The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ลูกเสือไทย ณ ปีที่ 109

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NSOT, 2021-08-20 04:59:55

ลูกเสือไทย ณ ปีที่ 109

ลูกเสือไทย ณ ปีที่ 109

Keywords: ลุกเสือ,ลูกเสือไทย

การด�ำเนนิ งานการลกู เสือไทย ณ ปีที่ ๑๐๙

  ระบบการฝกึ อบรมลกู เสอื มคั คเุ ทศก์

Input Process Output Outcome

ลกู เสอื เนตรนารี กระบวนการ ลกู เสอื เนตรนารี ลกู เสอื เนตรนารี
ประเภทสามญั รนุ่ ใหญ่ ฝกึ อบรม ๓ ระยะ มคี ณุ ลกั ษณะ สามารถทาํ หนา้ ที่
และลกู เสอื วสิ ามญั รวม ๖๐ ชวั่ โมง และสมรรถนะ ลกู เสอื มคั คเุ ทศก์
ทไี่ ดร้ บั การคดั เลอื ก ดา้ นการมคั คเุ ทศก์ และเปน็ เจา้ บา้ นทด่ี ี
เขา้ รบั การฝกึ อบรม ในทอ้ งถน่ิ ของตนเอง

ตามหลกั เกณฑ์
ทก่ี าํ หนด

49

  การขยายผลการฝกึ อบรมลกู เสอื มคั คเุ ทศก์ ๖๙ จงั หวดั

การน�ำร่องการฝึกอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์ ๘ จังหวัดแล้ว ส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติได้ด�ำเนินการปรับปรุง
หลักสูตรและกิจกรรมให้สอดคล้องกับบริบทแต่ละพ้ืนที่ รวมท้ังยังสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
โดยใชร้ ปู แบบ On Air On Line และ On Site กลา่ วคอื การดำ� เนนิ การเรม่ิ จาก On Air Kick Off พธิ เี ปดิ การฝกึ อบรม
โดยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ท�ำให้ทุกหน่วยฝึกอบรมได้รับทราบนโยบายและแนวทางพร้อมกัน
เพื่อให้การด�ำเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน ส�ำหรับรูปแบบ On Line น้ัน ส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติได้จัดท�ำ
องค์ความรู้ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ศึกษาล่วงหน้า ในรูปแบบ E-book ขึ้นเว็บไซต์ส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
ส่วนรูปแบบ On Site ซ่ึงถือได้ว่าเป็นส่วนท่ีส�ำคัญท่ีสุด ดังนั้น กิจกรรมในส่วนนี้จึงถูกออกแบบให้เกิดการเรียนรู้
ควบคู่กับการฝึกปฏบิ ตั ิ เน้น Active Learning ทั้งในสถานทฝ่ี กึ อบรมและสถานทที่ ่องเท่ียวจริง ในการน้ีส�ำนกั งาน
ลูกเสือแห่งชาติได้จัดท�ำคู่มือ ข้ันตอนการด�ำเนินงาน หลักสูตรและแผนจัดการเรียนรู้ ให้หน่วยฝึกอบรมได้ศึกษา
และประยกุ ต์ใช้ใหเ้ หมาะสมต่อไป

50

การด�ำเนินงานการลูกเสอื ไทย ณ ปที ่ี ๑๐๙

  สรปุ ผลการดำ� เนนิ การโครงการลกู เสอื มคั คเุ ทศก์ ๗๗ จงั หวดั

๑. ผลการฝึกอบรม มีผู้ผ่านการฝึกอบรม จ�ำนวน ๓,๓๕๒ คน จ�ำแนกเป็นลูกเสือจ�ำนวน ๒,๐๗๗ คน
คิดเป็นรอ้ ยละ ๖๑.๙๖ และเนตรนารี จำ� นวน ๑,๒๗๕ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๓๘.๐๔

๒. คณุ ภาพของหลกั สตู รและวทิ ยากร ผลการประเมินพบวา่ ร้อยละ ๘๐ ของผ้เู ข้ารบั การฝึกอบรมมีความ
พึงพอใจตอ่ หลักสูตรและวทิ ยากรอยู่ในระดบั มากถงึ มากทสี่ ดุ

เมื่อพิจารณาเป็นรายหน่วยการเรียนรู้ ๑๐ หน่วย ภาพรวมท้ัง ๗๗ จังหวัด พบว่า หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๘
การเทิดทนู สถาบันและจิตอาสาลูกเสือมคั คุเทศก์ มคี ่าเฉล่ยี ความพึงพอใจสูงสดุ คอื ๔.๕๘ และหนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๑
หลกั การมัคคุเทศก์ มคี า่ เฉลย่ี ความพึงพอใจต�่ำสดุ คือ ๔.๕๐

51

การลกู เสือโลก
และการลูกเสอื ไทย

การลูกเสือโลกและการลกู เสอื ไทย

  จดุ หมายการลกู เสอื โลก

การลูกเสือโลกต้ังโดย พลโท ลอร์ด เบเดน โพเอลล์
(Lord Baden-Powell : พ.ศ. ๒๔๐๐ - ๒๔๘๔) ในประเทศองั กฤษเปน็
แห่งแรกในโลก เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๑ โดยใน พ.ศ. ๒๔๕๐ พลโท ลอร์ด
เบเดน โพเอลล์ (Lord Baden-Powell) ได้ทดลองตั้ง Boy Scout ขึน้
เป็นกองแรกที่เกาะบราวน์ซี (Brown Sea Island) โดยให้เด็กจาก
ที่ต่าง ๆ มาเข้ารับการอบรมและคอยดูแลด้วยตนเอง พบว่าได้ผลดี
สมความมงุ่ หมายทกุ ประการ จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ แรงบนั ดาลใจทจี่ ะขยายกจิ การ
ใหก้ ว้างขวางออกไป ใน พ.ศ. ๒๔๕๕ รัฐบาลองั กฤษไดป้ ระกาศรับรอง
ฐานะของลูกเสืออังกฤษเป็นทางการพร้อมกับออกกฎหมายคุ้มครอง
ให้ด้วย จากนั้นการลูกเสืออังกฤษก็เจริญแพร่หลายออกไปเป็นล�ำดับ
ในการชุมนุมลกู เสอื (Scouting Jamboree) ครงั้ แรกของโลกใน พ.ศ.
๒๔๖๓ ท่ีประชุมผู้แทนลูกเสือจากประเทศต่างๆ ก็ประกาศให้
พลโท ลอร์ด เบเดน โพเอลล์ (Lord Baden-Powell) เป็นประมุข
ของลกู เสอื ตลอดกาล และทกุ คนเรียกทา่ นอยา่ งยอ่ ๆ วา่ ทา่ น B-P

องค์การลูกเสือโลก (WOSM: World Organization of the Scout Movement) ได้ก่อตั้งข้ึนเมื่อ
พ.ศ. ๒๔๖๕ โดยผูก้ อ่ ต้งั การลกู เสือโลก พลโท ลอรด์ เบเดน โพเอลล์ (Lord Baden-Powell) ปจั จบุ นั มสี ำ� นักงาน
(Headquarters) ตั้งอยู่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย องค์การลูกเสือโลก (WOSM) เป็นอิสระไม่เก่ียวข้อง
กับการเมอื ง ประกอบด้วยสำ� นักงานลูกเสือแหง่ ชาติ (National Scout Organizations: NSOs) จากประเทศสมาชิก
จำ� นวน ๑๗๑ ประเทศ (พ.ศ. ๒๕๖๒) (https://www.scouting.org/international/world-scouting) ซึ่งนบั ได้วา่
องคก์ ารลกู เสือโลก เปน็ ขบวนการพัฒนาเยาวชนทีย่ ่ิงใหญอ่ งคก์ ารหน่ึง

สมาชิกจ�ำนวนนับล้านคนในองค์การลูกเสือโลก (WOSM) มีอาสาสมัครท�ำหน้าที่สนับสนุน
กจิ กรรมทางการลูกเสอื ให้กบั เดก็ และเยาวชนในแตล่ ะประเทศ โดยได้รบั การสนบั สนุนจากบคุ คล องค์กรตา่ ง ๆ
และลูกเสือในแต่ละประเทศ ด้วยการยึดถือค�ำปฏิญาณ และกฎของลูกเสือ อีกทั้งยังใช้การศึกษานอกระบบ
เพื่อให้สอดคลอ้ งกบั ลักษณะเฉพาะของท้องถิน่ ชุมชนแต่ละประเทศ

ขบวนการลกู เสอื จงึ เปน็ ขบวนการทใ่ี หค้ วามรนู้ อกชน้ั เรยี นสำ� หรบั เดก็ และเยาวชน มกี ารสนบั สนนุ และตอ้ นรบั
ทกุ คนโดยไม่แบ่งแยก เพศ ถิน่ กำ� เนดิ และความเชือ่ อกี ทง้ั กิจการลูกเสอื เปดิ โอกาสใหเ้ ด็กและเยาวชน ได้พฒั นาทาง
อารมณ์ สตปิ ญั ญา ร่างกาย สงั คม และจิตใจของตนเอง ในฐานะพลเมืองของโลกสมาชกิ ของชมุ ชน สมาชกิ ของชาติ
และระดับนานาชาติ

  วตั ถปุ ระสงคข์ ององคก์ ารลกู เสอื โลก

องคก์ ารลกู เสอื โลก (WOSM) จัดต้ังขน้ึ เพ่อื ส่งเสรมิ ความสามคั คี และความเขา้ ใจอนั ดใี นวตั ถปุ ระสงค์ และ
หลกั การของกจิ การลูกเสอื โดยได้มีการสนับสนนุ อำ� นวยความสะดวก เพือ่ ให้เกิดการขยายจ�ำนวนประชากรลกู เสือ
และพัฒนาสมาชิก ซ่ึงองคก์ ารลูกเสอื โลก (WOSM) มบี ทบาทหนา้ ท่หี ลกั ๓ ภารกจิ คอื การประชุมสมัชชาลกู เสือโลก
(The World Scout Conference: WSC) คณะกรรมการลูกเสอื โลก (World Scout Committee) และส�ำนักงาน
ลูกเสอื โลก (The World Scout Bureau: WSB)

๑. การประชมุ สมัชชาลูกเสือโลก (The World Scout Conference: WSC)
เป็นการประชุมที่เกิดขึ้นในทุก ๆ สามปี และมีการหมุนเวียนการเป็นเจ้าภาพในแต่ละประเทศสมาชิก
การประชุมดงั กลา่ วน้ี เป็นการประชมุ สมัชชาใหญ่ของลกู เสอื ซึง่ ในการประชุมฯ ประกอบดว้ ยผู้แทนจ�ำนวน ๖ คน
จากส�ำนักงานลูกเสือของแต่ละประเทศ หากประเทศใดมีส�ำนักงานลูกเสือหรือสมาคมลูกเสือที่มีมากกว่า ๑ แห่ง
ทางประเทศน้ัน ๆ จะต้องจัดตั้งหน่วยงานเพ่ือประสานงาน และเป็นตัวแทนของประเทศเพื่อเข้าร่วมงานประชุม
ดังกล่าว ซ่ึงการประชุมฯ ได้มีการท�ำข้อตกลงความร่วมมือระหว่างกัน และมีการน�ำแผนงานเพ่ือน�ำมาใช้ร่วมกัน
โดยยดึ หลกั การพ้ืนฐาน และเปา้ หมายขององคก์ ารลูกเสอื โลก ท่ีเปน็ อิสระจากการแทรกแซงทางการเมอื งและอืน่ ๆ
๒. คณะกรรมการลูกเสือโลก (World Scout Committee)
คณะกรรมการลกู เสอื โลก เปน็ องคค์ ณะบคุ คลภายใตก้ ารบรหิ ารขององคก์ รลกู เสอื โลก (WOSM) ซง่ึ รบั ผดิ ชอบ
การด�ำเนินงานตามมติของการประชุมสมัชชาลูกเสือโลก โดยคณะกรรมการลูกเสือโลกทั้งหมด มีสมาชิกจ�ำนวน
๑๒ คน ซง่ึ มาจากประเทศท่ีตา่ งกนั โดยได้รับการเลือกตัง้ ภายในงานประชุมสมชั ชาลูกเสอื โลก จากผ้ลู งคะแนนที่เปน็
สมาชิกในแต่ละประเทศ ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นระยะเวลา ๓ ปี สมาชิกที่ได้รับเลือกยังมีสิทธิ์ได้รับการเลือกใหม่อีก
วาระหน่ึง ซ่ึงจะด�ำรงต�ำแหน่งสูงสุดติดต่อกันได้ ๖ ปี ส�ำหรับที่ปรึกษาลูกเสือเยาวชนจะได้รับการคัดเลือกจาก
ผู้เข้าร่วมการประชุมอภิปรายลูกเสือเยาวชน จ�ำนวน ๖ คนจากแต่ละประเทศ และยังได้เป็นคณะกรรมการ
ลูกเสือโลกด้วยเช่นกัน ส�ำหรับต�ำแหน่งเลขาธิการส�ำนักงานลูกเสือโลก และเหรัญญิก และผู้แทนมูลนิธิลูกเสือโลก
ตอ้ งมาจากสมาชกิ เดมิ ของคณะกรรมการลูกเสือโลก
๓. สำ� นกั งานลูกเสือโลก (The World Scout Bureau: WSB)
ตงั้ อยทู่ กี่ รงุ กวั ลาลมั เปอร์ ประเทศมาเลเซยี เปน็ สำ� นกั เลขาธกิ ารขององคก์ รลกู เสอื โลก ควบคมุ การดำ� เนนิ งาน
โดยเลขาธิการส�ำนักงานลูกเสือโลก ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นหัวหน้าฝ่ายอ�ำนวยการขององค์การลูกเสือโลก ได้รับการ
54

การลกู เสอื โลกและการลกู เสอื ไทย

แต่งต้ังโดยคณะกรรมการลูกเสือโลก ทั้งน้ี ส�ำนักงานลูกเสือโลกมีหน้าท่ีในการประชาสัมพันธ์องค์กรให้เป็นที่รู้จัก
อย่างแพร่หลาย และเปน็ ผ้ปู ระสานงานระหวา่ งหน่วยงานต่าง ๆ กบั องคก์ ารลกู เสือโลก พร้อมทัง้ สรา้ งความสมั พันธ์
อนั ดรี ะหว่างสำ� นักงานลกู เสือในประเทศต่าง ๆ อีกทงั้ ยงั สนับสนุนส�ำนักงานลูกเสือในแต่ละประเทศ ในการจดั อบรม
สัมมนา การประชุมเชิงปฏิบัติการ การเงิน เป็นต้น รวมถึงการงานลูกเสือระดับโลก อย่างงานชุมนุมลูกเสือโลก
ที่จดั ขนึ้ ทกุ ๆ ๔ ปีอีกดว้ ย

  วสิ ยั ทศั นข์ อง WOSM ภายในปี ๒๕๖๖

วิสยั ทัศน์ของ WOSM เกดิ ขึ้นจากการประชมุ สมัชชาลกู เสอื โลก ครัง้ ที่ ๔๐ ณ ลบู ลยิ านา ประเทศสโลวเี นีย
ปี ๒๕๕๗ ดังนี้

“ภายในปี ๒๕๖๖ กิจการลูกเสือจะเป็นส่วนส�ำคัญของโลกในการขับเคลื่อนการศึกษาของเยาวชน
สร้างเยาวชนกว่า ๑ ล้านคน ให้เป็นพลเมืองที่มีประสิทธิภาพ ท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงท่ีมีประโยชน์ต่อชุมชน
และโลกโดยมีพนื้ ฐานจากค่านิยมรว่ มกนั ”

แผนกลยุทธ์ ประกอบดว้ ย ๖ ข้อ ดงั นี้
๑. การมสี ว่ นรว่ มของเด็กและเยาวชน
ควรเปดิ โอกาสให้เด็กและเยาวชนได้พัฒนาทกั ษะ ความรู้ และเพิม่ ขีดความสามารถของตนเอง เพอื่ ให้เปน็
ส่วนหน่ึงในการขับเคล่ือนชุมชน อีกทั้งการได้มีส่วนร่วม ได้รับรู้ และได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันระหว่างวัยนั้น
จะเป็นส่วนสำ� คัญในการน�ำมาท�ำกรอบแนวทางให้กบั สมาชิกเดก็ และเยาวชนทงั้ หลาย
๒. กระบวนการทางการศึกษา
ควรจดั โครงการสำ� หรบั เดก็ และเยาวชน ใหม้ สี ภาพแวดลอ้ มในการเรยี นรทู้ ไี่ มเ่ ปน็ ทางการมากนกั เสรมิ สรา้ ง
ขดี ความสามารถของตนเอง ใหส้ ามารถเผชญิ กบั อปุ สรรค และความทา้ ทายในอนาคตได้ ทงั้ นี้ กจิ การลกู เสอื ควรสรา้ ง
ให้เยาวชนรู้สึกสนใจในกิจการลูกเสือ จัดให้มีการฝึกอบรมอย่างสม่�ำเสมอ และรักษาคุณภาพของอาสาสมัครผู้ใหญ่
เพ่ือจดั โครงการเดก็ และเยาวชนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพตอ่ ไป
๓. ความหลากหลายและการยอมรับความแตกตา่ ง
ควรสะท้อนให้เห็นถึงสังคมท่ีเป็นอยู่ และท�ำงานอย่างต้ังใจ เพื่อต้อนรับทุกคนอย่างเท่าเทียม กล่าวคือ
ความแตกตา่ งทางสงั คมนี้ ไมเ่ พยี งแตส่ ะทอ้ นใหเ้ หน็ ผลลพั ธข์ องการจดั การของสมาชกิ ลกู เสอื แตย่ งั สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ
วธิ ีการและแผนงานท่เี ลือกมาใชใ้ นการขับเคลื่อนอกี ดว้ ย
๔. ผลลพั ธท์ างสังคม
ลกู เสอื ทกุ คนควรมสี ว่ นรว่ มในการบรกิ ารชมุ ชน และแบง่ ปนั ประสบการณร์ ะหวา่ งกนั เพอ่ื เปน็ แรงบนั ดาลใจ
ใหก้ บั ผูอ้ น่ื ผา่ นทางกจิ กรรม และโครงการต่าง ๆ ท่ีเกิดข้นึ ทั้งนี้ ลกู เสือไดช้ ว่ ยเหลอื ชมุ ชนของตนเอง และกลายเป็น
ผู้น�ำในการเปลยี่ นแปลงท่มี ีประโยชนต์ ่อชมุ ชน

55

๕. การสือ่ สารและการสร้างสัมพนั ธภาพ
ผลงานของกิจการลูกเสือควรแสดงให้เห็นภาพที่ชัดเจนในส่ิงท่ีท�ำ และมีเหตุผลท่ีท�ำ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึง
ค่านิยมร่วมกัน ผ่านการสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพ และสร้างเครือข่ายพันธมิตรท่ีเหมาะสม อีกทั้งกิจการลูกเสือ
ควรได้รับการสง่ เสรมิ ใหเ้ ปน็ ส่วนสำ� คัญในการขับเคลือ่ นเยาวชน
๖. ธรรมาภิบาล
ธรรมาภิบาลของสำ� นักงานลกู เสอื โลก (WOSM) นั้น ควรโปรง่ ใส มีความรบั ผดิ ชอบ มีประสทิ ธภิ าพ และ
ชัดเจน เชือ่ มโยงกบั กลยุทธ์ท้ังหมดท่ตี งั้ ไว้ และม่งุ เน้นให้เหน็ ถงึ ผลที่ได้รบั จากความสำ� เร็จของภารกิจ และวสิ ัยทัศน์
บทบาทและความรับผิดชอบในระดับต่าง ๆ ของส�ำนักงาน ควรมีการก�ำหนดและท�ำความเข้าใจในแผนการต่าง ๆ
อย่างชัดเจน เพ่ือให้มั่นใจว่าสามารถตอบโจทย์กลุ่มเป้าหมายได้ ซ่ึงการกระท�ำดังกล่าวจะได้รับความร่วมมือจาก
ทุกระดบั ในสำ� นกั งานลูกเสอื โลก พร้อมกับอัตราส่วนของ “ผลตอบแทนจากการลงทุน” ท่สี ูงอีกด้วย
สำ�นกั งานลกู เสือภาคพืน้ ประกอบด้วย ๖ ภาคพื้น ดงั นี้
๑.  ภาคพนื้ ยโุ รป (Europe) ตง้ั อยทู่ ก่ี รงุ เจนวี า ประเทศสวติ เซอรแ์ ลนด์ และกรงุ บรสั เซลส์ ประเทศเบลเยยี ม
๒.  ภาคพ้ืนยเู รเชีย (Eurasia) ตั้งอยทู่ ส่ี าธารณรัฐยูเครน และสำ� นักงานสาขาท่ีกรงุ มอสโก ประเทศรสั เซยี
๓.  ภาคพืน้ อนิ เตอร์อเมริกา (Interamerica) ตง้ั อย่ทู ก่ี รุงซานตอี าโก ประเทศชิลี
๔.  ภาคพ้ืนอาหรบั (Arab) ตัง้ อยู่ทีก่ รุงไคโร ประเทศอียิปต์
๕.  ภาคพืน้ แอฟรกิ า (Africa) ต้งั อยูท่ ่กี รุงไนโรบี ประเทศเคนยา โดยแบ่งส�ำนักงานยอ่ ยเปน็ ๒ แหง่ ดงั นี้
๕.๑ กรุงดาการ์ ประเทศเซเนกลั
๕.๒ กรุงเคปทาวน์ ประเทศแอฟรกิ าใต้
๖.  ภาคพนื้ เอเชยี -แปซฟิ ิก (Asia-Pacific) ตั้งอยทู่ ก่ี รงุ มะนิลา ประเทศฟลิ ิปปินส์

