แนวทางการจดั การเรียนการสอน
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
คำนำ
ก
ในการนเ้ี พื่อเปนการเตรียมความพรอมรองรบั สถานการณดงั กลา ว สาํ นกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานจงึ กําหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอน ภาคเรยี นที่ 1 ปการศึกษา 2564
ในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) สาํ หรบั โรงเรียน
ในสงั กัด โดยมีแนวทางหลกั ในการจัดการเรียนการสอน 5 รปู แบบ ไดแ ก
1. On - site คอื การจดั การเรยี นการสอนแบบปกตทิ ่ีโรงเรยี น (มาตรการ ศบค.)
โดยโรงเรยี นสามารถปฏบิ ตั ิตามขอกําหนดของกระทรวงสาธารณสุข และ
สาํ นกั งานสาธารณสขุ จังหวดั อยา งเครง่ ครดั
2. On - air คือ การจดั การเรยี นการสอนผ่านระบบโทรทัศนโดยใช้ระบบสญั ญาณ
เปนชอ่ งทางในการเผยแพรส่ อ่ื การเรยี นรู DLTV ของมลู นธิ ิการศกึ ษาทางไกล
ผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถัมภ ในระดับอนุบาลถงึ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3
3. On - demand คอื การจัดการเรยี นการสอนผา นส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส สาํ หรบั นกั เรียนที่
สามารถเรียนรูผ านเว็บไซต DLTV (www.dltv.ac.th), Youtube (DLTV 1 Channel –
DLTV 12 Channels), Application DLTV, DLIT (www.dlit.ac.th), Application
DLIT หรือ OBEC Content Center บน Smart Phone /Tablet
4. Online คอื การจดั การเรยี นการสอนแบบถายทอดสดผานเครอื ขา ยอนิ เทอรเนต็
ในลกั ษณะการสื่อสารสองทาง ซึ่งเปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ บบถา ยทอดสด (LIVE)
ระหวางครูและนกั เรียน โดยนกั เรยี นจะตองมคี วามพรอมดานอุปกรณ และเครือขาย
อนิ เทอรเ น็ต
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
พฤษภาคม 2564
ข
สารบัญ
คำนำ
หน้า
สารบญั
ก
แนวทางการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ค
ของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564
ตอนที่ 1 ข้อมลู สำคญั ทเี่ กีย่ วข้อง
1
2
1. นิยามศัพท์เฉพาะ
1.1 รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 2
1.2 ขนาดของโรงเรียนจำแนกตามการกำหนด 7
2. แผนการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ 8
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) โรงเรียนในสงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการ 17
การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 24
29
ตอนท่ี 2 บทบาทและภารกจิ ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
39
ตอนที่ 3 บทบาทและภารกจิ ของสำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา
ตอนท่ี 4 บทบาทและภารกจิ ของโรงเรยี น
48
ตอนท่ี 5 บทบาทและภารกิจของนกั เรยี นและผู้ปกครอง
ภาคผนวก
50
- ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง มาตรการป้องกนั และควบคุมการแพร่ระบาดของ 53
โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ของสถานศกึ ษาในสังกัด
และในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ วันท่ี 23 เมษายน 2564
59
- หนังสอื สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ที่ ศธ 04006 / ว 1393
เรือ่ ง ซักซ้อมความเข้าใจการเปิดภาคเรยี นทหี่ น่ึง ปีการศึกษา 2564 และการรับนกั เรียน 62
ปีการศกึ ษา 2564 ของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
80
- คำส่งั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ที่ 694 / 2564
เรอ่ื ง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารแนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน
- หนงั สอื สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ท่ี ศธ 04001 / ว 2359
เรอื่ ง การเตรยี มความพร้อมก่อนเปิดภาคเรยี น และแนวปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษา
ระหว่างเปิดภาคเรยี น
- มาตรการการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19)
สำหรบั สถานศกึ ษา สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
คณะผู้จดั ทำ
ค
แนวทางการจดั การเรียนการสอน
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19)
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
1
ตอนที่ 1
ข้อมลู สำคัญทเี่ กยี่ วข้อง
1. นยิ ามศพั ท์เฉพาะ
1.1 รปู แบบการจดั การเรยี นการสอน
1) นกั เรยี นทไี่ ม่มอี ปุ กรณ์สำหรบั การเรยี นการสอนทางไกล หรอื มอี ปุ กรณ์สำหรบั การเรยี น
การสอนทางไกลไม่เพยี งพอ เช่น ครอบครวั มบี ตุ รหลาน 2 คน แต่มโี ทรทศั น์ 1 เครอื่ ง
เป็นต้น
2) นักเรียนที่ไมม่ ผี ปู กครองดแู ลในขณะเรียนทางไกลอยู่ทบ่ี าน ซง่ึ อาจสง ผลตอ
3) นักเรียนทีไ่ ม่มีอุปกรณสําหรับการเรยี นการสอนทางไกล ตามขอ 1) และ
ไมมผี ูปกครองดแู ล ตามขอ 2)
4) โรงเรียนอยู่ในพ้นื ที่ท่ไี ม่มกี ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019
(COVID - 19)
5) โรงเรยี นขนาดเลก็ หรอื โรงเรียนขนาดกลาง ที่สามารถจดั การเรยี นการสอนตาม
มาตรการเวน ระยะหา งทางสงั คม (Social Distancing) ทีศ่ นู ยบริหารสถานการณ
แพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) หรือกระทรวงสาธารณสขุ
หรือศูนยบ ริหารสถานการณแพรร ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (ศบค.)
จังหวดั กาํ หนดอยา งเครง ครัด
ซึ่งในการจัดการเรยี นการสอนแบบ On – site นน้ั สามารถดำเนนิ การได้ ดงั น้ี
2
On-site
1 ธ์
รูปแบบที่ 1
มาโรงเรียนทุกระดบั ชั้น
12 3 4 56
แบบที่ 1 มาเรยี นทกุ ระดับชัน้ หมายถึง โรงเรียนขนาดเลก็ หรอื โรงเรยี นขนาดกลางท่สี ามารถให้นักเรียนมาเรียน
ทโ่ี รงเรยี นได้ตามปกติ ตามเง่อื นไขในข้อ 5) และรวมถงึ โรงเรยี นขนาดอ่ืนท่ตี ั้งอยู่ในพน้ื ทีท่ ่ไี ม่มกี ารแพร่ระบาด
ของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19)
รูปแบบท่ี 2
แบ่ง 2 กลุ่ม มาเช้ากับมาบ่าย
1 2 3 4 5 6เช้า กลุ่ม A มาโรงเรยี น
กลุ่ม B อยู่บ้าน
1 2 3 4 5 6บ่าย กลุ่ม B มาโรงเรียน
กลุ่ม A อยู่บ้าน
แบบที่ 2 แบ่ง 2 กลุ่ม สลับเวลามาเรียน รอบเช้า-รอบบ่าย หมายถงึ โรงเรียนทจ่ี ดั การเรยี นการสอนแบบ
ผสมผสาน (Blended Learning) ทง้ั รปู แบบ On - site และในรปู แบบการเรยี นการสอนทางไกล (Distance
Learning) อนื่ ๆ โดยแบ่งกลุ่มนกั เรยี นออกเป็น 2 กลุ่มในระดับชนั้ เรียน หรือรายห้องเรียน ตามดุลยพนิ ิจ
ของโรงเรียนแต่ต้องเป็นไปตามมาตรการท่ีกำหนด โดยสลบั เวลามาเรยี นในรอบเช้าและรอบบ่าย เช่น ถ้ามี
นักเรียนต่อห้อง จำนวน 30 คน ให้มาเรียนในรอบเช้า 15 คน รอบบ่าย 15 คน สำหรับนักเรียนทีร่ อรอบ
เข้าเรียนหรือหลังจากเข้าเรียนในช้ันเรียนแล้ว โรงเรียนอาจจัดการเรียนการสอนทางไกลเสริมในรูปแบบใด
รปู แบบหนงึ่ ตามความเหมาะสม
3
รูปแบบท่ี 3
แบ่ง 2 กลุ่ม สลับวนั มาเรียน
มาโรงเรยี น อยู่บ้าน
จ.
1 2 3 4 5 6
อ. 4 5 6 1 2 3
รปู แบบท่ี 4
แบง 3 กลุม สลบั วันกนั มาโรงเรยี น
มาโรงเรยี น อยู่บ้าน
จ.
1 2 3 4 5 6
อ.
