หลกั สูตรและแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้การพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ก่อนแตง่ ตงั้ ให้ดารงตาแหน่งศึกษานเิ ทศก์
คำนำ
พระราชบัญญัตริ ะเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และแก้ไขเพ่ิมเติม
(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๘๐ บัญญัติให้มีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อน
แต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งบางตาแหน่งและบางวิทยฐานะ กาหนดให้เพิ่มพูนความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดี
คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพท่ีเหมาะสม ในอันท่ีจะทาให้การปฏิบัติหน้าท่ีราชการเกิด
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความก้าวหน้าแก่ทางราชการ ทั้งน้ีให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี
ก.ค.ศ. กาหนด ประกอบกับ ก.ค.ศ. ได้กาหนดมาตรฐานตาแหน่งศึกษานิเทศก์ไว้ว่า ผ่านการพัฒนาตาม
หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ที ่ี ก.ค.ศ. กาหนด
สานักงานคณะกรรมการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) จึงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ
พัฒนาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งศึกษานิเทศก์ ตามหนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ ๐๒๐๖.๒ / ว๖ ลง
วันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๑ เพื่อเป็นการพัฒนาบุคลากรก่อนเข้าสู่ตาแหน่งให้ได้รับสมรรถนะ ความรู้
ความสามารถ ทักษะ เจตคติท่ีดี คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพที่เหมาะสมกับตาแหน่ง
หน้าท่ี
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสานักพัฒนาครูและบุคลากรการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ได้ดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรและแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งศึกษานิเทศก์ ตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด เพ่ือให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับการ
จัดการศึกษาในปัจจุบัน โดยได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิและผู้มีประสบการณ์ด้านนิเทศการศึกษาท่ีมีผลงานเป็นท่ี
ประจักษ์ ประสบผลสาเร็จในวิชาชีพ และประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีมาร่วมกันเป็น
คณะกรรมการจัดทารายละเอยี ดหลักสูตรให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพ เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาได้รับ
การพฒั นาศกั ยภาพใหเ้ หมาะสมกบั ตาแหนง่ และบทบาทหน้าที่
สำนกั พัฒนำครูและบคุ ลำกรกำรศกึ ษำขนั้ พนื้ ฐำน
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพน้ื ฐำน
กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร
หลักสูตรและแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
ก่อนแตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหน่งศกึ ษานเิ ทศก์
สำรบัญ
เรอ่ื ง หน้ำ
หลกั สตู รและแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้การพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
ก่อนแตง่ ตัง้ ให้ดารงตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก.์ ......................................................................................... ๑
หลักการและเหตผุ ล........................................................................................................................... ๒
วตั ถปุ ระสงค์............................................................................................................................ ........... ๒
โครงสรา้ งหลักสตู ร............................................................................................................................. ๓
ส่วนท่ี ๑ การเสริมสรา้ งสมรรถนะของศึกษานเิ ทศก์............................................................................. ๕
หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๑ คณุ ลกั ษณะของศกึ ษานเิ ทศก์...................................................................... ๖
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๒ พนื้ ฐานการนิเทศ ทักษะ เทคนคิ และกระบวนการนเิ ทศการศึกษา........... ๔๓
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ การนิเทศการศึกษาโดยใช้การวิจัยเป็นฐาน........................................................... ๑๑๗
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๔ การติดตาม ประเมิน และรายงานผลการจัดการศึกษา............................. ๒๑๓
สว่ นที่ ๒ การฝึกประสบการณ์นเิ ทศการศึกษา................................................................................... ๒๒๘
สว่ นที่ ๓ การนาเสนอผลการฝึกประสบการณ์นิเทศการศึกษา.......................................................... ๒๓๒
การวดั และประเมินผลตามหลักสตู รการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก.์ ....................................................................................... ๒๓๗
ภาคผนวก............................................................................................................................................. ๒๕๙
หลักสตู รและแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนร้กู ารพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๑
ก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่งศึกษานิเทศก์
หลักสตู รและแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้การพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ๒
ก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์
หลกั สูตรและแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
กอ่ นแต่งตงั้ ให้ดารงตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์
๑. หลักการและเหตผุ ล
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๘๐ บัญญัติให้มีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ก่อนแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหน่งบางตาแหน่งและบางวทิ ยฐานะ กาหนดให้เพิ่มพูนความรู้ ทกั ษะ เจตคติท่ีดี
คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพท่ีเหมาะสมในอันที่จะทาให้การปฏิบัติหน้าที่ราชการเกิด
ประสิทธิภาพประสทิ ธผิ ล และความก้าวหน้าแก่ทางราชการ ทั้งน้ี ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการท่ี
ก.ค.ศ. กาหนดตามหนงั สอื สานกั งาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ ๐๒๐๖.๒ / ว๖ ลงวนั ที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๑
สานักงานคณะกรรมการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) จึงได้กาหนดหลักเกณฑ์และ
วธิ ีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งศึกษานิเทศก์ให้เป็นไป
ตามมาตรา 80 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547
และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2551 และมาตรฐานตาแหน่งศึกษานิเทศก์ ตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการท่ี ก.ค.ศ. กาหนด ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อน
แตง่ ต้ังให้ดารงตาแหน่งศึกษานเิ ทศก์ มสี าระสาคัญดงั น้ีคือ ต้องให้ผูผ้ ่านการพฒั นามีความรู้ ทกั ษะ เจต
คติท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพที่เหมาะสมในอันที่จะทาให้การปฏิบัติหน้าท่ี
ราชการเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความก้าวหน้า แก่ทางราชการ รวมทั้งมีความพร้อมในการ
ปฏิบัติงานในตาแหน่งศึกษานิเทศก์ มีการพัฒนาในลักษณะองค์รวมที่บูรณาการท้ังในด้านความรู้ ทักษะ
และเจตคติที่ดี ใช้วิธีการพัฒนาหลายวิธีควบคู่กับการเรียนรู้จากผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีความรู้และมี
ประสบการณ์เป็นการพัฒนารายบุคคลและกลุ่มเล็ก ๆ เน้นการเรียนรจู้ ากการปฏิบัติจริง ให้ผู้เข้ารับการ
พัฒนาเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง โดยใช้แหล่งความรู้และองค์ความรู้ที่มีอยู่อย่าง
หลากหลาย
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยสานักพัฒนาครูและบุคลากรการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน เป็นหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการจัดทารายละเอียดหลักสูตรตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
ก.ค.ศ. กาหนด โดยเชิญผู้ทรงคุณวุฒิและผู้มีประสบการณ์ด้านการนิเทศการศึกษา มีผลงานเป็นท่ี
ประจักษ์ ประสบผลสาเร็จในวิชาชีพ และประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีมาร่วมกันเป็น
คณะกรรมการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรและแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การพัฒนาข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งศกึ ษานิเทศก์ พร้อมทั้งดาเนินการพัฒนาให้เป็นไปตาม
มาตรฐานคณุ ภาพของผู้ผ่านการพัฒนาตามหลักสตู ร
๒. วตั ถปุ ระสงค์
๒.๑ เพอื่ เสริมสรา้ งคุณลักษณะและพัฒนาสมรรถนะของศกึ ษานิเทศก์
๒.๒ เพื่อพัฒนาพ้ืนฐานการนิเทศ ทกั ษะ เทคนิคและกระบวนการนเิ ทศการศึกษา
๒.๓ เพ่ือพัฒนาการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาโดยใช้การวจิ ยั เปน็ ฐาน
๒.๔ เพ่อื พฒั นาความสามารถในการติดตาม ประเมิน และรายงานผลการจัดการศึกษา
หลักสูตรและแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้การพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๓
กอ่ นแต่งตงั้ ให้ดารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์
๒.๕ เพ่อื พฒั นาความสามารถในการปฏิบตั ิการนเิ ทศการศึกษา
๓. โครงสร้างหลักสตู ร
โครงสร้างหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารง
ตาแหน่งศึกษานิเทศก์ ตามหนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ ๐๒๐๖.๒/ว๖ ลงวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๑
ประกอบด้วย ๓ สว่ น
สว่ นที่ ๑ : การเสริมสร้างสมรรถนะของศกึ ษานิเทศก์
เป็นการเรียนรู้ร่วมกันของผู้เข้ารับการพัฒนา โดยเรียนรู้จากวิทยากร ผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมี
ความรู้และประสบการณ์ด้านการนิเทศการศึกษา เน้นการเรียนรู้แบบองค์รวมโดยบูรณาการความรู้
ทักษะ เจตคติ เน้นการศึกษาเรียนรู้ตามสภาพจริง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม สาหรับการเสริมสร้าง
สมรรถนะของศึกษานิเทศก์ จะประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ ๔ หน่วย ได้แก่
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ คณุ ลักษณะของศึกษานเิ ทศก์
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ พืน้ ฐานการนิเทศ ทักษะ เทคนิคและกระบวนการนเิ ทศการศึกษา
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๓ การนิเทศการศึกษาโดยใช้การวิจยั เป็นฐาน
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๔ การติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการจัดการศึกษา
ส่วนที่ ๒ : การฝึกประสบการณน์ ิเทศการศกึ ษา
เป็นการเรียนรู้ตามสภาพจริง โดยผู้เข้ารับการพัฒนาจัดทาแผนพัฒนางานนิเทศการศึกษา
และลงฝึกประสบการณ์นิเทศการศึกษาในสถานศึกษา และสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาต้นแบบ โดยมี
ผู้ทรงคุณวุฒิ ได้แก่ ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหรือรองผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาที่ได้รับมอบหมาย ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา และ
ศึกษานิเทศก์ท่ีมีประสบการณ์ คอยให้คาปรึกษา แนะนา กากับ ติดตาม และประเมินผลการฝึก
ประสบการณ์นิเทศการศึกษา หลังส้ินสุดการฝึกประสบการณ์ผู้เข้ารับการพัฒนาต้องนาแผนพัฒนางาน
นิเทศการศึกษา และผลการเรียนรู้สภาพจริงมาวิเคราะห์ เรียบเรียงสรุปผลจัดทาเป็นเอกสารรายงาน
ผลการพัฒนาสาหรบั นาไปเข้ารว่ มการสัมมนาในระยะท่ี ๓
สว่ นท่ี ๓ : การนาเสนอผลการฝกึ ประสบการณก์ ารนิเทศการศกึ ษา
เป็นกิจกรรมท่ีกาหนดให้ผู้เข้ารับการพัฒนานาผลการฝึกประสบการณ์การนิเทศการศึกษา
รายงานการนิเทศการศึกษา รายงานการค้นคว้าอิสระมานาเสนอต่อผู้เข้ารับการพัฒนาด้วยกันโดยใช้
เทคนิคการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตลาดนัดความรู้ และการวิพากษ์โดยผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีประสบการณ์ เพ่ือให้
ได้ชิน้ งานท่ีเกิดจากการหลอมรวมประสบการณ์ของผู้เข้ารบั การพฒั นาทส่ี ามารถนาไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาในสถานศึกษาและสานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาตอ่ ไป
หลกั สูตรและแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรกู้ ารพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๔
ก่อนแต่งต้งั ให้ดารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์
แผนภูมโิ ครงสรา้ งหลกั สูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
กอ่ นแต่งตั้งให้ดารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์
รวมเวลาเข้ารบั การพฒั นา จานวน ๓๒ วนั (แบง่ ออกเปน็ ๓ ระยะ)
การเตรียม ระยะของการพัฒนา
ความพรอ้ ม
กอ่ นเขา้ รบั ระยะที่ ๑ ระยะที่ ๒ ระยะท่ี ๓
การพัฒนา
การเสริมสรา้ งสมรรถนะ การฝึกประสบการณ์ การนาเสนอผลการฝึก
ศกึ ษาเอกสาร ตารา ของศกึ ษานเิ ทศก์ นิเทศการศกึ ษา ประสบการณน์ เิ ทศ
บทความ งานวิจัย (๘ วัน) (๒๐ วัน) การศกึ ษา (๔ วนั )
และเว็บไซต์ท่ี องค์ประกอบ องค์ประกอบ องค์ประกอบ
เก่ยี วข้องกบั
หลกั สตู รการพัฒนา หน่วยท่ี ๑ คุณลักษณะของ เรียนรู้ตามสภาพจรงิ สมั มนานาเสนอผลการ
กอ่ นเข้ารับ ศึกษานิเทศก์ ฝกึ ประสบการณน์ เิ ทศใน ฝกึ ประสบการณน์ ิเทศ
การพฒั นา ๑๕ วัน หน่วยที่ ๒ พนื้ ฐานการนเิ ทศ สถานศกึ ษา และ สพท. การศึกษา เพอ่ื แลกเปลี่ยน
ทักษะ เทคนคิ และ ตน้ แบบ โดยมผี ้บู รหิ าร เรียนรรู้ ว่ มกัน และรับฟัง
กระบวนการนเิ ทศการศกึ ษา ผทู้ รงคณุ วฒุ แิ ละ การวพิ ากษจ์ าก
หนว่ ยท่ี ๓ การนเิ ทศการศกึ ษา ศึกษานิเทศกท์ ่ีมี ผู้ทรงคุณวุฒิ เพือ่ ให้ได้
โดยใช้การวจิ ยั เป็นฐาน ประสบการณ์ให้คาปรึกษา ชิ้นงานท่สี ามารถนาไปใช้
หน่วยที่ ๔ การติดตาม แนะนา กากับ ตดิ ตาม และ ได้จรงิ ต่อไป
ประเมิน และรายงานผล ประเมนิ ผล
การจัดการศึกษา
จดั ทารายงานการฝึก
ประสบการณ์ รายงาน
การนิเทศการศึกษา
รายงานการค้นควา้ อสิ ระ
เกณฑก์ ารประเมินเพอ่ื ตัดสนิ การผ่านหลักสูตร
มเี วลาเข้าร่วมการพัฒนาตามหลักสตู รฯ ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๘๕
มีผลการประเมนิ การพัฒนาตามหลกั สูตรฯ ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๗๐
หลักสตู รและแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนร้กู ารพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๕
ก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่งศึกษานิเทศก์
หลกั สตู รและแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นร้กู ารพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๖
ก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑
คณุ ลักษณะของศกึ ษานิเทศก์
(ใชเ้ วลาในการพฒั นา จานวน ๑๘ ช่ัวโมง)
กิจกรรมหนว่ ยย่อยท่ี ๑.๑ รัก ศรัทธา และภาคภมู ิใจในการเป็นศึกษานเิ ทศก์ เวลา ๓ ชว่ั โมง
กิจกรรมหน่วยย่อยที่ ๑.๒ คุณธรรม จริยธรรม และเมตตาธรรมในการยกระดับจติ เวลา ๓ ชวั่ โมง
วญิ ญาณความเป็นครู ตามมาตรฐานและจรรยาบรรณ เวลา ๓ ชว่ั โมง
วิชาชพี ของศึกษานิเทศก์ เวลา ๓ ชว่ั โมง
กิจกรรมหน่วยยอ่ ยที่ ๑.๓ สมรรถนะของศึกษานิเทศก์ เวลา ๖ ชวั่ โมง
กิจกรรมหน่วยยอ่ ยท่ี ๑.๔ กระบวนทัศน์การพัฒนาการศึกษา
กิจกรรมหน่วยย่อยที่ ๑.๕ แผนพัฒนาตนเองและแฟ้มพัฒนางานศกึ ษานิเทศก์
หลกั สูตรและแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ๗
กอ่ นแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งศึกษานิเทศก์
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑
คุณลกั ษณะของศึกษานเิ ทศก์
ใชเ้ วลาในการพัฒนา จานวน ๑๘ ชว่ั โมง
คาอธิบายหน่วย
ศึกษา ค้นคว้า รวบรวม ฝึกปฏิบัติ ประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปและวางแผนเก่ียวกับการสร้าง
ความรัก ความศรัทธา และความภาคภูมิใจในการเป็นศึกษานิเทศก์ คุณธรรม จริยธรรม เมตตาธรรมในการ
ยกระดับจิตวิญญาณของความเป็นครู สมรรถนะของศึกษานิเทศก์ ทักษะทางวิชาการและทางการบริหาร ตาม
บทบาทหน้าท่ีของศึกษานิเทศก์ และกระบวนทัศน์การพัฒนาการศึกษา โดยวิธีการบรรยาย อธบิ าย อภปิ รายกลุ่ม
สาธิต ปฏิบัติ การนาเสนอในรูปแบบท่ีหลากหลาย เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความ
ตระหนักต่อการพัฒนาตนเอง พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถนาไปใช้พัฒนาปรับปรุงการเรียน
การสอนให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา มคี ุณภาพและประสิทธิภาพยิง่ ขึ้น
วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพื่อพัฒนา คุณธรรม จริยธรรม เมตตาธรรมในการยกระดับจิตวิญญาณความเป็นครู รัก ศรัทธา
ในวิชาชพี ที่เหมาะสมกบั ตาแหน่งศกึ ษานเิ ทศก์
๒. เพ่ือพัฒนาความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับสมรรถนะศกึ ษานเิ ทศก์ และกระบวนทัศน์การพฒั นา
๓. เพ่ือพัฒนาความสามารถในการวางแผนพัฒนาตนเองและจัดทาแฟ้มพัฒนางานตามมาตรฐาน
การปฏบิ ัตงิ านศกึ ษานเิ ทศก์ มที กั ษะทางวิชาการและทางการบรหิ ารตามบทบาทหนา้ ท่ี
สาระสาคญั
วิชาชีพศึกษานิเทศก์ เป็นวิชาชีพชั้นสูงที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพควบคุมตามกฎหมาย
ศึกษานิเทศก์ควรมีคุณธรรม จริยธรรม เมตตาธรรมในการยกระดับจิตวิญญาณความเป็นครู รัก ศรัทธา
ในวชิ าชพี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสมรรถนะของศึกษานิเทศก์ กระบวนทัศน์การพัฒนาการศึกษา และมี
ความสามารถในการวางแผนพัฒนาตนเองและจัดทาแฟ้มพัฒนางานตามมาตรฐาน การปฏิบัติงาน มีทักษะ
ทางวชิ าการ และการบริหารตามบทบาทหน้าท่ีของศึกษานิเทศก์
สาระการเรยี นรู้
๑. รกั ศรทั ธา และภาคภมู ใิ จในการเปน็ ศึกษานเิ ทศก์
๒. คุณธรรม จริยธรรม และเมตตาธรรมในการยกระดบั จติ วิญญาณความเปน็ ครู ตามมาตรฐาน และ
จรรยาบรรณวิชาชีพของศกึ ษานเิ ทศก์
๓. สมรรถนะของศกึ ษานิเทศก์
๔. กระบวนทศั น์การพฒั นาการศึกษา
๕. แผนพัฒนาตนเองและแฟ้มพฒั นางานของศึกษานิเทศก์
หลักสูตรและแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรกู้ ารพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๘
กอ่ นแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหน่งศกึ ษานิเทศก์
แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
๑. วิทยากรแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกับผู้เข้ารับการพัฒนา โดยการบรรยาย อภิปราย ฝึกปฏิบัติ
นาเสนอความคิดและประสบการณ์
๒. ผู้เข้ารับการพัฒนาศึกษาค้นคว้า ฝึกปฏิบัติ อภิปรายในกลุ่ม แลกเปล่ียนเรียนรู้ นาเสนอผลงาน
สรุปองคค์ วามรู้ และประเมินผลงานตนเอง
๓. วทิ ยากรสังเกต ประเมินพฤติกรรม และผลงานของผู้เข้ารับการพัฒนา
สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้
๑. ใบความรู้
๒. ใบกจิ กรรม
๓. Power point
๔. VDO
๕. สอ่ื เทคโนโลยี
๖. วัสดอุ ปุ กรณ์
การวดั และประเมินผล
๑. สังเกตพฤติกรรมการมสี ่วนร่วม การปฏิบัตงิ าน และการนาเสนอผลงาน
๒. ประเมนิ ผลงาน (งานเดย่ี ว , งานกลมุ่ )
หลกั สูตรและแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้การพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๙
กอ่ นแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์
กิจกรรมหนว่ ยย่อยที่ ๑.๑ รัก ศรทั ธา และภาคภูมิใจในการเป็นศกึ ษานเิ ทศก์ เวลา ๓ ช่ัวโมง
สาระสาคญั
ศึกษานิเทศก์เป็นวิชาชีพช้ันสูง ต้องรัก ศรัทธา และภาคภูมิใจในวิชาชีพ จาเป็นต้องมีการพัฒนา
ตนเอง พัฒนาวิชาชพี ครู สง่ ผลให้องค์กรเจรญิ ก้าวหนา้ ย่ิงขน้ึ ไป
วัตถุประสงค์
เพือ่ สร้างความตระหนักให้เกดิ ความรกั ความศรัทธา และความภาคภมู ิใจในวิชาชพี ศึกษานเิ ทศก์
ขอบข่ายเนื้อหา
การสรา้ งความรัก ความศรัทธา และความภาคภูมิใจในวชิ าชพี ศึกษานเิ ทศก์
แนวทางการจัดกจิ กรรม
๑. ผู้เข้ารับการพัฒนาศึกษาใบกิจกรรมที่ ๑.๑.๑ เรื่อง ความรัก ความศรัทธาและความภาคภูมิใจต่อ
ศึกษานเิ ทศก์
๒. วิทยากรนาเสนอศึกษานิเทศก์ท่ีประสบความสาเร็จในการปฏิบัติงานในรูปแบบ VDO หรือ
เชญิ ศกึ ษานิเทศกเ์ ล่าประสบการณโ์ ดยตรง ฯ ท่ีสร้างแรงบันดาลใจในความภาคภมู ใิ จในอาชพี
๓. ผเู้ ข้ารับการพัฒนา และวทิ ยากรรว่ มกันสรปุ บทเรยี นความรัก ความศรัทธา และความภาคภูมใิ จใน
วชิ าชพี ศึกษานเิ ทศก์ และรว่ มรอ้ งเพลง “นเิ ทศธารง”
สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้
๑. ใบกิจกรรมท่ี ๑.๑.๑ เรือ่ ง ความรกั ความศรทั ธาและความภาคภูมิใจต่อศึกษานิเทศก์
๒. VDO
๓. กระดาษปรู๊ฟ และสีเมจิก
๔. เพลง “นิเทศธารง”
การวัดและประเมนิ ผล
๑. สังเกตพฤติกรรมการมสี ่วนร่วม และการนาเสนอผลงาน
๒. ประเมนิ ผลงาน (งานกลุ่ม)
หลักสูตรและแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรกู้ ารพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๑๐
ก่อนแต่งต้งั ให้ดารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์
ใบกิจกรรมท่ี ๑.๑.๑
เร่อื ง ความรัก ความศรัทธาและความภาคภมู ิใจตอ่ ศกึ ษานเิ ทศก์
คาชแี้ จง
๑. ใหผ้ ้เู ขา้ รบั การพฒั นาแตล่ ะคนเขยี นโดยอสิ ระทแี่ สดงถึงความรกั ความศรทั ธาและความภาคภมู ใิ จ
ท่มี ตี อ่ ศึกษานเิ ทศก์ท่ีตนเองประทับใจ
๒. ให้ผู้เข้ารับการพัฒนาแต่ละคนนาเรื่องที่เขียนตามข้อ ๑ ไปแลกเปลี่ยนกับเพื่อนศึกษานิเทศก์
ในกลุม่ และรวมกนั สรุปถึงสาระของประเดน็ ท่ีไดใ้ นกระดาษปรูฟ๊ และนาเสนอในทป่ี ระชมุ ใหญ่
๓. ผู้เข้ารับการพัฒนาแต่ละกลุ่ม ร่วมกันหาแนวทางการเสริมสร้างความรัก ความศรัทธาและความ
ภาคภมู ใิ จของศึกษานิเทศก์ เพอ่ื นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปฏิบัตงิ าน และนาเสนอทป่ี ระชุมใหญ่
ช่อื ................................................... นามสกุล......................................................รนุ่ ที่...............กลุ่มท.่ี ..............
