The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การสอบสวนอุบัติการณ์ฆ่าตัวตายและพยายามฆ่าตัวตายแนวใหม่ (Suicide and suicide attempt incident investigation, new approach)
By Thoranin Kongsuk, MD., M.sc., M.Econ.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by saviotar saviotar, 2024-03-18 00:13:04

การสอบสวนอุบัติการณ์ฆ่าตัวตายและพยายามฆ่าตัวตายแนวใหม่ (Suicide and suicide attempt incident investigation, new approach)

การสอบสวนอุบัติการณ์ฆ่าตัวตายและพยายามฆ่าตัวตายแนวใหม่ (Suicide and suicide attempt incident investigation, new approach)
By Thoranin Kongsuk, MD., M.sc., M.Econ.

Keywords: Suicide,Suicide attempt,Investigation

ISBN (e-Book): 978-616-8340-09-7


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. การสอบสวนอุบัติการณ์ฆ่าตัวตายและพยายามฆ่าตัวตายแนวใหม่ (Suicide and suicide attempt incident investigation, new approach) By Thoranin Kongsuk, MD., M.sc., M.Econ. ผู้แต่ง: ธรณินทร์ กองสุข / Thoranin Kongsuk จัดท ำโดย: โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์ กรมสุขภำพจิต กระทรวงสำธำรณสุข http://www.krph.go.th; http://suicide.dmh.go.th/ ข้อมูลทางบรรณานุกรมหอสมุดแห่งชาติ ธรณินทร์ กองสุข กำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำยแนวใหม่ = Suicide and suicide attempt incident investigation, new approach. --ขอนแก่น: โรงพยำบำลจิตเวชขอนแก่นรำชนครินทร์ กรมสุขภำพจิต กระทรวงสำธำรณสุข, 2567. 80 หน้ำ. 1. กำรฆ่ำตัวตำย 2. กำรฆ่ำตัวตำย-- สังคมวิทยำ. I. ชื่อเรื่อง. ISBN (e-Book): 978-616-8340-09-7


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 7 ค าน า หนังสือเล่มนี้มีวัตถุประสงค์แรกเริ่มว่ำจะจัดท ำเป็นคู่มือส ำหรับบุคลำกร สำธำรณสุขที่เป็นทีมสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำยถือ ติดตัวไปใช้ขณะปฏิบัติงำน แต่ในระหว่ำงเขียนแต่ละบทก็ได้เพิ่มเนื้อหำเชิง วิชำกำรที่คิดว่ำ จ ำเป็นเพื่อให้สำมำรถน ำไปอ้ำงอิงได้ด้วย จึงมีลักษณะเป็น คู่มือกึ่งต ำรำ สืบเนื่องจำกกำรสอบสวนเพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ อุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยหรือพยำยำมฆ่ำตัวตำยนั้น ไม่เหมือนกับกำรสอบสวน โรคติดเชื้อหรือโรคอื่นๆ ในทำงระบำดวิทยำ ที่ทีมสอบสวนโรคสำมำรถใช้ แบบสอบถำมไปเก็บข้อมูลจำกผู้ป่ วยหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องได้โดยตรง แต่กำร รวบรวมข้อมูลส ำคัญที่เกี่ยวข้องกับอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัว ตำย มักจะมีประเด็นที่เป็นเรื่องควำมลับที่เป็นเรื่องสะเทือนใจ กำรได้มำซึ่ง ข้อมูลเหล่ำนี้ผู้สอบสวนจะต้องใส่ใจเรื่องอำรมณ์และควำมรู้สึกของบุคคลที่ไป สอบถำมหรือสัมภำษณ์ ซึ่งพบว่ำ มีหลำยครั้งที่ทีมสอบสวนอำจต้องหยุดกำร สัมภำษณ์แล้วเปลี่ยนมำช่วยเหลือประคับประคองจิตใจผู้ถูกสัมภำษณ์ที่อำจ เป็นคนใกล้ชิดกับผู้ที่เสียชีวิตจำกกำรฆ่ำตัวตำยที่รู้สึกสะเทือนใจ ร้องไห้เมื่อมี ค ำถำมที่ท ำให้ระลึกถึงเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้น รวมทั้งทีมสอบสวนจะต้องมีควำมรู้ พื้นฐำนเกี่ยวกับพฤติกรรมฆ่ำตัวตำย และต้องทรำบเกณฑ์บ่งชี้เพื่อยืนยันว่ำ เหตุกำรณ์ดังกล่ำวเป็นกำรฆ่ำตัวตำยหรือพยำยำมฆ่ำตัวตำยหรือไม่? จึง จ ำเป็นต้องมีหนังสือคู่มือที่มีรำยละเอียดในเรื่องดังกล่ำว หนังสือเล่มนี้แบ่งเป็น 9 บท โดยบทที่ 1 กล่ำวถึงควำมส ำคัญและปัญหำ ของกำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำยทั้งในประเทศ และต่ำงประเทศ รวมทั้งปัญหำของข้อมูลสำรสนเทศฆ่ำตัวตำยของประเทศ


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. ไทย บทที่ 2 อธิบำยถึงแนวคิดกำรพัฒนำแนวทำงกำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำ ตัวตำยแนวใหม่ที่เป็นกำรบูรณำกำรกำรให้กำรปรึกษำ (Counseling) กับกำร สอบสวนทำงระบำดวิทยำภำคสนำม (Field epidemiological investigation) บทที่ 3 ได้แสดงนิยำมที่ชัดเจนของกำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและ พยำยำมฆ่ำตัวตำยแนวใหม่ รวมทั้งวัตถุประสงค์ของกำรสอบสวน บทที่ 4 แสดงให้เห็นถึงปัญหำกำรนิยำมศัพท์ของพฤติกรรมฆ่ำตัวตำยที่มีควำม หลำกหลำย ซึ่งก่อให้เกิดควำมสับสนส่งผลด้ำนลบ ทั้งในด้ำนป้องกันแก้ไขกำร ฆ่ำตัวตำยและกำรพัฒนำวิชำกำร และสรุปนิยำมของฆ่ำตัวตำยและพยำยำม ฆ่ำตัวตำยที่ใช้ในกำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ในประเทศไทย รวมถึงกำรจ ำแนก พฤติกรรมฆ่ำตัวตำยที่มีควำมชัดเจนยิ่งขึ้น จำกนั้นในบทที่5 กล่ำวถึงธรรมชำติ ของกำรฆ่ำตัวตำยที่เริ่มจำกกำรสัมผัสปัจจัยเสี่ยงจนถึงกระท ำฆ่ำตัวตำยจน เสียชีวิตหรือบำดเจ็บ บทที่ 6 น ำเสนอสมมติฐำนกำรฆ่ำตัวตำยในคนไทย ซึ่ง เป็นบทที่ส ำคัญมีเนื้อหำเชิงวิชำกำรแสดงข้อมูลและหลักฐำนสนับสนุนแนวคิด อย่ำงครอบคลุม บทที่ 7 แสดงรำยละเอียดขั้นตอนกำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำ ตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำย บทที่ 8 อธิบำยกระบวนกำรและวิธีกำร สัมภำษณ์เพื่อสอบสวนรวบรวมข้อมูลกำรฆ่ำตัวตำยที่เน้นกำรประยุกต์ใช้ เทคนิคกำรให้กำรปรึกษำมำช่วยในกำรรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเหตุกำรณ์ ที่เกิดขึ้น และบทที่9 กล่ำวถึงกำรบริหำรจัดกำรทีมสอบสวนและควำมเชื่อมโยง กับระบบที่เกี่ยวข้อง ด้วยจุดมุ่งหมำยที่ส ำคัญ นั่นคือ ประเทศไทยมีข้อมูลกำรฆ่ำตัวตำยและ พยำยำมฆ่ำตัวตำยที่ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ สำมำรถน ำไปวิเครำะห์ให้เห็น เหตุปัจจัยในระดับบุคคล ระดับจังหวัดและระดับประเทศ น ำไปสู่กำรก ำหนด


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 9 มำตรกำรป้องกันแก้ไขปัญหำอย่ำงได้ผลมุ่งตรงต่อเหตุปัจจัยที่เกิดขึ้นจริง กำร สอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำยแนวใหม่ จะเป็นค ำตอบ ของกำรรวบ รวมข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน และสมบูรณ์ หนังสือเล่มนี้จึงมี ควำมส ำคัญต่อทีมสอบสวนที่กระจำยประจ ำอยู่ทุกจังหวัด ใช้ส ำหรับทบทวน ให้เกิดควำมมั่นใจในกำรปฏิบัติงำนสอบสวนอุบัติกำรฆ่ำตัวตำยและพยำยำม ฆ่ำตัวตำยที่เกิดขึ้นในพื้นที่ของตน ขอขอบคุณบุคลำกรสำธำรณสุขที่เป็นทีมสอบสวนทุกท่ำน ที่จะท ำให้ กระดุมเม็ดแรกของกำรแก้ไขปัญหำฆ่ำตัวตำยถูกต้องสมบูรณ์ นั่นคือกำรรวบ รวมข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วนจำกทุกอุบัติกำรณ์ ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัว ตำยในประเทศไทย นำยแพทย์ธรณินทร์ กองสุข 17 มีนำคม 2567


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. สารบัญ 1. ควำมส ำคัญและปัญหำของกำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำย และพยำยำมฆ่ำตัวตำย 1 2. แนวคิดกำรพัฒนำแนวทำงกำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยแนวใหม่ 10 3. นิยำมและวัตถุประสงค์กำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำย และพยำยำมฆ่ำตัวตำย 14 4. นิยำมกำรฆ่ำตัวตำยและกำรจ ำแนกพฤติกรรมกำรฆ่ำตัวตำย 18 5. ธรรมชำติของกำรฆ่ำตัวตำย 29 6. สมมติฐำนกำรฆ่ำตัวตำยในคนไทย 35 7. ขั้นตอนกำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำย 54 8. กระบวนกำรและวิธีกำรสัมภำษณ์เพื่อสอบสวนรวบรวมข้อมูล กำรฆ่ำตัวตำย 78 9. กำรบริหำรจัดกำรทีมสอบสวนและควำมเชื่อมโยงกับระบบที่เกี่ยวข้อง 88 ภาคผนวก 1. QR code link สไลด์ เอกสำรประกอบและคลิปวิดีโอบรรยำย กำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำย 2. แบบฝึกหัดส ำหรับยืนยันกำรฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำย 3. แบบรำยงำนกำรสอบสวนกรณีฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำย 4. แบบคัดกรองโรคซึมเศร้ำและฆ่ำตัวตำย 2Q plus 5. แบบประเมินฆ่ำตัวตำย 8Q 6. แบบประเมินโรคซึมเศร้ำ 9Q ฉบับปรับปรุง