3 4 5 6 1 2
พ. 5 6 1 2 3 4
4
เช่นรูปแบบท่ี 5
รูปแบบอน่ื ตามบริบทโรงเรียน
โดยแบ่งครู 2 กลุ่ม เพอ่ื ดแู ลเดก็ 2 กลุ่ม
ไม่สะดวกทางไกล สะดวกทางไกล
12 3456
2On-airการจดั การเรียนการสอนผ่านระบบโทรทัศน์
เรียนด้วยตนเอง กำกบั ด้วยเวลาที่เผยแพร่
5
On-demandการจัดการเรยี นการสอนผ่านส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์
3 เรียนด้วยตนเอง กำกับความช้าเรว็ ด้วยตนเอง
4 Onlineการจดั การเรียนการสอนแบบถ่ายทอดสด
เรียนกบั ครแู บบถ่ายทอดสด นกั เรยี นสามารถถาม-ตอบได้
6
5On-handการจดั การเรยี นการสอนด้วยการนำส่งเอกสารท่ีบ้าน
เรยี นและทำด้วยตนเอง มีผู้ปกครองช่วยดูแล
ร
ู
้
นอกจากนี้ สาํ นักงานค
ณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ยงั มชี องทางอืน่ ๆ โดยบรู ณาการกับ
หนว ยงาน ในกระทรวงศกึ ษาธิการ ไดแ ก สํานักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
ในเร่ืองวิทยเุ พ่อื การศกึ ษาคล่นื 92 MHz การเรียนรผู า นสถานวี ิทยโุ ทรทศั นเ พ่อื การศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV)
ชอ ง Youtube รายวชิ าบังคับ และสดุ ยอด 108 อาชพี ในสว นของสํานกั งานคณะกรรมการสง เสริมการศกึ ษาเอกชน
ไดนําครวู ิทยากรมืออาชพี มาจดั ทาํ บทเรียนออนไลน โดยใชช อ งทาง OBEC Channel
1.2 การกำหนดขนาดของโรงเรยี น สำหรบั การสำรวจข้อมูลแนวทางการจัดการเรยี น
การสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2564 ได้กำหนดไว้ ดงั นี้
โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ
มนี ักเรียน 1,001 คน ขึ้นไป
โรงเรยี นขนาดใหญ่ มนี กั เรียน 501 – 1,000 คน
โรงเรียนขนาดกลาง
มนี ักเรยี น 121 - 500 คน
โรงเรยี นขนาดเลก็ มนี กั เรียนไม่เกิน 120 คน
120
500
1,000
7
2. แผนการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019
(COVID - 19) โรงเรยี นในสงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564
2.1 จำนวนโรงเรียนจำแนกตามสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา
สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
จำนวน 26,625 โรง
คดิ เป็น 91.86%
สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา
หมายเหตุ : จำนวนโรงเรียนทง้ั หมด ไม่รวมจำนวนโรงเรยี นในสงั กัดสำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ
8
9
10
11
12
13
รูปแบบการจัดการเรยี นการสอน
On - site 11.85% สพม. สพป.
On - air 7.69% 28% 72%
On - demand 3.58%
Online นกั เรยี นท้ังหมด
On - hand 5,632,096 คน
ตั้งแต 2 รปู แบบข้ึนไป
13.01%
0
24.31%
39.57%
750,000 1,500,000 2,250,000 3,000,000
จํานวนนกั เรยี น (คน)
14
15
16
ตอนที่ 2
บทบาท และภารกิจของสำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
17
ระยะการเตรยี มความพร้อม
(วนั ท่ี 23 เมษายน – 31 พฤษภาคม 2564) แบ่งบทบาทออกเป็น 3 ช่วง ดงั น
ี้
ช่วงท่ี 1 : ระหว่างวนั ที่ 23 เมษายน - 5 พฤษภาคม 2564
1. นํานโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ ขออสัง่ การของรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการและ
ขอ คิดเหน็ ท่ไี ดจ ากการประชุมผบู รหิ ารระดบั สูงมาวเิ คราะหแ ละเตรยี มการ ในการจัดทาํ แนวทางการดาํ เนินงาน
จัดการเรยี นการสอนในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ของโรงเรียน
ในสังกดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานภาคเรียนที่ 1 ป การศกึ ษา
2. จัดต้ังศูนย์เฉพาะกิจการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID - 19) เพ่ือวางแผน แก้ไขปัญหา กำกับ ติดตาม ประเมินผล และบริหารจัดการ
จดั การเรยี นการสอนทางไกลให้มปี ระสทิ ธิภาพ
3. จัดทำคำสง่ั คณะกรรมการบรหิ ารแนวทางการจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาด
- คณะกรรมการฝา ยเลขานุการ มีหนาทีร่ ับผิดชอบงานธรุ การ จดั เตรยี มเอกสาร วิเคราะห ประเมนิ
สถานการณ และประชาสัมพันธส ถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19)
18
4. สํารวจความพร้อมในการจดั การเรียนการสอนของโรงเรยี น เพอื่ ได้ข้อมูลทเี่ กีย่ วข้องนํามา
5. จัดทาํ เวบ็ ไซตครพู รอมดอทคอม และจดั เตรยี ม รวบรวมรายละเอียดขอมูลส่อื (Meta data)
6. นําเสนอแนวทางการดาํ เนนิ งานการจัดการเรยี นการสอนในสถานการèกŤ ารแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 ตอ เลขาธิการคณะกรรมการ
การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน และรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร
ช่วงที่ 2 : ระหว่างวันที่ 6 - 16 พฤษภาคม 2564
1. ประสานการดำเนินงานระหว่างหน่วยงานภายในของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
เพื่อวิเคราะห์สภาพและการใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนในสังกัดสำนกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานให้เกิดประสทิ ธิภาพ
2. จัดทำแนวทางการดำเนนิ งานการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564
3. จัดเตรยี มแนวทางการจดั การเรียนการสอนใน 5 รูปแบบ โดยคำนึงถึงสภาพความพร้อมและบรบิ ท