ความรัก ความศรทั ธาและความภาคภมู ใิ จทม่ี ีต่อศกึ ษานิเทศกท์ ต่ี นเองประทับใจ
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................................................... .......
............................................................................................................................ ..................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................ ..................
................................................................................................................. .............................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................. ............................
....................................................................................................... .......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................... .......................................
............................................................................................ .................................................................... ..............
............................................................................................................................. .................................................
หลักสูตรและแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นร้กู ารพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๑๑
ก่อนแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหน่งศึกษานิเทศก์
เพลง นิเทศธารง
คารอ้ ง สนัน่ มีขนั หมาก
ทานอง เพลงฝรงั่ ย่ีเฮม
มั่นคงธารงจรรยา สมนามวา่ ศึกษานิเทศก์
ก้าวไปแดนไทยทว่ั เขต นิเทศโรงเรยี นท่ัวไทย
เราหมายมั่นสรรค์สร้างคุณค่า การศกึ ษาให้ถงึ จดุ ประสงค์
เจตจานงทีค่ ุณคา่ ชวี ีดลี ว้ นถ้วนไทย เพ่ือใหส้ ัมฤทธเิ์ รารว่ มจติ
อุทศิ พลงั มอบทั้งกายใจ
มนั่ คงธารงความดี เพราะเรามหี น้าท่ชี ้ีนา
เชยี่ วชาญด้วยการกระทา ชี้นาใหถ้ งึ หลกั ชัย
ปณธิ านหาญกลา้ แข็งแกร่ง รอ้ นแรงยงิ่ ใหญ่
สรา้ งแตม่ วลมติ รคิดรักสามคั คี เปน็ เพือ่ นท่ีดีใจล้วนมีเพ่ือให้
เพื่อการศึกษาพฒั นาพาชาติบ้านเมอื งรุ่งเรืองวิไล
ม่ันคงธารงศักดิ์ศรี รกั หน้าทีเ่ หมือนชีวิตตน
ศึกษานเิ ทศกท์ กุ คน ระลึกสานกึ ดว้ ยใจ
ช่ือ ศน.ขอจารึกมั่นสาคัญย่ิงใหญ่ นเิ ทศการศกึ ษาพัฒนาม่งุ
คณุ ภาพผดงุ ปริมาณได้ นแี่ หละศักดิศ์ รี
ท่ี ศน.ขอเชิดบชู ติ นจิ นริ ันดรไ์ ป
(ร้องซา้ ตลอดทั้งเพลง)
หลกั สตู รและแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้การพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๑๒
ก่อนแตง่ ตงั้ ให้ดารงตาแหน่งศึกษานเิ ทศก์
กิจกรรมหนว่ ยย่อยที่ ๑.๒ คณุ ธรรม จริยธรรมและเมตตาธรรมในการยกระดับจิตวิญญาณของความเปน็ ครู
ตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวชิ าชีพของศึกษานเิ ทศก์ เวลา ๓ ชว่ั โมง
สาระสาคญั
คุณธรรม จริยธรรมและเมตตาธรรมในการยกระดับจิตวิญญาณความเป็นครูตามมาตรฐาน และ
จรรยาบรรณวิชาชีพของศึกษานิเทศก์ จะช่วยให้ศึกษานิเทศก์สามารถปฏิบัติงานในหน้าท่ีเก่ียวกับงานวิชาการ
และการนิเทศการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ อนั จะส่งผลให้ศกึ ษานเิ ทศกไ์ ดร้ บั การยอมรับและเกดิ ความศรัทธา
วัตถุประสงค์
๑. เพอ่ื พฒั นาความรู้ความเข้าใจในการพฒั นาตนเองด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและเมตตาธรรมในการ
ยกระดับจิตวญิ ญาณความเปน็ ครูตามมาตรฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพของศึกษานิเทศก์
๒. เพื่อสร้างความตระหนัก และเห็นความสาคัญในการปฏิบัติตนในด้านคุณธรรมจริยธรรม
จริยธรรมและเมตตาธรรมในการยกระดับจิตวิญญาณความเป็นครู ตามมาตรฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพของ
ศึกษานิเทศก์
๓. เพอ่ื ให้ผเู้ ข้ารบั การพัฒนากาหนดแนวทางการปฏบิ ัติตนทด่ี ีตามมาตรฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ
ของศกึ ษานิเทศก์
ขอบขา่ ยเนอ้ื หา
คุณธรรม จรยิ ธรรม และเมตตาธรรมในการยกระดับจติ วญิ ญาณความเป็นครูตามมาตรฐาน และ
จรรยาบรรณวชิ าชีพของศกึ ษานิเทศก์
แนวทางการจัดกจิ กรรม
๑. วิทยากรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับผู้เข้ารับการพัฒนา เร่ือง มาตรฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ
ศึกษานเิ ทศก์
๒. แบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการพัฒนาเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ ๘-๑๐ คน โดยให้สมาชิกกลุ่มศึกษาใบความรู้
ท่ี ๑.๒.๑ เรื่อง มาตรฐานวิชาชีพศึกษานิเทศก์ และจรรยาบรรณวิชาชีพศึกษานิเทศก์ เป็นรายบุคคล จากนั้น
ปฏิบัติตามใบกิจกรรมที่ ๑.๒.๑ เรื่อง การวิเคราะห์ความสอดคล้องของคุณธรรม จริยธรรม มาตรฐาน และ
จรรยาบรรณวชิ าชีพศกึ ษานเิ ทศก์
๒. สมาชิกในกล่มุ ร่วมกนั อภิปรายและสรุปความรู้โดยเขยี นผงั ความคิดของกลุ่มลงในกระดาษปรู๊ฟ
๓. วิทยากรส่มุ ผู้แทนกลมุ่ ๑ – ๒ กลมุ่ นาเสนอต่อท่ปี ระชุมใหญ่
๔. วทิ ยากรและผู้เขา้ รบั การพัฒนารว่ มกันสรปุ องค์ความรู้
สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้
๑. Power point เรอื่ ง มาตรฐานวชิ าชีพศกึ ษานิเทศก์และจรรยาบรรณวชิ าชีพศึกษานิเทศก์
ของคุรสุ ภา
๒. ใบความรู้ที่ ๑.๒.๑ เรอ่ื ง มาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชพี ศึกษานิเทศก์
๓. ใบกจิ กรรมที่ ๑.๒.๑ เรอ่ื ง การวิเคราะหค์ วามสอดคล้องของคุณธรรม จริยธรรม มาตรฐาน
และจรรยาบรรณวิชาชพี ศึกษานิเทศก์
๔. กระดาษปรฟู๊ สเี มจกิ
การวดั และประเมนิ ผล
๑. สงั เกตพฤติกรรมการมีสว่ นรว่ มและการนาเสนอผลงาน
๒. ประเมินผลงาน
หลกั สตู รและแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้การพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๑๓
กอ่ นแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหน่งศกึ ษานิเทศก์
ใบความรทู้ ี่ ๑.๒.๑
เรอ่ื ง มาตรฐานวิชาชีพศกึ ษานิเทศก์และจรรยาบรรณวิชาชีพศึกษานเิ ทศก์
มาตรฐานวชิ าชีพศกึ ษานเิ ทศก์
มาตรฐานวิชาชพี ศกึ ษานิเทศก์ ประกอบด้วยมาตรฐาน ๓ ด้าน คอื
๑. มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชพี
๒. มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน
๓. มาตรฐานการปฏบิ ตั ติ น (จรรยาบรรณของวชิ าชพี )
โดยจรรยาบรรณของวชิ าชพี ได้มีการกาหนดแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ เพอื่
ประมวลพฤติกรรมทเ่ี ป็นตัวอยา่ งของการประพฤติปฏิบตั ปิ ระกอบด้วย พฤติกรรมท่ีพงึ ประสงค์ และพฤตกิ รรม
ทไ่ี ม่พึงประสงค์
๑. มาตรฐานความรู้และประสบการณว์ ิชาชีพ มาตรฐานประสบการณว์ ชิ าชพี
มาตรฐานความรู้ ๑. มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้ว ไมน่ อ้ ย
๑. มีคณุ วฒุ ไิ ม่ต่ากว่าปรญิ ญาโททางการศึกษา กว่า ๕ ปี หรอื มีประสบการณ์ดา้ นปฏบิ ัตกิ ารสอน
และมปี ระสบการณ์ในตาแหน่งผู้บรหิ าร
หรือเทียบเทา่ หรือคุณวุฒอิ ืน่ ที่คุรุสภารบั รอง สถานศึกษา หรือผู้บริหารการศกึ ษารวมกนั
โดยมีความรู้ ดังต่อไปน้ี มาแล้วไม่น้อยกวา่ ๕ ปี
๑.๑ การนเิ ทศการศึกษา
๑.๒ นโยบายและการวางแผนการศกึ ษา ๒. มผี ลงานทางวิชาการทมี่ ีคุณภาพและมีการเผยแพร่
๑.๓ การพัฒนาหลกั สูตรและการสอน
๑.๔ การประกันคุณภาพการศึกษา
๑.๕ การบริหารจัดการการศึกษา
๑.๖ การวิจยั ทางการศึกษา
๑.๗ กลวิธีการถา่ ยทอดความรู้ แนวคิด ทฤษฎี
และผลงานทางวิชาการ
๑.๘ การบริหารจดั การเทคโนโลยีสารสนเทศ
๑.๙ คุณธรรมและจรยิ ธรรมสาหรบั ผปู้ ระกอบ
วชิ าชีพทางการศึกษา
๒. ผ่านการฝึกอบรมหลกั สูตรการนเิ ทศการศึกษา
ทีค่ ณะกรรมการคุรุสภารับรอง
หลกั สตู รและแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรกู้ ารพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๑๔
ก่อนแตง่ ต้ังให้ดารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์
รายละเอียดของมาตรฐานความรยู้ ่อย
มาตรฐานความรู้ สาระความรู้ สมรรถนะ
๑. การนิเทศ ๑. หลักการและรปู แบบการนิเทศ
๒. วธิ กี ารและกระบวนการนเิ ทศ ๑. สามารถวิเคราะห์ วิจัย สง่ เสริมให้
การศึกษา ๓. กลยทุ ธ์การนิเทศการศึกษา ข้อเสนอแนะเพื่อพฒั นาระบบการ
นเิ ทศภายในสถานศึกษา
๒. นโยบายและการ ๓.๑ การวเิ คราะห์พฤติกรรม
วางแผนการศึกษา การนเิ ทศการศึกษา ๒. สามารถตดิ ตาม ประเมินผล และ
รายงานผลการจดั กระบวนการ
๓. การพฒั นา ๓.๒ การสรา้ งทกั ษะในการนเิ ทศ เรยี นรู้ การสอน และการบริหาร
หลกั สูตรและ ๓.๓ การใช้กลยทุ ธ์ในการนเิ ทศ จดั การการศึกษา
การสอน ๓.๔ การนานวตั กรรมมาประยุกต์ใช้
๓. สามารถประสาน สนบั สนนุ และ
ในการนเิ ทศ เผยแพร่ผลงานดา้ นการนิเทศ
๓.๕ การควบคมุ และการประเมนิ การศึกษาแกห่ น่วยงานท่ีเกย่ี วขอ้ ง
เพือ่ การพฒั นาคุณภาพ ๔. สามารถใชเ้ ทคนคิ การนเิ ทศได้อย่าง
การศึกษา หลากหลายดว้ ยความเป็น
๔. การนเิ ทศภายใน กลั ยาณมิตร
๑. ระบบและทฤษฎกี ารวางแผน
๒. บริบททางเศรษฐกจิ สังคม และ ๑. สามารถให้คาแนะนา ปรึกษาเก่ยี วกับ
การเมืองไทยทมี่ ีอิทธิพลต่อ การวิเคราะห์ข้อมูล และรายงานผล
การศกึ ษา เพ่ือจดั ทานโยบาย แผน และการ
๓. แผนการศกึ ษาระดบั ชาติและระดบั ตดิ ตามประเมินผลด้านการศึกษา
ตา่ งๆ
๔. การวิเคราะห์และกาหนดนโยบาย ๒. สามารถให้คาแนะนา ปรึกษาเก่ียวกับ
การศึกษา การกาหนดนโยบายและการ
๕. การวางแผนพฒั นาคุณภาพ วางแผนดาเนินงาน และการ
การศกึ ษา ประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา
๖. การพัฒนาและประเมินนโยบาย
การศึกษา ๓. สามารถให้คาแนะนา ปรึกษาเกย่ี วกบั
การจดั ทาแผนพฒั นาคณุ ภาพ
๑. ความร้เู ก่ียวกบั หลักสูตร การศกึ ษาที่มุ่งให้เกดิ ผลดี คุ้มค่าต่อ
๒. การสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา สังคม
๓. หลกั การพัฒนาหลกั สตู ร และสง่ิ แวดลอ้ มอย่างย่ังยืน
๔. การจดั การเรียนรู้
๕. จิตวทิ ยาการศึกษา ๑. สามารถให้คาแนะนา ปรึกษา
๖. การวัดและการประเมินผล เก่ยี วกบั การพัฒนาหลกั สูตรและ
๗. การจดั การศึกษาพิเศษ การจดั ทาหลักสูตรสถานศกึ ษา
๒. สามารถสาธติ แนะนาครใู ห้จัด
กจิ กรรมทสี่ ่งเสริมการเรยี นรู้ไดเ้ ต็ม
ศักยภาพของผูเ้ รียน
๓. สามารถประเมนิ หลักสตู รและการ
นาหลักสูตรไปใช้
หลักสูตรและแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรกู้ ารพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ๑๕
ก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์
รายละเอยี ดของมาตรฐานความรูย้ ่อย (ต่อ)
มาตรฐานความรู้ สาระความรู้ สมรรถนะ
๔. การประกันคุณภาพ ๑. การบริหารคุณภาพ ๑. สามารถศึกษา วเิ คราะห์ วิจัยการ
การศกึ ษา ๒. การประกนั คุณภาพการศึกษา จดั ทามาตรฐาน และการพัฒนาระบบ
๓. มาตรฐานคุณภาพการศกึ ษา ประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
๔. กระบวนการประเมินคณุ ภาพภายใน ๒. สามารถนิเทศ กากบั ตดิ ตาม และ
และภายนอกสถานศึกษา ประเมินผลการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษา
๓. สามารถให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะ
และการวางระบบการจัดทารายงานผล
การประเมินตนเองของสถานศึกษา
เพอ่ื การพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ืองและพร้อม
รับการประเมนิ ภายนอก
๕. การบรหิ ารจดั การ ๑. หลกั และระบบขอบข่ายการจดั ๑. สามารถให้คาปรกึ ษา แนะนาการจดั
การศึกษา การศกึ ษา การศกึ ษาให้บรรลุวัตถุประสงคต์ าม
๒. หลกั การบริหารจัดการการศกึ ษา เจตนารมณ์ของการศึกษา
โดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน ๒. สามารถนเิ ทศการบรหิ ารจัดการ
๓. การปฏิรูปการศกึ ษา สถานศึกษาไปสู่องค์กรแหง่ การเรยี นรู้
๕. กฎหมายและระเบียบท่เี ก่ียวขอ้ งกบั ๓. สามารถบริหารจดั การการศึกษาโดยใช้
การจดั การศึกษา โรงเรยี นเปน็ ฐาน
๖. การวจิ ัยทาง ๑. ระเบยี บวธิ วี ิจยั ๑. สามารถใหค้ าแนะนา ปรึกษาเก่ียวกับ
การศึกษา ๒. กระบวนการวิจัย การนากระบวนการวจิ ัยไปใช้ในการ
๓. การนาผลการวจิ ยั ไปใช้ แกป้ ญั หาและพัฒนาการเรียนการสอน
๒. สามารถใหค้ าแนะนา ปรกึ ษาเก่ยี วกบั
การนาผลการวิจัยไปใชใ้ นการ
พัฒนาการจัดการเรยี นการสอน
๓. สามารถดาเนินการวิจยั เพ่ือสร้าง องค์
ความรใู้ หม่ ๆ ดา้ นการเรยี นรู้และการ
จัดการศึกษา
๗. กลวิธีการถา่ ยทอด ๑. กลวิธกี ารนาเสนอความรู้ แนวคดิ ๑. สามารถเขียนเอกสารทางวชิ าการ
ความรู้ แนวคิด ทฤษฎีทีเ่ หมาะสมกับการเรยี นรู้ ประเภทตา่ ง ๆ
ทฤษฎี และผลงาน ๒. การเขียนรายงาน บทความ ผลงาน ผล ๒. สามารถแนะนาและใหค้ าปรกึ ษา การ
ทางวชิ าการ การศกึ ษาคน้ ควา้ และอ่นื ๆ เขียนเอกสารทางวิชาการแกค่ รูและ
๓. การวเิ คราะห์ วจิ ารณผ์ ลงานวิชาการ บุคลากรทางการศึกษา
อยา่ งสรา้ งสรรค์ ๓. สามารถนาเสนอความรู้ แนวคิด
ทฤษฎีด้วยวิธกี ารท่ีหลากหลายและ
เหมาะสมต่อการเรยี นรู้
หลกั สตู รและแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้การพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ๑๖