56

การลกู เสือโลกและการลูกเสอื ไทย
จดุ หมายการลูกเสือภาคพื้นเอเชีย-แปซฟิ ิก
กจิ การลกู เสอื เปน็ ขบวนการขบั เคลอ่ื นเยาวชนทางการศกึ ษาระดับโลก ท่มี สี มาชกิ กว่า ๗๕% อย่ใู นภาคพืน้
เอเชยี -แปซฟิ กิ สำ� หรบั บทบาทของกจิ การลกู เสอื ภาคพน้ื เอเชยี -แปซฟิ กิ นนั้ คอื การสนบั สนนุ สำ� นกั งานลกู เสอื ทง้ั หมด
๒๙ ประเทศ (NSOs) รวมถึงสมาชิกในสมาคมลูกเสือ และหน่วยงานอน่ื  ๆ ในอีกหลายประเทศ

ทั้งนี้ กจิ การลูกเสอื ในภาคพ้ืนเอเชีย-แปซิฟิก ยังคงเติบโตอย่างต่อเนอ่ื ง และมศี ักยภาพในการขยายจ�ำนวน
สมาชิกในอนาคต ส�ำนักงานลูกเสือเขตภาคพ้ืนเอเชีย-แปซิฟิกครอบคลุมพื้นที่จากทางเหนือของประเทศมองโกเลีย
ถึงทางใต้ของประเทศนิวซีแลนด์ และทางตะวันตกของประเทศปากีสถาน ถึงทางตะวันออกของประเทศเฟรนช์
โปลินเี ซีย

“ต้ังแต่ก�ำเนิดกิจการลูกเสือภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิก ใน พ.ศ. ๒๔๙๙ โดยมีผู้น�ำอาสาสมัครท่ีมีความรู้
ความสามารถและอุทศิ ตนในการด�ำเนนิ งาน และสนบั สนุนองค์กร จึงทำ� ให้ลูกเสอื ในภาคพน้ื ดงั กล่าวมีความกา้ วหนา้
สู่ความเป็นเลศิ ” [Dr. Jacques Moreillon, เลขาธกิ ารองค์การลกู เสอื โลก (๒๕๓๑ - ๒๕๔๗)]

ส�ำนักงานลูกเสือภาคเอเชีย-แปซิฟิก ด�ำเนินงานตามแผนการประชุมลูกเสือภาคเอเชีย-แปซิฟิกและ
คณะกรรมการลูกเสือภาคเอเชีย-แปซิฟิก ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มอาสาสมัครท่ีมีความรู้ความสามารถ
ไดม้ ีส่วนร่วมในการวางโครงสรา้ ง และแผนการท�ำงานท่มี ีประสทิ ธภิ าพใหแ้ ก่สำ� นกั งานลูกเสอื ภาคพืน้ เอเชยี -แปซฟิ ิก

57

  สำ� นกั งานลกู เสอื (National Scout Organization: NSO)

สมาชิกลูกเสือแต่ละคนนั้น มีสังกัดส�ำนักงานลูกเสือในประเทศของตนเองหรือแห่งใดแห่งหนึ่ง โดยเรียก
ตวั ยอ่ วา่ NSO บทบาทของ NSO คอื การพฒั นา และสนบั สนนุ กจิ การลกู เสอื ในประเทศนน้ั  ๆ และอำ� นวยความสะดวก
ในการตดิ ต่อกับส�ำนักงานลกู เสอื ในประเทศอื่น ๆ และองคก์ ารลกู เสือโลก ประกอบด้วย ๒๙ ส�ำนักงาน ดังน้ี

Afghanistan National Scouts Australia Bangladesh Scouts Bhutan Scouts Association Persekutuan Pengakap Negara
Scout Organization www.scouts.com.au www bangladeshscouts org www bhutanscouts bt Brunei Darussalam
www.brunciscout.org

Cambodia Scouts The General Association of the Fiji Scouts Association Scout Association of The Bharat Scouts & Guides
Scouts of China Hong Kong www.bsgindia.org
www.scout.org.tw
www scout org.hk

Gerakan Pramuka Scout Association of Japan Kiribati Scout Association Korea Scout Association The Scout Association of Macau
www.pramuka.or.id www.scout.or.jp www.scout.or.kr www.scoutorg.mo

Persekutuan Pengakap The Scout Association of The Scout Association of Myanmar Scout Nepal Scouts
Malaysia Maldives Mongolia www.nepalscouts.org.np
www scout
www.pengakapmalaysia.org www.scout.com.my

SCOUTS New Zealand Pakistan Boy Scouts Association The Scout Association of Boy Scouts of The Singapore Scout Association
www.scouts org nz www pakscouts.org Papua New Guinea the Philippines www.scoutorg sg
www.scouts org.ph

Sri Lanka Scout National Scout Uniso Nacional dos Escuteiras Pathfinder Scouts Vietnam
Association Organization of Thailand de Timor Leste
www.scoutthailand.org
www.srilankascouts.lk

58

การลกู เสือโลกและการลกู เสือไทย

  รายชอ่ื สมาชกิ ลกู เสอื ภาคพน้ื เอเชยี -แปซฟิ กิ

๑. ออสเตรเลยี ๒. บงั กลาเทศ ๓. ภูฏาน ๔. บรูไนดารุสซาลาม
๕. กมั พูชา ๖. Scouts China ๗. ฟจิ ิ ๘. เขตปกครองพิเศษฮอ่ งกง
๙. อินเดีย ๑๐. อนิ โดนเี ซีย ๑๑. ญ่ีปนุ่ ๑๒. คิรบิ าตี
๑๓. เกาหลใี ต้ ๑๔. มาเก๊า ๑๕. มาเลเซีย ๑๖. มัลดีฟส์
๑๗. มองโกเลีย ๑๘. เมียนมา ๑๙. เนปาล ๒๐. นิวซีแลนด์
๒๑. ปากสี ถาน ๒๒. ปาปวั นิวกนิ ี ๒๓. ฟิลิปปินส์ ๒๔. สิงคโปร์
๒๕. ศรลี ังกา ๒๖. ไทย ๒๗. ติมอร-์ เลสเต ๒๘. อฟั กานิสถาน
๒๙. เวยี ดนาม

หลกั ธรรมาภบิ าล

กจิ การลกู เสอื ภาคพน้ื เอเชยี -แปซฟิ กิ มกี ลยทุ ธใ์ นการบรหิ ารงาน โดยคณะกรรมการลกู เสอื ภาคพนื้ ฯ ทไ่ี ดร้ บั
การเลอื กตง้ั จากการประชมุ สมชั ชาลกู เสอื ภาคพน้ื เอเชยี -แปซฟิ กิ ซงึ่ มผี เู้ ขา้ รว่ มประชมุ ดงั กลา่ วนี้ เปน็ ผนู้ ำ� จากสำ� นกั งาน
ลูกเสอื ประเทศต่าง ๆ ท่ีเป็นสมาชกิ จ�ำนวนทง้ั หมด ๒๙ ประเทศ

ธรรมนญู ของลูกเสอื ภาคพ้ืนเอเชยี -แปซฟิ ิก

การด�ำเนินงานของกิจการลูกเสือภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิกนั้น อยู่ภายใต้ธรรมนูญ และกฎหมายของลูกเสือ
ภาคพืน้ เอเชยี -แปซฟิ กิ ซึง่ มพี ้ืนฐานมาจากธรรมนูญขององคก์ ารลูกเสอื โลก

การประชุมสมัชชาลูกเสือภาคพ้นื เอเชีย-แปซฟิ ิก

การประชุมสมัชชาลูกเสือภาคพ้ืนเอเชีย-แปซิฟิก เป็นการประชุมของภาคพื้นฯ เกี่ยวกับกิจการลูกเสือโลก
ซึง่ จัดขึน้ ทกุ  ๆ ๓ ปี มีวัตถุประสงค์เพอ่ื หารือ และรายงานผลเกยี่ วกบั การดำ� เนนิ งานในชว่ งปกี ่อนหน้านี้ เพ่ือประเมิน
ผลลัพธ์ของวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ อีกทั้งในท่ีประชุมได้จัดการเลือกตั้งคณะกรรมการลูกเสือภาคพ้ืนฯ สนับสนุนและ
ชว่ ยเหลือด้านการประสานงานต่าง ๆ พร้อมทง้ั ส่งเสริมด้านความสามคั คีระหวา่ งส�ำนกั งานลกู เสอื แตล่ ะประเทศ

บทบาทหน้าทีข่ องส�ำนกั งานลกู เสอื ของภาคพนื้ เอเชีย-แปซฟิ กิ โดยมีบทบาทดังนี้

๑. สง่ เสรมิ กจิ การลกู เสอื ภาคพน้ื เอเชยี -แปซฟิ กิ โดยการสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ความสามคั คี ความเปน็ เอกภาพ
ความร่วมมือกนั และการช่วยเหลือซึง่ กันและกนั ระหว่างสำ� นกั งานลูกเสอื ในแต่ละประเทศ

๒. ด�ำเนินงานตามบทบาทหน้าท่ีท่ีก�ำหนดไว้ในธรรมนูญ และกฎหมายอ่ืน ๆ ท่ีใช้ควบคุมกิจการ
ลกู เสือภาคพืน้ เอเชีย-แปซิฟิก

59

๓. ดำ� เนินงานตามหลกั การ และนโยบายทีเ่ หมาะสม โดยองค์การลูกเสือโลกเป็นผู้กำ� หนด มีผลบังคบั
ใช้ในกิจการลูกเสือภาคพืน้ เอเชีย-แปซิฟิก

๔. ท�ำหน้าท่ีเป็นคณะท่ีปรึกษาของคณะกรรมการลูกเสือโลกในเร่ืองของนโยบาย ศีลธรรม
หรอื หลักการที่มีผลกระทบตอ่ กจิ การลูกเสอื ภาคพ้นื เอเชีย-แปซิฟกิ

คณะผปู้ ระสานงานลูกเสอื เยาวชน
การประชมุ อภิปรายลกู เสือเยาวชนภาคพนื้ เอเชยี -แปซฟิ ิก ไดร้ บั การคดั เลอื กทง้ั หมด ๖ คน เพ่ือเป็นคณะ
ผู้ประสานงานลูกเสือเยาวชน เป็นระยะเวลา ๓ ปี โดยมีหน้าท่ีเป็นที่ปรึกษาเยาวชนให้กับคณะกรรมการลูกเสือ
ภาคพนื้ เอเชยี -แปซฟิ กิ ประธานของคณะ จะไดด้ �ำรงตำ� แหนง่ เปน็ หนงึ่ ในคณะกรรมการลกู เสอื ภาคพน้ื เอเชยี -แปซฟิ กิ
และสมาชิกท่ีเหลือจะได้รับการแต่งตั้งให้เป็นคณะอนุกรรมการภาคพ้ืนเอเชีย-แปซิฟิกฝ่ายต่าง ๆ ซ่ึงเยาวชนเหล่าน้ี
มอี ายรุ ะหวา่ ง ๑๘ - ๒๖ ปี ในวนั ท่ไี ดร้ บั การเลือกต้งั และเปน็ ตัวแทนจากประเทศตา่ ง ๆ ทไ่ี มซ่ ำ�้ กัน
วสิ ยั ทศั น์ ปี 2563
ภายในปี ๒๕๖๓ กจิ การลูกเสอื ภาคพืน้ เอเชีย-แปซิฟิก จะไดร้ ับการขนานนามวา่ เป็นผู้นำ� ในการขับเคลือ่ น
ทางการศกึ ษาส�ำหรับเยาวชน ผา่ นการจดั โครงการ กจิ กรรมต่าง ๆ ที่สอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์ดงั กลา่ ว และสามารถ
เขา้ ถงึ ได้ในทกุ สงั คม
แผนกลยทุ ธ์
ภายใตแ้ ผนของกจิ การลกู เสอื ภาคพน้ื เอเชยี  -
แปซฟิ กิ ระหวา่ งปี ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔ มีเป้าหมายหลัก
คือ ‘การพฒั นาเยาวชน’ ดังนี้
- บุคลากรทางการลูกเสอื
- หลักธรรมาภิบาล
- การบริหารจัดการด้านการเงิน
- การประชาสัมพันธ์ และเครือข่าย
พันธมติ ร

60

การลกู เสือโลกและการลูกเสอื ไทย

การเปน็ สมาชิกลกู เสอื โลก
และสมาชกิ ลกู เสอื ภาคพ้นื เอเชยี -แปซิฟิกของการลูกเสอื ไทย

  การเปน็ สมาชกิ ลกู เสอื โลกของการลกู เสอื ไทย

ลูกเสอื ไทยกอ่ กำ� เนิดเมือ่ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว คร้ังมพี ระชนมายุ ๑๓ พรรษา ได้เสด็จฯ
ไปทรงศกึ ษา ณ ประเทศองั กฤษ ระหวา่ งทท่ี รงศกึ ษาอยนู่ นั้ ทรงทราบเรอ่ื งการสรู้ บเพอื่ รกั ษาเมอื งมาฟคิ งิ (Mafeking)
ของพลโท ลอรด์ เบเดน-โพเอลล์ (Lord Baden-Powell) ซงึ่ ไดต้ งั้ กองทหารเด็กเปน็ หนว่ ยสอดแนมช่วยรบในการรบ
กบั พวกบวั ร์ (Boar) จนประสบผลสำ� เรจ็ และไดต้ ง้ั กองลกู เสอื ขนึ้ เปน็ ครงั้ แรกของโลกทป่ี ระเทศองั กฤษ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๕๐
เม่ือพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จนิวัตประเทศไทย ได้ทรงจัดต้ังกองเสือป่า (Wild Tiger Corps)
ขึ้นเมื่อวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๔๕๔ มีจุดมุ่งหมายเพื่อฝึกหัดให้ข้าราชการและพลเรือนได้เรียนรู้วิชาทหาร สามารถ
ท�ำคุณประโยชน์ต่อบ้านเมือง รู้จักระเบียบวินัย มีความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
ต่อจากน้นั อีก ๒ เดอื น ในวันท่ี ๑ กรกฎาคม ๒๔๕๔ พระราชทานก�ำเนิดลกู เสือไทย (Thai Scout) ขึ้น ดว้ ย
มีพระราชปรารภว่า เมื่อฝึกผู้ใหญ่เป็นเสือป่า เพื่อเตรียมพร้อมในการช่วยเหลือชาติบ้านเมืองแล้ว เห็นควรท่ีจะมี
การฝึกเด็กชายปฐมวัยให้มีความรู้ทางเสือป่าด้วย เมื่อเติบโตข้ึนจะได้รู้จักหน้าท่ีและประพฤติตนให้เป็นประโยชน์
ต่อชาติบ้านเมือง จากนั้นทรงตั้งกองลูกเสือกองแรกขึ้นท่ีโรงเรียนมหาดเล็กหลวง (วชิราวุธวิทยาลัย ในปัจจุบัน)
และจัดตั้งกองลูกเสือตามโรงเรียนต่าง ๆ ให้ก�ำหนดข้อบังคับลักษณะปกครองลูกเสือ รวมทั้งพระราชทานค�ำขวัญ
ใหล้ กู เสอื วา่ “เสียชีพอยา่ เสยี สัตย”์ ผ้ทู ไี่ ดร้ บั ยกย่องว่าเป็นลูกเสือไทยคนแรก คอื นายชัพน์ บนุ นาค ซึ่งต่อมา ไดร้ ับ
พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “นายลิขิตสารสนอง” ใน พ.ศ. ๒๔๕๙ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงตัง้ โรงเรยี นผกู้ �ำกบั ลูกเสอื ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ณ สโมสรเสอื ปา่ หลักสตู ร ๒ เดือน

เหตุการณ์สำ�คัญในการเข้ารว่ มกิจกรรม
และการเปน็ สมาชิกลกู เสือโลกของประเทศไทย
พ.ศ. ๒๔๖๓ ได้จัดส่งผู้แทนคณะลูกเสือไทย จ�ำนวน ๔ คน ไปร่วมงานชุมนุมลูกเสือโลก ครั้งที่ ๑
(1st World Scout Jamboree) ซ่ึงจัดเป็นครั้งแรกของโลก ณ อาคารโอลิมเปีย กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ
โดยนายสวัสดิ์ สมุ ิตร เป็นหวั หน้าคณะ
พ.ศ. ๒๔๖๕ คณะลูกเสือไทยได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกของคณะลูกเสือโลก ซึ่งขณะน้ันมีสมาชิกรวม
ทง้ั สนิ้ ๓๑ ประเทศ ท้งั ๓๑ ประเทศนี้ นับเป็นสมาชิกรุ่นแรก ถือวา่ เปน็ สมาชิกผูก้ ่อตัง้ (Foundation Members)
ของลกู เสือโลก
พ.ศ. ๒๔๖๗ ประเทศไทยได้จัดส่งผู้แทนคณะลูกเสือไทย ๑๐ คน ไปร่วมงานชุมนุมลูกเสือโลก
คร้ังท่ี ๒ (2nd World Scout Jamboree) ณ ประเทศเดนมารก์ โดยพระยาภะรตราชาเป็นหวั หน้าคณะ

61

พ.ศ. ๒๔๖๘ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ สวรรคต เมอื่ วนั ท่ี ๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๔๖๘
พ.ศ. ๒๕๐๐ ประเทศไทยสง่ คณะผแู้ ทนลกู เสอื ไทยไปรว่ มชมุ นมุ ลกู เสอื โลกครงั้ ท่ี ๙ (9th World Scout
Jamboree) ณ ประเทศองั กฤษ เพอื่ เฉลมิ ฉลองอายุ ๑๐๐ ปี ของพลโท ลอรด์ เบเดน-โพเอลล์ (Lord Baden-Powell)
พ.ศ. ๒๕๐๘ นายอภัย จันทวิมล ได้รับเลือกต้ังเป็นกรรมการลูกเสือโลกจากการประชุมสมัชชา
ลูกเสอื โลก
พ.ศ. ๒๕๑๘ ประเทศไทยส่งคณะผู้แทนลูกเสือไทยไปร่วมชุมนุมลูกเสือโลกคร้ังท่ี ๑๔ (14st World
Scout Jamboree) ณ ประเทศเดนมารก์
พ.ศ. ๒๕๒๔ นายแพทย์บุญสม มาร์ตนิ ได้รบั เลือกตง้ั เปน็ กรรมการลูกเสอื โลกจากการประชมุ สมัชชา
ลกู เสอื โลก ครง้ั ที่ ๒๘ ณ เมืองดาการ์ ประเทศเซเนกลั
พ.ศ. ๒๕๓๖ ประเทศไทยเปน็ เจา้ ภาพจดั การประชมุ สมชั ชาลูกเสอื โลก ครงั้ ท่ี ๓๓ ณ โรงแรมอมิ พีเรยี ล
ควนี สป์ ารค์ กรุงเทพมหานคร (33rd World Scout Conference)
พ.ศ. ๒๕๔๖ ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดงานชุมนุมลูกเสือโลก คร้ังท่ี ๒๐ (20th World Scout
Jamboree, 2003) ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๕ - ๗ มกราคม ๒๕๔๖ ณ บรเิ วณหาดยาว ฐานทพั เรอื สัตหีบ
อำ� เภอสตั หบี จงั หวดั ชลบรุ ี ซึ่งมเี ยาวชนลกู เสอื ชาย - หญิง กว่า ๓๐,๐๐๐ คน จาก ๑๕๑ ประเทศทัว่ โลกมารว่ มงาน
นับต้ังแต่ประเทศไทยได้แสดงศักยภาพในการเป็นเจ้าภาพจัดงานชุมนุมลูกเสือโลก ครั้งที่ ๒๐ เม่ือ
พ.ศ. ๒๕๔๖ เปน็ ตน้ มา ทำ� ใหค้ ณะลกู เสอื ไทยทปี่ ระกอบดว้ ยสำ� นกั งานลกู เสอื จงั หวดั สโมสรและสมาคมลกู เสอื ตา่ ง ๆ
ในประเทศ ได้ด�ำเนินกิจกรรมทางการลูกเสืออย่างเข้มแข็ง ประกอบกับการสนับสนุนของส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
(National Scout Organization of Thailand: NSOT) กระทรวงศึกษาธิการ และบุคคล องค์กร หน่วยงาน
มลู นธิ ติ า่ ง ๆ ทเ่ี หน็ ประโยชนใ์ นการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั การสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ และเยาวชนไดม้ สี ว่ นรว่ มในการบำ� เพญ็ ประโยชน์
คณะลูกเสือไทยได้แสดงออกถึงความร่วมมือในการเข้าร่วมงานท่ีจัดขึ้นเพ่ือส่งเสริมกิจกรรมทางการลูกเสือ
ทง้ั ระดบั จังหวัดภายในประเทศ ระดบั อาเซียน ระดบั ภาคพืน้ ตา่ ง ๆ โดยเฉพาะลกู เสือระดบั ภาคพ้ืนเอเชีย-แปซฟิ ิก

