The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by amnatnfeacr, 2021-11-09 03:04:03

manualEdContineu59_merged

manualEdContineu59_merged

| ค่มู ือการจดั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 60



| ค่มู ือการจดั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 60

| ค่มู ือการจดั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 61

| ค่มู ือการจดั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 62

คู่มอื การจดั การศึกษาตอ่ เนื่อง หน้า

(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) ๑

คานา ๑

ตอนท่ี ๑ บทนา ๒
หลักการและเหตุผล ๒
หลักการ ๒
วตั ถุประสงค์ ๓
กลมุ่ เป้าหมาย ๓
เป้าหมาย ๓
รูปแบบการจัด ๓
ลักษณะการจดั ๔
การจดั การศึกษาต่อเน่ืองตามวงจรควบคุมคุณภาพของเดม่ิง ๔
ข้ันตอนการวางแผน (Plan) ๕
ข้นั ตอนการปฏิบตั ิตามแผน (Do) ๕
ขั้นตอนการตรวจสอบการปฏิบตั ิตามแผน(Check) ๖
ขนั้ ตอนการปรบั ปรงุ แก้ไข (Act) ๘

ตอนที่ ๒ การดาเนนิ งานการจดั การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง ๙
กรอบแนวคิดการจัดการศึกษาต่อเนื่อง ๙
แนวทางการจดั กิจกรรมการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง ๑๐
๑. การจดั การศึกษาเพ่อื พฒั นาอาชพี ๑๒
๒. การจดั การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาทกั ษะชีวิต
๓. การจดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาสังคมและชุมชม
ข้ันตอนการจดั การศกึ ษาต่อเน่ือง
วธิ ดี าเนินงาน
ขัน้ เตรยี มการ
ขัน้ ดาเนินการ
ข้นั สรปุ นเิ ทศตดิ ตาม และรายงานผล

| ค่มู อื การจดั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 63

-ข- ๑๔
๑๔
ตอนที่ ๓ การนเิ ทศ ตดิ ตาม และรายงาน ๑๔
การนเิ ทศ ติดตาม ๑๔
กระบวนการนเิ ทศติดตามผลการจดั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง ๑๕
ขัน้ ตอนการวางแผนการนิเทศตดิ ตามผล (P) ๑๕
ขั้นตอนการดาเนนิ การนิเทศตดิ ตาม (D) ๑๖
ขน้ั ตอนการประเมินผลการนิเทศตดิ ตาม (C) ๑๖
การรายงานผลการนิเทศติดตามการจดั การศกึ ษาต่อเนอื่ ง ๑๗
ขัน้ ตอนการปรบั ปรุงและพัฒนา (A) ๑๘
๑๘
ภาคผนวก เอกสาร แบบฟอร์มทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการจัดการศึกษาต่อเนื่อง ๑๙
แบบการขอดาเนินการจดั การเรยี นรูก้ ารศึกษาต่อเนื่อง ๒๐
แบบ กน. ๑ ตวั อยา่ ง ใบสมัครผู้เรียนหลักสูตรการจดั การศึกษาตอ่ เน่ือง ๒๑
แบบ กน. ๒ ตัวอย่าง บนั ทกึ ขออนญุ าตจดั ต้ังกลมุ่ และเปดิ สอนการศึกษาต่อเน่ือง ๒๒
แบบ กน. ๓ ตัวอยา่ ง ใบสมัครวทิ ยากรการจดั การศึกษาต่อเนอ่ื ง ๒๓
แบบ กน. ๔ ตวั อย่าง ทะเบียนผเู้ รียนการจดั การศึกษาตอ่ เน่ือง ๒๔
แบบ กน. ๕ ตัวอยา่ ง คาส่ังแตง่ ต้งั วิทยากร ๒๖
แบบ กน. ๖ ตวั อย่าง แผนท่ี สถานทจี่ ดั กิจกรรมการจัดการศึกษาต่อเนื่อง ๒๗
แบบ กน. ๗ ตวั อยา่ ง แบบเขียนหลักสตู รการศึกษาต่อเนื่อง ๒๘
แบบ กน. ๘ ตวั อย่าง หนงั สือแจ้งขอเปดิ สอนการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง ๒๙
แบบ กน. ๙ ตัวอย่าง บญั ชลี งเวลาเรียนการจดั การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง ๓๐
แบบ กน.๑๐ ตัวอย่าง แบบประเมนิ ผลการจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ๓๒
กรอบการประเมนิ ผลการจดั การศึกษาตอ่ เน่ือง ๓๓
แบบ กน.๑๑ ตัวอย่าง แบบรายงานผลการจบหลักสูตรการจัดการศึกษาต่อเน่ือง ๓๔
แบบ กน.๑๒ ตัวอย่าง ใบสาคัญผู้ผ่านการเรียน ๓๔
แบบ กน.๑๓ ตวั อย่าง แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของผเู้ รยี นตอ่ การเรียนรู้ ๓๔
รายละเอียดการขอเบิกเงินค่าตอบแทนวิทยากรและรายงานผลการจดั กจิ กรรม ๓๕
- การขอเบกิ เงนิ ค่าตอบแทนวิทยากร ๓๖
แบบ กน.๑๔ ตัวอย่าง หนังสอื ราชการขออนุมัติเบิกจา่ ยเงินในระบบ GFMIS
แบบ กน.๑๕ ตัวอยา่ ง บนั ทกึ ขอ้ ความขออนุมัตเิ บกิ เงนิ งบประมาณ
แบบ กน.๑๖ ตัวอย่าง สรุปงบหนา้ การเบกิ เงิน

| คูม่ ือการจดั การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 64

-ค- ๓๗
๓๘
แบบ กน.๑๗ ตัวอย่าง บัญชลี งเวลาของวทิ ยากร ๓๙
แบบ กน.๑๘ ตัวอยา่ ง ใบสาคัญรับเงนิ ๔๐
แบบ กน.๑๙ ตัวอยา่ ง แบบขอรับเงินผ่านธนาคาร ๔๐
- การนิเทศติดตาม และรายงานผลการจัดการศกึ ษาต่อเน่อื ง ๔๔
แบบ กน.๒๐ ตัวอยา่ ง เครอ่ื งมอื นเิ ทศติดตามการจดั การศึกษาต่อเนือ่ ง ๔๕
แบบ กน.๒๑ ตัวอย่าง แบบติดตามผ้เู รียนหลังจบหลักสตู รการศึกษาต่อเน่อื ง ๔๕
ระเบียบท่ีเกย่ี วขอ้ ง ๔๙
- ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการ วา่ ด้วยการจดั การศึกษาตอ่ เนือ่ ง พ.ศ.๒๕๕๔
- หนังสอื กรมบัญชกี ลาง ท่ี กค ๐๔๐๖.๖/๓๕๔๗๘ ลงวันท่ี ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ๕๑
เรื่อง การเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนหลักสูตรระยะส้ัน
- หนงั สอื สานกั งาน กศน. ที่ ศธ ๐๒๑๐.๑๑๗/๑๒๕๕ ลงวันท่ี ๓๐ มนี าคม ๒๕๕๕ ๕๓
เรื่อง การเบิกเงนิ เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศึกษานอกโรงเรยี นหลักสตู รระยะสน้ั
- หนงั สอื สานักงาน กศน. ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๐๔/๑๘๙๙ ลงวนั ที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ๕๖
เรื่องหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายค่าวสั ดฝุ ึกตามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร วา่ ดว้ ย ๕๗
การจัดการศึกษาต่อเนื่อง พ.ศ.๒๕๕๔

บรรณานุกรม
คณะทางาน

| คมู่ ือการจดั การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 65

ตอนท่ี ๑
บทนา

หลักการและเหตุผล
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (แก้ไขเพิ่มเติมพุทธศักราช 2545)

และพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดจุดมุ่งหมาย
สาคัญในการพัฒนาคนไทยให้ได้รับการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ปัจจุบัน
และอนาคต ทั้งด้านประชากร การเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อม รวมท้ัง
การเช่ือมโยงสังคมเศรษฐกิจภูมิภาคเอเชีย ระดับภูมิภาค และระดับโลก จึงจาเป็นที่จะต้องจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนได้รับการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลก ทั้งด้านการพัฒนาอาชีพ
การพัฒนาทักษะชีวิต และการพัฒนาสังคมและชุมชน ซึ่งจาเป็นต้องใช้วิธีการและรูปแบบท่ีหลากหลาย ตามความ
ต้องการและความสนใจของประชาชนทุกกลุ่มวัย โดยเน้นกระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ตามหลัก
ปรชั ญาคิดเปน็ และหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาต่อเน่ือง
พุทธศักราช 2554 ประกาศ ณ วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ.2554 โดยสานักงาน กศน.ได้กาหนดนโยบายด้านการจัด
การศึกษาตอ่ เน่อื ง ดงั น้ี

หลักการ
1. มุ่งเน้นให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาไปใช้ในการประกอบอาชีพ พัฒนาอาชีพ พัฒนา

ทักษะชวี ติ และพัฒนาสงั คมและชมุ ชน เพื่อให้สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมคี วามสุข
๒. พัฒนาหลักสูตรที่ยึดหลักความสอดคล้องกับความต้องการและความจาเป็นของกลุ่มเป้าหมาย เป็นไปตามสภาพ

บริบทชุมชนและสังคม รวมถงึ นโยบายของทางราชการ
๓. จัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยยึดหลักความสอดคล้องกับศักยภาพและความพร้อมของ

ผู้เรียน ความหลากหลายตามความแตกต่างของกลุ่มเป้าหมาย รวมท้ังบูรณาการปรัชญาคิดเป็น และหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงไดต้ ามความเหมาะสม

๔. ยึดหลกั การมสี ว่ นร่วมของภาคเี ครือขา่ ยและภูมปิ ัญญาในการดาเนนิ งาน

วตั ถุประสงค์
๑. สง่ เสรมิ ให้กลุ่มเปา้ หมายได้เรียนรเู้ ก่ียวกบั การศึกษาเพื่อการพฒั นาอาชีพ พัฒนาทักษะชวี ติ และพัฒนาสังคม

และชมุ ชน
๒. ให้กลุ่มเป้าหมายได้เหน็ ช่องทางการประกอบอาชีพหรือการต่อยอดอาชีพเดิมให้พัฒนา สามารถพง่ึ พา

ตนเองได้
๓. ให้กลุ่มเปา้ หมายดารงชวี ิตอยู่ในสังคมอยา่ งมีความสุข สอดคล้องตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กลมุ่ เป้าหมาย ประชาชนทว่ั ไป

| คู่มอื การจัดการศึกษาต่อเนอ่ื ง (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 1

เป้าหมาย
การจัดการศึกษาตอ่ เนื่อง มเี ปา้ หมายเพื่อใหป้ ระชาชนไดพ้ ัฒนาความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบ

อาชพี มกี ารใช้ความร้จู ากภมู ปิ ญั ญาและเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสม มีทักษะชวี ติ ที่จาเป็นสาหรับการดารงชวี ติ ในสังคมปัจจุบัน
รวมท้ังมุ่งใช้กระบวนการศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาสังคมและชุมชนให้พึ่งตนเองได้ ตามหลักปรัชญาคิดเป็น
และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รปู แบบการจัด
การจัดการศึกษาต่อเน่ือง ประกอบไปด้วยกิจกรรม การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนา

ทักษะชวี ิต และการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาสังคมและชมุ ชน โดยมวี ิธีการจดั ๒ รูปแบบ คือ
๑. รปู แบบกลุ่มสนใจ เปน็ การจัดการศกึ ษาหลักสูตรไมเ่ กนิ ๓๐ ช่ัวโมง
โดยมีผู้เรยี นจานวนกลมุ่ ละ ๖ คนขึ้นไป
๒. รปู แบบชนั้ เรียนวชิ าชพี เปน็ การจัดการศึกษาหลกั สูตร ๓๑ ชั่วโมงข้นึ ไป
โดยมีผูเ้ รยี นจานวนกลมุ่ ละ ๑๑ คนขน้ึ ไป แบง่ เป็น ๒ ลกั ษณะ คือ
๒.๑ ช้ันเรียนระยะสั้น เป็นการจดั หลักสตู รตัง้ แต่ ๓๑ - ๑๐๐ ชวั่ โมง
๒.๒ ช้นั เรียนระยะยาว เป็นการจัดหลกั สูตร ๑๐๐ ชัว่ โมงขนึ้ ไป

ลกั ษณะการจัด
การจดั การศึกษาตอ่ เนื่อง สถานศกึ ษาสามารถจัดได้ ๓ ลักษณะ ดังน้ี
๑. สถานศึกษา กศน. เป็นผูจ้ ัด
๒. สถานศึกษา กศน. ร่วมจัดกับภาคีเครือข่าย โดยให้สถานศึกษา ประสานการดาเนินงานร่วมกับ

ภาคีเครอื ข่าย
๓. ภาคีเครือข่าย เป็นผู้จัด สถานศึกษา กศน. ส่งเสริมสนับสนุนให้เครือข่ายเป็นผู้จัด โดยมีการ

จดั ทาขอ้ ตกลงรว่ มกนั

การจดั การศกึ ษาต่อเนื่องตามวงจรควบคุมคุณภาพของเดมิง่
การจัดการศึกษาต่อเน่ือง เป็นกระบวนการทางานร่วมกันของบุคลากรในสถานศึกษา เพ่ือร่วมกันพัฒนาผู้เรียน

ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องเตรียมการด้านกระบวนการอย่างเป็นระบบ โดยใช้ระบบบริหารงานตามวงจรควบคุมคุณภาพ
ของเดมิ่ง (Deming Cycle : PDCA) ซ่ึงเป็นระบบการบริหารงานท่ีมีคุณภาพสูง ประกอบด้วย ขั้นตอนการวางแผน (Plan)
การปฏบิ ัตติ ามแผน (Do) การตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน (Check) และการปรับปรงุ แกไ้ ข (Act)

| คมู่ อื การจัดการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 2

ข้ันตอนการวางแผน (Plan)
๑. สถานศึกษาเตรียมความพร้อมโดยกาหนดบุคลากรท่ีรับผิดชอบงานการศึกษาต่อเนื่อง กาหนดเป้าหมาย

หรอื วตั ถุประสงคก์ ารดาเนินงาน กาหนดระยะเวลาและงบประมาณทีใ่ ชใ้ นการดาเนนิ งาน
๒. เตรียมผู้เรียนก่อนเข้าสู่การเรียนรู้ กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง โดยสถานศึกษาจัดกิจกรรมการเรียนรู้

