๕. อา่ นเป็นค�ำ แจกลูกสระ ดังนี้ กะ กา กิ กี กึ กือ กุ กู
ตะ ตา ติ ตี ตึ ตือ ตุ ตู
บะ บา บิ บี บึ บือ บุ บู
(ครใู ห้ความร้เู รือ่ ง อ เคยี ง ในคำ�สระออื ท่ไี มม่ ตี วั สะกด)
ขน้ั ท่ี ๕ การเขยี นสะกดคำ� ในแม่ ก กา
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
เพือ่ ใหน้ ักเรยี นสามารถเขียนคำ�ในแม่ ก กา ได้
กิจกรรม
๑. การสะกดค�ำ เพื่อเขียน เปน็ การเขียนสะกดคำ�เพ่ือเขียนคำ�ใหถ้ ูกตอ้ ง โดยบอกตัวอกั ษร
เรยี งตามรูปตวั อักษรที่ประกอบกันเปน็ คำ�น้นั เชน่ คำ�วา่
ฉายา เขียนสะกดค�ำ (บอกเรียงตวั อกั ษรเพ่อื การเขยี น) วา่ ฉอฉิง่ สระอา ยอยักษ์ สระอา
มะเขือ เขียนสะกดคำ� มอ ม้า สระอะ สระเอ ขอ ไข่ สระอือ อออา่ ง
ดเู บา เขยี นสะกดค�ำ ดอ เด็ก สระอ ู สระเอ ขอ ไข่ สระอา
การสอนสะกดคำ�เพ่ือเขียนสำ�หรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้นน้ี ครูสามารถ
สอนให้นักเรียนเขียน “ตัวอักษร” ทีละตัว เรียงตามลำ�ดับไปได้ เพื่อไม่ให้เกิดความสับสน และเมื่อ
เขยี นค�ำ เสรจ็ แลว้ ใหน้ ักเรียนอา่ นค�ำ ดังกล่าวอีกทีหน่ึง
กรณที นี่ กั เรยี นจดจ�ำ รปู และต�ำ แหนง่ ของสระในค�ำ ไดแ้ มน่ ย�ำ แลว้ ครสู ามารถสอนใหน้ กั เรยี น
เขียนสะกดค�ำ แบบเดียวกับการสะกดคำ�เพ่ืออ่านได้
๒. ครูนำ�เสนอคำ�ท่ีหลากหลายหรือคำ�ท่ีเห็นในชีวิตประจำ�วันมาฝึกเขียนสะกดคำ� เพ่ือให้
นักเรียนคุ้นเคยกับส่วนประกอบของคำ�และสามารถอ่านเรียงตัวอักษรของคำ�ได้ถูกต้อง และนำ�ไปสู่
การเขียนค�ำ ที่ถูกต้อง การเขียนสะกดค�ำ จะเป็นประโยชน์ส�ำ หรับนักเรียนในเร่ืองการวางต�ำ แหน่งของ
พยญั ชนะตน้ และการวางตำ�แหนง่ สระ เปน็ การทบทวนการวางตำ�แหนง่ ของตวั อกั ษรของคำ�อกี วธิ หี นงึ่
การจดั กจิ กรรมการเขยี นสะกดค�ำ ควรจดั ทกุ ครง้ั หลงั จากฝกึ การอา่ นสะกดค�ำ และแจกลกู ค�ำ เปน็ การยาํ้
ซ้าํ ทวน การอา่ นคำ�
คู่มือการสอนอา่ นเขียน 95 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
ขน้ั ที่ ๖ การฝกึ อา่ นและเขยี นโดยใชก้ ารแจกลกู สะกดค�ำ
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
เพ่ือใหน้ ักเรยี นเกิดความเขา้ ใจและเกิดทักษะในการอ่านคำ� ในแม่ ก กา
กิจกรรม
การสอนแจกลกู สะกดคำ� เ–ะ และการเขียนสะกดคำ�เพ่ิมเติมในข้ันนี้ เป็นการฝึกเพอ่ื ให้
นักเรียนอา่ นและเขียนค�ำ ทีส่ ะกดดว้ ยสระทีม่ ตี ัวอักษรมากกวา่ ๑ ตวั เช่น สระเอะ (เ-ะ) สระเอยี (เ- ีย)
เพื่อใหอ้ ่านและเขยี นไดค้ ล่องข้นึ
๑. ครูใช้บัตรสระเอะ แล้วให้บอกว่า ในบัตรคำ�น้ีประกอบด้วยสระอะไรบ้าง เม่ือบอกรูป
สระทุกตัวแล้ว ครูแนะนำ�ว่าสระรูปน้ีประกอบด้วยรูปสระหลายรูปออกเสียงว่า สระเอะ ให้นักเรียน
ออกเสยี งสระตามครู เสียงดังและชดั เจน
๒. ครูน�ำ พยญั ชนะตน้ มาประสมกบั สระเอะ แลว้ ให้นักเรยี นฝึกอา่ น
พยัญชนะตน้ ก ต จ ข ส ผ ช พ ฟ
เกะ เตะ เจะ เขะ เสะ เผะ เชะ เพะ เฟะ
๓. เมอ่ื ครเู หน็ วา่ นกั เรยี นอา่ นไดแ้ ลว้ ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั แยกสว่ นประกอบของโครงสรา้ งคำ�
และสะกดคำ� พรอ้ มอ่านแจกลกู เชน่
เกะ พยญั ชนะต้น กอ สระเอะ สะกดวา่ กอ - เอะ เกะ
เตะ พยัญชนะต้น ตอ สระเอะ สะกดวา่ ตอ - เอะ เตะ
เจะ พยัญชนะตน้ จอ สระเอะ สะกดว่า จอ - เอะ เจะ
เขะ พยัญชนะต้น ขอ สระเอะ สะกดวา่ ขอ - เอะ เขะ
คมู่ ือการสอนอา่ นเขยี น 96 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
เสะ พยัญชนะตน้ สอ สระเอะ สะกดว่า สอ - เอะ เสะ
เผะ พยัญชนะตน้ ผอ สระเอะ สะกดว่า ผอ - เอะ เผะ
เชะ พยญั ชนะตน้ ชอ สระเอะ สะกดวา่ ชอ - เอะ เชะ
เพะ พยัญชนะต้น ออ สระเอะ สะกดว่า พอ - เอะ เพะ
เฟะ พยญั ชนะตน้ ฟอ สระเอะ สะกดว่า ฟอ - เอะ เฟะ
๔. เมื่อนักเรยี นสะกดค�ำ เพ่ืออา่ นได้แล้ว ใหน้ กั เรยี นอ่านคำ�โดยใช้การแจกลกู แบบสระคงท่ี
พยัญชนะต้นเปล่ียนไป (สระเป็นแม่ แจกไปลูกพยัญชนะ) ดังนี้ เกะ เตะ เจะ เขะ เสะ เผะ เชะ
เพะ เฟะ
๕. เม่ือนักเรียนอ่านแจกลูกสะกดคำ�ได้แล้ว ครูให้นักเรียนสังเกตคำ�ท่ีกำ�หนดว่าแต่ละคำ�
ประกอบด้วยอักษรใดบา้ ง โดยให้อา่ นเรียงตัวอกั ษร ดังนี้
มะระ เขียนสะกดค�ำ มอ ม้า สระอะ รอ เรือ สระอะ
ฝาช ี เขยี นสะกดค�ำ ฝอ ฝา สระอา ชอ ชา้ ง สระอี
มชี า เขียนสะกดคำ� มอ มา้ สระอี ชอ ชา้ ง สระอา
คู่มือการสอนอา่ นเขียน 97 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
ขั้นที่ ๗ ฝกึ อ่านประโยคส้นั ๆ ค�ำ ในแม่ ก กา
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
เพื่อให้นกั เรียนอ่านค�ำ ในแม่ ก กา เปน็ ประโยคสัน้ ๆ ได้
กิจกรรม
เมอ่ื นกั เรยี นสามารถอา่ นคำ� ในแม่ ก กา ไดแ้ ลว้ ครอู าจน�ำ ค�ำ ในแม่ ก กา มาสรา้ งเปน็ กลมุ่ คำ�
และใหน้ กั เรยี นฝึกอ่านแบบสะกดค�ำ อ่านเปน็ คำ� อา่ นในรูปประโยคง่าย ๆ ดังน้ี
๑. ฝึกอ่านคำ� ครูให้นักเรียนอ่านสะกดคำ� อ่านแจกลูก และอ่านเป็นคำ� จากคำ�ท่ีครู
