ัตินัน้ ตอ งเปน งานในชีวติ จรงิ (Real life tasks) หรอื จาํ ลองคลายชวี ติ จรงิ

ขันตอนการประเมินตามสภาพจริง

1. กาํ หนดงานหรอื ภาระงาน (สิง่ ท่มี งุ ประเมนิ ) 41
2. กําหนดขอบเขตของสิ่งประเมินใหช ัดเจน
3. กําหนดวัตถุประสงคและเปา หมายขอการประเมนิ
4. กําหนดผปู ระเมนิ
5. เลอื กวิธกี ารและเครื่องมอื ท่ใี ชในการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู
6. กาํ หนดเกณฑในการประเมินการปฏบิ ัติงาน
7. จดั ทาํ เอกสารใบงานอยางชดั เจน
8. ดาํ เนนิ กิจกรรมตา ง ๆ ตามภาระงานที่มอบหมาย
9. กาํ กับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และใหค ําแนะนําระหวางดําเนินกจิ กรรมตาง ๆ
10. ประเมินสรุปรวบยอดเกีย่ วกบั การปฏิบัตภิ าระงานท่ีมอบหมาย

| OAKRIDGE HOLDINGS

การประเมิน
ตามสภาพจริง
ในชันเรียน

หมายถึง กระบวนการวัดและประเมินศักยภาพของผูเรียน
แบบองครวมท้ังผานการลงมือปฏิบัติงานท่ีสอดคลองกับชีวิต
จริงและมีความหมายตอผูเรียน

การประเมินตามสภาพจริง มักใชค วบคูไปกับการจดั การเรียน
การสอนท่เี นน ใหผเู รยี นเกดิ การเรียนรูท ีแ่ ทจริงหรอื เกดิ การเรียนรู
ตามสภาพจรงิ และการประเมินตามสภาพจริงทุกอยา งไมใ ชจ ะ
เปน การประเมินปฏบิ ตั ิ เพราะการประเมนิ ตามสภาพจริงจะตอง
สอดคลองและมคี วามหมายตอ ผเู รยี น โดยมขี นั้ ตอน เชน กาํ หนด
งานหรือภาระงาน กําหนดขอบเขตของส่ิงประเมนิ ใหช ัดเจน
กําหนดวัตถุประสงคและเปา หมายขอการประเมนิ กําหนดผู
ประเมนิ เลือกวิธีการและเครอ่ื งมือทใี่ ชใ นการวดั และประเมนิ ผล
การเรียนรู และกําหนดเกณฑในการประเมนิ การปฏบิ ัติงาน

42

Week 15

การใชรูบริกสในการวัดและประเมินผลการเรียนรู

43


Click to View FlipBook Version