บทที่1 ความส าคัญและปัญหาของการสอบสวนการฆ่าตัวตาย และพยายามฆ่าตัวตาย 1.1 ความส าคัญของการสอบสวนการฆ่าตัวตายและพยายามฆ่าตัวตาย กำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำยเป็นวิธีหนึ่งในกำร รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกำรฆ่ำตัวตำย ข้อมูลและสำรสนเทศเป็นปัจจัย ส ำคัญในแก้ไขปัญหำฆ่ำตัวตำย โดยข้อมูลที่ครบถ้วนสมบูรณ์จะสำมำรถ… 1.อธิบำยรูปแบบ (pattern): อัตรำกำรฆ่ำตัวตำยจะแตกต่ำงกันไปในแต่ละ ห้วงเวลำ กลุ่มอำยุ พื้นที่ทำงภูมิศำสตร์ ฯลฯ ซึ่งรูปแบบที่เปลี่ยนไปเหล่ำนี้อำจ ช่วยในกำรพิจำรณำว่ำ ควรจัดสรรทรัพยำกรให้เหมำะสมอย่ำงไร? ในกำร จัดกำรแก้ไขปัญหำฆ่ำตัวตำย 2. ระบุปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยป้องกัน: เป็นปัจจัยที่สัมพันธ์กับกำรเพิ่มโอกำส หรืออัตรำกำรฆ่ำตัวตำยถือว่ำเป็นปัจจัยเสี่ยง ส่วนปัจจัยที่สัมพันธ์กับกำรลด ของโอกำสหรืออัตรำกำรฆ่ำตัวตำยถือว่ำ เป็นปัจจัยป้องกัน เช่น กำรป่ วยเป็น โรคซึมเศร้ำเป็นปัจจัยเสี่ยงในกำรฆ่ำตัวตำย กำรมีทักษะแก้ไขปัญหำและกำร เผชิญปัญหำที่ดีเป็นปัจจัยป้องกันกำรฆ่ำตัวตำย 3. ก ำหนดมำตรกำรและวำงแผนทรัพยำกรในอนำคต: หำกเรำรู้ว่ำกลุ่มอำยุ และจัดสรรทรัพยำกรไปยังโปรแกรมกำรป้องกันส ำหรับกลุ่มนั้นได้ 4. เสนอแนะสมมติฐำน: กำรระบุควำมแตกต่ำงของอัตรำกำรฆ่ำตัวตำยใน กลุ่มต่ำงๆ มักจะตำมด้วยกำรเสนอแนะสมมติฐำนว่ำเหตุใดควำมแตกต่ำง เหล่ำนั้นจึงเกิดขึ้น ตัวอย่ำงเช่น จังหวัดทำงภำคเหนือมีอัตรำกำรฆ่ำตัวตำยโดย เฉลี่ยสูงกว่ำจังหวัดในภำคอื่นๆ จำกนั้นจึงเสนอเหตุผลหรือสมมติฐำน (เช่น


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. ควำมแตกต่ำงในจ ำนวนกลุ่มชำติพันธุ์ชนเผ่ำ อัตรำของผู้ติดสุรำ อัตรำกำรป่ วย โรคซึมเศร้ำ) อธิบำยควำมแตกต่ำงดังกล่ำว 5. ติดตำมแนวโน้ม: เช่น เจ้ำหน้ำที่สำธำรณสุขอำจรวบรวมข้อมูลจำกระบบ คัดกรองเฝ้ำระวังกำรฆ่ำตัวตำยของนักเรียนเพื่อติดตำมกำรเปลี่ยนแปลงของ จ ำนวนนักเรียนมัธยมปลำยที่คัดกรองประเมินแล้วมีควำมเสี่ยงหรือมีแนวโน้ม ฆ่ำตัวตำยเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่ำนมำข้อมูลดังกล่ำวอำจกระตุ้นให้ผู้บริหำร โรงเรียนด ำเนินโครงกำรป้องกัน 6. ตรวจหำกำรระบำด: ตัวอย่ำงเช่น ข้อมูลจ ำนวนกำรเสียชีวิตจำกกำรฆ่ำตัว ตำย อำจแสดงให้เห็นว่ำกำรฆ่ำตัวตำยในวัยรุ่นเพิ่มขึ้นมำกกว่ำที่คำดไว้ในช่วง เดือนที่ผ่ำนมำ ซึ่งบ่งชี้ว่ำมี suicide cluster (กลุ่มกำรฆ่ำตัวตำยที่เกิดขึ้นอย่ำง ใกล้เคียงกันทั้งในเวลำและสถำนที่) เกิดขึ้น 7. ประเมินโปรแกรมและนโยบำยกำรป้องกัน: หำกหลังจำกจังหวัดพิจำรณำ แนวโน้มหรือรูปแบบกำรฆ่ำตัวตำยแล้ว ผู้บริหำรของจังหวัดอำจตัดสินใจใช้ โปรแกรมกำรอบรมญำติและคนใกล้ชิดของผู้ที่เคยพยำยำมฆ่ำตัวตำยให้เฝ้ำระวัง สัญญำณเตือนและมีทักษะกำรช่วยเหลือเบื้องต้น จำกนั้นจังหวัดควรติดตำม จ ำนวนผู้เคยพยำยำมฆ่ำตัวตำยแล้วกลับมำกระท ำซ ้ำ เพื่อประเมินว่ำโปรแกรม ดังกล่ำวได้ผลในกำรป้องกันตำมที่ต้องกำรหรือไม่ จำกกำรวิเครำะห์ระบบข้อมูลสำรสนเทศกำรฆ่ำตัวตำยของประเทศไทย โดยศูนย์เฝ้ำระวังกำรฆ่ำตัวตำยของโรงพยำบำลจิตเวชขอนแก่นรำชนครินทร์ พบว่ำข้อมูลกำรฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำยของประเทศไทยมีปัญหำไม่ ครบถ้วนไม่สมบูรณ์และไม่ทันเวลำมำโดยตลอด(ศูนย์ป้องกันกำรฆ่ำตัวตำย ระดับชำติ, 2565) ดังแสดงในตำรำงที่ 1 ซึ่งกำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำย


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 3 และพยำยำมฆ่ำตัวตำยแนวใหม่ที่ด ำเนินกำร โดยทีมสอบสวนที่ผ่ำนกำร ฝึกอบรมมำดีแล้ว เมื่อร่วมกับกำรพัฒนำระบบแจ้งเตือนและเฝ้ำระวังฆ่ำตัว ตำยในจังหวัดจะท ำให้ได้ข้อมูลกำรฆ่ำตัวตำยที่ครบถ้วนสมบูรณ์ภำยในเวลำ ไม่นำนจนเกินไป ตารางที่1 กำรวิเครำะห์ข้อมูลสำรสนเทศของประเทศไทย 1.2 ปัญหาของการสอบสวนการฆ่าตัวตายและพยายามฆ่าตัวตาย พฤติกรรมกำรฆ่ำตัวตำยมีควำมหลำกหลำยและซับซ้อน และได้รับอิทธิพล จำกปัจจัยทำงชีวภำพ จิตวิทยำ และสังคมที่มีปฏิสัมพันธ์กันในช่วงเวลำหนึ่ง (Hawton & Van Heeringen, 2009; Mann & Currier, 2010; Nock et al., 2008; van Heeringen, 2014; Turecki et al., 2019) ดังนั้นจึงจ ำเป็ นต้องมี มำตรกำรต่ำงๆ เพื่อลดพฤติกรรมฆ่ำตัวตำยและช่วยชีวิต (Hawton & Pirkis,


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 2017; Hofstra et al., 2020; Ishimo et al., 2021) ข้อมูลและสิ่งที่ได้จำกกำร สอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยจะน ำไปสู่กำรพัฒนำมำตรกำรดังกล่ำว แม้จะมีกำรพัฒนำวิธีกำรต่ำงๆ ในกำรสอบสวน (Investigation) อุบัติกำรณ์ ฆ่ำตัวตำยที่เกิดขึ้นในกำรดูแลสุขภำพ (Hagley et al., 2019) กำรวิเครำะห์ สำเหตุที่แท้จริง (Root cause analysis, RCA) ยังคงเป็นแนวทำงหลักที่น ำ มำ ใช้ในกำรสอบสวนกำรฆ่ำตัวตำย (Gillies et al., 2015) วิธีกำรนี้ถูกวิพำกษ์ วิจำรณ์ว่ำ ไม่ได้พิจำรณำประเด็นส ำคัญของปรำกฏกำรณ์อย่ำงเพียงพอ เช่น ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ป่ วย เนื่องจำก RCA มุ่งเน้นหำจุดบกพร่องเชิงระบบ (Vrklevski et al., 2018) ควำมคำดหวังในกำร RCA เพื่อค้นหำให้ได้ “สำเหตุที่ แท้จริง หรือ root cause ” เพียงหนึ่งเดียว เป็นควำมเข้ำใจที่สรุปง่ำยเกินไป ส ำหรับเหตุปัจจัยที่ซับซ้อนจนน ำไปสู่กำรฆ่ำตัวตำย (Neal et al., 2004; Vincent, 2003) กำรชันสูตรทำงจิตวิทยำ (Psychological autopsy) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ถูก น ำมำใช้ในกำรตรวจสอบด้ำนจิตวิทยำและบริบทสถำนกำรณ์แวดล้อมก่อน เหตุกำรณ์ฆ่ำตัวตำย เป็นวิธีกำรที่ใช้สอบสวนกำรเสียชีวิตของบุคคลโดยสร้ำง สภำพจิตใจและสถำนกำรณ์ในชีวิตที่น ำไปสู่ควำมตำยขึ้นใหม่ กระบวนกำรนี้ เกี่ยวข้องกับกำรรวบรวมข้อมูลจำกแหล่งต่ำงๆ เช่น เวชระเบียน กำรสัมภำษณ์ ครอบครัวและเพื่อนฝูง และเอกสำรหรือบันทึกใดๆ ที่ผู้เสียชีวิตทิ้งไว้ เป้ำหมำย คือกำรท ำควำมเข้ำใจสภำพจิตใจ พฤติกรรม และแรงจูงใจที่เป็นไปได้ส ำหรับ ก ำ ร เ สี ย ชี วิ ต ข อ ง บุ ค ค ล นั้ น โ ด ย เ ฉ พ ำ ะ อ ย่ำ ง ยิ่ง ใ น ก ร ณี ข อ ง กำรฆ่ำตัวตำยหรือกำรเสียชีวิตอย่ำงน่ำสงสัย ซึ่งสภำพจิตใจของบุคคลนั้นเป็น สิ่งส ำคัญในกำรท ำควำมเข้ำใจสถำนกำรณ์ (Hawton et al.,1998; Isometsea,