เร่อื ง “คดิ เปน็ ” หรอื “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ตนเองว่า กิจกรรมใดในการศึกษา
ต่อเน่ืองท่ตี อบสนองความต้องการจาเป็นรายบคุ คล

๓. ประสานงานผเู้ กีย่ วขอ้ ง สถานที่ การขออนมุ ตั ิจดั ตงั้ กลมุ่ การเตรียมส่อื วัสดุอุปกรณก์ ารสอน ฯลฯ
ขน้ั ตอนการปฏบิ ัติตามแผน (Do)

๑. ดาเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง ตามที่กาหนดไวใ้ น ๒ รูปแบบ คือ กลมุ่ สนใจ และช้นั เรยี นวิชาชีพ
๒. บันทึกผลการจัดกิจกรรมภายหลังการจัดเสร็จส้ิน เพื่อรายงานสภาพปัญหา ผลการจัด พร้อมข้อเสนอแนะ
แก่ผู้บรหิ ารทราบ
ขัน้ ตอนการตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามแผน (Check)
๑. ประเมนิ ผลการจดั การศึกษาต่อเนื่อง เป็นรายกิจกรรม และในภาพรวมของโครงการ
๒. รายงานการประเมินผลการจัดการศึกษาต่อเน่ืองเปน็ รายไตรมาส และรายปี
ข้นั ตอนการปรับปรุงแกไ้ ข (Act)

นาผลการประเมนิ มาปรบั ปรุงแกไ้ ขและพฒั นาการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเน่ือง

| คมู่ อื การจดั การศึกษาต่อเน่อื ง (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 3

ตอนที่ ๒
การดาเนินงานการจดั การศกึ ษาต่อเน่ือง

การจัดการศึกษาต่อเน่ือง เป็นการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือตอบสนองความต้องการ ความจาเป็น
ในชีวิตประจาวันของผู้เรียน สถานศึกษาต้องจัดให้มีกระบวนการวิเคราะห์ตนเองของผู้เรียน โดยยึดหลักปรัชญาคิดเป็น
และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงก่อนเข้าสู่กระบวนการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเน่ือง ซ่ึงจะทาให้การจัดกิจกรรม
สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการและความจาเปน็ ของผู้เรียน ดงั มกี ระบวนการตามกรอบแนวคดิ ตอ่ ไปนี้

กรอบแนวคิดการจัดการศึกษาต่อเนื่อง

| คู่มือการจดั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 4

จากกรอบแนวคิดการจัดการศึกษาต่อเนื่อง จะเห็นว่า การเตรียมความพร้อมก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการศึกษา
ต่อเนื่องให้แก่ผู้เรียน จะต้องคานึงถึงความต้องการ ความจาเป็น และความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละคน สถานศึกษา
จึงควรต้องศึกษาข้อมูลและดาเนินการตามกระบวนการ โดยฝึกกระบวนการคิดวิเคราะห์ตนเองให้แก่ผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียน
สามารถค้นหาสภาพปัญหาและความต้องการที่แท้จริงของตนเอง อันจะนาไปสู่การเลือกเรียนกิจกรรม กศน. ได้อย่าง
เหมาะสมเป็นประโยชน์ต่อตนเองมากท่ีสุด ในการฝึกกระบวนการคิด วิเคราะห์ตนเอง เป็นการบูรณาการ “หลักปรัชญา
คิดเปน็ ” และ “หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ในกระบวนการเลอื กและการตดั สินใจของผเู้ รียน ซ่ึงสามารถประมวลได้
เปน็ ๒ ด้าน คือ

๑. ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ผู้เรียนที่มีปัญหาด้านเศรษฐกิจ สามารถที่จะหาทางช่วยตนเองเป็นเบ้ืองต้น โดยการ
จัดทาบัญชีครวั เรอื น เพอ่ื นาไปสู่การจัดการชีวติ ดา้ นการลดรายจ่าย และการเพิ่มรายได้

๒. ปัญหาทั่วไปในชีวิตประจาวัน ผู้เรียนสามารถนาผลจากการวิเคราะห์สู่กิจกรรมการศึกษาท่ีเหมาะสม
กับผูเ้ รยี นแต่ละคน เป็นรายบุคคล

ซง่ึ สถานศึกษา กศน. จะไดจ้ ดั เปน็ กิจกรรมการศึกษาใน ๒ รูปแบบ คือ
๑. รูปแบบกลุ่มสนใจ เป็นการจัดการศึกษาหลักสูตรที่สถานศึกษาจัดข้ึน เพ่ือมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิต

และส่งเสริมการเรียนรู้ของประชาชน โดยหลักสูตรมีความยืดหยุ่นด้านเน้ือหา สาระ ระยะเวลาเรียน และสถานท่ี
ตามความตอ้ งการและความจาเปน็ ของกล่มุ เป้าหมาย หรอื ชมุ ชน หรอื นโยบายของทางราชการ

๒. รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ เป็นการจัดการศึกษาหลักสูตรวิชาชีพที่สถานศึกษาจัดขึ้น เพื่อมุ่งพัฒนา
ให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ และพัฒนาต่อยอด อันจะนาไปสู่การพัฒนา
คณุ ภาพชีวิต แก้ปญั หาของผ้เู รียนไดอ้ ย่างเป็นรปู ธรรม การพึ่งพาตนเองอยา่ งยงั่ ยืน และชมุ ชนเข้มแข็งต่อไป

แนวทางการจดั กิจกรรมการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง
การจดั การศกึ ษาต่อเนือ่ ง ประกอบไปดว้ ยกิจกรรม การจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต

และการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ซึ่งสถานศึกษาสามารถเลือกจัดในรูปแบบกลุ่มสนใจ และช้ันเรียนวิชาชีพ ได้ตาม
ความเหมาะสมโดยใชห้ ลักสูตรจากแหลง่ ตา่ งๆ ดงั นี้

- หลักสูตรท่ีสถานศึกษาจดั ทาข้นึ เอง
- หลักสูตรกลางท่ีสานกั งาน กศน. จดั ทาขนึ้
- หลกั สตู รท่สี ถานศึกษาอื่นในสังกดั สานักงาน กศน. จัดทาขน้ึ
- หลักสูตรของสถานศกึ ษาอ่นื ที่ไม่สังกดั สานักงาน กศน.
- หลักสูตรของหน่วยงานอื่น โดยไดร้ บั ความเห็นชอบจากหนว่ ยงานน้ัน ๆ
ทง้ั นี้ หลักสูตรต้องได้รับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษา และไดร้ บั อนุมตั ิจากผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
ซึ่งมแี นวทางการจดั กจิ กรรมการจดั การศึกษาต่อเน่ือง ดังน้ี

๑. การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ เป็นการจัดการศึกษาท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ เจตคติ และมีทักษะ
ในอาชีพ ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ประกอบด้วย ทักษะเก่ียวกับการปฏิบัติงาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศพ้ืนฐาน
การคิดแก้ปัญหา การส่ือสาร และทักษะเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาชีพ มีคุณลักษณะที่สาคัญในเร่ืองความซ่ือสัตย์สุจริต
ความคิดเชงิ บวก ความม่งุ มั่นในการทางาน การทางานรว่ มกับผู้อ่ืน การรักษาสิง่ แวดล้อม และการคานึงถึงประโยชน์ส่วนรวม
มากกวา่ สว่ นตน การจัดกระบวนการเรยี นรู้เน้นการปฏบิ ตั จิ ริง และการเรยี นรจู้ ากวิทยากรหรือผู้ร้ทู ี่ประกอบอาชพี นนั้ ๆ

| คู่มือการจดั การศกึ ษาต่อเนือ่ ง (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 5

การจัดการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาอาชพี แบง่ เปน็ ๒ ระดบั คือ
- ระดบั การพฒั นาอาชพี เพ่อื การทามาหากิน
- ระดบั การพัฒนาตอ่ ยอดอาชีพเดิม

แนวทางการจดั กจิ กรรม
๑. ใหผ้ ู้เรียนวเิ คราะห์ตนเอง ตามความสนใจเรียนในอาชพี นน้ั ๆ
๒. สถานศึกษาจัดหา หรอื พฒั นาหลกั สูตรท่สี อดคล้องกับความตอ้ งการของผู้เรยี น
๓. ผู้สอน วิทยากร วิเคราะห์ผู้เรียนเกีย่ วกับความรู้พนื้ ฐาน เปา้ หมายทผ่ี เู้ รยี นต้องการ
๔. ดาเนนิ การจัดกระบวนการเรยี นรูต้ ามหลักสตู ร
๕. ประเมนิ ผลการเรยี น
๖. ติดตามผลหลงั จากจบหลักสตู ร

๒. การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ให้ความสาคัญกับการพัฒนาคนทุกช่วงวัย
ให้มีความรู้ เจตคติ และทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมปัจจุบัน สามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้น
ในชวี ิตประจาวันได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และเตรียมพรอ้ มสาหรบั การปรบั ตัวใหท้ นั ต่อการเปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูล
และเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต โดยเน้นการฝึกปฏิบตั ิให้ผู้เรียนเกิดทักษะชีวิต ๑๐ ประการ คอื

(๑) ทักษะการตัดสนิ ใจ หมายถงึ ความสามารถในการตดั สนิ ใจเกยี่ วกบั เร่ืองราวต่าง ๆ ในชีวติ ไดอ้ ยา่ งรอบคอบ
(๒) ทักษะการแก้ปัญหา หมายถึง ความสามารถในการจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตได้อย่างมีระบบ
ไมเ่ กิดความเครียด
(๓) ทักษะการคิดวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์ แยกแยะข้อมูล ข่าวสาร ปัญหา
และสถานการณ์ตา่ ง ๆ รอบตัวได้
(๔) ทักษะการคิดสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการใช้ความคิดอย่างสร้างสรรค์ ช่วยในการตัดสินใจ
และแก้ไขปัญหา เพื่อค้นหาทางเลือกต่าง ๆ และผลท่ีจะเกิดขึ้นในแต่ละทางเลือก และสามารถนาประสบการณ์มาปรับใช้
ในชวี ติ ประจาวันได้อย่างมีพลังในการต่อสู้ และอยา่ งเหมาะสมกับวัย
(๕) ทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ หมายถึง ความสามารถในการใช้คาพูด และท่าทางเพ่ือแสดงออก
ถึงความคิดและความรู้สึกของตนเองอย่างถูกต้อง เหมาะสม เช่น การแสดงความคิดเห็น ความต้องการ ความชื่นชม
การขอร้อง การเจรจาต่อรอง การตักเตอื น การช่วยเหลอื การปฏเิ สธ ฯลฯ
(๖) ทักษะการสร้างสัมพันธภาพ หมายถึง ความสามารถสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างบุคคล และรักษา
ความสมั พนั ธ์นนั้ ไว้ได้
(๗) ทักษะการตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเอง หมายถึง การรู้จักและเข้าใจตนเอง เช่น รู้ข้อดี ข้อเสีย ของตนเอง
ร้คู วามตอ้ งการ และสิง่ ทีไ่ ม่ต้องการของตนเอง ซ่ึงจะช่วยให้รตู้ วั เองเวลาเผชิญกับความเครียด หรอื สถานการณต์ ่าง ๆ
(๘) ทักษะความเห็นใจผู้อื่น หมายถึง มีความเข้าใจความเหมือนหรือความแตกต่างระหว่างบุคคล ในด้าน
ความสามารถ เพศ วัย ระดับการศึกษา ศาสนา ความเช่ือ สีผิว อาชีพ ฯลฯ เข้าใจความรู้สึก และยอมรับบุคคลอื่น
ทีต่ า่ งจากตนเอง

| คู่มือการจัดการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 6

(๙) ทักษะการจัดการกับอารมณ์ต่าง ๆ หมายถึง การรับรู้อารมณ์ของตนเองและผู้อ่ืน รู้ว่าอารมณ์มีผลต่อ
การแสดงพฤติกรรมอยา่ งไร รูว้ ธิ ีจดั การกบั อารมณโ์ กรธหรือโศกเศรา้ ท่ีส่งผลทางลบต่อรา่ งกาย และจติ ใจไดอ้ ย่างเหมาะสม

(๑๐) ทักษะการจัดการกับความเครียด หมายถึง การรับรู้ถึงสาเหตุของความเครียด รู้วิธีผ่อนคลายความเครียด
และแนวทางในการควบคุมระดับความเครียด

แนวคิดในเรื่องการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต ให้จัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ
และเจตคติ เก่ียวกับเน้ือหาใน ๗ เรื่อง โดยการจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้นาทักษะชีวิต ๑ – ๑๐ ทักษะ มาบูรณาการ
ให้ผู้เรียนมีเจตคติ และมีทักษะชีวิต เพ่ือนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ท้ังนี้ เมื่อจัดครบทุกเนื้อหาแล้วผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนา
ทกั ษะชีวิตครบทั้ง 10 ทักษะ

สว่ นเน้อื หาทสี่ ถานศึกษานาไปจัดกจิ กรรมพัฒนาทักษะชวี ิตเนน้ ใน ๗ เรอ่ื ง คือ
๑. สขุ ภาพกาย-จติ
๒. ยาเสพตดิ
๓. เพศศึกษา
๔. คณุ ธรรมและคา่ นิยมทพ่ี งึ ประสงค์
๕. ความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ นิ
๖. ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
๗. ประชาธิปไตยในวิถชี วี ติ

โดยมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้อง เห็นความสาคัญท่ีจะต้องเรียนรู้ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์
หรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีทัศนคติ ค่านิยมที่ถูกต้อง ได้ฝึกทักษะชีวิตท่ีจาเป็นเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหา ท่ีเกิดข้ึน
ตวั อยา่ ง เช่น

- ผูส้ ูงอายุในชมุ ชน มีปัญหาป่วยเปน็ โรคเบาหวาน/หวั ใจ สามารถรวมกลุ่มจัดกิจกรรมทักษะชีวิต โดยฝึกทักษะ
คิดวิเคราะห์หาสาเหตุ ผลกระทบของโรคต่อการดาเนินชีวิต คิดแนวทางการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการกินอาหาร
ฝึกทักษะการคิดสร้างสรรค์เมนูอาหารต้านโรค ฝึกคิดวิเคราะห์ว่าตนเองเหมาะกับการออกกาลังกายแบบไหน
เพื่อให้สขุ ภาพแขง็ แรง และฝึกทา่ ออกกาลงั กายท่เี หมาะสมกับวัย เปน็ ต้น

