ตวั อยา่ งสรปุ ผลการประเมนิ การผันวรรณยุกต์ค�ำ ในแม่ ก กา
ที่ ชอ่ื - ส ก ลุ ( ๑ฉ๕บ คบั ะทแผ่ี น๑ลน ก)า ร ประเม(๑ินฉ๕ บคบั ะทแ ี่ น๒น ) (๓ค๐ระควแ ะมนแนน น) สผร่าุปนผ ลการปรไมะเผ่ ม่าินน
หมายเหตุ
๑. ถ้ารวมคะแนนไดร้ ้อยละ ๘๐ ข้ึนไป และคะแนนรายแบบประเมนิ ได้ร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป ทุกแบบประเมิน
ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
๒. ถ้ารวมคะแนนได้ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป แต่คะแนนรายแบบประเมินบางแบบประเมินได้ไม่ถึง
ร้อยละ ๘๐ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ แต่ให้ซอ่ มเสริมสว่ นทีไ่ มถ่ งึ ร้อยละ ๘๐
๓. ถา้ รวมคะแนนไดไ้ มถ่ งึ รอ้ ยละ ๘๐ ถอื วา่ ไมผ่ า่ นเกณฑใ์ หส้ อนซอ่ มเสรมิ ในกรณที น่ี กั เรยี นไดค้ ะแนน
บางแบบประเมนิ ร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป ไม่ตอ้ งซ่อมเสริมสว่ นนนั้
คู่มอื การสอนอา่ นเขียน 145 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
หนว่ ยท่ี ๖ การแจกลกู สะกดคำ�ทม่ี ีตวั สะกดตรงตามมาตรา
สว่ นที่ ๑ ความรู้ส�ำ หรบั ครู
ตวั สะกด คือ พยัญชนะที่ประกอบอย่ทู า้ ยสระ และมเี สยี งประสมเข้ากบั สระ ท�ำ ให้หนักขนึ้
ตามฐานของพยญั ชนะ มี ๘ มาตรา ดงั นี้
๑. ตัวสะกด แมก่ ง มี ง เป็นตวั สะกด ออกเสียง /ง/ เชน่ กาง ลอง แดง ยิง เตียง ฯลฯ
๒. ตัวสะกด แมก่ น มี น เป็นตวั สะกด ออกเสียง /น/ เชน่ สอน เทียน วนั อ่าน เยน็ ฯลฯ
๓. ตวั สะกด แมก่ ม มี ม เป็นตวั สะกด ออกเสียง /ม/ เชน่ ถาม จม เติม รวม เล่ม ฯลฯ
๔. ตัวสะกด แม่เกย มี ย เป็นตัวสะกด ออกเสยี ง /ย/ เช่น ยาย โรย เลย สวย ซอย ฯลฯ
๕. ตัวสะกด แมเ่ กอว มี ว เปน็ ตัวสะกด ออกเสียง /ว/ เชน่ ขาว เร็ว เขียว แมว นวิ้ ฯลฯ
๖. ตัวสะกด แมก่ ก มี ก เปน็ ตวั สะกด ออกเสยี ง /ก/ เช่น มาก พวก ลกู ปอก ฟัก ฯลฯ
๘. ตัวสะกด แมก่ บ มี บ เปน็ ตวั สะกด ออกเสยี ง /บ/ เชน่ ชอบ เล็บ เสียบ แอบ ตบั ฯลฯ
คำ�ว่า แม่ กับคำ�ว่า มาตรา ใช้แทนกันได้ ปัจจุบันท้ังคำ�ว่า แม่และมาตราใช้แสดงการประสม
อักษรและจำ�กัดเฉพาะกรณที ี่ถอื ตวั สะกดเป็นหลัก
มาตราตัวสะกดท่ีมีเฉพาะพยัญชนะตรงตามมาตรามี ๔ มาตรา คือ แม่กง แม่กม แม่เกย
และแมเ่ กอว สว่ นอกี ๔ มาตรา มพี ยญั ชนะอนื่ ๆ เปน็ ตวั สะกดทอ่ี า่ นออกเสยี งตามมาตราตวั สะกดนน้ั ๆ
คอื แมก่ ก แม่กด แม่กบ และแมก่ น
คูม่ อื การสอนอ่านเขยี น 146 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
๑. คำ�ท่มี ตี วั สะกดในแม่กง แม่กน แมก่ ม แม่เกย และแม่เกอว
๑.๑ ค�ำ ทป่ี ระสมดว้ ยพยัญชนะต้นเปน็ อกั ษรกลาง + สระเสยี งยาว + ตวั สะกดแม่กง
กน กม เกย และ เกอว อา่ นออกเสียงเป็นเสยี งสามญั เช่น
กาง สะกดว่า กอ - อา - งอ กาง
กาน สะกดว่า กอ - อา - นอ กาน
กาม สะกดว่า กอ - อา - มอ กาม
กาย สะกดวา่ กอ - อา - ยอ กาย
กาว สะกดว่า กอ - อา - วอ กาว
๑.๒ คำ�ท่ปี ระสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง + สระเสียงสนั้ + ตวั สะกดแม่กง
กน กม เกย และ เกอว อ่านออกเสยี งเป็นเสยี งสามญั เชน่
กัง สะกดว่า กอ - อะ - งอ กงั
กัน สะกดวา่ กอ - อะ - นอ กนั
ติม สะกดวา่ ตอ - อิ - มอ ติม
จุย สะกดว่า จอ - อุ - ยอ จุย
ติว สะกดว่า ตอ - อิ - วอ ติว
๑.๓ คำ�ที่ประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรต่ํา + สระเสียงยาว + ตัวสะกดแม่กง
กน กม เกย และ เกอว อ่านออกเสียงเป็นเสยี งสามญั เช่น
คาง สะกดว่า คอ - อา - งอ คาง
คาน สะกดวา่ คอ - อา - นอ คาน
งาม สะกดวา่ งอ - อา - มอ งาม
คาย สะกดวา่ คอ - อา - ยอ คาย
ราว สะกดว่า รอ - อา - วอ ราว
๑.๔ คำ�ท่ีประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรต่ํา + สระเสียงส้ัน + ตัวสะกดแม่กง
กน กม เกย และ เกอว อา่ นออกเสยี งเป็นเสียงสามญั เช่น
รงั สะกดว่า รอ - อะ - งอ รัง
รนั สะกดวา่ รอ - อะ - นอ รนั
ชิม สะกดว่า ชอ - อิ - มอ ชิม
คู่มือการสอนอา่ นเขยี น 147 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
ลุย สะกดวา่ ลอ - อุ - ยอ ลุย
ควิ สะกดวา่ คอ - อิ - วอ ควิ
๑.๕ คำ�ท่ีประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง + สระเสียงยาว + ตัวสะกดแม่กง
กน กม เกย และ เกอว อ่านออกเสียงเปน็ เสยี งจัตวา เช่น
สาง สะกดวา่ สอ - อา - งอ สาง
สาน สะกดว่า สอ - อา - นอ สาน
ขาม สะกดวา่ ขอ - อา - มอ ขาม
ขาย สะกดว่า ขอ - อา - ยอ ขาย
ขาว สะกดวา่ ขอ - อา - วอ ขาว
๑.๖ คำ�ที่ประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง + สระเสียงสั้น + ตัวสะกดแม่กง
กน กม เกย และ เกอว อ่านออกเสียงเป็นเสียงจัตวา เช่น
ขงั สะกดวา่ ขอ - อะ - งอ ขัง
ขัน สะกดวา่ ขอ - อะ - นอ ขนั
ขมิ สะกดวา่ ขอ - อิ - มอ ขิม
ขยุ สะกดว่า ขอ - อุ - ยอ ขยุ
หวิ สะกดวา่ หอ - อิ - วอ หิว
๒. คำ�ทีม่ ีตัวสะกดในแมก่ ก แม่กด แม่กบ
๒.๑ ค�ำ ที่ประสมด้วยพยัญชนะตน้ เป็นอักษรกลาง + สระเสยี งยาว + ตัวสะกดแม่กก
กด และ กบ อ่านออกเสียงเป็นเสยี งเอก เช่น
จาก สะกดวา่ จอ - อา - กอ จาก
จาด สะกดว่า จอ - อา - ดอ จาด
จาบ สะกดวา่ จอ - อา - บอ จาบ
๒.๒ ค�ำ ท่ปี ระสมด้วยพยัญชนะตน้ เปน็ อักษรกลาง + สระเสียงสนั้ + ตวั สะกดแมก่ ก
กด และ กบ อ่านออกเสยี งเป็นเสยี งเอก เช่น
ตัก สะกดวา่ ตอ - อะ - กอ ตกั
ตัด สะกดวา่ ตอ - อะ - ดอ ตัด
ตบั สะกดว่า ตอ - อะ - บอ ตบั
ค่มู อื การสอนอา่ นเขยี น 148 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
๒.๓ คำ�ท่ีประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรต่ํา + สระเสียงยาว + ตัวสะกดแม่กก
กด และ กบ อา่ นออกเสยี งเป็นเสียงโท เช่น
ราก สะกดว่า รอ - อา - กอ ราก
ราด สะกดว่า รอ - อา - ดอ ราด
ราบ สะกดวา่ รอ - อา - บอ ราบ
๒.๔ คำ�ที่ประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรต่ํา + สระเสียงส้ัน + ตัวสะกดแม่กก
กด และ กบ อา่ นออกเสียงเป็นเสยี งตรี เชน่
รัก สะกดว่า รอ - อะ - กอ รัก
รัด สะกดวา่ รอ - อะ - ดอ รดั
รับ สะกดวา่ รอ - อะ - บอ รบั
๒.๕ คำ�ที่ประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง + สระเสียงยาว + ตัวสะกดแม่กก
กด และ กบ อา่ นออกเสียงเป็นเสียงเอก เช่น
สาก สะกดวา่ สอ - อา - กอ สาก
สาด สะกดว่า สอ - อา - ดอ สาด
สาบ สะกดว่า สอ - อา - บอ สาบ
๒.๖ คำ�ที่ประสมด้วยพยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง + สระเสียงสั้น + ตัวสะกดแม่กก
กด กบ อ่านออกเสยี งเปน็ เสยี งเอก เชน่
สัก สะกดว่า สอ - อะ - กอ สกั
สัด สะกดวา่ สอ - อะ - ดอ สดั
สับ สะกดว่า สอ - อะ - บอ สับ
ในหนว่ ยนี้ น�ำ เสนอค�ำ ทปี่ ระสมสระ เมอื่ มตี วั สะกด ซงึ่ สระจะมกี ารเปลย่ี นแปลง โดยบางสระ
จะลดรปู หรอื เปล่ยี นรูป ดงั นี้
๑. คำ�ประสมสระอะ (-ะ) มีตัวสะกด เม่อื เขยี นค�ำ จะเปล่ียนรปู -ะ เป็น -ั แตย่ ังคง
อา่ นออกเสียงสระอะ เชน่ ผกั รกั ขัง ดงั จดั วดั ฉนั คนั ขบั จบั ฯลฯ
ผัก สะกดวา่ ผอ - อะ - กอ อ่านว่า ผัก