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 5 2001) แต่ psychological autopsy ขำดมิติเชิงระบบ โดยเฉพำะควำมบกพร่อง ของระบบบริกำรสุขภำพที่อำจเป็นเหตุปัจจัยหนึ่งของกำรเกิดอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัว ตำย อย่ำงไรก็ตำมงำนวิจัยเกี่ยวกับวิธีกำรอื่นๆ ในกำรสอบสวนกำรฆ่ำตัวตำย ยังมีไม่มำกนัก จำกกำรศึกษำของ E. Froding และคณะ เมื่อปีค.ศ. 2022 (Froding et al., 2022) ด้วยวิธีวิจัยแบบ Narrative literature review ได้ทบทวนแนวทำงกำร สอบสวนกำรฆ่ำตัวตำยที่ด ำเนินกำรและมีกำรตีพิมพ์ในวำรสำรวิชำกำรต่ำงๆ โดยมีวัตถุประสงค์ในกำรศึกษำเพื่ออธิบำยปัญหำของแนวทำงกำรสอบสวน กำรฆ่ำตัวในปัจจุบันว่ำเป็นอย่ำงไร และเสนอแนวทำงในกำรปรับปรุง ผลกำร ศึกษำวิจัยฉบับนี้เผยให้เห็นจุดอ่อนหลำยประกำรในแนวทำงกำรสอบสวน ปัจจุบัน สิ่งเหล่ำนี้ท ำให้เกิดข้อสงสัยต่อผลกำรสอบสวน และส่งผลต่อกำร ด ำเนินกำรเพื่อลดกำรฆ่ำตัวตำย สรุปปัญหำได้ดังนี้ 1. วิธีกำรสอบสวนกำรฆ่ำตัวตำยที่มีอยู่ปัจจุบันไม่ได้ให้ควำมส ำคัญกับ ควำมรู้สึก มุมมอง หรือประสบกำรณ์ผู้ป่ วยและครอบครัวต่ออุบัติกำรณ์ 2. ไม่ได้พิจำรณำปัจจัยที่เกี่ยวข้องทั้งหมด (กำรสอบสวนปรับเปลี่ยนเพื่อ ตอบสนองหน่วยงำนก ำกับดูแลมำกกว่ำกำรท ำควำมเข้ำใจสำเหตุโยงใยที่ ซับซ้อนและเงื่อนไขที่น ำไปสู่กำรฆ่ำตัวตำยอย่ำงแท้จริง) 3. กำรสอบสวนมักเน้นรวบรวมข้อมูลเพื่อวิเครำะห์ในช่วงเวลำสั้นๆ ก่อน กำรฆ่ำตัวตำย 4. กำรสอบสวนมุ่งเน้นไปที่กำรให้บริกำรของผู้ให้บริกำรหรือสถำนบริกำร สุขภำพ (เพื่อหำ gap หรือจุดบกพร่องของระบบบริกำร) เพียงรำยเดียวก่อน เกิดเหตุกำรณ์


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 5. ปัญหำขำดควำมเชี่ยวชำญและประสบกำรณ์ของทีมสอบสวน จึงมีข้อเสนอแนะว่ำ กำรสอบสวนกำรฆ่ำตัวตำยแนวใหม่ควร... 1. ให้ผู้ป่ วยและญำติเข้ำมำมีส่วนร่วม ให้ข้อมูล แลกเปลี่ยนประสบกำรณ์ และวิเครำะห์ให้เห็นเหตุปัจจัยเพื่อน ำไปสู่กำรเฝ้ำระวังป้องกันในอนำคต 2. สอบสวนให้ได้ข้อมูลเพื่อวิเครำะห์ทั้งเชิงลึกในเหตุปัจจัย และ Timeframe ที่ยำวพอครอบคลุมกำรบริกำรจำกหลำยแหล่งที่เกี่ยวข้องให้เห็นควำมเชื่อมโยง ของเหตุปัจจัยอย่ำงเหมำะสม 3. ฝึกอบรมและพัฒนำให้เกิดควำมช ำนำญของทีมสอบสวน โดยเฉพำะ หัวหน้ำผู้น ำทีมสอบสวนควรมีควำมเชี่ยวชำญพอสมควร 4. ทีมสอบสวนควรประกอบด้วยสหสำขำวิชำชีพที่มีควำมสำมำรถและ ได้รับกำรสนับสนุน มีกำรแบ่งปันข้อมูล กำรวิเครำะห์ข้อมูล กำรท ำงำนร่วมกัน และกำรประสำนงำนข้ำมองค์กรเป็นสิ่งจ ำเป็นพร้อมด้วยกรอบกฎหมำยที่ เหมำะสม 5. กำรรวบรวมสั่งสมข้อมูล: กำรรวบรวมข้อมูล กำรสร้ำงกำรเรียนรู้จำกกำร รวมผลลัพธ์ของกำรวิเครำะห์กำรฆ่ำตัวตำยหลำยๆ รำย ร่วมกับข้อมูลคุณภำพ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องจะช่วยให้สำมำรถวิเครำะห์ปัญหำของระบบบริกำรสุขภำพที่ เกี่ยวข้องและปรับปรุงแผนปฏิบัติกำรป้องกันแก้ไขปัญหำฆ่ำตัวตำยให้มี ประสิทธิภำพมำกขึ้น ฐำนข้อมูลระดับภูมิภำคหรือระดับประเทศจึงมี ควำมส ำคัญ ผลกำรศึกษำทบทวนกำรสอบสวนเกี่ยวกับกำรฆ่ำตัวตำยในสวีเดนดังที่ได้ กล่ำวไปข้ำงต้น แสดงให้เห็นว่ำ กำรสอบสวนมีกรอบเพื่อตอบสนองต่อแม่แบบ ของหน่วยงำนก ำกับดูแลมำกกว่ำกำรวิเครำะห์ควำมซับซ้อนของกำรฆ่ำตัวตำย


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 7 และควำมปลอดภัย (Froding et al., 2024) นอกจำกนี้ ยังมีกำรระบุข้อบกพร่อง และควำมล้มเหลวที่เกิดขึ้นในกำรสอบสวนกรณีฆ่ำตัวตำยตลอดหลำยปีที่ผ่ำน มำ ซึ่งชี้ให้เห็นว่ำ แนวทำงและวิธีกำรสอบสวนในปัจจุบันไม่ส่งผลเพียงพอที่จะ ลดระดับกำรฆ่ำตัวตำย หำกจะท ำให้กำรสอบสวนกำรฆ่ำตัวตำยเป็นเครื่องมือ ที่มีประสิทธิภำพส ำหรับรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและ ช่วยพัฒนำกำรเรียนรู้เพื่อป้องกันกำรฆ่ำตัวตำย จ ำเป็นต้องมีกำรปรับวิธีกำร สอบสวน แนวทำงและกำรปฏิบัติงำนให้เข้ำกับควำมรู้ที่เพิ่มมำกขึ้นและบริบท ที่เปลี่ยนไปของระบบสำธำรณสุขในปัจจุบัน รวมทั้งควำมรู้ควำมเข้ำใจ พฤติกรรมกำรฆ่ำตัวตำยที่เพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. เอกสารอ้างอิง ศูนย์ป้องกันกำรฆ่ำตัวตำยระดับชำติ โรงพยำบำลจิตเวชขอนแก่นรำชนครินทร์. (2565). รายงานสถานการณ์การฆ่าตัวตายในประเทศไทย ปี 2565. https://suicide.dmh.go.th/news/view.asp?id=91 Froding, E., Vincent, C., Andersson-Gare, B., Westrin, Å., & Ros, A. (2024). Six major steps to make investigations of suicide valuable for learning and prevention. Archives of suicide research, 28(1), 1-19. Gillies, D., Chicop, D., & O’Halloran, P. (2015). Root cause analyses of suicides of mental health clients. Crisis, 36(5), 316-324. doi:10.1027/0227-5910/ a000328 Hagley, G., Mills, P. D., Watts, B. V., & Wu, A. W. (2019). Review of alternatives to root cause analysis: Developing a robust system for incident report analysis. BMJ Open Quality, 8(3), e000646. Hawton, K., Appleby, L., Platt, S., Foster, T., Cooper, J., Malmberg, A., & Simkin, S. (1998). The psychological autopsy approach to studying suicide: A review of methodological issues. Journal of Affective Disorders, 50(2–3), 269-276. Hawton, K., & Pirkis, J. (2017). Suicide is a complex problem that requires a range of prevention initiatives and methods of evaluation. The British Journal of Psychiatry, 210(6), 381-383. Hawton, K., & van Heeringen, K. (2009). Suicide. The Lancet, 373(9672), 1372- 1381. doi:10.1016/ S0140-6736(09)60372-X Hofstra, E., Van Nieuwenhuizen, C., Bakker, M., Ozgul, D., Elfeddali, I., de Jong, S. J., & van der Feltz-Cornelis, C. M. (2020). Effectiveness of suicide prevention interventions: a systematic review and meta-analysis. General hospital psychiatry, 63,127-140.


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 9 Ishimo, M.-C., Sampasa-Kanyinga, H., Olibris, B., Chawla, M., Berfeld, N., Prince, S. A.,Lang, J. J. (2021). Universal interventions for suicide prevention in high-income Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD) member countries: A systematic review. Injury Prevention, 27(2), 184–193. doi:10.1136/injuryprev-2020-043975 Isometsea, E. (2001). Psychological autopsy studies–a review. European Psychiatry, 16(7), 379–385. doi:10.1016/S0924-9338(01)00594-6 Mann, J. J., & Currier, D. M. (2010). Stress, genetics and epigenetic effects on the neurobiology of suicidal behavior and depression. European psychiatry, 25(5), 268-271. Neal, L. A., Watson, D., Hicks, T., Porter, M., & Hill, D. (2004). Root cause analysis applied to the investigation of serious untoward incidents in mental health services. Psychiatric Bulletin, 28(3), 75–77. doi:10.1192/pb.28.3.75 Nock, M. K., Borges, G., Bromet, E. J., Cha, C. B., Kessler, R. C., & Lee, S. (2008). Suicide and suicidal behavior. Epidemiologic Reviews, 30(1),133-154. Turecki, G., Brent, D. A., Gunnell, D., O’Connor, R. C., Oquendo, M. A., Pirkis, J., & Stanley, B. H. (2019). Suicide and suicide risk. Nature Reviews Disease Primers, 5(1), 1-22. doi:10.1038/ s41572-019-0121-0 van Heeringen, K., & Mann, J. J. (2014). The neurobiology of suicide. The Lancet. Psychiatry, 1(1), 63–72. doi:10.1016/S2215-0366(14)70220-2 Vrklevski, L. P., McKechnie, L., & O'Connor, N. (2018). The causes of their death appear (unto our shame perpetual): why root cause analysis is not the best model for error investigation in mental health services. Journal of patient safety, 14(1), 41-48. Vincent, C. (2003). Understanding and responding to adverse events. The New England Journal of Medicine, 348(11), 1051–1056. 10.1056/NEJMhpr02076