- ผู้สูงอายุในชุมชน ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ท้อแท้ ขาดกาลังใจ รู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่า สามารถจัดกิจกรรม
ทักษะชีวิต โดยฝึกทักษะการตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเอง เช่น ให้เล่าถึงความหลัง ความภูมิใจ ความสาเร็จ
ในการเลี้ยงลูก เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจ ค้นหาความสนใจในงานอดิเรกเพ่ือแก้เหงา หรือทาอาชีพได้ หากมีปัญหา
เร่ืองการพูดคุยสื่อสารกับคนในครอบครัว ให้ฝึกทักษะการพูดคุยเพื่อสร้างความเข้าใจระหว่างกัน หากมีปัญหา
ความเครยี ด ใหฝ้ ึกทักษะการจัดการความเครียด โดยหาสาเหตุของความเครียดและวิธกี ารผอ่ นคลายความเครยี ด เป็นตน้

- กลุ่มเป้าหมายในชุมชน มีปัญหาความขัดแย้ง ทาผิดกฎจารจร ไม่รู้จักสิทธิหน้าท่ีของพลเมืองดี ตัดไม้
ทาลายป่า ท้ิงขยะจนล้นเมือง ติดยาเสพติด ท้องก่อนวัยอันควร ทุจริตคอรับชั่น ถูกทาร้าย ขโมยทรัพย์สิน หลงเชื่อ
งมงายในเร่ืองท่ีไม่ถูกต้อง ฯลฯ สามารถจัดกิจกรรมทักษะชีวิตโดย ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์จากข่าวหนังสือพิมพ์ หรือ
สถานการณ์จริงท่ีเป็นปัญหาในชุมชน เพื่อค้นหาสาเหตุ ผลเสียที่เกิดขึ้นกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ฝึกทักษะ
การตัดสินใจและแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึน โดยคิดหาทางเลือกที่ปฏิบัติได้ ฝึกทักษะการส่ือสารพูดคุยเพ่ือสร้างความเข้าใจ
ระหวา่ งกัน เปน็ ต้น

| คมู่ อื การจดั การศึกษาต่อเน่อื ง (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 7

แนวทางการจัดกจิ กรรม
๑. วิเคราะห์สภาพปญั หา ความต้องการของกลุม่ เปา้ หมาย ชมุ ชน และนโยบายของแตล่ ะระดับ
๒. การจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต เป็นการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ

เน้นการชวนคิด ชวนคุยเพื่อหาข้อสรุปร่วมกัน ให้ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ การสร้างเสริมเจตคติท่ีดี และการฝึกทักษะ
ชวี ิตท่ีจาเปน็ เพื่อแก้ปญั หาท่ีเกิดขน้ึ ในชีวิต สามารถปรับตวั อยรู่ ว่ มกบั ผู้อ่ืนได้อย่างมีความสขุ

๓. ส่ือที่ใช้ในการจัดกิจกรรม อาจใช้ข่าวหนังสือพิมพ์ บทความ กระทู้จากเว็บไซต์ ละคร รวมถึงสื่อบุคคล
ที่เป็นประเด็นปัญหาเร่งด่วนในปัจจุบัน เพื่อเรียนรู้เรื่องชีวิตในลักษณะ “บทเรียนชีวิต”ท่ีจะนามาพูดคุยเพื่อร่วมกันคิด
รว่ มกนั ระมัดระวงั ป้องกนั และหาทางแก้ไข

๔. กล่มุ เปา้ หมายทเี่ ปน็ จุดเน้น ได้แก่
- ผ้สู งู อายุ
- เยาวชนกลุม่ เฉพาะ เชน่ คุณแมว่ ยั ใส กลมุ่ เสีย่ งยาเสพติด
- กลุ่มอืน่ ๆ

๓. การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน เป็นการจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปล่ียน
เรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนาสังคมและชุมชนอย่างย่ังยืน โดยยึด
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวปฏิบัติ ตลอดจนการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม โดยเน้นการจัดการ
เรยี นรูผ้ า่ นกิจกรรม ดังนี้

๓.๑ การสง่ เสรมิ การดาเนินชีวติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไดแ้ ก่
- หมู่บ้านเรยี นรตู้ ามรอยพระยุคลบาท
- การเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่
- การทาบญั ชีครัวเรือน
- วสิ าหกจิ ชุมชน/สหกรณ์

แนวทางการจัดกจิ กรรม หมู่บ้านเรยี นรู้ตามรอยพระยุคลบาท ประกอบดว้ ย
๑. สารวจชุมชน หมู่บ้าน ตาบลที่มีโครงการตามพระราชดาริ หรือพ้ืนท่ีทรงงานของพระบาทสมเด็จ

พระเจ้าอยหู่ วั
๒. ถอดองค์ความรู้จากสิ่งท่ีพระองค์ทรงงาน ร่วมกับประชาชนและภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ซ่ึงควรมี

หัวข้อหลักในการถอดองคค์ วามรู้ ดังนี้
- หลักการ วธิ ีการในการแกป้ ัญหา
- ผลสาเร็จจากโครงการ
- แนวทางในการนาไปประยุกต์ใช้

๓. เผยแพร่และนาไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิในชมุ ชน โดยการวิเคราะหส์ ภาพปญั หาความต้องการของ
กลุ่มเป้าหมายและชุมชน

- จัดตงั้ หมบู่ ้าน/ชุมชนเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท

| ค่มู อื การจัดการศึกษาต่อเนือ่ ง (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 8

- กระบวนการดาเนินการควรครอบคลุมการเรียนรู้ ด้านทฤษฎี การฝึกปฏิบัติ และการสร้างเสริม
เจตคติทดี่ ี ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (๓ ห่วง ๒ เงือ่ นไข)

- ประสานความร่วมมือการดาเนินงานกับวสิ าหกจิ ชุมชน/สหกรณ์

๓.๒ การเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อเน้นการแก้ปัญหา
การดารงชีวิต การประกอบอาชีพ ส่ิงแวดล้อม และวิกฤติพลังงาน โดยเน้นการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน
และการใช้เคร่ืองทุ่นแรง โดยให้ผู้เรียนนาองค์ความรู้จากภูมิปัญญา จากการศึกษาค้นคว้านวัตกรรมท่ีมีอยู่ หรือ
อาจประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมา เพ่ือปรับใช้ในครัวเรือน เช่น การนาขยะหรือมูลสัตว์ มาผลิตเป็นก๊าชชีวภาพ การถนอมอาหาร
โดยใช้พลงั งานแสงอาทิตย์ เปน็ ตน้

แนวทางการจดั กจิ กรรม
๑. สารวจภูมิปัญญา นวัตกรรม เทคโนโลยีที่เหมาะสม และสอดคล้องกับแนวโน้มการพัฒนาของพื้นท่ี
เช่น การพัฒนาเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ ดา้ นพลงั งานสะอาด ด้านการอนรุ กั ษ์สิ่งแวดล้อม ดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๒. เลอื กพน้ื ทีแ่ ละกลุ่มเป้าหมายที่เหมาะสมในการดาเนินงาน
๓. ประสานความร่วมมือกบั ภูมิปญั ญา ผู้รู้ ผู้เชยี่ วชาญ และผู้ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ในการจัดกิจกรรม
๔. จดั ทาหลกั สตู รและดาเนินการจดั กิจกรรมตามรูปแบบทเ่ี หมาะสม

ขัน้ ตอนการจดั การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง

การจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเน่ือง ประกอบไปด้วยกิจกรรม การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพ่ือ
พัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน และการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม โดยมี ๒ รูปแบบ
ประกอบไปด้วยรูปแบบ กลุ่มสนใจ และช้ันเรียนวิชาชีพ ทั้งนี้สถานศึกษาสามารถเลือกรูปแบบในการจัดกิจกรรมได้ตาม
ความเหมาะสม การดาเนินงานแตล่ ะรปู แบบ มกี ระบวนการดงั นี้

กิจกรรม วธิ ีการดาเนินงาน หลกั ฐาน/เอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ ง

ขั้นเตรยี มการ รูปแบบกลมุ่ สนใจ รปู แบบชัน้ เรยี นวิชาชีพ รปู แบบกลุ่มสนใจ รูปแบบช้นั เรยี นวชิ าชีพ

๑.ประชาสมั พันธ์ ให้สถานศึกษาระดับอาเภอ/เขต และเจ้าหน้าท่ี กศน.ตาบล/แขวง สถานศกึ ษา และผรู้ บั ผิดชอบงาน จะต้องจดั ทาเอกสาร
จดั เจา้ หนา้ ทอ่ี อกประชาสัมพนั ธ์กจิ กรรม ในลกั ษณะ สาหรับการประชาสมั พนั ธ์ ซ่งึ อาจประกอบด้วย
- เคาะประตบู ้าน - แผน่ พับประชาสมั พนั ธ์
- แจกแผ่นพบั - หนังสอื ขอความรว่ มมอื ไปยังเครอื ข่ายในพืน้ ท่ี
- เสยี งตามสาย - เว็บไซต์ เฟสบคุ ฯลฯ ของสถานศกึ ษา
- ออกอากาศทางวทิ ยุ ทางโทรทัศน์ อนิ เทอร์เนต็ - ภาพถา่ ยกิจกรรมท่ีผา่ นมา
- เว็บไซต์ เฟสบุค
- อน่ื ๆ ตามบริบทของพื้นที่

| คูม่ ือการจัดการศกึ ษาตอ่ เนื่อง (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 9

กิจกรรม วิธกี ารดาเนนิ งาน หลกั ฐาน/เอกสารท่เี กีย่ วขอ้ ง

๒.รับสมัคร รปู แบบกลมุ่ สนใจ รปู แบบช้ันเรียนวิชาชีพ รูปแบบกลมุ่ สนใจ รปู แบบชัน้ เรียนวิชาชพี
ผเู้ รยี น
ใหส้ ถานศึกษาจดั ให้มเี จ้าหน้าทร่ี ับสมคั ร หรือจะมอบหมายให้ครู กศน. - ใบสมคั รผเู้ รียน (แบบ กน.๑)
ขนั้ ดาเนินการ ตาบล/แขวง หรือวิทยากร ทาหนา้ ที่รบั สมัคร - เอกสารประกอบใบสมัคร เช่น สาเนาบัตรประจาตวั
ผเู้ รียนควรมคี ณุ สมบตั ิ ดังน้ี ประชาชน พร้อมรปู ถา่ ย (ถา้ ม)ี เปน็ ตน้
๑.กาหนดพืน้ ที่/
กลุ่มเปา้ หมาย ๑.เป็นผ้มู สี ัญชาติไทย
๒.อายุตงั้ แต่ ๑๕ ปขี ึน้ ไป
๒.รับสมคั ร
วทิ ยากร ใหส้ ถานศกึ ษาดาเนนิ การดงั นี้ เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบงาน ดาเนินการจัดทาเรื่อง
๑.กรณีนาข้อมูลจากใบสมัครจากผู้ท่ีสนใจในพื้นที่ ท่ีสถานศึกษาจัด ขออนุญาตเปิดสอนหลักสูตร ที่ผู้เรียนสนใจ โดยใช้
๓.จดั หาหรอื เจา้ หน้าท่ีออกประชาสมั พันธ์ ใบขออนุญาตเปิดสอน (แบบ กน.๒)
จัดทาหลักสูตร พร้อมแนบหลักฐานการสมัครเรียนท่ีได้รับข้อมูล
๑.๑ สถานศึกษานาใบสมคั รมาคัดแยกกลมุ่ ผเู้ รยี นตามความสนใจ จากผู้เรียน หรือจากการจัดทาเวทีชาวบ้าน หรือเวที
๑.๒ กาหนดพ้ืนที่ ที่เหมาะสมสาหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประชาคม ฯลฯ
ให้กับกลุ่มเป้าหมาย
๑.๓ แจง้ ให้ผ้เู รยี นทราบกาหนด วัน เวลา สถานที่ จัดกจิ กรรม
๒. กรณีนาข้อมูลจากแผนจุลภาคระดับตาบล หรือ การจัดเวที
ชาวบ้าน หรอื เวทีประชาคม
๒.๑ สถานศึกษานาข้อมูลท่ีได้รับจากการจัดเวทีชาวบ้าน หรือเวที
ประชาคม มาคัดแยกกลุ่มผเู้ รยี นเป็นกลุม่ ตามความสนใจ
๒.๒ สถานศึกษากาหนดพื้นท่ี ท่ีเหมาะสมสาหรับการจัดกิจกรรม
เรียนรู้ แตล่ ะรูปแบบใหก้ ลุม่ เป้าหมาย
๒.๓ ผรู้ บั ผดิ ชอบงาน แจ้งให้ผู้เรียน ทราบ กาหนด วัน เวลา สถานที่
จดั กจิ กรรมการเรียนรู้

ผู้รับผิดชอบเปิดกลุ่มของสถานศึกษา ประสานงานหาวิทยากรผู้สอน ใบสมคั รวทิ ยากร (แบบ กน.๓)
วทิ ยากรตอ้ งมีคณุ สมบัติ ดังน้ี
๑. เป็นผู้ท่ีมีคุณวุฒิหรือเกียรติบัตรรับรอง หรือหลักฐานอ่ืน ๆ ที่
แสดงว่าเปน็ ผมู้ คี วามรคู้ วามสามารถ ทกั ษะ ในสาขาวชิ าหรือหลักสูตร
นั้น ๆ หรือเป็นผู้ท่ีมีความรู้ความชานาญ ประสบการณ์ในสาขาวิชา
หรอื หลกั สูตรน้ัน และ
๒. เป็นผู้ท่ีมีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้เรียน ทั้งนี้
โดยให้ผอู้ านวยการสถานศกึ ษาเป็นผู้ออกคาส่งั แตง่ ตัง้

- สถานศึกษาแตง่ ตัง้ คณะกรรมการวชิ าการ ทาหนา้ ทพ่ี จิ ารณา - คาสัง่ แตง่ ตั้งคณะกรรมการวิชาการ
หลกั สตู ร - หลักสตู ร
- เสนอคณะกรรมการสถานศึกษา ใหค้ วามเห็นชอบตามหลักสตู ร
- เสนอผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา เพือ่ อนุมัติการใช้หลกั สตู ร

| คู่มือการจดั การศึกษาตอ่ เน่ือง (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 10

กจิ กรรม วิธกี ารดาเนินงาน หลกั ฐาน/เอกสารทเี่ ก่ียวขอ้ ง

๔.การจัดต้งั กลุม่ รูปแบบกลมุ่ สนใจ รูปแบบชนั้ เรียนวิชาชพี รปู แบบกลุ่มสนใจ รปู แบบช้ันเรียนวิชาชีพ

