The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือจัดกิจกรรมโฮมรูม โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by great.willyoo, 2022-06-11 04:01:18

คู่มือจัดกิจกรรมโฮมรูม โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย

คู่มือจัดกิจกรรมโฮมรูม โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย

Keywords: คู่มือจัดกิจกรรมโฮมรูม โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย

101

กจิ กรรม 84. กจิ กรรมแตงอยางปลอดภยั ตามสมยั นยิ ม
.....................................................................................
แตงอยางปลอดภัยตามสมัยนิยม

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู
1. เพ่อื ใหนักเรียนวิเคราะหการแตงกายของตนเองได
2. เพ่อื ใหนกั เรียนปรับการแตงกายของตนเองใหเหมาะสมตามปทัสถานของสงั คมและไม
กอใหเกดิ อันตรายกบั ตนเอง

วิธีการดาเนนิ กจิ กรรม
1. ใหนักเรยี นชวยกนั ยกตวั อยางบคุ คลทน่ี ักเรยี นชน่ื ชมในเร่ืองการแตงกายพรอมบอกเหตผุ ล
2. ใหนกั เรยี นศกึ ษากรณตี วั อยาง “จฬุ าลักษณ”
3. ใหนักเรยี นตอบคาถามเปนรายบคุ คล และแบงกลุมนักเรยี นเปนกลมุ ยอย เพ่ือวิเคราะหการกระทา

ของจุฬาลักษณและคาดการณตอไปวาจะเกดิ อะไรขึ้นกับจุฬาลักษณและผอู ่ืนในใบงาน “เดาไปขางหนา”
4. สมุ ตวั แทนกลมุ นักเรียนใหออกมารายงานหนาชั้น
5. ใหนักเรยี นตอบคาถามเปนรายบุคคลอีกครง้ั วา ถานกั เรยี นเปนจฬุ าลักษณ นักเรียนจะทาอยางไร

ในใบงาน “ถาฉันเปนจุฬาลกั ษณ”
6. ใหนักเรยี นชวยกันสรุปวา การแตงการที่เหมาะสมกบั สถานท่ีเวลา และวัยของนักเรยี นควรเปน

อยางไรบาง จงึ จะสวยงามและไมเปนอนั ตรายตอตนเอง
7. ใหนักเรียนวเิ คราะหและประเมินการแตงกายของตนวาเหมาะสมหรอื ไมเหมาะสมประการใดในใบ

งาน “การแตงการของฉัน”
8. นักเรยี นและครรู วมกันอภิปรายสรุปขอคดิ ท่ไี ดจากกจิ กรรมนี้

สรุปแนวคิดท่ีไดจากิจกรรม
การแตงกายเปนส่งิ ทสี่ ะทอนซงึ่ บุคลกิ ภาพของบุคคล และการทบี่ คุ คลรจู กั แตงกายใหเหมาะสมเปนไป

ตามปทสั ถาน (บรรทดั ฐาน) ของสังคม โดยคานงึ ถึงความเหมาะสมกับรปู รางของตนเอง กาลเทศะ ฐานะทาง
เศรษฐกิจ วัย ความประหยดั และความคุมคา จะเปนการเสริมบุคลกิ ภาพของตนใหผูทพ่ี บเหน็ เกิดความชน่ื ชม
และใหความเช่อื ถือ ซ่ึงจะสงผลใหอยูในสงั คมไดอยางมีความสขุ
การวดั และประเมินผล