  การเปน็ สมาชกิ ลกู เสอื ภาคพน้ื เอเชยี -แปซฟิ กิ ของลกู เสอื ไทย

ประเทศไทยต้ังอยู่ในภาคพ้ืนเอเชีย-แปซิฟิก (Asia-Pacific) ส�ำนักงานลูกเสือภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิก
(Asia-Pacific) ปัจจุบัน มีส�ำนักงานตั้งอยู่ ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ โดยภูมิหลังของส�ำนักงานมาจาก
การท่ีกรรมการลูกเสือโลกได้จัดตั้งส�ำนักงานเขตตะวันออกไกล (Far-East Region) ขึ้นเม่ือ พ.ศ. ๒๔๙๙
ขณะนั้นมีประเทศสมาชิกอยู่เพียง ๑๐ ประเทศ รวมประเทศไทยด้วย เมื่อการลูกเสือในเขตน้ีขยายตัวขึ้นเร่ือย ๆ
เพียงสองปตี อ่ มามีประเทศสมาชกิ เพม่ิ ขน้ึ เปน็ ๑๔ ประเทศ จงึ ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารประชมุ ลกู เสอื ตะวนั ออกไกลขนึ้ (Far-East
Scout Conference) เปน็ ครั้งแรก ณ เมอื งบาเกียว ประเทศฟลิ ิปปินส์ และตอ่ มาก็มกี ารประชุมทกุ ๒ ปี

62

การลกู เสือโลกและการลูกเสอื ไทย
ใน พ.ศ. ๒๕๑๓ ประเทศสมาชิกเพ่ิมข้ึนเป็น ๑๘ ประเทศ และได้เปล่ียนช่ือจากเขตตะวันออกไกลเป็น
เขตเอเชีย-แปซฟิ ิก (Asia-Pacific Regional) และปจั จุบนั น้ปี ระเทศสมาชิกเพิ่มเปน็ ๒๙ ประเทศ

คณะกรรมการลูกเสือเขตเอเชีย-แปซิฟิก
(Asia-Pacific Regional Scout Committee)
จากธรรมนูญเขตเอเชีย-แปซิฟิก ก�ำหนดให้มีคณะกรรมการ ๑๐ คน จาก ๑๐ ประเทศ อยู่ในต�ำแหน่ง
คราวละ ๖ ปี โดยท่ปี ระชุมลกู เสอื เขตเอเชยี -แปซฟิ ิก เป็นผู้เลอื กต้ังทุกระยะ ๒ ปที ี่มีการประชุม คณะกรรมการชุดน้ี
จะมกี ารประชมุ ทกุ ปี และอาจจะแตง่ ตง้ั อนกุ รรมการหรอื กรรมการดำ� เนนิ การในเรอื่ งหนง่ึ กย็ อ่ มทำ� ไดต้ ามความจำ� เปน็
ในเขตของตน
ใน พ.ศ. ๒๕๐๕ ประเทศไทยโดยคณะลูกเสือไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
ภาคตะวนั ออกไกล ครงั้ ที่ ๓ (3rd Far East Scout Conference) ณ ศาลาสนั ติธรรม กรงุ เทพมหานคร
ใน พ.ศ. ๒๕๖๑ มกี ารประชมุ สมชั ชาลกู เสอื ภาคพน้ื เอเชยี -แปซฟิ กิ ครงั้ ลา่ สดุ ระหวา่ งวนั ท่ี ๑๕ - ๒๐ ตลุ าคม
๒๕๖๑ ณ ศูนย์ประชุม PICC (Philippine International Convention Center) ณ กรุงมะนิลา คณะผู้แทน
ลูกเสือไทยไดส้ ง่ ดร.สมบูรณ์ บญุ ศริ ิ เขา้ แขง่ ขันเพอื่ เป็นคณะกรรมการลกู เสือภาคพ้นื เอเชีย-แปซฟิ ิก ในนามตัวแทน
ประเทศ และ ดร.สมบรู ณ์ บญุ ศริ ิ ได้รับเลือกเปน็ รองประธานคณะกรรมการลกู เสือภาคพ้นื เอเชยี -แปซิฟิก คนที่สอง

คณะกรรมการลูกเสืออาเซียน
(ASEAN Scout Association for Regional Cooperation: ASARC)
ภายใต้ลูกเสือภาคพ้ืนเอเชีย-แปซิฟิก ลูกเสือในกลุ่มประเทศอาเชียน ได้ร่วมกันจัดตั้ง ASEAN Scout
Association for Regional Cooperation หรือเรียกในนาม ASARC เม่อื วันท่ี ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๖๑ ณ ส�ำนกั งาน
ลูกเสือของฟิลิปปนิ ส์ ผลจากการประชุมประเทศสมาชกิ ลูกเสือในกลุ่มประเทศอาเชยี น ไดม้ อบหมายหน้าทปี่ ระธาน
ASARC ให้กับผู้แทนลูกเสือประเทศสิงคโปร์ รวมทั้งต�ำแหน่งเลขานุการคณะกรรมการ ASARC โดยมอบหมาย
ให้ผู้แทนจากประเทศไทยท�ำหน้าท่ีรองประธานและรองเลขานุการคณะกรรมการ ASARC ทั้งน้ี มีวาระ ๒ ปี
ตอ่ จากนนั้ ประเทศไทยจะไดร้ ับการส่งมอบให้เปน็ ประธาน ASARC เปน็ ลำ� ดบั ถัดไป

63

การฝกึ อบรมลกู เสอื

การฝกึ อบรมลกู เสอื

  ขบวนการลกู เสอื คอื อะไร

ขบวนการลกู เสอื คอื ขบวนการเยาวชนทมี่ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ฝกึ อบรมใหก้ ารศกึ ษาและพฒั นาเยาวชนใหเ้ ปน็
พลเมอื งดโี ดยไมค่ ำ� นงึ ถงึ เชอื้ ชาติ ศาสนา ทงั้ นี้ เปน็ ไปตามความมงุ่ ประสงค์ หลกั การ และวธิ กี าร ซงึ่ ผใู้ หก้ ำ� เนดิ ลกู เสอื
โลกได้ให้ไว้ ขบวนการนี้เป็นขบวนการระดับโลก มีประเทศสมาชิก ๑๗๑ ประเทศ และเขตปกครอง อาณานิคม
แคว้นต่าง ๆ ท่ัวโลกมีสมาชิกกว่า ๕๐ ล้านคน (ค.ศ. ๒๐๒๐) มีองค์การลูกเสือโลก (World Organization of
the Scout Movement: WOSM) โดยสำ� นกั งานลกู เสอื โลก (World Scout Bureau) ปจั จบุ นั ตงั้ อยทู่ กี่ รงุ กวั ลาลมั เปอร์
ประเทศมาเลเซีย ซึ่งมี Ahmad Alhendawi เป็นเลขาธิการลูกเสือโลกดูแลการด�ำเนินงานของประเทศสมาชิก
ให้พัฒนาไปตามกรอบนโยบายและแนวทางขององค์การลูกเสือโลก และตามมติของที่ประชุมสมัชชาลูกเสือโลก
(World Scout Conference) ซ่ึงจัดให้มีข้ึนในทุก ๆ ๓ ปี และยังมีส�ำนักงานลูกเสือภาคพ้ืนอยู่ในภูมิภาคทั่วโลก
อกี ๖ แห่ง ได้แก่

๑. ภาคพื้นยุโรป (Europe) ๒. ภาคพน้ื ยเู รเชยี (Urasia) ๓. ภาคพน้ื อนิ เตอรอ์ เมรกิ า
เจนวี า ประเทศสวติ เซอรแ์ ลนด์ สาธารณรฐั ยเู ครน มสี าขาท่ี (Interamerica)
และบรสั เซลส์ ประเทศเบลเยยี ม
มอสโก ประเทศรสั เซยี ซานตอี าโก ประเทศชลิ ี

สำ�นกั งานลูกเสือโลก (World Scout Bureau)
กัวลาลมั เปอร์ มาเลเซีย

๔. ภาคพ้นื อาหรบั ๕. ภาคพน้ื แอฟรกิ า (Africa) ๖. ภาคพน้ื เอเชยี -แปซฟิ กิ
(Arab) ไนโรบี ประเทศเคนยา (Asia-Pacific)

ไคโร ประเทศอยี ปิ ต์ สาขา ๑ ดาการ์ ประเทศเซเนกลั มะนลิ า ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์
สาขา ๒ เคปทาวน์ ประเทศแอฟรกิ าใต้

65

  วตั ถปุ ระสงคข์ องการลกู เสอื

ธรรมนูญขององค์การลูกเสือโลก (The World Organization of the Scout Movement) ได้ก�ำหนด
วตั ถปุ ระสงค์ของขบวนการลกู เสอื ไว้ดงั นี้

“จุดมุ่งประสงค์ของขบวนการลูกเสือ คือการสนับสนุนการพัฒนาอย่างเต็มที่ซึ่งศักยภาพทางกาย
สติปญั ญา สังคม จติ ใจ และศีลธรรมให้แก่เยาวชนเปน็ รายบุคคล เพอื่ ใหเ้ ขาเป็นพลเมืองดี มีความรบั ผิดชอบ
ในฐานะที่เปน็ สมาชิกของชมุ ชนในทอ้ งถิ่นในชาตแิ ละในชุมชนระหวา่ งนานาชาต”ิ

การลกู เสอื เปน็ ขบวนการทางการศกึ ษาสำ� หรบั เยาวชน ทม่ี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื สรา้ งบคุ ลกิ ภาพและพฒั นาการ
ทางสงั คมใหก้ บั เยาวชนเพอื่ ใหเ้ ปน็ พลเมอื งดขี องประเทศ โดยใชว้ ธิ กี ารของลกู เสอื ยดึ มนั่ ในคำ� ปฏญิ าณ และกฎ (Scout
Promise and Laws) การเรียนรูโ้ ดยการกระทำ� (Learning by Doing) เน้นการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลางแจง้ (Outdoor
Activities) การใช้ระบบหมู่ (Patrol System) และความก้าวหน้าของบุคคลโดยใช้หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
(Proficiency Badges)

การลูกเสอื เปน็ การอาสาสมัครทำ� งานให้การศึกษาพฒั นาเยาวชนโดยทว่ั ไป ไมม่ กี ารแบง่ แยกกีดกนั ในเรือ่ ง
เชื้อชาติ ผวิ พรรณ วรรณะ ลัทธิทางศาสนาใด ๆ และไม่อย่ภู ายใต้อิทธพิ ล หรือเกย่ี วขอ้ งกบั การเมอื ง โดยยึดปฏบิ ตั ิ
ตามอดุ มการณข์ องผใู้ หก้ �ำเนดิ ลกู เสอื โลกอยา่ งมนั่ คง วงการศกึ ษาทว่ั โลกถอื วา่ การลกู เสอื เปน็ ขบวนการทใี่ หก้ ารศกึ ษา
แกเ่ ยาวชนนอกระบบโรงเรียน (Non-formal Education Movement) ภายใต้พื้นฐาน ดังนี้

๑. มหี นา้ ที่ตอ่ ศาสนาทีต่ นเคารพนับถือ
๒. มีความจงรกั ภกั ดีต่อชาติบ้านเมือง
๓. มคี วามรับผดิ ชอบในการพัฒนาตนเอง
๔ เข้าร่วมในการพัฒนาสงั คมดว้ ยการยกย่องและเคารพในเกียรตขิ องบคุ คลอน่ื
๕. ช่วยเสรมิ สรา้ งสนั ติภาพความเขา้ ใจอันดี เพ่อื ความม่ันคงเปน็ อันหน่ึงอนั เดียวกันทวั่ โลก

  หลกั การสำ� คญั ของการลกู เสอื

หลักการพื้นฐานที่จะต้องปฏิบัติเพื่อให้การลูกเสือบรรลุวัตถุประสงค์องค์การลูกเสือโลก (World
Organization of the Scout Movement) ก�ำหนดไว้ว่า ลูกเสือมีภาระหน้าท่ีที่จะต้องปฏิบัติอันได้แก่ “หน้าท่ี
ตอ่ พระเจ้า (Duty to God)” “หน้าท่ตี ่อผู้อน่ื (Duty to Others)” และ “หน้าทีต่ อ่ ตนเอง (Duty to Self)”

66

การฝกึ อบรมลูกเสอื

หลักการสำ�คญั จงรกั ภักดตี อ่ ชาติ ศาสนา
ของการลูกเสอื พระมหากษตั รยิ ์

การบำ�เพญ็ ประโยชนต์ ่อผู้อืน่

การประพฤตติ นใหเ้ ปน็ พลเมอื งดี

ความจงรกั ภักดีตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
“ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์” หลักการของขบวนการลูกเสือน้ีถูกก�ำหนดให้ยึดมั่น
ในหลักการความภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ถือว่าเป็นหน้าท่ีท่ีลูกเสือจะต้องปฏิบัติต่อประเทศชาติ
ของพวกเขา ศาสนาที่ยอมรับนับถือและองค์พระมหากษัตริย์ที่ลูกเสือต้องให้ความจงรักภักดีในฐานะประมุข
ของคณะลูกเสือแหง่ ชาติ

การบำ� เพญ็ ตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์ต่อผอู้ น่ื
การบ�ำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น หลักการน้ีได้ก�ำหนดให้ลูกเสือมีความเข้าใจหน้าที่ที่มีต่อผู้อ่ืนโดย
การใหค้ วามรว่ มมอื รว่ มใจ ชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู บคุ คลอนื่  ๆ ในชมุ ชน สงั คมทง้ั ระดบั ทอ้ งถน่ิ ระดบั ชาติ และระดบั นานาชาติ
เป็นหน้าที่ที่จะต้องมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมด้วยการยอมรับและเคารพศักดิ์ศรีของเพื่อนมนุษย์ ลูกเสือต้องรู้จัก
การเสียสละ แบ่งปัน ร้จู กั ให้ รูจ้ ักบ�ำเพญ็ ประโยชน์ มคี วามเออ้ื เฟือ้ เผื่อแผ่ต่อเพือ่ นมนุษย์โดยทั่วไป

การประพฤตติ นให้เปน็ พลเมอื งดี
หลักการนี้ถูกก�ำหนดให้เป็น “ความรับผิดชอบต่อการพัฒนาตนเอง” หลักการที่ว่ามนุษย์ควรรับผิดชอบ
ในการพฒั นาขดี ความสามารถของตนเองในฐานะพลเมอื งของประเทศชาติ ทสี่ อดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคท์ างการศกึ ษา
ของขบวนการลูกเสือซ่ึงมีจุดประสงค์เพื่อช่วยเหลือเด็กและเยาวชนในการพัฒนาศักยภาพของเขาอย่างเต็มที่ โดยใช้
คำ� ปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื เปน็ พน้ื ฐาน การยดึ มนั่ ในคำ� ปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื ตามหลกั การขา้ งตน้ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง
กับความเช่ือที่การลูกเสือก�ำหนดไว้จะเป็นแรงบันดาลใจที่มีประโยชน์เน่ืองจากเป็นส่ิงท่ีแสดงถึงพ้ืนฐานของ
การขบวนการลูกเสอื

67

วิธีการของลูกเสือ (Scout Methods)
จากการประชมุ สมชั ชาลกู เสอื โลกครงั้ ท่ี ๔๑ ณ ประเทศอาเซอรไ์ บจาน พ.ศ. ๒๕๖๐ ไดเ้ สนอแนะใหป้ ระเทศ
สมาชกิ ใชว้ ธิ กี ารของลกู เสอื (Scout Methods) ไปใชใ้ นการฝกึ อบรมลกู เสอื อยา่ งเปน็ ระบบ มคี วามสมดลุ วธิ กี ารของ
ลูกเสอื เป็นลกั ษณะพื้นฐานของการลูกเสอื มอี งคป์ ระกอบ ๘ ประการ ดังนี้

การมสี ว่ นรว่ ม การเรยี นรู้ การเรยี นรู้
ของชมุ ชน ด้วยการกระทำ� ทกี่ า้ วหนา้
และเรา้ ใจ

กจิ กรรม คำ� ปฏญิ าณ ระบบหมู่
กลางแจง้ และกฎ

สญั ลกั ษณ์ การสนบั สนนุ
ทางลกู เสอื จากบคุ ลากร
ทางการลกู เสอื

๑. ค�ำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ (Scout promise and Law) การฝึกอบรมลูกเสือให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ของการลูกเสือ ต้องใช้ค�ำปฏิญาณและกฎของลูกเสือเป็นหลักในการฝึกอบรมเพ่ือให้ลูกเสือเกิดความ
ตระหนกั ในการครองตนและปฏิบัติตนของลกู เสือ

๒. การสนับสนนุ จากบคุ ลากรทางการลูกเสอื (Adult Support) ผ้บู งั คบั บญั ชาลูกเสอื ต้องตระหนกั
ในหน้าที่ที่ต้องส่งเสริมสนับสนุนออกแบบกิจกรรมเพ่ือฝึกอบรมลูกเสือท่ีอยู่ในความรับผิดชอบ ให้ลูกเสือได้รับ
ประสบการณ์ทมี่ ีคณุ คา่ ต่อการเป็นลูกเสือ

๓. ระบบหมู่ (Team System) การใช้ระบบหมู่เป็นวิธีการที่จะสร้างให้ลูกเสือได้ท�ำงานด้วยกัน
แบ่งหน้าท่คี วามรบั ผิดชอบ รจู้ กั การเปน็ ผ้นู ำ� และผตู้ าม เป็นการฝกึ ประชาธิปไตยภายในหมไู่ ด้เป็นอยา่ งดี

๔. การเรียนรู้ที่ก้าวหน้าและเร้าใจ (Personal Progressive) ผู้บังคับบัญชาลูกเสือต้องออกแบบ
กิจกรรมลูกเสือให้เร้าใจและท้าทายความสามารถให้สมวัยและต่อเน่ือง เป็นไปตามความต้องการของลูกเสือและ
ให้เกิดความภาคภมู ิใจในความสามารถดว้ ยเครื่องหมายวิชาพิเศษ

68

การฝกึ อบรมลูกเสอื

๕. การเรียนรู้ด้วยการกระท�ำ (Learning by doing) ผู้บังคับบัญชาลูกเสือต้องออกแบบกิจกรรม
ลูกเสือเพื่อฝึกให้ลูกเสือได้ลงมือปฏิบัติจริง มิใช่การสอนบนกระดานด�ำ เพราะกิจกรรมที่เกิดจากการลงมือปฏิบัติ
จนประสบความสำ� เร็จจะช่วยใหล้ ูกเสือได้เรียนร้อู ย่างหยัง่ ลกึ ฝงั แนน่ ในจติ ใจ

๖. การมีส่วนร่วมของชุมชน (Community Involvement) ด้วยลูกเสือเป็นสมาชิกอยู่ในชุมชน
ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ตอ้ งนำ� ลกู เขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มกบั ชมุ ชน ไดเ้ รยี นรสู้ ภาพของชมุ ชนทต่ี นอยเู่ พอ่ื ทจ่ี ะสง่ เสรมิ ความสำ� นกึ
ในความเป็นสมาชิกและเจ้าของ รู้จักการให้บริการ มีส่วนในการพัฒนาชุมชนท่ีตนอยู่และสร้างความตระหนัก
ทจ่ี ะบ�ำเพญ็ ประโยชน์ตามกฎของลูกเสือ

๗. ธรรมชาติชวี ติ กลางแจง้ (Nature) ผู้บงั คับบญั ชาลูกเสอื ตอ้ งใชธ้ รรมชาติวิทยาให้เกดิ ประโยชน์
สร้างกิจกรรมให้ลูกเสือได้ใช้ชีวิตกลางแจ้งในธรรมชาติ นอกจากจะมีโอกาสได้ท�ำกิจกรรมค่ายพักแรมแล้ว ยังเป็น
โอกาสที่จะฝกึ ให้ลกู เสือได้เรียนรูใ้ นเรื่องธรรมชาติ และการอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมอีกด้วย

๘. สญั ลักษณ์ทางลกู เสือ (Symbolic framework) ผ้บู งั คับบัญชาลูกเสือตอ้ งจดั กิจกรรมทเ่ี ก่ียวกับ
สัญลกั ษณล์ กู เสอื เพ่อื ปลกู ฝังใหล้ กู เสอื มีความร้คู วามเขา้ ใจเกีย่ วกับขบวนการลูกเสือ ความรู้ความเขา้ ใจในสญั ลกั ษณ์
ลูกเสือและความหมาย รหัสลูกเสือ ค�ำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ ที่แสดงความเป็นหนึ่งเดียวกันของสมาชิก
ลูกเสือโลก การสร้างวินัยและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทักษะทางลูกเสือ การพึ่งและพัฒนาตนเอง ซึ่งเป็น
คุณลักษณะสำ� คญั ของลูกเสือ

ดังนั้น จะเห็นได้ว่าวิธีการท่ีจะบรรลุถึงจุดหมาย หรืออุดมการณ์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ คือการจัดให้มี
การฝึกอบรมลูกเสือที่ก้าวหน้า สนุกสนาน ดึงดูดใจ โดยอาศัยค�ำปฏิญาณและกฎของลูกเสือเป็นบรรทัดฐาน
ใช้ระบบหมู่ ฝึกให้บ�ำเพ็ญประโยชน์ รักษาสิ่งแวดล้อมและมีผู้ใหญ่เป็นผู้คอยให้ค�ำแนะน�ำอันเป็นบทบาทและหน้าที่
(Role and Functions) ของผ้กู �ำกับลูกเสอื

  ลกู เสอื คอื ใคร

ในพระราชบัญญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๔ กำ� หนดไว้วา่
“ลูกเสือ” หมายความว่า เด็กและเยาวชนทั้งชายและหญิง ที่สมัครเข้าเป็นลูกเสือทั้งในสถานศึกษาและ
นอกสถานศกึ ษา ส่วนลูกเสอื ทเ่ี ป็นหญิงให้เรยี กวา่ “เนตรนาร”ี
“บุคลากรทางการลูกเสือ” หมายความว่า ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ กรรมการลูกเสือ
อาสาสมัครลูกเสือ และเจา้ หน้าทล่ี ูกเสือ