- ให้ กศน.ตาบล/แขวงหรือผู้รับผิดชอบจัดกิจกรรม ในพื้นท่ีหรือภาคี แบบการขอจัดต้ัง (ตามแบบ กน.๒,๓,๔,๗)
เครือข่ายเป็นผู้ดาเนินการเสนอขออนุญาตเปิดสอนหลักสูตรท่ีผู้เรียน
สนใจต่อผู้บริหารสถานศึกษา โดยใช้ใบขออนุญาตเปิดสอน
(แบบ กน.๒) พร้อมแนบหลักฐานการสมัครเรียนท่ีได้รับข้อมูล
จากผเู้ รยี น หรือจากการจดั ทาเวทชี าวบ้าน หรือเวทีประชาคม ฯลฯ
- ให้วิทยากร และ กศน. ตาบล/แขวง จัดทาหลักสูตรอาชีพร่วมกัน
ในการขอจดั ตั้งกลุ่ม

๕.จดั ทาทะเบียน ให้ กศน.ตาบล/แขวง หรอื ผรู้ บั ผดิ ชอบ ของสถานศกึ ษารวบรวมข้อมูล แบบทะเบียนผเู้ รียน (ตามแบบ กน.๔)
ใบสมัครผู้เรียน จัดให้เป็นระบบ จัดทาทะเบียนผู้เรียน ตามแบบ
ท่กี าหนด

๖.การจดั การ - ให้ กศน.ตาบล/แขวง หรือผู้รับผิดชอบ ของสถานศึกษา ประสาน - ภาพถา่ ยการจัดกจิ กรรม
เรียนการสอน วิทยากร จัดการเรียนการสอนตามแผนท่ีกาหนด และให้ผู้รับผิดชอบ - รายงานการจัดกิจกรรมของวิทยากร
งาน ทาหน้าท่ีเป็นผู้ช่วยวิทยากรผู้สอนอีกหน้าที่หนึ่ง เพื่อช่วยเหลือ
ผู้เรียนในระหวา่ งการจัดการเรียนการสอน
- ให้ผู้บริหาร กศน. อาเภอ/เขต ศึกษานิเทศก์ และผู้ได้รับมอบหมาย
นเิ ทศการสอนเปน็ ระยะ

๗.การวัดและ ๑. การวัดและประเมินผล ๑. การวดั และประเมนิ ผล ให้ประเมิน - เครื่องมือวัดและ - เครื่องมือวัดและ
ประเมินผล ให้ประเมินเม่ือสิ้นสุดการ จากพัฒนาการ หรือความก้าวหน้า ป ร ะ เ มิ น ผ ล ห ลั งเ รี ย น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก่ อ น เ รี ย น
๗.๑ แนวทาง เรียน โดยใช้วิธีการประเมิน ในทักษะอาชีพที่เรียน ก่อนเรียน (สถานศึกษา และวิทยากร ระหว่างเรียน และหลัง
การวัดและ หลากหลายวิธี โดยเน้นการ ระหวา่ งเรยี น และเม่ือสิน้ สดุ การเรยี น ร่วมกันจัดทา) เรียน (สถานศึกษา และ
ประเมนิ ผลการ ประเมินตามสภาพจริง โดยใชว้ ธิ กี ารประเมนิ ท่ีหลากหลายวิธี วทิ ยากรร่วมกันจัดทา)
เรยี น ทเี่ น้นการประเมนิ ตามสภาพจริง

๒. การวัดและประเมินผล ๒. การวัดและประเมินผลต้อง - แบบทดสอบ
ต้องครอบคลมุ ความรู้ ทกั ษะ คร อบ คลุ มค วา ม รู้ ทักษะ แ ล ะ - แบบสงั เกตการปฏบิ ตั ิงาน
และคุณลักษณะทสี่ าคัญตาม คุณลกั ษณะที่สาคัญในงานอาชพี ดังนี้ - ตรวจชิน้ งาน
วตั ถุประสงค์ ของหลกั สตู ร - เกณฑก์ ารให้คะแนน
๑. ความรู้ตามหลกั สตู ร - แบบบันทึกการสังเกต
๒. ทักษะการปฏิบัตงิ าน (สถานศึกษา และวิทยากรร่วมกันจดั ทา)
ตามหลกั สตู ร
๓. คณุ ลักษณะท่เี กดิ ขนึ้ กับ
ผเู้ รยี นตามหลักสูตร

| ค่มู อื การจดั การศกึ ษาต่อเนือ่ ง (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 11

กจิ กรรม วธิ กี ารดาเนินงาน หลกั ฐาน/เอกสารท่ีเก่ียวข้อง

๗.๒ เกณฑก์ าร รูปแบบกลมุ่ สนใจ รปู แบบช้ันเรยี นวชิ าชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ รปู แบบช้นั เรียนวิชาชีพ
ประเมินผล
- กาหนดสดั สว่ นคะแนน
ภาคทฤษฎี : ภาคปฏบิ ตั ิ เท่ากบั ๒๐ : ๘๐ - สถานศกึ ษาจดั ทาเอง
โดยตอ้ งได้คะแนนการประเมินภาคทฤษฎี ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๖๐ ของ - วิทยากรเป็นผู้ประเมินผลผู้เรียนตามแบบประเมิน
คะแนนภาคทฤษฎี หรือ ๑๒ คะแนน และต้องได้คะแนนภาคปฏิบตั ไิ ม่ ที่กาหนด
น้อยกว่ารอ้ ยละ ๗๕ ของคะแนนภาคปฏบิ ตั ิ หรอื ๖๐ คะแนน
- การประเมินผลการฝึกอาชีพให้ประเมินช้ินงาน และทักษะ
ตามเกณฑใ์ นเคร่ืองมอื (ข้อ ๗.๑)

๘.การจบ ให้สถานศกึ ษากาหนดเกณฑ์การจบหลกั สูตร ดงั นี้ -บัญชีลงเวลามาเรยี น
หลกั สตู ร
- ผู้เรยี นต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้ังหมด -แบบทดสอบ
๙.การออก
หลักฐาน และผ่านการประเมินผลตามเกณฑท์ ่ีกาหนด -ทะเบยี นผู้จบหลักสตู ร

(แบบ กน.๔)

-หลักฐานแสดงการจบหลกั สตู ร

(แบบ กน.๑๒)

๑.ใหส้ ถานศกึ ษารวบรวมรายชอ่ื ผูจ้ บหลกั สตู ร - แบบรายงานผลการจบหลักสูตรการจัดการศึกษา
๒.ออกหลกั ฐานใบสาคัญการจบหลกั สตู รให้กับผเู้ รียน ตอ่ เนื่อง
๓.สง่ รายงานผจู้ บหลกั สูตรใหส้ านกั งาน กศน.จงั หวดั /กทม. ต่อไป (แบบ กน.๑๑)
- ใบสาคัญผผู้ า่ นการเรียน
(แบบ กน.๑๒)

ขั้นสรปุ นเิ ทศตดิ ตาม และรายงานผล

๑.การนเิ ทศ ผู้มีหน้าที่นิเทศ ประกอบด้วย ผู้บริหาร กศน.จังหวัด/กทม. ผู้บริหาร

ตดิ ตาม กศน.อาเภอ/เขต ศึกษานิเทศก์ และผู้ได้รับมอบหมายนิเทศติดตาม แบบนิเทศตดิ ตาม (แบบ กน.๒๐)

การจัดการเรียนการสอน ในระหว่างการจัดการเรียนการสอน หรือ

วนั ทป่ี ระเมนิ ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน และรายงานผลการ

นเิ ทศ

๒.การรายงานผล ๑. ให้วิทยากร และครูท่ีรับผิดชอบในพื้นท่ีอาเภอ/เขต หรือภาคี รายงาน (ตามแบบ กน.๑๑)
เครอื ขา่ ย จัดทาสรปุ และรายงานผลการจบหลกั สูตรใหส้ ถานศึกษา
๒. ใหส้ ถานศึกษาจัดทารายงานสรุปจานวนผ้เู รยี น
ผจู้ บหลักสตู รตอ่ สานกั งาน กศน.จังหวดั /กทม. ต่อไป
๓. ศว./ ศฝช. รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม ตอ่ สานกั งาน กศน.

| คมู่ ือการจัดการศึกษาต่อเน่อื ง (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 12

กจิ กรรม วธิ กี ารดาเนินงาน หลักฐาน/เอกสารท่เี กีย่ วขอ้ ง

๓.การตดิ ตามผล รปู แบบกลมุ่ สนใจ รปู แบบช้ันเรยี นวชิ าชพี รูปแบบกลุ่มสนใจ รปู แบบชน้ั เรยี นวชิ าชีพ
ผู้เรยี นหลังจบ
หลักสตู ร ให้สถานศึกษาติดตามผลผู้เรียนว่าเม่ือเรียนจบหลักสูตรแล้ว ได้นา แบบติดตามผู้เรียนหลังจบหลักสตู ร
ความรู้ที่ได้รับไปใช้หรือไม่อย่างไร เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนการ (ตามแบบ กน.๒๑)
จดั ในคร้งั ตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

๔.การเบิก รูปแบบกล่มุ สนใจ
ค่าใชจ้ า่ ย ๑ คา่ ตอบแทนวิทยากร

ผูเ้ รียนตั้งแต่ ๖ คนขึ้นไป จ่ายค่าตอบแทนวิทยากร (ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ท่ี กค0406.6/ 35478
ช่วั โมงละไม่เกิน 1๒0 บาท ลงวนั ท่ี 14 พฤศจิกายน 2554 เร่ือง การเบกิ คา่ ใช้จา่ ย
ในการจดั การศกึ ษานอกโรงเรียนหลักสตู รระยะสั้น)
๒ คา่ วัสดุ
กรณีที่มีการฝึกปฏิบัติให้เบิกจ่ายเท่าที่จ่ายจริงตามความจาเป็น ตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าวัสดุ กระทรวงศึกษาธิการ
ว่าด้วยการจัดการศึกษาต่อเน่ือง พ.ศ.๒๕๕๔ (ตาม
เหมาะสม ประหยดั เพื่อประโยชน์ของทางราชการ ดงั น้ี หนังสือสานักงาน กศน.ด่วนท่ีสุด ที่ ศธ ๐๒๐๑/๑๕๕๑
หลักสูตร ๑ – ๓๐ ชัว่ โมง ลงวนั ท่ี ๒๔ เมษายน ๒๕๕๕)
จ่ายค่าวัสดุฝึก ได้ไม่เกิน ๑,๐๐๐ บาท/ กลมุ่

รปู แบบชน้ั เรียนวิชาชีพ (ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค0406.6/ 35478
๑ ค่าตอบแทนวทิ ยากร ลงวนั ท่ี 14 พฤศจกิ ายน 2554 เรอ่ื ง การเบกิ คา่ ใชจ้ า่ ย
ในการจดั การศึกษานอกโรงเรยี นหลกั สตู รระยะสั้น)
ผ้เู รียนตั้งแต่ ๑๑ คนขนึ้ ไป จา่ ยค่าตอบแทนวิทยากร
ช่ัวโมงละไมเ่ กิน ๒00 บาท ตามหลักเกณฑ์การจ่ายค่าวัสดุกระทรวง ศึกษาธิการ
ว่าด้วยการจัดการศึกษาต่อเนื่อง พ.ศ.๒๕๕๔ (ตาม
๒ ค่าวัสดุ หนังสือสานักงาน กศน.ด่วนท่ีสุด ท่ี ศธ ๐๒๐๑/๑๕๕๑
กรณีทมี่ กี ารฝกึ ปฏบิ ตั ใิ หเ้ บิกจา่ ยเทา่ ที่จ่ายจริงตามความ ลงวันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๕)

จาเป็น เหมาะสม ประหยดั เพื่อประโยชนข์ องทางราชการดังน้ี

๑) หลักสูตร ๓๑ – ๕๐ ชัว่ โมง
จ่ายค่าวัสดุฝึกไดไ้ ม่เกิน ๓,๐๐๐ บาท /กล่มุ

๒) หลกั สูตร ๕๑ – ๗๐ ชว่ั โมง
จ่ายค่าวัสดุฝึกไดไ้ ม่เกิน ๔,๐๐๐ บาท /กลุ่ม

๓) หลกั สูตร ๗๑ ชั่วโมง ข้นึ ไป
จ่ายค่าวัสดุฝึกไดไ้ ม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท /กลมุ่

| คู่มอื การจดั การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 13

ตอนท่ี ๓

การนิเทศ ตดิ ตาม และรายงานผล

การนิเทศ ตดิ ตาม
เปน็ กิจกรรมท่ีสาคัญในการส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ แนะนา พัฒนา ปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดกิจกรรม

การศึกษาต่อเน่ือง ตลอดจนการแก้ไขปัญหาการดาเนินกิจกรรมการศึกษาของสถานศึกษาให้ดีขึ้น เป็นการเพิ่มพลังการ
ปฏบิ ัตงิ านใหแ้ กผ่ ูป้ ฏิบตั ิงาน เพอ่ื ใหง้ านตา่ ง ๆ สามารถดาเนนิ การได้สาเร็จลุล่วงตามเป้าหมายอย่างมีคุณภาพ และส่งผล
ตอ่ คุณภาพผ้เู รียน ดงั น้ัน ผบู้ รหิ ารจงึ ควรจัดให้มีการนเิ ทศ ติดตามและรายงานผลอย่างเปน็ ระบบ และตอ่ เนอ่ื ง

การนิเทศ ติดตามผล การจัดการศึกษาต่อเน่ือง เป็นกระบวนการทางานร่วมกันของบุคลากรที่เก่ียวข้อง
ทุกระดับ ตั้งแต่ผู้กาหนดนโยบาย ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน ผู้สอน ภาคีเครือข่าย และชุมชน นับเป็นเครื่องมือสาคัญของ
ผู้บริหารที่จะสร้างความมั่นใจได้ว่า การปฏิบัติขององค์กรไปในทิศทางท่ีถูกต้อง สามารถสร้างผลงานที่สอดคล้องตาม
จุดมุง่ หมายท่วี างไวห้ รือไม่ ซ่งึ จะสามารถปรับเปล่ียนกลยุทธใ์ หส้ อดรบั กับสถานการณ์ที่เปลย่ี นแปลงไป

ผทู้ าหน้าท่ีนิเทศติดตามผล ประกอบด้วย
๑. ผู้บริหาร
๒. ศึกษานิเทศก์
๓. ผทู้ าหน้าทีน่ เิ ทศทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

กระบวนการนิเทศตดิ ตามผลการจดั การศึกษาต่อเน่ือง
กระบวนการนิเทศ ติดตามผลการจัดการศึกษาต่อเน่ือง ดาเนินการเป็นระบบการบริหารงานตามวงจร PDCA หรือวงจร