1. สังเกตจากากรยกตวั อยางบคุ คลทน่ี ักเรยี นชน่ื ชมในการแตงกายพรอมเหตผุ ล
2. พิจารณาจากคาตอบของนักเรยี นในใบงานเกย่ี วกับการวิเคราะหการแตงกาย พรอมเหตผุ ล การ
คาดการณเหตกุ ารณท่จี ะเกิดจากการแตงกายท่ีไมเหมาะสม
3. สงั เกตจากการตอบคาถามของนักเรยี นเกยี่ วกบั การปองกนั ไมใหเกดิ เหตุราย
4. สงั เกตจากการสรปุ ในเรื่องการแตงกายท่ีเหมาะสมกบั สถานท่ี เวลา และวัยของนักเรียน
5. พจิ ารณาจาการประเมนิ การแตงกายของนักเรยี นวาเหมาะสมหรือไมเหมาะสม
6. สังเกตจากการสรปุ ขอคิดทไ่ี ดจากการเขารวมกจิ กรรมของนักเรยี น
สอ่ื /อุปกรณ์
1.กรณีตัวอยาง “จฬุ าลกั ษณ”
2. ใบงาน “เดาไปขางหนา”
3. ใบงาน “ถาฉนั เปนจฬุ าลักษณ”
4. ใบงาน “การแตงกายของฉัน”

102

กรณีตัวอยาง “จุฬาลักษณ์”
จุฬาลักษณเปนเดก็ วยั รุนทมี่ ผี ิวพรรณและรูปรางหนาตาดี เปนผทู ี่ไดชอื่ วาแตงตวั เปรี้ยว ชอบสวมใส
เส้ือสายเดี่ยวเองลอย กระโปรงส้ันจู เพราะเธอเปนคนทีม่ ีชวงขาสวยมาก และรสู ึกภมู ิใจทค่ี นสวนใหญมกั มอง
ชวงขาของเธอดวยความอิจฉา นอกจากน้ี เธอยังชอบใสเครอ่ื งประดับทีม่ ีราคาแพง มยี ่ีหอที่เปนที่นิยมของ
วยั รนุ
แตแลววันหนึ่งโชคไมเขาขางเธอเม่อื เธอไปหาเพื่อนในซอยเปลี่ยวแหงหนง่ึ และเธอเดนิ ผานชายวยั รนุ
3 คน กลุมวัยรุนเหลานนั้ ผวิ ปากทกั ทายอยอกเยาชมขางามของเธอมาแตไกล “ขาสวยจรงิ นะ นองสาว” และ
แลวเหตกุ ารณที่ไมคาดฝนก็เกดิ ข้นึ เมอ่ื ชายทง้ั สามตรงเขามาประชิดตัวเธอและพยายามผลกั เธอเขาขางทาง
เดชะบุญ กอนท่ีจะมีอะไรเกิดขน้ึ มรี ถยนตคนหนง่ึ แลนผานเขามาชายทง้ั สามเห็นทาไมดีจงึ ไดวงิ่ หนไี ป

103

ใบงาน
“เดาไปขางหนา”

คาชแ้ี จง: จากการอานกรณตี ัวอยางจฬุ าลกั ษณ ใหเดาเหตกุ ารณตอไปขางหนาวาจะเกดิ อะไรข้ึนกบั จุฬา
ลกั ษณและผอู ่ืน โดยคร้งั แรกใหนักเรยี นตอบเปนรายบคุ คล เสรจ็ แลวจาคาตอบของแตละคนมาอภิปราย
รวมกันใหไดขอสรุปของกลุม
รายบคุ คล
สงิ่ ทีเ่ กิดขึ้นกบั จุฬาลกั ษณ สง่ิ ท่เี กิดข้นึ กบั ผูอน่ื

ส่ิงทีเ่ กดิ ขนึ้ กับจฬุ าลกั ษณ รายกลมุ สง่ิ ทเ่ี กิดขึน้ กับผูอ่ืน

104

ใบงาน
“ถาฉันเปนจฬุ าลกั ษณ์”

ถานกั เรียนเปนจฬุ าลกั ษณ นกั เรยี นคดิ วาจะทาอยางไรจึงจะปองกนั ไมใหเหตรุ ายเกิดขน้ึ กบั ตนเองได
1. …………………………………………………..………………………………
2. …………………………………………………..……………………………….
3. …………………………………………………..……………………………….
4. …………………………………………………..……………………………….
5. …………………………………………………..……………………………….