  จดุ หมายหรอื อดุ มการณข์ องคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ

พระราชบญั ญตั ิลกู เสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๘ ก�ำหนดไวว้ ่า คณะลูกเสอื แหง่ ชาตมิ ีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื พัฒนา
ลูกเสือทงั้ ทางกาย สตปิ ญั ญา จติ ใจ และศลี ธรรม ให้เป็นพลเมอื งดี มคี วามรับผดิ ชอบและชว่ ยสรา้ งสรรค์สงั คมให้เกิด

69

ความสามัคคีและมีความเจริญก้าวหน้า ท้ังน้ีเพื่อความสงบสุขและความมั่นคงของประเทศชาติ ตามแนวทาง
ดังต่อไปน้ี

๑. ให้มนี สิ ัยในการสงั เกต จดจ�ำ เช่อื ฟงั และพ่งึ ตนเอง
๒. ให้ซือ่ สตั ย์สุจริต มรี ะเบียบวนิ ยั และเห็นอกเหน็ ใจผอู้ ่ืน
๓. ให้รู้จกั บ�ำเพญ็ ตนเพือ่ สาธารณประโยชน์
๔. ให้รจู้ กั ท�ำการฝมี ือ และฝกึ ฝนใหท้ �ำกจิ การตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม
๕. ใหร้ ูจ้ กั รกั ษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม และความมั่นคงของประเทศชาติ

เมื่อพิจารณาวัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติแล้ว จะเห็นได้ว่า การท่ีจะฝึกอบรมลูกเสือให้บรรลุ
วตั ถุประสงค์ดังกลา่ ว เปน็ ภาระและหนา้ ที่ของผ้บู งั คบั บัญชาลูกเสอื ซงึ่ เป็นผู้ใหญใ่ นกจิ การลกู เสือ ทต่ี ้องด�ำเนนิ การ
จัดกิจกรรม ให้การช่วยเหลือลูกเสือหรือร่วมท�ำงานกับลูกเสือท่ีแตกต่างกันไปตามช่วงช้ันวัยของลูกเสือการจัดสร้าง
กจิ กรรมใหส้ นองตอ่ ความตอ้ งการของลกู เสอื และใหส้ อดคล้องกับแนวทางของวัตถปุ ระสงค์ของคณะลูกเสอื แห่งชาติ
โดยอาศัยคำ� ปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื เป็นบรรทดั ฐาน ผนวกกบั หลักสูตรของลูกเสอื แต่ละประเภทใหม้ คี วามเร้าใจ
ก้าวหนา้ โดยอาศัยวิธีการทางลูกเสือท่ีก�ำหนดไว้

  ลกู เสอื จะไดอ้ ะไรจากการลกู เสอื สขุ สม ผจญภยั
การสนุก
๑. ได้ผจญภัย (Adventure) ลกู เสอื ไดอ้ ะไร ไดเ้ พอ่ื น
๒. มีมิตรภาพ (Friendship) จากการลกู เสอื
๓. มชี ีวิตกลางแจ้ง (Outdoor life)
๔. สนกุ (Enjoyment)
๕. ความสมั ฤทธผิ ล (Achievement)

  ประโยชนข์ องการลกู เสอื เถอ่ื นธาร

๑. เปน็ การศึกษานอกแบบ (Non-formal Education)
๒. ช่วยเสรมิ การศึกษานอกโรงเรยี นในดา้ น
- ความประพฤติ นสิ ยั ใจคอ สติปญั ญา
- ความมีระเบยี บวนิ ยั
- สขุ ภาพและพลงั
- การฝีมือและทกั ษะ
- หนา้ ทพ่ี ลเมอื งและการบำ� เพญ็ ประโยชน์ตอ่ ผ้อู น่ื

70

การฝกึ อบรมลกู เสือ

คำ�ปฏญิ าณและกฎของลูกเสือ

นบั ตงั้ แตพ่ มิ พห์ นงั สอื การลกู เสอื สำ� หรบั เดก็ ชาย (Scouting for boys) พ.ศ. ๒๔๕๑ ประเทศในเครอื สมาชกิ
ไดน้ ำ� คำ� ปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื วา่ จะใชช้ วี ติ ตามอดุ มคตขิ ององคก์ รลกู เสอื โดยใชค้ �ำปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื ที่
มีความแตกต่างกันเล็กน้อยตามความเหมาะสมกับวัฒนธรรมท้องถ่ิน แต่ก็ต้องสอดคล้องกับค�ำปฏิญาณและกฎของ
ลกู เสอื เดมิ ท่ี บี.พ.ี ไดก้ ำ� หนดไว้

คำ� ปฏิญาณของลูกเสือไมม่ ีคำ� วา่ “อย่า” หรือ “ต้อง” คอื ไมม่ ีการหา้ มหรอื บงั คับแตเ่ ปน็ ค�ำปฏิญาณ หรือ
ค�ำมั่นสัญญาที่ลูกเสือและผู้บังคับบัญชาได้กล่าวรับรองด้วยเกียรติของตนเอง และด้วยความสมัครใจ ส่วนกฎของ
ลูกเสือได้ก�ำหนดไว้เป็นกลาง เพื่อให้ลูกเสือถือเป็นหลักปฏิบัติในชีวิตประจ�ำวัน และผู้บังคับบัญชาลูกเสือจะต้อง
เคร่งครัดในการปฏิบัติตามกฎของลูกเสือเป็นพิเศษ เพื่อบ�ำเพ็ญตนให้เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ลูกเสือ ค�ำปฏิญาณและ
กฎของลูกเสือ ท�ำให้ลูกเสือมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ รู้จักบ�ำเพ็ญประโยชน์แก่ผู้อ่ืน
มีระเบียบวนิ ัย อยู่ในกรอบประเพณีอนั ดีงาม และไม่ก่อให้เกดิ ความยุ่งยากใด ๆ ในบา้ นเมือง

  คำ� ปฏญิ าณของลกู เสอื สำ� รอง

ค�ำปฏิญาณ คือ การให้ค�ำมั่นสัญญาว่าจะประพฤติปฏิบัติตามสิ่งที่พูดด้วยความเต็มใจ ซึ่งค�ำปฏิญาณของ
ลกู เสอื ส�ำรอง มี ๒ ขอ้ ดงั น้ี

ขา้ สญั ญาวา่
ข้อ ๑ ข้าจะจงรักภักดีตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
ข้อ ๒ ขา้ จะยึดมัน่ ในกฎของลูกเสอื สำ� รองและบ�ำเพ็ญประโยชน์ตอ่ ผู้อนื่ ทกุ วนั


ขอ้ ๑ คาํ ปฏญิ าณ ขอ้ ๒
ของลูกเสือสาํ รอง
ขา้ จะจงรกั ภกั ดตี อ่ ชาติ ขา้ จะยดึ มนั่ ในกฎของลกู เสอื สาํ รอง
ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ และบาํ เพญ็ ประโยชน์
ตอ่ ผอู้ น่ื ทกุ วนั

71

กฎของลูกเสือสำ� รอง
กฎ คอื หลกั เกณฑ์ทีล่ กู เสือสำ� รองต้องยดึ เป็นหลกั ปฏิบัตอิ ยูเ่ สมอ ซ่งึ มีอยู่ ๒ ข้อ ดงั นี้

ขอ้ ๑ กฎของ ขอ้ ๒
ลกู เสือสํารอง
ลกู เสอื สาํ รองทาํ ตามลกู เสอื รนุ่ พ่ี ลกู เสอื สาํ รองไมท่ าํ ตามใจตนเอง

ค�ำปฏิญาณของลูกเสอื สามัญ สามญั รนุ่ ใหญ่ วิสามญั และบคุ ลากรทางการลกู เสือ

ดว้ ยเกยี รตขิ องข้า ข้าสญั ญาวา่
ขอ้ ๑ ขา้ จะจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ข้อ ๒ ข้าจะชว่ ยเหลือผูอ้ ื่นทกุ เมอื่
ขอ้ ๓ ขา้ จะปฏบิ ัตติ ามกฎของลกู เสอื
จากค�ำปฏิญาณข้อที่ ๑ น้ัน แสดงใหเ้ หน็ วา่ ลกู เสือมหี น้าทดี่ ังตอ่ ไปน้ี
ก. หน้าทต่ี อ่ ชาติ
ชาตไิ ทย คอื แผน่ ดนิ และนา่ นนำ้� ทรี่ วมกนั เรยี กวา่ ประเทศไทย ประกอบดว้ ยประชาชนพลเมอื งทรี่ วมกนั
เรียกว่าคนไทย ธงชาติ เป็นเครื่องหมายแทนชาติ ฉะน้ัน ธงชาติจึงเป็นสิ่งท่ีควรแก่การเคารพเป็นหน้าที่ของลูกเสือ
ทุกคน จะต้องแสดงความเคารพในโอกาสที่ชักธงขึ้นสู่ยอดเสาและเวลาชักธงลงจากยอดเสา ธงชาติไทยเรียกว่า
“ธงไตรรงค์” แปลว่า ธงสามสี ลูกเสือควรจะทราบด้วยว่าแต่ละสีมีความหมายอย่างไร สัญลักษณ์อีกอย่างหนึ่ง
ของธงชาติไทยคือ “เพลงชาติ” ลูกเสือและผู้บังคับบัญชาลูกเสือทุกคนจะต้องสามารถร้องเพลงชาติได้อย่างถูกต้อง
ดว้ ยความภาคภมู ใิ จ ทีส่ ำ� คญั คอื ตอ้ งเคารพและปฏบิ ตั ิตามกฎหมายของบา้ นเมอื ง
ข. หนา้ ที่ต่อศาสนา
ลูกเสือจะนับถือศาสนาใด ๆ ก็ได้ เพราะทุกศาสนาก็มีความมุ่งหมายอย่างเดียวกันคือให้ให้บุคคล
เปน็ คนดี ได้แก่ การละเว้นความชว่ั กระทำ� แตค่ วามดี และทำ� ใจให้ผ่องใสบริสุทธิ์
ค. หน้าที่ต่อพระมหากษัตรยิ ์
ผู้ก�ำกับลูกเสือพึงหาวิธีการต่าง ๆ ที่จะท�ำให้ลูกเสือสนใจในพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยหู่ ัว โดยเน้นถงึ เวลาท่พี ระองคท์ รงอทุ ิศให้แกบ่ ้านเมอื ง และเสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเยยี่ มเยยี นราษฎร
ในท้องถ่ินต่าง ๆ ท่ัวราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของชาติ เป็นท่ีรวมแห่งความเคารพสักการะ
และความสามัคคขี องคนไทยทั้งชาติ นอกจากนน้ั พระองคท์ รงเป็นประมุขของคณะลูกเสอื แห่งชาตดิ ว้ ย

72

การฝกึ อบรมลกู เสอื

ง. การบ�ำเพญ็ ประโยชน์ต่อผอู้ ่นื
การบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อ่ืนเป็นหลักการส�ำคัญประการหน่ึงของลูกเสือและเป็นส่ิงหน่ึงท่ีท�ำให้
การลูกเสือมีชื่อเสียง ได้รับการยกย่องจากประชาชนโดยท่ัวไปแหล่งหรือโอกาสที่ลูกเสือจะบ�ำเพ็ญประโยชน์น้ัน
ควรเริ่มจากสิง่ ทใี่ กล้ตวั เดก็ กอ่ นแลว้ ขยายออกไปตามวยั และความสามารถของเดก็ กลา่ วคือ
๑. บ้านของลูกเสือ ควรส่งเสริมให้เด็กท�ำงานในบ้านหรือบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อครอบครัว เพื่อเป็น
การเพาะนิสยั ทด่ี ใี ห้แก่เด็ก
๒. โรงเรียนหรือที่ตั้งกองลูกเสือ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือควรส่งเสริมให้เด็กได้ท�ำงานเป็นประโยชน์
ต่อเพื่อน ต่อห้องเรียน ต่อโรงเรียนให้มากที่สุด โดยสอนให้ลูกเสือตระหนักว่างานเป็นสิ่งท่ีมีเกียรติ งานเท่าน้ัน
เปน็ เครอื่ งวัดคณุ ค่าของคน

The Scout Promise
On my honour : I promise that I will do my best
1. To do my duty to God and the King
2. To help other people at all times;
3. To obey the Scout Law.

The Scout Law
1. A Scout honour is to be trusted.
2. A Scout is loyal.
3. A Scout’s duty is to be useful and to help others.
4. A Scout is a friend to all and a brother to every other Scout.
5. A Scout is courteous.
6. A Scout is a friend to animals.
7. A Scout obeys orders of his parents, Patrol Leader
or Scoutmaster without question.
8. A Scout smiles and whistles under all difficulties.
9. A Scout is thrifty.
10. A Scout is clean in thought, word and deed.

73

ขอ้ ๑ ลกู เสือมีเกยี รติเชอื่ ถือได้ ขอ้ ๖ ลกู เสือมีความเมตตากรณุ าตอ่ สตั ว์
ข้อ ๒ ลูกเสือมีความจงรักภักดี ต่อชาติ ศาสนา ข้อ ๗ ลูกเสือเช่ือฟังคําส่ังของบิดามารดา
พระมหากษตั รยิ ์ และซอื่ ตรงตอ่ ผมู้ พี ระคณุ   และผบู้ งั คบั บญั ชาดว้ ยความเคารพ
ข้อ ๓ ลกู เสอื มหี นา้ ท่ีกระทําตน ให้เป็นประโยชน์
และชว่ ยเหลือผูอ้ ่ืน กฎของลูกเสือ ข้อ ๘ ตลูอ่กคเสวือามมยีใจากร่ลาเาํ รบิงากและไม่ย่อท้อ

ขอ้ ๔ ลูกเสือเปน็ มติ รของคนทุกคน ข้อ ๙ ลกู เสอื เป็นผู้มธั ยสั ถ์
และเป็นพ่ีน้องกับลูกเสืออ่ืนทัว่ โลก
ขอ้ ๑๐  ลูกเสือประพฤตชิ อบดว้ ยกาย วาจา ใจ
ข้อ ๕ ลกู เสอื เปน็ ผสู้ ภุ าพเรยี บรอ้ ย

กฎของลกู เสอื ข้อ ๑๐ น้ี ได้ดัดแปลงมาจากกฎของลกู เสือขอ้ ๑๐ ตามธรรมนูญของสมชั ชาลูกเสือโลกทีว่ า่
“ลูกเสอื เปน็ ผสู้ ะอาดในทางความคดิ วาจา และการกระท�ำ” (A scout is clean in thought, word and deed)

ขอ้ ๑. ลูกเสือมเี กยี รติเชื่อถอื ได้
ลกู เสอื ทแี่ ทจ้ รงิ ถอื วา่ เกยี รตขิ องตนสำ� คญั กวา่ สงิ่ ใด เกยี รตขิ องตนเปน็ สงิ่ ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ คนทร่ี จู้ กั รกั ษาเกยี รตเิ ปน็
ผู้เชอ่ื ถอื ได้เสมอ จะตอ้ งไม่กระท�ำส่งิ ใด ๆ ท่เี สยี เกยี รติ เช่น พูดเทจ็ กบั ผูบ้ งั คบั บญั ชา หรือนายจ้าง หรือผู้อยู่ใต้บงั คบั
บัญชาของตน และจะท�ำตัวให้เป็นที่นับถือของคนทั่วไป ในฐานะที่เป็นลูกเสือต้องไม่ยอมให้ส่ิงที่ยั่วยวนใจ ไม่ว่า
จะลกึ ลับหรือรนุ แรงเพยี งไรมาชักจงู ใหก้ ระท�ำการใด ๆ ทไี่ มส่ จุ ริต หรอื เป็นที่นา่ สงสัย และจะไม่ละเมดิ ค�ำมนั่ สญั ญา
เปน็ อันขาด

ข้อ ๒. ลูกเสอื มีความจงรกั ภกั ดีตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ และซอ่ื ตรงต่อผมู้ ีพระคุณ
ในฐานะเป็นพลเมอื งดี ลูกเสอื จะต้องระลึกเสมอว่าลกู เสอื ต้องเปน็ คนหนึ่งในคณะ จะต้องท�ำหน้าทีข่ องตน
ใหด้ ีท่สี ดุ และซอื่ ตรงกบั ผมู้ ีส่วนเก่ยี วขอ้ งกับ เช่น พอ่ แม่ พี่ นอ้ ง จะต้องไม่ทำ� ลายเกยี รติของตนดว้ ยการเล่นไม่ซื่อ
นอกจากนนั้ ตอ้ งไมท่ ำ� ใหผ้ ทู้ ไ่ี วว้ างใจ ไมว่ า่ ชายหรอื หญงิ ตอ้ งผดิ หวงั บรรพบรุ ษุ ของลกู เสอื ไดท้ ำ� งานดว้ ยความเขม้ แขง็
รบดว้ ยความทรหด และตายดว้ ยความองอาจ เพอ่ื รักษาบ้านเมืองไว้ เป็นสิง่ ทลี่ กู เสอื ต้องสำ� นึกตอบแทนคุณแผน่ ดิน
บ�ำรุงพระศาสนา และจงรกั ภักดตี อ่ พระมหากษตั รยิ ์

ขอ้ ๓. ลูกเสอื มีหนา้ ทีก่ ระทำ� ตนให้เป็นประโยชน์และช่วยเหลอื ผูอ้ ่นื
ลูกเสือจะต้องบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อผอู้ ่ืนอย่เู สมอ เพราะการบำ� เพ็ญประโยชน์ เป็นการฝกึ ใหเ้ ปน็ ผูใ้ ห้ตอ่ ผอู้ ืน่
และการเสียสละเพื่อส่วนรวม การให้ความช่วยเหลือผู้อื่นเป็นหน้าที่ของลูกเสือตามหลักการของลูกเสือ ต้องรู้จัก
แบง่ ปนั เสียสละตามก�ำลังความสามารถของตนเอง ช่วยใหผ้ อู้ ืน่ มคี วามสขุ ชุมชน สงั คมก็จะมคี วามสงบสขุ โดยท่วั กนั

ขอ้ ๔. ลกู เสือเป็นมิตรของคนทุกคนและเปน็ พีน่ อ้ งกบั ลูกเสอื อืน่ ทวั่ โลก
ในฐานะที่เป็นลูกเสือ จะต้องยอมรับรู้ว่าคนอื่นเป็นเพ่ือนมนุษย์ และต้องไม่รังเกียจความแตกต่างในเรื่อง
ความคิด วรรณะ ศาสนา หรอื ชาติบ้านเมือง ลูกเสอื ตอ้ งขจดั อคตขิ องตนและมองหาจุดดีของคนอน่ื ส่วนจดุ อ่อนนน้ั
74

การฝกึ อบรมลูกเสอื

อยา่ ไดส้ นใจ ถา้ ลกู เสอื ไดแ้ สดงไมตรจี ติ ตอ่ คนชาตอิ นื่ ๆ ไดเ้ ชน่ นกี้ น็ บั วา่ ไดช้ ว่ ยกอ่ ใหเ้ กดิ สนั ตภิ าพและไมตรจี ติ ระหวา่ ง
ประเทศและมวลมนุษยชาตไิ ด้