ของโรงเรยี น ดงั นี้
3.1. On – site การจัดการเรียนการสอนแบบปกติทีโ่ รงเรียน (มาตรการ ศบค.)
3.2. On – air การจดั การเรียนการสอนผ่านระบบโทรทัศน์
3.3. On – demand การจัดการเรยี นการสอนผ่านสอื่ อิเล็กทรอนิกส์
3.4 Online การจดั การเรยี นการสอนแบบถ่ายทอดสด
3.5. On – hand การจดั การเรยี นการสอนด้วยการนำส่งเอกสารทบ่ี ้าน
19
4. จดั เตรยี มแนวทางการจดั กจิ กรรมเสรมิ ทกั ษะชวี ติ ด้วยการจดั การเรยี นรู้ทใี่ ช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน
(Phenomenon Based Learnning) โดยจดั กจิ กรรม 2 ลกั ษณะ ดงั น้ี
4.1 กจิ กรรมประเภท Online ได้แก่
- การพัฒนาครูด้านทักษะดิจิทัลและเทคนิคการสอน Online โดยสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานร่วมกับหน่วยปฏิบัติการร่วมกับหน่วยปฏิบัติการวิจัยสิ่งประดิษฐ์และ
นวตั กรรมการศึกษา คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ดำเนนิ การกิจกรรม "OBEC
2021 WEBINAR การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ยคุ ปกตใิ หม่ : มมุ มองของ ผู้บรหิ าร
นกั วชิ าการ และคร"ู สำหรบั ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ระหว่างวนั ท่ี 17 - 21 พฤษภาคม
2564 ทาง OBEC Channel
- การนําเสนอคลงั สอื่ ดจิ ิทัลระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (OBEC Content Center) โดยจดั
หมวดหมูตามระดับชนั้ กลุมสาระการเรียนรู พรอมใหบรกิ ารแกผูบรหิ าร ผูบริหารโรงเรยี น
ศกึ ษานิเทศก ครู บคุ ลากรทางการศึกษา นกั เรียนและผปู กครอง โดยสามารถใชง านผา นเวบ็ ไซต์
4.2 กจิ คกรรูพรรมอ ปมรดะอเภททคอOมffline (กจิ กรรมชวนเดก็ เลน ) ไดแ ก กิจกรรมรรู กั ภาษา, กจิ กรรมตามหาฝน ,
กิจกรรมสนกุ ฝก เปด กวา งการเรียนร,ู กิจกรรมแบง ปน สังคม, กจิ กรรมคน หาตวั ตน และ กจิ กรรมอ่ืน ๆ
5. สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน จัดทำปฏทิ นิ ประชมุ ชแ้ี จงการจัดการเรียนการสอน
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) เพอ่ื สอ่ื สารระหว่าง สำนกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา โรงเรียน นกั เรยี นและผู้ปกครอง ดังนี้
วนั ท่ี 11 พฤษภาคม 2564 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน จดั ประชมุ ทางไกล
ชแี้ จงแนวทางการดำเนนิ การไปยงั สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาและ
โรงเรยี น โดยรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และเลขาธกิ าร
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
วันที่ 13 พฤษภาคม 2564 สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาจัดประชุมทางไกลชี้แจงนโยบายและ
แนวทางการดำเนินการกบั โรงเรียนในสงั กัด
วนั ท่ี 17 พฤษภาคม 2564 โรงเรยี นดำเนนิ การชแี้ จงนโยบายและแนวทางการดำเนนิ การ
ทไี่ ด้รบั มอบหมายแก่นกั เรยี น ผู้ปกครอง ชมุ ชน และผู้ทเี่ กย่ี วข้อง
6. วางแผนการสนับสนนุ ทรพั ยากรในการจดั การเรียนการสอนของโรงเรยี น เพ่ือจดั การเรยี นการสอนใหม ี
ประสทิ ธภิ าพยิง่ ขึน้ เชน สนบั สนนุ เครือ่ งมอื เพือ่ ใชในการจดั การเรยี นการสอนในรปู แบบตาง ๆ จดั ชดุ การเรียนรู
สําหรับนกั เรยี นกลุม เสย่ี งท่เี รยี นในรูปแบบ On - hand เปน ตน
7. กาํ กบั ตดิ ตาม และสรปุ รายงานผลเปน ระยะ เพ่ือนาํ เสนอตอ เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
และรฐั มนตรีวา การกระทรวงศึกษาธิการ ทราบ
20
ช่วงที่ 3 : ระหว่างวนั ท่ี 17 - 31 พฤษภาคม 2564
1. ประสานการดาํ เนนิ งานระหวา งหนว ยงานและองคก รท่เี ก่ยี วขอ ง เพ่อื เตรียมความพรอ มของทุกหนว ยงาน
ในการดําเนนิ การกอนเปดภาคเรยี น เชน การเลอื่ นเปด ภาคเรยี น การเตรียมความพรอมในการสอบ
คัดเลอื กเขาโรงเรยี น และการเปดเรยี นในรปู แบบ On – site เสนอตอ ศบค. การขออนญุ าตใชสือ่
ของมลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ การขออนมุ ตั ิใชช อ งสญั ญาณโทรทศั น
ภาคพ้นื ดิน (Digital TV) จากสาํ นกั งานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น และกิจการ
โทรคมนาคมแหง ชาติ (กสทช.) เปนตน
2. ซกั ซ้อมความเข้าใจ และทดลองการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เพอื่ ตรวจสอบการเตรียมความพร้อมในการจัดการเรยี นการสอน
ก่อนเปิดภาคเรียน
2.1 ประสานกบั สํานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา ในการดําเนินการเพอื่ เตรียมความพรอมใน
การจดั การเรยี นการสอนใหกบั โรงเรยี นในสงั กดั ทัง้ ดานอาคารสถานทีแ่ ละวธิ ีการจัด
การเรียนการสอนท่ีเปนไปตามมาตราการทก่ี าํ หนด ตลอดจนสอบถามผลการดําเนินงาน
ปญหาและอุปสรรคตาง ๆ
2.2 ตรวจสอบความพรอ มของโรงเรยี นท่จี ะจดั การเรียนการสอนตาม 5 รปู แบบ และการวางแผน
การจดั การเรียนการสอนในสถานการณก ารแพรร ะบาดฯ รวมท้งั โรงเรียนที่จะจดั การเรยี น
การสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) ท้ังรูปแบบ On - site รว มกบั รปู แบบการเรยี น
การสอนทางไกล (Distance Learning) อื่น ๆ
2.3 ใหค วามรู และสรา งความเขาใจแนวทางการดาํ เนนิ งานในการจดั กิจกรรมเสริมทกั ษะชวี ติ
ดวยการจดั การเรียนรูทใี่ ชปรากฏการณเปนฐาน (Phenomenon Based Learnning)
ท่มี กี ารจัดกิจกรรม 2 ลกั ษณะ ไดแ ก 1) กจิ กรรมประเภท Online เพ่ือพัฒนาครใู นดา น
ทักษะดิจิทัลและเทคนิคการสอน Online ในกจิ กรรม "OBEC 2021 WEBINAR การจัด
การเรียนการสอนออนไลนยคุ ปกตใิ หม : มุมมองของผูบรหิ าร นกั วิชาการ และคร"ู
สําหรบั ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา รวมทง้ั การนาํ เสนอคลงั สอ่ื ดิจิทัลระดับการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐาน (OBEC Content Center) 2) กจิ กรรมประเภท Offline (กิจกรรมชวนเด็กเลน )
ไดแก กจิ กรรมรูรกั ภาษา, กจิ กรรมตามหาฝน, กจิ กรรมสนุก ฝก เปดกวางการเรยี นรู,
กจิ กรรมแบงปน สงั คม, กจิ กรรมคนหาตัวตน และกจิ กรรมอืน่ ๆ
2.4 สนับสนุนใหผ ูบ ริหาร ผบู ริหารโรงเรียน ศึกษานิเทศก ครู บคุ ลากรทางการศึกษา นกั เรียน
และผปู กครอง ไดศ กึ ษาเรยี นรดู ว ยตนเองตามความสมัครใจ เพ่อื เตรียมความพรอ มกอ นเปด
ภาคเรียนจากเวบ็ ไซตครูพรอมดอทคอม
21
3. จัดทําเครือ่ งมือนิเทศ กํากับ ติดตามและประเมนิ ผล เพือ่ ใหสํานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษานําไปใช
เปนแนวทางในการนิเทศ กาํ กับ ติดตามและประเมินผลการดาํ เนินงานของโรงเรียน
4. ใหก ารสนบั สนนุ ทรพั ยากรในการจดั การเรียนการสอนของโรงเรียน เพื่อจัดการเรียนการสอนใหม ี
ประสิทธภิ าพยิ่งขึน้ เชน สนบั สนุนเคร่ืองมอื ท่ใี ชใ นการจดั การเรียนการสอนในรปู แบบตา ง ๆ จัดชุดการเรยี นรู