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 10 บทที่2 แนวคิดพัฒนาการสอบสวนอุบัติการณ์ฆ่าตัวตายและ พยายามฆ่าตัวตายแนวใหม่ กำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำยแนวใหม่เป็น กำรบูรณำกำร กระบวนกำรและทักษะกำรให้กำรปรึกษำ (counseling) เข้ำไป ในแนวทำงวิธีกำรสอบสวนทำงระบำดวิทยำภำคสนำม (Epidemiological field investigation) ปัจจัยด้ำนสังคมจิตวิทยำที่เกี่ยวข้องกับควำมเสี่ยงในกำรฆ่ำตัวตำย แบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) บุคลิกภำพและควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคล 2) ปัจจัยด้ำนควำมรู้ควำมเข้ำใจ (cognitive factors) 3) ปัจจัยทำงสังคม 4) เหตุกำรณ์ในชีวิตด้ำนลบหรือเหตุวิกฤติในชีวิต (O’Connor, 2014) ส ำหรับเหตุกำรณ์ในชีวิตด้ำนลบนั้นจำกกำรศึกษำวิจัยที่ผ่ำนมำ (Dube, 2001; Bruffaerts, 2010) พบควำมสัมพันธ์เหตุกำรณ์ด้ำนลบในวัยเด็กกับกำร ฆ่ำตัวตำยได้แก่ กำรถูกล่วงละเมิดในวัยเด็กทั้งทำงเพศ ทำงร่ำงกำยและทำง อำรมณ์ ควำมรุนแรงในครอบครัว พ่อแม่หย่ำร้ำงหรือตำยจำก รวมถึง เหตุกำรณ์ด้ำนลบในวัยผู้ใหญ่ โดยเฉพำะกำรถูกล่วงละเมิดทำงเพศหรือ ร่ำงกำยจะเพิ่มควำมเสี่ยงสูงต่อกำรเกิดพฤติกรรมฆ่ำตัวตำยทั้งเป็นตัวกระตุ้น และปัจจัยเสี่ยง (Stein, 2010) ซึ่งปัจจัยดังกล่ำวนี้เป็นประเด็นที่มักจะถูก ปกปิด เจ้ำตัวไม่ต้องกำรเปิดเผยเพรำะรู้สึกว่ำเป็นเรื่องน่ำอับอำยและสะเทือน


ควำมรู้สึก หำกถูกสอบถำมหรือสัมภำษณ์โดยคนแปลกหน้ำที่ยังไม่ไว้วำงใจก็ มักจะไม่เปิดเผยหรือปฏิเสธว่ำไม่มี ไม่เคยเกิดขึ้น ดังนั้นกำรสอบสวนกรณีฆ่ำ ตัวตำยหรือพยำยำมฆ่ำตัวตำยที่ไปเก็บข้อมูลหรือรวบรวมข้อมูลตำมวิธีทั่วไป จึงมักจะไม่ได้ข้อมูลเชิงลึกที่ส ำคัญเหล่ำนี้ แต่หำกผู้สัมภำษณ์หรือผู้สอบสวน สัมภำษณ์โดยอำศัยเทคนิคและกระบวนกำรให้กำรปรึกษำสร้ำงสัมพันธภำพที่ ดีจนเกิดควำมไว้วำงใจก็มีโอกำสสูงที่แหล่งข้อมูลเช่น ญำติหรือคนใกล้ชิดของ ผู้ที่ฆ่ำตัวตำยจะเปิดเผยข้อมูลส ำคัญดังกล่ำว กระบวนกำรให้กำรปรึกษำ (Counseling) จะเน้นสร้ำงบรรยำกำศที่ผ่อน คลำย สนับสนุนให้ผู้คนได้พูดคุยเกี่ยวกับปัญหำของตนเองและเรื่องต่ำงๆอย่ำง รู้สึกปลอดภัยไม่ถูกต ำหนิ ไม่ถูกตัดสิน (Sutton, 2017) จึงเอื้ออ ำนวยต่อกำร รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกำรฆ่ำตัวตำยได้มำกกว่ำกำรสอบถำมหรือกำร สัมภำษณ์ทั่วไป กำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำย แนวใหม่จะใช้ทักษะค ำถำมปลำยเปิดให้แหล่งข้อมูลหรือผู้ถูกสัมภำษณ์ได้เล่ำ เรื่องโดยอิสระ และใช้ค ำถำมปลำยปิดเพียงเพื่อยืนยันบำงประเด็นเท่ำนั้น ใช้ ทักษะกำรทวนควำม(paraphrasing) ทักษะกำรแกะรอย (tracking) เพื่อค้นหำ ลงลึกในประเด็นที่ส ำคัญ และใช้ทักษะกำรสะท้อนควำมรู้สึก (emotional reflection) กรณีที่ผู้ถูกสัมภำษณ์แสดงอำรมณ์ควำมรู้สึกในระหว่ำงกำร สัมภำษณ์ รวมทั้งกำรฟังอย่ำงตั้งใจ (active listening) รับฟังเรื่องรำวโดยไม่ ตัดสินถูกผิดชั่วดีเหล่ำนี้เป็นทักษะพื้นฐำนของกำรให้กำรปรึกษำที่จะน ำมำใช้ ใน กระบวนกำรสอบสวนแต่ละครั้ง อุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำยส่วนใหญ่เกิดขึ้นนอกสถำน บริกำรสำธำรณสุข เช่น ที่บ้ำน หรือในชุมชน และมักจะเกิดจำกหลำยปัจจัย ทั้ง


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 12 ปัจจัยด้ำนบุคลิกภำพ ชีววิทยำ สังคมจิตวิทยำ เศรษฐกิจ กำรเมือง ระบบ สุขภำพและสิ่งแวดล้อม เชื่อมโยงกันมีปฏิกิริยำระหว่ำงกันอย่ำงซับซ้อน บำง ปัจจัยอำจเกิดขึ้นเป็นเวลำนำนบำงปัจจัยอำจเป็นตัวกระตุ้นที่เกิดก่อนหน้ำ เพียงไม่กี่วัน รวมทั้งอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยที่เกิดขึ้นก่อนหน้ำอำจเป็นตัวกระตุ้น ให้เกิดกำรฆ่ำตัวตำยในรำยถัดไปซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิดชื่นชมศรัทธำผู้ที่กระท ำฆ่ำตัว ตำยก่อนหน้ำ ด้วยลักษณะดังที่กล่ำวมำนี้กำรที่จะทรำบถึงเหตุปัจจัยที่น ำไปสู่ อุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยหรือพยำยำมฆ่ำตัวตำยจึงต้องท ำกำรรวบรวมข้อมูลจำก หลำยแหล่งในพื้นที่หรือในชุมชนทั้งจำกตัวบุคคลที่เกี่ยวข้องและเอกสำรต่ำงๆ กำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำยแนวใหม่ จึงได้ ประยุกต์หลักกำรสอบสวนทำงระบำดวิทยำ (Epidemiological investigation) โดยเฉพำะขั้นตอนกำรสอบสวนทำงระบำดวิทยำภำคสนำม (epidemiological field investigation) ซึ่งประกอบด้วย กำรเตรียมกำรลงท ำงำนในพื้นที่ กำร ยืนยันวินิจฉัย กำรบ่งชี้ผู้ป่ วย กำรรวบรวมข้อมูลตำม เวลำ สถำนที่ บุคคล กำร ตั้งสมมุติฐำนและกำรทดสอบ กำรเสนอแนะมำตรกำรเพื่อควบคุมป้องกัน กำร รำยงำนและกำรสื่อสำรเผยแพร่สิ่งที่ค้นพบ (Rasmussen, 2019) นอกจำกกำรน ำหลักกำรและเทคนิคกำรให้กำรปรึกษำ มำบูรณำกำรกับ กำรสอบสวนทำงระบำดวิทยำแล้ว ยังใช้ TK’s five factors model (ธรณินทร์ กองสุข, 2567) มำก ำหนดหมวดหมู่ของข้อมูลที่จ ำเป็นต้องค้นหำรวบรวม และ ใช้ The IMV model (O’Connor, 2018) เป็นแนวทำงท ำควำมเข้ำใจกำรเกิดขึ้น ของควำมคิดฆ่ำตัวตำย(suicide ideation)และกำรฆ่ำตัวตำยที่มีเหตุวิกฤติ ชีวิตเป็นตัวกระตุ้นรวมทั้งใช้เป็นแนวทำงในกำรตั้งสมมุติฐำนกำรเกิดอุบัติกำร ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำยแต่ละรำยด้วย


เอกสารอ้างอิง ธรณินทร์ กองสุข. (2567). โมเดล 5 ปัจจัยอธิบำยกำรเกิดอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและ พยำยำมฆ่ำตัวตำย. ศรีนครินทร์เวชสำร. (in press) Bruffaerts, R., Demyttenaere, K., Borges, G., Haro, J. M., Chiu, W. T., Hwang, I., & Nock, M. K. (2010). Childhood adversities as risk factors for onset and persistence of suicidal behaviour. The British journal of psychiatry, 197(1), 20-27. Dube, S. R., Anda, R. F., Felitti, V. J., Chapman, D. P., Williamson, D. F., & Giles, W. H. (2001). Childhood abuse, household dysfunction, and the risk of attempted suicide throughout the life span: findings from the Adverse Childhood Experiences Study. Jama, 286(24), 3089-3096. O'Connor, R. C., & Kirtley, O. J. (2018). The integrated motivational–volitional model of suicidal behaviour. Philosophical Transactions of the Royal Society B: Biological Sciences, 373(1754), 20170268. O'Connor, R. C., & Nock, M. K. (2014). The psychology of suicidal behaviour. The Lancet Psychiatry, 1(1), 73-85. Rasmussen, S. A., & Goodman, R. A. (Eds.). (2018). The CDC field epidemiology manual. Oxford University Press. Stein, D. J., Chiu, W. T., Hwang, I., Kessler, R. C., Sampson, N., Alonso, J., & Nock, M. K. (2010). Cross-national analysis of the associations between traumatic events and suicidal behavior: findings from the WHO World Mental Health Surveys. PloS one, 5(5), e10574. Sutton, J., & Stewart, W. (2017). Learning to counsel: How to develop the skills, insight and knowledge to counsel others. Robinson.


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 14 บทที่3 นิยามและวัตถุประสงค์ของการสอบสวนอุบัติการณ์ฆ่าตัวตาย และพยายามฆ่าตัวตาย เนื่องจำกกำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำย (suicide and suicide attempt incident investigation) ที่ได้พัฒนำขึ้นมำนี้ เป็นรูปแบบใหม่ที่ยังไม่เคยมีปรำกฏที่ใดมำก่อน ไม่ใช่ Psychological autopsy ห รื อroot cause analysis แ ต่ เ ป็ น ก ำ ร บู ร ณ ำ ก ำ ร ก ำ ร ใ ห้ก ำ ร ป รึก ษ ำ (counseling) กับกำรสอบสวนทำงระบำดวิทยำภำคสนำม (epidemiological field investigation) และกำรวิเครำะห์ต้นเหตุ (Root cause analysis) กำร นิยำมจึงมีควำมเฉพำะดังนี้ การสอบสวนอุบัติการณ์ฆ่าตัวตายและพยายามฆ่าตัวตาย (suicide and suicide attempt incident investigation) คือ กระบวนกำรรวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับกำรเกิดอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยหรือพยำยำมฆ่ำตัวตำยหรือกำร กระท ำรุนแรงต่อตนเองอย่ำงเป็นระบบแล้วน ำมำประมวลให้เห็นเหตุปัจจัยและ ผลกระทบอย่ำงครบถ้วนเพื่อน ำไปวำงแผนช่วยเหลือ ป้องกันและแก้ไขในระดับ บุคคลและระดับพื้นที่ อธิบายขยายความ 1. เป็นกระบวนกำรที่ด ำเนินกำรอย่ำงเป็นระบบ: กำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำย (suicide and suicide attempt incident investigation) เป็ นกระบวนกำรปฏิบัติที่ประกอบด้วย 9 ขั้นตอนด ำเนิน ต่อเนื่องกันไป ตั้งแต่ขั้นตอนกำรเตรียมกำร ขั้นตอนกำรยืนยันว่ำเป็นกำรฆ่ำ