กอ่ นแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์
รายละเอยี ดของมาตรฐานความรยู้ ่อย (ต่อ)
มาตรฐานความรู้ สาระความรู้ สมรรถนะ
๘. การบริหารจัดการ
๑. หลักการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ๑. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยี
สารสนเทศ ๒. อินเทอร์เนต็ เพอ่ื การพัฒนาตนและการพัฒนางาน
๙. คณุ ธรรมและ ๓. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ได้อยา่ งเหมาะสม
จริยธรรมสาหรับ
ผู้ประกอบวิชาชพี ๔. ระบบมลั ตมิ ีเดยี แบบปฏสิ ัมพันธ์ ๒. สามารถใหค้ าปรึกษา แนะนาการใช้
ทางการศึกษา
๕. สานักงานอัตโนมัติ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพอ่ื พัฒนาการ
จดั การศกึ ษาแกส่ ถานศกึ ษา
๑. คณุ ธรรมและจริยธรรมสาหรบั ๑. ปฏบิ ัตติ นตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ผูป้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ทางการศกึ ษา
๒. จรรยาบรรณของวิชาชพี ทางการศึกษา ๒. มีหลกั ธรรมในการนเิ ทศและประพฤติ
๓. การบรหิ ารกจิ การบา้ นเมืองทด่ี ี ตนเป็นแบบอย่างทีดี
๒. มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน
๑. ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาการนิเทศการศึกษาเพื่อให้เกิดการพัฒนาวิชาชีพ
ทางการศึกษา
คุณสมบัติเบื้องต้นที่สาคัญประการหน่ึงของศึกษานิเทศก์มืออาชีพ คือ การเข้าร่วมเป็นสมาชิกที่ดี
ขององค์กรวิชาชีพ ด้วยการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาวิชาชีพ ได้แก่ การเป็น
ผู้ร่วมงาน การเป็นผู้จัดงานหรือกิจกรรม รวมท้ังการเป็นผู้เสนอผลงานและเผยแพร่ผลงาน เพ่ือให้สมาชิก
ยอมรับและเห็นคุณประโยชน์ของศึกษานิเทศก์ท่ีมีต่อการพัฒนาองค์กร ตลอดจนการนาองค์กรให้ เป็นที่
ยอมรับของสงั คมโดยสว่ นรวม
๒. ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมการนเิ ทศการศกึ ษาโดยคานงึ ถึงผลทีจ่ ะเกดิ แกผ่ ูร้ บั การนเิ ทศ
ศึกษานิเทศก์มืออาชีพ แสดงความรัก ความเมตตา และความปรารถนาดีต่อผู้รับการนิเทศด้วย
การตัดสินใจในการทางานต่าง ๆ เพ่ือผลการพัฒนาที่จะเกิดข้ึนกับผู้รับการนิเทศ ศึกษานิเทศก์ต้องวิเคราะห์
ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมของตนกับผลท่ีจะเกิดแก่ผู้รับการนิเทศแล้วเลือกเฉพาะกิจกรรมท่ีจะ
นาไปสู่ ผลทางบวกเสมอ อีกท้ังระมัดระวังไม่ให้เกิดกิจกรรมท่ีมีผลทางลบโดยมิได้ต้ังใจเพื่อนาไปสู่ความ
ไวว้ างใจ ความศรัทธาของผู้รบั การนิเทศทีม่ ตี อ่ การนเิ ทศและเห็นประโยชน์ของการนิเทศ
๓. มุ่งมัน่ พัฒนาผรู้ บั การนิเทศให้ลงมอื ปฏบิ ัติกจิ กรรมจนเกิดผลตอ่ การพัฒนาอยา่ งเตม็ ศักยภาพ
คุณประโยชน์สาคัญของการนิเทศอยู่ที่ผู้รับการนิเทศได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาจนเป็นผล
ให้เกิดการพัฒนาเต็มศักยภาพ ศึกษานิเทศก์มืออาชีพต้องกาหนด ปรับเปล่ียนแนวทางการนิเทศ เพื่อนาไปสู่
การพัฒนาผู้รับการนิเทศอย่างเตม็ ศักยภาพ โดยศึกษาจุดเด่น จุดด้อยของผรู้ ับการนเิ ทศกาหนดจุดท่ีจะพัฒนา
เลือกใช้วิธีท่ีเหมาะสมกับการพัฒนาด้านนั้น ๆ แล้วใช้เทคนิคการนิเทศให้ผู้รับการนิเทศได้ลงมือปฏิบัติจริง
ประเมนิ ปรบั ปรุง ให้ผู้รบั การนิเทศรู้ศักยภาพ เลือกแนวทางทเี่ หมาะสมกับงาน และลงมือปฏิบัติจนเป็นผลให้
ศักยภาพของผู้รับการนิเทศและศึกษานิเทศก์เพิ่มพูนพัฒนา ก้าวหน้าอย่างไม่หยุดย้ัง นาไปสู่การเป็นบุคคล
แหง่ การเรยี นรู้
หลกั สูตรและแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้การพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๑๗
ก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งศกึ ษานิเทศก์
๔. พฒั นาแผนการนิเทศให้สามารถปฏิบัตไิ ดเ้ กิดผลจรงิ
ศึกษานิเทศก์มืออาชีพวางแผนการนิเทศได้อยา่ งมยี ทุ ธศาสตร์ เหมาะสมกับเงื่อนไข ข้อจากัดของ
ผู้รบั การนิเทศ สอดคล้องกับนโยบาย แนวทางและเป้าหมายของการพัฒนา เมื่อนาไปปฏิบัติจะเกิดผลต่อการ
พัฒนาอย่างแท้จริง แผนการนิเทศต้องมีกิจกรรมสาคัญท่ีนาไปสู่ผลของการพัฒนา ความสอดคล้องระหว่าง
กิจกรรมกับผลงานถือเป็นคุณภาพสาคญั ทนี่ าไปสู่การปฏบิ ตั ิงานท่ีมปี ระสิทธิภาพสูงมีความคุ้มค่าและเกิดผลจริง
๕. พัฒนาและใชน้ วัตกรรมการนเิ ทศการศึกษาจนเกดิ ผลงานทีม่ ีคณุ ภาพสูงข้ึนเปน็ ลาดบั
นวัตกรรมการนิเทศเป็นเคร่ืองมือสาคัญของศึกษานิเทศก์ในการนาไปสู่ผลงานที่มีคุณภาพสูงข้ึน
เป็นลาดับ ศึกษานิเทศก์มืออาชีพต้องมีความรู้ในการนิเทศแนวใหม่ ๆ เลือกและปรับปรุงใช้นวัตกรรมได้
หลากหลาย ตรงกับสภาพการณ์ เงื่อนไข ข้อจากัดของงานและผู้รับการนิเทศจนนาไปสู่ผลได้จริง เพ่ือให้ผู้รับ
การนิเทศใชศ้ กั ยภาพของตนอย่างเต็มที่ มคี วามภาคภมู ิใจในผลงานรว่ มกัน และก้าวหน้าพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง
๖. จดั กจิ กรรมการนิเทศการศึกษาโดยเน้นผลถาวรท่ีเกิดแก่ผู้รับการนิเทศ
ศึกษานิเทศก์มืออาชีพเลือกและใช้กิจกรรมการนิเทศท่ีจะนาไปสู่การเปล่ี ยนแปลงที่ดีขึ้นของผู้รับ
การนิเทศ จนผู้รับการนิเทศมีนิสัยในการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ศึกษานิเทศก์ต้องรู้จักเส้นพัฒนาของผู้รับการ
นเิ ทศและเพียรพยายามกระตุ้นย่วั ยุท้าทายใหผ้ รู้ ับการนเิ ทศลงมอื ปฏิบตั กิ ิจกรรมเพ่ือการพฒั นา ด้วยความรู้สึก
ประสบผลสาเร็จเป็นระยะๆ โดยพยามยามให้ผู้รับการนิเทศมีความรู้สึกเป็นเจ้าของการทากิจกรรมและการ
พัฒนาของผู้รับการนิเทศเอง ขั้นตอนในการนิเทศควรเริ่มจาก การริเร่ิม การร่วมพัฒนา และการสนับสนุน
ข้อมูลให้กาลังใจให้ผู้รับการนิเทศค้นหาปฏิบัติ ประเมิน และปรับปรุงงานต่าง ๆได้ด้วยตนเอง เพ่ือให้เกิด
ค่านิยมและนิสัยในการปฏิบัติ เกิดเป็นการพัฒนางานในภาวะปกติ เป็นบุคลิกภาพถาวรของผู้รับการนิเทศ
ตลอดไป รวมท้ังเกดิ ความช่ืนชมและศรทั ธาความสามารถของตน
๗. รายงานผลการนิเทศการศึกษาไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ
ศึกษานิเทศก์มืออาชีพสามารถนาเสนอผลงานท่ีได้ทาสาเร็จแล้ว ด้วยการรายงานผลที่แสดงถึง
การวิเคราะห์อย่างรอบคอบ ซึ่งครอบคลุมการกาหนดงานท่ีจะนาไปสู่ผลแห่งการพัฒนา การลงมือปฏิบัติ
จรงิ และผลท่ปี รากฏมีหลักฐานยนื ยนั ชัดเจน การจัดทารายงานเป็นโอกาสท่ีจะไดค้ ิดทบทวนถึงงานท่ที าแล้ว
ว่ามีข้อจากัด ผลดี ผลเสีย ผลกระทบท่ีมิได้ระวังไว้อย่างไร ถ้าผลงานเป็นผลดีจะช่ืนชม ภาคภูมิใจได้ใน
ส่วนใด นาเสนอให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อ่ืนได้อย่างไร ถ้าผลงานยังไม่สมบูรณ์ จะปรับปรุงเพิ่มเติมได้
อย่างไร และจะนาประสบการณ์ทีไ่ ด้รบั ไปใช้ประโยชน์ในการทางานต่อไปอย่างไร คุณประโยชน์ของรายงาน
ท่ีดีย่อมนาไปสู่การประเมินตนเอง การชื่นชมความสามารถของผู้ปฏิบัติ การเรียนรู้เกี่ยวกับ
ความสามารถ และศักยภาพของผู้ปฏิบตั ิทจี่ ะกอ่ ใหเ้ กดิ การยอมรับและชื่นชมในความสามารถของตน
๘. ปฏิบัติตนเป็นแบบอยา่ งที่ดี
ศึกษานิเทศก์มีภารกิจในการพัฒนาผู้รับการนิเทศโดยการให้คาปรึกษา แนะนา หรือจัดกิจกรรม
เพื่อให้ผู้รับการนิเทศปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมสาคัญตามเง่ือนไขที่ผู้นิเทศเสนอแนะ ดังนั้น ผู้นิเทศต้อง
ประพฤติปฏิบัติให้เป็นท่ีประจักษ์เสียก่อน เพื่อให้คาปรึกษา คาแนะนา หรือกิจกรรมนั้น ๆ มีน้าหนัก มี
ความสาคัญน่าเชื่อถือ ผู้นิเทศจาเป็นต้องเป็นแบบอย่างที่ดีทั้งบุคลิกภาพ การปฏิบัติตน มีคุณธรรม
จริยธรรม จะช่วยให้ผู้รบั การนเิ ทศเชือ่ ถือศรทั ธาตอ่ การนิเทศการศึกษา และปฏบิ ัตติ ามด้วยความพงึ พอใจ
๙. ร่วมพัฒนางานกบั ผู้อื่นอย่างสรา้ งสรรค์
ศึกษานิเทศก์มืออาชีพร่วมพัฒนางานกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ เสนอแนวทางปรับปรุงที่ดีกว่าเดิม
แนะนาการปฏิบัติที่เป็นผลดีกว่าเดิม ไม่หยุดอยู่เพียงการวิพากษ์วิจารณ์ แต่จะช้ีนาแนวทางการแก้ปัญหา ที่
นาไปสู่ผลดี เป็นผู้สามารถร่วมคิด ร่วมวางแผน และร่วมปฏิบัติ เพื่อพัฒนางานขององค์กร เพ่ือนร่วมวิชาชีพ
หลกั สูตรและแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรกู้ ารพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๑๘
ก่อนแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหน่งศกึ ษานเิ ทศก์
และชุมชน ด้วยความเต็มใจ เต็มความรู้ความสามารถและคาดหวังผลที่ดีที่สุดที่จะเกิดข้ึน โดยตระหนักถึง
ความสาคัญ ยอมรับในความรู้ความสามารถและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้อื่นได้ใช้
ความสามารถของตนอย่างเต็มศักยภาพ ท้ังนี้เพื่อเสริมสร้างบรรยากาศประชาธิปไตยในการทางาน ท่ีจะ
นาไปสู่ผลงานท่ีดีท่ีสุดอยู่เสมอ เป็นที่ยอมรับของผู้รับการนิเทศและผู้ร่วมงาน จนผู้รับการนิเทศเกิดศรัทธาต่อ
การนเิ ทศ การปรับปรุงงานและการรว่ มงานกับผอู้ ืน่
๑๐. แสวงหาและใช้ขอ้ มูลขา่ วสารในการพฒั นา
ความประทบั ใจของผู้รับการนิเทศทมี่ ีต่อผ้นู ิเทศอย่างหน่งึ คือ ความเป็นผู้รอบรู้ ทันสมัย และทัน
โลก ศึกษานิเทศก์มืออาชีพต้องติดตามการเปล่ยี นแปลงท่ีเกิดขึ้นในโลกทุกดา้ นจนสามารถสนทนากับผู้อ่ืนด้วย
ข้อมูลข่าวสารท่ีทันสมัยและนาข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ไปใช้ในการพัฒนางานและพัฒนาผู้รับการนิเทศ การ
ต่ืนตัว การรับรู้ และการมีข้อมูลสารสนเทศเหล่านี้ นอกจากเป็นประโยชน์ต่องานนิเทศแล้ว ยังนามาซึ่งการ
ยอมรบั และความรสู้ ึกเชื่อถือของผรู้ บั การนิเทศ อนั เป็นเง่ือนไขเบื้องตน้ ทจี่ ะนาไปสู่การพฒั นาทล่ี ึกซ้ึงต่อเน่ืองต่อไป
๑๑. เป็นผนู้ าและสร้างผู้นาทางวชิ าการ
ศึกษานิเทศก์มืออาชีพสรา้ งวัฒนธรรมในการพัฒนางานวิชาการ ดว้ ยการพูดนา ปฏบิ ัตินา และจัด
ระบบงานให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมการพัฒนาวิชาการ โดยการให้รางวัลแก่ผู้รบั การนิเทศท่ีปฏิบัติงานสาเร็จ
แล้ว จนนาไปสู่การพัฒนาตนเอง คิดได้เอง ตัดสินใจได้เอง พัฒนางานได้เองของผู้รับการนิเทศ ศึกษานิเทศก์
จึ ง ต้ อ ง แ ส ด งอ อ ก อ ย่ า งชั ด เจ น แ ล ะ ส ม่ า เส ม อ เกี่ ย ว กั บ วั ฒ น ธ ร ร ม ใน ก าร พั ฒ น า ง า น วิ ช า ก า ร ด้ ว ย ค ว า ม
กระตือรอื รน้ เพยี รพยายามท่ีจะบริการอยา่ งเต็มท่ี ตามขีดสูงสุดของความสามารถ เพ่อื ใหผ้ ู้รบั การนิเทศ เกิด
ความมั่นใจในการปฏิบัติ สามารถเลือกการกระทาท่ีสอดคล้องกับวัฒนธรรม แสดงออกและช่ืนชมได้ด้วย
ตนเอง ศึกษานิเทศก์มืออาชีพจึงต้องสร้างศรัทธาความไว้วางใจและความรู้สึกประสบผลสาเร็จให้แก่ผู้รับการ
นเิ ทศแตล่ ะคนและทุกคนจนเกิดภาพความเป็นผนู้ าทางวชิ าการ นาไปสูก่ ารเปน็ บุคคลแห่งการเรยี นรู้อย่างแท้จรงิ
๑๒. สรา้ งโอกาสในการพฒั นางานไดท้ ุกสถานการณ์
การพัฒนาวิชาชีพการนิเทศการศึกษาให้พัฒนาอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับความก้าวหน้าของโลก
อย่างไม่หยุดยั้ง ศึกษานิเทศก์จาเป็นต้องรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงและสามารถจัดการต่อการเปลี่ยนแปลงให้
สอดคล้องสมดุลและเสริมสร้างซึ่งกันและกันศึกษานิเทศก์มืออาชีพจึงต้องตื่นตัวอยู่เสมอ มองเห็นการ
เปลยี่ นแปลงอยา่ งรอบดา้ น ท้ังในปจั จบุ ันและอนาคต กล้าที่จะตัดสนิ ใจดาเนนิ การเพือ่ ผลต่อวชิ าชพี การนเิ ทศ
การศึกษาในอนาคต อย่างไรก็ตามการรู้เท่าทันการเปล่ียนแปลงนี้จะเป็นการประกันได้ว่าการพัฒนาวิชาชีพ
การนิเทศการศึกษาจะปรับเปลี่ยนได้ทันกับการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ส่งผลให้วิชาชีพการนิเทศการศึกษา
พัฒนาไดอ้ ย่างย่งั ยนื ผนั แปรตามความกา้ วหน้าตลอดไป
๓. มาตรฐานการปฏบิ ัติตน (จรรยาบรรณของวชิ าชีพ)
๓.๑ จรรยาบรรณต่อตนเอง
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ต้องมีวินยั ในตนเอง พฒั นาตนเองด้านวชิ าชีพ บคุ ลกิ ภาพ และ
วสิ ัยทัศน์ ใหท้ ันตอ่ การพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกจิ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ
๓.๒ จรรยาบรรณต่อวชิ าชพี
ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ต้องรัก ศรัทธา ซอื่ สัตยส์ จุ รติ รบั ผิดชอบต่อวิชาชีพ และเปน็
สมาชกิ ท่ีดขี ององค์กรวชิ าชพี
๓.๓ จรรยาบรรณต่อผรู้ ับบริการ
๑. ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ สง่ เสริม ให้กาลงั ใจแก่
ศิษย์และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าทีโ่ ดยเสมอหน้า
หลกั สตู รและแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนร้กู ารพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ๑๙
กอ่ นแตง่ ตัง้ ใหด้ ารงตาแหน่งศึกษานิเทศก์
๒. ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตอ้ งส่งเสริมให้เกิดการเรยี นรู้ ทกั ษะ และนสิ ยั ทถ่ี กู ต้องดี
งามแก่ศษิ ยแ์ ละผูร้ บั บรกิ าร ตามบทบาทหนา้ ท่ีอย่างเต็มความสามารถดว้ ยความบริสุทธิ์ใจ
๓. ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ต้องประพฤติตนเปน็ แบบอย่างทด่ี ี ท้ังทางกาย วาจา และ
จติ ใจ
๔. ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษาต้องไมก่ ระทาตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจรญิ ทางกาย
สตปิ ัญญา จติ ใจ อารมณ์ และสังคมของศิษยแ์ ละผ้รู ับบริการ
๕. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ตอ้ งให้บริการดว้ ยความจรงิ ใจและเสมอภาค โดยไมเ่ รียกรับ