ฉนั สะกดว่า ฉอ - อะ - นอ อ่านว่า ฉนั
จดั สะกดว่า จอ - อะ - ดอ อา่ นวา่ จัด
คมู่ อื การสอนอ่านเขยี น 149 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
๒. คำ�ประสมสระเอะ (เ-ะ) สระแอะ (แ-ะ) มีตัวสะกด เมื่อเขียนคำ�จะเปลี่ยนรูป -ะ
เป็น -็ แต่ยังคงอ่านออกเสียง สระเอะ สระแอะ เช่น เด็ก เข็น เจ็บ เล็ง เค็ม เต็ม เป็ด แข็ง
เปน็ ตน้
เด็ก สะกดว่า ดอ - เอะ - กอ อ่านว่า เดก็
แข็ง สะกดวา่ ขอ - แอะ - งอ อ่านวา่ แขง็
๓. คำ�ประสมสระโอะ (โ-ะ) มีตัวสะกด เม่ือเขียนคำ� สระ โ-ะ จะหายไป แต่ยังคง
อา่ นออกเสยี ง สระโอะ เช่น นม คน ธง กบ ฝน นก มด ฯลฯ
นม สะกดว่า นอ - โอะ - มอ อา่ นวา่ นม
คน สะกดวา่ คอ - โอะ - นอ อ่านว่า คน
๔. คำ�ประสมสระอัว (- ัว) มีตัวสะกด เมื่อเขียนคำ�จะลดรูป สระ - ัว ทำ�ให้ - ั
หายไป เหลอื แต่ตวั ว แต่ยงั คงอา่ นออกเสยี ง สระ - วั เชน่ ขวด นวด สวย รวย บวก
ขวด สะกดวา่ ขอ - อวั - ดอ อา่ นวา่ ขวด
สวย สะกดวา่ สอ - อัว - ยอ อา่ นวา่ สวย
๕. คำ�ประสมสระเออ (เ-อ) มีตัวสะกด เมื่อเขียนคำ�จะเปลี่ยนรูป อ เป็น -ิ แต่ยังคง
อ่านออกเสียง สระ เ-อ เช่น เดนิ เกดิ เพงิ เนนิ เดมิ เบกิ
เดิน สะกดว่า ดอ - เออ - นอ อา่ นว่า เดิน
เกิด สะกดว่า กอ - เออ - ดอ อา่ นวา่ เกดิ
คำ�ประสมสระ เ-อ มีตัวสะกด ย เมอื่ เขยี นค�ำ จะลดรูป ท�ำ ให้รปู อ หายไป แต่ยังคง
อา่ นออกเสยี ง สระ เ-อ เช่น เขย เงย เฉย เตย เนย เอย เลย เชย
เนย สะกดว่า นอ - เออ - ยอ อา่ นว่า เนย
เตย สะกดว่า ตอ - เออ - ยอ อ่านว่า เตย
๖. คำ�ประสมสระ ออ เมื่อมีสะกด ร เมื่อเขียนคำ�จะทำ�ให้รูป อ หายไป แต่ยังคง
อ่านออกเสยี ง สระ ออ เช่น จร พร ศริ
๗. ค�ำ ประสมสระเอาะ (เ-าะ) มสี ะกด เม่ือเขียนค�ำ จะเปลีย่ นรูป เ - าะ เป็น -็ อ เช่น
ก็อก นอ็ ก มอ็ บ
คูม่ ือการสอนอ่านเขยี น 150 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
การสอนอ่านแจกลูกสะกดคำ�ท่ีมีพยัญชนะต้น สระ และมีตัวสะกดตรงตามมาตรา
ควรจดั ลำ�ดบั เนอื้ หา โดยเรม่ิ จากการเปลยี่ นพยญั ชนะตน้ เพยี งอยา่ งเดยี วกอ่ น แลว้ จงึ เปลย่ี นพยญั ชนะ
ต้นและสระ เมื่อนักเรียนอ่านคำ�ท่ีมีตัวสะกดท้ัง ๘ มาตราได้คล่องแล้ว จึงฝึกให้นักเรียนอ่านชุดคำ�
ท่ีคงพยัญชนะต้นและสระเดิม แล้วเปลี่ยนตัวสะกดเป็นชุด ๆ จะเห็นได้ว่าการอ่านแจกลูก
จะเปล่ยี นไปตามเสยี งตวั สะกด
คมู่ ือการสอนอ่านเขียน 151 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
สว่ นท่ี ๒ แนวทางการจัดการเรียนรู้
การแจกลกู สะกดค�ำ ท่ีมตี ัวสะกดตรงตามมาตรา มีขั้นตอนการจดั การเรยี นรู้ ดงั นี้
ขั้นที่ ๑
การจัดการเรียนรู้คำ�ที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราในแม่กง กน ควรทบทวนการอ่าน
และเขยี นสะกดค�ำ ในแม่ ก กา โดยเนน้ เรอื่ งพยญั ชนะตน้ ตามหมอู่ กั ษรไตรยางศ์ การประสมสระเสยี งสนั้
และยาว โดยฝึกอ่านคำ�ในแม่ ก กา ก่อน แล้วจึงสอนเขียนสะกดคำ� ต่อจากนั้นสอนแจกลูกต่อ
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความแมน่ ย�ำ ในเนอื้ หา ตอ่ มาจงึ สอนอา่ นสะกดค�ำ ทสี่ ะกดดว้ ยตวั สะกดในแมก่ ง กน ควบคกู่ บั
การสอนเขียนพยัญชนะต้นหมู่ละ ๔ - ๕ ตัว สระส้ันยาว ๑ คู่ เช่น สระ -ิ -า โดยยังไม่สอนสระ
ทม่ี ีตวั สะกดแล้วเปลี่ยนแปลงหรือลดรปู
การสอนใหน้ กั เรยี นฝึกแจกลูกสะกดคำ�ในแม่กง แมก่ น นี้ ครสู ามารถใชแ้ ผนภมู ิการแจกลกู
สระและตวั สะกดคงที่ได้ ดังนี้
๑. ฝกึ การอ่านโดยการแจกลูกสะกดค�ำ ทสี่ ะกดดว้ ยอกั ษรในแมก่ ง
๑.๑ พยญั ชนะตน้ อกั ษรกลาง + สระเสยี งยาว + ตวั สะกดแมก่ ง
ก กาง
จ จาง
บ -าง บาง
ป ปาง
อ อาง
คู่มอื การสอนอ่านเขียน 152 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
ใหน้ กั เรยี นฝกึ อา่ นและเขยี นสะกดคำ�ในแม่กง เช่น
กาง สะกดวา่ กอ - อา - งอ กาง
เขยี นสะกดเรยี งตามล�ำ ดบั ตัวอักษรเป็น กอ ไก่ - สระอา - งอ งู
จาง สะกดวา่ จอ - อา - งอ จาง
เขียนสะกดเรยี งตามลำ�ดบั ตวั อักษรเปน็ จอ จาน - สระอา - งอ งู
บาง สะกดว่า บอ - อา - งอ บาง
เขียนสะกดเรยี งตามล�ำ ดับตวั อกั ษรเป็น บอ ใบไม้ - สระอา - งอ งู
ปาง สะกดวา่ ปอ - อา - งอ ปาง
เขียนสะกดเรียงตามลำ�ดับตัวอักษรเป็น ปอ ปลา - สระอา - งอ งู
อาง สะกดวา่ ออ - อา - งอ อาง
เขยี นสะกดเรียงตามล�ำ ดบั ตวั อกั ษรเป็น ออ อ่าง - สระอา - งอ งู
๑.๒ พยญั ชนะตน้ อักษรกลาง + สระเสียงสั้น + ตวั สะกดแมก่ ง
ก กิง
จ จงิ
ด -งิ ดงิ
ป ปิง
อ องิ
ใหน้ กั เรียนฝึกอา่ นและเขยี นสะกดค�ำ ในแมก่ ง เชน่
ปงิ สะกดวา่ ปอ - อิ - งอ ปงิ
เขยี นสะกดเรียงตามลำ�ดบั ตวั อักษรเปน็ ปอ ปลา - สระอิ - งอ งู
องิ สะกดวา่ ออ - อิ - งอ อิง
เขียนสะกดเรยี งตามลำ�ดับตวั อักษรเปน็ ออ อา่ ง - สระอิ - งอ งู
คมู่ ือการสอนอา่ นเขียน 153 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
๑.๓ พยัญชนะตน้ อักษรสูง + สระเสยี งยาว + ตัวสะกดแมก่ ง
ข ขาง
ผ ผาง
ฝ -าง ฝาง
ส สาง
ห หาง
ใหน้ ักเรยี นฝกึ อ่านและเขียนสะกดค�ำ ในแม่กง เชน่
ฝาง สะกดวา่ ฝอ - อา - งอ ฝาง
เขยี นสะกดเรียงตามลำ�ดบั ตวั อักษรเป็น ฝอ ฝา - สระอา - งอ งู
สาง สะกดวา่ สอ - อา - งอ สาง
เขียนสะกดเรียงตามลำ�ดบั ตวั อักษรเปน็ สอ เสอื - สระอา - งอ งู
หาง สะกดวา่ หอ - อา - งอ หาง
เขียนสะกดเรยี งตามล�ำ ดบั ตัวอักษรเปน็ หอ หีบ - สระอา - งอ งู
๑.๔ พยญั ชนะตน้ อกั ษรสงู + สระเสยี งส้นั + ตัวสะกดแม่กง
ข ขิง
ผ ผิง
ฝ -ิง ฝงิ
ส สงิ
ห หิง
คู่มอื การสอนอา่ นเขยี น 154 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
ให้นักเรยี นฝกึ อา่ นและเขียนสะกดค�ำ ในแมก่ ง เชน่
ขงิ สะกดวา่ ขอ - อิ - งอ ขงิ
เขยี นเรยี งลำ�ดับตวั อักษรเป็น ขอ ไข่ - สระอิ - งอ งู
ผงิ สะกดว่า ผอ - อิ - งอ ผงิ
เขียนเรยี งล�ำ ดบั ตวั อักษรเป็น ผอ ผึ้ง - สระอิ - งอ งู
สงิ สะกดว่า สอ - อิ - งอ สงิ
เขยี นเรียงลำ�ดบั ตัวอกั ษรเป็น สอ เสอื - สระอิ - งอ งู
๑.๕ พยญั ชนะต้นอกั ษรตํ่า + สระเสียงยาว + ตัวสะกดแมก่ ง
ว วาง
น นาง
ค -าง คาง
ท ทาง
ร ราง
ใหน้ กั เรยี นฝึกอ่านและเขียนสะกดค�ำ ในแมก่ ง เช่น
วาง สะกดวา่ วอ - อา - งอ วาง
เขียนเรยี งลำ�ดบั ตัวอักษรเปน็ วอ แหวน - สระอา - งอ งู
นาง สะกดวา่ นอ - อา - งอ นาง
เขยี นเรยี งลำ�ดบั ตวั อกั ษรเป็น นอ หนู - สระอา - งอ งู
คาง สะกดว่า คอ - อา - งอ คาง
เขยี นเรียงลำ�ดบั ตัวอกั ษรเป็น คอ ควาย - สระอา - งอ งู
ทาง สะกดวา่ ทอ - อา - งอ ทาง
เขียนเรยี งลำ�ดบั ตัวอักษรเป็น ทอ ทหาร - สระอา - งอ งู
ราง สะกดว่า รอ - อา - งอ ราง
เขยี นเรยี งล�ำ ดับตวั อกั ษรเป็น รอ เรือ - สระอา - งอ งู
คู่มือการสอนอ่านเขียน 155 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
๑.๖ พยัญชนะต้นอกั ษรต่ํา + สระเสยี งสนั้ + ตวั สะกดแมก่ ง
ว วงิ
น นงิ
ช -งิ ชิง
ย ยงิ
ล ลงิ
ให้นักเรยี นฝึกอ่านและเขียนสะกดคำ�ในแม่กง เช่น
ชงิ สะกดว่า ชอ - อิ - งอ ชิง
เขยี นเรยี งล�ำ ดบั ตวั อักษรเป็น ชอ ช้าง - สระอิ - งอ งู