สําหรบั นกั เรยี นกลมุ เส่ียงที่เรียนในรปู แบบ On - hand เปน ตน
5. ส่ือสาร ประชาสมั พันธก ารจดั การเรยี นการสอนในสถานการณก ารแพรร ะบาดฯ เพ่อื สรา งความเขา ใจ
ระหวา งสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ผบู รหิ าร ผบู รหิ ารโรงเรียน ศกึ ษานิเทศก ครู บุคลากร
ทางการศกึ ษา นักเรียนและผูปกครอง ผานชองทางการตดิ ตอสอื่ สารตาง ๆ เชน สือ่ สารมวลชน โทรทัศน
ส่ือส่งิ พ6มิ .พกโาํซกเชบั ยี ลตมดิ ีเตดาียมแแลละะสชรอ ุปงทราายงงอาเิ นลก็ผทลเรปอนนริกะสยอ ะ่ืนเพๆื่อเนปาํนเตสนนอต่อเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษา
ระยะการจดั การเรยี นการสอน
(ต้ังแต่วนั ที่ 1 มถิ นุ ายน 2564 เป็นต้นไป)
1. ประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน องค์กรที่เกยี่ วข้อง เช่น ศบค. กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวง
มหาดไทย และกระทรวงกลาโหม เป็นต้น เพอื่ ให้การดำเนินงานการจดั การเรยี นการสอนเป็นไปตามระเบียบ
กฎหมายและมาตรการท่ีถูกต้อง
2. กำหนดเปิดเรยี นภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ในวนั ที่ 1 มถิ นุ ายน 2564 โดยมอบหมายให้
สํานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษารับผดิ ชอบดแู ลใหโรงเรียนจัดการเรยี นการสอนในสถานการณก ารแพรร ะบาดของ
โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ตามแนวทาง 5 รปู แบบ ไดแก รูปแบบ On – site, On – air,
On – demand, Online และ On - hand รวมถงึ การวางแผนการจดั กลมุ นกั เรยี น สาํ หรับจดั กจิ กรรมการเรยี น
การสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) ท้ังรูปแบบ On - site รว มกบั รูปแบบการเรียนการสอนทางไกล
(Distance Learning) อืน่ ๆ ดงั นี้ แบบที่ 1 มาเรยี นทุกระดับชนั้ แบบที่ 2 แบง 2 กลุม สลับเวลามาเรยี น
รอบเชา - รอบบาย แบบที่ 3 แบง 2 กลุม สลับวนั มาเรยี น วนั เวนวนั แบบที่ 4 แบง 3 กลุม สลับวันมาเรยี น
1 วนั เวน 2 วัน และแบบที่ 5 รปู แบบอนื่ ทีเ่ ปนทงั้ รปู แบบ On - site และรูปแบบการเรยี นการสอนทางไกล
(Distance Learning) อ่นื ๆ นอกจากน้ี สาํ หรับการดาํ เนนิ การจดั การเรียนการสอน ใหค รสู ามารถนาํ รปู แบบ
และกระบวนการตาง ๆ มาออกแบบกจิ กรรมการเรยี นการสอน ขึน้ อยูกับความพรอมตามบรบิ ทของโรงเรียน
นกั เรยี น และสถานการณทเี่ กดิ ขนึ้ โดยคํานงึ ถงึ ความปลอดภยั ของนักเรยี นและครูเปนสําคญั ตองปฏบิ ัตติ าม
มาตราการ ศบค.จังหวัด นัน้ ๆ ดวย โดยการจดั การเรยี นการสอนจะมุงเนนใหนกั เรยี นไดเรยี นรูตามระดับชนั้
นกั เรยี นระดับอนบุ าล เนน จดั ประสบการณ เพื่อสงเสรมิ พฒั นาการของนักเรยี นทกุ ดาน
22
3. บรหิ ารจัดการ อาํ นวยการ สนับสนนุ สง เสริม ทรัพยากรการเรยี นรู เพ่อื ใหข ับเคล่อื นการดาํ เนินงาน
การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)
เป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
4. นเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) เพอื่ ให้สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาและโรงเรยี นปฏบิ ตั ติ ามแนวทางและ
ความพร้อมของแต่ละแห่งอย่างมคี ณุ ภาพ ดงั น
ี้
1) ค์
2) ใหค าํ ปรึกษา แนะนาํ และแกป ญั หาในการดาํ เนินงานการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ใหก ับสํานกั งานเขตพนื้ ที่
การศึกษา
3) รวบรวมขอ มลู ปญั หา อปุ สรรค และ แนวทางการดาํ เนินการจดั การเรียนการสอนตามท่ี
สํานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษารายงานผลมายงั สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
เพ่อื นํามาปรบั ปรุง และพฒั นาการดาํ เนนิ งานอยา่ งต่อเนื่อง
4) กาํ กบั ตดิ ตาม ประเมินผลและสรุปเพ่อื เเปน ขอมูลเชิงนโยบายนาํ เสนอต่อรัฐมนตรวี ่าการ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทราบ
“อำนวยการและประสานงาน”
23
ตอนที่ 3
บทบาท และภารกิจของสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา
24
ระยะการเตรยี มความพร้อม
(วนั ท่ี 23 เมษายน – 31 พฤษภาคม 2564) แบ่งบทบาทออกเป็น 3 ช่วง ดงั น
ี้
ช่วงท่ี 1 : ระหว่างวันท่ี 23 เมษายน - 5 พฤษภาคม 2564
สำรวจรวบรวมข้อมูล
1. แต่งตงั้ คณะทำงานศนู ย์เฉพาะกจิ การจดั การศกึ ษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
2. สาํ รวจ ตรวจสอบและยืนยันขอ มูลดา นความพรอ มของโรงเรียนในเร่ืองตา ง ๆ เชน ขอ มลู พ้ืนฐาน
สรปุ ข้อมลู ความพร้อมการจดั การเรยี นการสอนรปู แบบต่าง ๆ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ของโรงเรียนในสังกัด เพื่อนำเสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขนั้ พนื้ ฐานทราบ
ช่วงที่ 2 : ระหว่างวันท่ี 6 - 16 พฤษภาคม 2564
การวางแผน
25
2. มอบหมายศึกษานิเทศกปฏบิ ัติหนา ท่เี ปน ผูดาํ เนนิ การแนะนาํ สงเสริม สนบั สนนุ
3. ประชุมชแี้ จงสร้างความเข้าใจใหก้ ับโรงเรียน เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มในการจัด
4. วางแผนการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน
5. จดั หา รวบรวมแหลง การเรยี นรูเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัลเพ่อื เผยแพรใหโ้ รงเรยี นสาํ หรับ
6. ประสานงานในการดำเนนิ งานระหว่างหน่วยงานและองค์กรทเี่ กย่ี วข้องเพอ่ื วเิ คราะห์
7. กํากบั ตดิ ตาม สรุปและรายงานผลการดําเนนิ งาน เพ่ือนําเสนอตอสํานกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ทราบ
26
ช่วงท่ี 3 : ระหว่างวันท่ี 17 - 31 พฤษภาคม 2564
การดำเนินการก่อนเปิดภาคเรียน
1. ต้
2. ประสานการดาํ เนินงานระหวา่ งหนว่ ยงาน และองคก รท่ีเก่ียวขอ้ งเพ่อื เตรียมความพรอ ม
- กําหนดชอ งทางการตดิ ตอ ส่อื สารและประสานงานกนั ระหวา งหนวยงาน เชน ระบบ
AMSS, Line Group, Facebook หรอื ชองทางอ่นื ๆ เปนตน
- เกบ็ รวบรวมและวิเคราะหข อมูล เพอื่ จดั ทาํ สารสนเทศดา นการบรหิ ารการจัดการภายใต
สถานการณแพรระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) อยางเปนระบบ ใหสะดวกตอ
การใชง าน พรอมทงั้ สรปุ ผลการบรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนการสอน
3. สนบั สนนุ ทรพั ยากรในการจดั การเรยี นการสอนให้กบั โรงเรยี นสำหรบั ใช้ในการจดั การเรยี น
การสอนให้มปี ระสิทธิภาพ เช่น สอื่ การเรยี นการสอน จดั ชดุ การเรียนรู้ ใบงาน แบบฝึกหัด สำหรบั นกั เรียน
กลุ่มเสย่ี งทีเ่ รยี นในรูปแบบ On – hand เป็นต้น
4. จดั ทาํ ชอ งทางการประชาสมั พนั ธ เพอ่ื ใหโ รงเรยี น ครู นกั เรียน ผปู กครองและผทู เ่ี กย่ี วขอ ง
5. รายงานผลการบรหิ ารจดั การตามภารกจิ ของสาํ นักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา ตลอดจน