ข้อ ๕. ลูกเสอื เปน็ ผู้สภุ าพเรียบร้อย
ในฐานะทีเ่ ปน็ ลกู เสือ จะตอ้ งสภุ าพและค�ำนงึ ถึงผู้หญงิ ผูส้ งู วัย เด็กและบคุ คลทั่ว ๆ ไป ยิ่งกวา่ น้นั ลกู เสือจะ
ต้องสุภาพต่อฝ่ายตรงข้ามกับตนด้วย รวมความว่าลูกเสือจะต้องเป็นสุภาพบุรุษ คือผู้ปฏิบัติตามกฎแห่งการบ�ำเพ็ญ
ประโยชน์ของลกู เสอื
ขอ้ ๖. ลกู เสือมีความเมตตากรุณาตอ่ สัตว์
สัตว์ทั้งหลาย มีความรักและหวงแหนชีวิตของตนย่ิงกว่าส่ิงใด ต่างก็ดิ้นรนต่อสู้เพื่อให้มีชีวิตอยู่รอด และ
ปลอดภัยจากอันตราย ทุกชวี ิตปรารถนาความสขุ ความรกั ความอบอุ่น และการชว่ ยเหลือเกอ้ื กลู แต่เกลียดกลวั และ
หวาดระแวงตอ่ การล่วงเกิน เบยี ดเบียน และทำ� ร้าย ภารกจิ สำ� คญั ที่สดุ ของลูกเสอื คอื การชว่ ยเหลือผู้อ่นื ใหพ้ ้นจาก
ความทกุ ข์ และการบริการผอู้ ่ืนให้ได้รับความสขุ ดังนน้ั ลูกเสอื ทุกคนจึงควรเป็นผูท้ มี่ ีความรกั และความเมตตากรุณา
ตอ่ สัตว์ด้วย
ข้อ ๗. ลกู เสือเชือ่ ฟงั คำ� สั่งของบิดามารดา และผบู้ งั คบั บญั ชาด้วยความเคารพ
ในฐานะที่เป็นลูกเสือ ลูกเสือย่อมบังคับตนเองและเต็มใจเชื่อฟังค�ำส่ังของพ่อแม่ ครู อาจารย์ นายหมู่
และผูก้ ำ� กบั ลกู เสอื โดยชอบด้วยเหตุผล ไม่มีการโตแ้ ย้ง ชุมชนท่มี วี นิ ยั ดเี ปน็ ชุมชนที่มคี วามสุขทสี่ ุด แต่วนิ ยั ตอ้ งเกิด
จากภายใน มิใช่ถกู บงั คบั จากภายนอก ดังน้นั การปฏบิ ัตติ นเป็นตวั อย่างท่ีดแี ก่ผอู้ ่ืนจงึ เป็นส่ิงทมี่ ีคุณคา่ มาก
ข้อ ๘. ลูกเสอื มใี จรา่ เริง และไม่ยอ่ ทอ้ ต่อความลำ� บาก
ในฐานะเป็นลูกเสือ บุคคลอื่น ๆ จะคอยมองดูอยู่เสมอว่าลูกเสือต้องเป็นผู้มีความฉลาดทางอารมณ์ รู้จัก
ระงับอารมณ์และยืนหยัดต่อสู้ด้วยความเข้มแข็งและร่าเริง อดทนในเม่ือมีเหตุการณ์ฉุกเฉินเกิดขึ้นหรือไม่ ดังนั้น
ลูกเสือต้องรู้จักตั้งสติของตนเองอยู่เสมอ อดทนและไม่ย่อท้อต่อความยากล�ำบากท่ีเกิดขึ้นเพราะปัญหาที่เกิดข้ึนน้ัน
สามารถแก้ไขได้ ลกู เสือพงึ คดิ บวก มองโลกในแงด่ เี สมอ
ข้อ ๙. ลูกเสอื เปน็ ผ้มู ัธยัสถ์
ในฐานะที่เป็นลูกเสือ จะต้องมองไปข้างหน้าและจะไม่ยอมเสียเวลาหรือเสียเงินส�ำหรับความสุขส�ำราญ
ในปัจจุบนั แตจ่ ะใชโ้ อกาสนั้น น้อมน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ้ นการด�ำเนินชวี ิต เพ่ือให้ได้บรรลุความส�ำเร็จ
ในหนา้ ท่ีทที่ ่านกระทำ� ทง้ั นี้เพอื่ วา่ จะได้ไม่ต้องเป็นภาระแกผ่ ู้อ่นื แตก่ ลับจะเป็นการช่วยเหลอื ผูอ้ ่ืนไดอ้ กี ดว้ ย
ข้อ ๑๐. ลูกเสอื ประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ
ในฐานะทเี่ ปน็ ลกู เสอื ลกู เสอื ตอ้ งมใี จสะอาด คดิ แตเ่ รอ่ื งทเ่ี ปน็ มงคล สามารถควบคมุ สตแิ ละจติ ใจของตนเอง
ไม่ให้ฟงุ้ ซา่ นใน รปู -รส-กล่ิน-เสียง-สัมผัส และของมัวเมาจนเกินกวา่ เหตุ ต้องเป็นตัวของตัวเอง และเป็นตัวอยา่ งทดี่ ี
แกผ่ ูอ้ ่นื ในทกุ สิง่ ทกุ อย่างที่ลกู เสอื คดิ พูด และกระท�ำโดยชอบดว้ ยกฎหมายของบา้ นเมอื งและศลี ธรรม

75

การฝึกอบรมลกู เสือ

นับต้ังแต่วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๔๕๔ โดยพระราโชบายของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระมหากษตั รยิ าธริ าชเจา้ ลำ� ดบั ท่ี ๖ แหง่ พระบรมราชจกั รวี งศ์ กจิ การลกู เสอื ไทยไดก้ ำ� เนดิ ขนึ้ และมคี วามเจรญิ กา้ วหนา้
มาโดยล�ำดับ ผ่านร้อนผ่านหนาว รุ่งเรืองและซบเซาลงไปบ้างบางเวลา แต่กิจการลูกเสือไทยก็ยืนยงคงอยู่คู่มา
กบั เยาวชนไทย เปน็ เครอ่ื งมอื อนั สำ� คญั ในการพฒั นาเยาวชนเปน็ คนดมี คี ณุ ธรรม และไดร้ บั การยอมรบั มาโดยตลอด

กิจการลูกเสือไทยซ่ึงเริ่มมาจากลูกเสือประเภทแรกคือลูกเสือสามัญ ประเทศไทยได้เข้าเป็นสมาชิก
ขององค์การลูกเสือโลก ปรับเปล่ียนระบบการฝึกอบรมจากแบบไทยมาสู่ระบบแบบสากล มีลูกเสือประเภทต่าง ๆ
เกิดข้ึน เพ่ือให้เหมาะสมกับการพัฒนาเยาวชนในช่วงอายุต่าง ๆ จนถึงปีพุทธศักราช ๒๕๖๓ เข้าสู่ปีที่ ๑๐๙ ของ
การลูกเสอื ไทย กจิ การลกู เสือไทยมลี ูกเสือประเภทต่าง ๆ เกดิ ข้นึ หลายประเภท ขอนำ� เสนอตามระยะเวลาทีเ่ กิดขึ้น
อยา่ งเปน็ ทางการ ดังนี้

- ลกู เสือสามญั ก่อตง้ั ขึ้นเมือ่ วนั ท่ี ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๔
- ลูกเสือสำ� รอง กอ่ ตั้งขนึ้ เมือ่ วันที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๐๑
- ลกู เสอื วสิ ามัญ กอ่ ตงั้ ข้นึ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๖
- ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ก่อต้ังข้นึ เม่อื วนั ที่ ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๐๙
นอกจากลูกเสือทั้ง ๔ ประเภทซึ่งเป็นเหล่าหลักหรือเรียกว่าเหล่าเสนาของลูกเสือไทยแล้ว ยังมีลูกเสือ
อกี ๒ เหล่าทม่ี ีอยใู่ นประเทศไทยอกี ดว้ ย คือ
- ลูกเสอื เหลา่ อากาศ ก่อต้ังข้ึนเม่อื วนั ท่ี ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๘
- ลูกเสอื เหลา่ สมทุ ร ก่อต้ังขึ้นเมอ่ื วนั ที ่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๗
สำ� หรบั ลกู เสอื เหลา่ อากาศและเหลา่ สมทุ รนนั้ จะมขี อ้ บงั คบั แนวปฏบิ ตั ใิ นการฝกึ อบรมสำ� หรบั ลกู เสอื สามญั
ลูกเสือสามญั ร่นุ ใหญ่ และลูกเสอื วิสามญั
ในปที ่ี ๑๐๙ ของการลูกเสอื ไทยพลเมอื งจึงมลี กู เสือ ๔ ประเภท ๓ เหลา่ เปน็ เคร่ืองมืออันส�ำคัญทีจ่ ะช่วย
พฒั นาเยาวชนให้เจรญิ ก้าวหนา้ เป็นพลเมอื งดีของประเทศชาติต่อไป

กองลกู เสือ

76

การฝึกอบรมลกู เสอื

  ลกู เสอื สำ� รอง

จดุ ม่งุ หมายของการลูกเสือส�ำรอง คือ เพื่อ
ส่งเสริมการพัฒนาเด็กในวัยลูกเสือส�ำรองท้ังในทาง
กาย สตปิ ญั ญา จติ ใจ และศลี ธรรม โดยถอื วา่ เปน็ สว่ น
ส�ำคัญส่วนหนึ่งของแผนการฝึกอบรมที่ต่อเน่ืองกัน
ของเด็กในวัยตา่ ง  ๆ ทอ่ี ยู่ในขบวนการลกู เสือ

“ข้อบงั คับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลกั สูตร
และวิชาพิเศษลูกเสือส�ำ รอง (ฉบบั ที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๒๒”

  ลกู เสอื สามญั

จุดมุ่งหมายของการลูกเสือสามัญ คือ เพ่ือ
ส่งเสริมการพัฒนาในทางร่างกาย สติปัญญา จิตใจ
ศีลธรรมและสงั คมของลูกเสืออายุ ๑๑ ปี ถึง ๑๖ ปี
โดยถือว่าเป็นส่วนส�ำคัญส่วนหน่ึงของแผนการฝึก
อบรมที่ต่อเนื่องกันของเด็กในวัยต่างๆ ท่ีอยู่ใน
ขบวนการลกู เสือ

“ข้อบังคบั คณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลกั สูตร
และวิชาพิเศษลกู เสือสามัญ (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๒๕

  ลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ ่

จดุ มงุ่ หมายของการลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ คอื
เพอื่ สง่ เสรมิ การพฒั นาในทางรา่ งกาย สตปิ ญั ญา จติ ใจ
ศลี ธรรมและสงั คมของลกู เสืออายุ ๑๔ ปี ถึง ๑๘ ปี
โดยถือว่าเป็นส่วนส�ำคัญส่วนหนึ่งของแผนการฝึก
อบรมท่ีต่อเน่ืองกันของเด็กในวัยต่างๆ ท่ีอยู่ใน
ขบวนการลูกเสือ

“ข้อบงั คบั คณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลกั สูตร
และวิชาพิเศษลูกเสือสามญั รุ่นใหญ่ (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๒๘”

77

  ลกู เสอื วสิ ามญั

จุดมุ่งหมายของการลูกเสือวิสามัญ คือ
เพอื่ สง่ เสริมการพฒั นาในทางรา่ งกาย สติปญั ญา จติ ใจ
ศลี ธรรมและสงั คมของลกู เสอื อายุ ๑๖ ปี ถงึ ๒๕ ปี โดย
ถือว่าเป็นส่วนส�ำคัญส่วนหนึ่งของแผนการฝึกอบรม
ท่ีต่อเน่ืองกันของเด็กในวัยต่าง ๆ ที่อยู่ในขบวนการ
ลกู เสอื

  ลกู เสอื เหลา่ สมทุ ร

กลุ่มหรือกองลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญ “ข้อบงั คบั คณะลกู เสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลกั สตู ร
รนุ่ ใหญ่ และลกู เสอื วสิ ามญั อาจขอจดั ตงั้ เปน็ กองลกู เสอื และวิชาพิเศษลกู เสือวิสามัญ (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ. ๒๕๒๙”
เหลา่ สมุทรได้ถา้ มคี วามพรอ้ มตามเกณฑต์ อ่ ไปนี้
หลกั สตู รลกู เสอื เหลา่ สมทุ ร
๑. เปน็ กองลกู เสือทจี่ ัดต้ังขนึ้ โดยถูกตอ้ งตาม
ข้อบงั คับฯ และสมัครท่จี ะเปน็ ลูกเสอื เหลา่ สมุทร ลกู เสอื ตรเี หมอื นลกู เสอื สามญั เหลา่ เสนา

๒. เป็นกองลูกเสือที่ต้ังอยู่จังหวัดชายทะเล ลกู เสอื โท + เครอ่ื งหมายชาวเรอื
หรือริมแม่น�้ำใหญ่ หรือใกล้แหล่งน้�ำใหญ่ซ่ึงสะดวก ลกู เสอื เอก + เครอ่ื งหมายผชู้ ว่ ยนายทา้ ยเรอื เลก็
ตอ่ การฝกึ อบรม
ลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ + เครอ่ื งหมาย
๓. เป็นกองลูกเสือที่กองทัพเรือยินดีให้ ลกู เสอื วสิ ามญั นายทา้ ยเรอื เลก็
ความสนบั สนนุ และใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในการฝกึ อบรม

๔. เปน็ กองลกู เสอื ทมี่ ผี บู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ซงึ่
ได้ผา่ นการฝึกอบรมวชิ าผกู้ ำ� กบั ลกู เสือเหลา่ สมุทร

๕. ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริหาร
ลกู เสอื แห่งชาติ

(มตทิ ปี่ ระชมุ คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ “ข้อบังคบั คณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลักสตู ร
ครัง้ ที่ ๑๐/๒๕๒๔ เมือ่ วนั ท่ี ๑๙ ตุลาคม ๒๕๒๔) และแผนการฝึกอบรมลูกเสือเหล่าสมุทร (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๒๔”

การฝกึ อบรมชน้ั ลกู เสอื ตรี ใชห้ ลกั สตู รลกู เสอื สามญั เหลา่ เสนา
ชน้ั ลกู เสอื โท ใชห้ ลกั สตู รลกู เสอื สามญั เหลา่ เสนา + เครอ่ื งหมายชาวเรอื
ชน้ั ลกู เสอื เอก ใชห้ ลกั สตู รลกู เสอื สามญั เหลา่ เสนา + เครอ่ื งหมายผชู้ ว่ ยนายทา้ ยเรอื เลก็

ลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญแ่ ละลกู เสอื วสิ ามญั ใชห้ ลกั สตู รลกู เสอื เหลา่ เสนาและเพม่ิ วชิ าเครอ่ื งหมายนายทา้ ยเรอื เลก็

78

การฝกึ อบรมลกู เสือ

  ลกู เสอื เหลา่ อากาศ หลกั สตู รลกู เสอื เหลา่ อากาศ

กลุ่มหรือกองลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญ ลกู เสอื ตรเี หมอื นลกูผเทู้ ส�ำ อื กสาารมในญั อเหากลาา่ ศเสชนน้ั าตน้
รนุ่ ใหญ่ และลกู เสอื วสิ ามญั อาจขอจดั ตงั้ เปน็ กองลกู เสอื ลกู เสอื โท + ผผทู้ ทู้ �ำ ก�ำ ากราใรนใอนาอกาศกชาน้ัศอชาน้ั วโุตสน้
เหล่าอากาศไดถ้ า้ มีความพรอ้ มตามเกณฑต์ ่อไปนี้
ลกู เสอื เอก + ผทู้ทู้ �ำ �ำกการาใรนอในากอาศาชกน้ั าอศาวโุ ส
๑. เป็นกองลกู เสือทีจ่ ัดตงั้ ขน้ึ โดยถกู ต้องตาม ชน้ั ช�ำ นญั
ขอ้ บงั คับฯ และสมคั รทีจ่ ะเปน็ ลูกเสือเหล่าอากาศ
ลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ + ผทู้ �ำ การในอากาศ
๒. เปน็ กองลกู เสอื ทตี่ ง้ั อยทู่ จี่ งั หวดั ซง่ึ มหี นว่ ย ลกู เสอื วสิ ามญั ชน้ั ช�ำ นญั
ของกองทัพอากาศตั้งอยู่

๓. เป็นกองลูกเสือท่ีกองทัพอากาศยินดีให้
ความสนบั สนนุ และใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในการฝกึ อบรม

๔. เปน็ กองลกู เสอื ทมี่ ผี บู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ซงึ่ “ข้อบงั คบั คณะลกู เสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง
ไดผ้ ่านการฝกึ อบรมวิชาผกู้ ำ� กบั ลูกเสอื เหลา่ อากาศ หลกั สตู รและแผนการฝึกอบรมลูกเสือเหล่าอากาศ
(ฉบบั ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๒๔
๕. ได้รับอนมุ ัติจากคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แหง่ ชาติ

(มติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแห่งชาติ คร้งั ที่ ๑๐/๒๕๒๔ เม่ือวนั ท่ี ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๒๔)

การฝกึ อบรมใชห้ ลกั การเดยี วกนั กบั ลกู เสอื เหลา่ สมทุ ร

  การวดั และประเมนิ ผล

ด้วยกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี เป็นส่วนหน่ึงของกิจกรรมนักเรียนในหมวดของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ดงั น้นั การประเมินผลจึงมี ๒ ลักษณะ คือ

- ประเมนิ ผลตามเกณฑก์ จิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑
- ประเมนิ ผลเพอ่ื เลื่อนชน้ั และรบั เครอ่ื งหมายตา่ ง ๆ ตามขอ้ บังคบั คณะลกู เสอื แหง่ ชาติ

การประเมนิ ผลตามเกณฑก์ ิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น (กิจกรรมนกั เรียน ลกู เสอื -เนตรนารี)

การประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
เป็นการประเมินผลโดยผู้เรียนต้องมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงาน/ชิ้นงาน/คุณลักษณะผ่าน
การประเมนิ ผลตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากำ� หนด

79

หลักการ
การประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑
เปน็ การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมหรอื ผลงาน/ชน้ิ งาน/คณุ ลกั ษณะของผเู้ รยี น เปน็ ระยะอยา่ งตอ่ เนอื่ ง มงุ่ เนน้ ให้
ผเู้ รยี นค้นหาศกั ยภาพของตน สะท้อนแนวคดิ จากการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม การทำ� งานกลมุ่ และการมีจติ สาธารณะ โดยให้
ทกุ ฝา่ ยทีเ่ กี่ยวข้องมสี ่วนร่วมในการประเมนิ ผล

แนวทางการประเมินผล

แผนภูมิแสดงข้ันตอนการประเมินผลกิจกรรมลูกเสือ แผนภมู แิ สดงข้ันตอนการประเมนิ ผลกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น
มีแนวทางตามแผนภาพ ดงั น้ี มีแนวทางตามแผนภาพ ดังนี้

การประเมนิ ผลกจิ กรรมลกู เสอื การประเมนิ ผลกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น

เวลาเขา้ รว่ มกจิ กรรม
การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
ผลงาน / ชน้ิ งาน

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ปรบั ปรงุ

ประเมนิ ผล ไม่
ผา่ น

พฒั นาตอ่ เนอ่ื ง

สรปุ  / รายงาน / สารสนเทศ

สถานศกึ ษาควรกำ� หนดแนวทางทชี่ ดั เจนในการประเมนิ ผลกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๒ ประการ คอื การประเมนิ
ผลกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นรายกจิ กรรม และการประเมนิ ผลกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนเพือ่ การตดั สิน

๑. การประเมนิ ผลกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นรายกจิ กรรม
การประเมนิ ผลกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนรายกิจกรรมมแี นวปฏบิ ัติ ดังน้ี
๑.๑ ตรวจสอบเวลาเขา้ ร่วมกิจกรรมของผ้เู รยี นให้เปน็ ไปตามเกณฑ์ทสี่ ถานศกึ ษาก�ำหนด
๑.๒ ประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจากการปฏิบัติกิจกรรม และผลงาน/ชิ้นงาน/คุณลักษณะของ
ผเู้ รยี นตามเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษากำ� หนดดว้ ยวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย เนน้ การมสี ว่ นรว่ มของผเู้ กย่ี วขอ้ งในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
๑.๓ ผูเ้ รยี นที่มเี วลาการเข้ารว่ มกจิ กรรม มีการปฏิบตั กิ จิ กรรม และมผี ลงาน/ชน้ิ งาน/คุณลักษณะตาม
เกณฑ์ที่สถานศึกษาก�ำหนด เป็นผู้ผ่านการประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรายกิจกรรม และน�ำผลการประเมินไป
บันทึก ในระเบียนแสดงผลการเรยี น

80

การฝกึ อบรมลูกเสอื

๑.๔ ผเู้ รยี นทม่ี ผี ลการประเมนิ ไมผ่ า่ นในเกณฑเ์ วลาการเขา้ รว่ มกจิ กรรม การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม และผลงาน/
ชิ้นงาน/คุณลักษณะตามท่ีสถานศึกษาก�ำหนด ครูหรือผู้รับผิดชอบต้องด�ำเนินการซ่อมเสริมและประเมินผลจนผ่าน
ทง้ั นี้ควรดำ� เนินการให้เสรจ็ สิ้นในปีการศกึ ษาน้ัน ๆ ยกเว้นมเี หตุสุดวสิ ัยใหอ้ ยู่ในดลุ พินจิ ของสถานศกึ ษา

๒. การประเมินผลกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนเพ่อื การตดั สนิ
การประเมนิ ผลกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นเพอื่ ตดั สนิ เลอื่ นชน้ั และจบระดบั การศกึ ษา เปน็ การประเมนิ ผลการผา่ น
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นเปน็ รายป/ี รายภาค เพอื่ สรปุ ผลการผา่ นในแตล่ ะกจิ กรรม สรปุ ผลรวมเพอ่ื เลอ่ื นชนั้ และประมวล
ผลรวมในปสี ดุ ท้ายเพอ่ื การจบแตล่ ะระดบั การศกึ ษาโดยการดำ� เนนิ การดังกลา่ วมีแนวปฏิบตั ิ ดงั นี้
๒.๑ ก�ำหนดให้มีผู้รับผิดชอบในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของผู้เรียน
ทุกคนตลอดระดบั การศกึ ษา
๒.๒ ผู้รับผดิ ชอบสรุปและตัดสินผลการรว่ มกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นของผ้เู รยี นเปน็ รายบคุ คลตามเกณฑ์
ที่สถานศึกษาก�ำหนด เกณฑ์การจบแต่ละระดับการศึกษาท่ีสถานศึกษาก�ำหนดนั้น ผู้เรียนจะต้องผ่านกิจกรรม
๓ กจิ กรรมสำ� คญั ดังนี้
- กิจกรรมแนะแนว
- กจิ กรรมนกั เรยี น ไดแ้ ก่ กจิ กรรมลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ผบู้ ำ� เพญ็ ประโยชน์ และนกั ศกึ ษา
วิชาทหาร โดยเลือกเพียง ๑ กจิ กรรม และกิจกรรมชุมนุม ชมรม
- กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์
๒.๓ ผู้รับผิดชอบเสนอผลการประเมินต่อคณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนา
ผเู้ รียนเพอ่ื ใหค้ วามเหน็ ชอบ
๒.๔ ผู้รับผิดชอบเสนอผู้บริหารสถานศึกษาพิจารณาเพื่ออนุมัติผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ผ่านเกณฑ์การจบแตล่ ะระดับการศกึ ษา
เกณฑก์ ารตดั สิน
ผเู้ รยี นจะตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ ผลกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นและผา่ นเกณฑต์ ามทสี่ ถานศกึ ษากำ� หนด โดยกำ� หนด
เกณฑใ์ นการประเมินอย่างเหมาะสม ดังน้ี
๑. ก�ำหนดคุณภาพหรือเกณฑ์ในการประเมินผลตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานก�ำหนดไว้
๒ ระดบั คอื ผ่านและไม่ผ่าน
๒. ก�ำหนดประเด็นการประเมินผลให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ในแต่ละกิจกรรม และก�ำหนดเกณฑ์
การผ่านการประเมิน ดงั นี้
๒.๑ เกณฑก์ ารตดั สินผลการประเมนิ รายกจิ กรรม

ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมครบตามเกณฑ์ ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงาน/
ชิน้ งาน/คณุ ลกั ษณะตามเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษาก�ำหนด

81

ไม่ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบตามเกณฑ์ ไม่ผ่านการปฏิบัติกิจกรรม
หรอื มผี ลงาน/ชนิ้ งาน/คณุ ลกั ษณะไม่เปน็ ไปตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากำ� หนด

๒.๒ เกณฑ์การตดั สนิ ผลการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนรายป/ี รายภาค
ผา่ น หมายถงึ ผเู้ รยี นมผี ลการประเมนิ ระดบั “ผา่ น” ในกจิ กรรมสำ� คญั ทง้ั ๓ ลกั ษณะ คอื กจิ กรรม
แนะแนว กจิ กรรมนกั เรยี น และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
ไมผ่ า่ น หมายถงึ ผเู้ รยี นมผี ลการประเมนิ ระดบั “ไมผ่ า่ น” ในกจิ กรรมสำ� คญั กจิ กรรมใดกจิ กรรม
หนึ่งจาก ๓ ลักษณะ คอื กจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมนักเรียน กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์
๒.๓ เกณฑ์การตัดสนิ ผลการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียนเพ่ือจบระดบั การศึกษา
ผา่ น หมายถงึ ผเู้ รียนมผี ลการประเมนิ ระดับ “ผ่าน” ทุกช้นั ปีในระดับการศกึ ษานนั้
ไมผ่ า่ น หมายถึง ผเู้ รยี นมผี ลการประเมินระดับ “ไม่ผ่าน” บางช้นั ปี ในระดับการศกึ ษานัน้

การประเมินผลเพือ่ เลือ่ นชนั้ และรบั เครื่องหมายต่าง ๆ
ตามข้อบงั คับคณะลูกเสือแห่งชาติฯ

การประเมินผลเพ่ือเล่ือนช้ันของลูกเสือ
แต่ละประเภท การสอบเพ่ือรับเครื่องหมายวิชา
พิเศษ ตลอดจนวิธีด�ำเนินการ ให้เป็นไปตามที่
ก�ำหนดไว้ในข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วย
การปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษของลูกเสือ
ประเภทนนั้ ๆ

82

การฝกึ อบรมลูกเสอื

ผกู้ าํ กบั ลกู เสอื เสนอใหผ้ อู้ าํ นวยการ - สอบไดเ้ ครอ่ื งหมายลกู เสอื โลก
ลกู เสอื โรงเรยี นเปน็ ผดู้ าํ เนนิ การ - สอบวชิ าพน้ื ฐาน ๕ วชิ า
บงั คบั วชิ าการเดนิ ทางสาํ รวจ, วชิ าบรกิ าร
เครอ่ื งหมาย - แตง่ ตง้ั กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ เครอ่ื งหมาย และเลอื ก ๓ วชิ า
ลกู เสอื โลก ใหเ้ ปน็ กรรมการสอบ ลกู เสอื ขน้ั พเิ ศษ - ผา่ นการเดนิ ทางไกลและอยคู่ า่ ยพกั แรม
- เมอ่ื สอบแลว้ ใหร้ ายงานเลขาธกิ าร คณะกรรมการดาํ เนนิ งานของกอง
สาํ นกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ ผกู้ าํ กบั ลกู เสอื เสนอให้ และผกู้ าํ กบั เหน็ สมควร
ผอู้ าํ นวยการลกู เสอื จงั หวดั แลว้ แตก่ รณี ผอู้ าํ นวยการลกู เสอื โรงเรยี น - เสนอขออนมุ ตั จิ ากเลขาธกิ าร
“เพอ่ื พจิ ารณาอนมุ ตั ผิ ลการสอบ” สาํ นกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ /
เปน็ ผดู้ าํ เนนิ การ ผอู้ าํ นวยการลกู เสอื จงั หวดั แลว้ แตก่ รณี
แตง่ ตง้ั กรรมการ “เพอ่ื พจิ ารณาอนมุ ตั ”ิ
ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ
ใหเ้ ปน็ กรรมการสอบ

- สอบไดเ้ ครือ่ งหมายลูกเสอื ชัน้ พเิ ศษ เครอ่ื งหมาย ผกู้ าํ กบั ลกู เสอื เสนอโครงการให้
- สอบวชิ าพนื้ ฐานระดบั ลกู เสอื ชั้นพเิ ศษ ๓ วชิ า วชิ าพเิ ศษ ผอู้ าํ นวยการลกู เสอื โรงเรยี นอนมุ ตั ิ
ไม่ซํา้ กบั ๕ วชิ าท่ีผ่านมาแลว้ - แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบวชิ าพเิ ศษ
เครอ่ื งหมาย - สอบวชิ าบริการและวิชาพนื้ ฐาน ๓ วชิ า - ดาํ เนนิ การสอบวชิ าพเิ ศษ
ลกู เสอื หลวง ในระดับลกู เสือหลวง ภาคฏบิ ตั ิ / ภาคทฤษฎี
- ผ่านการฝึกอบรมวิชาการเปน็ ผู้นาํ - เมอ่ื สอบแลว้ ใหร้ ายงาน
ผกู้ าํ กบั ลกู เสอื เสนอให้ - คณะกรรมการดาํ เนนิ งานของกอง เลขาธกิ ารสาํ นกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ
ผอู้ าํ นวยการลกู เสอื โรงเรยี น และผกู้ ํากบั เห็นสมควร หรอื ผอู้ าํ นวยการลกู เสอื จงั หวดั
- เสนอขอรบั การสมั ภาษณไ์ ปท่สี ํานักงาน แลว้ แตก่ รณี
เปน็ ผดู้ าํ เนนิ ลกู เสือแหง่ ชาติ หรือสาํ นักงานลกู เสือจงั หวัด “เพอ่ื พจิ ารณาอนมุ ตั ผิ ลการสอบ”
การแตง่ ตง้ั กรรมการ แล้วแตก่ รณี
- เมื่อผา่ นการสมั ภาษณ์แล้วใหร้ ายงาน
ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ คณะกรรมการบริการลกู เสอื แหง่ ชาติ
ใหเ้ ปน็ กรรมการสอบ พิจารณาอนมุ ัติ
- เสนอผลตอ่ ประธานคณะกรรมการบรหิ าร
ลกู เสอื แหง่ ชาติ ลงนามในประกาศนยี บตั ร

ประเมนิ เพอ่ื เลอ่ื นชน้ั ผกู้ าํ กบั ลกู เสอื เสนอใหผ้ อู้ าํ นวยการ ประเมนิ เพอ่ื รบั - ไดเ้ ครอ่ื งหมายวชิ าพเิ ศษ ๕ วชิ า
รบั เครอ่ื งหมาย ลกู เสอื โรงเรยี นเปน็ ผดู้ าํ เนนิ การ เครอ่ื งหมาย - ผกู้ าํ กบั เหน็ สมควร
ลกู เสอื โลก - แตง่ ตง้ั กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ - ผอู้ าํ นวยการลกู เสอื โรงเรยี นเสนอ
ประเมนิ เพอ่ื รบั ใหเ้ ปน็ กรรมการสอบ วชริ าวธุ ขอรบั สมั ภาษณไ์ ปทส่ี าํ นกั งาน
เครอ่ื งหมาย - เมอ่ื สอบแลว้ ใหร้ ายงานเลขาธกิ าร ลกู เสอื แหง่ ชาตหิ รอื สาํ นกั งานลกู เสอื จงั หวดั
วชิ าพเิ ศษ สาํ นกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ / แลว้ แตก่ รณี
ผอู้ าํ นวยการลกู เสอื จงั หวดั แลว้ แตก่ รณี เมอ่ื ผา่ นการสมั ภาษณแ์ ลว้ ใหร้ ายงาน
“เพอ่ื พจิ ารณาอนมุ ตั ผิ ลการสอบ” คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ
“พจิ ารณาอนมุ ตั ”ิ

83

วิธีการฝกึ อบรมลกู เสอื

“ลกู เสอื ” หมายความว่า เด็กและเยาวชนท้ังชายและหญงิ ท่ีสมัครเขา้ มาเปน็ ลูกเสอื ทั้งในสถานศกึ ษา
และนอกสถานศกึ ษา สว่ นลกู เสอื ทเ่ี ปน็ หญงิ ใหเ้ รยี กวา่ “เนตรนาร”ี (มาตรา ๔ พระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. ๒๕๕๑)
จากค�ำจ�ำกัดความค�ำว่าลูกเสือ ตามมาตรา ๔ พ.ร.บ.ลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ น้ันลูกเสือจึงประกอบด้วยเยาวชนที่
หลากหลายชว่ งอายุ ตา่ งเพศ ตา่ งความตอ้ งการ ตา่ งความสนใจ ตา่ งทกั ษะ จนกระบวนการลกู เสอื ตอ้ งจดั แบง่ รปู แบบ
การฝึกอบรมและกิจกรรมออกเป็น ๔ ประเภท คือ ลูกเสือส�ำรอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ และลูกเสือ
วสิ ามญั เพอ่ื ให้เหมาะสมกบั แต่ละช่วงวัย

วิธกี ารฝกึ อบรมกเ็ ช่นเดียวกนั ควรจะมวี ธิ กี ารฝึกอบรมทีห่ ลากหลายเหมาะสมกับเน้ือหา ตรงกับความสนใจ
และทักษะของลกู เสือประเภทตา่ ง ๆ ส�ำนกั งานลูกเสอื โลกจงึ เสนอวิธกี ารฝกึ อบรมลูกเสอื ออกเปน็ ๑๐ วธิ ี ดังนี้

๑ ๒

การอภิปรายกลุม่ การประชุมกลุ่มยอ่ ย



การสวมบทบาท

๓ ๖ ๘
การแบ่งกลุ่มปฏิบตั งิ าน
การระดมสมอง ๕ ตามโครงการ การสาธิต

การศกึ ษารายกรณี

๔ ๑๐ ๙

การบรรยาย การอภปิ ราย การสอนแบบฐาน
เปน็ คณะ

84

การฝกึ อบรมลูกเสอื

การอภิปรายกลุ่ม (Group Discussion)

เทคนิคการฝึกอบรมน้ีเป็นวิธีการฝึกอบรมอย่างหนึ่งท่ีสมาชิกภายในกลุ่มมีโอกาสทัดเทียมกันในการแสดง
ความคดิ เหน็ ดว้ ยการอภปิ รายโตต้ อบกนั เรอื่ งใดเรอื่ งหนง่ึ ทถ่ี กู กำ� หนดใหเ้ พอื่ แสวงหาขอ้ ยตุ ขิ องเรอื่ งดงั กลา่ วนนั้ อยา่ งไร
ก็ตามการอภปิ รายกล่มุ จะต้องอยใู่ นภายใต้ภาวะของผูน้ ำ� กลมุ่ ดงั นนั้ การอภิปรายกลมุ่ จึงมลี กั ษณะเด่น คอื

- เป็นวธิ ีการทางประชาธปิ ไตย
- การแลกเปล่ียนประสบการณเ์ ดิมของสมาชิกเปน็ แนวทางของการสรา้ งสรรคก์ ารเรยี นรู้ซง่ึ กันและกนั
ยง่ิ ขนึ้
- สถานการณ์ในการอภิปรายกลุ่มเปน็ การเสริมสรา้ งการใช้ความคดิ อย่างรอบคอบทสี่ ุด
วธิ กี ารนจี้ ะสำ� เรจ็ ไดผ้ ลดกี ต็ อ้ งอาศยั ความเขา้ ใจตามหลกั การดงั กลา่ ว ประกอบกบั ความช�ำนาญของผนู้ ำ� กลมุ่
ในการอภิปรายดว้ ย
วธิ ีการ
การอภปิ รายกลมุ่ ประกอบดว้ ย สมาชกิ ของกลมุ่ (ประมาณ ๗ - ๘ คน) และผู้น�ำกลุ่มการอภปิ รายกลมุ่ ท่ี
ถูกต้องไม่ใช่ลักษณะของครูและนักเรียน แต่การอภิปรายกลุ่มท่ีถูกต้องน้ันจะต้องมีปฏิกิริยาตอบโต้ระหว่างสมาชิก
ด้วยกนั
ข้อดีและข้อจ�ำกัด
๑. สมาชกิ ทกุ คนไดร้ บั โอกาสในการอภิปรายเท่าเทียมกัน
๒. เกิดความเขา้ ใจอนั ดีระหวา่ งสมาชิกดว้ ยกนั ในการหาข้อยตุ ิ
๓. เป็นการสรา้ งสรรคค์ วามคดิ จากการแลกเปล่ียนประสบการณซ์ ึง่ กนั และกัน
๔. สมาชกิ เกดิ ทักษะทางแนวความคิดในเรอ่ื งการเป็นผนู้ �ำและผูต้ ามทดี่ ี
๕. ผู้น�ำการอภิปรายเป็นบุคคลส�ำคัญของการอภิปราย ดังนั้น ผู้น�ำควรเป็นผู้เช่ียวชาญและช�ำนาญ
ต่อวธิ ีการนี้จริง ๆ

85

การประชุมกลมุ่ ยอ่ ย (BUZZ GROUP)

เทคนคิ การฝึกอบรมนี้เป็นการจัดกิจกรรมโดยแบง่ ออกเปน็ กลุ่มเล็ก ๆ ๓ - ๖ คน เพ่อื อภิปรายปัญหาในชว่ ง
เวลาอนั จำ� กดั ๒ - ๓ นาที แตล่ ะกลมุ่ อาจพจิ ารณาคนละเรอื่ งหรอื เรอ่ื งเดยี วกนั แตป่ ระเดน็ ไมเ่ หมอื นกนั กไ็ ด้ มลี กั ษณะ
เป็นการประชุมปรึกษาหารือกันอย่างไม่เป็นทางการหรือมีพิธีการมากนัก หัวข้อท่ีจะพิจารณาก็เป็นหัวข้อเล็ก ๆ
หรือปัญหาง่าย ๆ การประชุมกลุ่มย่อยนี้ช่วยให้ผู้เข้ารับฝึกอบรมท่ีไม่ยอมแสดงความคิดเห็นต่อท่ีประชุมใหญ่
ได้มีโอกาสและมีส่วนร่วมในการฝึกอบรมมากขึ้น และการหลอมความคิดจากการประชุมกลุ่มย่อยอีกคร้ังหนึ่ง
เพื่อเป็นความคดิ ของกล่มุ ใหญก่ ็อาจกระทำ� ได้ โดยในขณะด�ำเนินการนั้นเสยี งของการประชมุ จะดังอยูใ่ นหอ้ งประชุม
เหมอื นเสียงกระพอื ปกี ของแมลง จึงเรยี กวธิ ีการนี้ว่า Buzz Group

วิธีการ
๑. แบ่งผู้เข้ารับการฝึกอบรมออกเป็นกลุ่มย่อย ๆ กลุ่มละ ๓ - ๖ คน อาจมีการเลือกประธานและ
เลขานกุ ารเพ่อื ทำ� หนา้ ทตี่ ่อกล่มุ สำ� หรับการประชุมก็ได้
๒. ก่อนแยกกลุ่มไปประชุมกัน ต้องอธิบายให้ชัดแจ้งถึงเร่ืองและวิธีการท่ีกลุ่มจะได้ประชุมกัน
แตล่ ะกลุ่มอาจมอบงานอยา่ งเดียวกัน หรือทแี่ ตกตา่ งกนั ตามหวั ข้อทต่ี อ้ งการได้
๓. ในขณะที่กลมุ่ ยอ่ ยปฏบิ ตั กิ ารอยู่ ตอ้ งคอยจับตาดู ถา้ มีกลุ่มไหนไมเ่ ขา้ ประเดน็ ตา่ ง ๆ ให้เขา้ แนะนำ�
ไดท้ นั ที
๔. เม่ือทุกกลุ่มท�ำงานเสร็จแล้ว อาจจัดให้ร่วมประชุมใหญ่ เพื่อให้มีการอภิปรายซักถาม หรือ
หล่อหลอมความคิดจากกล่มุ ย่อยให้เป็นความคดิ ของกลมุ่ ใหญ่ในกรณที ่เี ป็นเรอ่ื งเดียวกันกไ็ ด้
๕. สรปุ ผลและแนะน�ำเพม่ิ เตมิ
สถานที่
โดยปกติการประชุมกลุ่มย่อยนี้ จะกระท�ำรวมกันอยู่ในห้องประชุมใหญ่ทุกกลุ่ม ไม่มีความจ�ำเป็นต้องแยก
ออกไปแมจ้ ะมเี สยี งรบกวนจากกลมุ่ ขา้ งเคยี งบา้ ง แตก่ ารกระทำ� ในชว่ งเวลาจำ� กดั นี้ กอ็ าจขจดั ตวั แปรอน่ื ทไี่ มเ่ กย่ี วขอ้ ง
กบั การประชมุ ของแตล่ ะกลุ่มได้
ขอ้ ดีและข้อจ�ำกดั
๑. เป็นวิธีการท่ีเปิดโอกาสให้สมาชิกทุกคนได้ประชุมอภิปรายท�ำให้บรรยากาศจะเป็นกันเองและ
การอภปิ รายกจ็ ะไดแ้ นวความคดิ หลายแงห่ ลายประเด็นเชน่ กัน
๒. วิธีการน้ีช่วยให้ประสบผลส�ำเร็จในการพิจารณาปัญหาง่าย ๆ ช่วยขจัดข้อขัดแย้งระหว่างสมาชิก
นอกจากเปน็ การสง่ เสรมิ โอกาสการแสดงความคดิ แลว้ ยงั เปน็ การสง่ เสรมิ สรา้ งสรรคแ์ นวความคดิ ใหม่ ๆ ภายในเวลา
อันจ�ำกดั อีกด้วย
๓. เป็นการส่งเสริมการท�ำงานเปน็ หมู่คณะอกี ประเด็นหนึ่งทีก่ จิ การลูกเสอื ต้องการ
๔. การใหค้ วามรใู้ หม่ ๆ วิธกี ารน้นี นั้ อาจไม่ได้รับผลส�ำเรจ็ เท่าที่ควร

86

การฝกึ อบรมลูกเสอื

การระดมสมอง (BRAINSTORMING)

เทคนิคนี้ เปิดโอกาสให้คนภายในกลุ่มได้เสนอความคิดอย่างเสรี เพ่ือแก้ปัญหาหรือปรับปรุงส่ิงหนึ่ง
สงิ่ ใด กิจกรรมอย่างหน่ึงอย่างใด โดยปราศจากข้อจำ� กัดหรอื กฎเกณฑใ์ ด ๆ ท้งั ส้ิน ไมม่ กี ารอภิปรายหรือประเมินผล
ความคิดเห็นน้ันในระหว่างการเสนอความคิด ซ่ึงอาจจะกระท�ำได้ภายหลังการระดมสมองสิ้นสุดลงเลขานุการ
ต้องบันทึกความคดิ เหน็ ไวท้ ง้ั หมด โดยไมค่ �ำนงึ ถงึ ข้อถกู ผดิ ดี - ไม่ดี เหมาะสม-ไม่เหมาะสม ควร-ไมค่ วร ความคดิ เหน็
ทกุ อยา่ งจะตอ้ งไดร้ บั การยอมรบั จากกลมุ่ ทง้ั สน้ิ และผเู้ ขา้ รว่ มระดมสมองจะตอ้ งไมห่ วั เราะเยาะหรอื เยย้ หยนั ความคดิ
เห็นใด ๆ แมค้ วามคดิ นัน้ จะเปน็ ความคดิ ที่มีลักษณะประหลาดกต็ าม การขัดแยง้ ตอ่ ความคดิ ทถี่ ูกเสนอจะไมเ่ กิดขน้ึ
แต่สามารถท่ีจะขยายเพิ่มเติมโดยคนอื่นได้ และบุคคลท่ีจะเสนอความคิดเห็นเพ่ิมเติมน้ัน จะต้องกล่าวค�ำว่า
“ผมเหน็ ด้วยกบั ความคิดเห็นของคุณ และขอเสรมิ วา่ ” นอกจากน้ี ค�ำถามทใ่ี ชใ้ นการระดมสมอง ไม่ควรเลอื กค�ำถาม
ท่ีต้องการค�ำตอบยาว เพราะเราต้องการความคิดเห็นในส่ิงที่จะท�ำ (What) ส่วนวิธีการที่จะท�ำอย่างไร (How) นั้น
ควรจะไดร้ บั พจิ ารณาภายหลัง