ยงิ สะกดวา่ ยอ - อิ - งอ ยงิ
เขยี นเรยี งล�ำ ดบั ตวั อักษรเปน็ ยอ ยกั ษ์ - สระอิ - งอ งู
ลิง สะกดวา่ ลอ - อิ - งอ ลงิ
เขยี นเรยี งลำ�ดับตัวอกั ษรเป็น ลอ ลิง - สระอิ - งอ งู
๒. ฝึกแจกลกู ค�ำ ในแม่กน
๒.๑ พยญั ชนะต้นอกั ษรกลาง + สระเสียงยาว + ตวั สะกดแม่กน
ก กาน
จ จาน
บ -าน บาน
ป ปาน
อ อาน
คู่มือการสอนอา่ นเขยี น 156 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
ใหน้ กั เรยี นฝกึ อ่านและเขยี นสะกดคำ�ในแมก่ น เชน่
กาน สะกดว่า กอ - อา - นอ กาน
เขยี นเรยี งล�ำ ดับตัวอกั ษรเป็น กอ ไก่ - สระอา - นอ หนู
จาน สะกดว่า จอ - อา - นอ จาน
เขยี นเรียงล�ำ ดับตวั อักษรเป็น จอ จาน - สระอา - นอ หนู
บาน สะกดว่า บอ - อา - นอ บาน
เขยี นเรยี งล�ำ ดับตวั อกั ษรเป็น บอ ใบไม้ - สระอา - นอ หนู
ปาน สะกดวา่ ปอ - อา - นอ ปาน
เขียนเรียงลำ�ดับตวั อกั ษรเปน็ ปอ ปลา - สระอา - นอ หนู
๒.๒ พยัญชนะตน้ อักษรกลาง + สระเสยี งสัน้ + ตัวสะกดแม่กน
ก กิน
จ จิน
ด -ิน ดนิ
ป ปนิ
อ อิน
ให้นกั เรยี นฝึกอ่านและเขียนสะกดค�ำ ในแมก่ น เช่น
กนิ สะกดว่า กอ - อิ - นอ กนิ
เขียนเรียงล�ำ ดบั ตวั อักษรเป็น กอ ไก่ - สระอิ - นอ หนู
ดนิ สะกดว่า ดอ - อิ - นอ ดิน
เขียนเรียงล�ำ ดบั ตวั อกั ษรเป็น ดอ เดก็ - สระอิ - นอ หนู
ปนิ สะกดวา่ ปอ - อิ - นอ ปิน
เขียนเรยี งลำ�ดับตัวอักษรเป็น ปอ ปลา - สระอิ - นอ หนู
คูม่ อื การสอนอ่านเขยี น 157 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
๒.๓ พยญั ชนะตน้ อักษรสงู + สระเสยี งยาว + ตัวสะกดแม่กน
ข ขาน
ผ ผาน
ฝ -าน ฝาน
ส สาน
ห หาน
ใหน้ กั เรยี นฝึกอา่ นและเขยี นสะกดค�ำ ในแม่กน เชน่
ขาน สะกดว่า ขอ - อา - นอ ขาน
เขยี นเรียงล�ำ ดบั ตัวอกั ษรเป็น ขอ ไข่ - สระอา - นอ หนู
ผาน สะกดว่า ผอ - อา - นอ ผาน
เขยี นเรียงล�ำ ดับตวั อกั ษรเปน็ ผอ ผ้งึ - สระอา - นอ หนู
ฝาน สะกดว่า ฝอ - อา - นอ ฝาน
เขียนเรยี งลำ�ดับตวั อักษรเปน็ ฝอ ฝา - สระอา - นอ หนู
๒.๔ พยัญชนะตน้ อกั ษรสูง + สระเสียงส้นั + ตวั สะกดแม่กน
ข ขิน
ผ ผิน
ฝ -นิ ฝิน
ส สิน
ห หนิ
ค่มู ือการสอนอา่ นเขยี น 158 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
ใหน้ กั เรยี นฝกึ อ่านและเขียนสะกดค�ำ ในแม่กน เชน่
ผนิ สะกดว่า ผอ - อิ - นอ ผิน
เขียนเรียงลำ�ดับตัวอักษรเปน็ ผอ ผ้งึ - สระอิ - นอ หนู
สนิ สะกดว่า สอ - อิ - นอ สนิ
เขียนเรยี งล�ำ ดับตัวอักษรเป็น สอ เสอื - สระอิ - นอ หนู
หิน สะกดวา่ หอ - อิ - นอ หิน
เขียนเรียงล�ำ ดบั ตัวอักษรเป็น หอ หบี - สระอิ - นอ หนู
๒.๕ พยัญชนะตน้ อกั ษรตํ่า + สระเสียงยาว + ตัวสะกดแม่กน
ว วาน
น นาน
ค -าน คาน
ท ทาน
ร ราน
ให้นักเรียนฝึกอา่ นและเขียนสะกดค�ำ ในแม่กน เช่น
วาน สะกดว่า วอ - อา - นอ วาน
เขยี นเรยี งล�ำ ดับตัวอกั ษรเป็น วอ แหวน - สระอา - นอ หนู
นาน สะกดวา่ นอ - อา - นอ นาน
เขยี นเรยี งลำ�ดับตวั อกั ษรเป็น นอ หนู - สระอา - นอ หนู
คาน สะกดวา่ คอ - อา - นอ คาน
เขียนเรยี งลำ�ดับตัวอักษรเป็น คอ ควาย - สระอา - นอ หนู
ค่มู ือการสอนอ่านเขยี น 159 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
๒.๖ พยัญชนะตน้ อักษรตาํ่ + สระเสยี งสนั้ + ตัวสะกดแม่กน
ว วนิ
น นนิ
ช -นิ ชนิ
ย ยิน
ล ลนิ
ให้นักเรยี นฝึกอ่านและเขียนสะกดคำ�ในแม่กน เช่น
วิน สะกดวา่ วอ - อิ - นอ วนิ
เขียนเรยี งลำ�ดบั ตัวอกั ษรเปน็ วอ แหวน - สระอิ - นอ หนู
นิน สะกดวา่ นอ - อิ - นอ นิน
เขยี นเรียงลำ�ดบั ตัวอกั ษรเปน็ นอ หนู - สระอิ - นอ หนู
ลนิ สะกดว่า ลอ - อิ - นอ ลนิ
เขียนเรียงลำ�ดับตัวอักษรเปน็ ลอ ลิง - สระอิ - นอ หนู
ขั้นที่ ๒
สอนอา่ นและเขยี นสะกดคำ�ทมี่ สี ระเปลยี่ นรูปและลดรูปเมื่อมีตัวสะกด คือ สระอะ สระโอะ
ข้ันที่ ๓
สอนอา่ นและเขยี นสะกดคำ�ทมี่ สี ระเปลย่ี นรปู และลดรปู เมอื่ มตี วั สะกด คอื สระเอะ สระแอะ
ขนั้ ที่ ๔
สอนอ่านและเขยี นสะกดคำ�ทม่ี สี ระเปลีย่ นรูปและลดรูปเม่ือมตี ัวสะกด คอื สระอัว สระเออ
คู่มอื การสอนอ่านเขยี น 160 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
ข้ันที่ ๕
การจัดการเรียนรู้คำ�ที่มีตัวสะกดในแม่กม เกย เกอว ตรงตามมาตรา โดยเริ่มจากคำ�ใน
แม่ ก กา แล้วเพิ่มตัวสะกดทีละมาตรา ใช้การแจกลูกต่อ เพื่อให้เกิดความแม่นยำ�ในเน้ือหาสอน
เชน่ เดียวกับขั้นที่ ๑ และ ๒
ข้นั ที่ ๖
การจัดการเรียนรู้คำ�ที่มีตัวสะกดในแม่กก กด กบ ตรงตามมาตราสอนอ่านสะกดคำ�ท่ีเป็น
คำ�ตาย ทง้ั ๓ มาตรา คอื แม่กก กด กบ โดยเร่มิ จากคำ�ในแม่ ก กา แลว้ เพม่ิ ตัวสะกดทีละมาตรา
แลว้ ใช้การแจกลูกต่อ เพือ่ ให้เกิดความแมน่ ยำ�ในเนื้อหา โดยสอนเชน่ เดียวกบั ขั้นท่ี ๑ และ ๒
ขัน้ ที่ ๗
การสอนสรุปทั้งมาตราตัวสะกด ๘ มาตรา โดยเร่ิมจากคำ�ในแม่ ก กา แล้วเพิ่มตัวสะกด
ทีละมาตรา แล้วใช้การแจกลูกต่อ ฝึกการอ่านและเขียนให้เกิดความแม่นย�ำ โดยให้อ่านเป็นประโยค
หรือเป็นเร่ืองส้ัน ๆ (เพ่ือให้ง่ายต่อการเรียนรู้ของนักเรียน) โดยแบ่งเป็นกลุ่มท่ีสะกดแล้วเป็นค�ำ เป็น
และสะกดแล้วเปน็ คำ�ตาย
กรณีทนี่ �ำ ไปใช้สอนซ่อมเสริม สามารถเร่มิ ใช้ข้นั ทน่ี ักเรยี นยงั ไมม่ ีความรคู้ วามเข้าใจ จนเป็น
สาเหตใุ ห้อา่ นและเขียนไม่ได้
คูม่ อื การสอนอา่ นเขียน 161 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
ตวั อยา่ งการนำ�แนวทางการจัดการเรยี นรไู้ ปใชใ้ นห้องเรยี น
หน่วยท่ี ๖ การแจกลกู สะกดค�ำ ทมี่ ีตัวสะกดตรงตามมาตรา
จุดประสงคก์ ารเรียนรูข้ องหน่วย (๕ ชวั่ โมง)
๑. เพ่อื ใหน้ ักเรยี นอ่านและเขยี นสะกดค�ำ ท่ีมีตวั สะกด
แมก่ ง กน กม เกย เกอว กก กด และกบ ได้
๒. เพื่อให้นกั เรยี นอา่ นและเขียนสะกดค�ำ ท่มี ีสระเปลย่ี นรปู และลดรปู
เม่ือมีตวั สะกดได้
แนวทางการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ (๒ ชว่ั โมง)
การแจกลูกสะกดค�ำ ที่มีตวั สะกดตรงตามมาตรา
แนวทางการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๒ (๑ ช่ัวโมง)
การสะกดคำ�เพื่ออา่ นและเขยี นคำ�ทส่ี ระเปลีย่ นรูปและลดรปู
เม่ือมีตวั สะกด สระอะ สระโอะ
แนวทางการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ (๑ ชั่วโมง)
การสะกดคำ�เพ่ืออ่านและเขยี นค�ำ ทีส่ ระเปล่ียนรูปและลดรปู
เม่ือมีตัวสะกด สระเอะ สระแอะ
แนวทางการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๔ (๑ ช่วั โมง)
การสะกดคำ�เพอ่ื อ่านและเขียนค�ำ ทีส่ ระเปล่ียนรูปและลดรูป
เมื่อมีตวั สะกด สระอัว สระเออ
คูม่ อื การสอนอา่ นเขยี น 162 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
แนวทางการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑ การแจกลูกสะกดคำ�แม่กง กน
ท่ีมตี วั สะกดตรงตามมาตรา (๒ ชวั่ โมง)
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
เพอื่ ใหน้ ักเรยี นอ่านเขียนแจกลกู สะกดค�ำ แมก่ ง กน ท่มี ตี ัวสะกดตรงมาตราได้
ขั้นตอนการจัดการเรยี นรู้
๑. ขั้นนำ�
๑.๑ ทบทวนการอ่านและเขียนสะกดคำ�ในแม่ ก กา โดยเน้นเร่ืองพยัญชนะต้น