เดมมงิ่ ของ Edward Deming ประกอบดว้ ย ขน้ั ตอนการวางแผน (Plan) การปฏิบัติตามแผน (Do) การตรวจสอบหรือการประเมิน
(Check) และนาผลการประเมนิ ย้อนกลบั ไปปรบั ปรงุ แก้ไข (Act) รายละเอียด ดังนี้

ขัน้ ตอนการวางแผนนิเทศตดิ ตามผล (P) เปน็ การเตรียมการและวางแผน ดงั น้ี
1. สร้างความเข้าใจ ความไว้วางใจ และความตระหนักร่วมกัน เป็นข้ันตอนการดาเนินงานอย่างกัลยาณมิตร เพ่ือสร้าง

ความเข้าใจ หลักการ และสร้างศรัทธาและความสัมพันธ์ โดยอาจดาเนินการในลักษณะประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้องท้ังหมด
เปิดโอกาสให้มีการอภิปรายซักถาม แสดงความคิดเห็นอยา่ งเสรี โดยวธิ กี ารจงู ใจมากกวา่ การบังคบั

2. กาหนดมาตรฐานการจัดการศกึ ษาต่อเน่อื งร่วมกัน เพ่ือกาหนดเป็นจุดม่งุ หมายการดาเนนิ งาน และการพัฒนา
สู่มาตรฐานการจัดการศกึ ษา

3. การวางแผนการนิเทศติดตาม ผู้นิเทศติดตามและผู้ปฏิบัติงานควรร่วมกันวางแผนและกาหนดขั้นตอน
การปฏิบัตกิ ารนิเทศตดิ ตาม

๔. สร้างเครื่องมือนิเทศติดตาม โดยจัดทาให้มีลักษณะที่ใช้ได้สะดวก สามารถเก็บข้อมูลท่ีต้องการได้เที่ยงตรง
มากที่สุด และมีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นท่ีเชื่อถือได้ เพื่อให้ผู้นิเทศติดตามใช้นิเทศครู กศน./สถานศึกษา ในการจัด
กจิ กรรมการศึกษาตอ่ เนื่อง (แบบ กน.๒๐)

๕. จดั ปฏทิ ินปฏิบัติการนิเทศตดิ ตาม เพ่ือให้การนิเทศติดตามเกิดประสิทธิภาพ ผู้นิเทศติดตามควรจัดทาปฏิทิน
ปฏบิ ัตกิ ารนเิ ทศตดิ ตามให้สอดคล้องเหมาะสมกับการจัดกิจกรรมในพ้ืนท่ี และปฏิบัติการนิเทศติดตามตามแผนท่ีกาหนด
ไว้ ในกรณีที่มีบุคลากรไม่เพียงพอ อาจให้เครือข่ายในพื้นที่ช่วยนิเทศติดตาม และรวบรวมข้อมูลนิเทศติดตาม เพ่ือนามา
ปรกึ ษาหารอื รว่ มกนั ในการประชมุ ประจาเดือน

| คู่มอื การจดั การศึกษาต่อเน่อื ง (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 14

ขน้ั ตอนการดาเนนิ การนิเทศตดิ ตาม (D)
การดาเนินการนิเทศติดตาม เป็นการปฏิบัติการนิเทศติดตามตามแผนที่กาหนดไว้ ที่ต้องเก่ียวข้องกับบุคลากร

หลายฝ่าย เพื่อชี้แนะ ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ ให้การดาเนินงานประสบผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์อย่างมีคุณภาพ
และประสิทธิภาพ ดังน้ัน การนิเทศติดตามควรยึดหลักประชาธิปไตยในการทางาน ให้ความสาคัญและให้การยอมรับ
ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน โดยดาเนินการอย่างเป็นระบบและยึดกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปั ญหา ซึ่งผู้
นิเทศติดตามจะต้องเตรียมตัวเองให้พร้อมท้ังด้านความรู้ในเรื่องท่ีจะนิเทศ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือการนิเทศติดตาม
เพอื่ รวบรวมขอ้ มูลจากการนิเทศตดิ ตามนามาปรับปรุง วางแผนการนิเทศตดิ ตามในครัง้ ตอ่ ไป

เม่อื สิน้ สุดการปฏบิ ตั ิงานนเิ ทศตดิ ตามแตล่ ะครั้ง ผู้นิเทศตดิ ตามต้องปฏบิ ตั ิ ดังน้ี
1. การบันทึกการนิเทศติดตาม ผู้นิเทศควรจดบันทึกผลการนิเทศติดตามทุกคร้ัง เพื่อเป็นหลักฐานหรือ

สญั ญารว่ มกันระหวา่ งผู้นิเทศตดิ ตาม และผู้ปฏิบัติงานว่ามีสง่ิ ใดที่ยงั ต้องปรบั ปรุงพฒั นาให้ได้ตามข้อกาหนดท่ีตอ้ งการ
2. การสรุปผลการนิเทศติดตาม เมื่อเสร็จสิ้นการนิเทศติดตามแต่ละครั้ง ผู้นิเทศติดตามจาเป็นต้องจัดทา

รายงานผลการนิเทศติดตามให้ผู้บริหารได้รับทราบ เพ่ือการวินิจฉัยสั่งการและทารายงานเก็บเข้าแฟ้ม และนาไป
ประกอบการรายงานผลการนิเทศติดตาม การรายงานผลการนิเทศติดตามอาจใช้การรายงานที่เป็นรูปแบบเดียวกัน
ที่สถานศกึ ษากาหนด ซงึ่ ประกอบด้วยประเด็นทสี่ าคัญ อาทิ

- วัตถุประสงค์
- กจิ กรรมการนิเทศตดิ ตาม
- เน้อื หาสาระของการนเิ ทศติดตาม ซงึ่ ไดแ้ ก่ สภาพการดาเนินการ สภาพปัญหา อปุ สรรคท่ีเกิดขึน้ เปน็ ตน้
- ขอ้ คดิ เห็น และขอ้ เสนอแนะ
- การนาเสนอแนวทาง/ยทุ ธศาสตรท์ ี่จะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงหรอื การพฒั นา
- ผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดข้นึ ก่อนและหลงั การพฒั นา
- การวินจิ ฉยั ส่งั การของผู้บริหาร เพอ่ื การแก้ปญั หาหรอื พัฒนากิจกรรม
3. การพัฒนากิจกรรม ผู้นิเทศติดตามนาผลจากการนิเทศติดตามเข้าที่ประชุมตามระยะเวลาท่ีกาหนด
เพ่ือพิจารณาแนวทางร่วมกันในการแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนจากการนิเทศติดตาม ตลอดจนพิจารณาทางเลือกในการแก้ปัญหาอื่น ๆ
และนาไปวางแผนในการนเิ ทศตดิ ตามในครั้งตอ่ ไป

ข้นั ตอนการประเมนิ ผลการนิเทศติดตาม (C)
การประเมินผลการนิเทศติดตาม เป็นขั้นตอนท่ีมีความสาคัญยิ่งในการควบคุมและพัฒนาคุณภาพการจัด

การศึกษา ควรสร้างข้อตกลงร่วมกันในการกาหนดเกณฑ์การประเมินผล ซ่ึงการประเมินผลควรจะประเมินระหว่าง
การดาเนินงานเป็นระยะ ๆ เพ่อื ให้การพฒั นางานได้บรรลุวัตถุประสงค์และควรประเมินผลเม่ือจบหลักสูตร เพื่อดูผลผลิต
และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นว่าสนองตามข้อกาหนดเป้าหมายและตัวช้ีวัดหรือไม่ นับได้ว่าเป็นการนิเทศเชิงวิจัย ซึ่งจะทาให้ผู้นิเทศ
และผู้ปฏบิ ัตงิ านมขี ้อมูลเพือ่ การพฒั นางานอย่างต่อเน่ือง ทาให้เกดิ การดาเนินงานท่มี ีประสิทธิภาพย่งิ ข้ึน

วิธกี ารประเมนิ ผล สามารถดาเนินการได้ดังน้ี
1. การประเมินผลโดยใช้เครื่องมือ ผู้ดาเนินการจะรวบรวมข้อมูลโดยใช้เคร่ืองมือต่าง ๆ กับบุคคล

ท่ีเก่ียวข้อง การดาเนินการประเมินผลในลักษณะนี้ ความสาคัญอยู่ที่การสร้างเครื่องมือที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน สามารถ
รวบรวมข้อมูลให้ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุดและเลือกใช้สถิติข้อมูลท่ีเหมาะสม การนาเสนอผลการประเมิน
อาจนาเสนอด้วย แผนภูมิ กราฟ หรือเป็นการบรรยาย หรือประกอบด้วยท้ังสามส่วนรวมกัน เพ่ือจะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจ
ได้งา่ ยย่ิงข้ึน

| คมู่ ือการจัดการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 15

๒. การประเมินผลด้วยการประชุม เป็นการประเมินผลท่ีอาศัยบุคลากรจานวนมาก เพ่ือพิจารณาข้อมูล
ร่วมกัน อาจดาเนินการในลักษณะของการประชุมปรึกษาหารือ หรือสัมมนาเกี่ยวกับสภาพการปฏิบัติงาน ซึ่งผู้เข้าร่วม
ประชุมต้องมีความสามารถควบคุมการประชุมให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการด้วยบรรยากาศแห่งความเป็นมิตร
และไว้วางใจกันและกัน ซ่ึงอาจนาวิธีการประเมินเช่นน้ีในวาระการประชุม เป็นการประเมินผลระหว่างการดาเนินการ
ก่อนมกี ารประเมนิ ผลเมอ่ื จบหลกั สูตรก็ได้
การรายงานผลการนเิ ทศตดิ ตามการจดั การศึกษาตอ่ เนื่อง

การรายงานผลการนเิ ทศตดิ ตามหลังจากประเมินผลการนิเทศติดตามหรือเม่ือจบหลักสูตร ผู้นิเทศติดตาม
ควรจัดทารายงานผลการนิเทศติดตาม เพื่อให้ผู้เก่ียวข้องได้เห็นความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค พร้อมทั้งความร่วมมือ
สนับสนุนในเรอ่ื งต่างๆ ดงั นี้

๑. กศน.อาเภอ/เขต รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม ตอ่ สานกั งาน กศน.จังหวดั /กทม.
๒. สานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม ตอ่ สานกั งาน กศน.
๓. ศว./ศฝช. รายงานผลการนิเทศ ติดตาม ตอ่ สานกั งาน กศน.
ขน้ั ตอนการปรบั ปรุงและพฒั นา (A) เป็นขัน้ ตอนของการนาผลการประเมินยอ้ นกลับมาวเิ คราะห์สาเหตุ เพื่อหาแนวทาง
ปรับปรงุ แก้ไข และพฒั นากระบวนการนเิ ทศและการจัดกิจกรรม กศน. ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพย่ิงขนึ้

แผนภมู แิ สดงกระบวนการนเิ ทศตดิ ตามการจัดการศึกษาตอ่ เนอื่ ง

| คู่มือการจัดการศกึ ษาตอ่ เนื่อง (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 16

ภาคผนวก

| คู่มือการจัดการศึกษาต่อเน่อื ง (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 17

แบบการขอดาเนินการจดั การเรยี นรกู้ ารศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง แบบ กน.๑

เลขที่………………….

ตัวอย่าง ใบสมคั รผูเ้ รยี นหลกั สตู รการจัดการศึกษาตอ่ เนื่อง

สถานศึกษา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต.........................

สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลกั สูตร/กจิ กรรม……………………………….............จานวน........................ชั่วโมง

รูปแบบ กลุ่มสนใจ ชน้ั เรียนวชิ าชพี

1. ขอ้ มูลส่วนตัว (กรุณากรอกข้อมูลดว้ ยตัวบรรจง)

ชอ่ื -นามสกลุ นาย/นาง/นางสาว……………………...........................................................................................................

เลขบตั รประจาตัวประชาชน..........................................................................เกิดวนั ท่ี/เดือน/พ.ศ...............................
อายุ.........................ปี สัญชาติ......................................ศาสนา...................................อาชีพ…………............................
รายได้เฉลยี่ ต่อเดือน...............................บาท ความร้สู งู สดุ จบระดับ………………………………………………………………...

จากสถานศกึ ษา........................................................................................ จังหวัด……………………………………………....
บิดา ชอื่ -สกลุ ..................................................................................................อาชีพ……………....................................

มารดา ชอ่ื -สกลุ ..............................................................................................อาชีพ……………....................................
ที่อย่ตู ามทะเบียนบ้านเลขท่ี…………………..หม่ทู …่ี …………………..ถนน/หมูบ่ า้ น……………………………………………….....

ตาบล……………………………………………..อาเภอ……………………………………………จงั หวัด……………………………………....
รหัสไปรษณยี …์ …………………………………………..โทรศัพท.์ ...........................................................................................

ความสามารถพเิ ศษ (ถา้ มี)..........................................................................................................................................

2. สนใจสมคั รเขา้ รว่ มกจิ กรรม เน่ืองจาก……………………………………………….................................................................
เปน็ พ้ืนฐานในการศึกษาต่อในระดับ/สาขา.....................................................................................................
ต้องการเปลีย่ นอาชีพ
ตอ้ งการใชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ ต้องการมอี าชีพเสริม/อาชีพหลัก

3. สถานะภาพของผสู้ มคั ร
เปน็ ผวู้ า่ งงาน สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี สมาชกิ กองทุนสตรีเทศบาล
อสม./อสส. รบั จ้าง เกษตรกร สมาชิกกองทุนหมบู่ า้ น
อืน่ ๆ…………………………………………………………………………………………………

4. ท่านได้รบั ขา่ วสารการรบั สมคั รจาก……………………………………………………………………………………………………………..

5. พรอ้ มนไี้ ด้แนบ สาเนาบัตรประชาชน รปู ถา่ ยหน้าตรง 1 นิ้ว จานวน 2 รปู

สาหรับเจา้ หน้าที่ ลงช่อื ………………………………………………….ผู้สมัคร
ตรวจสอบรายละเอยี ด/ความเหน็ (………………………………………….)
……………………………………………….
วนั ท่ี/เดือน/ปี………………………………………….
ลงช่ือ…………………………………….ผู้รับสมัคร
(…………………………………..)

หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรบั เปลี่ยนไดต้ ามความเหมาะสม
| คู่มือการจดั การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 18

ตัวอย่าง บันทึกขออนญุ าตจัดตั้งกลมุ่ และเปิดสอนการศกึ ษาตอ่ เนื่อง แบบ กน.๒

บนั ทึกขอ้ ความ

สว่ นราชการ กศน.ตาบล/แขวง............................กศน.อาเภอ/เขต .......................... โทร. ..................................