27
ระยะการจดั การเรยี นการสอน
(ตงั้ แต่วันท่ี 1 มถิ นุ ายน 2564 เป็นต้นไป)
1. นเิ ทศ กำกับ ตดิ ตามและตรวจเยี่ยมเพอ่ื ประเมนิ ความพร้อมของโรงเรยี นในการจัดการเรียน
การสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ดังน
ี้
- ประชมุ วางแผนกำหนดกรอบการนเิ ทศ ตดิ ตามและตรวจเย่ียมโรงเรียนในสังกัด
- จดั ทำคำส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการผู้รบั ผดิ ชอบในการนิเทศ ตดิ ตามและตรวจเยย่ี มโรงเรียนในสังกดั
- จัดทำปฏิทินการนิเทศติดตามและตรวจเย่ยี มโรงเรยี นในสงั กดั
2. รับฟงั ปญั หา อุปสรรค ตลอดจนความคดิ เหน็ เพือ่ นาํ มาปรบั ปรุงและพฒั นาการดําเนนิ การของ
สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา โดยจดั ให้มชี ่องทางการสอื่ สารทหี่ ลากหลายและมีประสิทธภิ าพ
3, ให้คำปรึกษา คำแนะนำและแก้ปัญหาในการดำเนนิ งานการจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ให้กับโรงเรยี นในสังกัด
4. รวบรวมข้อมลู ปัญหา อปุ สรรคและแนวทางการดำเนินการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์
5. รายงานผลการบรหิ ารจดั การของสาํ นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา และผลการจดั การเรียนการสอน
“สนบั สนุนและช่วยเหลอื โรงเรียน”
28
ตอนท่ี 4
บทบาท และภารกจิ ของโรงเรยี น
29
ระยะการเตรยี มความพร้อม
(วนั ที่ 23 เมษายน – 31 พฤษภาคม 2564) แบ่งบทบาทออกเป็น 3 ช่วง ดงั น
ี้
ช่วงท่ี 1 : ระหว่างวันที่ 23 เมษายน - 5 พฤษภาคม 2564
1. ประสานงานกับสํานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา และหนวยงานที่เก่ียวข้อง
2. รายงานผลการสาํ รวจความพรอ้ มการจดั การเรยี นการสอนรูปแบบตา ง ๆ ใน
3. สรปุ ข้อมลู ความพร้อมการจดั การเรยี นการสอนรูปแบบต่าง ๆ ในสถานการณ์
ช่วงท่ี 2 : ระหว่างวนั ที่ 6 - 16 พฤษภาคม 2564
1. ประชมุ ช้ีแจงแนวทางการจดั การเรียนการสอนของโรงเรยี น ใหแ้ ก่ ครู นกั เรียน
ผูป้ กครอง คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้เกี่ยวขอ้ งอน่ื ๆ ไดร้ บั ทราบ
2. ประสานความร่วมมอื ในการจดั การเรยี นการสอนกบั หน่วยงานต่าง ๆ ทงั้ ภาครฐั
3. กำหนดและวางแผนการจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ของโรงเรียน ร่วมกับสำนักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษา และหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้องในชุมชน
4. วางแผนการจัดการเรียนการสอนในระดบั ช้นั เรียน โดยนาํ ขอ้ มลู ผลการสาํ รวจ
30
5. เตรียมความพร้อมด้านส่ือ อปุ กรณ์ และเครอื่ งมอื ส่งเสริมการจัการเรยี นรู้ สำหรบั ครู
และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง เพอ่ื ให้สามารถจดั การเรียนการสอนตามรูปแบบการเรียนการสอนทก่ี ำหนดไว้
6. จดั เตรยี มทรัพยากรในการจัดการเรยี นการสอนใหก้ ับครูและนักเรียน สาํ หรบั ใชใ้ น
7. ติดตาม ดแู ลนกั เรยี น ใหเ ปน ไปตามมาตรการเฝา้ ระวังแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID - 19) ของกระทรวงสาธารณสขุ และเกบ็ ข้อมลู นกั เรยี นเพอื่ ใช้ในการคดั กรองนกั เรยี น
ตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (Scantool 4.0) ประกอบด้วย แบบประเมินพฤติกรรม (SDQ)
แบบประเมนิ ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) และแบบคดั กรองนกั เรยี น
8. ซักซ้อมความเข้าใจ ครู นักเรียน และผู้ปกครองถึงแนวทางการจัดการเรียนการสอน
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) เพอ่ื ทบทวนและตรวจสอบ
การเตรยี มความพร้อมในการจดั การเรยี นการสอนก่อนเปิดภาคเรียน
9. จดั ทำช่องทางสอ่ื สารและประชาสมั พนั ธ์ เพอ่ื ให้ครู นกั เรยี น ผู้ปกครองและผู้ทเ่ี กย่ี วข้อง
ช่วงที่ 3 : ระหว่างวันที่ 17 - 31 พฤษภาคม 2564
การดำเนนิ การก่อนเปิดภาคเรียน
1. ประสานงานรว่ มกับศกึ ษานิเทศก ท่ไี ดร บั มอบหมายใหน เิ ทศ ติดตามการจดั การเรยี น
31
2. ประสานการดําเนนิ งาน ระหว่างหน่วยงานและองคกรทเี่ กยี่ วของเพอื่ เตรียม
ความพร้อมของทกุ หน่วยงานในการดำเนนิ การก่อนเปิดภาคเรยี น โดยมกี ารดำเนนิ การดงั น
้ี
- กำหนดช่องทางการติดต่อส่ือสารและประสานงานกับระหว่างหน่วยงาน เช่น
ระบบ Line Group, Facebook หรอื ช่องทางอน่ื ๆ
3. จัดหาทรัพยากรในการจัดการเรียนการสอนสำหรับใช้ในการจัดการเรียนการสอน
4. ดําเนนิ การประชาสัมพนั íŤǰและส่อื สาร×Ăš öĎúท่ีÝĞćđðîŨ êŠĂการจดั การเรยี นการสอน
อยางตอเนือ่ ง ผานชองทางการสอื่ สารของโรงเรยี นทจี่ ดั ทําขึน้ เพอื่ ใหครู นักเรียน ผูปกครอง และ
ผูทีเ่ กยี่ วของกบั การจดั การเรยี นการสอน ไดรับทราบ และชีแ้ จงแนะนําแหลงบริการสอื่ การเรยี นรู
เทคโนโลยดี ิจิทัล สําหรับเปน เคร่ืองมอื เพ่อื ใชจ ดั การเรียนการสอนในช้ันเรียนและเรยี นรดู วยตนเองจาก
ท่ีบา น (Learn From Home) เชน ครูพรอ มดอทคอม, OBEC Content Center, และแหลง เรียนรอู ่นื ๆ
5. รายงานผลการบริหารจัดการตามบทบาทและภารกจิ ของโรงเรยี น ตลอดจน
32
ระยะการจดั การเรยี นการสอน
(ต้งั แต่วันท่ี 1 มถิ นุ ายน 2564 เป็นต้นไป)
1. ดำเนนิ งานการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019
2. วิเคราะห สภาพปญหาและกําหนดแนวทางแกไขปญหาที่เกิดจากการจัดการเรียนการสอนในระดบั
ชน้ั เรยี น เพ่ือให้ได้ข้อมลู มาใช้ในปรบั ปรงุ กระบวนการจัดการเรยี นการสอน
3. จดั ทําปฏทิ ินการเย่ียมบาน นกั เรยี นและผูปกครอง พรอมทั้งกําหนดวธิ กี ารท่ีหลากหลาย และ
เหมาะสม เพอ่ื ให้สามารถสนับสนุนการเรยี นรู้ของนักเรียนได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
4. กำหนดเกณฑก์ ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรูข้ องนักเรยี น ตามบรบิ ทของการจัดการเรยี นการสอน
5. กำหนดเครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในเกบ็ รวบรวมข้อมลู การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
6. รบั ฟง ปญ หา อปุ สรรค ตลอดจนความคิดเห็น เพ่ือนํามาปรบั ปรุงและพัฒนาการดาํ เนนิ การของโรงเรยี น
โดยจัดให้มชองทางการสื่อสารท่ีหลากหลายและมปี ระสิทธภิ าพ
7. ใหค ําปรึกษาคําแนะนําและแกไ ขปญั หาในการดาํ เนินงานการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ให้แก่ครู นกั เรียนและผู้ปกครอง
8. รวบรวมขอมูล ปัญหา อปุ สรรคและแนวทางการดําเนนิ การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์
“สนบั สนุนและช่วยเหลือ ครู นักเรยี น”
33
บทบาทและภารกิจของคร
ู
ในการจดั การเรียนการสอนในรูปแบบต่าง ๆ
1. รูปแบบ On – site :
การจัดการเรยี นการสอนแบบปกติทโ่ี รงเรียน (มาตรการ ศบค.)