ตามหมู่อักษรไตรยางศ์ และการประสมสระเสียงส้ันและยาว โดยฝึกอ่านคำ�ในแม่ ก กา แล้วจึง
สอนเขียน โดยสอนการสะกดคำ�ก่อน แล้วแจกลกู ต่อ ดงั น้ี
๑) พยัญชนะต้นเปน็ อกั ษรกลาง + สระเสียงยาว
ค�ำ พยญั ชนะต้น สระ สะกดวา่ อา่ นวา่
กา ก -า กอ - อา กา
จา จ -า จอ - อา จา
ตา ต -า ตอ - อา ตา
ปา ป -า ปอ - อา ปา
๒) พยญั ชนะตน้ เปน็ อักษรกลาง + สระเสียงสน้ั
คำ� พยัญชนะต้น สระ สะกดว่า อา่ นว่า
กะ ก -ะ กอ - อะ กะ
จะ จ -ะ จอ - อะ จะ
ตะ ต -ะ ตอ - อะ ตะ
ปะ ป -ะ ปอ - อะ ปะ
คูม่ อื การสอนอ่านเขยี น 163 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
๓) พยัญชนะต้นเป็นอักษรสงู + สระเสียงยาว
ค�ำ พยญั ชนะต้น สระ สะกดวา่ อา่ นวา่
ขา ข -า ขอ - อา ขา
ผา ผ -า ผอ - อา ผา
สา ส -า สอ - อา สา
หา ห -า หอ - อา หา
๔) พยญั ชนะต้นเป็นอกั ษรสงู + สระเสยี งสั้น
ค�ำ พยญั ชนะต้น สระ สะกดว่า อา่ นวา่
ขะ ข -ะ ขอ - อะ ขะ
ผะ ผ -ะ ผอ - อะ ผะ
สะ ส -ะ สอ - อะ สะ
หะ ห -ะ หอ - อะ หะ
๕) พยญั ชนะตน้ เปน็ อักษรต่าํ + สระเสียงยาว
ค�ำ พยญั ชนะต้น สระ สะกดวา่ อ่านว่า
งา ง -า งอ - อา งา
นา น -า นอ - อา นา
มา ม -า มอ - อา มา
ยา ย -า ยอ - อา ยา
๖) พยญั ชนะต้นเปน็ อกั ษรตํ่า + สระเสียงส้ัน
คำ� พยัญชนะต้น สระ สะกดวา่ อ่านวา่
ว ิ ว - ิ วอ - อิ วิ
น ิ น - ิ นอ - อิ นิ
ม ิ ม -ิ มอ - อิ มิ
ร ิ ร - ิ รอ - อิ ริ
คมู่ ือการสอนอา่ นเขยี น 164 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
๒. ข้ันสอน
๒.๑ ครูนำ�บัตรภาพติดบนกระดานดำ�ให้นักเรียนดูจำ�นวน ๖ ภาพ ถามนักเรียนว่า
ภาพบนกระดานดำ�เปน็ ภาพอะไรบา้ ง (ภาพ ลงิ ฟาง หาง จาน กิน และ ดิน หรอื ภาพอะไรก็ได้ทสี่ ะกด
ดว้ ย แมก่ ง และแมก่ น) เมอื่ นกั เรยี นตอบจนครบทกุ ภาพแลว้ ครเู ฉลยค�ำ ตอบ พรอ้ มทง้ั เขยี นค�ำ ไวใ้ ตภ้ าพ
๒.๒ ครใู หน้ กั เรยี นดบู ตั รค�ำ ทมี่ ี ง เปน็ ตวั สะกด และ น เปน็ ตวั สะกด และบอกนกั เรยี นวา่
เป็นตัวสะกดแม่กง และแม่กน ตามลำ�ดับเม่ือวางไว้ท้ายคำ� จะทำ�ให้คำ�น้ันเปลี่ยนไปตามเสียงตัว
สะกดน้ัน
๒.๓ นักเรียนบอกคำ�ทั้ง ๖ คำ� ว่าแต่ละคำ�มสี ่วนประกอบอะไรบา้ ง
ค�ำ พยญั ชนะต้น สระ ตวั สะกด สะกดวา่ อา่ นว่า
ลิง ล -ิ ง ลอ - อิ – งอ ลิง
ฟาง ฟ -า ง ฟอ - อา - งอ ฟาง
หาง ห า ง หอ - อา - งอ หาง
จาน จ -า น จอ - อา - นอ จาน
กนิ ก -ิ น กอ - อิ - นอ กิน
ดนิ ด - ิ น ดอ - อิ - นอ ดนิ
๒.๔ ให้นักเรียนบอกตัวสะกดทั้ง ๖ คำ� ว่ามีตัวสะกดใดบ้าง และออกเสียงอย่างไร
ครูอธบิ ายเกย่ี วกับตัวสะกดทงั้ ๖ คำ� และรว่ มกนั สรปุ ว่า ตวั สะกดทง้ั ๖ คำ�มีตวั สะกด คอื ง และ น
คือ มาตราตัวสะกดแม่กง และแม่กน
๒.๕ ครูให้นักเรียนฝึกอ่านสะกดคำ� และเขียนคำ�ท่ีมีตัวสะกดแม่กง ตรงตามมาตรา
โดยเน้นการฝึกคำ�ที่มีพยัญชนะตามหมู่ไตรยางศ์และสระสั้น ยาว โดยครูอ่านสะกดคำ�นำ� แล้วให้
นักเรยี นอา่ นสะกดค�ำ ตาม พร้อมบนั ทึกลงในสมดุ อา่ นจากแผนภมู ิทคี่ รูเตรียมไว้ ดังน้ี
๒.๕.๑ พยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง + สระเสียงยาว + ตัวสะกดแม่กง
เสียงวรรณยกุ ต์สามญั
คำ� พยญั ชนะต้น สระ ตัวสะกด สะกดวา่ อา่ นวา่
กาง ก -า ง กอ - อา - งอ กาง
จาง จ -า ง จอ - อา - งอ จาง
บาง บ -า ง บอ - อา - งอ บาง
คู่มือการสอนอา่ นเขยี น 165 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
๒.๕.๒ พยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง + สระเสียงส้ัน + ตัวสะกดแม่กง
เสยี งวรรณยกุ ตส์ ามญั
คำ� พยญั ชนะตน้ สระ ตัวสะกด สะกดว่า อา่ นว่า
องิ อ -ิ ง ออ - อิ - งอ อิง
ติง ต -ิ ง ตอ - อิ - งอ ตงิ
ปิง ป - ิ ง ปอ - อิ - งอ ปิง
๒.๕.๓ พยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง + สระเสียงยาว + ตัวสะกดแม่กง
เสยี งวรรณยุกต์จัตวา
คำ� พยญั ชนะตน้ สระ ตวั สะกด สะกดว่า อ่านวา่
ผาง ผ -า ง ผอ - อา - งอ ผาง
สาง ส -า ง สอ - อา - งอ สาง
หาง ห -า ง หอ - อา - งอ หาง
๒.๕.๔ พยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง + สระเสียงสั้น + ตัวสะกดแม่กง
เสียงวรรณยุกตจ์ ตั วา
คำ� พยญั ชนะตน้ สระ ตัวสะกด สะกดว่า อา่ นว่า
ขิง ข - ิ ง ขอ - อิ - งอ ขิง
ผิง ผ - ิ ง ผอ - อิ - งอ ผงิ
สิง ส -ิ ง สอ - อิ - งอ สงิ
๒.๕.๕ พยัญชนะต้นเป็นอักษรต่ํา + สระเสียงยาว + ตัวสะกดแม่กง
เสยี งวรรณยุกต์สามญั
ค�ำ พยญั ชนะต้น สระ ตวั สะกด สะกดวา่ อ่านว่า
วาง ว -า ง วอ - อา - งอ วาง
นาง น -า ง นอ - อา - งอ นาง
ยาง ย -า ง ยอ - อา - งอ ยาง
คู่มอื การสอนอ่านเขยี น 166 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
๒.๕.๖ พยัญชนะต้นเป็นอักษรต่ํา + สระเสียงส้ัน + ตัวสะกดแม่กง
เสียงวรรณยุกตส์ ามัญ
ค�ำ พยญั ชนะต้น สระ ตัวสะกด สะกดว่า อ่านว่า
ชงิ ช - ิ ง ชอ - อิ - งอ ชงิ
พงิ พ - ิ ง พอ - อิ - งอ พงิ
ลงิ ล -ิ ง ลอ - อิ - งอ ลิง
๒.๖ ครูให้นักเรียนฝึกอ่านสะกดคำ� และเขียนคำ�ท่ีมีตัวสะกดแม่กน ตรงตามมาตรา
โดยเนน้ การฝึกค�ำ ที่มพี ยญั ชนะตามหมไู่ ตรยางศ์และสระสั้น ยาว โดยครอู า่ นสะกดค�ำ นำ� ให้นกั เรียน
สะกดคำ�ตาม พร้อมบันทกึ ลงในสมดุ อ่านจากแผนภูมทิ คี่ รเู ตรยี มไว้ ดงั น้ี
๒.๖.๑ พยัญชนะตน้ เป็นอักษรกลาง + สระเสยี งยาว + ตวั สะกดแมก่ น
คำ� พยญั ชนะตน้ สระ ตัวสะกด สะกดว่า อา่ นวา่
จาน จ -า น จอ - อา - นอ จาน
บาน บ -า น บอ - อา - นอ บาน
ปาน ป -า น ปอ - อา - นอ ปาน
๒.๖.๒ พยัญชนะตน้ เป็นอกั ษรกลาง + สระเสียงสั้น + ตัวสะกดแม่กน
ค�ำ พยัญชนะตน้ สระ ตัวสะกด สะกดวา่ อ่านว่า
กิน ก - ิ น กอ - อิ - นอ กิน
ดนิ ด -ิ น ดอ - อิ - นอ ดนิ
บิน บ - ิ น บอ - อิ - นอ บิน
คู่มือการสอนอา่ นเขยี น 167 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
๒.๖.๓ พยญั ชนะต้นเปน็ อกั ษรสูง + สระเสียงยาว + ตวั สะกดแมก่ น
คำ� พยญั ชนะตน้ สระ ตวั สะกด สะกดวา่ อา่ นว่า
ขาน ข -า น ขอ - อา - นอ ขาน
ฝาน ฝ -า น ฝอ - อา - นอ ฝาน
สาน ส -า น สอ - อา - นอ สาน
๒.๖.๔ พยัญชนะต้นเป็นอกั ษรสูง + สระเสยี งส้ัน + ตวั สะกดแม่กน
คำ� พยญั ชนะต้น สระ ตัวสะกด สะกดว่า อ่านวา่
ผิน ผ -ิ น ผอ - อิ - นอ ผิน
สนิ ส - ิ น สอ - อิ - นอ สนิ
หิน ห -ิ น หอ - อิ - นอ หนิ
๒.๖.๕ พยัญชนะตน้ เปน็ อกั ษรตาํ่ + สระเสยี งยาว + ตัวสะกดแม่กน
ค�ำ พยัญชนะต้น สระ ตวั สะกด สะกดวา่ อ่านว่า
วาน ว -า น วอ - อา - นอ วาน
นาน น -า น นอ - อา - นอ นาน
ยาน ย -า น ยอ - อา - นอ ยาน
๒.๖.๖ พยญั ชนะต้นเป็นอกั ษรต่ํา + สระเสียงสั้น + ตวั สะกดแมก่ น
ค�ำ พยัญชนะตน้ สระ ตัวสะกด สะกดว่า อา่ นว่า
ริน ร -ิ น รอ - อิ - นอ รนิ
ชิน ช -ิ น ชอ - อิ - นอ ชิน
ยนิ ย - ิ น ยอ - อิ - นอ ยนิ
คู่มือการสอนอ่านเขียน 168 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
๒.๗ ให้นกั เรียนหาค�ำ ท่ีมี ง และ น สะกด จากหนังสอื เรียนใหไ้ ด้ ๑๐ ค�ำ แล้วเขยี น
ลงในสมุด ดงั ตารางตอ่ ไปน้ี
ท ี่ คำ� สะกดวา่ อา่ นว่า
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.