ที่ ศธ ๐๒๑๐................... /............ วนั ท่ี.................................................................

เรื่อง ขออนุญาตจดั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง...รปู แบบ...............วชิ า..............................................หลกั สูตร................ชัว่ โมง

เรียน ผู้อานวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอ................................

ด้วย กศน.ตาบล........................................................มีความประสงค์ ขออนญุ าตจัดการศึกษาต่อเนื่อง
รปู แบบ................................. วชิ า.................................................หลกั สูตร.......................ช่ัวโมง ให้กับประชาชน
ตาบล...................................อาเภอ .......................................ณ .................................................บ้านเลขท.่ี .....................
หม่.ู ............ตาบล............................อาเภอ................................จังหวัด...............................ในระหว่างวันท่ี.......................
เดือน.......................พ.ศ.............ถึงวันท่ี..............เดือน........................พ.ศ...............เรยี นวนั .............................ถึงวัน
........................เวน้ วนั ............................ถึงวนั ...................................ตั้งแต่เวลา...........................ถงึ เวลา.........................
เรียนวันละ...............ช่ัวโมง มีผู้เรียนจานวน...........คน ชาย...........คน หญิง..........คน ดังรายช่อื ท่ีแนบ โดยมี
............................................................ เปน็ วิทยากรให้ความรู้

ในส่วนอุปกรณ์การเรยี นการสอนที่มีอยูแ่ ล้ว คอื
๑ ..........................................................ไดจ้ าก...............................................................
๒...........................................................ไดจ้ าก...............................................................

การเปิดสอนหลกั สูตร ........................................................ จานวน ............ช่ัวโมง
กศน. ตาบล/แขวง .............................กศน.อาเภอ/เขต ................. โดยขอใช้เงินงบประมาณปี .......................
.ประเภทงบ.....................รหัส ........................ ภายในวงเงิน ..........................บาท (............................................).
รายละเอยี ดดังแนบ

จึงเรยี นมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา

๑. อนุญาตใหเ้ ปิดสอนหลกั สูตรวิชา ............................จานวน ...............ชัว่ โมง ณ .........................
ในระหวา่ งวันที่ ........................................ถงึ วันท่ี .........................โดยขอจา่ ยคา่ ตอบแทนเป็นเงนิ ......................บาท
(............................................).

๒. อนมุ ตั ิหลกั การจดั ซื้อจดั จา้ งพสั ดุ สาหรบั การเปิดสอนฯ ภายในวงเงนิ ............... บาท

(........................................................)

(...................................................)
หวั หน้า กศน.ตาบล/แขวง..............................

หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรบั เปลีย่ นได้ตามความเหมาะสม
| คูม่ อื การจดั การศึกษาตอ่ เน่อื ง (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 19

แบบ กน.๓

ตัวอยา่ ง ใบสมัครวิทยากรการจัดการศึกษาตอ่ เน่ือง รปู ถ่าย

วนั ที่..................เดือน.........................พ.ศ..............

ขา้ พเจา้ (นาย/นาง/นางสาว)...............................................................................................................
อาย.ุ .....................ปี เลขประจาตัวประชาชน..........................................................................เกิดวนั ท่ี..........................
เดือน.........................................พ.ศ........................จังหวัด................................สญั ชาต.ิ ...............................................
เชอ้ื ชาติ......................................ศาสนา...................................ปัจจบุ นั อยบู่ า้ นเลขที.่ ....................................................
หม่ทู ่ี............................ถนน..............................ตาบล.......................................อาเภอ...................................................
จงั หวัด....................................รหัสไปรษณีย์......................................โทรศัพท.์ ..............................................................
วฒุ กิ ารศึกษา.............................................................สาขาวชิ า...................................................... ................................
ความสามารถพเิ ศษ........................................................................................................................................................
ปจั จุบนั ประกอบอาชพี ...............................................สถานทท่ี างาน..............................................................................
ตาบล.............................อาเภอ..............................จงั หวดั ..................................รหัสไปรษณยี .์ ......................................
ประสบการณ์งานการศกึ ษาต่อเน่อื ง เคยสอนหลกั สูตรระยะสั้นวิชา..............................................................................
......................................................................................... ...........................................ระยะเวลา..................................ปี
สถานท่ีสอน..............................................................................อาเภอ..................................จังหวดั ................................
ขอสมัครเป็นวิทยากรสอนหลกั สูตรระยะสนั้ วิชา..............................................................................................................

ทอ่ี ย/ู่ ที่ทางานทีส่ ามารถตดิ ต่อไดส้ ะดวก..........................................................................................................................
........................................................................................................โทรศพั ท์..................................................................

ขา้ พเจ้าได้แนบเอกสารรับรองความรคู้ วามสามารถและประสบการณ์ ความเช่ียวชาญในวชิ าชีพสาขาที่
ประสงคจ์ ะสมัครเป็นวิทยากรเพื่อประกอบการพิจารณา หากขา้ พเจา้ ได้รับการพจิ ารณาแต่งต้ังเปน็ วทิ ยากรหลักสูตร
ระยะส้ัน ข้าพเจ้าจะอทุ ิศเวลาเพ่ือการศึกษาของชมุ ชน พร้อมทงั้ ปฏิบตั ติ ามระเบยี บของทางราชการอยา่ งเครง่ ครดั
และใหเ้ กิดประสิทธิภาพสูงสุด

(ลงช่อื ).......................................................
(...................................................)

หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรบั เปล่ียนไดต้ ามความเหมาะสม
| คมู่ ือการจัดการศึกษาต่อเนื่อง (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 20

แบบ กน.๔

ตวั อย่าง ทะเบยี นผเู้ รยี นผจู้ บหลกั สตู รการจัดการศึกษาต่อเน่ือง
วชิ า.....................................................................จานวน....................ชั่วโมง

ระหวา่ งวนั ท.ี่ ................................................................................
สถานทจี่ ดั ...................................................................................................................................................................

ท่ี ชอื่ -สกุล เลขประจาตัว อายุ ความรู้ อาชีพ ทีอ่ ยู่ปัจจบุ ัน ผลการประเมนิ เลขที่หลกั ฐาน
ประชาชน ใบสาคัญ
ผ่าน ไมผ่ า่ น

ลงช่อื ...................................................
(.................................................)

ตาแหนง่ .......................................................

หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรับเปลย่ี นไดต้ ามความเหมาะสม
| คมู่ ือการจดั การศกึ ษาต่อเนือ่ ง (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 21

ตัวอย่าง คาสง่ั แต่งต้ังวิทยากร แบบ กน.๕

คาส่งั ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอ/เขต...............................

ท.ี่ .................../...................

เรอื่ ง แต่งตั้งวิทยากรการศึกษาตอ่ เน่ืองรปู แบบ…………………………………
......................................

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต…………............ตาบล.........................
ดาเนินการจดั การศกึ ษาต่อเน่ือง วิชา....................................................................................หลักสูตร.....................ชว่ั โมง

ใหก้ ับประชาชนในชมุ ชนและประชาชนท่ัวไปท่สี นใจ ได้ใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์ ณ กศน.ตาบล/แขวง.....................
อาเภอ………………..จงั หวดั ………………….สถานทจ่ี ดั …........................................................................................................
ระหวา่ งวนั ท.ี่ ..............เดือน..............................พ.ศ.................ถึงวนั ท.่ี ...............เดอื น..............................พ.ศ.................

เรยี นวัน......................ถงึ วัน.....................เวน้ วัน................................................ต้ังแตเ่ วลา...................ถึงเวลา................
เรียนวนั ละ.............ชว่ั โมง จานวนวนั ทีเ่ ปิดสอน…………..วัน มผี ู้เรยี นจานวน..............คน ชาย..........คน หญงิ ............คน

อาศัยระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ าร วา่ ดว้ ยการจัดการศึกษาต่อเนือ่ ง พ.ศ.๒๕๕๔ จึงแตง่ ตัง้ ให้บคุ คล

ดังตอ่ ไปนี้

๑. ....................................................................................เปน็ วิทยากร

๒. (ผู้รับผดิ ชอบเปดิ กลุ่ม).................................................เปน็ ผู้ช่วยวทิ ยากร/ อ่นื ๆ ตามความเหมาะสม

โดยให้วทิ ยากรเบิกค่าตอบแทนตามเกณฑท์ ่ีกระทรวงการคลังและสานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศยั กาหนด

ทั้งน้ี ตัง้ แตว่ ันท่ี...........เดือน......................พ.ศ...........ถึงวนั ท.ี่ .........เดอื น.....................พ.ศ...........

สัง่ ณ วนั ที่...........เดอื น......................พ.ศ. …………

(.........................................................)
ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอ/เขต...........................

หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรบั เปลย่ี นได้ตามความเหมาะสม 22

| คู่มอื การจดั การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙)

ตัวอย่างแผนท่ี สถานท่จี ัดกจิ กรรมการจัดการศกึ ษาต่อเนือ่ ง แบบ กน.๖

สถานที่.......................................บา้ น.................หมทู่ .่ี ..........ตาบล.................................
อาเภอ...................................... จงั หวดั ……………………………………..
(หรืออาจใช้จากแผนที่ google map)

ศนู ย์ กศน.
อาเภอ

ศูนย์ กศน.
ตาบล

บ้านม่วงงาม
ม.๔ ต.กระแสสินธ์ุ

หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรับเปลีย่ นไดต้ ามความเหมาะสม
| คมู่ ือการจดั การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 23

ตัวอยา่ ง แบบเขยี นหลักสตู รการศึกษาต่อเน่อื ง แบบ กน.๗

ชื่อหลกั สูตร ………………………………………………………………………………จานวน………………………………………ช่วั โมง

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต..........................................

ความเป็นมา

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………....

หลักการของหลักสตู ร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

จุดมุง่ หมาย

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…...
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…..

กลมุ่ เป้าหมาย

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………....
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………....

ระยะเวลา

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

| คมู่ อื การจดั การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 24

โครงสร้างหลกั สูตร

ที่ เรือ่ ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เนือ้ หา การจัด จานวนชั่วโมง
กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ

1

2
3

4
5





สื่อการเรียนรู้

1. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
2. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
3. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
4. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…

การวัดและประเมนิ ผล

1. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เงอื่ นไขการจบหลกั สตู ร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…..

เอกสารหลักฐานการศึกษาทีจ่ ะได้รับหลังจากจบหลกั สูตร

………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

การเทียบโอน

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรับเปลีย่ นได้ตามความเหมาะสม
| คมู่ อื การจัดการศกึ ษาตอ่ เน่ือง (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 25

ตัวอยา่ ง หนงั สอื แจ้งขอเปิดสอนการศกึ ษาต่อเน่ือง แบบ กน.๘

ท่ี ศธ . ............./............. ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ..........

วนั ท่ี.............เดือน.........................พ.ศ.....................

เร่ือง แจ้งการจัดการศึกษาต่อเนอื่ ง รูปแบบ............................

เรยี น ผูอ้ านวยการสานกั งาน กศน.จงั หวัด/กทม.

สิ่งทีส่ ่งมาด้วย หลกั ฐานการขออนญุ าตจัดการศึกษาต่อเนื่อง ในรูปแบบ................................ จานวน....................ชดุ
ดว้ ยศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต.......................... ได้จัดการศกึ ษา

เพอ่ื การศึกษาต่อเนื่อง รปู แบบ............................ ดงั ตอ่ ไปนี้
๑. หลักสตู รวชิ า.....................................................................................จานวน.........................ชว่ั โมง

สถานท่จี ดั ...........................................................................................................................สอนวันละ..................ชว่ั โมง
ระหว่างวนั ท.ี่ .................................................................วทิ ยากรช่อื ...............................................................................

๒. หลกั สูตรวิชา.....................................................................................จานวน.........................ชว่ั โมง
สถานทจ่ี ัด...........................................................................................................................สอนวนั ละ..................ชวั่ โมง
ระหว่างวนั ท่ี..................................................................วทิ ยากรชื่อ.................................................................. .............

๓. หลกั สตู รวชิ า.....................................................................................จานวน.........................ชวั่ โมง
สถานที่จัด...........................................................................................................................สอนวนั ละ..................ชว่ั โมง
ระหวา่ งวันที.่ .................................................................วิทยากรช่ือ...............................................................................

๔. หลกั สตู รวชิ า.....................................................................................จานวน.........................ชว่ั โมง
สถานทจ่ี ดั ...........................................................................................................................สอนวันละ..................ช่ัวโมง
ระหว่างวันท่ี..................................................................วิทยากรชือ่ ...............................................................................

๕. หลักสูตรวชิ า.....................................................................................จานวน.........................ชวั่ โมง
สถานทจ่ี ัด...........................................................................................................................สอนวันละ..................ช่ัวโมง
ระหว่างวนั ที.่ .................................................................วิทยากรช่อื ...............................................................................
เพ่อื …………………………………………………………………………………………………………………………………........................................................

จึงเรียนมาเพือ่ โปรดทราบ

ขอแสดงความนบั ถือ

() 26

ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอ/เขต........................

หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรบั เปลยี่ นได้ตามความเหมาะสม

| คูม่ ือการจดั การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙)

ตัวอยา่ ง บัญชลี งเวลาเรยี นการจดั การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง แบบ กน.๙

หลกั สูตร................................................ชวั่ โมง ผู้สอน..............................................จานวนนักศกึ ษา..............................คน

ระหว่างวันท่ี.......................................................................จานวน.............ชว่ั โมง เวลา...................น.ถึงเวลา..................น.

ณ .......................................................................อาเภอ/เขต..........................................จั งหวดั ..............................

ที่ ช่ือ-สกลุ วนั ที่…………………………… วนั ที่……………………………

ลายมือชอ่ื เวลามา ลายมือชอื่ เวลามา
เวลากลบั เวลากลับ

หมายเหตุ สถานศกึ ษาสามารถปรบั เปลย่ี นไดต้ ามความเหมาะสม ลงชือ่ ......................................................วิทยากรผ้สู อน
(....................................................)

ลงชอ่ื ......................................................ครู กศน.ตาบล/แขวง
(.....................................................)

| คู่มอื การจัดการศกึ ษาต่อเนือ่ ง (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 27

ตวั อยา่ ง แบบประเมนิ ผลกา

หลกั สูตร........................................................

ระหว่างวนั ท.่ี ...........เดอื น...........................พ.ศ........