เขียนบนกระดานดำ� ครูอาจให้นักเรียนนำ�เสนอคำ�ในแม่ ก กา แล้วเขียนบนกระดานดำ� เพ่ือฝึกให้
นักเรียนอา่ นคลอ่ ง
มะ ละ ยะ ระ ชะ นะ อะ จะ ตะ
ตา พา อา ยา ทา มา สา คา ถา
นำ� ส�ำ รำ� ต�ำ ทำ� ข�ำ ยำ� ลำ� ค�ำ
ไป ไอ ไร ใจ ไว ไฟ ไย ไล ใส
๒. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรา้ งกลมุ่ ค�ำ จากค�ำ ทไี่ ดอ้ า่ นไปแลว้ หรอื จากค�ำ ทน่ี กั เรยี นน�ำ เสนอ
เช่น
คาถา ลำ�ไย มะไฟ มะระ มะลิ ระบำ� คำ�น�ำ ชะน ี ส�ำ ลี มไี ฟ
ดใี จ จอแจ งอแง รูปู เกเร โซเซ มะละกอ ตาทายา ท�ำ อะไร
คูม่ อื การสอนอา่ นเขียน 98 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
๓. ครูและนักเรียนนำ�กลุ่มคำ�ในแม่ ก กา ท่ีอ่านไปแล้ว มาแต่งประโยคสั้น ๆ และอ่าน
ประโยค ทัง้ แบบอา่ นสะกดคำ�และอา่ นเปน็ คำ� เชน่
ตา ม ี มะละกอ สะกดว่า ตอ - อา ตา มอ - อี มี มอ - อะ มะ
ลอ - อะ ละ กอ - ออ กอ
อ่านว่า ตา ม ี มะละกอ
อา ม ี ล�ำ ไย สะกดวา่ ออ - อา อา มอ - อี ม ี
ลอ - อำ� ล�ำ ยอ - ไอ ไย
อ่านวา่ อา ม ี ลำ�ไย
ชะนี ม ี มะไฟ สะกดว่า ชอ - อะ ชะ นอ - อ ี น ี มอ - อี ม ี
มอ - อะ มะ ฟอ - ไอ ไฟ
อ่านว่า ชะนี ม ี มะไฟ
ปู นา ขา เก สะกดวา่ ปอ - อู ป ู นอ - อา นา ขอ - อา ขา
กอ - เอ เก
อา่ นว่า ปู นา ขา เก
ชะนี ตวั โต สะกดวา่ ชอ - อะ ชะ นอ - อี น ี ตอ - อวั ตัว
ตอ - โอ โต
อา่ นวา่ ชะนี ตวั โต
ตา ดู ระบ�ำ สะกดวา่ ตอ - อา ตา ดอ - อ ู ดู
รอ - อะ ระ บอ - อำ� บ�ำ
อ่านว่า ตา ดู ระบ�ำ
๔. เม่ือนักเรียนอ่านประโยคคล่องแล้ว ให้นักเรียนฝึกเขียนประโยค และแต่งประโยค
จากค�ำ ที่กำ�หนดให้ หรอื จากค�ำ ทน่ี ักเรยี นน�ำ เสนอ
คูม่ อื การสอนอ่านเขียน 99 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
ตัวอย่างการน�ำ แนวทางการจดั การเรียนรู้ไปใชใ้ นห้องเรยี น
หนว่ ยที่ ๔ การแจกลูกสะกดคำ�ในแม่ ก กา
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ของหนว่ ย (๘ ชว่ั โมง)
๑. เพือ่ ใหน้ ักเรียนอ่านสะกดค�ำ ในแม ่ ก กา ได้
๒. เพอ่ื ให้นักเรียนอา่ นแจกลูกค�ำ ในแม ่ ก กา ได้ (๑ ชว่ั โมง)
๓. เพ่ือให้นกั เรียนเขียนค�ำ ในแม่ ก กา ได้
๔. เพอ่ื ใหน้ กั เรียนอ่านประโยคสน้ั ๆ ท่ีมคี �ำ ในแม ่ ก กา ได้ (๑ ชวั่ โมง)
แนวทางการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ (๑ ชั่วโมง)
ทบทวนรูปและเสยี งพยัญชนะและสระ (๑ ชว่ั โมง)
(ตามแนวทางการจดั การเรียนรขู้ ั้นตอนท่ี ๑ และ ๒) (๑ ช่ัวโมง)
แนวทางการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๒ (๑ ชั่วโมง)
การสะกดคำ�เพื่ออา่ นและเขียน: พยญั ชนะต้นอักษรกลาง (๑ ชัว่ โมง)
แนวทางการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓ (๑ ช่ัวโมง)
การสะกดคำ�เพือ่ อ่านและเขียน: พยญั ชนะต้นอักษรตา่ํ
แนวทางการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๔
การสะกดคำ�เพื่ออ่านและเขียน: พยัญชนะต้นอกั ษรสงู
แนวทางการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๕
การอ่านแจกลกู คำ�โดยใช้พยญั ชนะต้นคงที่
แนวทางการจดั การเรียนรู้ที่ ๖
การอ่านแจกลูกคำ�โดยใช้สระคงท่ี
แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ ๗
การฝกึ อ่านและเขยี นโดยใช้การแจกลูกสะกดคำ�
แนวทางการจดั การเรียนรู้ที่ ๘
การฝึกอ่านประโยคสั้น ๆ
คมู่ ือการสอนอา่ นเขยี น 100 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
แนวทางการจัดการเรียนรูท้ ่ี ๑ การสะกดค�ำ เพื่ออ่านและเขยี น:
พยัญชนะต้นอกั ษรกลาง (๑ ชวั่ โมง)
จุดประสงค์การเรียนรู้
เพื่อใหน้ กั เรียนอา่ นและเขียนสะกดคำ�ทม่ี พี ยัญชนะตน้ อักษรกลาง ในแม่ ก กา ได้
ขน้ั ตอนการจัดการเรียนรู้
๑. ขั้นนำ�
๑.๑ ครเู ขยี นบทร้อยกรอง กา เอ๋ย กา บนกระดานดำ� ดงั น้ี
กา เอย๋ กา
(ไมท่ ราบนามผแู้ ตง่ )
กา เอย๋ กา บิน มา ไว ไว
จับ ตน้ โพ โผ มา ตน้ ไทร
๑.๒ ครอู ่านบทร้อยกรอง ใหน้ ักเรยี นอา่ นตาม
๑.๓ ครูเขียนคำ�จากบทร้อยกรองบนกระดานดำ� เช่น กา ครูถามนักเรียนว่า คำ�น้ี
ประกอบดว้ ย พยญั ชนะอะไร สระอะไร ครูแนะน�ำ ว่า ค�ำ นี้ประกอบดว้ ย พยญั ชนะต้น กอ และสระอา
๑.๔ ครูนำ�คำ�ที่ปรากฏในบทร้อยกรองมาถามนักเรียนอีก เช่น มา ไว โพ โผ
โดยถามว่า คำ�นี้ประกอบด้วยพยัญชนะต้นและสระอะไร เพื่อให้นักเรียนบอกพยัญชนะต้นและสระ
ของค�ำ นน้ั ๆ
๑.๕ สรปุ ให้นกั เรยี นทราบส่วนประกอบของค�ำ ว่าประกอบด้วย พยญั ชนะตน้ และสระ
ค่มู ือการสอนอ่านเขียน 101 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
๒. ขน้ั สอน
๒.๑. ครูแนะนำ�อักษรกลาง โดยเขียนอักษรกลาง ก จ ด ต บ ป อ บนกระดานดำ�
และใหน้ ักเรียนอ่านออกเสียงพยัญชนะอกั ษรกลางทกุ ตัว
๒.๒ ครูสอนเรื่องการอ่านสะกดคำ� โดยให้เรียนรู้คำ�ท่ีประกอบด้วยพยัญชนะต้น
อักษรกลาง + สระ เช่น คำ�วา่
กา พยัญชนะตน้ ก ออกเสียงว่า กอ สระ -า ออกเสียง อา
ก ี พยัญชนะตน้ ก ออกเสียงว่า กอ สระ -ี ออกเสียง อี