๙.
๑๐.
๒.๘ ครูตรวจสอบความถกู ตอ้ งและแก้ไขคำ�ผิด
๒.๙ ใหน้ กั เรียนทำ�แบบฝกึ ที่ ๑ เมื่อนกั เรียนอ่านผดิ ใหค้ รูแนะน�ำ และแกไ้ ขทันที
๒.๑๐ ให้นักเรียนท�ำ แบบฝกึ ท่ี ๒ ครูตรวจให้คะแนน
๓. ข้นั สรุป
ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรปุ คำ�ทีม่ ตี วั สะกดแม่กง และแมก่ น ตรงตามมาตรา
คูม่ อื การสอนอ่านเขยี น 169 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
สอื่ การสอน
๑. รปู ภาพ
๒. บัตรคำ�
๓. สมดุ
๔. แบบฝึก
การวัดและประเมินผล
การตรวจแบบฝกึ
คู่มือการสอนอ่านเขยี น 170 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
แบบฝึกท่ี ๑ การอา่ นสะกดคำ�ที่มีตัวสะกดในแม่กง และ กน ตรงตามมาตรา
คำ�ชแี้ จง
๑. ใหน้ ักเรียนอ่านสะกดค�ำ ภายในเวลา ๕ นาที
๒. ครูยกตัวอยา่ งการอา่ นสะกดคำ�วา่ “ดงึ ” ก่อนจบั เวลา
ตวั อยา่ ง ดึง สะกดวา่ ดอ - อึ - งอ ดึง
๑. ลุง ๖. จาน
๒. แดง ๗. ทอง
๓. โรง ๘. ยนื
๔. เรียน ๙. มอง
๕. กนิ ๑๐. แสง
คมู่ ือการสอนอ่านเขยี น 171 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
เฉลยคำ�ตอบ
ข้อท่ ี คำ� สะกดว่า
๑. ลอ - อุ - งอ ลุง
๒. ลุง ดอ - แอ - งอ แดง
๓. แดง รอ - โอ - งอ โรง
๔. โรง รอ - เอีย - นอ เรยี น
๕. เรยี น กอ - อิ - นอ กนิ
๖. กนิ จอ - อา - นอ จาน
๗. จาน ทอ - ออ - งอ ทอง
๘. ทอง ยอ - อือ - นอ ยนื
๙. ยืน มอ - ออ - งอ มอง
๑๐. มอง สอ - แอ - งอ แสง
แสง
คูม่ ือการสอนอา่ นเขยี น 172 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
แบบบันทกึ ผลการอ่านคำ�ที่มีตวั สะกดแม่กง และ กน ตรงตามมาตรา
ท ่ี ช่อื -สกุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข ้อ ท่ี ๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผป่าผนรละกเผมาไร่าินมน่
คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้
ในการปรบั ปรุงและพฒั นานกั เรียน
๒. วิธกี ารบนั ทกึ ถ้าอา่ นถูกต้องใหใ้ ส่เคร่อื งหมาย √ ถา้ อ่านผดิ ใหใ้ สเ่ คร่อื งหมาย X (เครื่องหมาย √ เท่ากบั
๑ คะแนน เครอื่ งหมาย X เทา่ กับ ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้
ในการปรบั ปรุง และพฒั นานกั เรียนเป็นรายบุคคล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน
เพ่อื น�ำ ไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก
จนนกั เรียนเขยี นได้
คู่มือการสอนอ่านเขียน 173 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
แบบฝึกที่ ๒ การอ่านคำ�ทม่ี ตี ัวสะกดแม่ กง และกน ตรงตามมาตรา
ค�ำ ชแี้ จง
๑. ให้นกั เรยี นเขยี นตามท่คี รบู อก โดยใชเ้ วลาในการเขยี น ๒๐ นาที
๒. ครอู า่ นคำ�ใหน้ ักเรยี นฟงั คำ�ละ ๒ ครงั้ โดยเว้นเวลาใหน้ กั เรียนเขียน กอ่ นบอกคำ�ในขอ้
ต่อไป
คำ�ที่ก�ำ หนดให้เขียน ๑๑. ปาน
๑. กาง
๒. โถง ๑๒. ดนิ
๓. ชงิ ๑๓. ทนุ
๔. ตงุ ๑๔. เลน
๕. จงึ ๑๕. แกน
๖. สูง ๑๖. โหน
๗. กอง ๑๗. ขอน
๘. แตง ๑๘. จนี
๙. เรอื ง ๑๙. เตือน
๑๐. เอง ๒๐. นนู
คมู่ อื การสอนอ่านเขยี น 174 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
แบบบันทกึ ผลการอ่านสะกดค�ำ ท่ีมีตัวสะกดในแม่กง และ แม่กน
ท่ี ชอ่ื -สกลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข ้อ ท่ี ๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผป่าผนรละกเผมาไร่านิมน่
คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้
ในการปรับปรงุ และพัฒนานกั เรียน
๒. วิธกี ารบนั ทกึ ถ้าเขียนถกู ตอ้ งใหใ้ ส่เคร่อื งหมาย √ ถ้าเขยี นผิดให้ใส่เครอื่ งหมาย X (เครอื่ งหมาย √ เท่ากับ
๑ คะแนน เครอ่ื งหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้
ในการปรับปรุง และพัฒนานักเรยี นเป็นรายบคุ คล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน
เพื่อนำ�ไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีท่ีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก
จนนกั เรียนเขียนได้
คู่มอื การสอนอ่านเขียน 175 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
ส่วนท่ี ๓ แนวทางการวดั และประเมินผลประจ�ำ หน่วย
ฉบบั ท่ี ๑ การอ่านสะกดค�ำ ทีม่ ตี วั สะกดตรงตามมาตรา
คำ�ชแ้ี จง
๑. ให้นกั เรยี นอ่านสะกดค�ำ ภายในเวลา ๕ นาที
๒. ครูยกตัวอย่างการอ่านสะกดคำ� คำ�ว่า “กนิ ” ก่อนจับเวลา
ตัวอย่าง กนิ สะกดวา่ กอ - อิ - นอ กนิ
๑. ขนั ๖. พวก
๒. เคย ๗. เกิด
๓. จม ๘. ดาว
๔. ถาม ๙. ตบ
๕. เปียก ๑๐. ทอง
เฉลยคำ�ตอบ
ข้อท ่ี ค�ำ สะกดวา่ อา่ นว่า
๑. ขนั ขอ - อะ - นอ ขัน
๒. เคย คอ - เออ - ยอ เคย
๓. จม จอ - โอะ - มอ จม
๔. ถาม ถอ - อา - มอ ถาม
๕. เปียก ปอ - เอยี - กอ เปยี ก
๖. พวก พอ - อวั - กอ พวก
๗. เกดิ กอ - เออ - ดอ เกิด
๘. ดาว ดอ - อา - วอ ดาว
๙. ตบ ตอ - โอะ - บอ ตบ
๑๐. ทอง ทอ - ออ - งอ ทอง
คมู่ ือการสอนอ่านเขียน 176 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
แบบบนั ทึกผลการอ่านสะกดคำ�ท่ีมตี วั สะกดตรงตามมาตรา
ท่ ี ชื่อ -สกุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข ้อ ท่ ี๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผป่าผนรละกเผมาไรา่ินมน ่
คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้
ในการปรบั ปรุงและพฒั นานกั เรียน
๒. วิธีการบันทึก ถา้ อ่านถกู ตอ้ งใหใ้ ส่เครื่องหมาย √ ถ้าอ่านผิดใหใ้ ส่เคร่ืองหมาย X (เครอื่ งหมาย √ เทา่ กับ
๑ คะแนน เครือ่ งหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้
ในการปรบั ปรงุ และพฒั นานกั เรยี นเป็นรายบคุ คล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน
เพอื่ นำ�ไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน
๕. นกั เรยี นต้องไดค้ ะแนนร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป จงึ จะผ่านเกณฑ์ กรณที ี่นักเรียนไม่ผา่ นเกณฑ์ ครูตอ้ งฝกึ จน
นกั เรียนอ่านได้
คู่มอื การสอนอ่านเขียน 177 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
ฉบบั ที่ ๒ การอ่านค�ำ ท่ีมตี ัวสะกดตรงตามมาตรา
ค�ำ ชแ้ี จง
ใหน้ กั เรยี นอา่ นออกเสียงคำ�ทก่ี ำ�หนดให้ ภายในเวลา ๕ นาที
ค�ำ ท่ีก�ำ หนดให้ ๑๑. นสิ ยั
๑. คำ�นบั ๑๒. มะนาว
๒. กำ�เนดิ ๑๓. บนั ได
๓. กระโดด ๑๔. ลางสาด
๔. ดนิ สอ ๑๕. ละมุด
๕. ตะวัน ๑๖. วิตามิน
๖. แจกนั ๑๗. ลดลง
๗. ชงิ ชา้ ๑๘. ระวงั
๘. นิยาย ๑๙. แมวลาย
๙. แตงโม ๒๐. มังคุด
๑๐. ทเุ รยี น
คู่มือการสอนอา่ นเขียน 178 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
เฉลยคำ�ตอบ
ข้อท ่ี คำ� อา่ นคำ�
๑. คำ�นับ ค�ำ - นับ
๒. ก�ำ เนดิ กำ� - เหนดิ
๓. กระโดด กฺระ - โดด
