The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บันทึกการเรียนรู้ นางสาวอทิตยา อนุสนธิ์ 130

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by atitaya.an62, 2021-05-07 11:21:11

บันทึกการเรียนรู้ อทิตยา 130

บันทึกการเรียนรู้ นางสาวอทิตยา อนุสนธิ์ 130

การใช้รูบริกส์ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ความหมายของรู บริกส์ การแบ่งประเภทของรู บริกส์

Rubrics เปน ชดุ ของเกณฑหรือมาตรฐานทอ่ี อกแบบ 1. Holistic rubrics และ Analytic rubrics
อยา งสอดคลองกับเปาหมายการเรียนรู สําหรบั ใชเปน
แนวทางในการใหคะแนนคุณภาพการปฏิบัตงิ านของ Holistic rubrics
ผูเ รยี น ทง้ั ในสวนท่ีเปนผลการปฏิบตั ิ (Performance)
และ/หรือผลผลิต (Product) ทเี่ กดิ ขึน้ รวมถึงพฤตกิ รรม เปน Rubrics ทีถ่ กู สรา งขน้ึ สําหรับใหคะแนนการปฏิบตั ิงาน หรือ
การทeงาน ผลผลติ จากการปฏิบตั ิงานของผเู รียนในภาพรวม

องค์ ประกอบของรู บริกส์ Analytic rubrics

Rubrics มี 3 องคประกอบ คือ เปน Rubrics ทสี่ รา งขนึ้ สําหรับใหค ะแนนการปฏบิ ตั ิงาน
องคป ระกอบท่ี 1 ประเด็นทีจ่ ะประเมนิ (เกณฑ) ในที่ หรือผลผลิตจากการปฏบิ ตั ิงานของผเู รียนแยกแยะตามประเด็นที่จะ
ประเมนิ
น้หี มายถงึ สง่ิ ทผ่ี ูส อนและผเู รียนรวมกันก าหนดขน้ึ
องคประกอบท่ี 2 ระดับความสามารถหรอื ระดับ 2. General rubrics และ Task specific rubrics

คุณภาพ ในทนี่ ีห้ มายถงึ จํานวนระดับคุณภาพของการ General rubrics
ปฏิบตั งิ านตามประเดน็ ที่จะประเมนิ
เปน Rubrics ท่สี รา งขน้ึ โดยใชเกณฑห รือประเด็นท่ีจะประเมนิ
องคประกอบท่ี 3 การบรรยายคุณภาพของแตล ะ กวาง ๆ เพื่อใหส ามารถใชในการประเมินการปฏิบตั งิ าน หรอื ผลผลติ
ระดับ ในทีน่ หี้ มายถงึ การเขยี นบรรยายหรอื พรรณนา จากการปฏบิ ัติงานของผูเรียนไดหลายงาน
รายละเอียดเพม่ิ เติมวา ระดับคณุ ภาพหรือคะแนนทีไ่ ด
ลดหลนั่ ลงไปจาก “ดมี าก” ไปจนถงึ “ปรับปรุง” นั้นมี Task specific rubrics
คณุ ภาพในแตล ะระดบั เปน อยางไร
เปน Rubrics ท่ีสรา งข้นึ โดยมเี ปาหมายเพอ่ื ประเมนิ เฉพาะงานใด
งานหน่งึ ทม่ี อบหมายใหผเู รียนปฏิบัติ เกณฑหรอื ประเดน็ ทจี่ ะ
ประเมินจะสามารถกําหนดไดอ ยา งชัดเจนและตรงกบั งานที่ปฏบิ ตั ิ

แ น ว ท า ง แ ล ะ ขัน ต อ น ก า ร ส ร้า ง รู บ ริก ส์

ขั้นที่ 1 กําหนดงานทต่ี องการประเมนิ
ขั้นท่ี 2 กําหนดประเภทของ Rubrics ที่ใชป ระเมินงาน
ข้ันที่ 3 กําหนดเกณฑหรือประเด็นท่จี ะประเมนิ
ขน้ั ท่ี 4 กําหนดจาํ นวนระดบั คุณภาพ
ขน้ั ท่ี 5 เขยี นบรรยายคณุ ภาพของแตล ะระดบั
ขั้นท่ี 6 ทดลองและฝก ใช Rubrics
ขั้นที่ 7 จัดทําเปน เครอ่ื งมือการใหค ะแนนทสี่ มบรู ณ