105

ใบงาน
“การแตงกายของฉนั ”

ขาพเจาคิดวา การแตงกายของขาพเจา เหมาะสม เพราะ
1. …………………………………………………..………………………………
2. …………………………………………………..………………………………
3. …………………………………………………..……………………………….
4. …………………………………………………..……………………………….

ยังไมเหมาะสม เพราะ
1. …………………………………………………..………………………………
2. …………………………………………………..……………………………….
3. …………………………………………………..……………………………….
4. …………………………………………………..……………………………….

ขาพเจาจะปรับตนในเร่อื งการแตงกายดงั นี้
1. …………………………………………………..……………………………….
2. …………………………………………………..……………………………….
3. …………………………………………………..……………………………….
4. …………………………………………………..……………………………….

106

85. กิจกรรมชอ่ื น้มี ีความหมาย
............................................................................................................................
กิจกรรม ชอ่ื นม้ี คี วามหมาย
จุดประสงคก์ ารเรียนรู
เพ่ือสารวจความสามารถในการเขาถงึ ขอมลู ของนักเรยี น
กจิ กรรมการเรยี นรู
1. ครบู อกวัตถปุ ระสงคของกิจกรรม
2. ครสู ุมถามความหมายของช่ือนกั เรยี น 4 – 5 คน โดยเลอื กถามช่อื คนทแี่ ปลความหมายได
งายๆ ไมซบั ซอน เชน มะปราง (ผลไมชนดิ หน่งึ ) สมชาย สมรกั ไตรภพ เปนตน ให
นักเรยี นในหองคนอ่นื ๆ บอกความหมายของชื่อ
3. ครูใหนักเรียนเลือกชื่อเพือ่ นทแ่ี ปลกๆ (แปลความหมายยาก) เทาจานวนกลมุ ของนักเรียน
4. ใหนักเรยี นแบงกลุมๆละ 5 – 6 คน ชวยกันหาวิธีการหาความหมายของช่อื ท่ไี ดรับ
มอบหมาย โดยใชคาถามในประเดน็

4.1 ถานักเรียนไมทราบความหมายของช่ือ นักเรยี นจะมวี ิธกี ารอยางไร ใหทราบ
ความหมายของชอ่ื

4.2 ปญหาทท่ี าใหนักเรยี นไมสามารถคนหาความหมายของชอื่ ได
5. นกั เรียนหาตวั แทนนาเสนอวธิ กี ารหาความหมายของชอื่ (หรือสมุ ถาม 2 – 3 กลมุ ข้ึนกบั

เวลา)
6. ครแู ละนักเรยี น รวมกันสรปุ วธิ กี ารคนหาความหมายของชอ่ื (ขอมูล) และปญหาทที่ าให

นกั เรยี นไมสามารถคนหาขอมูลได
การวดั และการประเมนิ ผล

ประเมินจากการตอบคาถามของนักเรยี น
สรุปแนวคดิ ที่ไดจากกจิ กรรม

การคนหาความหมายของช่อื ทาใหนักเรียนไดสารวจความสามารถและปญหา อปุ สรรคในการ
คนหาขอมูลของนกั เรยี น วานักเรียนทราบวธิ ีการคนหาขอมูลหรือไม และอะไรคือปญหาท่ีทาใหนักเรยี นไม
ทราบ หรอื ไมสามารถคนขอมลู ได เพ่ือเราจะไดรขู อจากัดในการหาขอมูลของตนเอง และจะไดวางแผนใน
การพฒั นาตนเองในการหาแหลงขอมูลไดตอไป
สื่อ/อปุ กรณ์

ใบความรู แนวคดิ ท่ีควรได “กิจกรรมชอ่ื นี้มีความหมาย”

107

ใบความรู “แนวคิดที่ควรได”

คาถาม ขอคดิ ทค่ี วรได

1. นกั เรียนมีวธิ ีการอยางไรใหทราบความหมาย - ถามเพอ่ื นเจาของชอื่ / ถามครูภาษาไทย
ของชอื่ - คนจากพจนานุกรม (หนังสือ) / หองสมดุ
2. ปญหาท่ีทาใหนักเรยี นไมสามารถคนหา - คนจาก Talking dict
ความหมายของชื่อ (ขอมูล) ได ฯลฯ
-ไมทราบแหลงคนหา
- ไมมอี ุปกรณ
- ไมทราบวาจะถามใคร
- ขีเ้ กียจ / ไมสนใจ
ฯลฯ