ครนู ำ�คำ�ท่พี ยัญชนะตน้ เปน็ อักษรกลาง ในแม่ ก กา ให้นักเรยี นฝึกสะกดค�ำ จนคลอ่ ง
๒.๓ ครูสอนเรื่องการอ่านสะกดคำ�ในแม่ ก กา โดยแยกแยะส่วนประกอบของคำ�
ว่าคำ�นั้นประกอบด้วยพยัญชนะและสระอะไร ครูให้นักเรียนอ่านสะกดคำ�อักษรกลาง ในแม่ ก กา
ทีค่ รูเขียนบนกระดานดำ�ตามครู เช่น
กา สะกดว่า กอ - อา กา
อา สะกดวา่ ออ - อา อา
ด ี สะกดวา่ ดอ - อ ี ดี
แก สะกดว่า กอ - แอ แก
๒.๔ ครอู า่ นสะกดค�ำ ในแม่ ก กา จากแผนภมู ิให้นกั เรียนอา่ นตาม
คมู่ ือการสอนอา่ นเขยี น 102 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
การสะกดคำ�อกั ษรท่ีประสมดว้ ยสระอะ และสระอา
กา กอ - อา กา ตา ตอ - อา ตา บา บอ - อา บา
จา จอ - อา จา ดา ดอ - อา ดา ปา ปอ - อา ปา
กะ กอ - อะ กะ ตะ ตอ - อะ ตะ บะ บอ - อะ บะ
จะ จอ - อะ จะ ดะ ดอ - อะ ดะ ปะ ปอ - อะ ปะ
๒.๕ ครูใหน้ กั เรียนอ่านคำ�จากแผนภูมติ ามตวั อยา่ งเป็นกล่มุ และรายบุคคล
การสะกดค�ำ อักษรกลางประสมดว้ ยสระอิ และสระอี
กิ กอ - อิ กิ ติ ตอ - อิ ติ บิ บอ - อ ิ บิ
จ ิ จอ - อ ิ จิ ดิ ดอ - อิ ดิ ปิ ปอ - อิ ปิ
๒.๖ ครใู หน้ ักเรยี นทำ�แบบฝึกที่ ๑ แล้วชว่ ยกันตรวจสอบคำ�ตอบ
๓. ขน้ั สรุป
๓.๑ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการอ่านสะกดคำ� โดยครูยกบัตรคำ�ให้นักเรียนดู
แล้วให้นกั เรียนบอกสว่ นประกอบว่า คำ�ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง สรปุ คอื พยัญชนะต้น + สระ และ
การอา่ นสะกดคำ� ต้องอา่ นเสียงพยัญชนะต้นก่อนแล้วจึงอา่ นสระ
๓.๒ ครูยกตวั อย่างคำ� ในแม่ ก กา แลว้ ให้นกั เรียนอ่านแบบสะกดคำ� เชน่ ปี สะกดวา่
ปอ - อี ปี อ่านว่า ปี ครูให้นักเรียนฝึกอ่านสะกดคำ�จากบัตรคำ� ประมาณ ๑๐ - ๑๕ คำ� แล้ว
สรุปการอ่านสะกดคำ�ให้นักเรียนฟังอีกครั้ง จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝึกที่ ๒ ขณะนักเรียนทำ�
แบบฝึก ครูเดินสังเกตการทำ�งานของนักเรยี นและใหค้ ำ�แนะน�ำ
คูม่ ือการสอนอา่ นเขยี น 103 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
ส่ือการสอน
๑. บทรอ้ ยกรอง กา เอ๋ยกา
๒. บตั รค�ำ
๓. แผนภูมิอ่านสะกดคำ�
๔. แบบฝึก
การวัดและประเมินผล
การตรวจแบบฝึก
คมู่ อื การสอนอ่านเขยี น 104 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
แบบฝกึ ที่ ๑ การเขยี นส่วนประกอบของคำ�
ค�ำ ชแ้ี จง
ใหน้ ักเรยี นเขยี นส่วนประกอบของค�ำ ท่ีกำ�หนดให้
ขอ้ ท ่ี คำ� สะกดค�ำ พยญั ชนะต้น สระ อ่านว่า
ตัวอยา่ ง ตา สะกดวา่ ตอ อา ตา
๑. บา สะกดว่า
๒. ปา สะกดวา่
๓. ดี สะกดวา่
๔. ด ู สะกดวา่
๕. ปี สะกดว่า
๖. บู สะกดว่า
๗. อา สะกดว่า
๘. ปู สะกดวา่
๙. อู สะกดวา่
๑๐. โบ สะกดว่า
คมู่ ือการสอนอา่ นเขียน 105 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
เฉลยคำ�ตอบ
ข้อที ่ ค�ำ สะกดคำ� พยญั ชนะตน้ สระ อา่ นวา่
๑. บา สะกดว่า บอ อา บา
๒. ปา สะกดวา่ ปอ อา ปา
๓. ดี สะกดว่า ดอ อ ี ดี
๔. ดู สะกดว่า ดอ อ ู ด ู
๕. ปี สะกดวา่ ปอ อี ปี
๖. บู สะกดว่า บอ อู บ ู
๗. อา สะกดวา่ ออ อา อา
๘. ป ู สะกดวา่ ปอ อ ู ปู
๙. อ ู สะกดวา่ ออ อู อู
๑๐. โบ สะกดว่า บอ โอ โบ
คู่มือการสอนอ่านเขียน 106 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
แบบบนั ทกึ ผลการเขียนส่วนประกอบคำ�
ท่ ี ชอ่ื -สกุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข อ้ ท่ี ๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผป่าผนรละกเผมาไร่าินมน ่
คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้
ในการปรับปรุงและพฒั นานักเรียน
๒. วิธกี ารบนั ทึก ถ้าทำ�ถูกต้องให้ใสเ่ คร่ืองหมาย √ ถ้าท�ำ ผดิ ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมาย X (เครื่องหมาย √ เทา่ กบั
๑ คะแนน เครื่องหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้
ในการปรับปรุง และพัฒนานกั เรียนเปน็ รายบุคคล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน
เพอื่ นำ�ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีท่ีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก
จนนกั เรยี นเขียนได้
คู่มอื การสอนอา่ นเขยี น 107 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
แบบฝึกที่ ๒ การอา่ นสะกดคำ�
คำ�ชแ้ี จง
๑. ให้นักเรียนอ่านสะกดค�ำ ภายในเวลา ๑๐ นาที
๒. ครูยกตัวอย่างการอา่ นสะกดคำ� คำ�วา่ “ตี” กอ่ นจบั เวลา
ตวั อย่าง การอา่ นสะกดคำ�
ต ี สะกดวา่ ตอ - อี ตี
๑. ด ู ๖. เบอื
๒. แบ ๗. โต
๓. จำ� ๘. เก
๔. ใจ ๙. บวั
๕. เจอ ๑๐. เปยี
คมู่ ือการสอนอ่านเขยี น 108 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
เฉลยคำ�ตอบ คำ� อา่ นสะกดคำ�
ดู ดอ - อ ู ดู
ข้อท่ ี แบ บอ - แอ แบ
๑. จ�ำ จอ - อำ� จำ�
๒. ใจ จอ - ไอ ใจ
๓. เจอ จอ - เออ เจอ
๔. เบอื บอ - เออื เบือ
๕. โต ตอ - โอ โต
๖. เก กอ - เอ เก
๗. บัว บอ - อวั บวั
๘. เปีย ปอ - เอีย เปีย
๙.
๑๐.