1.1 โรงเรยี นต้องมกี ารประสานกับหนวยงานท่ีเก่ียวข้อง เชน ศบค.จงั หวดั สํานกั งาน
1.2 โรงเรียนต้องมกี ารจัดเตรียมอปุ กรณ์ทจี่ ำเป็น เช่น หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า
แอลกอฮอลเ จลและน้าํ ยาทาํ ความสะอาด เปน ตน ไวอ ยา งเพียงพอ ในกรณที ่ผี ปู กครอง
ไมส ามารถจดั หาใหก บั นกั เรยี นได
1.3 จดั ทาํ มาตรการเพอื่ เฝา้ ระวังและป้องกนั ในกรณีการเดนิ ทางไปโรงเรียนโดยพาหนะ
1.4 ครูให้คำแนะนำ กำกับตดิ ตามขณะท่ีนักเรยี นมาโรงเรียนให้ถือปฏิบตั ติ ามมาตรการ
ท่ี ศบค. กำหนด (Social Distancing)
1.5 ครรู ่วมกบั ผู้ปกครองในการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของนกั เรยี น มกี ารกำหนดเครอื่ งมอื
การวดั และประเมนิ ผลทส่ี ร้างขน้ึ ตามบรบิ ทของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (รอแนวทาง)
1.6 ครูและผู้ปกครองร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหาการเรยี นรู้สำหรับนักเรยี น
34
2. รปู แบบ On - air :
การจดั การเรยี นการสอนผ่านระบบโทรทัศน์
2.1 ครใู หคําแนะนําแกผูปกครองเก่ียวกบั การจัดสถานที่ในการเรยี นรูทบี่ าน
2.2 ผูปกครองตองเตรยี มระบบอินเทอรเน็ต จดั อุปกรณทีจ่ ําเปนตอการเรยี นรู้
เชน โทรทศั น คอมพวิ เตอร โนต บคุ แทบ็ เล็ต สมารท โฟน เปน ตน ใหม ีความพรอ ม
ในการจัดการเรียนรู
2.3 ครูใหค ําแนะนาํ นกั เรยี นและผปู กครองขณะเรียน On - air ผา นระบบโทรทศั น
2.4 ครรู ่วมกับผปู กครองในการกาํ กับ ดูแลนกั เรยี นใหส ามารถเรียนรผู ่านระบบ
โทรทัศนไ ดตามตารางเรียนท่ีกาํ หนด
2.5 ครูและผปู กครองรว มกนั จัดตารางและนดั หมายวันและเวลาในการรบั - สง
ใบงาน แฟมงานของนักเรียน หรอื สามารถสงทางระบบออนไลน และ
ชองทางอ่นื ๆ ทไี่ ดนัดหมาย พรอ มทัง้ สื่อสารกับผูปกครองเพอ่ื รายงานผล
การเรียนของนกั เรยี นแตล ะรายวชิ า ตามชองทางตาง ๆ
2.6 ครรู ่วมกบั ผู้ปกครองในการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของนักเรยี น มีการกำหนด
เคร่ืองมือการวัดและประเมินผลท่ีสร้างขึ้นตามบริบทของนักเรียนเป็น
รายบคุ คล
2.7 ครูและผู้ปกครองร่วมกับหาแนวทางแก้ไขปัญหาการเรยี นรู้สำหรับนักเรียน
35
ONE-WAY
3. รูปแบบ On – demand :
การจัดการเรียนการสอนผา่ นส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์
3.1 ครใู ห้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองเกย่ี วกับการจดั สถานที่ในการเรยี นรู้ทีบ่ ้านให้มีความเหมาะสม
ต่อการเรยี นรู้ของนกั เรยี น เช่น จดั สถานทใ่ี ห้มแี สงสว่างทเี่ พยี งพอ ไม่มากไปและไม่น้อยไป,
ไม่มเี สยี งดงั รบกวน และดแู ลให้คำแนะนำอย่างใกล้ชดิ ตลอดการเรยี นรู้ในแต่ละรายวชิ า
3.2 ผู้ปกครองต้องเตรยี มระบบอินเตอร์เนต็ และจัดอปุ กรณ์ท่จี ำเป็นต่อการเรยี นรู้ เช่น โทรทศั น์
คอมพวิ เตอร์ โน้ตบุ๊ค แทบ็ เลต็ สมาร์ทโฟน เป็นต้น ให้มคี วามพร้อมในการจดั
การเรยี นรู้
3.3 ครใู ห้คำแนะนำนักเรยี นและผู้ปกครองขณะในการเรียนแบบ On – demand ผ่านระบบ
3.4 ครจู ัดกิจกรรมการเรียนรผู า นสือ� อเิ ล็กทรอนิกส เชน การเรียนรผู า นเวบ็ ไซต DLTV, Youtube,
Application, OBEC Content Center บน Smart Phone / Tablet เป นตน
3.5 ครูประสานกบั ผปู กครองในการใหค าํ ปรึกษา ชี้แนะในการเรยี นผา นส่อื อิเลก็ ทรอนกิ ส
3.6 ครูประสานกับผปู กครองใหช ว ยกาํ กบั ติดตามในการทําเอกสารและสง แฟมงานของ
นักเรียนตามทีค่ รูกาํ หนด
3.7 ครูประสานกบั ผปู กครองในการแจง ผลการเรียนรขู องนักเรยี นเปน ระยะ
3.8 ครูรว มกบั ผปู กครองในการประเมนิ ผลการเรียนรขู องนกั เรียน มีการกําหนดเครอื่ งมือการวัด
และประเมินผลทส่ี รางข้ึนตามบรบิ ทของนักเรียนเปน รายบคุ คล
36
TWO-WAY
4. รูปแบบ Online :
การจัดการเรยี นการสอนแบบถ่ายทอดสด (LIVE)
4.1 ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในลักษณะ
การสอื่ สารสองทาง เป็นกิจกรรมการเรียนรู้แบบถ่ายทอดสด (LIVE) ระหว่าง
ครูและนักเรียน (นักเรียนจะต้องมีความพร้อมด้านอุปกรณ์และเครือข่าย
อนิ เทอร์เนต็ ) โดยใช้เครอ่ื งมอื ต่าง ๆ เช่น Google Meet, Microsoft Teams,
Zoom Meeting, AcuLearn, WebEx, Braincloud, VRoom, Line,
Facebook เป็นต้น หรอื ช่องทางอน่ื ๆ ตามการนดั หมาย
4.2 ครตู รวจสอบการเขา เรียนของนักเรียนตามรูปแบบการกาํ หนดเวลาเรียนของ
โรงเรยี น ในชวงกอนเร่มิ จดั กจิ กรรมการเรยี นรโู ดยใชช อ งทางการสอ่ื สารตาม
การนัดหมาย
4.3 ครตู ดิ ตามใหนกั เรยี นเขาเรยี นผานชองทางการสือ่ สารตามการนัดหมาย
4.5 ครูวางแผนรว มกับผปู กครองในการประเมินผลการเรียนรขู องนกั เรยี น มกี ารกาํ หนด
เครือ่ งมือการวัดและประเมินผลทีส่ รา งขน้ึ ตามบริบทของนักเรยี นเปน รายบุคคล
4.6 ครูและผูปกครองรวมกนั หาแนวทางแกไ ขปญั หาการเรียนรูข องนักเรียน
37
5. รูปแบบ On – hand :
การจดั การเรยี นการสอนด้วยการนำส่งเอกสารที่บ้าน
5.1 ครดู ำเนนิ การรบั -ส่งแฟ้มงานนกั เรยี น และสอ่ื สารกบั นกั เรยี นและผู้ปกครองโดย
กำหนด วนั เวลา และสถานทอ่ี ย่างชดั เจน ในกรณที ไ่ี ม่สามารถ รบั – ส่งแฟ้มงาน
นกั เรยี นได้ตามนดั หมาย อาจใช้ระบบขนส่งทางไปรษณยี ์ หรอื ระบบขนส่งของเอกชน
ในการอำนวยความสะดวก
5.2 ครปู ระสานกบั ผู้ปกครองในการให้คำปรกึ ษา การจดั ทำเอกสาร ใบงาน การตดิ ตาม
แฟ้มงานทคี่ รจู ดั ส่งให้แก่นกั เรยี น
5.3 ครูประสานกับผู้ปกครองคอยกำกับ ติดตามการส่งแฟ้มงานของนักเรียนให้
ตรงตามกำหนดนัดหมาย
5.4 ครรู ่วมกบั ผู้ปกครองในการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรยี น มีการกำหนด
เครอ่ื งมอื การวดั และประเมนิ ผลทสี่ ร้างขนึ้ ตามบรบิ ทของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล
5.5 ครูและผู้ปกครองร่วมกับหาแนวทางแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียน
อย่างสมำ่ เสมอ
“ออกแบบและจัดการเรียนการสอนให้ตอบสนองความหลากหลายของผู้เรียน”
38
ตอนท่ี 5
บทบาทและภารกิจของนักเรียนและผู้ปกครอง
39
ระยะการเตรยี มความพร้อม
(วนั ที่ 23 เมษายน – 31 พฤษภาคม 2564) แบ่งบทบาทออกเป็น 3 ช่วง ดงั น
ี้
ช่วงที่ 1 : ระหว่างวนั ท่ี 23 เมษายน - 5 พฤษภาคม 2564
1. ผูป กครองตอ งเตรียมความพรอ มใหนักเรียน และติดตอ ประสานกบั ครู เพื่อสรา งเความเขาใจ
ในรูปแบบการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรียนท่จี ะดาํ เนินการในภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศึกษา 2564
2. โรงเรยี นชแี้ จงให้นกั เรยี นและผู้ปกครองกยี่ วกบั การเตรยี มความพร้อมเพอ่ื การเรยี นรู้ในรปู แบบ
การจัดการเรียนการสอนแบบต่าง ๆ ทั้ง 5 รูปแบบ ได้แก่ On - site, On - air,
On – demand, Online และ On - hand
3. ผปู้ กครองจัดเตรียมความพรอ้ มใหน้ กั เรียนในการจดั หาอุปกรณท ่จี าํ เปน ตอ่ การเรยี นการสอน
4. นกั เรยี นทบทวนเน้อื หาบทเรียนในระดบั ช้ันท่เี รียนของปก ารศกึ ษาท่ผี า นมา (ปก ารศกึ ษา 2563)
และเตรียมศึกษาหาความรลู ว งหนา ในเนือ้ หาสาระท่ีตอ งเรยี นในปก ารศกึ ษา 2564
40
ช่วงท่ี 2 : ระหว่างวนั ท่ี 6 - 16 พฤษภาคม 2564
รปู แบบ On – site :
1. การจดั การเรยี นการสอนแบบปกตทิ โี่ รงเรยี น (มาตรการ ศบค.)