ตัวตำยจนถึงขั้นตอนสรุปเป็นรำยงำน แต่ละขั้นตอนประกอบด้วยกิจกรรมที่ เชื่อมโยงกัน 2. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง: กำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยมี วัตถุประสงค์ที่ส ำคัญคือรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้ได้ครบถ้วนสมบูรณ์ที่สุด ข้อมูลเหล่ำนี้จะรวมรวมจำกแหล่งข้อมูล 2 ประเภท คือ 1) แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ เป็นกำรสัมภำษณ์บุคคลทั้งเกี่ยวข้องโดยตรงและโดยอ้อม เช่น คนในครอบครัว เพื่อนหรือคนใกล้ชิด ผู้เห็นเหตุกำรณ์ แพทย์พยำบำลผู้รักษำ ก ำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน อสม จนท.สำธำรณสุขในพื้นที่ 2) แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ เป็นกำรรวบรวมจำก เอกสำร แฟ้มประวัติ สื่อสิ่งพิมพ์ จดหมำยลำตำย หรือ สื่อออนไลน์ รวมทั้ง chat, line และโซเซียลมีเดียอื่นๆที่มีข้อเขียนหรือเรื่องรำวเกี่ยวข้องกับกำร กระท ำฆ่ำตัวตำยแต่ละเหตุกำรณ์ 3. ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกำรเกิดอุบัติกำรณ์: กำรฆ่ำตัวตำยเป็นอุบัติกำรณ์ (incident) ที่เป็นปลำยทำงของหลำยเหตุปัจจัยที่มำกระทบกับอย่ำงซับซ้อน กำรจะทรำบเหตุปัจจัยเหล่ำนี้ต้องอำศัยข้อมูลที่เกี่ยวข้องอย่ำงครอบคลุม กำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยจะรวบรวมข้อมูล 3 ส่วนที่ส ำคัญ ได้แก่ 1) ข้อมูลพื้นฐำนส่วนบุคคลและข้อมูลของเหตุกำรณ์ ตำม Time, place, person รวมทั้ง วิธีและกลไกที่ท ำให้ตำยหรือบำดเจ็บ 2) ข้อมูลสำเหตุและปัจจัยเกี่ยวข้องที่น ำไปสู่กำรฆ่ำตัวตำยซึ่งจะครอบ คลุมข้อมูลด้ำนปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยกระตุ้น ปัจจัยปกป้อง กำรเฝ้ำระวังและด่ำน กั้นกำรเข้ำถึงวัสดุอุปกรณ์หรือสถำนที่ที่ใช้ฆ่ำตัวตำย 3) ข้อมูลที่แสดงถึงประสิทธิภำพและจุดบกพร่องของระบบบริกำร สุขภำพที่เกี่ยวข้องกับกำรฆ่ำตัวตำยในพื้นที่ที่เกิดอุบัติกำรณ์


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 16 4. ผลกระทบ หมำยถึง ผลกระทบจำกอุบัติกำรณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่งกิจกรรมกำร สอบสวนแนวใหม่จะรวมถึงกำรประเมินสุขภำพจิตผู้เกี่ยวข้องและผู้รับ ผลกระทบทั้งหมดให้ทรำบถึงสภำวะจิตใจของกลุ่มคนดังกล่ำวและค้นหำผู้ที่มี ควำมเสี่ยงในเหตุกำรณ์เพื่อวำงแผนช่วยเหลือและเฝ้ำระวังป้องกัน 5. ข้อมูลที่รวบรวมได้จะน ำมำประมวลผล วิเครำะห์ สังเครำะห์เพื่อวำง แผนช่วยเหลือส ำหรับรำยบุคคลโดยเฉพำะผู้ที่รอดชีวิตจำกกำรฆ่ำตัวตำย และ รวบรวมข้อมูลจำกทุกอุบัติกำรณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่มำวิเครำะห์หำเหตุปัจจัยร่วม เพื่อก ำหนดมำตรกำรป้องกันแก้ไขหรือจัดกำรเหตุปัจจัยเหล่ำนั้นในระดับ จังหวัดและระดับประเทศ วัตถุประสงค์ของกำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำย 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลที่ถูกต้องอย่ำงครอบคลุม จำกเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้น แต่ละรำยให้ทรำบเหตุปัจจัยอย่ำงครบถ้วน 2. เพื่อวำงแผนช่วยเหลือเยียวยำผู้ได้รับผลกระทบ 3. เพื่อเสนอแนะมำตรกำรควบคุมปัญหำสุขภำพจิตไม่ให้ลุกลำมขยำยออกไป และป้องกันกำรเกิดซ ้ำ 4. เพื่อให้ได้ควำมรู้ใหม่ที่ยังไม่เคยรู้ 5. เพื่อพัฒนำบุคลำกร


เอกสารอ้างอิง Gillies, D., Chicop, D., & O'Halloran, P. (2015). Root cause analyses of suicides of mental health clients. Crisis. Goodman, R. A., Buehler, J. W., & Koplan, J. P. (1990). The epidemiologic field investigation: science and judgment in public health practice. American journal of epidemiology, 132(1), 9-16. Patterson, L. E. & Welfel, E. R. (2000). The Counseling Practice. 5th ed. Australia: Brooks/Cole. Rasmussen, S. A., & Goodman, R. A. (Eds.). (2018). The CDC field epidemiology manual. Oxford University Press. Scissons, E. H. (1993). Counseling for Results: Principles and Practices of Helping. California: Brooks/Cole.


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 18 บทที่4 นิยามการฆ่าตัวตาย (Suicide) และการจา แนกความรุนแรงทมีุ่่งตนเอง (Self-directed violence) ในกำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำยจ ำเป็นต้องมี กำรยืนยันก่อนว่ำเหตุกำรณ์ดังกล่ำวเป็นพฤติกรรมฆ่ำตัวตำยไม่ใช่อุบัติเหตุ หรือกำรฆำตกรรม ทีมสอบสวนโรคจะต้องทรำบนิยำมกำรฆ่ำตัวตำยและกำร จ ำแนกรวมถึงพิจำรณำข้อมูล พฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องให้เห็น เจตนำฆ่ำตัวตำย (Suicidal intent) ซึ่งเป็นเงื่อนไขบ่งชี้ที่ส ำคัญของกำรฆ่ำตัว ตำย ปัญหำในกำรยืนยันกำรฆ่ำตัวตำยที่ผ่ำนมำคือควำมไม่ชัดเจนของนิยำม กำรฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำยที่มีควำมหลำกหลำยไม่เป็นหนึ่งเดียว อีกทั้งมีค ำศัพท์และภำษำที่ใช้เรียกพฤติกรรมฆ่ำตัวตำยที่แตกต่ำงกันไป ก่อให้เกิดควำมสับสน ส่งผลกระทบต่อระบบต่ำงๆที่เกี่ยวข้องกับกำรป้องกัน แก้ไขปัญหำฆ่ำตัวตำย แต่อย่ำงไรก็ตำม เพื่อให้เกิดควำมชัดเจนตรงกันส ำหรับ ทีมสอบสวนในกำรยืนยันกำรฆ่ำตัวตำย จะใช้ค ำนิยำมและระบบจ ำแนกของ ศูนย์ควบคุมป้องกันโรคแห่งสหรัฐอเมริกำ (center of disease control and prevention of USA, CDC) ซึ่งจัดให้กำรฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำยอยู่ ในระบบกำรจ ำแนกควำมรุนแรงที่มุ่งตนเอง (Self-directed violence) ดังจะได้ กล่ำวในรำยละเอียดต่อไป


4.1 ปัญหาและผลกระทบของคา ศัพทท์หี่ลากหลายและการจา แนกที่ ไม่เป็นหนึ่งเดียว กำรเสียชีวิตจำกกำรฆ่ำตัวตำยเป็นเหตุกำรณ์ตำยที่ส ำคัญ ของประเทศไทย ในช่วงสำมปีที่ผ่ำนมำอัตรำกำรฆ่ำตัวตำยเพิ่มสูงขึ้นทุกปี ในแผนยุทธศำสตร์ 20 ปี ด้ำนสำธำรณสุขได้ก ำหนดให้อัตรำกำรฆ่ำตัวตำยเป็นตัวชี้วัดที่ส ำคัญ (แผนยุทธศำสตร์ที่ 20 ปี ด้ำนสำธำรณสุข) กำรพยำยำมฆ่ำตัวตำย และกำรฆ่ำ ตัวตำยถึงแม้ไม่ใช่โรคหรือควำมเจ็บป่ วยด้ำนสุขภำพจิตแต่ก็เป็นปัญหำ สุขภำพจิตที่ส ำคัญซึ่งเป็นผลรวมสุดท้ำยจำกหลำยปัจจัยทั้งปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้ำนเศรษฐกิจ ปัจจัยด้ำนสังคม ปัจจัยด้ำนกำรเมือง ปัจจัยด้ำนสุขภำพ กำย และสุขภำพจิต รวมถึงปัจจัยด้ำนเคำรพธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม ควำมเชื่อและศำสนำ ดังนั้น กำรแก้ไขปัญหำฆ่ำตัวตำยจึงมีควำมจ ำเป็นและท้ำทำย ทั้งในมิติ ของกำรป้องกัน กำรดูแลรักษำ กำรติดตำมเฝ้ำระวัง รวมทั้งกำรเยียวยำผู้ได้รับ ผลกระทบจำก อุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยแต่ละครั้ง ซึ่งกำรป้องกันแก้ไขปัญหำฆ่ำ ตัวตำยจะขึ้นอยู่กับกำรระบุบ่งชี้ (Identification) ที่ถูกต้องชัดเจนเหมำะสม และกำรประเมินที่ครบถ้วนเพียงพอ เพื่อให้ เข้ำใจธรรมชำติของกำรฆ่ำตัวตำย กำรเข้ำใจลักษณะทำงคลินิก และน ำไปสู่กำรพยำกรณ์ แต่อย่ำงไรก็ตำมในกำร แก้ไขปัญหำฆ่ำตัวตำย ที่ผ่ำนมำมีอุปสรรคที่ส ำคัญคือ กำรขำดควำมชัดเจน ของแนวคิด ขำดมำตรฐำนกำรปฏิบัติขำดควำมเห็นพ้องตรงกันในระบบกำร ตั้งชื่อและกำรจ ำแนกประเภทของกำรฆ่ำตัวตำย ดังจะเห็นได้จำกมีศัพท์ที่ใช้ เรียกพฤติกรรมกำรฆ่ำตัวตำยหลำกหลำย ดังแสดงในตำรำงที่ 2 ซึ่งปัญหำ อุปสรรคดังกล่ำวนี้ส่งผลต่อกำรตีควำมเหตุกำรณ์หรืออุบัติกำรณ์กำรเสียชีวิต