44

| OAKRIDGE HOLDINGS

การใช้รูบริกส์ใน
การวัดและประเมิน
ผลการเรียนรู้

Rubrics เปนชุดของเกณฑหรือมาตรฐานที่ออกแบบอยาง
สอดคลองกับเปาหมายการเรียนรู สาํ หรับใชเปนแนวทางใน
การใหคะแนนคุณภาพการปฏิบัติงานของผูเรียน โดยที่
Rubrics มี 3 องคประกอบ คือ ประเด็นท่ีจะประเมิน ระดับ
ความสามารถหรือระดับคุณภาพ และการบรรยายคุณภาพของ
แตละระดับ โดยท่ีแบงประเภทของรูบริกส ออกเปน Holistic
rubrics สาํ หรับใหคะแนนการปฏิบัติงานของผูเรียนใน
ภาพรวม Analytic rubrics ใหคะแนนการปฏิบัติงาน
แยกแยะตามประเด็นท่ีจะประเมิน General rubrics สราง
ขึ้นโดยใชเกณฑท่ีจะประเมินกวาง ๆ เพ่ือใหสามารถใชในการ
ประเมินการปฏิบัติงานไดหลายงาน Task specific rubrics
สรางขึ้นโดยมีเปาหมายเพ่ือประเมินเฉพาะงานใดงานหน่ึงท่ี
มอบหมายใหผูเรียนปฏิบัติ

45

Week 16

การประเมินโดยใชแฟมสะสมผลงาน

46

การประเมินโดยใช้แฟมสะสมผลงาน
(PORTFOLIO ASSESSMENT)

ความหมายของการประเมินโดย ประเภทของแฟมสะสมผลงานของผู้เรียน
ใช้แฟมสะสมผลงาน
1. WORKING PORTFOLIO
หมายถึง วธิ กี ารประเมินผลการเรียนรอู ยางหนงึ่
ทีม่ สี ิง่ ประเมินคือ “แฟม สะสมผลงาน” ซึง่ ผเู รียนจัด เปนแฟมสะสมผลงานที่ผเู รียนจัดทาํ ขนึ้ เพอ่ื เก็บรวบรวมหลกั ฐาน
ทาํ ข้ึนโดยการรวบรวมผลงานจากการปฏบิ ัติงานที่ เกยี่ วกบั ผลการปฏิบตั ิงานในระหวางการเรียนการสอน
เก่ยี วของกับการเรียนการสอนอยางมีจดุ มุงหมาย
และมีการวางแผนลวงหนา อยา งเปน ระบบ ตลอด 2. DISPLAY OR SHOW PORTFOLIO
ชวงระยะเวลาหนง่ึ
เปน แฟมสะสมผลงานที่ผเู รยี นจดั ทาํ ข้ึน โดยทาํ การคัดเลอื กผลงาน
หลักการของการประเมินโดยใช้ ทีด่ ีท่ีสดุ จากแฟม สะสมผลงานทร่ี วบรวมไวในระหวางการปฏิบัตงิ าน
แฟมสะสมผลงาน (Working portfolio) ดว ยความชวยเหลอื หรอื แนะนําของผูสอน