คู่มือการสอนอ่านเขยี น 109 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
แบบบันทกึ ผลการอ่านสะกดค�ำ
ท ่ี ชอ่ื -สกลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข อ้ ท ี่๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผป่าผนรละกเผมาไรา่นิมน่
คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้
ในการปรบั ปรงุ และพัฒนานกั เรยี น
๒. วิธกี ารบนั ทึก ถ้าอ่านถกู ตอ้ งใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมาย √ ถา้ อ่านผิดให้ใส่เครอื่ งหมาย X (เครื่องหมาย √ เทา่ กับ
๑ คะแนน เครอื่ งหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้
ในการปรบั ปรุง และพฒั นานกั เรียนเปน็ รายบคุ คล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน
เพือ่ นำ�ไปใชใ้ นการปรับปรงุ และพฒั นาการจัดการเรียนการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก
จนนกั เรียนเขียนได้
คู่มอื การสอนอา่ นเขยี น 110 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
สว่ นที่ ๓ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลประจ�ำ หนว่ ย
ฉบบั ที่ ๑ การอ่านสะกดค�ำ
ค�ำ ชแ้ี จง
๑. ให้นกั เรยี นอ่านสะกดค�ำ ๑๐ ค�ำ ภายในเวลา ๕ นาที
๒. ครูยกตัวอยา่ งการอ่านสะกดค�ำ คำ�วา่ “มะลิ” ก่อนจบั เวลา
ตัวอยา่ งการอ่านสะกดค�ำ
มะลิ สะกดว่า มอ - อะ มะ ลอ - อิ ล ิ มะลิ
๑. เมา ๖. ไพเราะ
๒. ศาลา ๗. ชมู อื
๓. เสาไฟ ๘. วชิ า
๔. ก�ำ ไล ๙. ราชิน ี
๕. หัวเราะ ๑๐. พิธี
คู่มือการสอนอา่ นเขียน 111 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
เฉลยค�ำ ตอบ
ขอ้ คำ� อ่านสะกดค�ำ
๑. มอ - เอา เมา
๒. เมา ศอ - อา สา ลอ - อา ลา ศาลา
๓. ศาลา สอ - เอา เสา ฟอ - ไอ ไฟ เสาไฟ
๔. เสาไฟ กอ - อำ� ก�ำ ลอ - ไอ ไล ก�ำ ไล
๕. กำ�ไล หอ - อวั หวั รอ - เอาะ เราะ หัวเราะ
๖. หัวเราะ พอ - ไอ ไพ รอ - เอาะ เราะ ไพเราะ
๗. ไพเราะ ชอ - อู ชู มอ - อือ มอื ชูมอื
๘. ชูมือ วอ - อิ วิ ชอ - อา ชา วิชา
๙. วิชา รอ - อา รา ชอ - อิ ชิ นอ - อี นี ราชินี
๑๐. ราชิน ี พอ - อิ - พิ ธอ - อี - ธี พิธี
พธิ ี
คู่มือการสอนอ่านเขียน 112 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
แบบบันทกึ ผลการอ่านสะกดค�ำ
ที่ ชอื่ -สกลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข อ้ ท ี่๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผป่าผนรละกเผมาไรา่นิมน่
คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้
ในการปรบั ปรงุ และพัฒนานกั เรยี น
๒. วิธกี ารบนั ทึก ถ้าอ่านถกู ตอ้ งใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมาย √ ถา้ อ่านผิดให้ใส่เครอื่ งหมาย X (เครื่องหมาย √ เทา่ กับ
๑ คะแนน เครอื่ งหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้
ในการปรบั ปรุง และพฒั นานกั เรียนเปน็ รายบคุ คล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน
เพ่ือนำ�ไปใชใ้ นการปรับปรงุ และพฒั นาการจัดการเรียนการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก
จนนักเรียนเขียนได้
คู่มอื การสอนอา่ นเขยี น 113 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
ฉบับที่ ๒ การอ่านคำ�
คำ�ชแ้ี จง
๑. ให้นักเรยี นอา่ นออกเสยี งคำ� ๒๐ ค�ำ ภายในเวลา ๕ นาที
๒. ครูยกตวั อยา่ งการอา่ นค�ำ คำ�วา่ “งอแง” ก่อนจับเวลา
ตัวอย่าง งอแง อ่านว่า งอ - แง
๑. กำ�ย�ำ ๑๑. ไวไฟ
๒. โมโห ๑๒. ในนา
๓. ตวั โต ๑๓. ศาลา
๔. โยเย ๑๔. จ�ำ ใจ
๕. ดารา ๑๕. ดำ�ขำ�
๖. โซเซ ๑๖. นะคะ
๗. ดดู ี ๑๗. ระยะ
๘. จอแจ ๑๘. งอมือ
๙. รูป ู ๑๙. ใบบัว
๑๐. สสู ี ๒๐. ลำ�น�ำ
คมู่ อื การสอนอา่ นเขียน 114 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
เฉลยค�ำ ตอบ
ข้อ คำ� อ่านว่า
๑.
๒. กำ�ยำ� ก�ำ - ยำ�
๓. โมโห โม - โห
๔. ตวั โต ตวั - โต
๕. โยเย โย - เย
๖. ดารา ดา - รา
๗. โซเซ โซ - เซ
๘. ดดู ี ดู - ดี
๙. จอแจ จอ - แจ
๑๐. รปู ู รู - ปู
๑๑. สูสี สู - สี
๑๒. ไวไฟ ไว - ไฟ
๑๓. ในนา ใน - นา
๑๔. ศาลา สา - ลา
๑๕. จ�ำ ใจ จำ� - ใจ
๑๖. ด�ำ ข�ำ ดำ� - ข�ำ
๑๗. นะคะ นะ - คะ
๑๘. ระยะ ระ - ยะ
๑๙. งอมอื งอ - มอื
๒๐. ใบบวั ใบ - บัว
ล�ำ นำ� ล�ำ - นำ�
คมู่ ือการสอนอ่านเขยี น 115 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
แบบบันทึกผลการอา่ นค�ำ
ท ่ี ช ือ่ -ส ก ุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑ข๐ ้อ ท๑๑ ่ี ๑๒ ๑ ๓ ๑ ๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒ ๐ ค ะรแวนมน * ผ ป่าผนรละกเมผาไรา่ินมน ่
คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้ในการ
ปรับปรงุ และพฒั นานกั เรียน
๒. วธิ ีการบันทึก ถา้ อา่ นถูกตอ้ งใหใ้ สเ่ ครือ่ งหมาย √ ถ้าอ่านผิดให้ใสเ่ ครื่องหมาย X (เครื่องหมาย √ เทา่ กบั
๑ คะแนน เครอื่ งหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้
ในการปรับปรุง และพัฒนานกั เรียนเป็นรายบุคคล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน
เพอ่ื นำ�ไปใชใ้ นการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีท่ีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก
จนนักเรยี นเขียนได้
คู่มอื การสอนอา่ นเขียน 116 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
ฉบับท่ี ๓ การเขยี นค�ำ
ค�ำ ชแี้ จง
๑. ใหน้ ักเรียนเขียนตามค�ำ บอก ใชเ้ วลา ๒๐ นาที
๒. ครูอ่านคำ�ให้นักเรียนฟัง คำ�ละ ๒ ครั้ง โดยเว้นเวลาให้นักเรียนเขียน ก่อนบอกคำ�
ในขอ้ ตอ่ ไป
ขอ้ ท่ ี คำ�ท่เี ขยี น ขอ้ ท ี่ คำ�ท่ีเขยี น
๑ . ...........................................................
๒ . ............................................................ .......................................................... ๑๑ . ...........................................................
๓ . ...........................................................
๔ . ............................................................ .......................................................... ๑๒ . ...........................................................
๕ . ...........................................................
๖ . ............................................................ .......................................................... ๑๓ . ...........................................................
๗ . ...........................................................