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 20 หรือกำรบำดเจ็บใดว่ำ เป็นกำรฆ่ำตัวตำยหรือพยำยำมฆ่ำตัวตำย ส่งผลต่อกำร ดูแลช่วยเหลือ และท ำให้เกิดควำมคลำดเคลื่อนของระบบข้อมูลสำรสนเทศ (Data and information system) มีผลกระทบถึงประสิทธิภำพของระบบเฝ้ำ ระวัง (surveillance system) และกำรป้องกันแก้ไขปัญหำฆ่ำตัวตำยทั้งระดับ บุคคลและระดับพื้นที่ รวมถึงส่งผลต่อกำรสื่อสำรเรื่องพฤติกรรมกำรฆ่ำตัวตำย ที่ถูกต้องแม่นย ำต่อบุคคลและสังคม ศูนย์ควบคุมโรคแห่งสหรัฐอเมริกำได้ระบุถึงควำมหลำกหลำยของศัพท์หรือ ค ำที่ใช้เรียกพฤติกรรมฆ่ำตัวตำยในวำรสำรวิชำกำร เอกสำรรำยงำนกำรศึกษำ กำรฆ่ำตัวตำยมีผลกระทบในวงกว้ำง ยำกต่อกำรเปรียบเทียบควำมชุกระหว่ำง ประเทศและเป็นอุปสรรคต่อกำรก ำหนดมำตรกำรป้องกันแก้ไขปัญหำ (Crosby et al., 2011) สถำบันกำรแพทย์ ของสหรัฐสหรัฐอเมริกำ (the Institute of medicine of the United States) ซึ่งเป็น สถำบันกำรศึกษำแห่งชำติ ยังระบุถึง ควำมไม่สอดคล้องกันในกำรจ ำแนกประเภทและระบบกำรตั้งชื่อว่ำเป็น อุปสรรคส ำคัญในกำรป้องกันกำรฆ่ำตัวตำย “Research on suicide is plagued by many methodological problems… Definitions lack uniformity … reporting of suicide is inaccurate…” (Goldsmith et al., 2002) รูปแบบและกำรตั้งชื่อที่แตกต่ำงกันกระจำยไปอย่ำงกว้ำงขวำงเห็นได้จำก กำรเผยแพร่ข้อมูลที่คลุมเครือไม่ชัดเจนเกี่ยวกับปรำกฏกำรณ์กำรฆ่ำตัวตำยใน งำนวิจัยต่ำงๆ ผลกระทบที่ส ำคัญต่อกำรศึกษำทำงระบำดวิทยำพบว่ำ อัตรำ ของอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยต ่ำกว่ำควำมเป็นจริง เนื่องจำกกำรบ่งชี้กรณีเสียชีวิต จำกกำรฆ่ำตัวตำย มีควำมไม่สอดคล้องตรงกัน ซึ่งอัตรำกำรฆ่ำตัวตำยที่ต ่ำกว่ำ ควำมเป็นจริงนี้เป็นอุปสรรคต่อควำมพยำยำมในกำรท ำนำยพฤติกรรมกำรฆ่ำ


ตัวตำย (Brown et al., 2000) อีกทั้งมีผลกระทบต่อกำรเฝ้ำระวังด้ำนควำม ปลอดภัยจำกกำรใช้ยำของส ำนักงำนคณะกรรมกำรอำหำรและยำแห่งอเมริกำ โดยเฉพำะกำรเฝ้ำระวังเหตุกำรณ์ไม่พึงประสงค์ในกำรใช้ยำเพื่อฆ่ำตัวตำย จำกควำมไม่ชัดเจนและขำดมำตรฐำนในกำรจ ำแนกพฤติกรรมฆ่ำตัวตำยท ำให้ เป็นอุปสรรคต่อกำรประเมินควำมปลอดภัยของยำที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมกำร ฆ่ำตัวตำย (Meyer et al., 2010) ข้อผิดพลำดในกำรจ ำแนก พฤติกรรมกำรฆ่ำตัวตำยส่งผลให้เกิดกำรระบุ เหตุกำรณ์ฆ่ำตัวตำยทั้งในแบบที่มำกเกินไปและน้อยเกินไป เช่นกรณีที่ผู้ป่ วย ตบหน้ำตัวเองโดยถูกระบุว่ำเป็น "ควำมพยำยำมฆ่ำตัวตำย" ผู้ป่ วยโรคจิตเภท เอำหัวโขกก ำแพงและบอกว่ำควำมคิดในหัวของเขำ "ก ำลังจะระเบิด" ถูกระบุ ว่ำเป็น "ควำมพยำยำมฆ่ำตัวตำย"; ผู้ป่ วยที่มีควำมคิดที่จะฆ่ำตัวตำยแต่ไม่มี ควำมตั้งใจที่จะด ำเนินกำรตำมควำมคิดถูกระบุว่ำเป็น "กำรพยำยำมฆ่ำตัว ตำย" ผู้ป่ วยที่พยำยำมแขวนคอตัวเองด้วยเชือกหลังจำกทะเลำะกับพ่อของเขำ โดยถูกมองว่ำเป็น ควำมผิดปกติทำงบุคลิกภำพ (Personality disorders) ผู้ป่ วยที่ตั้งใจรับประทำนยำเกินขนำดไม่ได้รับกำรระบุว่ำเป็นกำรพยำยำมฆ่ำ ตัวตำย และควำมคิดฆ่ำตัวตำยระบุว่ำเป็นกำรพยำยำมฆ่ำตัวตำย (Posner et al., 2007)


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 22 4.2 นิยามการฆ่าตัวตาย พยายามฆ่าตัวตาย และความรุนแรงทมีุ่่ง ตนเอง (Self-directed violence) ปัญหำอุปสรรคดังกล่ำวใน 4.1 เป็นแรงผลักดันส ำคัญในกำรพัฒนำศัพท์ ภำษำที่ใช้และนิยำมที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันส ำหรับบรรยำยปรำกฏกำรณ์กำร ฆ่ำตัวตำย โดยควำมร่วมมือของศูนย์ควบคุมโรคแห่งสหรัฐอเมริกำ (CDC) ส ำนักงำนคณะกรรมกำรอำหำรและยำแห่งอเมริกำ (FDA) และหน่วยงำนต่ำงๆ ของกองทัพสหรัฐ เริ่มต้นในปี ค.ศ. 2003 ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (CDC) ต้องกำรพัฒนำระบบเฝ้ำระวังควำมรุนแรงที่มุ่งตนเอง (Self-directed violence surveillance) จึงได้คัดเลือกคณะท ำงำนและผู้ปฏิบัติงำนที่เป็นตัวแทนของ สำขำวิชำต่ำงๆ (เช่น กำรแพทย์ จิตวิทยำ ระบำดวิทยำ สังคมวิทยำ) สังกัด ต่ำงๆ (เช่น รัฐบำล สถำบันกำรศึกษำ) และสำขำต่ำงๆ ที่น่ำสนใจ (เช่น พฤติกรรมกำรฆ่ำตัวตำย กำรเฝ้ำระวังด้ำนสำธำรณสุข กำรป้องกันกำร บำดเจ็บ) คณะท ำงำนนี้จัดตั้งขึ้นเพื่อหำรือเกี่ยวกับกำรหำข้อสรุปค ำจ ำกัด ควำมกำรฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำย ส ำหรับกำรเฝ้ำระวังควำมรุนแรงที่ มุ่งตนเอง (Self-directed violence surveillance) ในประเทศ คณะท ำงำนได้ ทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวข้องกับค ำจ ำกัดควำมของกำรเฝ้ำระวังควำมรุนแรงที่ มุ่งตนเอง (Self-directed violence, SDV) ข้อมูลที่รวบรวมจำกกำรทบทวนนี้ ถูกสังเครำะห์ในรำยงำน จำกนั้นในเดือนเมษำยน ค.ศ.2004 คณะท ำงำนได้ จัดท ำค ำจ ำกัดควำม SDV ฉบับร่ำง องค์ประกอบข้อมูลที่จ ำเป็นส ำหรับกำรเฝ้ำ ระวัง และรำยกำรต่ำงๆ ส ำหรับอภิธำนศัพท์ แล้วน ำฉบับร่ำงนี้ไปหำรือขอควำม คิดเห็นเพิ่มเติมในที่ประชุมวิชำกำรที่เกี่ยวข้องหลำยครั้ง และรับฟังควำม คิดเห็นทั้งจำกผู้เชี่ยวชำญและผู้ปฏิบัติ มีกำรค้นคว้ำเพิ่มเติมและปรับปรุงแก้ไข


จนสรุปรำยงำนเป็นเอกสำรน ำไปสู่กำรปฏิบัติจริงในปี ค.ศ.2011 (Crosby et al., 2011) นิยำมของค ำศัพท์ส ำคัญที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมฆ่ำตัวตำย แสดง ในตำรำงที่ 2 ตารางที่ 2 คำนิยามพฤติกรรมฆ่าตัวตาย ประเภทของ พฤติกรรมฆ่าตัวตาย นิยาม หมายเหตุ ควำมรุนแรงที่มุ่ง ตนเอง (Self-directed violence, SDV) เป็นพฤติกรรมที่มุ่งต่อตนเอง โดย จงใจให้เกิดผลบำดเจ็บหรือมี โอกำสบำดเจ็บต่อตนเอง (Behavior that is self-directed and deliberately results in injury or the potential for injury to oneself.) เป็นค ำที่มีควำมหมำยเดียวกันและใช้ แทนกันได้กับพฤติกรรมท ำร้ำยตนเอง (Self-injurious behavior) ควำม รุนแรงที่มุ่งตนเองตำมนิยำมนี้ไม่ รวมถึงพฤติกรรม เช่น กำรกระโดดร่ม กำรพนัน กำรใช้สำรเสพติด หรือ กิจกรรมเสี่ยงอื่น ๆ ได้แก่ ขับรถด้วย ควำมเร็วสูง แม้พฤติกรรมเหล่ำนี้มี ควำมเป็นไปได้สูงที่จะได้รับบำดเจ็บ หรือเสียชีวิต แต่โดยปกติแล้วจะถือว่ำ ไม่ได้ตั้งใจที่จะท ำให้เกิดผลเช่นนั้น Suicidal-selfdirected violence พฤติกรรมที่มุ่งตนเองและจงใจ ให้เกิดผลบำดเจ็บหรืออำจท ำให้ ตัวเองได้รับบำดเจ็บ มีหลักฐำน ว่ำเจตนำฆ่ำตัวตำยทั้งโดยนัยๆ หรือแสดงให้เห็นอย่ำงชัดเจน Behavior that is self-directed and deliberately results in injury or the potential for injury to oneself. There is evidence, whether implicit or explicit, of suicidal intent.