1. เปนการทาํ งานรวมกนั ระหวา งผเู รยี นกับผสู อน 3. ASSESSMENT PORTFOLIO
2. เปนการรวบรวมผลงานตลอดชว งระยะเวลา
หนง่ึ ตามท่ีกําหนด เปน แฟม สะสมผลงานทผ่ี ูเ รียนจัดทาํ ข้นึ โดยมจี ดุ มุงหมายเพอ่ื ใหผู
3. ตอ งดาํ เนนิ การรวบรวมผลงานอยา งมจี ดุ สอนทําการประเมินคุณภาพการเรียนรดู านตา ง ๆ ตามเกณฑห รอื
มงุ หมายเพอ่ื เปน หลักฐานแสดงใหเ ห็นถงึ ผลสมั ฤทธ์ิ รายการประเมนิ ทไี่ ดกําหนดไวล ว งหนา ระหวางผสู อนกับผเู รยี น
ทางการเรียน
4. ตอ งมีการวางแผนลว งหนา อยางเปน ระบบ จุ ด มุ่ง ห ม า ย ข อ ง ก า ร ป ร ะ เ มิน
และตองชแ้ี จงเพอ่ื ทําความเขาใจใหกบั ผูเรียนกอ น แฟมสะสมผลงาน
ดําเนนิ การ
5. ผูเรียนตองเปน ผูเก็บรวบรวมและคัดเลือกผล 1. เพือ่ ใหผเู รยี นไดพัฒนา ปรบั ปรงุ หรอื ขัดเกลาผลงานตาง ๆ
งานดวยตัวเอง 2. เพ่ือใหผ เู รียนไดพัฒนาความสามารถในการสะทอนและประเมนิ
6. ผเู รยี นตอ งมสี วนรว มในการเลือกรายการผล ผลงานตา ง ๆ ของตนเอง
งาน การกาํ หนดเกณฑต าง ๆ 3. เพอ่ื ใหผ เู รียนไดพัฒนาความสามารถในการคัดเลือกผลงาน การ
7. ผูเรยี นตอ งมีการสะทอนความคดิ เหน็ ตอ เก็บรวบรวมผลงานอยา งเปนระบบ และสอดคลอ งกับเกณฑห รือ
ผลงาน และการประเมนิ ตนเอง รายการประเมินท่ไี ดก ําหนดไวล วงหนา
8. การจัดทาํ แฟมสะสมผลงาน เปนการแสดงให
คนอน่ื ไดเห็นถงึ การเรยี นรูแ ละความกา วหนาในการ ขันตอนของการประเมินโดยใช้
ปฏิบัติงานของผเู รยี น แฟมสะสมผลงาน
9. ผเู รยี นตองเปน ผมู ีสว นรว มทงั้ ในกระบวนการ
เรียนรู และกระบวนการประเมินผลการเรยี นรู 1 . ขั น เ ต รี ย ม ก า ร ป ร ะ เ มิน โ ด ย ใ ช้แ ฟ ม ส ะ ส ม ผ ล ง า น
2 . ขั น จั ด ทํา แ ฟ ม ส ะ ส ม ผ ล ง า น
3 . ขั น ป ร ะ เ มิ น แ ฟ ม ส ะ ส ม ผ ล ง า น ที ส ม บู ร ณ์
4 . ขั น ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ผ ล ง า น

47

| OAKRIDGE HOLDINGS

การประเมินโดย
ใช้แฟมสะสม
ผลงาน

หมายถึง วิธีการประเมินผลการเรียนรูผาน “แฟมสะสม
ผลงาน” ซึ่งผูเรียนจัดทําข้ึนโดยการรวบรวมผลงานจากการ
ปฏิบัติงานที่เก่ียวของกับการเรียนการสอนอยางมีจุดมุงหมาย
ประเภทของแฟมสะสมผลงานของผูเรียน มี 3 ประเภท ไดแก
Working portfolio ใชเก็บรวบรวมหลักฐาน เก่ียวกับผลการ
ปฏิบัติงาน Display or show portfolio เพ่ือคัดเลือกผลงาน
ที่ดีท่ีสุด และ Assessment portfolio เพ่ืไวใชประเมิน
คุณภาพโดยประเมินโดยครูผูสอน หรือจะประเมินรวมกับ
นักเรียน หรือผูท่ีเก่ียวของ โดยมีจุดประสงคเพื่อพัฒนาผลงาน
ของนักเรียนจากการใชคาํ แนะนํายอนกลับจากผูประเมิน และ
ยังมีประโยชนมากมาย เชน ชวยคัดเลือกผลงานที่ดี และเก็บ
ผลงานไวอยางเปนระบบเพ่ือใชในอนาคต