108

กจิ กรรม 86. กจิ กรรมทองถน่ิ น้มี ีคา
...........................................................................
ทองถน่ิ นม้ี คี า

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู
1. เพื่อใหนักเรียนสามารถสรางสมั พนั ธภาพกับบุคลากรซึ่งเปนแหลงเรยี นรดู านการเรยี นใน
ชุมชน
2. เพ่อื ใหนักเรยี นสามารถพฒั นาประสิทธิภาพดานการเรียนของตน

กิจกรรมการเรยี นรู
1. นกั เรยี นศึกษาความรูจากทองถิน่
2. นักเรยี นในกลมุ แบงภาระงานกนั ไปคนควาศึกษาภูมิปญญาในหมบู านของนกั เรยี น
วิทยากรทองถนิ่ ในหมบู านของนกั เรยี น
3. นกั เรยี นไปเกบ็ ขอมลู แหลงภมู ิปญญาในทองถ่นิ สมั ภาษณวิทยากรทองถิ่น แลวบรรยาย
ใหทราบวา ทานเปนวิทยากรดานใด แหลงภมู ปิ ญญาทองถ่นิ น้ีมีอะไรนาสนใจ
4. ใหนกั เรียนใชเวลาสืบเสาะสารวจขอมลู 7 วนั
5. ครบกาหนด 7 วนั นักเรียนแตละกลมุ รายงาน แหลงเรยี นรทู เ่ี ปนภมู ิปญญาทองถ่ิน และ
วทิ ยากรทองถิน่ ท่ีไดขอมลู มา (อาจมภี าพถาย แหลงเรียนรู และวทิ ยากร)

การวัดและการประเมนิ ผล
จากรายงานขอมลู แหลงเรยี นรแู ละภาพถาย

สรปุ แนวคิดทีไ่ ดจากกจิ กรรม
การหาความรจู ากแหลงเรยี นรทู ี่เปนประสบการณจรงิ จะชวยใหนักเรยี นไดความรูจากการไดเหน็

สัมผัส หรอื แมกระท่งั ลงมอื ทดลองทา และเกดิ ความภาคภมู ใิ จในภมู ปิ ญญาไทยของทองถ่นิ ของตน
สือ่ /อุปกรณ์

- วทิ ยากรทองถิ่น

109

กจิ กรรม 87. กจิ กรรมวาจาดมี ีคุณจริง
....................................................................
วาจาดมี คี ุณจรงิ

จุดประสงค์การเรยี นรู
เพอ่ื ใหนกั เรียนมีทักษะการสอ่ื สารไดอยางเหมาะสมกบั กาลเทศะ

กจิ กรรมการเรยี นรู
1.ครูบรรยายวธิ ีการส่อื สารสรางสมั พนั ธ
2. นกั เรยี นอาสาสมัคร 8 คู แสดงบทบาทสมมติตามสถานการณท่กี าหนดใหในลักษณะท่สี ราง

ความสมั พนั ธที่ดี 1 คู และไมดี 1 คู
3. นักเรียนท่ีเหลือเปนผูสังเกตการณ บนั ทกึ ความคิดเห็นเก่ียวกบั ทาที การใชคาพดู ของผแู สดง วา

เหมาะสมกบั การสรางความสัมพันธกบั ผูอืน่ ในแตละสถานการณหรือไม เพราะเหตุใด
4. สุมนกั เรยี นรายงานความคดิ เหน็ ของตนเองหนาชั้นเรยี น
5. นักเรยี นและครรู วมกนั อภิปรายสรปุ ขอคดิ ทีไ่ ดจากการเขารวมกจิ กรรม