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 24 ประเภทของ พฤติกรรมฆ่าตัวตาย นิยาม หมายเหตุ Undetermined selfdirected violence พฤติกรรมที่มุ่งตนเองและจงใจ ให้เกิดผลบำดเจ็บหรืออำจท ำให้ ตัวเองได้รับบำดเจ็บ แต่เจตนำ ฆ่ำตัวตำยไม่ชัดเจนตำม หลักฐำนที่มี ณ.ขณะนี้ Behavior that is self-directed and deliberately results in injury or the potential for injury to oneself. Suicidal intent is unclear based on the available evidence. ตัวอย่ำงเช่น บุคคลนั้นไม่สำมำรถให้ข้อมูลแสดงถึง เจตนำฆ่ำตัวตำยได้ เนื่องจำกกำรหมด สติ ไม่สำมำรถพูดคุย ภำวะเป็นพิษ จำกสำรเสพติด โรคจิตเฉียบพลัน ภำวะสับสนวันเวลำ หรือเสียชีวิตแล้ว หรือบุคคลนั้นไม่เต็มใจที่จะยอมรับว่ำ มีเจตนำฆ่ำต้วตำยด้วยเหตุผลอื่น (รวมถึงกำรระบุในระหว่ำงกำรรวบรวม ข้อมูลที่แสดงถึงเจตนำฆ่ำตัวตำยยังได้ ไม่ครบถ้วน) Non suicidal selfdirected violence พฤติกรรมที่มุ่งตนเองและจงใจ ให้เกิดผลบำดเจ็บหรืออำจท ำให้ ตัวเองได้รับบำดเจ็บ แต่ไม่มี เจตนำที่จะฆ่ำตัวตำย Behavior that is self-directed and deliberately results in injury or the potential for injury to oneself. There is no evidence, whether implicit or explicit, of suicidal intent. องค์ประกอบส ำคัญของนิยำม 1. ไม่มีหลักฐำนว่ำมีเจตนำฆ่ำตัวตำย ทั้งโดยนัยๆหรือแสดงให้เห็นชัดเจน 2.พฤติกรรมดังกล่ำวไม่ใช่รูปแบบกำร ท ำให้ตนเองบำดเจ็บที่สังคมยอมรับ ซึ่ง ถือเป็นกำรแสดงออกถึงควำมเป็น ปัจเจกบุคคลและควำมคิดสร้ำงสรรค์ เช่น กำรสักลำยและกำรเจำะร่ำงกำย ฝังมุกหรือใส่ห่วงโลหะ ศัพท์อื่นที่ใช้เรียก ได้แก่self-harm, self-mutilation, self-cutting, self - battery. ตัวอย่ำงพฤติกรรม บุคคลตัดนิ้วตนเองเพื่อหันเหควำม สนใจจำกควำมเจ็บปวดทำงอำรมณ์


ประเภทของ พฤติกรรมฆ่าตัวตาย นิยาม หมายเหตุ • บุคคลพยำยำมกรีดผิวหนังเพื่อให้ ได้รับควำมสนใจจำกพ่อแม่ • เกำบำดแผลจนเลือดออกเป็นกำร ลงโทษตัวเอง กำรฆ่ำตัวตำย (Suicide) กำรเสียชีวิตจำกพฤติกรรมที่มุ่ง ท ำร้ำยตนเองโดยตั้งใจจะให้ ตำยจำกพฤติกรรมนั้น Death caused by selfdirected injurious behavior with any intent to die as a result of the behavior. Unacceptable terms ค ำที่ไม่ได้รับกำรยอมรับในกำรใช้ต่อไป ได้แก่ Complete suicide, fail attempt, successful suicide. กำรพยำยำมฆ่ำตัว ตำย (Suicide attempt) พฤติกรรมที่มุ่งท ำร้ำยตนเองแต่ ไม่ถึงกับเสียชีวิตโดยตั้งใจจะให้ ตำยจำกพฤติกรรมนั้นและผล ของกำรพยำยำมฆ่ำตัวตำยอำจ บำดเจ็บหรือไม่บำดเจ็บ A non-fatal self-directed potentially injurious behavior with any intent to die as a result of the behavior. A suicide attempt may or may not result in injury. Unacceptable terms ค ำที่ไม่ได้รับกำรยอมรับในกำรใช้ต่อไป ได้แก่ Nonfatal suicide, parasuicide, Suicide gesture, Manipulative act, and Suicide threat


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 26 4.3 การจา แนกความรุนแรงทมีุ่่งตนเอง (The classification of selfdirected violence) คณะท ำงำนซึ่งแต่งตั้งโดยศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (CDC) แห่ง สหรัฐอเมริกำ ได้จัดให้กำรฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำยอยู่ในควำมรุนแรง ที่มุ่งตนเอง (Self-directed violence) และได้มีกำรจ ำแนกควำมรุนแรงที่มุ่ง ตนเองออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. ควำมรุนแรงที่มุ่งตนเองที่เป็นกำรฆ่ำตัวตำย (suicidal self-directed violence) ประเภทของ พฤติกรรมฆ่าตัวตาย นิยาม หมายเหตุ เจตนำฆ่ำตัวตำย (Suicidal intent) มีหลักฐำนในอดีตหรือปัจจุบัน (โดยเป็นนัยๆหรืออย่ำงชัดเจน) ที่บุคคลปรำรถนำจะตำย เป็น วิธีฆ่ำตนเองให้ตำย และเข้ำใจ ผลที่อำจเกิดขึ้นตำมมำจำกกำร กระท ำหรือจำกกำรกระท ำที่อำจ เกิดขึ้น There is past or present evidence (implicit or explicit) that an individual wishes to die, means to kill him/herself and understands the probable consequences of his/her actions or potential actions. เจตนำฆ่ำตัวตำย (Suicidal intent)


2. ค ว ำ ม รุ น แ ร ง ที่ มุ่ ง ต น เ อ ง ที่ ยัง ไ ม่ แ น่ ใ จ ว่ ำ เ ป็ น ก ำ ร ฆ่ ำ ตั ว ต ำ ย (Undetermined self-directed violence) 3. ควำมรุนแรงที่มุ่งตนเองที่ไม่ใช่กำรฆ่ำตัวตำย (Non suicidal selfdirected violence) ในแต่ละประเภทของควำมรุนแรงที่มุ่งตนเองจะแบ่งออกเป็นสองลักษณะ ตำมผลของกำรกระท ำ คือ เสียชีวิต (Fatal) และไม่เสียชีวิต (Nonfatal) ซึ่งใน กรณีที่ไม่เสียชีวิตอำจจะบำดเจ็บหรือไม่บำดเจ็บ และเกิดจำกกำรยับยั้งโดย ผู้อื่นหรือยับยั้งโดยตนเอง นอกจำกนี้ยังรวมถึงกำรเตรียมกำรเพื่อกำรกระท ำ รุนแรงต่อตนเองด้วย (Crosby et al., 2011) ดังแสดงในภำพที่ 1 ภาพที่1 CDC flowchart for surveillance definitions for self-directed violence (Crosby et al., 2011)


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 28 เอกสารอ้างอิง ส ำนักนโยบำยและยุทธศำสตร์ ส ำนักงำนปลัดกระทรวงสำธำรณสุข. (2559). แผน ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข). https://waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/2017/20171117-ministryofPublicHealth.pdf Brown, G. K., Beck, A. T., Steer, R. A., & Grisham, J. R. (2000). Risk factors for suicide in psychiatric outpatients: A 20-year prospective study. Journal of Consulting and Clinical Psychology, 68(3), 371–7. Crosby, A., Ortega, L., & Melanson, C. (2011). Self-directed violence surveillance; uniform definitions and recommended data elements. https://stacks.cdc.gov/view/cdc/11997 Goldsmith, S. K., Pellmar, T. C., Kleinman, A. M., & Bunney, W. E. (2002). Psychiatric and Psychological Factors. In Reducing Suicide: A National Imperative. National Academies Press (US). Meyer, R. E., Salzman, C., Youngstrom, E. A., Clayton, P. J., Goodwin, F. K., Mann, J. J., & Sheehan, D. V. (2010). Suicidality and risk of suicide-definition, drug safety concerns, and a necessary target for drug development: a brief report. The Journal of clinical psychiatry, 71(8), 20322. Posner, K., Oquendo, M. A., Gould, M., Stanley, B., & Davies, M. (2007). Columbia Classification Algorithm of Suicide Assessment (C-CASA): classification of suicidal events in the FDA’s pediatric suicidal risk analysis of antidepressants. American journal of psychiatry, 164(7), 1035-1043


บทที่5 ธรรมชาติของพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย ธรรมชำติของโรคใดๆ หมำยถึง ลักษณะของกำรด ำเนินโรคอย่ำงต่อเนื่อง โดยไม่มีกำรแทรกแซง (เช่น ให้กำรบ ำบัดรักษำหรือฟื้นฟูสภำพ) ตั้งแต่สัมผัส กับสำเหตุที่ท ำให้เกิดโรคแล้วมีอำกำรจนถึงสิ้นสุดกำรเจ็บป่ วยซึ่งอำจจะเป็น กำรหำยจำกโรค พิกำรหรือเสียชีวิต (Bhopal, 2016; Gerstman, 2013; Merrill, 2016) เรำจ ำเป็นต้องเรียนรู้ถึงธรรมชำติของโรค ให้เกิดควำมเข้ำใจในธรรมชำติ ของกำรเจ็บป่ วยนั้นๆอย่ำงแท้จริง เพื่อสำมำรถน ำมำปรับใช้ในกำรวินิจฉัย ดูแล รักษำผู้ป่ วยได้อย่ำงถูกต้องเหมำะสม เพิ่มโอกำสกำรรักษำให้หำยขำด และลด โอกำสเสียชีวิต รวมทั้งหำวิธีหรือมำตรกำรจัดกำรกับสำเหตุและปัจจัยที่ก่อโรค เพื่อเป็นกำรป้องกันไม่ให้เกิดโรคนั้นๆ ถึงแม้กำรฆ่ำตัวตำยไม่ใช่โรคทำงจิตเวชแต่ก็เป็นปัญหำสุขภำพจิตที่ ก่อให้เกิดควำมสูญเสียด้ำนสุขภำพ ด้ำนเศรษฐกิจและสังคม กำรเข้ำใจ ธรรมชำติของพฤติกรรมกำรฆ่ำตัวตำยจึงมีควำมส ำคัญ หำกเรำสำมำรถท ำให้ เกิดควำมชัดเจนของกำรเชื่อมโยงที่ด ำเนินไปตั้งแต่เริ่มสัมผัสเหตุก่อโรคจนไป ถึงเกิดกำรกระท ำฆ่ำตัวตำยจนเสียชีวิตหรือบำดเจ็บจะน ำไปสู่กำรพัฒนำวิธี และมำตรกำรป้องกันแก้ไขปัญหำกำรฆ่ำตัวตำยได้อย่ำงมีประสิทธิผล รำยงำนสถิติกำรฆ่ำตัวตำยของประเทศไทย ปีงบประมำณ 2566 (ตุลำคม 2565 - กันยำยน 2566) โดยศูนย์เฝ้ำระวังฆ่ำตัวตำย กรมสุขภำพจิต พบว่ำ ประชำกรไทย 65ล้ำนคน เสียชีวิตจำกกำรฆ่ำตัวตำย 5,172 คน คิดเป็น 7.94 ต่อแสนประชำกร (ข้อมูลมบ.1 กองยุทธศำสตร์และแผนงำน, 2566) และ