สถานทจ่ี ัด ณ .................................................... ตาบ

ความรูค้ วาม ทกั ษะกา

ลาดับที่ เลขประจาตัว ช่อื -สกลุ เข้าใจใน ปฏิบตั
ประชาชน เนื้อหาสาระ

(20) (20)

หมายเหตุ การประเมินผลการจบหลกั สตู รอาจดาเนนิ การไดด้ งั นี้
1. การประเมนิ ระหว่างเรียนและเมือ่ จบหลกั สตู ร
2. ประเมินครั้งเดียวก่อนจบหลักสูตร
ท้งั นี้ เกณฑก์ ารจบหลักสูตรจะต้องไดค้ ะแนนรวมไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 6

ลงชือ่ ........................................................... วทิ ยากร
(...........................................................)

ลงชื่อ.........................................
(..........................................

ผู้อานวยการ กศน. อาเภอ/เขต.......

หมายเหตุ สถานศกึ ษาสามารถปรบั เปลยี่ นได้ตามความเหมาะสม

| คู่มือการจัดการศึกษาต

ารจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาอาชพี แบบ กน.๑๐

...........................จานวน..............................ชว่ั โมง
.......ถงึ วนั ที.่ ...........เดือน...........................พ.ศ...................
บล........................อาเภอ........................จังหวดั .................

าร คณุ ภาพของ ความรว่ มมือ จิตอาสา ผลการ ระดบั การประเมิน

ติ ผลงาน/ผล /ความสนใจ ประเมินรวม (ผา่ น/ไม่ผา่ น)

การปฏบิ ัติ

(30) (1๕) (1๕) (100)

60 จงึ จะผา่ นเกณฑ์การประเมิน
ลงช่อื ...........................................................หัวหนา้ กศน.ตาบล/แขวง
(...........................................................)

..................ผู้อนุมัติ
...................)
................................

ตอ่ เนอ่ื ง (ฉบับปรบั ปรงุ พ.|ศค.มู่ ๒อื ๕ก๕าร๙จ)ัดการศ2ึก8ษาตอ่ เนื่อง (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 28

กรอบการประเมินผลการจดั การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง

กรอบการประเมิน วิธกี ารประเมิน เกณฑ์การประเมิน

1. ความรู้ความเข้าใจในเนอ้ื หาสาระ - ทดสอบความรู้ความเขา้ ใจ - คะแนนเต็ม 20 คะแนน
- ตอ้ งได้ 1๒ คะแนนขนึ้ ไปจงึ จะถือวา่ ผา่ น
- สอบถามความรูค้ วามเขา้ ใจ

2. ทกั ษะการปฏิบตั ิ - สงั เกตการปฏิบัตใิ นระหว่างการ - ปฏบิ ัตไิ ดถ้ ูกต้องตามขนั้ ตอน คลอ่ งแคลว่
เรียนรกู้ ารจัดกจิ กรรม รวดเรว็ ไมม่ ขี อ้ ผิดพลาด/ปญั หา หากมี
- ประเมนิ โดยใหส้ าธติ /แสดง ปัญหาสามารถแกไ้ ขได้อย่างรวดเร็ว
ขน้ั ตอน วิธีการปฏิบัติ
- กรณีไม่มกี ารปฏบิ ัติจัดทาผลงาน
ใหป้ ระเมนิ จากกระบวนการ
มสี ่วนรว่ ม
(รว่ มคดิ รว่ มทา รว่ มแกป้ ัญหา)

3. คณุ ภาพของผลงาน/ผลการปฏิบัติ - สังเกต/ตรวจสอบผลงาน/ผลการ - ความถกู ตอ้ ง

ปฏิบัติ ว่าเป็นไปตามเกณฑ์ที่ - ความสมบรู ณ์

กาหนดหรือไม่ - ความแข็งแรงคงทน

- ความสวยงามประณตี

- ความประหยัด

- ความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย สภาพ

พนื้ ที่ ฯลฯ ทั้งนี้เกณฑก์ ารพิจารณาขน้ึ อยู่

กับลักษณะหรือธรรมชาตขิ องวชิ า/

หลักสตู รนัน้ ๆ

4. ความรว่ มมอื /ความสนใจ - สังเกตการให้ความร่วมมือ ความ - สนใจ ต้ังใจ เรียนรู้

ต้งั ใจ สนใจ ระหว่างเรียนรู้ เข้าร่วม - ซักถาม พดู คยุ แลกเปล่ียนกับผู้สอนและ

กิจกรรม ผู้เรียน

- สังเกตจากการเข้าร่วมกิจกรรม - เข้าเรยี น – เลิกเรียนตรงเวลา

สม่าเสมอ ตรงเวลา ฯลฯ

5. จติ อาสา - สังเกต การให้ความช่วยเหลือ - ความมนี า้ ใจ
อุทิศ เสียสละ โดยไม่ต้องร้องขอ - อุทศิ เสียสละโดยไมต่ อ้ งร้องขอ
ระหว่างเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ - การชว่ ยเหลอื แบ่งปนั
เช่น ช่วยเก็บวัสดุอุปกรณ์ ทาความ - การอาสาสมัครทาภารกจิ ต่างๆ
สะอาดสถานท่ี แบง่ ปนั วัสดุอุปกรณ์
ฯลฯ

| ค่มู อื การจดั การศกึ ษาตอ่ เน่ือง (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 29

แบบ กน.๑๑

ตัวอยา่ ง แบบรายงานผลการจบหลกั สตู รการจดั การศกึ ษาต่อเนอื่ ง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ………..
กศน.ตาบล/แขวง...........................................................

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต......................................

๑. ชือ่ หลกั สตู ร......................................................................................................จานวน.....................ชั่วโมง
๒. ชื่อวทิ ยากร/ผู้สอน ........................................ วุฒกิ ารศึกษา................ อายุ ………….ปี อาชพี .........................
๓. ประเภทของผู้สอน ( ) ข้าราชการ ( ) ลกู จ้าง ( ) วทิ ยากรภายนอก ( ) อื่น ๆ โปรดระบุ.................
๔. พน้ื ท่ีดาเนินการ ( ) ในเขตเทศบาล ช่อื หม่บู า้ น/ชมุ ชน....................หมทู่ .ี่ .....ตาบล...............อาเภอ.............จังหวดั ..........

( ) นอกเขตเทศบาล ชอ่ื หมูบ่ า้ น..............หมทู่ ่ี......ตาบล................อาเภอ..................จังหวัด.................
๕. ระยะเวลาดาเนนิ การ เมื่อวนั ที.่ .....เดอื น...................พ.ศ.................สิ้นสดุ เม่ือวันท.ี่ .....เดือน...............พ.ศ...............
๖. อนมุ ัตเิ บิกจา่ ยจากงบประมาณ ประเภทงบรายจา่ ยอื่น รหัส.....................................จานวน............................บาท

คา่ วัสด.ุ .....................................บาท ค่าตอบแทนวิทยากร...................................บาท
๗. วธิ ีการสารวจความตอ้ งการเรียน ดาเนนิ การอยา่ งไร ( ) ประชาคม ( ) แนะแนว ( ) สารวจความตอ้ งการ

( ) อื่นๆ (โปรดระบุ) ...................................................................

๘. จานวนผู้เรยี นและผู้สาเร็จการศึกษา จาแนกตามอายุและเพศ

เพศ ตา่ กวา่ ๑๕ ปี ๑๕-๓๙ ปี ๔๐-๕๙ ปี ๖๐ ปี ขน้ึ ไป รวม รวมทั้งสน้ิ
อายุ ช ญ ชญ ชญ ช ญชญ

จานวนผู้เรียน
จานวนผู้สาเรจ็

๙. จานวนผเู้ รยี นและผู้สาเร็จการศกึ ษา จาแนกตามกล่มุ อาชีพและเพศ

เพศ รับ พนกั งาน คา้ ขาย เกษตรกรรม รับจา้ ง อืน่ ๆ ไมร่ ะบุ รวม รวมทงั้ สิ้น
อายุ ราชการ รฐวสิ าหกจิ
ชญ ชญ ชญ ช ญช ญช ญ
ชญ ชญ

จานวนผเู้ รียน

จานวนผสู้ าเร็จ

๑๐. จานวนผเู้ รียนและผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา จาแนกตามกลุ่มเป้าหมายและเพศ

เพศ ผู้นา อบต. ผู้ตอ้ งขัง ทหารกอง แรงงาน แรงงาน เกษตรกร อสม. กลุ่มสตรี รวม รวม
อายุ ทอ้ งถิน่ ประจาการ ไทย ต่างด้าว ทง้ั ส้นิ

ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญช ญ ชญ

จานวนผเู้ รยี น

จานวนผู้สาเร็จ

| คมู่ อื การจัดการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 30

๑๑. จานวนผเู้ รียนและผู้สาเรจ็ การศกึ ษา แยกตามระดบั การศกึ ษาและเพศ

เพศ ตา่ กวา่ ป.๔ ประถม ม.ต้น ม.ปลาย อนปุ รญิ ญา ปริญญาตรี สูงกวา่ รวม รวมท้งั สิน้
อายุ ป.๔ ปรญิ ญาตรี

ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ชญ

จานวนผ้เู รยี น
จานวนผู้สาเร็จ

๑๒. การติดตามผู้จบหลักสตู ร
๑๒.๑ มีการติดตามผู้จบหลกั สูตรหรือไม่
( ) ไม่มี เพราะ ................................................................................................................................
( ) มี ดาเนินการอยา่ งไร ....................................................................................................................
๑๒.๒ ผลการประเมินความพงึ พอใจในการจัดหลักสูตร อยู่ในระดบั ใด .............................
๑๒.๓ ผู้จบหลักสูตรไดน้ าความรู้ไปประกอบอาชพี ได้จริง ลดรายจ่าย..............คน เพิ่มรายได้...............คน
ประกอบอาชีพ...............คน อ่นื ๆ ระบุ....................................................คน
๑๒.๔ ผู้จบหลักสตู รสามารถนาความรู้ไปพัฒนาหรือตอ่ ยอดอาชพี เดิมทาให้มีรายไดเ้ พม่ิ ข้นึ จานวน ...................คน

๑๓. ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
๑๓.๑ ปญั หา อปุ สรรค
( ) ไม่มี
( ) มี (โปรดระบ)ุ ........................................................................................................................................
๑๓.๒ ข้อเสนอแนะ

...............................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ...........................................วิทยากร
(...........................................)

ลงชอ่ื ...........................................ครู กศน.ตาบล/แขวง
(...........................................)

ลงชือ่ ...............................................เจา้ หน้าท่งี านการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง
(.............................................)

ลงชอื่ .............................................ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
(.............................................)

หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรับเปลยี่ นได้ตามความเหมาะสม
| คู่มือการจัดการศึกษาต่อเน่อื ง (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 31

ตัวอย่าง ใบสาคัญผ้ผู า่ นการเรยี น แบบ กน.๑๒

เลขที่ .................

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอ/เขต...........
ใบสาคัญฉบับน้ใี หไ้ ว้เพือ่ แสดงวา่

.........................................................................
ผา่ นการเรยี นหลกั สูตร ...................................จานวน....... ชั่วโมง

เมือ่ วนั ท่ี ...................................ถงึ วนั ที่ ................................
ขอให้มีความสุขความเจริญ

................................ .......................................

(นายทะเบียน) ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอ/เขต.............

| คู่มือการจัดการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 32

ตัวอย่าง แบบประเมินความพึงพอใจของผ้เู รยี นต่อการเรยี นรู้ แบบ กน.๑๓

หลกั สูตร................................................................ จานวน ..................... ชวั่ โมง

ระหว่างวนั ที.่ ............เดือน.........................พ.ศ............. ถึงวนั ท่.ี ............เดือน............................พ.ศ..................
สถานท่ีจัด ณ .................................................... ตาบล................. อาเภอ................... จังหวัด..........................

ระดับความพงึ พอใจ

ที่ ประเด็นการถาม 543 2 1

1 เนอื้ หาวิชาท่จี ัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของท่านเพียงใด ดมี าก ดี พอใช้ ตอ้ ง ต้องปรับปรุง
2 วิทยากรมาให้ความรตู้ รงตามเวลา
3 วิทยากรมาให้ความรู้ครบตามหลกั สตู รกาหนด ปรับปรงุ เร่งด่วน
4 ความสามารถในการถ่ายทอดความรขู้ องวทิ ยากร
5 จานวนสื่อ/อุปกรณก์ ารฝึกประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด
6 ทา่ นไดร้ ับความรูแ้ ละสามารถฝึกทกั ษะได้ตามทีค่ าดหวงั มากนอ้ ย

เพยี งใด
7 ความรทู้ ักษะที่ได้ สามารถนาไปใชป้ ระกอบอาชพี ได้เพียงใด
8 สถานทีเ่ รยี นเหมาะสมเพยี งใด
9 ทา่ นไดร้ ับโอกาสในการเรียนรู้เทา่ เทียมกนั เพยี งใด
10 ระยะเวลาในการเรยี น/ กิจกรรมเหมาะสมเพยี งใด
11 ความรู้ท่ไี ด้รับคมุ้ คา่ กบั เวลา และความต้ังใจเพยี งใด
12 ทา่ นพึงพอใจตอ่ หลักสูตรนี้เพียงใด

ขอ้ คิดเห็นอ่นื .............................................................................................................................................................................
................................................................................................................................... ..............................................................
.................................................................. ............................................................................................................................. ..
............................................................................................................................. ....................................................................

หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรับเปลยี่ นได้ตามความเหมาะสม 33

| คมู่ อื การจดั การศกึ ษาต่อเนื่อง (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙)

รายละเอยี ดการขอเบกิ เงนิ ค่าตอบแทนวทิ ยากรและรายงานผลการจดั กจิ กรรม แบบ กน.๑๔
- การขอเบิกเงนิ ค่าตอบแทนวิทยากร

ตวั อยา่ ง หนงั สอื ราชการอนุมัติเบกิ จา่ ยเงนิ ในระบบ GFMIS

ท่ี ศธ ……………………… กศน.อาเภอ/เขต............................
ท่ีอยู่ ..............................................

..............................(วัน เดือน ป)ี

เรือ่ ง ขอส่งใชเ้ งินยืมในระบบ GFMIS (โครงการ...............................................................................................)

เรียน ผู้อานวยการ สานกั งาน กศน.กทม./จังหวัด..................................................

สิง่ ท่ีสง่ มาดว้ ย หลกั ฐานการอนมุ ัติการเบกิ จา่ ยเงนิ จานวน ........................ ชดุ

ด้วยศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอ/เขต.............................................

ขอส่งหลักฐานการอนุมัติเบิกจ่ายเงินงบประมาณ งบ.................................... (โครงการ....................................................)