1.1 นักเรยี น ผูปกครองและครูรวมกนั วางแผนการใหนกั เรียนมาเรียนแบบ On - site
โดยประสานงาน โรงเรียนในการใหความรว มมอื ในการปฏบิ ัติตามมาตรการของ ศบค.
อยางเครงครัด
1.2 นกั เรียนเตรียมศึกษาเอกสาร ทบทวนเน้อื หาบทเรียนในระดับช้นั ท่เี รียนของปก ารศึกษา
ทผี่ านมา (ปการศกึ ษา 2563) และเตรยี มศกึ ษาหาความรูลวงหนาในเนือ้ หาสาระที่
จะตองเรียนในปก ารศกึ ษา 2564 เพ่อื เตรียมความพรอมในการเรียนการสอน
1.3 นกั เรยี นและผูปกครองจัดหาและเตรียมอุปกรณทีจ่ ําเปน เชน หนากากอนามยั หรอื
หนา กากผา แอลกอฮอลเ จลและนา้ํ ยาทาํ ความสะอาด เปน ตน ไวอ ยา งเพียงพอ ในกรณที ่ี
ผูปกครองไมสามารถจดั หาใหกบั นกั เรยี นได ใหปรึกษาและขอความชวยเหลือจาก
ทางโรงเรียน
1.4 ผปู กครองตอ งกาํ กบั ติดตาม ดแู ลและสรา งความตระหนกั ใหน กั เรียน เหน็ ความสําคัญ
ของการปฏิบตั ติ น ตามมาตรการของ ศบค. อยา งเครงครดั จนตดิ เปนนิสยั ในการดาํ เนนิ
ชีวติ ประจาํ วนั
รปู แบบ On - air :
2. การจัดการเรียนการสอนผ่านระบบโทรทัศน์
2.1 ผปู กครองประสานงานกบั ครู เพอื่ เตรยี มความพรอ มรว มกนั ในการจดั ประสบการณ
การเรยี นรใู หแ กน ักเรยี น การดาํ เนนิ กิจกรรมการเรยี นการสอน พรอ มท้งั ตดิ ตอ ส่ือสาร
กับครู เพ่ือขอคาํ แนะนาํ ปรึกษาแนวทางการเรียนของนกั เรียน ตรวจสอบตารางเรยี น
สําหรบั การเรียนรผู า นระบบโทรทศั นของนกั เรยี น
2.2 ผปู กครองจดั เตรยี มสถานท่แี ละตดิ ตอ ประสานงานกบั ครูในการดาํ เนินการเพ่ือเตรียมการ
สาํ หรบั การจดั การเรยี นรทู ่ีบา น เชน อุปกรณท ่ีจาํ เปน ในการเรยี นรู เอกสารการประกอบ
การเรียน จดั สภาพแวดลอ มของสถานท่ีในการเรียนรใู หม ีความเหมาะสม เพ่ือใหน กั เรียน
สามารถเรยี นรูไดอ ยางมสี มาธิ ปราศจากส่ิงรบกวน
2.3 ครูช้ีแจงผปู กครองและนกั เรยี นเก่ยี วกับตารางเรยี น และนดั หมายวนั และเวลาในการรับ - สง
ใบงาน แฟมงานของนักเรยี น และชองทางในการจัดสง เอกสาร ทั้งทางระบบออนไลน
และชอ งทางอ่นื ๆ ตามท่นี ัดหมาย พรอ มท้งั ส่อื สารกบั ผปู กครองเปน ระยะ เพ่อื รายงาน
ผลการเรียนของนักเรยี นแตล ะรายวิชา
2.4 นกั เรียนเตรยี มศึกษาเอกสาร ใบงาน บทเรียนลว งหนา เพ่อื เตรยี มความพรอ มของตนเอง
ในการเรียนรผู า นเรียนรดู ว ยใบงานตา ง ๆ ท่ใี ชใ นประกอบกิจกรรมการเรยี นรสู าํ หรับนักเรียน
41
รูปแบบ On – demand :
3. การจัดการเรียนการสอนผ่านส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์
3.1 ผูปกครองตอ งเตรยี มระบบอินเตอรเ น็ตและจัดอปุ กรณที่จาํ เปนตอ การเรียนรู เชน โทรทศั น
คอมพวิ เตอร โนตบุค แทบ็ เลต็ สมารทโฟน เปนตน ใหมีความพรอมในการจดั การเรยี นรู
สําหรับนักเรียน ตามสภาพวามพรอ มและบรบิ ทของครอบครัว
3.2 นกั เรยี นและผปู กครองเตรยี มอุปกรณส ่อื สาร เชน Smart Phone / Tablet เพ่อื ใหเ หมาะสม
กบั การเรยี นผา นส่ืออเิ ล็กทรอนิกสป ระเภทตา ง ๆ และเพ่อื ใชเ ปน เคร่อื งมอื ในการติดตอ ส่อื สาร
กับครูในระหวางการเรยี นรู ท้ังน้ขี นึ้ อยกู บั ความตองการและบริบทของครอบครวั
3.3 นักเรียนและผปู กครองศึกษาข้ันตอน วิธกี ารจัดการเรียนการสอนผา นส่ืออิเล็กทรอนิกส ประเภทตา ง ๆ
ตามท่ีโรงเรียนกาํ หนดไวใ นแนวทางการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน และครูประจาํ แตล ะวิชา เชน
การเรียนรผู า นเวบ็ ไซต DLTV, DLIT, Youtube, Application, OBEC Content Center บน
Smart Phone / Tablet เปนตน
3.4 นกั เรียนและผูปกครองเตรยี มสือ่ /ใบงาน อุปกรณประกอบการเรยี น เพื่อใหเ ปน
การเตรียมความพรอมในการเรียนกอ นเปดภาคเรยี น
รูปแบบ Online :
4. การจัดการเรียนการสอนแบบถ่ายทอดสด (LIVE)
4.1 นักเรียนและผูปกครองศกึ ษาขัน้ ตอน วิธกี ารในการเรียนการสอนออนไลน และชองทาง
ในการสอื่ สารกับครูประจําวชิ า เพือ่ เตรยี มความพรอมลวงหนา
4.2 นกั เรยี นและผปู กครอง ศึกษาและสรา งความเขา ใจในการใชช อ งทาง ตลอดจนกระบวนการ
ในการเรยี นการสอนออนไลน
4.3 นักเรยี นและผูปกครองจดั เตรยี มสถานทีเ่ รยี นใหเหมาะสม สําหรบั รปู แบบการเรียน
การสอนออนไลน เพอื่ ใหนกั เรียนมีสมาธิในการเรยี นรู ปราศจากส่ิงรบกวน พรอ มท้ังเตรียม
ระบบอนิ เทอรเ นต็ และจดั อุปกรณท ่จี าํ เปน ตอ การเรียนรู เชน โทรทศั น คอมพวิ เตอร โนต บคุ
แทบ็ เล็ต สมารท โฟน เปน ตน ใหมคี วามพรอมในการจดั การเรยี นรสู าํ หรับนกั เรยี นไดอยาง
มปี ระสิทธภิ าพ
4.4 นกั เรียนและผปู กครองเตรยี มส่ือ / ใบงาน ท่ไี ดร บั จากครูประจาํ วชิ า เพ่อื นาํ มาศกึ ษาลว งหนา
(กรณีทผี่ ูปกครองมคี วามพรอมในการชวยเหลือนกั เรยี น)
4.5 นกั เรยี นเตรียมศึกษาเอกสาร ใบงาน บทเรียนลวงหนาเพือ่ เตรียมความพรอมของตนเอง
ในการเรยี นออนไลน
4.6 ผูปกครองคอยดูแล กํากบั ติดตามการเรียนรูของนักเรยี น และการสงงานของนักเรยี น
ตามทีค่ รูมอบหมายให ใหตรงตามกําหนดนัดหมาย
4.7 ผปู กครองรว มกบั ครูในการประเมนิ ผลการเรยี นรขู องนกั เรยี น มีการกาํ หนดเคร่อื งมอื การวดั
และประเมนิ ผลทีส่ รางขนึ้ ตามบริบทของนักเรียนเปนรายบุคคล
42
รปู แบบ On – hand :
5. การจดั การเรียนการสอนด้วยการนำส่งเอกสารทบ่ี ้าน
5.1 ผูปกครองและนกั เรยี นใหความรวมมอื ในกจิ กรรมการตรวจเยี่ยมบา นของครู ตามกําหนดนัดหมาย
และวธิ กี ารท่หี ลากหลายตามความเหมาะสม ผปู กครองตอ งวางแผนการเรียนรขู องนักเรยี นรว มกับครู
5.2 ผปู กครองมสี ว นรว มสนบั สนุนการจัดประสบการณเ รียนรสู าํ หรบั นกั เรยี นขณะอยทู ่บี า น ตามศักยภาพ
และบรบิ ทของครอบครัว
5.3 นกั เรียนและผปู กครองแจง แนวทางในการรับ-สง แฟม งานนกั เรยี น ตลอดจนส่อื สารกบั ครใู นการกาํ หนด
วนั เวลา และสถานท่ีอยางชัดเจน ในกรณีท่อี ยใู นพ้ืนทท่ี ีไ่ มส ามารถ รบั – สง แฟมงานของนกั เรยี น
ไดต ามนดั หมาย อาจตอ งใชระบบขนสงทางไปรษณีย หรอื ระบบขนสงของเอกชน
5.4 นักเรียนตองศึกษาเอกสาร บทเรยี น ใบงาน ลวงหนาเพอื่ เตรยี มความพรอมในการเรียนทีบ่ าน
สาํ หรบั ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา 2564
ระยะการจดั การเรียนการสอน
(ตั้งแต่วนั ที่ 1 มิถุนายน 2564 เป็นต้นไป)
1. รูปแบบ On – site : การจดั การเรียนการสอนแบบปกติทโ่ี รงเรยี น (มาตรการ ศบค.)