๔. ดินสอ ดิน - สอ
๕. ตะวนั ตะ - วัน
๖. แจกัน แจ - กัน
๗. ชิงช้า ชงิ - ชา้
๘. นิยาย นิ - ยาย
๙. แตงโม แตง - โม
๑๐. ทุเรยี น ทุ - เรียน
๑๑. นิสัย นิ - ไส
๑๒. มะนาว มะ - นาว
๑๓. บนั ได บัน - ได
๑๔. ลางสาด ลาง - สาด
๑๕. ละมดุ ละ - มดุ
๑๖. วิตามนิ วิ - ตา - มนิ
๑๗. ลดลง ลด - ลง
๑๘. ระวงั ระ - วงั
๑๙. แมวลาย แมว - ลาย
๒๐. มังคุด มงั - คดุ
คู่มือการสอนอา่ นเขียน 179 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
แบบบนั ทกึ ผลการอ่านคำ�ทีม่ ตี วั สะกดตรงตามมาตรา
ท ่ี ช ื่อ -ส ก ุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑ข๐ อ้ ท๑๑่ี ๑๒ ๑ ๓ ๑ ๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒ ๐ ค ะรแวนมน * ผ ปา่ผนรละกเมผาไร่านิมน ่
คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้
ในการปรบั ปรงุ และพฒั นานกั เรียน
๒. วิธกี ารบันทึก ถ้าอา่ นถูกตอ้ งใหใ้ สเ่ ครื่องหมาย √ ถ้าอา่ นผิดใหใ้ ส่เคร่อื งหมาย X (เครือ่ งหมาย √ เท่ากับ
๑ คะแนน เครือ่ งหมาย X เทา่ กบั ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้
ในการปรบั ปรงุ และพฒั นานกั เรียนเปน็ รายบุคคล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน
เพ่ือน�ำ ไปใช้ในการปรบั ปรุงและพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีท่ีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก
จนนกั เรยี นอา่ นได้
คูม่ ือการสอนอ่านเขยี น 180 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
ฉบบั ท่ี ๓ การเขยี นคำ�ทมี่ ีตัวสะกดตรงตามมาตรา
คำ�ชี้แจง
๑. ใหน้ ักเรียนเขียนตามที่ครบู อก โดยใช้เวลาในการเขยี น ๒๐ นาที
๒. ครูอ่านคำ�ให้นักเรียนฟัง คำ�ละ ๒ คร้ัง โดยเว้นเวลาให้นักเรียนเขียน ก่อนบอกคำ�
ในข้อต่อไป
ค�ำ ทก่ี ำ�หนดให้เขยี น ๑๑. สาว
๑๒. แมง
๑. กบั ๑๓. แข็ง
๒. ลบ ๑๔. เกม
๓. ขาย ๑๕. กบ
๔. โรย ๑๖. เคยี ว
๕. ดกึ ๑๗. แจว
๖. บอก ๑๘. เลย
๗. หนิ ๑๙. กิน
๘. นอน ๒๐. ยมื
๙. เลือด
๑๐. เร็ว
คมู่ อื การสอนอา่ นเขียน 181 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
แบบบนั ทึกผลการเขียนคำ�ท่มี ตี ัวสะกดตรงตามมาตรา
ท ี่ ช ่ือ -ส ก ลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑ข๐ อ้ ท๑๑ ่ี ๑๒ ๑ ๓ ๑ ๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒ ๐ ค ะรแวนมน * ผ ป่าผนรละกเมผาไร่านิมน ่
คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้
ในการปรบั ปรงุ และพฒั นานกั เรียน
๒. วธิ กี ารบันทึก ถ้าเขียนถูกตอ้ งให้ใสเ่ ครอื่ งหมาย √ ถ้าเขยี นผดิ ให้ใสเ่ คร่อื งหมาย X (เครือ่ งหมาย √ เทา่ กับ
๑ คะแนน เครื่องหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้
ในการปรบั ปรุง และพัฒนานักเรยี นเป็นรายบคุ คล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน
เพอื่ นำ�ไปใชใ้ นการปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก
จนนักเรียนเขยี นได้
คู่มือการสอนอา่ นเขียน 182 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
ตวั อยา่ งสรปุ ผลการประเมนิ การแจกลูกสะกดค�ำ ท่ีมีตวั สะกดตรงตามมาตรา
ที ่ ชอื่ - ส กลุ (๑ ฉ๐บคบั ะทแี่ น๑น ) ผ (ล๒กฉ๐าบรคับปะทรแ่ีะน๒ เ นม )ิน (๒ฉ๐ บคับะทแี่ น๓น ) (๕๐คะรคแวะ นมแ นน น) สรผปุ ่าผนล การปไมรผ่ะเา่ มนนิ
หมายเหตุ
๑. ถ้ารวมคะแนนได้รอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป และคะแนนรายแบบประเมินได้ร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ทกุ แบบประเมนิ
ถือวา่ ผ่านเกณฑ์
๒. ถ้ารวมคะแนนได้ร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป แต่คะแนนรายแบบประเมินบางแบบประเมินได้ไม่ถึงร้อยละ ๘๐
ถือว่าผ่านเกณฑ์ แตใ่ ห้ซ่อมเสรมิ ส่วนทีไ่ ม่ถงึ รอ้ ยละ ๘๐
๓. ถ้ารวมคะแนนได้ไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์ให้สอนซ่อมเสริม ในกรณีท่ีนักเรียนได้คะแนน
บางแบบประเมินร้อยละ ๘๐ ขนึ้ ไป ไม่ต้องซอ่ มเสรมิ สว่ นนน้ั
คมู่ ือการสอนอา่ นเขียน 183 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
หนว่ ยท่ี ๗ การผันวรรณยกุ ตค์ ำ�ทม่ี ีตัวสะกดตรงตามมาตรา
ส่วนท่ี ๑ ความร้สู �ำ หรับครู
การผันวรรณยุกต์คำ�ท่ีมตี ัวสะกดตรงตามมาตรา แบ่งได้เป็น ๒ กลมุ่ ดังน้ี
๑. คำ�ทส่ี ะกดด้วยแม่กง แม่กน แมก่ ม แมเ่ กย แมเ่ กอว
๑.๑ พยัญชนะต้นอักษรกลาง ผันได้ครบทั้ง ๕ เสียง พ้ืนเสียงเป็นเสียงสามัญ
เมอื่ ผันวรรณยุกต์แล้ว ออกเสยี งตรงตามรปู วรรณยุกตน์ ัน้ ๆ
๑.๑.๑ พยญั ชนะตน้ อกั ษรกลาง + สระเสยี งยาว + ตวั สะกด + วรรณยุกต์
ตวั อยา่ งการผันวรรณยุกตโ์ ดยการแจกลกู แบบยดึ สระเปน็ หลัก
คำ� สามญั เอก เสียงวรรณยุกต์ ตร ี จตั วา
กาง กาง กา่ ง โท ก๊าง ก๋าง
บาน บาน บา่ น กา้ ง บ๊าน บา๋ น
จาม จาม จา่ ม บา้ น จ๊าม จา๋ ม
ปาย ปาย ปา่ ย จ้าม ป๊าย ป๋าย
ดาว ดาน ด่าน ปา้ ย ดา๊ น ดา๋ น
ดา้ น
คมู่ อื การสอนอา่ นเขยี น 184 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
๑.๑.๒ พยัญชนะต้นอักษรกลาง + สระเสียงส้นั + ตัวสะกด + วรรณยกุ ต์
ตวั อยา่ งการผนั วรรณยุกต์โดยการแจกลกู แบบยึดสระเปน็ หลัก
คำ� สามัญ เอก เสียงวรรณยกุ ต์ ตรี จัตวา
องิ องิ องิ่ โท อง๊ิ อ๋ิง
ดิน ดิน ดน่ิ ดิน๊ ดนิ๋
กิม กิม กิม่ อิ้ง กมิ๊ กม๋ิ
ตวิ ติว ตว่ิ ด้ิน ตว๊ิ ต๋วิ
กิ้ม
ตว้ิ
๑.๒ พยัญชนะต้นอักษรสูง ผันได้ ๓ เสียง พื้นเสียงเป็นเสียงจัตวา ผันด้วยรูปเอก
เป็นเสยี งเอก ผันด้วยรูปโทเปน็ เสยี งโท
๑.๒.๑ พยญั ชนะตน้ อักษรสูง + สระเสียงยาว + ตวั สะกด + วรรณยุกต์
ตัวอยา่ งการผันวรรณยุกตโ์ ดยการแจกลกู แบบยดึ สระเปน็ หลัก
ค�ำ สามญั เอก เสยี งวรรณยุกต์ ตร ี จตั วา
โท - หาง
หาง - หา่ ง - สาน
สาน - สา่ น ห้าง - ขาม
ขาม - ข่าม สา้ น - ถาย
ถาย - ถา่ ย ขา้ ม - สาว
สาว - ส่าว ถา้ ย
ส้าว
คูม่ อื การสอนอ่านเขยี น 185 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
๑.๒.๒ พยญั ชนะต้นอกั ษรสงู + สระเสยี งสัน้ + ตัวสะกด + วรรณยุกต์
ตวั อย่างการผันวรรณยุกต์โดยการแจกลูกแบบยึดสระเปน็ หลัก
ค�ำ สามญั เอก เสียงวรรณยุกต์ ตรี จัตวา
ขงิ - ข่งิ โท - ขิง
สนิ - สิน่ - สิน
ขิม - ขิม่ ข้งิ - ขิม
สิว - สว่ิ สิ้น - สิว
ข้มิ
สวิ้
ในกรณนี ้ี ครูสามารถสอนโดยเร่ิมจากเสียงจตั วา ซึ่งเป็นพืน้ เสียงของค�ำ ที่ไมม่ รี ปู วรรณยกุ ต์
กไ็ ด้
๑.๓ พยัญชนะต้นอักษรต่ํา ผันได้ ๓ เสียง พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันด้วยรูปเอก
เป็นเสยี งโท ผนั ดว้ ยรปู โทเป็นเสยี งตรี
๑.๓.๑ พยัญชนะต้นอักษรต่าํ + สระเสียงยาว + ตัวสะกด + วรรณยุกต์