๘ . ............................................................ .......................................................... ๑๔ . ...........................................................
๙ . ...........................................................
๑๐ . ............................................................ .......................................................... ๑๕ . ...........................................................
...........................................................
............................................................ .......................................................... ๑๖ . ...........................................................
...........................................................
............................................................ .......................................................... ๑๗ . ...........................................................
...........................................................
............................................................ .......................................................... ๑๘ . ...........................................................
...........................................................
............................................................ .......................................................... ๑๙ . ...........................................................
...........................................................
............................................................ .......................................................... ๒๐ . ...........................................................
คูม่ ือการสอนอ่านเขยี น 117 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
คำ�ทีก่ ำ�หนดให้เขียน ๑๑. นาฬิกา
๑๒. ท�ำ เล
๑. กาแฟ ๑๓. ไถนา
๒. ระกำ� ๑๔. ใบบัว
๓. กะท ิ ๑๕. ตัวโต
๔. เกเร ๑๖. ทายา
๕. เขา ๑๗. มะละกอ
๖. คอ ๑๘. มะเขือ
๗. ต�ำ ๑๙. มือถอื
๘. จ�ำ ปี ๒๐. เวลา
๙. ค�ำ
๑๐. ชะนี
คู่มือการสอนอ่านเขียน 118 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
แบบบนั ทกึ ผลการเขยี นค�ำ
ท่ี ช ่อื -ส ก ุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑ข๐ ้อ ท๑๑ี ่ ๑๒ ๑ ๓ ๑ ๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒ ๐ ค ะรแวนมน * ผ ปา่ผนรละกเมผาไรา่นิมน ่
คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้
ในการปรับปรงุ และพัฒนานักเรยี น
๒. วธิ ีการบนั ทึก ถา้ เขียนถูกตอ้ งให้ใส่เครอื่ งหมาย √ ถ้าเขียนผดิ ให้ใส่เครอ่ื งหมาย X (เครอ่ื งหมาย √ เท่ากับ
๑ คะแนน เครือ่ งหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้
ในการปรบั ปรงุ และพฒั นานักเรียนเป็นรายบุคคล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน
เพอ่ื น�ำ ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีท่ีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก
จนนกั เรียนเขยี นได้
คมู่ ือการสอนอา่ นเขยี น 119 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
ตัวอย่างสรปุ ผลการประเมินการแจกลกู สะกดค�ำ ในแม่ ก กา
ท ี่ ชอื่ - ส กลุ (๑ ฉ๐บคบั ะทแ่ี น๑น ) ผ (ล๒กฉ๐าบรคับปะทรแี่ะน๒ เ นม )นิ (๒ฉ๐ บคับะทแี่ น๓น ) (๕๐คะรคแวะ นมแ นน น) สรผุป่าผนล การปไมรผ่ะเ่ามนนิ
หมายเหตุ
๑. ถ้ารวมคะแนนได้รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป และคะแนนรายแบบประเมินไดร้ อ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป ทุกแบบประเมิน
ถือว่าผ่านเกณฑ์
๒. ถ้ารวมคะแนนได้ร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป แต่คะแนนรายแบบประเมินบางแบบประเมินได้ไม่ถึงร้อยละ ๘๐
ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ แต่ให้ซ่อมเสริมส่วนทไ่ี ม่ถึงร้อยละ ๘๐
๓. ถ้ารวมคะแนนได้ไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์ให้สอนซ่อมเสริม ในกรณีท่ีนักเรียนได้คะแนน
บางแบบประเมนิ ร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป ไม่ตอ้ งซ่อมเสริมส่วนน้ัน
ค่มู ือการสอนอ่านเขียน 120 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
หนว่ ยที่ ๕ การผันวรรณยุกต์ในแม่ ก กา
ส่วนที่ ๑ ความรู้สำ�หรบั ครู
การสอนผนั วรรณยกุ ต์คำ�ในแม่ ก กา ครคู วรมีความรู้ความเขา้ ใจในส่วนท่เี ป็นเนอื้ หาสาระ
และแนวคิดพ้นื ฐานทเ่ี กี่ยวข้องท่ีสำ�คญั เพอื่ เชอื่ มโยงสูก่ ารจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ดังน้ี
๑. การผนั วรรณยกุ ต์ คอื การเปลย่ี นระดบั เสยี งสงู ตาํ่ ของพยางคต์ ามรปู วรรณยกุ ตท์ กี่ ำ�กบั อยู่
๒. รปู และเสียงวรรณยกุ ต์
รูปวรรณยกุ ต์ มี ๔ รปู คือ - (ไมเ้ อก) -้ (ไมโ้ ท) -๊ (ไม้ตร)ี - (ไมจ้ ัตวา)
เสียงวรรณยกุ ต์ มี ๕ เสียง คือ สามัญ เอก โท ตรี และจัตวา ทุกพยางคม์ ีเสยี งวรรณยกุ ต์
แม้ว่าจะไมม่ รี ูปวรรณยกุ ตก์ ำ�กับก็ตาม เช่น
กา มีเสยี งวรรณยกุ ตส์ ามญั
จะ มเี สียงวรรณยกุ ตเ์ อก
คาด มีเสยี งวรรณยุกต์โท
คดั มเี สียงวรรณยกุ ตต์ รี
หา มีเสยี งวรรณยุกตจ์ ตั วา
๓. ระดับเสียงของคำ� พยางค์และค�ำ ในภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต์แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับ
พยญั ชนะต้นตามไตรยางศ์ ลักษณะของพยางคท์ ี่เปน็ ค�ำ เป็น หรอื คำ�ตาย
คำ�เป็น หมายถึง คำ�ท่ีมีเสียงพยัญชนะท้ายหรือตัวสะกดในแม่ กง กน กม เกย
หรือ เกอว และคำ�ทป่ี ระสมสระเสยี งยาวไม่มตี วั สะกด
ค�ำ ตาย หมายถึง คำ�ทีม่ ีเสยี งพยัญชนะท้ายหรือตัวสะกดในแม ่ กก กด หรอื กบ
และคำ�ท่ปี ระสมสระเสียงส้ันไม่มตี ัวสะกด
คู่มือการสอนอ่านเขยี น 121 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
๔. ไตรยางศ์ แบ่งพยัญชนะออกเปน็ ๓ พวก ดังน้ี
อักษรกลาง คือ ตัวพยัญชนะทีม่ ีพ้นื เสยี งเปน็ เสยี งสามัญ มี ๙ ตัว ได้แก่
ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ
อักษรสูง คอื ตัวพยัญชนะท่ีมีพื้นเสียงเป็นเสียงจัตวา มี ๑๑ ตวั ไดแ้ ก่
ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
อกั ษรตาํ่ คอื ตวั พยญั ชนะท่ีมพี ืน้ เสียงเป็นเสียงสามัญ มี ๒๔ ตวั ไดแ้ ก่
ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท
ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ
อักษรตาํ่ แบ่งเปน็ อกั ษรต่ําคู่ กับ อกั ษรต่ําเดย่ี ว
อกั ษรต่ําคู่ คือ อักษรตาํ่ ที่มเี สียงค่กู บั อักษรสูง ๑๔ ตวั ได้แก่
อักษรตา่ํ อกั ษรสงู
ค ฅ ฆ ข ฃ
ช ฌ ฉ
ซ ศ ษ ส
ฑ ฒ ท ธ ฐ ถ
พ ภ ผ
ฟ ฝ
ฮ ห
อักษรต่ําเด่ียว คือ อักษรตํ่าที่ไม่มีเสียงคู่กับอักษรสูง มี ๑๐ ตัว ได้แก่ ง ญ ณ น ม ย
รลวฬ
ท้ังนี้ อกั ษรตํา่ เดี่ยวทส่ี ามารถใช้ ห น�ำ เป็นพยัญชนะต้นได้ ๘ ตวั คอื หง หญ หน หม หย
หร หล หว ผันเสยี งวรรณยกุ ตเ์ ชน่ เดียวกบั อกั ษรสูง
คู่มอื การสอนอา่ นเขยี น 122 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
๕. การผันวรรณยกุ ตค์ ำ�เปน็ และคำ�ตาย เสยี งวรรณยกุ ตข์ องคำ�เป็นและค�ำ ตายมดี งั นี้
ตารางการผนั วรรณยุกต์
ลัก ษณะ พยางค์/คำ� สาม ัญ เอก เสยี งวรรณยกุ ต์ ตร ี จัตวา
โท ก๋า
จ๋ี
อกั ษรกลาง คำ�เปน็ กา กา่ ก้า ก๊า ปู๋
พืน้ เสียงเปน็ เสียงสามัญ จี จี ่ จ้ ี จี ๊ -
ผันได้ ๕ เสยี ง ปู ปู ป ู้ ป ู๊ -
-
อกั ษรกลาง คำ�ตาย - จะ จะ้ จ๊ะ ขา
พ้นื เสียงเปน็ เสยี งเอก - ติ ต ้ิ ติ ๊ โห
ผันได้ ๓ เสยี ง - อุ อ้ ุ อุ๊ แส
อักษรสงู ค�ำ เป็น - ข่า ข้า - -
พืน้ เสียงเปน็ เสยี งจตั วา - โห ่ โห ้ - -
ผนั ได้ ๓ เสยี ง - แส ่ แส้ -
-
อักษรสงู คำ�ตาย - ขะ ขะ้ - -
พน้ื เสียงเป็นเสยี งเอก - ผ ุ ผ้ ุ - -
ผนั ได้ ๒ เสียง
-
อกั ษรตํ่า ค�ำ เป็น คา - คา่ ค้า -
พน้ื เสียงเป็นเสยี งสามัญ รอ - ร่อ ร้อ
ผันได้ ๓ เสียง ง ู - ง่ ู งู้ ขา
โส
อักษรตํา่ คำ�ตาย สระเสียงสนั้ - - ค่ะ คะ ถี
พืน้ เสยี งเปน็ เสียงตร ี - - น่ะ นะ
ผนั ได้ ๒ เสยี ง
อักษรตํ่าและอักษรสูง คา ข่า คา่ /ขา้ ค้า
ท่เี ปน็ อกั ษรคกู่ นั และเป็นค�ำ เป็น โซ โส่ โซ่/โส้ โซ ้
สามารถผนั ไดค้ รบ ๕ เสยี ง ที ถ ี่ ท/่ี ถ ้ี ท้ี
ค่มู อื การสอนอ่านเขียน 123 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
สว่ นท่ี ๒ แนวทางการจัดการเรียนรู้
การสอนผนั วรรณยุกตค์ ำ�ในแม่ ก กา มขี ัน้ ตอนการจัดการเรียนรู้ ดงั น้ี
ข้นั ที่ ๑ สอนให้รู้จักรูปและเสียงวรรณยุกต์ โดยทบทวนรูปและเสียงวรรณยุกต์
ด้วยบัตรภาพ บัตรค�ำ หรือเขยี นรูปบนกระดานก็ได้
รปู วรรณยกุ ต์ ม ี ๔ รปู คอื - ไม้เอก
- ไม้โท
- ไมต้ รี
- ไมจ้ ัตวา
เสยี งวรรณยกุ ตม์ ี ๕ เสยี ง คือ เสยี งสามัญ
เสยี งเอก
เสยี งโท
เสยี งตรี
เสียงจตั วา
ขนั้ ท่ี ๒ สอนผันวรรณยุกต์ คำ�ที่มีพยัญชนะต้นเป็น อักษรกลาง ๗ ตัว ก่อน คือ ก จ
ด ต บ ป อ และประสมดว้ ยสระเสยี งยาว โดยสอนแบบอ่านสะกดคำ�ก่อน เช่น
ก - า (กอ - อา กา)
กา - - - กา่ (กา - เอก กา่ )
กา - - - ก้า (กา - โท กา้ )
กา - - - ก๊า (กา - ตรี กา๊ )
กา - - - กา๋ (กา - จตั วา ก๋า)
คูม่ อื การสอนอ่านเขียน 124 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
จากนั้นจึงสอนให้ผันเสยี งแบบแจกลกู โดยยดึ พยญั ชนะตน้ และสระเป็นแม่ แจกใหล้ กู ทีเ่ ปน็
วรรณยุกต์ตามลำ�ดับ โดยครูออกเสียงอ่านนำ� แล้วให้นักเรียนอ่านออกเสียงตามครูช้า ๆ ออกเสียง
พรอ้ มกนั เป็นกลุ่ม และออกเสียงเป็นรายคน ออกเสียงใหช้ ดั เจน แล้วฝกึ ซ้าํ ๆ เพื่อให้เกิดความแม่นยำ�
เชน่
กา - ก่า - ก้า - ก๊า - ก๋า
จ ี - จ่ ี - จ ้ี - จี๊ - จ๋ี
ด ู - ดู่ - ดู ้ - ด ู๊ - ดู๋
ข้นั ท่ี ๓ เมื่อนักเรียนผันเสียงวรรณยุกต์คำ�ที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง ประสมด้วย
สระเสียงยาวได้คล่องแล้ว จึงสอนผันวรรณยุกต์คำ�ที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรตํ่าและอักษรสูง
ประสมด้วยสระเสียงยาว เป็นล�ำ ดับถัดมา โดยสอนแบบอ่านสะกดค�ำ ก่อน (ยังไม่ต้องสอนพยัญชนะ
ที่ไม่มรี ูปวรรณยุกต์ปรากฏในคำ�ทีส่ ะกดโดยใช้พยญั ชนะเหลา่ นเี้ ปน็ พยัญชนะตน้ ได้ เชน่ ฐ ฑ ฒ ฎ ฏ
ณ ฬ) เช่น
ม - า มา (มอ - อา มา)
มา - - มา่ (มา - เอก มา่ )
มา - - ม้า (มา - โท มา้ )
จากนัน้ จึงสอนใหผ้ นั เสียงแบบแจกลกู เช่น
มา ม่า มา้
นี นี่ นี้
ขา ข่า ขา้
สอื ส่อื สอ้ื
ครูออกเสียงอ่านนำ� แล้วให้นักเรียนอ่านออกเสียงตามช้า ๆ ออกเสียงพร้อมกัน
เป็นกลุ่ม และออกเสียงเป็นรายคน ออกเสียงให้ชัดเจน และฝึกซ้ํา ๆ เพื่อให้เกิดความแม่นยำ� ท้ังน้ี
ควรเลอื กคำ�ทมี่ ีความหมาย และไมเ่ ป็นค�ำ หยาบคายมาใหน้ กั เรียนฝึกอ่านสะกดคำ�
คู่มือการสอนอ่านเขียน 125 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
การสอนผันเสียงวรรณยุกต์ในระดับน้ี ยังไม่ต้องนำ�คำ�ตายมาผันเสียงวรรณยุกต์ เน่ืองจาก
เมอ่ื ใส่รูปวรรณยกุ ต์แลว้ มกั เปน็ คำ�ทีไ่ ม่มคี วามหมาย
ขอ้ เสนอแนะ
๑. ครูต้องฝึกให้นักเรียนเห็นรูป ให้อ่านออกเสียง เขียนรูปคำ� และฝึกแต่งประโยค
ไปพรอ้ ม ๆ กนั เพื่อให้นกั เรยี นสามารถอา่ นออกเขยี นไดอ้ ย่างแมน่ ย�ำ
๒. กรณีที่เด็กยังไม่สามารถอ่านหรือผันเสียงวรรณยุกต์ได้ ให้เร่ิมต้นอ่านแบบสะกดคำ�
จนแมน่ ย�ำ แล้วจึงค่อยใหอ้ ่านผนั เสยี งซา้ํ หลาย ๆ ครง้ั เพอื่ ใหเ้ กดิ ความแมน่ ยำ�
ค่มู อื การสอนอา่ นเขยี น 126 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
ตวั อยา่ งการนำ�แนวทางการจัดการเรยี นรูไ้ ปใชใ้ นห้องเรียน
หนว่ ยที่ ๕ การผันวรรณยกุ ตค์ �ำ ในแม่ ก กา
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรขู้ องหน่วย (๓ ชว่ั โมง)
เพ่อื ใหน้ กั เรยี นอ่านและเขยี นค�ำ ทผ่ี นั วรรณยุกตใ์ นแม่ ก กา ได้ (๑ ช่ัวโมง)
แนวทางการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑ (๑ ชว่ั โมง)
การผนั วรรณยุกต์คำ�เพื่ออ่านและเขียน: (๑ ชัว่ โมง)
พยญั ชนะตน้ อักษรกลาง สระเสียงยาว
แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ ๒
การผนั วรรณยุกต์ค�ำ เพ่ืออา่ นและเขียน:
พยญั ชนะต้นอักษรต่าํ สระเสียงยาว
แนวทางการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๓
การผันวรรณยกุ ต์คำ�เพอ่ื อ่านและเขยี น:
พยัญชนะตน้ อักษรสงู สระเสยี งยาว
แนวทางการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑ การผันวรรณยกุ ต์ค�ำ เพอื่ อ่านและเขยี น:
พยญั ชนะต้นอกั ษรกลาง สระเสยี งยาว (๑ ชว่ั โมง)
จุดประสงค์การเรยี นรู้
๑. เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นอา่ นค�ำ ทผ่ี ันวรรณยกุ ตใ์ นแม่ ก กา อกั ษรกลาง สระเสียงยาว ได้
๒. เพ่ือให้นกั เรยี นเขียนคำ�ท่ผี ันวรรณยกุ ต์ในแม่ ก กา อกั ษรกลาง สระเสียงยาว ได้
ค่มู ือการสอนอา่ นเขยี น 127 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
ขน้ั ตอนการจัดการเรียนรู้
๑. ขนั้ นำ�
ครูทบทวนความรู้เก่ียวกับพยัญชนะไทย ท้ัง ๔๔ ตัว จากแผนภูมิพยัญชนะไทย