หรอื ยอมรับผลประโยชน์จากการใชต้ าแหนง่ หนา้ ทโี่ ดยมิชอบ
๓.๔ จรรยาบรรณตอ่ ผู้รว่ มประกอบวิชาชีพ
ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา พงึ ชว่ ยเหลือเก้ือกลู ซึง่ กันและกนั อยา่ งสร้างสรรค์ โดยยดึ ม่นั ใน
ระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคใี นหมคู่ ณะ
๓.๕ จรรยาบรรณต่อสังคม
ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา พึงประพฤติปฏบิ ัติตนเป็นผู้นาในการอนุรักษแ์ ละพฒั นา
เศรษฐกิจ สงั คม ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญา สงิ่ แวดลอ้ ม รกั ษาผลประโยชน์ของส่วนรวมและยดึ มัน่ ใน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข
แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชพี “ศึกษานเิ ทศก์”
จรรยาบรรณต่อตนเอง
ศึกษานเิ ทศก์ ต้องมีวินยั ในตนเอง พัฒนาตนเองดา้ นวชิ าชพี บคุ ลิกภาพ และวิสัยทศั น์ ให้ทันต่อการ
พฒั นาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สงั คม และการเมืองอย่เู สมอ โดยต้องประพฤตแิ ละละเว้นการประพฤติตาม
แบบแผนพฤตกิ รรม ดังตวั อย่างต่อไปนี้
พฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ พฤติกรรมทีไ่ ม่พึงประสงค์
(๑) ประพฤตติ นเหมาะสมกับสถานภาพและเป็นแบบอย่างที่ดี (๑) เกย่ี วข้องกับอบายมขุ หรือเสพสิ่งเสพติด
(๒) ปฏิบัตงิ านตามหน้าที่ทีไ่ ดร้ บั มอบหมายให้สาเรจ็ อยา่ งมี จนขาดสติหรือแสดงกริ ยิ าไม่สุภาพเป็นที่
คณุ ภาพตามเปา้ หมายที่กาหนด น่ารงั เกยี จในสังคม
(๓) ศึกษาหาความรู้ วางแผนพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และ (๒) ประพฤติผิดทางชูส้ าวหรอื มีพฤติกรรม
สะสมผลงานอยา่ งสม่าเสมอ ลว่ งละเมิดทางเพศ
(๔) สร้างผลงานที่แสดงถึงการพฒั นาตนเองด้านวิชาชีพ (๓) ปฏบิ ตั ิตนหรือปฏบิ ัตงิ านที่ก่อให้เกดิ
(๕) ค้นหาวิธีการทางาน การพัฒนาวชิ าชีพและสามารถนามา ความเสยี หาย
ประยุกตใ์ หเ้ กิดผลต่อผู้รบั การนเิ ทศ (๔) ไม่รับรู้ ไม่แสวงหาความรู้ นวัตกรรม
(๖) นิเทศโดยยึดผ้รู ับการนเิ ทศเป็นสาคัญด้วยกระบวนการ เทคโนโลยีและแนวคดิ เพื่อการพฒั นา
เรียนรู้ร่วมกันอยา่ งสม่าเสมอ ตนเองและวิชาชีพ
(๗) พัฒนาวสิ ยั ทศั นโ์ ดยผสมผสานนวัตกรรม เทคโนโลยี และ
แนวคิด เพ่ือใชใ้ นการพัฒนาวิชาชพี
หลกั สตู รและแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้กู ารพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๒๐
ก่อนแต่งตัง้ ใหด้ ารงตาแหน่งศึกษานิเทศก์
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
ศกึ ษานเิ ทศก์ ตอ้ งรัก ศรัทธา ซอ่ื สัตย์สุจริต รบั ผิดชอบตอ่ วิชาชีพ และเป็นสมาชกิ ที่ดขี ององค์กร
วชิ าชพี โดยต้องประพฤตแิ ละละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดงั ตัวอย่างต่อไปน้ี
พฤตกิ รรมที่พึงประสงค์ พฤตกิ รรมที่ไม่พงึ ประสงค์
(๑) แสดงความชื่นชมและศรัทธาในคุณค่าของวชิ าชีพ (๑) วพิ ากษ์หรือวิจารณ์องค์การหรือวชิ าชพี จน
(๒) รักษาช่อื เสยี งและปกปอ้ งศกั ด์ิศรีแหง่ วชิ าชีพ ทาให้เกดิ ความเสียหาย
(๓) ยกยอ่ งและเชิดชเู กียรติผมู้ ีผลงานในวชิ าชพี ให้สาธารณชน (๒) ดูหม่ิน เหยยี ดหยาม ให้ร้ายผู้รว่ มประกอบ
รับรู้ วชิ าชีพ ศาสตร์ในวิชาชีพหรือองค์กร
(๔) ปฏิบัติหนา้ ที่ดว้ ยความรับผิดชอบ ซอื่ สัตย์สจุ รติ ตามกฎ วชิ าชพี
ระเบียบ และแบบแผนของทางราชการ (๓) ประกอบการงานอน่ื ทไี่ ม่เหมาะสมกบั การ
(๕) เลือกใชห้ ลักการ วธิ ีการท่ีถูกต้อง ได้ผลดี ทนั สมยั เป็น ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา
และสอดรับกับผูร้ ับการนิเทศ (๔) ไม่ซ่ือสตั ย์สุจรติ ไมร่ ับผิดชอบหรือไม่
(๖) อุทิศตนเพ่ือประโยชน์ของผู้รบั การนเิ ทศและความก้าวหนา้ ปฏบิ ัติตามกฎ ระเบียบ หรือแบบแผนของ
ของวชิ าชพี ทางราชการ จนก่อนใหเ้ กิดความเสยี หาย
(๗) สรา้ งสรรคเ์ ทคนิค วิธกี ารใหม่ ๆ ทางการศกึ ษา เพ่ือ (๕) คัดลอกหรือนาผลงานของผู้อืน่ มาเปน็ ของตน
พฒั นาวชิ าชีพ เปน็ สมาชกิ ที่ดขี ององคก์ รวชิ าชพี (๖) ใชค้ วามรู้ทางวิชาการ วิขาชีพหรืออาศยั
(๘) แลกเปล่ียนเรียนรกู้ ับสมาชิกในองค์การหรือวิชาชพี องค์กรวิชาชพี แสวงหาประโยชนเ์ พื่อ
อยา่ งต่อเน่ือง ใชศ้ าสตร์องค์ความรูใ้ นการปฏิบัติงาน ตนเองหรอื ผู้อน่ื โดยมิชอบ
(๙) เขา้ รว่ ม สง่ เสรมิ และประชาสัมพันธ์กิจกรรมของ
วิชาชพี หรือองค์กรวชิ าชีพอย่างสร้างสรรค์
จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
๑. ศึกษานิเทศก์ ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจแก่ศษิ ย์และผู้รับบริการตาม
บทบาทหน้าท่ีโดยเสมอหนา้
๒. ศึกษานิเทศก์ ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยท่ีถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และ
ผู้รบั บรกิ ารตามบทบาทหน้าที่อย่างเตม็ ความสามารถดว้ ยความบริสทุ ธ์ิใจ
๓. ศกึ ษานิเทศก์ ต้องประพฤตติ นเปน็ แบบอย่างท่ดี ี ทงั้ ทางกาย วาจา และจติ ใจ
๔. ศกึ ษานิเทศก์ ตอ้ งไมก่ ระทาตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และ
สงั คมของศษิ ย์และผูร้ ับบรกิ าร
๕. ศึกษานิเทศก์ ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับ
ผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ โดยต้องประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผน
พฤติกรรม ดงั ตัวอย่างต่อไปนี้
หลักสูตรและแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้การพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๒๑
ก่อนแตง่ ตัง้ ใหด้ ารงตาแหน่งศึกษานเิ ทศก์
พฤตกิ รรมที่พึงประสงค์ พฤติกรรมทีไ่ ม่พึงประสงค์
(๑) สนับสนุน ส่งเสริมผู้รับการนิเทศให้ประสบ (๑) ปฏบิ ตั งิ านมุ่งประโยชนส์ ่วนตนหรอื พวกพ้อง
ความสาเร็จตามความถนดั ความสนใจและ ไมเ่ ปน็ ธรรม หรอื มลี ักษณะเลือกปฏบิ ตั ิ
ศักยภาพของแต่ละคน (๒) เรียกร้องผลประโยชน์ตอบแทนจากผู้รับบริการ
(๒) ส่งเสรมิ ให้มีการดาเนนิ งานเพื่อปกป้องสิทธิเดก็ ในงานตามบทบาทหนา้ ท่ี
เยาวชน และผู้ดอ้ ยโอกาส
(๓) มีข้อมลู แนวทางปฏบิ ตั ิท่หี ลากหลายให้ผรู้ บั
การนิเทศนาไปใชเ้ ปน็ ตวั อย่าง
(๔) รับฟงั ความคดิ เหน็ ที่มีเหตุผลของผรู้ บั การนิเทศ
(๕) ปฏบิ ตั หิ นา้ ทอ่ี ยา่ งมุ่งม่นั ต้ังใจเพ่ือใหผ้ ู้รบั การ
นเิ ทศพฒั นาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
(๖) ให้ผูร้ ับการนิเทศได้รว่ มวางแผนพัฒนาตนเอง
และเลอื กวธิ ีการท่เี หมาะสมกับตนเอง
(๗) เสริมสร้างความภาคภมู ิใจให้ผู้รับการนิเทศด้วย
การรับฟังความคดิ เหน็ ยกยอ่ ง ชมเชย และให้
กาลังใจอยา่ งกลั ยาณมิตร
จรรยาบรรณตอ่ ผูร้ ่วมประกอบวิชาชพี
ศึกษานเิ ทศก์ พึงช่วยเหลือเก้ือกลู ซ่ึงกนั และกันอย่างสรา้ งสรรค์ โดยยึดม่ันในระบบคุณธรรม สรา้ ง
ความสามคั คใี นหมู่คณะ โดยพงึ ประพฤติและละเว้นการประพฤตติ ามแบบแผนพฤติกรรมดงั ตัวอยา่ งต่อไปนี้
พฤตกิ รรมท่ีพงึ ประสงค์ พฤตกิ รรมท่ีไม่พึงประสงค์
(๑) เสียสละ เออ้ื อาทร และให้ความช่วยเหลอื ผู้รว่ ม (๑) นาเสนอแง่มุมทางลบตอ่ วชิ าชีพ ขอ้ เสนอไม่เป็น
ประกอบวิชาชีพ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนา
(๒) ส่งเสรมิ และพทิ ักษ์สิทธิของผรู้ ่วมประกอบ (๒) สรา้ งกลมุ่ อิทธิพลภายในองค์การหรอื กล่ันแกล้ง
วชิ าชีพ ผ้รู ่วมประกอบวิชาชีพใหเ้ กดิ ความเสยี หาย
(๓) เป็นผ้นู าในการเปลีย่ นแปลงและพัฒนา (๓) แนะนาในทางไม่ถูกต้องตอ่ ผู้ร่วมประกอบวชิ าชพี
(๔) ยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะของ จนทาให้เกดิ ผลเสียต่อผู้รว่ มประกอบวิชาชพี
ผูร้ ว่ มประกอบวชิ าชพี (๔) ปิดบงั ข้อมูลขา่ วสารในการปฏบิ ัตงิ าน จนทาให้
(๕) มีความรกั ความสามัคคี และร่วมใจกนั ผนึก เกดิ ความเสยี หายตอ่ งานหรือผรู้ ว่ มประกอบวชิ าชีพ
กาลังในการพฒั นาการศึกษา (๕) ใชอ้ านาจหนา้ ทป่ี กป้องพวกพอ้ งของตนท่กี ระทาผิด
โดยไมค่ านึงถงึ ความเสยี หายทเี่ กิดขึ้นกบั ผู้ร่วม
ประกอบวิชาชพี หรอื องค์การ
(๖) แอบอ้างช่ือหรือผลงานของผรู้ ว่ มประกอบวชิ าชพี
เพอ่ื ประโยชน์ของตน
(๗) วิพากษ์ วจิ ารณ์ผ้รู ่วมประกอบวชิ าชพี ในเร่ืองท่ี
ก่อให้เกดิ ความเสียหาย หรือแตกความสามัคคี
หลักสตู รและแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรกู้ ารพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๒๒
กอ่ นแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์
จรรยาบรรณตอ่ สงั คม
ศึกษานิเทศก์ พึงประพฤติปฏิบตั ติ นเป็นผู้นาในการอนรุ กั ษ์และพัฒนาเศรษฐกจิ สงั คม ศาสนา
ศลิ ปวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญา สิง่ แวดล้อม รักษาผลประโยชนข์ องส่วนรวมและยดึ มัน่ ในการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข โดยพงึ ประพฤติและละเวน้ การประพฤตติ าม แบบแผน
พฤติกรรม ดังตวั อย่างต่อไปน้ี
พฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ พฤตกิ รรมท่ีไม่พึงประสงค์
(๑) ยดึ ม่นั สนบั สนนุ และส่งเสริม การปกครอง (๑) ไมใ่ ห้ความรว่ มมือหรือสนับสนนุ กจิ กรรมของ
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ ชุมชนทจี่ ัดเพอื่ ประโยชนต์ ่อการศึกษาทงั้ ทางตรง
ทรงเปน็ ประมขุ หรือทางอ้อม
(๒) ใหค้ วามร่วมมือและชว่ ยเหลือในทางวิชาการ (๒) ไม่ให้ความร่วมมือในการอนรุ กั ษ์หรือพฒั นา
หรือวชิ าชพี แก่ชมุ ชน เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม
(๓) สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการจดั กิจกรรมเพ่อื ใหศ้ ิษย์ ภมู ิปญั ญาหรือสิ่งแวดล้อม
และผ้รู บั บรกิ ารเกิดการเรยี นรู้และสามารถ (๓) ไม่ประพฤติตนเปน็ แบบอย่างทด่ี ีในการอนุรักษ์
ดาเนินชวี ิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง หรอื พัฒนาสง่ิ แวดล้อม
(๔) เป็นผนู้ าในการวางแผนและดาเนินการเพ่ือ (๔) ปฏิบัติตนเป็นปฏปิ ักษต์ ่อวัฒนธรรมอันดงี ามของ
อนุรักษส์ งิ่ แวดล้อม พฒั นาเศรษฐกจิ ภูมิปญั ญา ชมุ ชนหรอื สังคม
ทอ้ งถน่ิ และศลิ ปวฒั นธรรม
จรรยาบรรณวชิ าชพี ศกึ ษานเิ ทศก์
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗ แก้ไข (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ.๒๕๕๑ ก.ค.ศ. กาหนดให้ศึกษานิเทศก์ เป็นตาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ๓๘ ค(๑)
โดยมีแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณศึกษานเิ ทศก์ ๙ ประการ ประกอบด้วย
๑. ศึกษานิเทศก์ ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ให้ทัน
ต่อการพฒั นาทางวิทยาการ เศรษฐกจิ สงั คมและการเมืองอยู่เสมอ
๒. ศึกษานิเทศก์ ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพและเป็นสมาชิกที่ดีของ
องคก์ รวชิ าชพี
๓. ศึกษานิเทศก์ ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจแกศ่ ิษย์และผ้รู ับบรกิ าร
ตามบทบาทหน้าท่ีโดยเสมอหนา้
๔. ศึกษานิเทศก์ ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยท่ีถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และ
ผู้รบั บรกิ ารตามบทบาทหน้าทอ่ี ยา่ งเตม็ ความสามารถดว้ ยความบริสุทธิใ์ จ
๕. ศกึ ษานิเทศก์ ต้องประพฤตปิ ฏิบัติตนเป็นแบบอย่างทดี่ ี ทัง้ ทางกาย วาจาและจติ ใจ
๖. ศกึ ษานิเทศก์ ตอ้ งไมก่ ระทาตนเป็นปฏปิ ักษ์ตอ่ ความเจรญิ ทางกาย สติปญั ญา จิตใจ อารมณ์
และสังคมของศิษย์และผู้รบั บริการ
๗. ศึกษานิเทศก์ ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับ
ผลประโยชน์จากการใช้ตาแหนง่ หนา้ ที่โดยมิชอบ
๘. ศึกษานิเทศก์ พึงช่วยเหลอื เกื้อกลู ซง่ึ กันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม
สรา้ งความสามคั คใี นหมคู่ ณะ
๙. ศึกษานิเทศก์ พงึ ประพฤติปฏิบัตติ น เปน็ ผนู้ าในการอนุรักษแ์ ละพฒั นาเศรษฐกิจ สังคม สาสนา
ศลิ ปวัฒนธรรม ภูมิปญั ญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของสว่ นรวมและยึดมน่ั ในการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ
หลกั สตู รและแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรูก้ ารพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๒๓
กอ่ นแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์
ใบกจิ กรรมท่ี ๑.๒.๑
เรือ่ ง การวิเคราะห์ความสอดคลอ้ งของคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพศกึ ษานเิ ทศก์
คาชแี้ จง
๑. แบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการพัฒนาเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ ๘-๑๐ คน โดยให้สมาชิกศึกษาใบความรู้ท่ี
๑.๒.๑ เร่ือง มาตรฐานวิชาชพี ศกึ ษานเิ ทศก์ และจรรยาบรรณวชิ าชีพศึกษานเิ ทศก์ เป็นรายบคุ คล
๒. สมาชิกในกลุ่มร่วมกันอภิปราย การวิเคราะห์ความสอดคล้องของคุณธรรม จริยธรรม มาตรฐาน
และจรรยาบรรณวิชาชีพศึกษานิเทศก์ จากนั้นบันทึกลงในใบกิจกรรมที่ ๑.๒.๑ เรื่อง การวิเคราะห์ความ
สอดคลอ้ งของคุณธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพศึกษานเิ ทศก์
๓. สมาชิกในกลุ่มร่วมกนั อภิปรายและสรุปความรู้โดยเขยี นผงั ความคิดของลงในกระดาษปรฟู๊
๔. วิทยากรสุ่มผแู้ ทนกล่มุ ๑ – ๒ กลุ่ม นาเสนอตอ่ ท่ปี ระชุมใหญ่
รุ่นท่ี ................... กลมุ่ ท่ี ...................