วิธกี าร
๑. เตรยี มสถานทขี่ นาดพอเหมาะกบั จำ� นวนคน จดั ทนี่ งั่ เปน็ รปู วงกลมหรอื วงรกี ไ็ ด้ ใหส้ มาชกิ ทกุ คนเหน็
หน้ากนั
๒. แบ่งกลุ่มสมาชิกมีขนาด ๖ - ๘ คน ให้มีประธานและเลขานุการกลุ่ม ถ้าเห็นว่าเลขานุการกลุ่ม
คนเดียวอาจจดไมท่ ัน กอ็ าจเพมิ่ เลขานกุ ารขึน้ อีกหนง่ึ คนก็ได้
๓. ประธานจะต้องอธิบายให้สมาชิกทราบหัวข้อสาระส�ำคัญ กติกาเง่ือนไขต่าง ๆ และเวลาที่ก�ำหนด
(ไม่ควรเกิน ๑๕ นาที)
๔. เริม่ ดำ� เนนิ การ
- ประธานถามเปน็ รายคนตามล�ำดับอยา่ งตอ่ เนอื่ ง และรวดเรว็
- ทกุ คนตอ้ งตอบเมอื่ ถกู ถาม
  ถา้ มคี ำ� ตอบให้ตอบ
  ถา้ ไมม่ ีค�ำตอบใหก้ ลา่ วค�ำว่า “ผา่ น”
  ถา้ ตอ้ งการเสรมิ คำ� พดู ผอู้ น่ื ใหใ้ ชค้ ำ� วา่ “ผมเหน็ ดว้ ยกบั ความคดิ เหน็ ของคณุ ...และขอเสรมิ วา่ ...”
- ประธานจะถามตอ่ ไปจนครบรอบที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๓ และตอ่ ไป จนสมาชิกบอก “ผ่าน” หมดทุกคน
แสดงวา่ สมาชิกหมดความคดิ เหน็ แลว้
- ประธาน และเลขานุการ อาจจะเพิม่ ความคิดเห็นลงไปในตอนท้ายน้ไี ด้
๕. หลงั จากการระดมสมองจบแลว้ กล่มุ จะใชเ้ วลาอกี ชว่ งหน่งึ ส�ำหรบั พจิ ารณา วิเคราะห์ และประเมนิ
คณุ คา่ ขอ้ เสนอทัง้ หมด โดยวิธรี วบรวมข้อทีใ่ กลเ้ คยี งกัน และอาจเพม่ิ เตมิ ใหส้ มบูรณ์ยง่ิ ขึ้น ตัดขอ้ ที่ไมเ่ หมาะสมท้งิ ไป
๖. สรุปและรบั รองผลของกลุ่ม เพือ่ เสนอหรอื นำ� ไปใช้ต่อไป

87

การประมวลความคดิ
๑. ให้กระทำ� หลังจากการประชุมระดมสมองแล้ว
๒. ควรต้ังกรรมการประมวลผล ๒-๓ คน ทใ่ี กลช้ ิดและเก่ียวข้องกบั เรอ่ื งทีร่ ะดมสมอง (เพื่อพจิ ารณา
ความคิดเป็นราย ๆ ไป)
๓. การประมวลผลอาจจะกระท�ำในเวลาอื่น หรือสถานที่ใดก็ได้ไม่จ�ำเป็นต้องกระท�ำทนั ที
๔. วิธกี ารแรกตอ้ งตัดความคดิ ทค่ี าดวา่ เป็นไปไม่ไดท้ งิ้
๕. จดั รวมเอาความคดิ เห็นท่ีใกลเ้ คยี งกนั เอาไว้ด้วยกนั
๖. ความคดิ เหน็ ทเี่ หลอื จากการกลน่ั กรองแลว้ อาจนำ� ไปใชก้ บั การศกึ ษาในขนั้ ตอ่ ไปได้ ควรเกบ็ ความคดิ
นี้ไว้เพราะความคดิ เห็นทไ่ี ร้ค่าในเวลานีอ้ าจมีคุณค่ายิ่งในโอกาสต่อไป
ข้อดแี ละข้อจำ� กดั
๑. เปน็ การสรา้ งงานในระบบกลมุ่
๒. เปดิ โอกาสสมาชิกยอมรับความคดิ เหน็ ซง่ึ กนั และกนั
๓. ช่วยให้เกิดแนวความคดิ ใหมแ่ ละสรา้ งสรรคแ์ นวทางแก้ไขปญั หาไดด้ ยี ง่ิ ข้นึ
๔. เร้าความสนใจของสมาชิกและไม่สิน้ เปลืองเวลา
๕. ขอ้ เสนอแนะจำ� นวนมาก อาจมีคณุ ค่าน้อย
๖. ถกู จำ� กัดเร่อื งขนาดของกลุ่มและเวลา
๗. ไมส่ ามารถพจิ ารณาปัญหาท่ีกวา้ งมากนกั

88

การฝกึ อบรมลูกเสือ

การบรรยาย (LECTURE)

เทคนิคการฝึกอบรมวิธีการนี้ เป็นวิธีหน่ึงได้รับการนิยมและใช้เป็นอย่างมากเพราะง่ายและครอบคลุม
เรอ่ื งราวไดม้ าก ใชก้ บั คนจำ� นวนมาก ๆ ได้ ประหยดั เวลาเหมาะแกก่ ารใหค้ วามรพู้ น้ื ฐานและการใหข้ อ้ มลู การบรรยาย
จะส่งเสริมและเป็นพื้นฐานให้การฝึกอบรมประสบผลส�ำเร็จ อาจกล่าวได้ว่า ไม่มีการฝึกอบรมใดที่ไม่ใช้การบรรยาย
เป็นพน้ื ฐานของการฝึกอบรม

วิธกี าร
๑. เร่มิ ดว้ ยกล่าวตอ้ นรบั ผฟู้ งั แนะน�ำหวั ขอ้ ท่จี ะบรรยาย
๒. บรรยาย ซ่ึงอาจใช้โสตทศั นูปกรณป์ ระกอบ หรือเปิดโอกาสให้ผเู้ ขา้ รับการอบรม มสี ่วนร่วมพอควร
เช่น การสาธิต เปน็ ตน้
๓. เมอื่ จบการบรรยายอาจเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมซกั ถามหรอื แสดงความคดิ เหน็ (เวลาการ
บรรยาย ไมค่ วรเกิน ๔๕ นาที)
ข้อดแี ละขอ้ จำ� กัด
๑. การบรรยายชว่ ยใหก้ ล่าวเน้ือหาไดม้ ากในระยะเวลาทก่ี ำ� หนด
๒. เน้อื หาวิชาตรงตามวัตถุประสงค์
๓. ผ้เู ข้ารบั การฝึกอบรมทราบหวั ขอ้ การบรรยายล่วงหน้า เป็นการเตรยี มตวั ก่อน
๔. สะดวกต่อการจัดสถานท่ีและสิ่งอำ� นวยความสะดวก
๕. เหมาะกับผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมจำ� นวนมาก ๆ
๖. ผู้บรรยายที่ดีจะต้องมีเทคนิควธิ กี ารน�ำเสนอ และกระตุ้นความสนใจผฟู้ งั
๗. การบรรยายเปน็ สอื่ ทางเดยี ว ซึง่ มีขอ้ จ�ำกัดมากมาย
๘. ถา้ ไมเ่ ปดิ โอกาสใหซ้ กั ถาม จะไมส่ ามารถวดั ไดว้ า่ ผฟู้ งั เขา้ ใจหรอื ซาบซง้ึ ตอ่ เนอื้ หาทบี่ รรยายมากเพยี งไร
๙. ไม่เหมาะกบั เรื่องทม่ี ีขอ้ ขดั แย้งหรือการฝกึ ทกั ษะ แตเ่ ปน็ การเพมิ่ พนู ความรไู้ ดเ้ ป็นอย่างดี

89

การศึกษารายกรณี (CASE STUDY)

เทคนิคการฝึกอบรมน้ีเป็นกลวิธีการฝึกอบรมวิธีหนึ่ง ที่จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดีวิธีหนึ่ง
การศึกษารายกรณีเป็นการศึกษาจากเร่ืองราวท่ีได้จัดท�ำขึ้นไว้ อาจน�ำมาจากเร่ืองจริง ๆ หรือเร่ืองที่แต่งขึ้นอย่างมี
เปา้ หมาย เพ่ือให้ผู้เขา้ รับการฝึกอบรมได้พจิ ารณาวเิ คราะหแ์ ละตดั สนิ ใจ สรุปและเสนอแนวทางการแกป้ ัญหาต่าง ๆ
ภายใตส้ ภาพการณท์ เี่ ปน็ จรงิ มากทสี่ ดุ การศกึ ษารายกรณเี ปน็ กลวธิ ที ด่ี แี ละเหมาะสมสำ� หรบั การใหก้ ารศกึ ษาสำ� หรบั
ผูม้ วี ุฒิภาวะพอสมควร มีจดุ หมาย (Aim) คือ การให้โอกาสแก่สมาชกิ ผู้เข้าการฝกึ อบรมทกุ คนได้ศึกษา แลกเปล่ียน
แนวความคดิ ซงึ่ กนั และกัน นอกจากน้ยี ังช่วยให้เกิดการพฒั นาสตปิ ัญญา ทักษะ และทัศนคติได้เป็นอยา่ งดอี ีกด้วย

วิธีการ
๑. มอบหมายเร่ือง (Case) ให้แก่กลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ศึกษา และต้องระบุให้ชัดเจนด้วยว่า
การศึกษาวเิ คราะห์นั้น ตอ้ งการให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ใด และต้องการผลแคไ่ หน
๒. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะต้องร่วมกันพิจารณาถึงปัญหาท่ีแท้จริงของเรื่อง และอะไรคือสาเหตุของ
ปัญหาน้ันๆ
๓. นำ� เอาสาเหตุต่าง ๆ มาพจิ ารณาเปน็ รายขอ้ แล้วตดั สินใจเลือกปัญหาทแ่ี ท้จริงและแนวทางการแก้
ปัญหานน้ั ๆ ภายใตส้ ภาพการณท์ ี่เปน็ จรงิ ที่สดุ
การศกึ ษาวเิ คราะหเ์ รื่อง (Case) น้ี จะตอ้ งอยภู่ ายใต้ค�ำแนะน�ำและช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา แนะน�ำแนวทาง
ใหส้ มาชกิ ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมในกลมุ่ สามารถวเิ คราะหป์ ญั หาไดต้ รงตามจดุ ประสงค์ และสามารถเขา้ ใจความสมั พนั ธ์
และปฏกิ ิรยิ าขององค์ประกอบ (Factors) ต่าง ๆ ท่มี ีในตามสภาพหรอื เรือ่ งท่ีไดร้ บั มอบหมายให้พจิ ารณา
ขอ้ ดแี ละข้อจ�ำกดั
๑. ชว่ ยใหส้ มาชกิ ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม สามารถฝกึ หดั ตดั สนิ ใจและวเิ คราะหป์ ญั หาตา่ ง ๆ อยา่ งมรี ะบบ
ถกู ต้องแม่นย�ำ ภายใตส้ ภาพการณท์ เ่ี หมาะสม
๒. ก่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และความร่วมมือระหว่างกลุ่มสมาชิกเป็นการสร้างเสริมข้อคิดและ
แนวปฏบิ ตั ติ ลอดจนการวางตนได้อย่างเหมาะสมตามบทบาทหน้าท่แี ละความรบั ผดิ ชอบ
๓. เปิดโอกาสให้สมาชิก ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ซึ่งกันและกันได้อย่างอิสระ
และเขา้ ใจปัญหาได้หลายแง่มมุ ในบรรยากาศท่เี ปน็ กันเอง
ขอ้ ควรค�ำนึง
๑. เรอ่ื งที่นำ� มาให้ศกึ ษา ควรได้รับการพฒั นาให้ทนั สมัยจงึ จะเกดิ ประโยชนเ์ ทา่ ที่ควร
๒. ผใู้ ช้เทคนคิ การฝึกอบรมน้ีตอ้ งเข้าใจกลวิธกี ารศกึ ษารายกรณีอยา่ งแจ่มชดั
๓. เทคนิคการฝึกอบรมน้คี วรใช้เวลาในการศกึ ษาและอภิปรายระหว่าง ๓๐ - ๔๕ นาที
๔. ต้องให้โอกาสสมาชกิ คิดและแสดงความคิดเหน็ อย่างอสิ ระ

90

การฝึกอบรมลกู เสือ

การแบ่งกลุ่มปฏิบตั ิงานตามโครงการ (PROJECT WORK GROUP)

เทคนิคการฝึกอบรมน้ี จัดได้ว่าเป็นวิธีการหนึ่งท่ีช่วยให้การฝึกอบรมบรรลุเป้าหมายและนิยมใช้ในการฝึก
อบรมลูกเสือมาก วิธีการน้ีคล้ายกับการให้แบบฝึกหัดหรือให้งานไปท�ำ แต่เป็นวิธีการท่ีก้าวหน้าและให้คุณค่า
ในด้านความรู้ความเข้าใจและการฝึกทักษะวิชาลูกเสือบางชนิดได้เป็นอย่างดี นอกจากน้ียังเปิดโอกาสให้มีการเสนอ
แนวความคิดสร้างสรรค์ได้อย่างมีเหตุผล สามารถทดลองและปฏิบัติกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายเพื่อเป็นแนวทาง
ในการพฒั นาทกั ษะด้วยวิธีการปฏิบตั อิ กี ทางหน่ึง

วิธีการ
๑. ผู้ใช้เทคนิคนี้จะต้องศึกษาและท�ำความเข้าใจกับกิจกรรมที่จัดให้มีขึ้น พร้อมทั้งเตรียมวัสดุอุปกรณ์
ใหพ้ รอ้ ม
๒. จดั แบง่ สมาชิกเปน็ กลมุ่ ยอ่ ย ๔ - ๘ คน เพื่อท�ำงาน การแบง่ กลุม่ จะตอ้ งคำ� นงึ ถงึ หลกั ความสมดุล
เปน็ เกณฑ์
๓. จดั ท�ำคำ� ชี้แจงและข้นั ตอนการปฏบิ ัตทิ งี่ า่ ยและชัดเจน
๔. เปิดโอกาสให้สมาชกิ ภายในกลมุ่ ปฏิบัติงานได้แบง่ หรือจดั สรรงานเองตามความเหมาะสม
๕. วิทยากรประจำ� หมู่ / ที่ปรกึ ษา ควรตรวจสอบผลการปฏบิ ตั งิ านตลอดระยะเวลา ถ้าเกดิ ปัญหาหรือ
สงสัยตอ้ งชีแ้ จงทันที
ข้อดแี ละข้อจ�ำกดั
๑. ผู้เข้ารับการฝกึ อบรมทุกคนมีส่วนรว่ มในการปฏบิ ัตงิ าน
๒. เกิดการรว่ มมือระหว่างสมาชกิ กล่มุ
๓. เปน็ แนวทางการพฒั นาทางสติปญั ญาและทกั ษะในวิชาลกู เสือ
๔. “ความสำ� เร็จ”เกดิ จากการวางแผนทีด่ แี ละการน�ำไปใชย้ ่อมท�ำให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์
๕. เวลาและแหลง่ วัสดุอปุ กรณ์ ตลอดจนบุคลากรจะตอ้ งมีความพร้อม ทงั้ ปริมาณและคุณภาพ

91

การสวมบทบาท (ROLE PLAY)

เทคนิคการฝึกอบรมน้ีเป็นกลวิธีท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะได้ฝึกการวิเคราะห์และประเมินผลบทบาท
จากการแสดงของสมาชิกท่ีอยู่ในรูปลักษณะของการแสดงออกทางด้านพฤติกรรมในการท�ำงานของมนุษย์ผู้แสดง
จะต้องพยายามแสดงออกทางอารมณท์ กุ ด้าน ตามบทบาทท่ไี ด้รบั มอบหมาย

วธิ ีการ
๑. เลอื กเรอื่ งราวและสถานการณท์ ีม่ คี วามหมายตอ่ ผูเ้ ข้ารบั การฝึกอบรม
๒. เลือกผ้แู สดง (ใชห้ ลักการอาสาสมคั ร)
๓. เตรียมการแสดง (โดยให้เวลาส�ำหรับแสดง ๒ - ๓ นาที) เตรียมอารมณ์ เพ่ือเน้นบทบาทและ
ความรสู้ ึกของตัวละครที่สมมตขิ ึน้ ไม่ใช่อารมณข์ องตนเอง
๔. “แสดง” ต้องให้เกิดความประทับใจในพฤติกรรมของมนุษย์ท่ีเกี่ยวข้องกับบทและสถานการณ์
ขณะท่สี มมุตขิ น้ึ
๕. ด�ำเนินการอภิปรายและซักถาม (เร่ิมจากการซักถามผู้แสดงถึงความรู้สึกและอารมณ์ของตัวละคร
ที่ถูกก�ำหนดข้นึ ในการสวมบทบาท)
๖. ใหโ้ อกาสสมาชกิ ไดอ้ ภปิ ราย ภายใตก้ ารควบคมุ และใหค้ ำ� ปรกึ ษาโดยโยงขอ้ วนิ จิ ฉยั ตา่ งๆ เขา้ กบั งาน
ของเขาเพราะความส�ำเร็จของการสวมบทบาทนน้ั ขึ้นอยกู่ บั อารมณ์ของผแู้ สดงและผ้ดู ู
ข้อดีและขอ้ จำ� กดั
๑. เปิดโอกาสให้สมาชกิ ไดเ้ รยี นรู้และศกึ ษาพฤติกรรมในการทำ� งานของมนษุ ย์
๒. เปน็ การฝกึ ทักษะการแก้ปัญหาจากประสบการณ์ตรง
๓. สมาชกิ ไดม้ ีโอกาสวินิจฉัยบทบาทและอารมณ์ของตัวละครดว้ ยประสบการณ์ของตัวเองได้ถูกตอ้ ง
๔. ถ้าจะให้สมาชิกทุกคนได้มีโอกาสและมีส่วนร่วมในการสวมบทบาทนั้น จะต้องใช้เวลาและเน้ือหา
สาระมากเป็นพิเศษ
ข้อควรคำ� นงึ
การแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) น้ันผู้สวมบทบาทจะต้องแสดงด้วยวิญญาณของบทบาท
ท่ีได้รับมอบหมายโดยเฉพาะเร่ืองของอารมณ์ ไม่ใช่แสดงในอารมณ์ของตนเอง และผู้แสดงต้องคิดเสมอว่า
ตนเป็นผู้แทนของบทละครที่จะให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้เรียนรู้บทบาทและอารมณ์ที่เกิดข้ึนภายใต้สถานการณ์
ทก่ี �ำหนดให้

92

การฝึกอบรมลกู เสอื

การสาธิต (DEMONSTRATION)

เทคนคิ วธิ กี ารนคี้ อื การใหป้ ระสบการณต์ รง โดยแสดงหรอื ทำ� ใหด้ ู การสาธติ ชว่ ยเสรมิ สรา้ งทกั ษะทางลกู เสอื
เปน็ อยา่ งดี และอาจชว่ ยสง่ เสรมิ การสรา้ งทกั ษะในดา้ นอนื่ ไดด้ ว้ ย แตไ่ มเ่ หมาะทจี่ ะใหก้ ารฝกึ อบรมกบั กลมุ่ บคุ คลกลมุ่ ใหญ่

วิธกี าร
๑. การเตรียมการสาธติ
ก. วางแผนใหก้ ารสาธิตเป็นธรรมชาตมิ ากทสี่ ดุ
ข. รวบรวมและตระเตรยี มเคร่อื งมอื เครอื่ งใชท้ ี่จ�ำเปน็ ใหพ้ ร้อม
ค. คำ� นึงถึงทักษะพื้นฐานของผ้เู รยี นและความรู้ทีเ่ ขามอี ยู่
ง. พจิ ารณาวา่ มอี ะไรบ้างท่ีจำ� เปน็ ท่จี ะอธิบายใหท้ ราบถึงการสาธิตน้นั ๆ
จ. ฝกึ ซ้อมการสาธติ ต้ังแต่เริม่ ต้นจนจบ จนแน่ใจวา่ จะแสดงการสาธิตได้อย่างคลอ่ งแคล่ว
ฉ. ถ้าเปน็ การสาธิตทยี่ าวและใช้เวลานาน ควรเขียนเคา้ โครงไว้เป็นข้อ ๆ

๒. การสาธติ
ก. อธบิ ายใหผ้ ู้เรียนฟังโดยยอ่ ชจี้ ุดสำ� คัญท่ีต้องสนใจเป็นพิเศษ
ข. จัดอัตราความเร็วของการสาธิตให้เหมาะสมกับความยากง่ายในการเรียนรู้ตามล�ำดับ ข้ันตอน
และควรเร่มิ ตน้ อย่างช้า ๆ ไปจนจบ
ค. ต้องคอยสังเกตปฏิกิริยาของผู้เรียน และเสริมใส่รายละเอียดเรื่องท่ีจะเรียนและการกระท�ำให้
เหมาะสมกับปฏิกิรยิ านัน้
ง. ถา้ จ�ำเปน็ ควรสาธติ ซ�ำ้ ในข้ันตอนทเ่ี หน็ วา่ ยากหรอื ส�ำคัญ และควรจะปฏิบัตใิ นขณะทกี่ �ำลังสาธิต
อยู่เป็นตอน ๆ ไป หรอื จะทำ� เมอ่ื สาธิตจบเรื่องแล้วก็ได้
จ. ถ้าท่านบอกผู้ชมการสาธิตว่าวิธใี ดผดิ ท่านจะตอ้ งบอกเขาดว้ ยว่าวธิ ใี ดเป็นวิธที ีถ่ กู