48

ใบสัญญาการเรียนและ
บันทึกผลการร่วมกิจกรรมในชันเรียน

49

ใบสัญญาการเรียนและ
บันทึกผลการร่วมกิจกรรมในชันเรียน

50

สะท้อนความรูส้ กึ ต่อวชิ านี

การวดั และประเมนิ การศึกษาและการเรยี นรู้

สําหรบั ความรูส กึ ของหนตู อ วิชานี้ คอื ตั้งแตต อนแรกแคเหน็ ชอ่ื วิชานี้วา ตองไดเรียน กน็ กึ ไมอ อก
เลยวาจะตอ งเรียนประมาณไหน แตพ อมาเรยี นคาบแรกไดพ บอาจารยก ็รสู ึกกลัวอาจารยนดิ ๆ คะ เพราะ
อาจารยค อ นขางพูดตรง แลว ก็ดเู ปนผูอาวโุ สมาก แตพอเรยี นไปเรื่อย ๆ ก็เร่มิ ท่จี ะเขาใจตวั ตนของ
อาจารย ไมกลวั อาจารยแ ลว และยังรูส ึกชอบอาจารยดว ยซํา้ เพราะจริง ๆ แลวอาจารยเปนคนท่ีตลกมาก
สําหรับการเรียนในรายวิชาน้กี ็มคี วามหลากหลายมากมตี ั้งแตอ าจารยสอนเอง นักศกึ ษาออกมาสอน
ทาํ ผังมโนทศั นอ อกมาพดู ใหเ พอ่ื นฟง ทําใหห นูรสู ึกชนิ กบั การพูดหนา ชน้ั เรียนมากขนึ้ ไปอีกคะ และเน้ือหา
หรอื สิ่งที่เรยี นในวิชานี้ก็เปนสิง่ สําคญั ทีผ่ ูท่ีจะเปน ครทู ุกคนควรรู และเปน ประโยชนก ับตนเองรวมทงั้
นักเรยี นของเราในอนาคตอยางมาก หนูจะเอาความรจู ากวชิ านไ้ี ปปรับใชก บั นักเรียนของหนใู นอนาคต
อยางแนนอน และรสู กึ ดีใจมากทมี่ ีโอกาสไดเรียนวชิ านกี้ บั อาจารย เพราะอาจารยสอนละเอยี ดและเปน
ผูท่ีมีความรคู วามเชี่ยวชาญในวชิ านี้อยา งแทจ ริงคะ

51

ATITAYA ANUSON

อทิตยา อนุสนธิ

ที่อยูปจจุบัน ประวัติการศึกษา

227 หมู 1 บา นพังขวางใต ตําบลพังขวาง ระดับชั้นอนุบาล
อําเมอื งเมอื ง จังหวดั สกลนคร 47000
โรงเรียนบานพงั ขวา งวฒั นศลิ ป อําเภอเมือง จงั หวดั สกลนคร
ขอมูลสวนตัว
ระดับชั้นประถมศึกษา
ชื่อ-สกุล : นางสาวอทิตยา อนุสนธิ์
ช่ือเลน : กกุ ก๊กิ โรงเรียนเมอื งสกลนคร (ธาตนุ ารายณเจงเวง) อาํ เภอเมือง จงั หวัดสกลนคร
วัน/เดอื น/ปเกดิ : 13 สงิ หาคม 2543
หมเู ลอื ด : โอ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน
ศาสนา : พทุ ธ
สญั ชาติ : ไทย โรงเรียนธาตุนารายณว ทิ ยา อาํ เภอเมอื ง จังหวดั สกลนคร
เช้ือชาติ : ไทย
ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย
ชองทางติดตอ
โรงเรียนธาตุนารายณว ิทยา อําเภอเมือง จังหวดั สกลนคร
Phone : 088-5518376
Email : [email protected] ระดับอุดมศึษา
Facebook : Atitaya Anuson
Instagram : Kookkik227 ปจ จบุ นั กาํ ลังศึกษาระดับปรญิ ญาตรี
Line : 0621525070 คณะครศุ าสตร สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร อาํ เภอเมอื ง จังหวัดสกลนคร

52

รายวชิ าการวดั และประเมนิ การศึกษาและการเรยี นรู้ 21042103

WHERE THERE'S A WILL,
THERE'S A WAY!

ม ห า วิท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ ส ก ล น ค ร


Click to View FlipBook Version