สมาชิกในกลุ่ม
๑. ชื่อ-สกลุ ................................................................................................................เลขท.่ี .. .................
๒. ชื่อ-สกุล................................................................................................................เลขที.่ ...................
๓. ชอื่ -สกุล................................................................................................................เลขที่... .................
๔. ชอ่ื -สกลุ ................................................................................................................เลขท่.ี ...................
๕. ชื่อ-สกุล................................................................................................................เลขที.่ .. .................
๖. ช่อื -สกลุ ................................................................................................................เลขท่.ี ...................
๗. ชือ่ -สกลุ ................................................................................................................เลขท.ี่ .. .................
๘. ชื่อ-สกลุ ................................................................................................................เลขท.ี่ .. .................
๙. ชอ่ื -สกลุ ................................................................................................................เลขที่....................
๑๐.ชอ่ื -สกุล................................................................................................................เลขท.่ี .. .................
หลักสูตรและแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรูก้ ารพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๒๔
กอ่ นแต่งตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์
มาตรฐานวิชาชพี
ประเด็นมาตรฐานวชิ าชีพ จริยธรรม คุณธรรม
จรรยาบรรณวิชาชพี จรยิ ธรรม คุณธรรม
ประเด็นจรรยาบรรณวชิ าชีพ
หลกั สตู รและแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรกู้ ารพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ๒๕
กอ่ นแตง่ ตงั้ ให้ดารงตาแหน่งศึกษานิเทศก์
กิจกรรมหน่วยย่อยท่ี ๑.๓ สมรรถนะของศึกษานิเทศก์ เวลา ๓ ช่ัวโมง
สาระสาคญั
สมรรถนะเป็นคุณลักษณะ ทักษะและความสามารถที่ซ่อนอยู่ในตัวบุคคล ซ่ึงคุณลักษณะเหล่านี้
จะเป็นตวั ผลักดนั ใหบ้ ุคคลสรา้ งผลการปฏิบัตงิ านท่ีตนรับผดิ ชอบให้สูงข้ึน หรือ เหนือกวา่ เกณฑ์ หรอื เปา้ หมาย
ท่ีกาหนด ศึกษานิเทศกค์ วรมีความรู้ความเข้าใจ และพฒั นาตนเองให้มคี วามสามารถตามสมรรถนะ เพ่ือช่วยให้
นาไปวางแผนพัฒนาตนเอง และพัฒนางานทป่ี ฏิบตั ใิ หเ้ ป็นไปอย่างมคี ุณภาพและประสิทธิภาพ
วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพื่อพฒั นาความรู้ ความเข้าใจในสมรรถนะของศึกษานิเทศก์
๒. เพอ่ื พฒั นาความสามารถในการประเมนิ ตนเองตามสมรรถนะของศกึ ษานิเทศก์
ขอบขา่ ยเน้อื หา
สมรรถนะของศึกษานเิ ทศก์
แนวทางการจัดกจิ กรรม
๑. วทิ ยากรแลกเปล่ยี นเรยี นรรู้ ว่ มกบั ผเู้ ขา้ รับการพฒั นา เร่ืองสมรรถนะของศึกษานิเทศก์
๒. ผเู้ ขา้ รับการพัฒนาแตล่ ะคนประเมนิ ตนเองตามสมรรถนะศกึ ษานิเทศก์ในใบกิจกรรมที่ ๑.๓.๑
เรอื่ ง การประเมินสมรรถนะของศึกษานเิ ทศก์
๓. ผเู้ ข้ารบั การพฒั นาปฏบิ ัตติ ามใบกิจกรรมที่ ๑.๓.๒ เรื่อง การวิเคราะห์จดุ เดน่ จุดที่ควรพัฒนา
๔. วทิ ยากรและผเู้ ขา้ รบั การพฒั นารว่ มกัน สรปุ องค์ความรู้ที่ได้รบั ในเรอ่ื งสมรรถนะของศึกษานเิ ทศก์
ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้
๑. ใบกจิ กรรมท่ี ๑.๓.๑ เร่อื ง การประเมินสมรรถนะของศึกษานิเทศก์
๒. ใบกจิ กรรมท่ี ๑.๓.๒ เรอ่ื ง การวเิ คราะหจ์ ุดเด่น จดุ ควรพัฒนา
๓. Power Point
๔. กระดาษปรู๊ฟ สเี มจกิ
การวัดและประเมนิ ผล
สงั เกตพฤติกรรมการมีสว่ นร่วม และการปฏิบัติกจิ กรรม
หลกั สูตรและแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรกู้ ารพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ๒๖
ก่อนแตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหน่งศึกษานเิ ทศก์
ใบกจิ กรรมท่ี ๑.๓.๑
เร่ือง การประเมนิ สมรรถนะของศกึ ษานเิ ทศก์
ขอ้ มูลเบื้องตน้
คาชี้แจง ขอใหท้ ่านใส่เคร่ืองหมาย ✓ ลงใน ( ) หนา้ ตาแหน่งและสังกดั ของท่านและเตมิ คาใน
ชอ่ งว่างใหส้ มบูรณ์ตามความเป็นจรงิ
ชอ่ื ................................................... นามสกุล......................................................ร่นุ ท่ี...............กลุ่มท.่ี ..............
ตาแหน่ง/วทิ ยฐานะ
( ) ศกึ ษานเิ ทศกช์ านาญการ
( ) ศกึ ษานิเทศกช์ านาญการพิเศษ
( ) ศกึ ษานิเทศกเ์ ชย่ี วชาญ
( ) ศึกษานิเทศก์เช่ยี วชาญพิเศษ
สังกดั
( ) สพฐ. ( ) สพม. เขต........... ( ) สพป เขต....................
( ) กศน. ( ) ส่วนกลาง ( ) จังหวดั ...........................
( ) อาชวี ศึกษา ( ) ส่วนกลาง ( ) ภาค ...............................
ตอนที่ ๑ ความประพฤติ วนิ ัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ (ทกุ ตำแหน่ง/ทุกสงั กดั )
คาช้ีแจง ขอให้ทา่ นพจิ ารณา รายการประเมนิ แตล่ ะข้อ แล้วประเมนิ ว่าทา่ นได้ประพฤติปฏบิ ตั ิ หรอื
มีคณุ ลกั ษณะในแตล่ ะรายการอยู่ในระดบั ใด โดยใสเ่ คร่ืองหมาย ✓ ลงในชอ่ งระดบั คุณภาพ
ของแต่ละรายการตามความเปน็ จริง
ระดบั คุณภาพ
ระดับ ๑ หมายถึง ปฏบิ ัตนิ อ้ ย หรือไมป่ ฏบิ ัติเลย หรือมีน้อย
ระดบั ๒ หมายถงึ ปฏบิ ตั ิ หรอื ไมป่ ฏิบัติ พอๆ กัน หรือมีปานกลาง
ระดบั ๓ หมายถงึ ปฏิบัติเปน็ ประจา หรอื ค่อนข้างมาก หรือมมี าก
หลักสตู รและแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้การพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๒๗
ก่อนแตง่ ตั้งให้ดารงตาแหน่งศกึ ษานเิ ทศก์
รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ
๑ ๒๓
๑. การมีวนิ ยั
๑.๑ การควบคุมตนเอง
๑) การตรงตอ่ เวลา…………….................................……………………..…………...…………… …. ... ...
๒) การวางแผนการใชจ้ ่าย…………..............................………………..………………………… …. ... ...
๓) การใช้ทรัพยากรอยา่ งประหยดั ………...................………………..…………………………. …. ... ...
๔) การมคี วามซอ่ื ตรงต่อตนเอง ………………………….………..……...................…………... …. ... ...
๑.๒ การปฏบิ ัติตนตามกติกาของสังคม
๑) การปฏบิ ัติตามกฎ ระเบยี บ ข้อบังคับ ……………………….…...............…………………. …. ... ...
๒) การปฏบิ ตั ิตามขนบธรรมเนยี มประเพณี……………………................…………………….. …. ... ...
๒. การประพฤติ ปฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งท่ดี ี
๒.๑ การเป็นแบบอยา่ งที่ดที างกาย
๑) การแตง่ กายเหมาะสมกบั กาลเทศะ..………………….................….……………………….. …… … …
๒) การปฏิบตั ติ นเหมาะสมกับบทบาท และสถานการณ์ ……………...........………………. …. … …
๓) การมีมารยาทเปน็ ที่ยอมรับของสงั คม………………………….................………………….. …. … …
๔) การปฏบิ ตั ิตนเปน็ มิตรต่อครูหรือผ้เู กีย่ วข้อง………………………...............…………….. ..... … …
๒.๒ การเป็นแบบอยา่ งทีด่ ีทางวาจา
๑) การใชค้ าพดู ทสี่ รา้ งสรรค์ กอ่ ใหเ้ กิดกาลงั ใจและเปน็ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและผ้อู ่ืน........... …. ... ...
๒) การใชค้ าพูดสุภาพ (ไมพ่ ูดเพอ้ เจ้อ สอ่ เสยี ด เยาะเย้ย ถากถาง) …………...…..…...... …. ... ...
๓) การพูดดว้ ยความจริงใจไม่บดิ เบอื นขอ้ มูล………………………...…………................…… …. ... ...
๒.๓ การเปน็ แบบอย่างทดี่ ีในด้านจติ ใจ
๑) การมคี วามกตญั ญูกตเวที……………………...………………......................……………………. ..... ... ...
๒) การมคี วามซ่ือสตั ยส์ จุ รติ ………………………………………….......................…………………. ..... ... ...
๓) การมคี วามเมตตา กรุณา………………………………………….....................…………………. ..... ... ...
๔) การมคี วามเป็นกัลยาณมิตร…………………………...……………….....................…………….. ..... ... ...
๕) การมีหริ โิ อตตปั ปะ (ความละอาย และความเกรงกลัวต่อบาป)……......…...…………….. ..... ... ...
๖) การมคี วามยุตธิ รรม……………..……………………………….……………........................…….. ..... ... ...
๗) การควบคมุ อารมณ์…………………………………….…………………….........................……… ..... ... ...
๘) การมอี ุดมการณเ์ พ่ือสว่ นรวม……………………………………………....................………….. ..... ... ...
๙) การมีความอดทน....................................................................................................... ..... … …
หลักสตู รและแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้การพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ๒๘
ก่อนแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์
รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ
๑๒ ๓
๓. การดารงชวี ิตอยา่ งเหมาะสม
๓.๑ การปฏิบัติตนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและแผนการดาเนินชีวิตทถ่ี ูกต้องดงี าม… .... ... ...
๓.๒ การดาเนนิ ชีวิตอยา่ งเหมาะสมกับฐานะ……………………….................….……..……………. .... ... ...
๓.๓ การปฏิบตั ิตนหลีกเล่ียงจากอบายมุข………………………...…..….................………………… ..... ... ...
๓.๔ การรักษาสิทธิประโยชน์ของตนเองและไม่ละเมิดสทิ ธิของผู้อื่น…….........……..……….. ..... ... ...
๓.๕ การมีความเอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่ และไมเ่ บียดเบียนผู้อื่น…………………...…...........…………….. ..... ... ...
๓.๖ การเคารพกติกาของสงั คม........................................................................................... ..... … …
๔. ความรักและศรทั ธาในวชิ าชีพ
๔.๑ การยึดมน่ั ในอุดมการณ์ วิชาชพี ของตน…………………………….…..………...................…… ..... ... ...
๔.๒ การยกยอ่ งช่ืนชม บุคคลทป่ี ระสบความสาเรจ็ ในวิชาชีพ …………...….........……………. ........ ... ...
๔.๓ การปกปอ้ งเกยี รติภมู ิของวชิ าชพี ………………………………..…….……..................………... .. ... ...
๔.๔ การสง่ เสริม สนับสนุน หรือเขา้ รว่ มกจิ กรรมการพัฒนาวชิ าชีพ…......…………………. ..... ... ...
๔.๕ การเสียสละและอุทิศตน เพ่ือประโยชนต์ ่อวชิ าชีพ…………...………............……………... ..... ... ...
๔.๖ การเป็นสมาชกิ ทีด่ ีขององค์กรวิชาชพี ……………..…………………...................……………… ..... ... …
๔.๗ การพฒั นาตนเองให้มคี วามกา้ วหน้าในวิชาชพี ………………….................………………….. ..... ... ...
๕. ความรบั ผิดชอบในวิชาชพี
๕.๑ การปฏบิ ตั ิตนตามบทบาทหน้าท่ี…………………………………........................………………… ..... … …
๕.๒ การยอมรับผลจากการกระทาของตนเองในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ี………........…..……….…… ..... … …
๕.๓ การหาแนวทางแกไ้ ขปัญหา อปุ สรรคท่เี กิดข้นึ ในวชิ าชพี ……………...…............………… ..... … …
๕.๔ การมงุ่ มนั่ พัฒนาวชิ าชพี ใหม้ มี าตรฐานเป็นท่ียอมรับของสังคม…………….........…….….. ..... … …
ตอนที่ ๒ สมรรถนะหลัก
คาชี้แจง ขอให้ทา่ นพิจารณาสมรรถนะในการปฏบิ ัติงานของท่าน แลว้ ประเมินว่าท่านมคี วามสามารถ
ในแตล่ ะรายการอยใู่ นระดบั ใด โดยใส่เครื่องหมาย ✓ ลงในชอ่ งระดับคุณภาพของแต่ละ
รายการตามความเป็นจรงิ
ระดับคณุ ภาพ
ระดบั ๑ หมายถงึ มคี วามร้คู วามเข้าใจ /ทกั ษะน้อย ไมเ่ พยี งพอท่จี ะปฏบิ ัติงานไดห้ รือผลงานไม่มี
คณุ ภาพ
ระดับ ๒ หมายถึง มีความรคู้ วามเข้าใจ / ทักษะปานกลางสามารถนาไปปฏิบัติงานไดด้ ้วยตนเองและ
มีผลงานที่มีคุณภาพพอใช้
ระดบั ๓ หมายถงึ มีความรูค้ วามเข้าใจ/ทักษะดีสามารถปฏบิ ัตงิ านได้ตามมาตรฐานท่ีกาหนด มคี วามคิด
สร้างสรรค์ มีความสามารถประยุกต์ใช้แนะนาผ้อู นื่ ได้ และมีผลงานทม่ี คี ุณภาพดี
ระดบั ๔ หมายถงึ มคี วามรู้ความเข้าใจ/ทกั ษะดีมาก สามารถคดิ ค้นพฒั นานวัตกรรมสรา้ งองค์ความรใู้ หม่
เผยแพร่ผลงานให้เปน็ ทย่ี อมรบั เปน็ แบบอยา่ งท่ีดีและมผี ลงานท่มี ีคุณภาพดมี าก
หลกั สูตรและแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนร้กู ารพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๒๙
ก่อนแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์
สมรรถนะหลัก /รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ
๑๒๓๔
๑. การมุ่งผลสัมฤทธิ์
๑.๑ ความสามารถในการวางแผนการปฏบิ ตั ิงาน
๑) ความร้คู วามเขา้ ใจในการวางแผนปฏบิ ัตงิ านใหส้ อดคล้องกบั นโยบายและภารกจิ ..... … … … …
๒) การวิเคราะหข์ ้อมูลสารสนเทศและนาไปใช้ในการวางแผน................................. …… … … …
๓) การวางแผนการปฏบิ ัติงานแตล่ ะภารกจิ ……………………...........…………..…...….. … … … …
๑.๒ ความสามารถในการปฏบิ ตั ิงาน
๑) การปฏิบตั งิ านให้บรรลุเป้าหมายตามแผน………………............………………..……... … … … …
๒) ความมุ่งมั่นกระตือรือรน้ ในการปฏบิ ตั งิ าน……………..............…………….………... … … … …
๓) การใช้ความคิดสรา้ งสรรคเ์ พ่ือพฒั นางาน……………….............……………….………. … … … …
๔) การยึดหลกั การประหยัดในการปฏบิ ัติงาน…………………….............……..………... … … … …
๕) การนานวตั กรรมมาใชเ้ พ่ือเพิ่มประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั งิ าน……....……...…….. … … … …
๖) การปรบั ปรุงแก้ไขการปฏิบตั ิงานเพื่อใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย……………….........……….. … … … …
๑.๓ ผลการปฏบิ ตั ิงาน
๑) ความถูกต้องของผลการปฏิบตั งิ าน………...………………………….................…….………. … … … …
๒) ความครบถว้ น สมบรู ณ์ของผลการปฏบิ ัตงิ าน….………………………........…..…... … … …… …
๓) ผลการปฏิบัตงิ านบรรลุเป้าหมายทง้ั ด้านปริมาณและคุณภาพ......................... …. … ….. …
๒. การบริการทด่ี ี
๒.๑ ความสามารถในการสร้างระบบการให้บริการ
๑) การศกึ ษาความต้องการของผู้รบั บริการ…………………..............……………………… ...... ...... ...... .......