เพื่อเบิกเงินจากระบบ GFMIS ดงั รายการตอ่ ไปนี้

- ค่า ............................................. เปน็ เงนิ .................................................. บาท
- ค่า ............................................. เปน็ เงิน .................................................. บาท
รวมเป็นเงนิ ท้งั ส้ิน ......................................... บาท ( ..............................................................................................................)

จากเงนิ งบประมาณ ..........................................โครงการ .....................................................รหัส ........................................

ทงั้ นี้ ไดย้ มื เงิน สานกั งาน กศน.กทม./จังหวัด ...........................ไปก่อนแลว้ ตามสญั ญาเงนิ ยืมท่ี .............../...............

โดยมี ......................................................... เปน็ ผยู้ มื

จึงเรียนมาเพื่อโปรพจิ ารณาอนุมัติ
ขอแสดงความนับถือ

(.........................................)
ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอ/เขต.........................

กล่มุ งาน ...........................................................
โทร .............................. โทรสาร .....................
www. …………………………………………………...

หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรบั เปลย่ี นไดต้ ามความเหมาะสม

| คมู่ ือการจดั การศกึ ษาต่อเนือ่ ง (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 34

ตัวอย่าง บนั ทึกขอ้ ความขออนมุ ัติเบกิ เงนิ งบประมาณ แบบ กน.๑๕

บันทึกขอ้ ความ

สว่ นราชการ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต.................

ท่ี ศธ ๐๒๑๐..................../.................... วนั ที่......................................................

เร่ือง ขออนุมตั เิ บิกจ่ายเงนิ ค่า.................................หลกั สตู ร.......................................................................

เรียน ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ/เขต..................................................

ตามท่ี กศน.ตาบล/แขวง.....................ไดจ้ ดั กจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เนื่อง หลกั สูตร...........................

กจิ กรรม.......................................................................................พน้ื ทื่........................................................................

ในวนั ที่............. เดือน .......................พ.ศ. ............... ถงึ วนั ท่ี ............เดอื น...................... พ.ศ. .......................
กิจกรรม......................คน ณ..............................................................บัดน้ี การดาเนนิ งานไดเ้ สรจ็ สนิ้ แล้ว โดยมี
คา่ ใช้จา่ ยตามรามรายการดังน้ี

ค่า................................... เป็นเงนิ .................................. บาท
ค่า................................... เป็นเงนิ .................................. บาท

รวมเปน็ เงนิ ........................... บาท
แผนงานขยายโอกาสและพฒั นาคุณภาพการศึกษา เป็นเงินทงั้ สน้ิ .......................บาท (..................................)
เบิกจากงบประมาณรายจ่ายประจาปี ....................... ของ กศน.อาเภอ/เขต.....................เบิกเงินงบประมาณ
ผลผลติ ที่ ..........................รหสั งบประมาณ ......................................... (...........................................................)

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดอนุมัติ

(.............................................................)

ตาแหนง่ …………………………………………………………..
อนมุ ัติ

(.............................................................)

ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอ/เขต.............

หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรับเปลย่ี นไดต้ ามความเหมาะสม
| คู่มือการจดั การศกึ ษาตอ่ เน่ือง (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 35

ตัวอยา่ ง สรปุ งบหนา้ การเบิกเงิน แบบ กน.๑๖

ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่มสนใจ งบประมาณ ......................................รหัสงบประมาณ..........................................
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอ/เขต...........................................................

ท่ี ชื่อ-สกลุ ตาแหน่ง หลักสตู ร/ชัว่ โมง จานวนเงนิ
ค่าตอบแทน ค่าวัสดุ
1 -
2 -
3
4
5
6
7
8
9
10

รวมเปน็ เงนิ ( ...........................)

ลงช่ือ ……………….……………………. ผรู้ ับรองการปฏิบตั งิ าน
ผอู้ านวยการศูนย์................................................................

หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรบั เปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม
| คูม่ ือการจดั การศึกษาตอ่ เน่ือง (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 36

ตัวอย่าง บัญชลี งเวลาของวิทยากร แบบ กน.๑๗

ชื่อสถานศึกษา ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอ/เขต................................
ระหวา่ งวนั ท่.ี .................................................................................................................

หลกั สูตร/วิชา.............................................................................จานวน.......................ชัว่ โมง

สถานทจี่ ัด ณ..................................................................................................................

ที่ วัน เดือน ปี ช่อื -สกลุ ลายมือช่อื เวลามา ลายมือชื่อ เวลากลบั

จานวน............................วนั จานวน............................ชั่วโมง

ลงชอ่ื ......................................................
หวั หนา้ กศน.ตาบล/แขวง..............................
หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรบั เปล่ยี นได้ตามความเหมาะสม
| คมู่ ือการจดั การศึกษาตอ่ เนอื่ ง (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 37

ตัวอย่าง ใบสาคญั รับเงนิ แบบ กน.๑๘

ที่ กศน.อาเภอ/เขต..............................
วันท่.ี ..........เดอื น...............................พ.ศ................

ข้าพเจา้ (นาย, นาง, นางสาว)............................................................อยูบ่ า้ นเลขท.่ี .................................
หมทู่ ี่..............ถนน..........................ตาบล.............................อาเภอ............................จังหวัด..............................
ได้รบั เงนิ จากศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอ/เขต.......................................ดงั รายการตอ่ ไปน้ี

รายการ จานวนเงนิ
บาท ส.ต.

ได้รบั เงินค่าตอบแทนวิทยากร แหล่งการเรยี นรชู้ ุมชน.................................. ................................ -
กศน.ตาบล..........................อาเภอ........................จังหวัด............................
จานวน....................ชัว่ โมง จานวนผู้จบหลกั สตู ร....................................คน
ระหวา่ งวันท่ี..........................................................................เป็นเงนิ ทงั้ สิ้น

รวมเงนิ -
................................

จานวนเงินเป็นตัวอักษร (.........................................................................................)

ลงชื่อ.............................................ผู้เบิก
(............................................)

ลงช่ือ...........................................ผูจ้ ่ายเงนิ
(...........................................)

ตาแหน่ง..............................................

หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรบั เปลีย่ นไดต้ ามความเหมาะสม

| คูม่ อื การจดั การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 38

ตวั อย่าง แบบคาขอรบั เงินผา่ นธนาคาร แบบ กน.๑๙

สานกั งาน กศน.อาเภอ/เขต.......................
วนั ท.ี่ ............เดือน...............................พ.ศ.................

เรียน ผู้อานวยการสานกั งาน กศน.จังหวดั /กทม................................................

ข้าพเจ้า...................................................................ตาแหน่ง........................................... .................
สานกั /กอง/ฝ่าย...........................................อยบู่ ้านเลขท่.ี ......................หมู่...............ถนน.........................................
ตาบล/แขวง............................................อาเภอ/เขต........................................จังหวดั .................................................
รหสั ไปรษณีย์.........................................โทรศพั ท.์ ..............................................

(........) ขา้ ราชการ
บัตร (........) ลกู จา้ ง เลขท่ี................................วันออกบัตร.............................วันท่ีหมดอายุ..............................

(........) ประชาชน
มีความประสงคข์ อรับเงินผา่ นธนาคาร.............................................สาขา........................................

เลขท่บี ญั ชเี งนิ ฝาก...........................................................ดงั รายการตอ่ ไปน้ี
1...................................................................จานวนเงิน...........................................บาท
2...................................................................จานวนเงิน.................... .......................บาท
3...................................................................จานวนเงิน...........................................บาท
4...................................................................จานวนเงนิ ...........................................บาท

ลงชือ่ .......................................................ผู้ย่นื คาขอ
(.....................................................)

ลงชอ่ื .......................................................ผจู้ า่ ยเงิน/ ผู้บนั ทกึ การโอน
(.....................................................)

หมายเหตุ : กาเครื่องหมาย / ในชอ่ ง ( ) ช่องใดช่องหน่ึง 39
: กรณีมีค่าธรรมเนียมหรือค่าใชจ้ ่ายอน่ื ใดที่ธนาคารเรียกเกบ็ ข้าพเจา้ ยนิ ยอมใหห้ กั เงินดงั กลา่ ว

จากเงินที่ไดร้ บั จากทางราชการ
: หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรับเปล่ยี นไดต้ ามความเหมาะสม

| คู่มอื การจัดการศกึ ษาต่อเนื่อง (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙)

๒.๒ การนิเทศตดิ ตาม และรายงานผลการจัดการศกึ ษาต่อเนื่อง แบบ กน.๒๐
ตัวอยา่ ง เครอ่ื งมือนเิ ทศตดิ ตามการจัดการศกึ ษาต่อเนือ่ ง ปีงบประมาณ............

คาช้ีแจง ให้ผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ หรือผู้รับผิดชอบการนิเทศ สอบถาม สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบงานการศึกษาต่อเน่ือง
ครูผู้สอนหรือผู้เรียน สังเกตสภาพห้องเรียน กระบวนการจัดการเรียนการสอน และตรวจทานเอกสารหลักสูตร ส่ือ ฯลฯ
แล้วบนั ทกึ สภาพท่พี บ พรอ้ มทง้ั ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพัฒนาและผลงาน ช้ินงานเด่นลงในแบบนิเทศตดิ ตาม

ชื่อสถานศกึ ษา/กลุ่มสานกั งาน กศน.จงั หวดั /กทม./ศฝช...........................................จังหวัด..........................

ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพท่ีพบ ขอ้ นิเทศ ข้อเสนอแนะ

การจดั การศึกษาตอ่ เน่ือง
รปู แบบกลุ่มสนใจและชั้นเรยี นวิชาชีพ
๑. การจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ

๑.๑ หลกั สตู รและแผนการจดั การเรียนรู้
- หลักสตู รมีองคป์ ระกอบครบถ้วนตามกระบวนการพฒั นา
หลักสตู รหรือไม่ ดาเนินการอยา่ งไร
- หลักสตู รท่ใี ชใ้ นการสอนไดพ้ ฒั นาขนึ้ เอง หรือนามาจาก
แหลง่ อน่ื (ระบุแหลง่ ที่มา)
- เนื้อหาหลกั สตู รมีการบรู ณาการสภาพปญั หา
ความตอ้ งการของผู้เรียน ชมุ ชน และแนวโนม้ การพฒั นา
หรอื ไม่ อยา่ งไร
- หลกั สูตรที่ดาเนนิ การสอดคลอ้ งตามหลักการ และ
รปู แบบการจัดกลุม่ สนใจ และชน้ั เรียนวิชาชีพหรอื ไม่ อยา่ งไร
- มแี ผนงาน/ กจิ กรรมเพอื่ ส่งเสริมการฝกึ วิชาชพี ชา่ ง
พนื้ ฐานทีส่ อดคล้องกบั ความต้องการของประชาชน และ
ตลาดแรงงานหรือไม่ อย่างไร
- มกี ารประชมุ ช้ีแจง/ อบรมเทคนิควธิ ีการถา่ ยทอดความรู้
แกว่ ทิ ยากร ก่อนดาเนินการหรอื ไม่ อย่างไร
- มกี ารประเมินหลักสูตรหรอื ไม่ ดาเนนิ การอยา่ งไร
๑.๒ จดั การเรียนรู้
- วทิ ยากร มีความรคู้ วามสามารถและมีเทคนิคการ
ถา่ ยทอดเหมาะสมหรือไม่ อยา่ งไร
- วิทยากร จดั การเรยี นรูต้ ามแผนท่กี าหนด หรือไม่
- วสั ดุ อุปกรณ์ มีความเพยี งพอและสถานท่ีจัดกิจกรรม
เหมาะสม หรือไมอ่ ย่างไร
- มีการใชส้ ่อื แหล่งเรียนร้/ู ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ประกอบการ
สอนหรอื ไม่ อย่างไร

| คมู่ อื การจัดการศึกษาตอ่ เนื่อง (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙) 40

ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพท่พี บ ข้อนิเทศ ข้อเสนอแนะ

- มบี นั ทึกหลังสอนหรอื ไม่ อย่างไร
- มีการวดั ผล ประเมนิ ผลการเรยี นร้สู อดคล้องตาม
หลักสูตรหรือไม่ อย่างไร
- มเี ครื่องมอื วธิ กี ารวัดผล ประเมนิ ผลหรอื ไม่
- มกี ารประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้เรยี นทกุ หลกั สตู ร
หรือไม่ อยา่ งไร
- มีการอนุมัติการจบหลักสตู รหรอื ไม่
- มกี ารจดั ทารายงานผลการปฏบิ ตั ิงานเมื่อสิน้ สุดโครงการ
หรอื ไม่ อยา่ งไร
๑.๓ การนาความรไู้ ปใช้ของผ้เู รียน
- มกี ระบวนการตดิ ตามผู้จบหลกั สตู รหรอื ไม่ อย่างไร
- มีการจัดทารายงานการตดิ ตามผ้จู บหลักสตู รหรือไม่
อยา่ งไร
- มกี ารจัดทาทะเบยี นหรอื ทาเนยี บผ้เู รยี น ผู้จบหลักสูตร
หรอื ไม่ อย่างไร

๒. การศึกษาเพ่อื พฒั นาทักษะชีวิต
- กิจกรรมดาเนินการสอดคล้องตามหลักการจดั การศึกษา

เพอ่ื พฒั นาทกั ษะชวี ิต ทสี่ านักงาน กศน.กาหนด หรอื ไม่
อยา่ งไร

- กิจกรรมมคี วามเหมาะสมสอดคล้องกบั สภาพปญั หา
ความตอ้ งการของประชาชน และชุมชนหรือไม่ อย่างไร

- กิจกรรมท่ดี าเนินการใช้รูปแบบกลมุ่ สนใจ หรอื ชน้ั เรยี น
วิชาชพี เพราะเหตใุ ด

- แผนการจัดกจิ กรรมท่ีดาเนนิ การ มีการฝึกทกั ษะชวี ติ
ด้านใดบา้ ง เหมาะสมกับสภาพกลมุ่ เป้าหมายหรือไม่ อย่างไร

- มกี ารใชส้ ่อื เทคโนโลยี แหลง่ เรียนรู้ ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ
ประกอบการจดั กจิ กรรมหรือไม่ อย่างไร

- มกี ารประเมินผลการจัดกิจกรรมหรือไม่ อย่างไร
- มีการจดั ทารายงานผลการจัดกจิ กรรม เม่ือจบหลกั สตู ร
หรอื ไม่ อยา่ งไร
- มีการติดตามผลการนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์หรือไม่
อย่างไร

| คมู่ ือการจดั การศึกษาต่อเนอ่ื ง (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) 41


Click to View FlipBook Version