๓. สรุปการสาธิต
ก. ทบทวนขนั้ ตอนส�ำคัญต่าง ๆ ตามล�ำดับกอ่ นหลัง
ข. ใหโ้ อกาสผู้เรียนได้ซกั ถาม และไดท้ ดลองปฏิบัตโิ ดยมผี ู้แนะน�ำ
ขอ้ ดีและขอ้ จำ� กัด
๑. ขั้นตอนการทดลองหรือแสดง สามารถยืดหยุ่นได้ ซ่ึงบางขั้นตอนจ�ำเป็นต้องกระท�ำอย่างละเอียด
หรอื ท�ำซ้ำ� อีกครงั้ กไ็ ด้
๒. วิธีการนชี้ ว่ ยใหเ้ กดิ แรงจงู ใจในการฝกึ อบรมไดด้ ี
๓. ผู้นำ� เสนอทีด่ ีจะตอ้ งเตรียมตวั และซอ้ มมาก เวลาสาธติ ต้องกระทำ� อยา่ งระมัดระวัง
๔. เหมาะกับผเู้ ขา้ เรียนกล่มุ เลก็
๕. ตอ้ งมกี ารช้แี จงวตั ถุประสงคแ์ ละจดุ ทส่ี ำ� คญั มิฉะนน้ั ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมอาจเข้าใจผดิ ได้
๖. วธิ นี ้ีเหมาะสมกับกจิ กรรมหรอื เน้ือหาบางอยา่ งเทา่ นั้น ไม่อาจใช้กับทุกเนือ้ หาได้

93

การสอนแบบฐาน (BASE METHOD)

เทคนคิ วธิ กี ารนเ้ี ปน็ วธิ กี ารฝกึ อบรมทนี่ ยิ มใชม้ าก ผสู้ อนตอ้ งมคี วามเขา้ ใจในจดุ หมาย (Aims) ของวธิ กี ารสอน
เป็นอย่างดี วิธีการสอนแบบน้ีจะช่วยให้ลูกเสือเกิดทักษะ และให้ความรู้เป็นส�ำคัญ มากกว่าการเปลี่ยนทัศนคติ
ผสู้ อนตอ้ งพจิ ารณาเนอื้ หาวชิ าวา่ เหมาะสมกบั การใชว้ ธิ สี อนแบบนห้ี รอื ไม่ ดว้ ยเหตวุ า่ วธิ กี ารสอนนจี้ ะตอ้ งใชบ้ คุ ลากร
เพิม่ ข้นึ เนอ้ื หาวิชาตอ้ งสามารถแบ่งออกเป็นแขนงวชิ ายอ่ ย ๆ ได้ และอาจจะตอ้ งใช้วธิ ีการสอนแบบอื่นเขา้ รว่ มดว้ ย

วิธกี าร
๑. จดั แบ่งหัวข้อวชิ า และผรู้ บั ผิดชอบ (วิทยากรประจ�ำฐาน)
๒. จัดฐานและอุปกรณ์ประกอบฐานให้พร้อมและมีคุณภาพดี ลักษณะของฐานควรอยู่ห่างกันพอควร
ไม่รบกวนซงึ่ กนั และกัน
๓. แบง่ ผเู้ ขา้ รบั ฝกึ อบรมเปน็ กลมุ่ เลก็ ๆ เทา่ ๆ กนั จดั วงของฐานใหเ้ ปน็ ระบบ เพอื่ ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มฝกึ อบรม
ไดร้ บั ความรทู้ ุก ๆ ฐาน และเท่าเทียมกนั
๔. อาจจัดให้มีการวัดผลการฝึกอบรมภายในฐานการฝึกอบรม โดยผู้ประจ�ำฐานเป็นผู้ด�ำเนินการหรือ
กระท�ำรว่ มกล่มุ ใหญโ่ ดยผูส้ อนกไ็ ด้
ขอ้ ดแี ละข้อจ�ำกดั
๑. การแบง่ กลุ่มผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมเป็นกลมุ่ เล็ก ๆ ท�ำให้เกดิ ประสบการณ์โดยตรง
๒. ข้อปญั หาและการอภิปรายจะไดบ้ งั เกดิ ผลดเี ทา่ กลมุ่ ใหญ่
๓. ภาระะการฝึกอบรมจะกระจายไปอยา่ งท่ัวถึง
๔. ผู้สอนประจ�ำฐานได้รับมอบงานอย่างจ�ำกัด ท�ำให้สามารถจัดและกระท�ำงานที่ได้รับมอบหมาย
ไดส้ มบรู ณย์ ิ่งขน้ึ
๕. ผูส้ อนและผ้เู รยี นมโี อกาสที่จะไดศ้ กึ ษารว่ มกนั และช่วยการเรียนรเู้ ป็นรายบุคคล
๖. เนื้อหาวิชาบางวิชาอาจไม่เหมาะสมกับการใช้วิธีสอนแบบน้ี ผู้สอนประจ�ำฐานจะต้องเตรียมตัว
เตรยี มงานเปน็ อย่างดี

94

การฝกึ อบรมลูกเสอื

การอภิปรายเป็นคณะ (PANEL METHOD)

เทคนคิ วธิ กี ารน้ี คอื การนำ� เสนอบทเรยี นโดยกลมุ่ ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ ม่ี จี ำ� นวนตง้ั แต่ ๓ - ๑๐ คน ในหวั ขอ้ ทกี่ ำ� หนด
โดยผู้ท่ีทรงคุณวุฒิทุกคนจะเสนอให้ความรู้ ข้อเท็จจริง และแนวความคิดเห็น ตามทรรศนะของตน แก่ผู้ฟัง
หรืออาจใช้กลวิธีน้ีในการเสนอความคิดเพ่ือวิเคราะห์ปัญหา เพื่อพิจารณาข้อดีข้อเสียทางปฏิบัติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
กอ็ าจเป็นไปได้

วธิ กี าร แบ่งไดเ้ ปน็ ๓ ลกั ษณะดว้ ยกนั คอื
๑. การอภปิ รายโดยกลุ่มผ้ทู รงคณุ วุฒฝิ ่ายเดียวกนั (A Panel Presentation)
๒. การอภิปรายโดยกล่มุ ผู้ทรงคุณวุฒิถามและโต้ตอบกนั (A Panel Discussion)
๓. การอภปิ รายโดยกลมุ่ ผทู้ รงคณุ วฒุ แิ ละผฟู้ งั รว่ มซกั ถามและแสดงความคดิ เหน็ ดว้ ย (A Panel Forum)
การอภิปรายโดยกลมุ่ ผทู้ รงคุณวุฒิ (A Panel Presentation)
คอื การทีผ่ ู้ทรงคุณวฒุ ิ ๓ - ๕ คน ซง่ึ เปน็ ผู้ช�ำนาญการในแต่ละสาขาวิชากบั ประธาน (Chairman) ของกลุม่
และท�ำหน้าทเ่ี ปน็ พธิ กี ร (Moderator) ในโอกาสเดยี วกนั เรม่ิ จากการแนะน�ำผทู้ รงคณุ วุฒิทีละคนอย่างย่อ ๆ พร้อม
ทง้ั จดั กำ� หนดเวลาพดู และเสนอแนวความรขู้ องผูท้ รงคุณวุฒดิ ว้ ย
ลักษณะการพูดหรือเสนอผลงานจะอยู่ในรูปของการส่ือสารทางเดียว ผู้ฟังไม่มีโอกาสที่จะได้แสดง
ความคดิ เห็นของตนเมื่อมคี วามตอ้ งการโต้แยง้ หรือคบั ขอ้ งใจ ถา้ ไมไ่ ดร้ บั อนุญาตหรอื เปดิ โอกาสให้ถาม
การอภิปรายโดยกลุ่มผทู้ รงคุณวฒุ ิถามและโตต้ อบกัน (A Panel Discussion)
คือการเสนอความรู้และความคิดเห็นแก่ผู้ฟังในลักษณะเช่นเดียวกับวิธีการแรก แต่แตกต่างตรงที่ประธาน
ของกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒินั้นจะเปิดโอกาสให้กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิมีการซักถามและโต้แย้งระหว่างกัน (Discussion)
ท�ำให้เกิดความรู้และแนวคิดแก่ผู้ฟังหรือผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้กว้างขวางเพิ่มข้ึน อย่างไรก็ตาม ผู้ฟังหรือผู้เข้ารับ
การฝกึ อบรม กย็ ังไม่ไดร้ บั โอกาสโตแ้ ย้งหรือ ขจดั ขอ้ สงสยั เมอ่ื ตอ้ งการถาม
การอภิปรายโดยกลมุ่ ผทู้ รงคณุ วุฒิกบั ผู้เขา้ รับการฝึกอบรม (A Panel Forum)
คอื ลกั ษณะการจัดการอภิปรายโดยกลุม่ ผู้ทรงคณุ วุฒิ แบบท่ี ๑ หรือแบบท่ี ๒ เช่นกัน ส�ำหรับรูปลกั ษณะ
ในหัวข้อที่ให้นั้น จะเปิดโอกาสให้แก่ผู้ฟังได้ร่วมเสนอแนวคิดหรืออภิปรายร่วมกับกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นคณะหรือ
รายบุคคลดว้ ย
ข้อดแี ละขอ้ จ�ำกัด
๑. ผู้เขา้ รับการฝกึ อบรมจะไดร้ บั ความรูจ้ ากผ้ทู รงคุณวุฒหิ ลาย ๆ ดา้ นในเวลาเดียวกัน
๒. วธิ ีนเี้ หมาะท่ีจะใชก้ บั กลุ่มผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมจ�ำนวนมาก ๆ ได้

95

การพฒั นาบุคลากร
ทางการลกู เสือ

การพฒั นาบุคลากรทางการลูกเสอื

นับต้ังแต่กิจการลูกเสือก่อตั้งมาในประเทศไทย ถึง ๑๐๙ ปี มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนากิจการลูกเสือ
ตลอดมา โดยยึดแนวทางขององค์กรลูกเสือโลกในการด�ำเนินงาน กิจการลูกเสือได้ถูกบรรจุเข้าไปในหลักสูตร
สถานศึกษา เพื่อให้เด็กและเยาวชนเกิดการเรียนรู้และมีทักษะด้านกิจกรรมลูกเสือ มีการพัฒนาบุคลากรทางการ
ลกู เสอื โดยเขา้ รบั การฝกึ อบรมเปน็ ผกู้ ำ� กบั ลกู เสอื แตล่ ะประเภท เพอื่ นำ� ไปถา่ ยทอดใหก้ บั เยาวชนตอ่ ไป ทง้ั ยงั สง่ เสรมิ
ใหบ้ คุ คลท่ัวไปทม่ี คี วามสนใจในกจิ การลกู เสอื ไดเ้ ข้ารับการฝกึ อบรมกิจกรรมลูกเสอื ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ มที ักษะ
และเจตคติ ทด่ี ตี ่อขบวนการลูกเสือ เพ่อื ให้ส่งเสริม สนบั สนุน กจิ การลกู เสือให้พฒั นาย่งิ ขึน้

สำ� นกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ เปน็ สำ� นกั งานทจี่ ดั ตง้ั ขน้ึ ตามมาตรา ๑๘ แหง่ พระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. ๒๕๕๑
เป็นหน่วยงานของรัฐท่ีไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ มีฐานะเป็นนิติบุคคลและอยู่ในก�ำกับของกระทรวง
ศึกษาธกิ าร มหี นา้ ที่ประการหนึง่ คือ การควบคมุ ดแู ลกจิ การลูกเสือ ให้เปน็ ไปตามกฎหมาย ขอ้ บงั คับ และระเบียบ
ของทางราชการและคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแห่งชาติ รวมทั้งเปน็ ไปตามแบบธรรมเนยี มของลกู เสอื (มาตรา ๒๐
ขอ้ ๔)

ปัจจบุ ันการด�ำเนนิ การฝกึ อบรมบุคลากรทางการลูกเสือ มีการจดั อย่างตอ่ เนอื่ ง มกี ารกระจายการฝึกอบรม
ไปทั่วประเทศ ท�ำใหก้ จิ การลูกเสอื ไดร้ บั ความนยิ มมากขึ้น อย่างไรกต็ ามส�ำนักงานลกู เสือแห่งชาติ ซ่ึงเปน็ หน่วยงาน
หลกั ทมี่ หี นา้ ทใี่ นการก�ำกบั ควบคมุ ดแู ล การฝกึ อบรมใหม้ มี าตรฐานและคณุ ภาพโดยยดึ ขอ้ บงั คบั ระเบยี บ แนวปฏบิ ตั ิ
และแบบธรรมเนียมการฝึกอบรมไว้เป็นบรรทัดฐาน ในการนี้ส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติจึงขอช้ีแจงประเด็นของ
การพัฒนาบคุ ลากรทางการลูกเสือ ทีม่ กี ารปรบั ปรงุ เปลยี่ นแปลง ให้ผู้ท่สี นใจไดท้ ราบอีกครง้ั หน่ึง

๑. การดำ� เนนิ การฝกึ อบรมบคุ ลากรทางการลกู เสอื ในปจั จบุ นั ไดถ้ อื ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บคณะกรรมการบรหิ าร
ลกู เสอื แหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยการฝกึ อบรมบคุ ลากรทางการลกู เสอื พ.ศ. ๒๕๕๖ และเพอ่ื ความชดั เจนของระเบยี บน้ี สำ� นกั งาน
ลูกเสือแห่งชาติ จึงได้ออกแนวทางปฏิบัติ ในการด�ำเนินงานการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ ตามระเบียบ
คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ เพอื่ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั การฝกึ อบรม ทงั้ การฝกึ อบรมผกู้ ำ� กบั ลกู เสอื และ
การฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ โดยมีรายละเอียดแต่ละข้ันตอนเริ่มต้ังแต่คุณสมบัติของผู้เข้ารับการฝึกอบรม
หลกั ฐานการสมคั รคณะผใู้ หก้ ารฝกึ อบรม รวมทง้ั วธิ กี ารขออนมุ ตั เิ ครอ่ื งหมายวดู แบดจ์ ดงั แผนภมู ิ

97

การฝึกอบรมบุคลากรทางการลกู เสือ

ขน้ั ความรทู้ ว่ั ไป ผกู้ าํ กบั ลกู เสอื ขนั้ ความรชู้ นั้ สงู บคุ ลากรทางการลกู เสอื การฝกึ อบรมบคุ ลากร การฝกึ อบรมบคุ ลากร
- อายุ ๑๘ ปี คณุ สมบตั ิ ระดบั ผนู้ �ำ ทางการลกู เสอื ทางการลกู เสอื ขน้ั หวั หนา้
- ใบสมคั ร - ใบสมคั ร คณุ สมบตั ิ ขน้ั ผชู้ ว่ ยหวั หนา้ ผใู้ หก้ ารฝกึ อบรมผกู้ าํ กบั ลกู เสอื
- สาํ เนาบตั รประจาํ ตวั - วฒุ บิ ตั รขนั้ ความรทู้ วั่ ไป - อายุ ๒๕ ปขี นึ้ ไป ผใู้ หก้ ารฝกึ อบรมผกู้ าํ กบั ลกู เสอื คณุ สมบตั ิ
ประชาชน และเบอ้ื งตน้ และใบสมคั ร คณุ สมบตั ิ - อายุ ๓๕ ปขี นึ้ ไป และใบสมคั ร
- ฝกึ อบรม ๑ วนั - ลส. ๑๓ - สาํ เนาบตั รประจาํ ตวั - อายุ ๓๐ ปขี น้ึ ไป และใบสมคั ร - สาํ เนาบตั รประจาํ ตวั ประชาชน
ผกู้ าํ กบั ลกู เสอื - หนงั สอื รบั รองการฝกึ งาน ประชาชน - สาํ เนาบตั รประจาํ ตวั ประชาชน - หนงั สอื สาํ คญั /คาํ สง่ั แตง่ ตง้ั
ขน้ั ความรเู้ บอ้ื งตน้ (อยา่ งตำ�่ ๔ เดอื น) - ฝกึ อบรม ๕ - ๖ วนั - หนงั สอื สาํ คญั / คาํ สง่ั แตง่ ตงั้ ใหม้ คี ณุ วฒุ ิ วดู แบดจ์ ๓ ทอ่ น
- ใบสมคั ร - ฝกึ อบรม ๗ วนั การแตง่ ตง้ั ใหม้ คี ณุ วฒุ ิ วดู แบดจส์ องทอ่ น - หนงั สอื รบั รองการฝกึ งาน
- วฒุ บิ ตั รขน้ั ความรทู้ วั่ ไป การแตง่ ตง้ั - โดยการตอบเอกสาร (ไมน่ อ้ ยกวา่ ๒ ป)ี - ผอ.ฝกึ ๒ ครงั้ วทิ ยากร ๒ ครง้ั
- ฝกึ อบรม ๓ วนั - ผา่ นขนั้ ท่ี ๕ ขน้ั ปฏบิ ตั กิ าร การศกึ ษาเพม่ิ เตมิ - หนงั สอื รบั รองผลการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ - ได้ A.L.T. ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑ ปี
และประเมนิ ผลอยา่ งนอ้ ย และสมั ภาษณ์ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๓ ครงั้ - ฝกึ อบรม ๗ วนั
๔ เดอื น ไมเ่ กนิ ๒ ปี หลงั จากผา่ นการฝกึ อบรม - ฝกึ อบรม ๗ วนั การแตง่ ตงั้
- นาํ ผลเสนอ สลช. อยา่ งนอ้ ย ๔ เดอื น การแตง่ ตงั้ - ผา่ น L.T.C. ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑ ปี
ไมเ่ กนิ ๒ ปี - ผา่ น A.L.T.C. ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑ ปี - เปน็ ผอ.ฝกึ B.T.C. ๒ ครงั้
- นาํ ผลเสนอ สลช. - เปน็ วทิ ยากร B.T.C./A.T.C/ หรอื เปน็ ผอ.ฝกึ B.T.C ๑ ครงั้
A.L.T.C ๖ ครงั้ หรอื เปน็ วทิ ยากร และเปน็ เจา้ ของโครงการ
B.T.C. /A.L.T.C ๓ ครงั้ และ ฝกึ อบรมลกู เสอื ๑ ครงั้
ฝกึ อบรมลกู เสอื ในกอง ๓ ครงั้ - เปน็ วทิ ยากร A.T.C./
A.L.T.C. ๔ ครง้ั

๒. ระเบียบคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือระดับผู้น�ำ
ได้มีการปรบั ปรงุ แก้ไข มสี าระส�ำคัญดังแผนภูมิ

ระเบยี บคณะกรรมการบริหารลกู เสอื แหง่ ชาตวิ า่ ด้วยการฝกึ อบรมบคุ ลากรทางการลกู เสือระดบั ผู้นาํ พ.ศ. ๒๕๖๓

มี ๒ หลกั สตู ร ผอู้ าํ นวยการฝกึ อบรม การลงนามในวฒุ บิ ตั ร การขอมตี าํ แหนง่ ทางลกู เสอื
๑. หลักสูตร ๕ วนั ไดแ้ ก่ ผูม้ คี ุณวุฒิ L.T. การลงนามในวฒุ บิ ตั รผทู้ ผ่ี า่ น ให้ผรู้ บั ผิดชอบในการดําเนนิ งาน
เปน็ หลกั สตู รใชพ้ ัฒนาบคุ ลากร และมีประสบการณเ์ ปน็ การฝกึ อบรม จัดการฝกึ อบรมเป็นผู้แต่งตั้งใหม้ ี
ที่เปน็ สว่ นหนึ่งของหลักสตู ร คณะผู้ให้การฝกึ อบรมบุคลากร สว่ นกลาง ผอู้ าํ นวยการสาํ นกั ตาํ แหนง่ ทางลกู เสือ
การฝึกอบรม ทางการลกู เสือระดบั ผนู้ าํ เลขาธกิ ารสาํ นกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ
อาทิ วทิ ยาลยั ปอ้ งกัน มาแล้วไมน่ อ้ ยกวา่ ๒ ครงั้ หรอื ร่วมกบั ผอู้ ํานวยการฝึกอบรม
ราชอาณาจักร สถาบนั เคยเป็นผอู้ ํานวยการฝกึ อบรม สว่ นภมู ภิ าค ผูอ้ าํ นวยการลกู เสอื
ดํารงราชานุภาพ เปน็ ตน้ ผู้กํากับลูกเสือข้ันความรชู้ น้ั สงู จังหวัด รว่ มกบั ผู้อาํ นวยการ
๒. หลกั สูตร ๖ วนั เปน็ หลักสตู ร มาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๒ คร้ัง ฝกึ อบรม
ทใ่ี ช้สาํ หรับการพัฒนา
ผบู้ รหิ ารการศกึ ษา
ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
และบคุ คลท่วั ไป

๓. ส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ได้ทราบปัญหาในการแต่งตั้งกลุ่ม กองลูกเสือในสถานศึกษา เน่ืองด้วยใน
ข้อบงั คบั คณะกรรมการลกู เสือแหง่ ชาติ ว่าดว้ ยการแต่งต้งั ผบู้ งั คับบัญชาลกู เสือ พ.ศ. ๒๕๕๓ ขอ้ ๕ ไดก้ �ำหนดคุณวุฒิ
ทางการลูกเสอื ในตำ� แหน่งผอู้ �ำนวยการลกู เสอื โรงเรียน รองผอู้ ำ� นวยการลกู เสือโรงเรียน ผ้กู ำ� กบั กลุ่ม รองผ้กู ำ� กับกล่มุ
ลกู เสอื และผกู้ ำ� กบั กองลกู เสอื ตอ้ งไดร้ บั เครอ่ื งหมายวดู แบดจ์ แตเ่ นอ่ื งจากในปจั จบุ นั ในสถานศกึ ษาไมม่ ผี ทู้ ม่ี วี ฒุ ทิ าง

98


Click to View FlipBook Version