๒) การจดั ระบบการใหบ้ ริการบนพนื้ ฐานของข้อมูลความต้องการ………….……... ..... ..... ..... .....
๓) ความรวดเร็วและความเสมอภาคในการให้บริการ.............................................. ...... ...... ..... ......
๒.๒ ความสามารถในการให้บริการ
๑) ความต้ังใจ เตม็ ใจ และกระตอื รือร้นในการให้บรกิ าร………………........….………. ...... ...... ...... .......
๒) การศึกษาผลการให้บริการเพอ่ื การปรบั ปรงุ พัฒนาการให้บริการ…….....……….. ... ... ... .....
๓) การประเมินความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ าร......................................................... ..... ..... …… ……
หลักสูตรและแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรูก้ ารพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๓๐
กอ่ นแต่งตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์
สมรรถนะหลัก /รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ
๑๒๓๔
๓. การพัฒนาตนเอง
๓.๑ ความสามารถในการวเิ คราะหต์ นเอง
๑) การวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยของตนเอง…..…………………………..........……..……. … … … …
๒) การเลือกวิธีพัฒนาตนเองใหเ้ หมาะสมกับจดุ เด่น จดุ ด้อย.……………………..…… … … … …
๓.๒ ความสามารถในการใช้ภาษาไทยเพ่อื การส่อื สาร
๑) การจบั ใจความ การสรปุ จากการอ่านและการฟงั ……………..…...………..…….. … … … …
๒) ความชัดเจนในการเขียน อธบิ าย และยกตัวอยา่ ง………......………...………….. … … … …
๓) การตั้งคาถามและตอบคาถามไดต้ รงประเด็น………………………..….……........……. … … … …
๓.๓ ความสามารถในการใชภ้ าษาอังกฤษเพ่ือการแสวงหาความรู้
๑) การจบั ใจความ และการสรุปจากการอ่านและการฟัง…………………...….……... … … … …
๒) การใช้ภาษาอังกฤษเพอื่ การใชเ้ ทคโนโลยีตา่ ง ๆ ……...………………......………..… … … … …
๓.๔ ความสามารถในการตดิ ตามความเคลื่อนไหวทางวิชาการ และวชิ าชพี
๑) การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการปฏิบัติงาน (การใช้ Computer
เบือ้ งตน้ , Internet, e – mail)........................................................................... … … … …
๒) การเลอื กใชแ้ หลง่ เรยี นรูท้ ี่หลากหลาย……………………………................…………… … … … …
๓) การเลอื กใช้แหลง่ เรยี นรู้ที่เหมาะสม ………………………...................................... … … … …
๔) การแลกเปลีย่ นเรียนรู้กับเพอื่ นร่วมงาน…………………………………................……. … … … …
๓.๕ ความสามารถในการประมวลความรู้ และนาความรู้ไปใช้
๑) การวิเคราะห์ รวบรวมองคค์ วามรู้ เพ่ือนาไปใช้พฒั นางาน….........……………….. … … … …
๒) การผลิตนวัตกรรม และการนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ในการพัฒนางาน…….. … … … …
๔. การทางานเป็นทีม
๔.๑ ความสามารถในการวางแผนเพื่อการปฏบิ ัตงิ านเป็นทีม
๑) การมสี ่วนรว่ มในการวางแผนร่วมกับผู้อน่ื ………………................…….…………….. … … … …
๒) การรับฟังความคิดเหน็ ของผ้อู นื่ ………...…………....................………………………… … … … …
๓) การยอมรับข้อตกลงของทีมงาน…………………….....................………………..………….. … … … …
๔.๒ ความสามารถในการปฏิบตั งิ านรว่ มกนั
๑) ความเตม็ ใจให้ความร่วมมือในการปฏิบัตงิ าน………...............…………………….…. … … … …
๒) ความรับผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิงานตามบทบาทหน้าที่ของตน….........……….……. … … … …
๓) การปฏบิ ัตติ นเป็นผู้นา หรือผูต้ ามไดเ้ หมาะสมกบั บทบาท……………..........……... … … … …
๔) การเปน็ ผู้นาในการพัฒนาเพอ่ื การเปลีย่ นแปลง................................................. … … … …
๕) ความร่วมมือกับทีมงานในการแกป้ ัญหาการปฏบิ ัตงิ าน………………............………… … … … …
๖) การสนบั สนนุ ให้กาลงั ใจ ยกยอ่ ง ให้เกยี รติผ้อู ืน่ ในโอกาสทีเ่ หมาะสม….......…… … … … …
หลักสตู รและแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้กู ารพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๓๑
กอ่ นแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์
ตอนที่ ๓ สมรรถนะประจาสายงาน
คาช้แี จง ขอให้ทา่ นพจิ ารณาสมรรถนะในการปฏิบตั ิงานของทา่ น แล้วประเมนิ ว่าท่านมคี วามสามารถใน
แตล่ ะรายการอยู่ในระดบั ใด โดยใสเ่ ครอ่ื งหมาย✓ลงในช่องระดบั คุณภาพของแต่ละรายการตามความเปน็ จรงิ
ระดบั คณุ ภาพ
ระดับ ๑ หมายถงึ มีความร้คู วามเขา้ ใจ /ทักษะน้อย ไม่เพยี งพอที่จะปฏบิ ตั งิ านได้
หรือผลงานไม่มคี ณุ ภาพ
ระดับ ๒ หมายถงึ มคี วามรู้ความเข้าใจ / ทักษะปานกลางสามารถนาไปปฏิบตั งิ าน
ได้ด้วยตนเองและมีผลงานทมี่ ีคุณภาพพอใช้
ระดับ ๓ หมายถึง มคี วามรู้ความเข้าใจ/ทักษะดีสามารถปฏิบตั ิงานได้ตามมาตรฐาน
ท่ีกาหนด มีความคดิ สร้างสรรค์ มคี วามสามารถประยุกต์ใช้
แนะนาผูอ้ ืน่ ได้ และมผี ลงานที่มคี ุณภาพดี
ระดบั ๔ หมายถึง มคี วามรูค้ วามเข้าใจ/ทักษะดีมาก สามารถคิดค้นพัฒนานวตั กรรม
สร้างองคค์ วามรใู้ หม่ เผยแพร่ผลงานให้เปน็ ที่ยอมรบั เป็น
แบบอย่างท่ดี ีและมีผลงานทม่ี ีคณุ ภาพดมี าก
สมรรถนะประจาสายงาน /รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ
๑๒๓๔
๑. การวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และการวิจัย
๑.๑ ความสามารถในการวิเคราะห์
๑) การวเิ คราะหห์ ลกั สูตรเพื่อการนเิ ทศ……..............………………………………..………. … … … …
๒) การวิเคราะห์แบบเรียน /เอกสารประกอบการสอน /สื่อนวัตกรรมเพ่ือใช้ใน
การนเิ ทศ.......................................................................................................................... … … … …
๓) การวเิ คราะห์ความต้องการ จุดเด่น จุดด้อย หรอื ข้อจากัด และปญั หาอปุ สรรค
ในการจดั การศึกษา………………………………………………………...…… …………
๔) การวิเคราะห์ผลการจัดการเรียนรู้ เพอื่ ชว่ ยวางแผนการประกันคุณภาพ และ
การพัฒนามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา…………..............………………..………. … … … …
๕) การวิเคราะห์แผนการจัดการเรียนรเู้ พื่อใชใ้ นการนิเทศ...................................... ... ... ... ...
๑.๒ ความสามารถในการสงั เคราะห์
๑) การสงั เคราะห์ข้อมูล สารสนเทศเก่ียวกับสภาพการจดั การศึกษาในบรบิ ท
ต่าง ๆ เพื่อวางแผนและจัดทาแผนงานเพ่ือการนเิ ทศการศึกษา………............…. … … … …
๒) การสงั เคราะหข์ ้อมูลเพ่ือจดั ทารายงานการนิเทศ…………………….…..........………. … … … …
๑.๓ ความสามารถในการเขียนเอกสารวิชาการ
๑) คู่มือการจัดการเรยี นรู้……………………………………..………………..…......................……. … … … …
๒) รายงานการจัดทานวัตกรรมการเรียนรู้ / โครงการ……….…………..........……….……… … … … …
๓) ผลงานทางวชิ าการตา่ ง ๆ ทส่ี ถานศกึ ษานาไปใช้ประโยชนไ์ ด้ …….......…………… … … … …
๑.๔ ความสามารถในการวิจัย
๑) ระเบยี บวธิ ีการวิจัย…………………………………………………………......................…… … … … …
๒) การวจิ ัยเพื่อสรา้ งองคค์ วามรู้ใหม่ในดา้ นการนิเทศการศึกษา……….....……..…….. … … … …
๓) การนาผลการวจิ ยั ไปใช้ปรับปรุง และพัฒนางานนเิ ทศการศกึ ษา….……......….… … … … …
หลักสูตรและแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรกู้ ารพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ๓๒
ก่อนแตง่ ตัง้ ให้ดารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์
สมรรถนะประจาสายงาน /รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ
๑๒๓๔
๒. การสือ่ สารและการจงู ใจ
๒.๑ ความสามารถในการสื่อสารเพอื่ การนเิ ทศการศกึ ษา
๑) การวิเคราะหแ์ ละการสรุปความจากการฟัง และการอ่าน….……………....….…… … … … …
๒) การบรรยาย อธิบาย และให้คาปรึกษา………………..…………………..............……… … … … …
๓) การเขยี นเอกสารทางวิชาการได้นา่ สนใจ ………….……………….…............………… … … … …
๔) การใช้เทคโนโลยเี พอื่ การนาเสนอความรู้ และแนวคิด……………….......…….……. … … … …
๕) การส่ือสารเพื่อสร้างความเข้าใจระหว่างบุคคลท่ีเกยี่ วข้อง………….....……….…... … … … …
๒.๒ ความสามารถในการจงู ใจ
๑) การจัดกจิ กรรมเพ่ือสง่ เสริม สนับสนนุ ให้ครูมโี อกาสนาเสนอผลงาน และ
แสดงความสามารถ……………….....................………..…………………………….……... … … … …
๒) วิธีการโนม้ นา้ วให้ผอู้ น่ื ยอมรับ และเห็นดว้ ย…………………............………….……… … … … …
๓) การจูงใจโดยการยกย่อง ให้เกียรติและให้โอกาสผู้อ่ืน…………........…….………… … … … …
๓. การพฒั นาศักยภาพบุคคล ความสามารถในการพัฒนาศกั ยภาพของผเู้ กีย่ วข้อง
๑) การใหค้ าปรึกษา แนะนา และชว่ ยแกป้ ัญหาในดา้ นหลักสูตร…………..……...….. … … … …
๒) การให้คาปรึกษา แนะนาและช่วยแก้ปัญหาในดา้ นการจัดกระบวนการเรยี นร.ู้ . … … … …
๓) การใหค้ าปรึกษา แนะนา และช่วยแกป้ ัญหาในด้านการผลติ ส่อื การเรียนรู้........ … … … …
๔) การใหค้ าปรึกษา แนะนา และชว่ ยแกป้ ญั หาในดา้ นการวัดและประเมนิ ผล…... … … … …
๕) การให้คาปรึกษา แนะนา และช่วยแก้ปัญหาในด้านการวจิ ยั ………………........… … … … …
๖) การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาครู………………………………………..….................………… … … … …
๗) การตดิ ตามประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานของครู………………………….................………….. … … … …
๔. การมวี ิสัยทศั น์
๔.๑ ความสามารถในการกาหนดวสิ ัยทัศนข์ องตนเอง
๑) การกาหนดวสิ ยั ทัศน์ทีส่ อดคลอ้ งกบั ภารกิจทรี่ ับผิดชอบ.....................…………… … … … …
๒) การกาหนดแนวคิด ทศิ ทางในการปฏบิ ตั งิ านทีท่ นั สมยั และเป็นไปได.้ ............... … … … …
๓) การปรบั เปลีย่ นวสิ ยั ทศั น์ให้เหมาะสมกับสภาพทเ่ี ปล่ียนแปลง….....................… … … … …
๔.๒ ความสามารถในการกาหนดวิสยั ทัศน์ขององค์กร
๑) การนาเสนอแนวคดิ ทส่ี ร้างสรรค์ ทันสมยั และเป็นไปได้ เพ่อื พัฒนา
วสิ ยั ทศั นข์ ององค์กร……………………....................…….………….……..………….……. … … … …
๒) การจัดทาแผนงาน/โครงการ ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศนข์ อองค์กร……….....……. … … … …
๓) การปฏบิ ัติตนสอดคล้องกับวิสยั ทศั นข์ ององคก์ ร…………………………............……. … … … …
หลักสูตรและแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรกู้ ารพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ๓๓
กอ่ นแตง่ ตงั้ ให้ดารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์
ใบกิจกรรมที่ ๑.๓.๒
เรอื่ ง การวิเคราะหจ์ ุดเดน่ จุดควรพัฒนา
คาชี้แจง
ให้ผู้เขา้ รับการพัฒนานาผลการประเมนิ จากแบบประเมนิ สมรรถนะศึกษานเิ ทศก์ จากใบกิจกรรมที่
๑.๓.๑ มาสรุปเป็นจุดเดน่ และจดุ ทคี่ วรพฒั นา
ชือ่ ................................................... นามสกุล......................................................รนุ่ ท่ี...............กลุ่มท.ี่ ..............
สมรรถนะ จดุ เดน่ จดุ ที่ควรพัฒนา
สมรรถนะท่ที า่ นต้องพัฒนา เรยี งลาดับตามความสาคญั จากมากไปหาน้อย
๑. ......................................................................................................................................
๒. ......................................................................................................................................
๓. ......................................................................................................................................
๔. ......................................................................................................................................
๕. ......................................................................................................................................
หลักสตู รและแผนการจดั กิจกรรมการเรียนร้กู ารพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๓๔
ก่อนแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์
กิจกรรมหน่วยย่อยท่ี ๑.๔ กระบวนทศั น์การพัฒนาการศึกษา เวลา ๓ ช่วั โมง
สาระสาคัญ
กระบวนทัศน์การพัฒนาการศึกษา เป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับศึกษานิเทศก์ที่จะต้องรู้เท่าทัน
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา โดยเฉพาะนโยบายทางการศึกษาท่ีสาคัญท้ังในระดับประเทศ และระดับ
นานาชาติ เพ่ือปรับแนวคิดในการพัฒนาการศึกษา และนาไปสู่การปฏิบัติท้ังในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและ
สถานศึกษา ตามภารกิจ บทบาท และหน้าที่ของศึกษานิเทศก์ ซ่ึงประกอบด้วย พัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้น
พื้นฐานและกระบวนการเรียนรู้ วัดและประเมินผลการศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ทางการศึกษา ส่งเสริม พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา นิเทศติดตามและประเมินผลระบบบริหาร
และการจัดการศึกษา เลขานุการคณะกรรมการติดตามตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษา
วัตถปุ ระสงค์
เพ่ือพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และกระบวนทัศน์ เก่ียวกับทิศทางการพัฒนาประเทศไทยตามกรอบ
ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) การจัดการศึกษาในยุคไทยแลนด์ ๔.๐ และภารกิจ
บทบาท และหนา้ ทขี่ องศึกษานิเทศกใ์ นสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาและสถานศึกษา
ขอบข่ายเนือ้ หา
๑. การพฒั นาการศกึ ษาในศตวรรษท่ี ๒๑
๒. กรอบยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙)
๓. การพฒั นาการศกึ ษาในยคุ ไทยแลนด์ ๔.๐
๔. ภารกิจ บทบาท และหนา้ ทขี่ องศกึ ษานเิ ทศกใ์ นสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาและสถานศึกษา
แนวทางการจดั กิจกรรม
๑. วิทยากรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกับผู้เข้ารับการพัฒนา เก่ียวกับการพัฒนาการศึกษาในศตวรรษ
ท่ี ๒๑ ทิศทางการพัฒนาประเทศไทยตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) การ
จัดการศึกษาในยุคไทยแลนด์ ๔.๐ และภารกิจ บทบาท หน้าที่ของศึกษานิเทศก์ในสานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาและสถานศกึ ษา
๒. ผู้เข้ารับการพัฒนาแบ่งกลุ่ม และปฏิบัติตามใบกิจกรรมท่ี ๑.๔.๑ เรื่อง กระบวนทัศน์การพัฒนา
การศกึ ษาของศึกษานเิ ทศก์ในยคุ ไทยแลนด์ ๔.๐
๓. ผเู้ ข้ารับการพัฒนาร่วมกนั สรุปองค์ความรู้ และนาเสนอในท่ีประชมุ ใหญ่
ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้
๑. ใบกิจกรรมที่ ๑.๔.๑ เรื่อง กระบวนทัศน์การพัฒนาการศึกษาของศึกษานิเทศก์ในยุคไทยแลนด์
๔.๐
๒. Power point
การวดั ผลและประเมนิ ผล
สงั เกตพฤตกิ รรมการมสี ว่ นร่วม และการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม
หลักสตู รและแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้การพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๓๕
กอ่ นแตง่ ต้ังให้ดารงตาแหน่งศกึ ษานิเทศก์
ใบกจิ กรรมที่ ๑.๔.๑
เรือ่ ง กระบวนทศั น์การพัฒนาการศกึ ษาของศกึ ษานิเทศก์ในยุคไทยแลนด์ ๔.๐
คาชี้แจง
สมาชิกในกล่มุ ร่วมกนั อภิปรายถงึ กระบวนทศั น์การพัฒนาการศึกษา ในบทบาทของศึกษานเิ ทศก์ใน
ยุคไทยแลนด์ ๔.๐ โดยกาหนดเปน็ วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ และวิธดี าเนินการ
รุน่ ท่ี ................... กลมุ่ ท่ี ...................