1.1 นกั เรียนมาเรียนทีโ่ รงเรียนตามรูปแบบการจัดการเรยี นการสอนทีโ่ รงเรยี นกําหนด 5 แบบ
เชน รปู แบบท่ี 1 แบง 2 กลุมสลับมาเรียน เชา -บา ย รูปแบบที่ 2 แบง 2 กลมุ สลับมาเรียน
วันเวนวนั เปน ตน ขณะทนี่ กั เรียนมาโรงเรยี นใหถอื ปฏบิ ัติตามมาตรการท่ี ศบค.กาํ หนด
(Social Distancing) อยางเครงครดั
1.2 นักเรียนและผปู กครองตอ งปฏบิ ตั ิตนตามคําแนะนําของกระทรวงสาธารณสขุ ในการเตรยี ม
อุปกรณป อ งกันเช้อื โรคสําหรับนักเรียนท่ตี อ งนํามาใชท ่โี รงเรียน การรักษาสุขลักษณะอนามัย
ของตนเอง และปฏบิ ัติตามมาตรการ ศบค. อยางเครงครัด เชน สวมแมสตลอดเวลา
ลางมอื บอย ๆ เปนตน
1.3 ผปู กครองคอยกาํ กบั ติดตาม กาํ กบั ดูแลนกั เรยี นใหจ ดั ทาํ เอกสาร ใบงานตามท่คี รมู อบหหมาย
และสงงานใหต รงตามกําหนดนัดหมาย
1.4 ผปู กครองรว มกับครูในการประเมินผลการเรียนรขู องนักเรียน มีการกําหนดเคร่อื งมอื การวดั
และประเมนิ ผลที่สรา งขน้ึ ตามบริบทของนักเรียนเปนรายบุคคล
1.5 ผูปกครองรวมมือกับครผู ูสอนหาแนวทางแกไขปญหาการจัดการเรยี นรูสาํ หรับนักเรียน
อยางสมาํ่ เสมอ
43
รูปแบบ On - air :
2. การจดั การเรยี นการสอนผ่านระบบโทรทัศน์
2.1 ผปู กครองจัดสถานทใ่ี นการเรยี นรทู บี่ า นใหมคี วามเหมาะสมในการเรียนรู เชน จดั สถานท่ีใหม แี สงสวา ง
ทีเ่ พยี งพอ ไมม ากไปและไมน อ ยไป, ไมม เี สยี งดงั รบกวน และดแู ลใหค ําแนะนาํ อยางใกลช ดิ ตลอดเวลา
ขณะที่นักเรยี นกาํ ลังเรยี นรใู นแตละรายวิชา เปน ตน
2.2 ผปู กครองตอ งหาจดั อุปกรณท ่ีจาํ เปน ตอ การเรียนรู เชน โทรทัศน คอมพวิ เตอร โนต บคุ แท็บเลต็ สมารท โฟน
เปน ตน ใหม ีความพรอ มในการจัดการเรยี นรู และตรวจสอบสภาพความพรอ มใชงานของอุปกรณน ั้น ๆ
อยางสมา่ํ เสมอ เพ่ือใหส ามารถใชใ นการจดั การเรียนรูใหแ กน ักเรยี นไดอ ยา งตอ เน่อื ง
2.3 นกั เรียนเรยี นรรู ปู แบบ On - air ผา นระบบโทรทัศน เชน Ku-Band, เคเบิลทวี ี ระบบ ApplicationTV
และระบบ IPTV เปน ตน
2.4 ผปู กครองตอ งกาํ กบั ดแู ลนกั เรยี นในขณะท่ีเรยี นผา นระบบโทรทัศน และคอยเสริมแรงใหน กั เรียนต้ังใจเรียนรู
2.5 นักเรยี นและผปู กครอง รบั -สง แฟมงานนกั เรียนทางระบบออนไลนและสือ่ สารกับครตู ามการนัดหมาย
2.6 ผปู กครองรว มกบั ครใู นการประเมนิ ผลการเรยี นรขู องนักเรยี น มีการกาํ หนดเคร่ืองมือการวดั และประเมินผล
ที่สรา งขึน้ ตามบริบทของนักเรียนเปน รายบคุ คล
2.7 ผูปกครองรวมมอื กบั ครหู าแนวทางแกไ ขปญ หาการจัดการเรียนรูสําหรับนกั เรียนอยา งสมํา่ เสมอ
รูปแบบ On – demand :
3. การจัดการเรยี นการสอนผ่านสอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์
ห
้
44
รปู แบบ Online :
4. การจดั การเรยี นการสอนแบบถ่ายทอดสด (LIVE)
4.1 นักเรียนและผูปกครองตรวจสอบสภาพความพรอ มของสถานท่เี รยี นสาํ หรับรปู แบบการเรยี น
การสอนออนไลนอยางเหมาะสม เพือ่ ใหนกั เรียนมสี มาธิในการเรียนรู ปราศจากสิง่ รบกวน
พรอ มท้งั เตรียมระบบอินเตอรเ น็ตและจัดอปุ กรณท ่จี าํ เปน ตอ การเรยี นรู เชน โทรทัศน คอมพวิ เตอร
โนตบุค แทบ็ เลต็ สมารทโฟน เปนตน ใหมคี วามพรอมในการจัดการเรียนรูสําหรับนกั เรยี น
กอนการเขา เรยี นตารางเรยี นทก่ี ําหนดไว
4.2 นกั เรยี นเขา รว มชอ งทางการสอ่ื สารกบั ครู โดยใชเ คร่อื งมือสนับสนุนการจัดการเรียนรูตา ง ๆ เชน
โทรศพั ท, Google Meet, Microsoft Teams, Zoom Meeting, AcuLearn, WebEx, Braincloud,
VRoom, Line, Facebook เปน ตน หรือชอ งทางอื่น ๆ ตามการนัดหมาย
4.3 นักเรียนตอ งรายงานตัวกับครกู อนเรมิ่ การจัดการเรียนรู ผานชอ งทางการสื่อสารตามการนัดหมาย
4.4 ผปู กครองตอ งกาํ กับดูแลนักเรยี นในขณะที่ครจู ดั การเรยี นการสอนผา นชอ งทางออนไลนตาง ๆ
4.5 นกั เรียนและผปู กครอง รบั -สง แฟม งานนักเรียนทางระบบออนไลน และส่ือสารกับครูตามการนัดหมาย
4.6 ผปู กครองรว มกับครผู สู อนประเมนิ ผลการเรยี นรขู องนกั เรยี นท่ีเหมาะสมกับรปู แบบการเรยี นการสอน
4.7 ผปู กครองรว มมอื กบั ครผู สู อนหาแนวทางแกไ ขปญ หาการจดั การเรียนรสู าํ หรับนักเรยี นอยา งสม่าํ เสมอ
รปู แบบ On – hand :
5. การจดั การเรยี นการสอนด้วยการนำส่งเอกสารท่ีบ้าน
“เข้าอกเข้าใจนกั เรียน ให้กำลังใจ ให้คำปรึกษา และคอยสนบั สนุนการเรียนรู้”
45