ตวั อยา่ งการผนั วรรณยกุ ต์โดยการแจกลกู แบบยึดสระเปน็ หลัก
คำ� สามญั เอก เสียงวรรณยุกต์ ตร ี จัตวา
โท คา้ ง -
คาง คาง - น้าน -
ค่าง หา้ ม -
นาน นาน - น่าน ทา้ ย -
ห่าม ร้าว -
หาม หาม - ท่าย
ร่าว
ทาย ทาย -
ราว ราว -
ค่มู อื การสอนอา่ นเขยี น 186 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
๑.๓.๒ พยัญชนะต้นอักษรตํา่ + สระเสยี งส้นั + ตัวสะกด + วรรณยกุ ต์
ตัวอย่างการผันวรรณยกุ ต์
คำ� สามัญ เอก เสียงวรรณยุกต์ ตรี จตั วา
โท ย้ัง -
ยัง ยัง - ชัง้ -
ยั่ง รุม้ -
ชนั ชัง - ชงั่ ทุ้ย -
รุ่ม คว้ิ -
รุม รมุ - ท่ยุ
ควิ่
ทยุ ทุย -
คิว ควิ -
หมายเหตุ ค�ำ ทมี่ ตี วั สะกดและมรี ปู วรรณยกุ ตน์ ี้ หลายค�ำ ไมม่ คี วามหมาย แตก่ ารสอนนกั เรยี น
ตอ้ งสอนใหเ้ หน็ หลกั การผนั เสยี งวรรณยกุ ต์ แมค้ �ำ ทนี่ �ำ มาผนั เสยี งวรรณยกุ ตน์ จี้ ะไมม่ คี วามหมายกต็ าม
๒. ค�ำ ท่สี ะกดดว้ ยมาตราตัวสะกดแมก่ ก แมก่ บ แมก่ ด
๒.๑ พยัญชนะต้นอักษรกลาง ผันได้ ๔ เสียง พ้ืนเสียงเป็นเสียงเอก เม่ือผันรูป
และเสียงวรรณยุกตต์ รงกนั (ไม่มีเสยี งสามญั )
๒.๑.๑ พยญั ชนะต้นอักษรกลาง + สระเสียงยาว + ตวั สะกด + วรรณยกุ ต์
ตวั อย่างการผันวรรณยกุ ต์โดยการแจกลกู แบบยดึ สระเปน็ หลกั
ค�ำ สามญั เอก เสยี งวรรณยุกต์ ตร ี จัตวา
บาก - บาก โท บ๊าก บา๋ ก
จาบ - จาบ จ๊าบ จา๋ บ
กาด - กาด บา้ ก ก๊าด กา๋ ด
จา้ บ
กา้ ด
คูม่ อื การสอนอา่ นเขียน 187 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
๒.๒.๑ พยญั ชนะตน้ อักษรกลาง + สระเสียงสั้น + ตวั สะกด + วรรณยุกต์
ตวั อย่างการผนั วรรณยุกต์โดยการแจกลกู แบบยึดสระเปน็ หลัก
คำ� สามัญ เอก เสยี งวรรณยกุ ต์ ตร ี จตั วา
ดุก - ดุก โท ดุ๊ก ดกุ๋
บบุ - บุบ บ๊บุ บุ๋บ
ปดุ - ปุด ดุ้ก ป๊ดุ ปดุ๋
บบุ้
ปุ้ด
๒.๒ พยัญชนะต้นอกั ษรสูง ผันได้ ๒ เสยี ง พน้ื เสยี งเปน็ เสยี งเอก ผนั ด้วยรูปโทเป็นเสยี งโท
๒.๒.๑ พยัญชนะต้นอกั ษรสูง + สระเสยี งยาว + ตัวสะกด + วรรณยุกต์
ตัวอย่างการผันวรรณยุกต์โดยการแจกลูกแบบยึดสระเปน็ หลกั
คำ� สามัญ เอก เสียงวรรณยกุ ต์ ตรี จัตวา
โท
สาก - สาก ส้าก - -
หาบ - หาบ ห้าบ - -
ขาด - ขาด ขา้ ด - -
๒.๒.๒ พยัญชนะต้นอกั ษรสูง + สระเสยี งสัน้ + ตวั สะกด + วรรณยุกต์
ตวั อยา่ งการผันวรรณยุกตโ์ ดยการแจกลูกแบบยดึ สระเป็นหลัก
คำ� สามญั เอก เสียงวรรณยุกต์ ตร ี จตั วา
โท พัก -
พัก - - รบั -
พัก้ หัด -
รับ - - รั้บ
หั้ด
หดั - -
คมู่ ือการสอนอ่านเขียน 188 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
๒.๓ พยญั ชนะต้นอักษรตา่ํ
๒.๓.๑ พยญั ชนะต้นอกั ษรตา่ํ + สระเสียงยาว + ตวั สะกด + วรรณยกุ ต์ ผนั ได้
๒ เสยี ง พืน้ เสยี งเปน็ เสยี งโท ผันดว้ ยรูปโทเป็นเสียงตรี
ตวั อยา่ งการผันวรรณยุกต์โดยการแจกลูกแบบยึดสระเปน็ หลกั
ค�ำ สามัญ เอก เสียงวรรณยุกต์ ตรี จัตวา
โท ชา้ ก -
ชาก - - ค้าบ -
ชาก ล้าด -
คาบ - - คาบ
ลาด
ลาด - -
๒.๓.๒ พยัญชนะตน้ อกั ษรตํา่ + สระเสยี งสั้น + ตวั สะกด + วรรณยุกต์ ผันได้
๑ เสยี งพ้นื เสยี ง เป็นเสียงตรี
ข้อเสนอแนะ
การสอนผันวรรณยุกตท์ มี่ ีตวั สะกดตรงมาตรา ควรสอนตามล�ำ ดบั เนื้อหา ดังต่อไปนี้
๑. สอนพยัญชนะต้นอักษรกลางเป็นกลุ่มที่ผันได้ง่ายท่ีสุด เพราะสามารถผันวรรณยุกต์ได้
ครบทง้ั ๕ เสยี ง และมีรูปกับเสียงวรรณยุกตต์ รงกนั
๒. สอนพยญั ชนะตน้ อกั ษรสงู เปน็ กลมุ่ ทผ่ี นั ไดง้ า่ ยล�ำ ดบั ถดั มา เพราะสามารถผนั วรรณยกุ ต์
ได้ ๓ เสียง และมรี ูปกบั เสียงวรรณยุกตต์ รงกนั ๒ เสยี ง
๓. สอนพยัญชนะต้นอักษรต่ําเป็นกลุ่มท่ีผันได้ยากท่ีสุด เพราะสามารถผันวรรณยุกต์ได้
๓ เสียง และมรี ปู กบั เสยี งวรรณยกุ ต์ไม่ตรงกนั ๒ เสียง ขอ้ สังเกตกล่มุ นี้เสยี งวรรณยุกต์จะเล่อื นจากรปู
ไป ๑ ระดบั คอื รูปเอก เสยี งโท รูปโท เสยี งตรี
คูม่ ือการสอนอ่านเขยี น 189 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
ส่วนท่ี ๒ แนวทางการจดั การเรียนรู้
การผนั รปู วรรณยุกตค์ ำ�ทีม่ ตี ัวสะกดตรงตามมาตรา มขี ้นั ตอนการจดั การเรียนรู้ ดงั น้ี
ขัน้ ท่ี ๑ สอนผันวรรณยุกต์ทมี่ ีตวั สะกดตรงมาตราในกลมุ่ พยัญชนะต้นอักษรกลาง
๑. ครูทบทวนคำ�ท่ีมีสระเสียงส้ันและคำ�ที่มีสระเสียงยาว เพื่อให้นักเรียนเข้าใจในลักษณะ
ของค�ำ และการออกเสยี งทีแ่ ตกต่างกนั โดยอาจใช้กจิ กรรมเพลง เกม บตั รค�ำ บัตรภาพ เปน็ ต้น
๒. ทบทวนความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี นเกยี่ วกบั ค�ำ ทมี่ พี ยญั ชนะตน้ เปน็ อกั ษรกลาง มี ๙ ตวั ไดแ้ ก่
ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ (ฎ ฏ ไมใ่ ช้ในการสอนสะกดคำ�ในหน่วยน)้ี
๓. ฝึกออกเสียงผนั ค�ำ แจกลูกและสะกดคำ� กลุ่มพยญั ชนะต้นเป็นอักษรกลาง ประสมสระ
เสียงยาว และสระเสียงส้ัน ตัวสะกดตรงตามมาตรา และวรรณยุกต์ ยกตัวอย่างการผันวรรณยุกต์
ค�ำ ท่ีมตี วั สะกดแม่กง แม่กน แม่กม แมเ่ กย แมเ่ กอว ตรงตามมาตรา
๔. ฝกึ ออกเสยี งผันค�ำ แจกลูกและสะกดคำ� กลุ่มพยญั ชนะต้นเป็นอกั ษรกลาง ประสมสระ
เสียงยาว และสระเสียงส้ัน ตัวสะกดตรงตามมาตรา และวรรณยุกต์ ยกตัวอย่างการผันวรรณยุกต์
ค�ำ ทม่ี ตี วั สะกดแมก่ ก แมก่ บ แมก่ ด ตรงตามมาตรา โดยครอู อกเสยี งอา่ นน�ำ แลว้ ใหน้ กั เรยี นอา่ นออกเสยี ง
ตามครชู า้ ๆ ออกเสยี งพรอ้ มกนั เปน็ กลมุ่ และออกเสยี งเปน็ รายบคุ คล ออกเสยี งใหช้ ดั เจน แลว้ ฝกึ ซาํ้ ๆ
เพ่ือใหเ้ กดิ ความแมน่ ยำ� โดยใชส้ ่อื ประกอบ
๕. นกั เรยี นทำ�แบบฝึกการผนั วรรณยุกตท์ มี่ ีตวั สะกดตรงตามมาตรา
๖. ครูใชส้ ื่อประกอบการเรยี นรู้ เชน่ ตารางการผนั วรรณยกุ ต์กลุ่มพยญั ชนะต้นอักษรสงู
ขั้นที่ ๒ สอนผนั วรรณยุกตท์ ่มี ีตัวสะกดตรงมาตราในกลมุ่ พยญั ชนะต้นอักษรสงู
๑. ครูทบทวนคำ�ท่ีมีสระเสียงสั้นและคำ�ที่มีสระเสียงยาว เพื่อให้นักเรียนเข้าใจในลักษณะ
ของคำ� และการออกเสียงทแ่ี ตกต่างกนั โดยอาจใช้กจิ กรรมเพลง เกม บัตรค�ำ บัตรภาพ เปน็ ตน้
๒. ทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนเก่ียวกับคำ�ที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง มี ๑๑ ตัว
ได้แก ่ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
คูม่ ือการสอนอ่านเขยี น 190 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
๓. ฝึกออกเสียงผันคำ�แจกลูก และสะกดคำ� กลุ่มพยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง ประสมสระ
เสียงยาว และสระเสียงส้ัน ตัวสะกดตรงตามมาตรา และวรรณยุกต์ ยกตัวอย่างการผันวรรณยุกต์
ค�ำ ทม่ี ตี ัวสะกดแมก่ ง แมก่ น แม่กม แมเ่ กย แมเ่ กอว ตรงตามมาตรา