สมาชกิ ในกลุ่ม
๑. ชอื่ -สกุล................................................................................................................เลขท่ี... .................
๒. ช่ือ-สกลุ ................................................................................................................เลขท.่ี ...................
๓. ชอื่ -สกุล................................................................................................................เลขท.่ี .. .................
๔. ชือ่ -สกุล................................................................................................................เลขที.่ ...................
๕. ชือ่ -สกลุ ................................................................................................................เลขท่.ี .. .................
วิสยั ทัศน์
............................................................................................................................... ...............................................
..............................................................................................................................................................................
พนั ธกจิ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
วิธดี าเนินการตามภารกจิ
กลุ่มงาน วิธีดาเนนิ การ
พฒั นาหลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานและ ..................................................................................
กระบวนการเรียนรู้ ..................................................................................
วัดและประเมนิ ผลการศึกษา
..................................................................................
ส่งเสริมและพฒั นาสือ่ นวัตกรรมและเทคโนโลยี ..................................................................................
ทางการศกึ ษา ..................................................................................
สง่ เสริม พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ..................................................................................
นิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผลระบบบริหาร และการ ..................................................................................
จัดการศกึ ษา ..................................................................................
เลขานุการคณะกรรมการติดตามตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
หลักสูตรและแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้การพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๓๖
กอ่ นแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์
กจิ กรรมหน่วยย่อยท่ี ๑.๕ แผนพัฒนาตนเองและแฟ้มพัฒนางานของศกึ ษานิเทศก์ เวลา ๖ ชว่ั โมง
สาระสาคญั
แผนพัฒนาตนเองเป็นการพัฒนาโดยยดึ หลักจากการประเมินสมรรถนะ ช่วยใหผ้ ู้ปฏิบัตงิ านสามารถรู้
จุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนา ในการปฏิบัติงานของตนเอง และนาไปสู่การพัฒนาตนเองที่สอดคล้องกับความ
ต้องการจาเปน็ ของหน่วยงานและตนเองอย่างแท้จริง
แฟ้มพัฒนางานเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลพ้ืนฐานส่วนตัว และผลงานจากการปฏิบัติอย่างเป็น
กระบวนการ เป็นระบบ แล้วเกดิ ผลดตี ่อการพัฒนางาน อีกท้ังยังสามารถสะท้อนใหเ้ ห็นภาพของความสามารถ
ที่แท้จริงของเจ้าของแฟ้มอย่างชดั เจน
วัตถปุ ระสงค์
๑. เพื่อพฒั นาความรู้ ความเขา้ ใจในการจดั ทาแผนพัฒนาตนเองและแฟ้มพฒั นางานของศึกษานเิ ทศก์
๒. เพ่ือพัฒนาความสามารถในการเขียนแผนพัฒนาตนเอง (ID PLAN) และจัดทาแฟ้มพัฒนางาน
ของศกึ ษานิเทศก์ ไปสกู่ ารวางแผนการจัดทารายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อิสระ (IS)
ขอบขา่ ยเนอ้ื หา
๑. การวางแผนพฒั นาตนเอง (ID PLAN)
๒. แฟ้มพัฒนางานของศกึ ษานิเทศก์
๓. รายงานการศึกษาค้นควา้ อิสระ (IS)
แนวทางการจดั กจิ กรรม
๑. วิทยากรแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกับผู้เข้ารับการพัฒนา เก่ียวกับการจัดทาแผนพัฒนาตนเอง แฟ้ม
พฒั นางานของศกึ ษานเิ ทศก์ และรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อิสระ (IS)
๒. ผเู้ ขา้ รับการพฒั นาศึกษาใบความรู้ที่ ๑.๕.๑ เร่ือง แผนพัฒนาตนเอง แล้วปฏิบัติตามใบกจิ กรรม
ที่ ๑.๖.๑ เร่ือง การจัดทาแผนพัฒนาตนเองและแฟม้ พัฒนางานของศึกษานเิ ทศก์
๓. ผู้เข้ารับการพัฒนานาเสนอแผนพัฒนาตนเอง และแฟ้มพัฒนางานของศึกษานิเทศก์ ในกลุ่มย่อย
สมาชิกในกล่มุ ร่วมกนั คดั เลอื กผลงานทีด่ ีท่ีสดุ ๑ ชน้ิ เพ่อื นาเสนอทป่ี ระชุมใหญ่
๔. ผู้เข้ารับการพัฒนาเตรียมเสนอหัวข้อการศึกษาค้นคว้าอิสระ (IS) ซึ่งได้จากแผนพัฒนาตนเอง
ตอ่ วิทยากรพ่เี ล้ียงประจากลุ่ม
ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้
๑. ใบกจิ กรรมที่ ๑.๕.๑ เร่อื ง การจัดทาแผนพฒั นาตนเอง และแฟม้ พฒั นางานของศึกษานิเทศก์
๒. Power point
การวัดและประเมนิ
๑. สงั เกตพฤติกรรมการมสี ่วนร่วม และการนาเสนอผลงาน
๒. ประเมินผลงาน (งานเดีย่ ว)
หลักสตู รและแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรกู้ ารพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๓๗
ก่อนแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์
ใบความรู้ท่ี ๑.๕.๑
เร่ือง แผนพฒั นาตนเอง
ความหมายของแผนพัฒนาตนเอง
แผนพัฒนาตนเอง (Individual Development Plan : ID Plan) เป็นแผนที่บุคคลได้กาหนด
ขึ้น ใช้เป็นแนวทางในการเสริมสร้างหรือเพ่ิมพูนสมรรถนะ คุณลักษณะท่ีจาเป็นในการปฏิบัติงานให้มี
ประสทิ ธภิ าพมุ่งสคู่ ณุ ภาพ ระดับสูง และบรรลเุ ป้าหมายวิชาชพี ของตน
สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ได้ให้ความหมายของแผนพัฒนาตนเอง
ไว้ว่าหมายถึง การพัฒนาบุคลากรโดยยึดหลักการประเมินสมรรถนะ (Competency Based Approach)
จะทาให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถรู้จุดเด่น จุดด้อยของความสามารถในการปฏิบัติงานของตนและสามารถพัฒนา
ตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของหน่วยงานและของตนเองอย่างแท้จริง อีกท้ังจะทาให้การ
พฒั นาครูดาเนินไปอย่างประหยดั และสอดคล้องกบั นโยบายของรฐั บาล
การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษามุ่งเน้นให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานตาแหน่งและมาตรฐาน
วิชาชีพท้ังสมรรถนะหลัก (Core Competency) สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency)
ตามที่ ก.ค.ศ.กาหนด โดยยึดหลักการประเมินสมรรถนะ (Competency Based Approach) เพราะจะ
ทาให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถรู้จุดเด่นจดุ ด้อยของความสามารถในการปฏบิ ตั ิงานของตนและสามารถพัฒนาตนเอง
ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความต้องการจาเป็นของตนเอง และหน่วยงาน
ระบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบัน ได้มุ่งเน้นให้ครู
และบุคลากรทางการศึกษา พัฒนาตนเองตามแนวทางดังกล่าว โดยเริ่มต้นจากการประเมินสมรรถนะ
การจดั ทาแผนพัฒนาตนเองและดาเนินการพัฒนาตามแผนพัฒนาตนเองจนมีสมรรถนะตามความต้องการของ
หน่วยงาน เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถดาเนินการพัฒนาตนเองตามระบบการพัฒนาครูและ
บุคลากรทางการศึกษาได้อย่างถูกต้องตามกระบวนการ สามารถพัฒนาสมรรถนะของตนเองเพ่ิมข้ึนและส่งผลต่อ
ผเู้ รยี นทร่ี บั ผิดชอบ (สถาบนั พัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา, ๒๕๕๑)
ประสิทธิภาพประสทิ ธิผลของงานขึ้นอยู่กับคุณภาพของคนหรือบุคคล ในการปฏิบัติงานถ้าบุคคลใด
เป็นบุคคลที่มีคุณภาพหรือทางการ (วิชาการ) จะเรียกว่า มีสมรรถนะ (Competency) (ความสามารถของ
บุคคลในทุก ๆ ด้านทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ ทักษะและคุณลักษณะคุณธรรมท่ีจาเป็นต่อการ
ปฏิบัติงานให้บรรลุได้อย่างมีประสิทธิภาพ) ท่ีสูงย่อมส่งผลต่อคุณภาพของงานในหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมาย
ปัจจุบันในวงราชการได้นาสมรรถนะเป็นตัวช้ีวัดความสามารถของบุคคลซึ่งสมรรถนะโดยทั่วไปจะแบ่งเป็น 2
สมรรถนะ คือ
๑. สมรรถนะหลัก (Core Competency) หมายถึง สมรรถนะท่ีทุกคนต้องมีหรือปฏิบัติได้เป็น
คุณลักษณะร่วมกันของบุคคลทุกตาแหน่งตัวอย่างสมรรถนะหลักของครูและบุคลากรทางการศึกษา
ประกอบด้วย การมุ่งผลสัมฤทธิก์ ารบริการทดี่ ี การพัฒนาตนเอง การทางานเป็นทีม
๒. สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency) เป็นสมรรถนะที่กาหนดเฉพาะ
สาหรับแต่ละตาแหนง่ เพื่อให้บุคคลท่ีดารงตาแหน่งนั้นแสดงพฤติกรรมท่ีเหมาะสมกบั หนา้ ท่ีและสามารถปฏิบัติ
หน้าที่ได้ดีย่ิงข้ึนตัวอย่าง สมรรถนะประจาสายงานของครูประกอบด้วย การจัดการเรียนรู้การพัฒนาผู้เรียน
การบริหารจัดการช้ันเรียน การวิเคราะห์ สังเคราะห์และการวิจัยการสร้างความร่วมมือกับชุมชนตัวอย่าง
สมรรถนะหลักของบุคลากรทางการศึกษาประกอบด้วย การวิเคราะห์สังเคราะห์และการวิจัย การส่ือสารและ
การจูงใจ การพัฒนาศกั ยภาพบุคคลการมวี สิ ยั ทัศน์
หลักสตู รและแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้การพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๓๘
ก่อนแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์
สาหรับการพัฒนาบุคคลในอดตี ท่ีผ่านมาเป็นการพัฒนาแบบเหมารวมหรอื ยกเขง่ หมายความวา่ เม่ือ
เร่ืองใดที่หน่วยงานต้องการพัฒนาก็จะพัฒนาแบบปูพรม คือพัฒนาทุกคนไม่รู้ว่ามีความรู้หรือไม่มี ต้องการ
หรือไม่ต้องการเป็นปัญหาหรือไม่เป็นปัญหา แต่จะพัฒนาหมดส่ิงที่เป็นปัญหาของการพัฒนารูปแบบน้ีก็คือ
ความไม่คุ้มค่าคือผู้เข้าร่วมพัฒนาจะสนใจเฉพาะบุคคลท่ีต้องการ อยากรู้ อยากทราบเท่านั้นสาหรับกลุ่มคนท่ี
เหลอื เป็นกลมุ่ บุคคลทีไ่ ม่ตอ้ งการ ก็จะไม่ให้ความสาคัญ ไมส่ นใจทาให้เปน็ อุปสรรคในการพฒั นา
ทางแก้ที่คิดว่าน่าจะเป็นไปได้คือ การพัฒนาบุคคลตามแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual
Development Plan : ID PLAN) โดยจะต้องผ่านกระบวนการประเมินสมรรถนะท่ีประกอบด้วย
การประเมินตนเองร่วมกับเพ่ือนร่วมงานหรือผู้บังคับบัญชาร่วมประเมิน นาผลสรุปผลว่าสมรรถนะใดที่
จาเป็นต้องพัฒนาและสมรรถนะใด ท่ีไม่จาเป็นต้องพัฒนาต่อจากน้ันนามาจัดอันดับสมรรถนะท่ีจาเป็นต้อง
พัฒนา พร้อมให้เหตุผลประกอบว่าการพัฒนาสมรรถนะดังกล่าวจะส่งผลต่ออะไร ต่อใคร เช่น จะส่งผลต่อ
คุณภาพของนักเรียนหน่วยงาน ชุมชน วงการวิชาชีพ หรือตนเอง เป็นต้น หลักการจัดอันดับความสาคัญ
สมรรถนะที่จาเป็นเร่งด่วนในการพัฒนาของครู คือ ส่งผลต่อคุณภาพของนักเรียนเป็นหลักสาหรับต่อตนเอง
ควรเปน็ อันดบั สดุ ทา้ ย
จากน้ันนาไปสู่การเขียนแผนพัฒนาตนเองรายบุคคลโดยให้นาเสนอรูปแบบ วิธีการพัฒนาในแต่ละ
สมรรถนะหลาย ๆ รูปแบบเพ่ือเป็นทางเลือกในการพัฒนา พร้อมกับกาหนดช่วงระยะเวลาที่จะพัฒนา
(เร่มิ ตน้ และสิ้นสดุ ) และหน่วยงานหรอื องคก์ รท่ีจะขอรับการสนบั สนนุ ในการพฒั นา
ซึ่งจะเห็นว่าการพัฒนา โดยใช้ ID PLAN จะเป็นการพัฒนาที่สนองตอบความต้องการแต่ละ
บุคคล สนองความสนใจในรูปแบบวิธีการพัฒนาก็จะส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติหน้าที่ท่ีมีประสิทธิภาพ
ต่อไปและจะเป็นการพฒั นาท่ีต่อเนื่องจนทาให้การปฏบิ ัติหน้าท่ีมีความสมบูรณ์มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
และเป็นข้าราชการทดี่ ตี ่อไป (ยนื ยง ราชวงษ์, ๒๕๕๑)
ประโยชนข์ องแผนพฒั นาตนเอง
๑. ทาใหแ้ ตล่ ะคนมีแผนสาหรับพฒั นาตนเองจากข้อมลู ที่เช่ือถือได้
๒. ทาใหร้ ู้สมรรถนะเดน่ และสมรรถนะทบี่ กพร่องของตน
๓. ทาใหก้ ารพฒั นาตนเองเกดิ จากความต้องการและความพร้อมของผู้จัดทาแผนเอง
๔. ทาให้ไดแ้ นวทางสาหรบั การพัฒนาสมรรถนะในการปฏบิ ัตงิ านของตนใหม้ ีประสิทธภิ าพสูงขึ้น
และมคี วามก้าวหนา้ ในวิชาชพี
๕. ทาใหเ้ กิดความกระตือรือร้นในการพฒั นาตนเองอยา่ งมีเปา้ หมาย
๖. ทาใหอ้ งค์กรสามารถพฒั นาการปฏบิ ัติงานของบุคลากรได้อย่างเป็นระบบ และมปี ระสิทธภิ าพ
หลกั การในการจดั ทาแผนพัฒนาตนเอง
๑. เป็นการวางแผนดาเนินการโดยใชข้ ้อมูลที่เชอื่ ถอื ไดเ้ ปน็ ฐาน
๒. เปน็ การพฒั นาตนเองโดยใชร้ ูปแบบท่ีหลากหลาย เหมาะสม และมปี ระสิทธภิ าพ
๓. เปน็ การพัฒนาที่มุ่งประโยชนใ์ ห้เกิดข้นึ กบั ผ้เู รยี นเป็นสาคัญรวมทง้ั ความก้าวหน้าในวิชาชีพของตน
เอกสารอ้างองิ
ยนื ยง ราชวงษ.์ http://gotoknow.org/blog/yuenyong/180318. สบื ค้นเมื่อวันที่ ๒๙ ม.ค. ๒๕๖๑.
สถาบนั พัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา.
http://www.nidtep.go.th/competency/ book.htm. สืบค้นเม่ือวนั ท่ี ๒๙ ม.ค. ๒๕๖๑.
หลักสูตรและแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรกู้ ารพฒั นาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๓๙
กอ่ นแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งศกึ ษานเิ ทศก์
ใบกิจกรรมท่ี ๑.๕.๑
เร่อื ง การจดั ทาแผนพฒั นาตนเองและแฟม้ พัฒนางานของศกึ ษานิเทศก์
คาช้แี จง
๑. นาผลจากการปฏบิ ัติใบกิจกรรมท่ี ๑.๓.๒ เรื่อง การวเิ คราะหจ์ ดุ เดน่ จดุ ควรพัฒนา มาจดั ทา
แผนพฒั นาตนเองจากใบกจิ กรรมท่ี ๑.๕.๑ เร่ือง การจดั ทาแผนพัฒนาตนเอง และแฟม้ พฒั นางานของ
ศกึ ษานิเทศก์
๒. ศึกษารายละเอียดองค์ประกอบในการจัดทารายงานการศกึ ษาค้นคว้าอสิ ระ (IS) เพื่อเตรยี ม
วางแผนการจดั ทารายงานในช่วงระยะฝึกประสบการณ์
ชือ่ ................................................... นามสกลุ ......................................................รนุ่ ท่ี...............กลุ่มท.่ี ..............
หลักสูตรและแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้การพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๔๐
ก่อนแตง่ ตั้งใหด้ ารงตาแหน่งศกึ ษานิเทศก์
แผนการพัฒนาตนเอง (ID Plan)
ชื่อ (นาย / นาง / นางสาว)................................................นามสกลุ ...................................................................
ตาแหนง่ ..........................................................วิทยฐานะ...................................................................................
วฒุ กิ ารศึกษา
O ปริญญาตรี หรอื เทียบเทา่ วิชาเอก..........................................................................................
O ปรญิ ญาโท หรอื เทยี บเท่า วชิ าเอก..........................................................................................
O ปรญิ ญาเอก หรือเทียบเท่า วิชาเอก..........................................................................................
O อน่ื ๆ (โปรดระบุ)..........................................................................................
เงนิ เดอื น อันดบั คศ...................อัตราเงนิ เดอื น.............................บาท
สถานท่ีทางาน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
งานในหน้าที่ที่รับผดิ ชอบ
งานทร่ี บั ผดิ ชอบตามตาแหน่ง
........................................................................................................................................................ ......................