การวดั และการประเมินผล
1. สังเกตจากการแสดงบทบาทสมมติของนักเรียน
2. สังเกตจากคาตอบของผูสงั เกตการณเกย่ี วกับความเหมาะสมของทาที และการใชคาพูด แสดง

บทบาทสมมติในแตละสถานการณ
3. สังเกตจากการสรุปขอคิดทไ่ี ดจากการเขารวมกจิ กรรมของนกั เรยี น

สรุปแนวคิดทไ่ี ดจากกิจกรรม
นักเรียนทร่ี ูจักใชวธิ ีการสือ่ สารสรางสมั พันธท้ังทาทางและคาพดู ไดเหมาะสมกับกาลเทศะ จะไดรบั

ความชวยเหลือในสิง่ ท่ีตองการมากกวาการใชทกั ษะการสื่อสารที่ไมเหมาะสม
ส่ือ/อุปกรณ์

1. ใบความรู “วิธีการสอ่ื สารสรางสัมพนั ธ”
2. ใบงาน “สถานการณตางๆ”
3. แบบบันทึกความคิดเหน็

110

ใบความรู
“วิธกี ารสอื่ สารสรางสัมพนั ธ์”

การส่ือสาร มี 2 ประเภท คือ ส่อื ทาทางและภาษา
การส่อื ทาทาง ท่ีชวยสรางสัมพนั ธทีด่ ี ไดแก

 ยิ้มแยม แจมใส
 ออนนอม ถอมตน
 สบตากับผูทเ่ี ราคยุ ดวย
 การแสดงความกระตอื รือรน สนใจในส่ิงทก่ี าลังสนทนา

111

ใบงาน
“สถานการณต์ างๆ”
ครูใหนักเรียนจับฉลากสถานการณส์ มมติตอไปน้ี 2 คู ตอ 1 สถานการณ์ และ
ให 1 คู แสดงบทบาทสมมตทิ ่สี รางความสมั พนั ธท์ ดี่ ี
อกี 1 คู แสดงบทบาทสมมตทิ ่ีไมดี ซงึ่ ทาใหไมไดรบั ความรวมมอื ในส่ิงทต่ี องการ
สถานการณ์ 1. การตดิ ตอกบั เจาหนาทเ่ี พือ่ ทาบตั รประชาชน ในขณะท่เี จาหนาท่แี สดงสหี นา
เครงเครยี ด
สถานการณ์ 2. จะขอยมื หนังสือจากหองสมดุ แตลืมเอาบตั รมา ตองพยายามสรางความสมั พนั ธกบั
บคุ คลอืน่ ซ่งึ ไมเคยรจู ักกันมากอน เพ่อื ใหเขายืมหนงั สอื ให
สถานการณ์ 3. ตองการแลกบัตรชมภาพยนตรใหมที ่นี ง่ั ตดิ กัน 3 ท่ี จากคนที่ไมเคยรจู กั กนั มากอน
สถานการณ์ 4. ตองการทาความรูจกั และสอบถามความรูเพิม่ เตมิ เปนการสวนตวั จากวทิ ยากรหลงั
การบรรยายพิเศษ

****************************************

112

แบบบนั ทกึ ความคิดเห็น

ทาทแี ละการใชคาพดู ของผแู สดง มีความเหมาะสมกบั การสรางความสมั พันธกบั ผอู นื่ หรือไม
เพราะเหตุใด
สถานการณ 1. ทาบตั รประชาชน สถานการณ 2. ขอยมื หนังสอื ในหองสมดุ
เหมาะสม ไมเหมาะสม เหมาะสม ไมเหมาะสม
ทาทาง ทาทาง ทาทาง ทาทาง

คาพดู คาพูด คาพดู คาพูด

สถานการณ 3. แลกบตั รชมภาพยนตร สถานการณ 4. สอบถามวทิ ยากร
เหมาะสม ไมเหมาะสม เหมาะสม ไมเหมาะสม
ทาทาง ทาทาง ทาทาง ทาทาง

คาพูด คาพดู คาพดู คาพูด


Click to View FlipBook Version