๔. ฝึกออกเสียงผันคำ�แจกลูก และสะกดคำ� กลุ่มพยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง ประสมสระ
เสียงยาว และสระเสียงส้ัน ตัวสะกดตรงตามมาตรา และวรรณยุกต์ ยกตัวอย่างการผันวรรณยุกต์
คำ�ท่ีมตี วั สะกดแมก่ ก แม่กบ แม่กด ตรงตามมาตรา โดยครูออกเสียงอ่านน�ำ แล้วให้นักเรียนอ่านออก
เสยี งตามครชู า้ ๆ ออกเสยี งพรอ้ มกนั เปน็ กลมุ่ และออกเสยี งเปน็ รายคน ออกเสยี งใหช้ ดั เจน แลว้ ฝกึ ซา้ํ ๆ
เพอื่ ใหเ้ กดิ ความแม่นย�ำ โดยใช้ส่ือประกอบ
๕. นักเรียนทำ�แบบฝกึ การผันวรรณยกุ ตท์ ม่ี ีตัวสะกดตรงตามมาตรา
๖. ครูใช้สือ่ ประกอบการเรียนรู้ เชน่ ตารางการผันวรรณยกุ ต์กล่มุ พยญั ชนะตน้ อกั ษรสูง
ขัน้ ท่ี ๓ สอนผันวรรณยุกต์ทม่ี ตี ัวสะกดตรงมาตราในกลุม่ พยญั ชนะตน้ อกั ษรต่าํ
๑. ครูทบทวนคำ�ท่ีมีสระเสียงสั้นและคำ�ที่มีสระเสียงยาว เพื่อให้นักเรียนเข้าใจในลักษณะ
ของค�ำ และการออกเสยี งท่แี ตกตา่ งกนั โดยอาจใชก้ ิจกรรมเพลง เกม บัตรค�ำ บตั รภาพ เป็นตน้
๒. ทบทวนความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี นเกย่ี วกบั ค�ำ ทมี่ พี ยญั ชนะตน้ เปน็ อกั ษรตา่ํ มี ๒๔ ตวั ไดแ้ ก่
คฅฆงชซฌญฑฒณทธนพฟภมยรลวฬฮ
๓. ฝึกออกเสียงผันคำ�แจกลูกและสะกดคำ� กลุ่มพยัญชนะต้นเป็นอักษรตํ่า ประสมสระ
เสียงยาว และสระเสียงสั้น ตัวสะกดตรงตามมาตรา และวรรณยุกต์ ยกตัวอย่างการผันวรรณยุกต์
ค�ำ ที่มีตัวสะกดแมก่ ง แมก่ น แมก่ ม แม่เกย แม่เกอว ตรงตามมาตรา
๔. ฝึกออกเสียงผันคำ�แจกลูกและสะกดคำ� กลุ่มพยัญชนะต้นเป็นอักษรตํ่า ประสมสระ
เสียงยาว และสระเสียงส้ัน ตัวสะกดตรงตามมาตรา และวรรณยุกต์ ยกตัวอย่าง การผันวรรณยุกต์
ค�ำ ทมี่ ตี วั สะกดแมก่ ก แมก่ บ แมก่ ด ตรงตามมาตรา โดยครอู อกเสยี งอา่ นน�ำ แลว้ ใหน้ กั เรยี นอา่ นออกเสยี ง
ตามครูชา้ ๆ ออกเสยี งพร้อมกันเป็นกลุม่ และออกเสียงเป็นรายคน ออกเสียงใหช้ ดั เจน แล้วฝึกซํ้า ๆ
เพ่อื ให้เกิดความแม่นยำ� โดยใชส้ ่ือประกอบ
๕. นกั เรยี นท�ำ แบบฝกึ การผันวรรณยกุ ต์ท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตรา
๖. ครูใช้สอื่ ประกอบการเรยี นรู้ เชน่ ตารางการผันวรรณยกุ ต์กลมุ่ พยญั ชนะต้นอกั ษรตํ่า
คู่มอื การสอนอา่ นเขยี น 191 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
ข้นั ท่ี ๔ สอนฝึกการผันวรรณยุกต์ตรงตามมาตราตัวสะกดท่ีมีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง
อกั ษรสงู และอกั ษรต่ํา ทง้ั ท่ปี ระสมดว้ ยสระเสียงยาว และเสียงสัน้
๑. ครูทบทวนคำ�ท่ีมีสระเสียงส้ันและคำ�ท่ีมีสระเสียงยาว เพ่ือให้นักเรียนเข้าใจในลักษณะ
ของคำ�และการออกเสยี งที่แตกต่างกนั โดยอาจใช้กจิ กรรมเพลง เกม บัตรคำ� บัตรภาพ เปน็ ตน้
๒. ทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนเก่ียวกับคำ�ที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง อักษรสูง
และอักษรต่ํา
๓. ใหน้ กั เรยี นฝกึ ออกเสยี งผนั ค�ำ แจกลกู และสะกดค�ำ กลมุ่ พยญั ชนะตน้ อกั ษรกลาง อกั ษรสงู
และอักษรต่ํา ประสมสระเสียงยาว และสระเสียงสั้น ตัวสะกดตรงตามมาตรา และวรรณยุกต์
ยกตัวอย่างการผนั วรรณยุกตท์ มี่ ตี วั สะกดตรงมาตราในแม่กง แมก่ น แมก่ ม แม่เกย แม่เกอว
๔. ให้นักเรียนฝึกออกเสียงผันคำ�แจกลูก และสะกดคำ� กลุ่มพยัญชนะต้นกลุ่มพยัญชนะ
ต้นอกั ษรกลาง อกั ษรสงู และอักษรตํ่า ประสมสระเสยี งยาวและสระเสียงสั้น ตัวสะกดตรงตามมาตรา
และวรรณยุกต์ ยกตวั อยา่ งการผนั วรรณยุกต์ทม่ี ีตวั สะกดตรงมาตราในแม่กก แมก่ บ แม่กด
ทงั้ นค้ี รคู วรสงั เกตและตรวจสอบวา่ ยงั มนี กั เรยี นคนใดทยี่ งั ผนั วรรณยกุ ตท์ มี่ มี าตราตวั สะกด
ตรงตามมาตราไมไ่ ด้ ใหซ้ อ่ มเสรมิ ทนั ที ส�ำ หรบั นกั เรยี นทผี่ นั ไดแ้ ลว้ อาจใหท้ �ำ แบบฝกึ ทกั ษะเสรมิ ตอ่ ไป
คู่มอื การสอนอ่านเขียน 192 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
ตัวอย่างการน�ำ แนวทางการจดั การเรยี นรไู้ ปใชใ้ นห้องเรยี น
หน่วยที่ ๗ การผนั วรรณยุกตท์ ีม่ ตี ัวสะกดตรงมาตรา
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ของหน่วย (๔ ช่วั โมง)
๑. เพอ่ื ใหน้ กั เรียนออกเสียงผนั ค�ำ ทมี่ วี รรณยุกตแ์ ละตวั สะกด
ตรงตามมาตราได้ถกู ต้อง
๒. เพ่อื ให้นักเรียนอา่ นและเขียนค�ำ ท่ีมวี รรณยุกตแ์ ละตวั สะกด
ตรงตามมาตราไดถ้ กู ต้อง
แนวทางการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๑ (๑ ชว่ั โมง)
การผันวรรณยกุ ตค์ �ำ พยญั ชนะตน้ อักษรกลางทีม่ ีตัวสะกดตรงตามมาตรา
แนวทางการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ (๑ ชั่วโมง)
การผันวรรณยุกต์ค�ำ พยญั ชนะตน้ อักษรสูงทมี่ ตี วั สะกดตรงตามมาตรา
แนวทางการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๓ (๑ ช่ัวโมง)
การผันวรรณยกุ ต์คำ�พยัญชนะตน้ อกั ษรตํ่าทีม่ ีตัวสะกดตรงตามมาตรา
แนวทางการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๔ (๑ ชั่วโมง)
การฝกึ และทบทวนการผันวรรณยกุ ต์คำ�ท่ีมตี วั สะกดตรงตามมาตรา
คูม่ อื การสอนอา่ นเขยี น 193 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
แนวทางการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ การผันวรรณยุกต์คำ�พยัญชนะตน้ อักษรกลาง
ที่มีตวั สะกดตรงมาตรา (๑ ช่ัวโมง)
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
อ่านและเขียนคำ�ที่มีพยัญชนะต้นอกั ษรกลางท่มี ีตวั สะกดตรงมาตรา และมรี ูปวรรณยกุ ต์
ขน้ั ตอนการจัดการเรยี นรู้
๑. ขน้ั นำ�
๑.๑ ครูทบทวนคำ�ท่ีมีสระเสียงส้ันและคำ�ที่มีสระเสียงยาว เพื่อให้นักเรียนเข้าใจ
ลกั ษณะของค�ำ และการออกเสยี งทแ่ี ตกตา่ งกนั โดยอาจใชก้ จิ กรรมเพลง เกม บตั รค�ำ บตั รภาพ เปน็ ตน้
๑.๒ ทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับคำ�ที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง
มี ๙ ตัว ได้แก่ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ (ฎ ฏ ไม่ใช้ในการสอนสะกดคำ�ในหนว่ ยน)้ี
๒. ขั้นสอน
๒.๑ ครูสอนออกเสียงผันคำ�แจกลูกและสะกดคำ� กลุ่มพยัญชนะต้นอักษรกลาง
ประสมสระเสียงยาวและสระเสียงสั้น ตัวสะกดตรงตามมาตรา และวรรณยุกต์ ยกตัวอย่าง
การผนั วรรณยกุ ต์ท่มี ตี ัวสะกดตรงมาตราในแม่กง แม่กน แมก่ ม แม่เกย แม่เกอว เช่น
๑) พยัญชนะต้นอักษรกลาง + สระเสยี งยาว + ตวั สะกด + วรรณยุกต์
กาง ก + า + ง กาง
กาง + - ก่าง (เสียงเอก)
กาง + - กา้ ง (เสยี งโท)
กาง + - กา๊ ง (เสยี งตรี)
กาง + - ก๋าง (เสยี งจตั วา)
๒) พยญั ชนะต้นอกั ษรกลาง + สระเสียงสน้ั + ตัวสะกด + วรรณยุกต์
กิน ก + - + น ดิน
ดนิ + - ดิ่น (เสยี งเอก)
ดนิ + - ดิน้ (เสยี งโท)
คูม่ ือการสอนอ่านเขยี น 194 โดยการแจกลูกสะกดคำ