............................................................................................................ ..................................................................
งานทไี่ ด้รบั มอบหมายเป็นพิเศษ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ผลงาน ท่ีเกดิ จากการปฏิบตั ิหนา้ ท่ใี นตาแหน่งปจั จบุ นั (ย้อนหลงั ไม่เกนิ ๒ ปี)
๑. ผลที่เกดิ จากการนเิ ทศ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
๒. ผลท่ีเกดิ จากงานตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
................................................................................................................................................................. .............
..................................................................................................................... .........................................................
๓. ผลทเ่ี กดิ จากการศึกษาคน้ ควา้ และการให้บรกิ ารทางวชิ าการ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
๔. ผลทเี่ กิดจากงานวเิ คราะห์วิจัย
.......................................................................................................................................... ....................................
.............................................................................................. ................................................................................
๕. ผลที่เกิดกับครู ผู้เรยี น และการจัดการศกึ ษา
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
หลกั สตู รและแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้การพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๔๑
กอ่ นแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหน่งศกึ ษานเิ ทศก์
รายละเอียดการพฒั นาตนเอง
อันดบั สมรรถนะ วธิ ีการ / ระยะเวลา การขอรบั ประโยชนท์ ่ี
ความสาคัญ ที่จะพัฒนา รูปแบบการ ในการพฒั นา การสนบั สนนุ คาดวา่ จะได้รบั
จากหน่วยงาน
พัฒนา เริ่มตน้ สนิ้ สุด
ลงชอ่ื ...........................................................................
(........................................................................)
ผู้จดั ทาแผนพัฒนาตนเอง
ความเหน็ ของผ้บู ังคับบัญชา
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงช่อื ...........................................................................
(........................................................................)
ตาแหน่ง.....................................................................
หลกั สูตรและแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นร้กู ารพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๔๒
กอ่ นแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์
องคป์ ระกอบของรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อสิ ระ (IS) (ประมาณ ๒๐ หน้า)
ส่วนประกอบตอนตน้
๑. ปกนอก
๒. กติ ตกิ รรมประกาศ
๓. บทคดั ย่อ
๔. สารบัญ สารบญั ตาราง สารบัญภาพประกอบ
สว่ นประกอบตอนกลางหรือสว่ นเนอื้ หา
๑. บทนา (ความเป็นมาและความสาคัญ, วัตถปุ ระสงค์, ขอบเขตของการศกึ ษา, ประโยชนท์ ่ี
คาดว่าจะไดร้ บั )
๒. ทฤษฏีและเอกสารท่ีเกีย่ วข้อง
๓. วธิ ีดาเนนิ การศึกษา (นาเสนอกระบวนการศึกษาตามข้ันตอน)
๔. ผลการศกึ ษา (เสนอผลการศึกษา/การนาไปพฒั นางาน/การเชอ่ื มโยงประยกุ ต์ใช้)
๕. สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ (สรุปผลการศึกษา อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ
ในการนาผลการศึกษาไปใช)้
สว่ นประกอบตอนทา้ ย
๑. เอกสารอ้างองิ
๒. ภาคผนวก
หมายเหตุ : เปน็ ขอบข่ายสาระขององค์ประกอบท่ีนาเสนอ ซ่ึงอาจปรบั เปลี่ยนหรือเพิ่มเตมิ หวั ขอ้ ได้
ตามความต้องการ
หลักสตู รและแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรกู้ ารพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๔๓
กอ่ นแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒
พ้ืนฐานการนเิ ทศ ทักษะ เทคนิคและกระบวนการนิเทศการศกึ ษา
(ใช้เวลาพฒั นา จานวน ๑๘ ช่ัวโมง)
กิจกรรมหนว่ ยย่อยที่ ๒.๑ พ้นื ฐานการนิเทศการศึกษา เวลา ๓ ชวั่ โมง
กิจกรรมหน่วยยอ่ ยท่ี ๒.๒ ทกั ษะของผนู้ ิเทศการศกึ ษา เวลา ๓ ชว่ั โมง
กิจกรรมหนว่ ยยอ่ ยท่ี ๒.๓ ทักษะการใช้ ICT เพอื่ การนิเทศการศึกษา เวลา ๓ ชวั่ โมง
กจิ กรรมหน่วยย่อยท่ี ๒.๔ กระบวนการนิเทศการศึกษา เวลา ๓ ชวั่ โมง
กิจกรรมหน่วยยอ่ ยท่ี ๒.๕ เทคนิคและวิธีการนิเทศการศึกษา เวลา ๖ ชว่ั โมง
หลกั สตู รและแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนร้กู ารพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ๔๔
ก่อนแตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒
พ้นื ฐานการนิเทศ ทกั ษะ เทคนคิ และกระบวนการนเิ ทศการศึกษา
(ใชเ้ วลาการพัฒนา จานวน ๑๘ ช่ัวโมง)
คาอธิบายหน่วย
ศึกษา วิเคราะห์ ให้ตระหนักถึงความจาเป็นในการปรับเปลี่ยนและพัฒนาตนเองให้มีความรู้
ความสามารถเท่าทันกับความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกในระดับผู้นาทางวิชาการ ท้ังด้านการบริหาร
จัดการ การใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา มีความรคู้ วามสามารถในการนาแนวคิด ทฤษฎี และ
นโยบายของหนว่ ยงานต้นสังกดั สู่การปฏิบัติ มกี ารพัฒนาทกั ษะเชงิ มนษุ ย์ให้สามารถทางานร่วมกับผูอ้ ่ืนได้
อย่างมีความสุข และเป็นกัลยาณมิตรกับทุกคน มีบุคลิกภาพที่ดีท้ังภายนอกและภายใน ได้รับการฝึก
ปฏิบัติเพื่อพัฒนาทักษะท่ีจาเป็นทั้งเทคนิคและกระบวนการในการนิเทศการศึกษา สามารถใช้ภาษาเพ่ือ
การสื่อสารได้ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ สามารถเลือกใช้เทคนิค วิธีการ กิจกรรม และ
กระบวนการนิเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมตามความเหมาะสมกับกล่มุ เปา้ หมาย ผรู้ ับการนเิ ทศ และบริบท
ของสถานศึกษาที่จะส่งผลให้การนิเทศการศึกษามีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลตรงตามมาตรฐานการศึกษา
ชาติ และเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ีในการนเิ ทศ
วตั ถุประสงค์
๑. เพื่อพัฒนาความร้คู วามเขา้ ใจเกย่ี วกับการนิเทศการศกึ ษา
๒. เพ่ือสรา้ งความตระหนกั ถงึ ความจาเป็นทตี่ อ้ งมีการนเิ ทศการศึกษา
๓. เพ่ือพัฒนาทักษะเชิงมนุษยสัมพันธ์ เทคนิคการนิเทศ ทักษะการนิเทศ การส่ือสารและการใช้
เทคโนโลยีเพ่ือการนิเทศ การเป็นผู้นาทางวิชาการท่ีจะนานโยบายของหน่วยงานต้นสังกัดสู่การปฏิบัติใน
พ้ืนที่ไดอ้ ย่างเปน็ รปู ธรรม
สาระสาคัญ
ศึกษานิเทศก์ต้องพัฒนาตนเองให้มีความรูค้ วามเข้าใจ และได้รับการพัฒนาทักษะท่ีจาเป็นในการ
นิเทศ โดยต้องมีท้ังทักษะเชิงมนุษย์ ทักษะทางวิชาการ เทคนิคและทักษะการนิเทศ สามารถเลือกใช้
เทคนิคที่จะนานโยบายของหน่วยงานต้นสังกัดสู่การปฏิบัติในพื้นท่ีได้อย่างเป็นรูปธรรม ด้วยวิธีการและ
กระบวนการนิเทศที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับการนิเทศ และบริบทของสถานศึกษา
สามารถให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอนร่วมกบั ครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาได้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการนิเทศครูสู่การพัฒนา
ผเู้ รยี น และเป็นแบบอยา่ งทด่ี ใี นการนเิ ทศ
สาระการเรยี นรู้
๑. พ้นื ฐานดา้ นการนิเทศการศกึ ษา
๒. ทักษะการนิเทศการศึกษา
๓. ทกั ษะการใช้ ICT เพื่อการนเิ ทศการศึกษา
๔. กระบวนการนเิ ทศการศึกษา
๕. เทคนิค วธิ กี ารนิเทศการศึกษา
หลักสตู รและแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรกู้ ารพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๔๕
กอ่ นแต่งตัง้ ใหด้ ารงตาแหน่งศึกษานเิ ทศก์
แนวทางการจดั กจิ กรรม
๑. วิทยากรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับผู้เข้ารับการพัฒนา โดยการบรรยาย อภิปราย ฝึกปฏิบัติ
นาเสนอความคิดและประสบการณ์
๒. ผเู้ ข้ารบั การพัฒนาศกึ ษาคน้ คว้า ฝึกปฏบิ ตั ิ อภิปรายในกลมุ่ แลกเปล่ียนเรียนรู้ นาเสนอผลงาน
สรปุ องคค์ วามรู้
๓. วิทยากรสังเกต ประเมนิ พฤติกรรม และผลงานของผเู้ ขา้ รบั การพัฒนา
สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้
๑. ใบความรู้
๒. ใบกจิ กรรม
๓. Power point
๔. สือ่ เทคโนโลยี
๕. วสั ดอุ ปุ กรณ์
๖. เว็บไซต์ตา่ ง ๆ เก่ยี วกับการจัดการศึกษา การบรหิ ารการศกึ ษา และการนเิ ทศการศึกษา
การวดั และประเมนิ ผล
๑. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนรว่ ม การปฏิบตั งิ าน และการนาเสนอผลงาน
๒. ประเมนิ ผลงาน (งานเดีย่ ว , งานกล่มุ )
หลกั สตู รและแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้การพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๔๖
ก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์
กิจกรรมหน่วยย่อยท่ี ๒.๑ พ้ืนฐานการนเิ ทศการศึกษา เวลา ๓ ช่ัวโมง
สาระสาคัญ
ศึกษานิเทศก์มืออาชีพ จาเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจในพ้ืนฐานการนิเทศการศึกษา ทั้งพ้ืนฐาน
เก่ียวกับ ศาสตร์การนิเทศ อันประกอบด้วย ความหมาย ความสาคัญและจุดมุ่งหมายของการนิเทศ
การศึกษา หลักการ รูปแบบและทฤษฏีที่เก่ียวข้องกับการนิเทศการศึกษา และความรู้ความเข้าใจพื้นฐาน
จาเป็นในการนิเทศการศึกษา
วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพอ่ื พฒั นาความรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกบั ศาสตรก์ ารนเิ ทศ และความรทู้ ่จี าเป็นในการนเิ ทศ
๒. เพ่ือสรา้ งความตระหนักถึงความสาคัญของศาสตร์การนิเทศ และความรู้ท่ีจาเป็นในการนิเทศ
ท่นี าไปใช้ในการปฏบิ ัติงาน
ขอบข่ายเน้ือหา
๑. ศาสตรก์ ารนเิ ทศการศึกษา
๒. ความร้พู น้ื ฐานจาเป็นในการนเิ ทศการศึกษา
แนวทางการจัดกิจกรรม
๑. วทิ ยากรแลกเปลี่ยนเรยี นรู้รว่ มกบั ผเู้ ข้ารบั การพัฒนา เรือ่ ง ศาสตรก์ ารนเิ ทศการศกึ ษา
๒. ผูเ้ ขา้ รับการพัฒนาศึกษาใบกิจกรรมที่ ๒.๑.๑ เรื่อง ศาสตรก์ ารนเิ ทศการศึกษา
๓. วิทยากรแลกเปล่ียนเรียนรู้เพิ่มเติม เร่ือง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับศาสตร์การนิเทศที่จะเป็น
ความรู้พ้นื ฐานสาคัญของการเปน็ ศึกษานิเทศก์ ที่มคี วามแตกต่างระหว่างศกึ ษานิเทศก์กบั ครูผสู้ อน
๔. วิทยากรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับผู้เข้ารับการพัฒนา เรื่อง ความรู้พ้ืนฐานจาเป็นในการนิเทศ
การศึกษา
๕. ผู้เข้ารับการพัฒนาศึกษาใบกิจกรรมที่ ๒.๑.๒ เร่ือง ความรู้พ้ืนฐานจาเป็นในการนิเทศ
การศึกษา
๖. วทิ ยากรและผเู้ ขา้ รบั การพฒั นารว่ มกนั สรปุ องคค์ วามรู้
สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้
๑. ใบความรูท้ ี่ ๒.๑.๑ เร่อื ง ศาสตรก์ ารนเิ ทศการศกึ ษา
๒. ใบความรทู้ ่ี ๒.๑.๒ เรอ่ื ง ความรูพ้ น้ื ฐานจาเปน็ ในการนิเทศการศกึ ษา
๓. ใบความรูท้ ี่ ๒.๑.๓ เรอ่ื ง กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๔. ใบกิจกรรมที่ ๒.๑.๑ เรอ่ื ง ศาสตร์การนิเทศการศกึ ษา
๕. ใบกจิ กรรมท่ี ๒.๑.๒ เร่อื ง ความรพู้ ื้นฐานจาเป็นในการนิเทศการศกึ ษา
๖. Power point
๗. เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ Internet
การวดั และประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมการมสี ว่ นร่วม และการนาเสนอผลงาน
หลักสูตรและแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรกู้ ารพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ๔๗
ก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์
ใบความรู้ที่ ๒.๑.๑
เรอ่ื ง ศาสตร์การนเิ ทศการศกึ ษา
ในการทางานท่ีมีความสาคัญ ยุ่งยากซบั ซ้อนหรืองานท่ีต้องใชค้ นหรือมีผู้เก่ียวข้องเป็นจานวนมาก
ต้องใชท้ รัพยากรหรืองบประมาณเป็นจานวนมาก ไม่วา่ จะเป็นงานธุรกิจ งานการปกครอง งานสาธารณสุข
การแพทย์ การพยาบาล ตลอดจนงานการศกึ ษา จาเป็นต้องมกี ารนเิ ทศ (Supervision) อยู่ด้วยเสมอ ท้ังน้ี
เพ่อื ให้การดาเนินงานบรรลเุ ป้าหมายทวี่ างไว้ ส่วนการดาเนนิ การนเิ ทศงานในแต่ละดา้ นน้ัน อาจจะเหมอื น
หรอื แตกตา่ งกนั นัน้ ยอมขน้ึ อยกู ับลักษณะของแตล่ ะงาน
สาหรับงานด้านการศึกษา เป็นงานที่มีสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ เป็นงานท่ีมีความยุ่งยาก
ซับซ้อน ต้องใช้คนเป็นจานวนมาก ท้ังผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา ตลอดจนการมีผู้มีส่วนได้เสียจานวนมาก จึงมีความจาเป็นอย่างย่ิงที่ต้องมีการนิเทศการศึกษา
เพ่ือให้เกิด การพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายการจัดการศึกษาท่ีกาหนดไว้
ดังน้ัน ศึกษานิเทศก์ผู้มีหน้าที่โดยตรงในการนิเทศการศึกษา จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ
ในศาสตร์การนิเทศการศึกษาท่ีสาคัญ ได้แก่ ความหมาย ความสาคัญและจุดมุ่งหมายของการนิเทศ
การศึกษา หลักการ รูปแบบและทฤษฏีท่ีเก่ียวข้องกับการนิเทศการศึกษา เพ่ือนาไปสู่การประยุกต์ใช้ใน
การพฒั นาและปรับปรงุ คณุ ภาพการศึกษาตามบทบาทหน้าท่ีของตนเองต่อไป
จากการศึกษาพจนานุกรม ฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ.๒๕๓๐ ได้ให้ความหมายคาที่เกี่ยวข้องกับ
การนเิ ทศการศกึ ษาไวด้ งั นี้
“นเิ ทศ” หมายถงึ ช้แี จง, แสดง, จาแนก
“นิเทศการศึกษา” หมายถงึ การให้คาแนะนาชว่ ยเหลือโรงเรียนในเรือ่ งกาเรยี นการสอน
“นเิ ทศก”์ หมายถงึ ผ้ใู ห้คาแนะนา, ชแี้ จง
“ศกึ ษานิเทศก์” หมายถงึ ผูช้ แ้ี จงแนะนาทางการศึกษาแก่ครอู าจารยใ์ นโรงเรยี น
ส่วนคาว่า “การนิเทศ” แปลมาจากคาในภาษาอังกฤษคาว่า “Supervision” ได้มีนักวิชาการ
นกั การศกึ ษาและผรู้ ูไ้ ดก้ ลา่ วถงึ “การนเิ ทศและการนิเทศการศึกษา” ไว้ดงั น้ี
การนิเทศการศึกษา เป็นส่วนหน่ึงของการบริหารโรงเรียน ซึ่งผู้บริหารจะต้องมีส่วนเก่ียวข้องใน
การให้บริการทางการศึกษา เพ่ือให้กระบวนการเรียนการสอนเกิดผลสัมฤทธิ์ตามความคาดหมาย (Eye
and Netzer; ๑๙๖๕)
การนิเทศการศึกษา คือ ความพยายามทุกอย่างของเจ้าหน้าท่ีผู้จัดการศึกษา ในการแนะนาครู
หรือบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษา ให้รู้จกั ปรับปรุงวธิ ีสอน ช่วยใหเ้ กิดความงอกงามทางวิชาชพี ทางการ
ศึกษา ช่วยในการพัฒนาครู ชว่ ยในการเลือกและปรับปรุง วัตถุประสงคข์ องการศกึ ษา ช่วยในการปรับปรุง
วัสดุ และเนื้อหาการสอน ปรบั ปรงุ วิธีสอนและช่วยปรบั ปรงุ การประเมนิ ผลการสอน (Good, ๑๙๕๙)
การนิเทศการศึกษา หมายถึง การประสานงานของบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับการนิเทศการศึกษา
เพอ่ื เร่งรัดใหก้ าลังใจชท้ี างใหไ้ ด้เจรญิ งอกงามในอาชีพ (Briggs and Justman, ๑๙๕๒)
การนิเทศการศึกษา หมายถึง การประสาน การกระตุ้น และการนาไปสู่ความงอกงามของครู
(วนิ ัย เกษมเศรษฐ, ม.ป.ป.)
การนิเทศการศึกษา เป็นกระบวนการทางานของผู้มีหน้าท่ีนิเทศ ในการที่จะช่วยเหลือบุคลากร
ทางการศึกษาในการปรับปรุงการสอน โดยมีผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนเป็นเป้าหมายสูงสุด (อริศรา มีชัย,
๒๕๔๒)