โดยให้นักเรียนอ่านออกเสียงพยัญชนะพร้อมกัน จากนั้นครูอธิบายว่าพยัญชนะไทยท้ัง ๔๔ ตัวน้ี
แบ่งเปน็ ๓ กลมุ่ ไดแ้ ก่ อกั ษรกลาง อักษรสงู และอักษรต่าํ จากนน้ั ทบทวนอักษร ๓ หมู่ ดังนี้
อกั ษรกลาง คอื ตัวพยญั ชนะท่ีมีพน้ื เสยี งเป็นเสยี งสามัญ มี ๙ ตัว ได้แก่
ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ
อักษรสงู คอื ตวั พยญั ชนะทม่ี พี นื้ เสียงเปน็ เสยี งจัตวา มี ๑๑ ตวั ไดแ้ ก่
ข (ฃ) ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
อักษรตํ่า คอื ตวั พยญั ชนะท่มี ีพืน้ เสียงเปน็ เสียงสามญั ม ี ๒๔ ตวั ได้แก่
ค (ฅ) ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท
ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ
(อธิบายว่า (ฃ) และ (ฅ) ไม่มใี ชแ้ ล้ว ในปัจจบุ ัน)
๒. ขน้ั สอน
๒.๑ ครูให้นักเรียนออกเสียงกลุ่มพยัญชนะอักษรกลาง ได้แก่ ก จ ด ต บ ป อ
แลว้ อธบิ ายใหเ้ ห็นว่า เปน็ พยญั ชนะทีม่ ีระดบั เสียงเดยี วกัน (ในภาษาไทย ไมม่ คี ำ�ทีใ่ ชอ้ กั ษร ฎ และ ฏ
เป็นพยัญชนะตน้ แลว้ มรี ปู วรรณยุกตป์ รากฏ จึงไมต่ อ้ งน�ำ มาสอนในช่วั โมงน)ี้ ครูสามารถใหน้ กั เรยี น
ฝึกออกเสียง ก จ ด ต บ ป อ โดยอาจใหท้ ่องวา่ ไก่ (ก) จกิ (จ) เด็ก (ด) ตก (ต) บน (บ) ปาก (ป)
โอ่ง (อ) เพื่อใหจ้ ดจำ�ไดง้ ่าย
๒.๒ ครูทบทวนการสะกดคำ�เพื่ออ่านและเขียนคำ�ใน แม่ ก กา พร้อมอธิบาย
ลักษณะของคำ�ด้วย ว่าเป็นคำ�ท่ีประสมด้วยพยัญชนะต้นและสระ โดยไม่มีตัวสะกด เช่น กา มี ปู
เปน็ ต้น จากน้นั ให้นักเรียนฝกึ อ่านแจกลกู สะกดค�ำ แม่ ก กา จากแผนผงั ดังนี้ ทีละชดุ
ค่มู ือการสอนอ่านเขยี น 128 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
ชดุ ท่ี ๑ แจกลูกสระอา ชดุ ท่ี ๑ แจกลกู สระอ ี ชุดท่ี ๑ แจกลกู สระโอ ชุดที่ ๑ แจกลกู สระ อู
กู
จู
กา กี โก ดู
จา จี โจ – ู ตู
ดา ด ี โด บู
โต ปู
–า ตา – ี ต ี โ– อู
บา บี โบ
ปา ปี โป
อา อ ี โอ
แผนภูมกิ ารแจกลูก แม่ ก กา อกั ษรกลาง
๒.๓ ครูทบทวนเรอ่ื งรูปและเสยี งวรรณยุกต์ โดยใช้ตารางแสดงรปู และเสยี งวรรณยกุ ต์
ดังนี้
รปู วรรณยุกต ์ เสยี งวรรณยกุ ต์
สามญั
- เอก
- โท
- ตรี
- จัตวา
ค่มู ือการสอนอา่ นเขยี น 129 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
๒.๔ ครูเลือกคำ�จากชุดคำ�ในข้อ ๒.๒ มาเขียนบนกระดานดำ� แล้วเติมรูปวรรณยุกต์
ให้ครบ ตวั อยา่ งเช่น
กา ก่า กา้ ก๊า ก๋า
แล้วให้นักเรียนอ่านสะกดคำ� โดยครูออกเสียงอ่านนำ� และนักเรียนอ่านตาม
ทีละคำ� ดงั น้ี
กา สะกดวา่ กอ - อา กา
กา่ สะกดว่า กา - เอก กา่
ก้า สะกดวา่ กา - โท กา้
กา๊ สะกดว่า กา - ตรี กา๊
กา๋ สะกดว่า กา - จัตวา ก๋า
จากน้ันใหอ้ า่ นผนั วรรณยกุ ตค์ ำ� ดงั น้ี
กา ก่า กา้ ก๊า กา๋
ครูให้นักเรียนอ่านพร้อมกันทั้งชั้น เป็นรายกลุ่ม หรือรายบุคคล เมื่อนักเรียน
อา่ นผนั ไดถ้ กู ตอ้ งแล้ว ครูก็เปลี่ยนชดุ ค�ำ อื่น ๆ ตามทเี่ หน็ สมควร และฝึกแบบเดียวกนั อกี หลาย ๆ ครั้ง
คู่มือการสอนอ่านเขียน 130 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
๒.๕ นักเรียนฝึกการผันวรรณยุกต์ ตามแบบฝึกที่ ๑ และให้นักเรียนฝึกอ่านสะกดค�ำ
ทลี ะค�ำ จนครบทกุ คำ�
๒.๖ นักเรียนอ่านบทอ่านจากคำ�คล้องจอง ป้า ปู เป่า ปี่ โดยให้นักเรียนปรบมือ
หรือเคาะจังหวะประกอบการอ่านดว้ ยเพื่อให้เกดิ ความสนุกและจำ�ได้
ปา้ ปู เปา่ ป่ี ตา ดี ดู เตา่
เกา้ อี้ ตวั เกา่ ปา เป้า เก้า กอ
(ครูอาจเลือกบทอ่านจากแบบเรยี นหรอื สอื่ อื่น ๆ ที่สอดคล้องกับเร่อื งท่เี รียนแทนก็ได)้
๒.๗ นักเรียนเลือกคำ�จากบทอ่านมาเขียนผันวรรณยุกต์ลงในตาราง พร้อมวงกลม
รอบค�ำ ท่ีเลือก จำ�นวน ๕ คำ�
๒.๘ เล่นเกมจับคู่คำ�กับรูปวรรณยุกต์ โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่ม ๓ - ๔ คน
ครแู จกบัตรค�ำ แม่ ก กา อกั ษรกลาง เสยี งยาว แลว้ ให้นกั เรยี นอ่านบัตรค�ำ ตามครู
ตวั อยา่ งบตั รค�ำ
เก่าแก ่ ดูดี อู้อ้ ี จ๋จู ี๋ เจา้ จอ
ใบบวั บ้าใบ้ ไกป่ า่ อ๋ีอ๋อ ใตต้ ู้
๒.๙ ครูทบทวนเรื่องพยัญชนะต้นและสระเสียงยาว แล้วให้นักเรียนทำ�แบบฝึกท่ี ๒
พรอ้ มอ่านให้เพ่ือนและครฟู งั
คู่มือการสอนอ่านเขียน 131 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
๓. ขนั้ สรปุ
ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ วา่ อกั ษรกลางเมอ่ื ประสมกบั สระเสยี งยาวจะมเี สยี งเปน็ เสยี ง
สามัญสามารถผันวรรณยกุ ต์ได้ ๕ เสยี ง ไดแ้ ก่ เสียงสามัญ เสยี งเอก เสยี งโท เสยี งตรี และเสยี งจตั วา
โดยเสียงและรปู วรรณยกุ ตต์ รงกัน
สื่อการสอน
๑. แผนภมู กิ ารแจกลกู แม่ ก กา อกั ษรกลาง
๒. ตารางแสดงรูปและเสียงวรรณยุกต์
๓. ตารางผันวรรณยกุ ต์คำ�
๔. บทอา่ นคำ�คล้องจอง ป้า ปู เปา่ ปี่
๕. แบบฝกึ
การวดั และประเมินผล
การตรวจแบบฝึก
คูม่ อื การสอนอา่ นเขยี น 132 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
แบบฝึกที่ ๑ การผนั ค�ำ ท่ีมพี ยัญชนะตน้ อกั ษรกลาง สระเสียงยาว
ค�ำ ชี้แจง
ให้นกั เรียนผันวรรณยกุ ต์คำ�ทีก่ ำ�หนด
ข้อท่ี ค �ำ สามญั เอก โท ตรี จัตวา
- - - -
ตัวอย่าง กา กา กา่ ก้า กา๊ ก๋า
๑. จา
๒. ปี
๓. โต
๔. โอ
๕. ป ู
๖. อา
๗. ดู
๘. โบ
๙. จอ
๑๐. เกา
คู่มือการสอนอา่ นเขยี น 133 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
เฉลยคำ�ตอบ
ข้อท่ี ค ำ� สามัญ เอก โท ตรี จตั วา
- - - -
๑. จา จา จ่า จ้า จา๊ จ๋า
๒. ปี ปี ป่ ี ปี ้ ป ๊ี ป๋ี
๓. โต โต โต่ โต ้ โต๊ โต๋
๔. โอ โอ โอ่ โอ ้ โอ ๊ โอ๋
๕. ปู ปู ป ู่ ปู้ ปู ๊ ปู๋
๖. อา อา อ่า อา้ อา๊ อา๋
๗. ดู ด ู ดู ่ ดู้ ด๊ ู ดู๋
๘. โบ โบ โบ ่ โบ้ โบ๊ โบ๋
๙. จอ จอ จ่อ จอ้ จอ๊ จอ๋
๑๐. เกา เกา เก่า เก้า เกา๊ เก๋า
คูม่ อื การสอนอา่ นเขยี น 134 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
แบบบนั ทกึ ผลการผันคำ�ทม่ี พี ยัญชนะตน้ อกั ษรกลาง สระเสยี งยาว
ท ี่ ชือ่ -สกลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข อ้ ท ่ี๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผปา่ผนรละกเผมาไร่านิมน ่
คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้
ในการปรับปรุงและพฒั นานกั เรยี น
๒. วธิ กี ารบนั ทึก ถา้ ท�ำ ถูกตอ้ งให้ใส่เคร่ืองหมาย √ ถ้าท�ำ ผดิ ใหใ้ สเ่ ครือ่ งหมาย X (เครอ่ื งหมาย √ เทา่ กับ
๑ คะแนน เครื่องหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้
ในการปรบั ปรุง และพัฒนานักเรยี นเปน็ รายบคุ คล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน
เพ่ือนำ�ไปใชใ้ นการปรับปรุงและพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก
จนนักเรยี นเขยี นได้
คูม่ ือการสอนอ่านเขยี น 135 โดยการแจกลกู สะกดค�ำ
แบบฝกึ ที่ ๒ การอ่านสะกดคำ�
ค�ำ ชี้แจง
๑. ใหน้ ักเรียนอา่ นสะกดค�ำ ทกี่ ำ�หนดให้ ภายในเวลา ๕ นาที
๒. ครูยกตัวอยา่ งการอ่านสะกดคำ�วา่ “ใบ”้ ก่อนจับเวลา
ตัวอยา่ ง การอ่านสะกดค�ำ
ใบ ้ สะกดว่า บอ - ไอ - ใบ - ใบ - โท ใบ ้ หรอื
บอ - ไอ - ใบ - ใบ - ไมโ้ ท ใบ้
๑. ป๊า ๖. โอ้
๒. จา๋ ๗. ปู่
๓. ด ี๋ ๘. โบ๋
๔. ปี่ ๙. เก่า
๕. โต ๋ ๑๐. ไต่
ค่มู อื การสอนอ่านเขยี น 136 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
เฉลยคำ�ตอบ
ข้อที ่ ค�ำ อา่ นสะกดคำ� ป๊า
๑. ปา๊ ป๊า
ปอ - อา - ปา - ปา - ตรี
หรอื
ปอ - อา - ปา - ปา - ไม้ตรี
๒. จา๋
จอ - อา - จา - จา - จัตวา จ๋า
หรือ จา๋
จอ - อา - จา - จา - ไมจ้ ัตวา
๓. ดี๋ ดอ - อี - ดี - ดี - จตั วา ดี๋
หรือ ด๋ี
ดอ - อี - ดี - ดี - ไม้จตั วา
๔. ปี ่ ปอ - อี - ปี - ปี - เอก ป่ี
หรือ ป ่ี
ปอ - อี - ปี - ปี - ไม้เอก
๕. โต ๋ ตอ - โอ - โต - โต - จตั วา โต๋
หรอื โต๋
ตอ - โอ - โต - โต - ไมจ้ ัตวา
๖. โอ ้ ออ - โอ - โอ - โอ - โท โอ้
หรอื โอ ้
ออ - โอ - โอ - โอ - ไมโ้ ท
๗. ปู่ ปอ - อู - ปู - ปู - เอก ปู่
หรือ ปู่
ปอ - อู - ปู - ปู - ไม้เอก
คูม่ ือการสอนอ่านเขียน 137 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
ขอ้ ท่ ี ค�ำ อา่ นสะกดคำ�
๘. โบ ๋
บอ - โอ - โบ - โบ - จัตวา โบ๋
หรือ
บอ - โอ - โบ - โบ - ไมจ้ ัตวา โบ ๋
๙. เก่า
กอ - เอา - เกา - เกา - เอก เกา่
หรือ เก่า
กอ - เอา - เกา - เกา - ไมเ้ อก
๑๐. ไต่
ตอ - ไอ - ไต - ไต - เอก ไต่
หรือ ไต ่
ตอ - ไอ - ไต - ไต - ไมเ้ อก
ค่มู ือการสอนอา่ นเขยี น 138 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
แบบบนั ทกึ ผลการอ่านสะกดคำ�
ที่ ชือ่ -สกลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ข อ้ ท่ี ๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ค ะรแวนมน* ผปา่ผนรละกเผมาไร่านิมน่
คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้
ในการปรับปรุงและพฒั นานักเรียน
๒. วิธีการบันทกึ ถา้ อา่ นถูกตอ้ งให้ใส่เครื่องหมาย √ ถ้าอา่ นผดิ ให้ใส่เครอื่ งหมาย X (เครื่องหมาย √ เทา่ กับ
๑ คะแนน เครื่องหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้
ในการปรับปรงุ และพฒั นานกั เรียนเป็นรายบคุ คล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน
เพ่ือน�ำ ไปใชใ้ นการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
๕. นักเรยี นต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณที นี่ ักเรียนไมผ่ า่ นเกณฑ์ ครูต้องฝึกจน
นักเรียนเขียนได้
คมู่ อื การสอนอา่ นเขียน 139 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
สว่ นที่ ๓ แนวทางการวดั และประเมินผลประจ�ำ หนว่ ย
ฉบบั ที่ ๑ การอา่ นค�ำ
ค�ำ ชแ้ี จง
๑. ใหน้ กั เรียนอา่ นค�ำ ทีก่ �ำ หนดให้ ภายในเวลา ๕ นาที
๒. ครยู กตวั อยา่ งการอา่ นคำ�วา่ “แม่นา้ํ ” กอ่ นจับเวลา
ตัวอย่างการอ่านค�ำ
แม่นํา้ อ่านว่า แม่ - นํ้า
๑. ไก่แจ้ ๙. ผีเสื้อ
๑๐. เผอื่ แผ่
๒. จำ�ปี ๑๑. เฮฮา
๓. อีจู้ ๑๒. ทน่ี ี่
๔. ปู่จ๋า ๑๓. ไฟฟา้
๕. โอ่อ่า ๑๔. พ่อแม่
๖. ซซู่ า่ ๑๕. ไม้เทา้
๗. ขาเป๋
๘. เห่า
ค่มู ือการสอนอ่านเขยี น 140 โดยการแจกลกู สะกดคำ�
เฉลยค�ำ ตอบ
ข้อ คำ� อา่ นวา่
๑. ไกแ่ จ ้
๒. จ�ำ ปี ไก่ - แจ้
๓. อีจ้ ู จำ� - ปี
๔. ปจู่ ๋า อ ี - จู้
๕. โออ่ ่า ปู ่ - จา๋
๖. ซซู่ า่ โอ่ - อ่า
๗. ขาเป๋ ซ ู่ - ซ่า
๘. เห่า ขา - เป๋
๙. ผเี สอ้ื เห่า
๑๐. เผือ่ แผ่ ผ ี - เสื้อ
๑๑. เฮฮา เผ่อื - แผ่
๑๒. ที่นี่ เฮ - ฮา
๑๓. ไฟฟ้า ที ่ - น่ ี
๑๔. พ่อแม ่ ไฟ - ฟา้
๑๕. ไม้เทา้ พ่อ - แม่
ไม้ - เท้า
คูม่ ือการสอนอา่ นเขยี น 141 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ
แบบบนั ทกึ ผลการอ่านคำ�
ท ่ี ช ื่อ -ส กลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ข ้อ๘ ท่ี ๙ ๑๐ ๑ ๑ ๑๒ ๑๓ ๑ ๔ ๑๕ ค ะรแวนมน * ผ ป่าผนรละกเมผาไร่านิมน่
คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้
ในการปรบั ปรงุ และพัฒนานักเรยี น
๒. วิธกี ารบนั ทึก ถ้าอา่ นถกู ต้องให้ใสเ่ ครอ่ื งหมาย √ ถ้าอา่ นผดิ ให้ใสเ่ ครอื่ งหมาย X (เครือ่ งหมาย √ เท่ากบั
๑ คะแนน เครื่องหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้
ในการปรับปรงุ และพฒั นานักเรียนเป็นรายบุคคล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน
เพ่อื นำ�ไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและพฒั นาการจัดการเรียนการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีท่ีนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก
จนนักเรียนเขยี นได้
คู่มือการสอนอา่ นเขยี น 142 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
ฉบับท่ี ๒ เขียนตามค�ำ บอก
คำ�ชีแ้ จง
๑. ให้นกั เรยี นเขียนตามทค่ี รูบอก โดยใช้เวลาในการเขียน ๕ นาที
๒. ครูอ่านคำ�ให้นักเรียนฟังทีละค�ำ คำ�ละ ๒ ครั้ง โดยเว้นเวลาให้นักเรียนเขียนก่อนบอก
ค�ำ ในขอ้ ตอ่ ไป
ค�ำ ที่กำ�หนดให้เขยี น ๙. ใสเ่ สอ้ื
๑. ใจดี ๑๐. ฉู่ฉ่ี
๒. ตาบวั ๑๑. ในนา
๓. เก่าแก่ ๑๒. ท่านาํ้
๔. เป่าป่ี ๑๓. แม่คา้
๕. เก้าอี้ ๑๔. เรยี่ ไร
๖. ถ้ํา ๑๕. ล่าชา้
๗. ไฝฝา้
๘. หาเหา
คมู่ อื การสอนอา่ นเขียน 143 โดยการแจกลูกสะกดคำ�
แบบบันทกึ ผลการเขยี นตามคำ�บอก
ท่ี ช อื่ -ส กุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ข อ้๘ ท ่ี ๙ ๑๐ ๑ ๑ ๑๒ ๑๓ ๑ ๔ ๑๕ ค ะรแวนมน * ผ ป่าผนรละกเมผาไรา่ินมน ่
คะแนนรวม**
หมายเหตุ
๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รู้ว่านักเรียนมีข้อบกพร่องใด สำ�หรับนำ�ไปใช้
ในการปรบั ปรงุ และพัฒนานกั เรียน
๒. วธิ ีการบนั ทกึ ถา้ เขียนถูกตอ้ งใหใ้ ส่เครือ่ งหมาย √ ถา้ เขยี นผิดใหใ้ สเ่ ครือ่ งหมาย X (เคร่ืองหมาย √ เทา่ กบั
๑ คะแนน เครื่องหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน)
๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำ�ไปใช้
ในการปรับปรุง และพัฒนานักเรียนเปน็ รายบุคคล
๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินิจฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรียน
เพ่อื นำ�ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพฒั นาการจดั การเรียนการสอน
๕. นักเรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูต้องฝึก
จนนกั เรยี นเขยี นได้
คู่มือการสอนอา่ นเขยี น 144 โดยการแจกลูกสะกดค�ำ