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 30 พยำยำมฆ่ำตัวตำย 31,110 คน หรือเท่ำกับ 47.74 ต่อแสนประชำกร (HDC, 2566) ผู้ที่ฆ่ำตัวตำยและผู้พยำยำมฆ่ำตัวตำยพบมีปัจจัยเสี่ยง บำงรำยมี มำกกว่ำ 1 ปัจจัย ได้แก่ กำรป่ วยโรคจิตเวช กำรป่ วยโรคทำงกำยรุนแรงเรื้อรัง ติดสุรำหรือสำรเสพติด และ เคยพยำยำมฆ่ำตัวตำยมำก่อน และมีปัจจัย กระตุ้นคือ 1) ปัญหำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคล และ 2) ปัญหำเศรษฐกิจ มีข้อสรุปของศูนย์เฝ้ำระวังกำรฆ่ำตัวตำย จำกข้อมูลสอบสวนกรณีฆ่ำตัว ตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำย ตำมรำยงำน ปีงบประมำณ 2566 ดังนี้ ผู้ที่ฆ่ำตัว ตำยมักจะมีควำมเปรำะบำงมีควำมอ่อนแอหรือมีปัจจัยเสี่ยงเสี่ยงอยู่ก่อน ได้แก่ ป่ วยโรคจิตเวชที่รุนแรง (เช่น โรคซึมเศร้ำ โรคจิต โรคอำรมณ์สองขั้ว โรค ติดกำรพนัน ทั้งที่ได้รับกำรรักษำและไม่ได้รับกำรรักษำ) ป่ วยโรคทำงกำย รุนแรงเรื้อรัง (โรคมะเร็ง โรคอัมพฤกษ์ โรคไตวำยเรื้อรัง โรคเอดส์ เป็นต้น) มีโรค ติดสุรำ ติดสำรเสพติด บุคลิกภำพหุนหันพันแล่น หรือมีประสบกำรณ์ถูกทำรุณ หรือล่วงละเมิดในวัยเด็ก เมื่อผู้ที่มีควำมเปรำะบำงหรือมีควำมเสี่ยงเหล่ำนี้ เผชิญกับวิกฤติชีวิตที่ท ำให้อับอำย หรือพ่ำยแพ้ ร่วมกับรู้สึกอับจนหนทำงหรือ ตกอยู่ในสถำนกำรณ์ไม่มีทำงออก หรือบำงรำยที่ป่ วยโรคจิตเวชมีอำกำรก ำเริบ หรือบำงรำยเกิดพิษจำกสำรเสพติดที่เสพ ก็จะเกิดควำมคิดฆ่ำตัวตำยเกิดขึ้น เมื่อมีควำมคิดฆ่ำตัวตำยเกิดขึ้น หำกบุคคลนี้ เคยรับรู้ถึงวิธีหรือมีตัวอย่ำงกำร ฆ่ำตัวตำย และเข้ำถึงวัสดุอุปกรณ์หรือสถำนที่ที่ใช้ฆ่ำตัวตำยได้ง่ำย …จำกมี เพียงแค่ควำมคิดก็น ำไปสู่กำรกระท ำ… เหตุกำรณ์ฆ่ำตัวตำยก็เกิดขึ้น จำกกำรวิเครำะห์ข้อมูลฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำยในประเทศไทย ร่วมกับประสบกำรณ์ในกำรดูแลช่วยเหลือผู้ป่ วยจึงพอสรุปให้เห็นธรรมชำติของ พฤติกรรมกำรฆ่ำตัวตำยเบื้องต้นในคนไทย ได้ดังนี้


1. ผู้ที่มีพฤติกรรมกำรฆ่ำตัวตำย (รวมถึงกำรคิดฆ่ำตัวตำย วำงแผนฆ่ำตัว ตำยและ พยำยำมฆ่ำตัวตำย) ส่วนใหญ่มักจะมีปัจจัยเสี่ยงหรือสัมผัสปัจจัย เสี่ยงท ำให้บุคคลเหล่ำนี้ เป็นกลุ่มเสี่ยงที่ มีควำมเปรำะบำงของ ร่ำงกำยและ หรือจิตใจ 2. กลุ่มเสี่ยงดังกล่ำวนี้ถึงแม้มีแนวโน้มหรือมีโอกำสเกิดพฤติกรรมกำรฆ่ำตัว ตำยมำกกว่ำประชำกรทั่วไปแต่ก็ไม่ได้มีควำมคิดหรือกำรกระท ำฆ่ำตัวตำยทุก รำย 3. ควำมคิดฆ่ำตัวตำยและกำรตัดสินใจกระท ำฆ่ำตัวตำยของกลุ่มเสี่ยงมัก พบบ่อยว่ำมีตัวกระตุ้น (Tigger) หรือมีปัจจัยกระตุ้น (Precipitating factors) ซึ่งอำจเป็นวิกฤติชีวิตที่ท ำให้รู้สึกอับจนหนทำง อำกำรของโรคจิตเวชก ำเริบ ผิด จำกสำรเสพติด หรืออำจเห็นตัวอย่ำงหรือข่ำวกำรฆ่ำตัวตำยของคนใกล้ชิดหรือ คนชื่นชอบ 4. กำรกระท ำฆ่ำตัวตำยอำจเกิดขึ้นหลังจำกกำรวำงแผนหรือกระท ำโดยไม่ มีแผน โดยใช้วัสดุอุปกรณ์หรือสถำนที่ในกำรฆ่ำตัวตำย และพบว่ำผู้ที่ฆ่ำตัว ตำยส ำเร็จมักจะใช้วิธีกำรที่รุนแรงเช่นใช้เชือกผูกคอ ใช้ปืนยิงตัวเอง กระโดด จำกที่สูง หรือรับประทำนสำรที่มีพิษรุนแรง ส่วนผู้ที่พยำยำมฆ่ำตัวตำยจะใช้ วิธีกำรทำนยำเกินขนำด ใช้มีดกรีดที่แขน หรือทำนสำรพิษที่ไม่รุนแรง ซึ่งผล จำกกำรกระท ำอำจบำดเจ็บหรือไม่บำดเจ็บ 5. ในกลุ่มที่รอดชีวิตจำกกำรพยำยำมฆ่ำตัวตำยพบบ่อยว่ำ กลุ่มนี้มีควำม เสี่ยงสูงที่จะกระท ำซ ้ำในช่วงหนึ่งปีแรก ดังนั้นกลุ่มที่เคยพยำยำมฆ่ำตัวตำยไม่ ว่ำช่วงใดของชีวิตจะถือว่ำเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ต้องเฝ้ำระวังอย่ำงใกล้ชิดอย่ำง ต่อเนื่อง


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 32 ควำมเชื่อมโยงของเหตุกำรณ์ อธิบำยธรรมชำติธรรมชำติของพฤติกรรมฆ่ำ ตัวตำย ตั้งแต่มีปัจจัยเสี่ยงหรือสัมผัสปัจจัยเสี่ยงจนถึงสุดท้ำยของพฤติกรรม ฆ่ำตัวตำยซึ่งอำจจะเป็นเสียชีวิต บำดเจ็บ หรือไม่บำดเจ็บ แสดงให้เห็นดัง แสดงในภำพที่ 2 ภาพที่2 ธรรมชำติธรรมชำติของพฤติกรรมฆ่ำตัวตำย จำกธรรมชำติของพฤติกรรมกำรฆ่ำตัวตำยดังที่ได้อธิบำยมำนี้จะน ำไปสู่ ค ำถำมกำรวิจัยเพื่อหำค ำตอบให้เกิดควำมรู้ควำมเข้ำใจในพฤติกรรมกำรฆ่ำตัว ตำยให้มำกยิ่งขึ้น เช่น ปัจจัยเสี่ยงที่ท ำให้บุคคลมีแนวโน้มหรือมีโอกำสฆ่ำตัว ตำยมีอะไรบ้ำง ปัจจัยกระตุ้นหรือตัวกระตุ้นให้คนเกิดควำมคิดฆ่ำตัวตำยในคน ไทยมีอะไรบ้ำง ปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยกระตุ้นเหล่ำนั้นกระจำยตำมเวลำ สถำนที่ และบุคคลอย่ำงไร รวมถึงมีค ำถำมที่ส ำคัญเป็นค ำถำมที่นักวิจัยด้ำนกำรฆ่ำตัว ตำยหำค ำตอบมำตลอดจนในปัจจุบันยังไม่ได้ค ำตอบที่ชัดเจน คือ อะไรเป็น ปัจจัยหรือเป็นตัวก ำหนดในกำรเปลี่ยนจำกควำมคิดฆ่ำตัวตำยไปสู่กำร


ตัดสินใจลงมือกระท ำ (suicidal ideation to action) กำรพยำยำมสร้ำงโมเดล และทฤษฎีเพื่ออธิบำยและท ำนำยกำรฆ่ำตัวตำย ยังมีอยู่และเกิดขึ้นอย่ำง ต่อเนื่องในหลำยๆ ประเทศ


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 34 เอกสารอ้างอิง Bhopal, R. S. (2016). Concepts of epidemiology: integrating the ideas, theories, principles, and methods of epidemiology. Oxford University Press. Gerstman, B. B. (2013). Epidemiology kept simple: an introduction to traditional and modern epidemiology. John Wiley & Sons. Merrill, R. M., Frankenfeld, C. L., Freeborne, N., & Mink, M. (2016). Behaviorial epidemiology: Principles and applications. Jones & Bartlett Publishers.


บทที่6 สมมติฐานการฆ่าตัวตายในคนไทย ในบทนี้จะกล่ำวถึงสมมุติฐำนและโมเดลที่จะใช้อธิบำยอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัว ตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำยในคนไทย เพื่อเป็นกรอบส ำหรับทีมสอบสวนใน กำรรวบรวมข้อมูลจำกแหล่งข้อมูลต่ำงๆได้อย่ำงครบถ้วน และสำมำรถน ำมำ เป็นแนวทำงตั้งสมมุติฐำนเพื่อพิสูจน์กำรเกิดอุบัติกำรฆ่ำตัวตำยในรำยที่ก ำลัง สอบสวนอยู่ และเพื่อควำมเข้ำใจในสมมุติฐำนซึ่งอำศัยหลักกำรทำงระบำด วิทยำ ทีมสอบสวน จ ำเป็นจะต้องทรำบนิยำมค ำศัพท์เหล่ำนี้ 6.1 นิยามคา ศัพทท์สี่า คัญ สมมติฐาน (Hypothesis) สมมติฐำนคือ แนวคิดที่ได้รับกำรเสนอไว้เป็นค ำอธิบำยที่น่ำจะเป็นไปได้ ส ำหรับสถำนกำรณ์หรือเงื่อนไขเฉพำะ แต่ยังไม่ได้รับกำรพิสูจน์ว่ำถูกต้อง (Definition of hypothesis from Collins English Dictionary) สมมติฐำนเป็น ค ำอธิบำยที่เสนอไว้ส ำหรับปรำกฏกำรณ์หรือค ำถำมทำงวิทยำศำสตร์ที่ สำมำรถทดสอบได้ผ่ำนกำรวิจัยและกำรทดลอง เป็นส่วนพื้นฐำนของวิธีกำร ทำงวิทยำศำสตร์ โดยที่นักวิจัยก ำหนดสมมติฐำนตำมควำมรู้และทฤษฎีที่มีอยู่ ท ำกำรทดลองหรือรวบรวมข้อมูลเพื่อทดสอบ จำกนั้นจึงวิเครำะห์ผลลัพธ์เพื่อ สนับสนุนหรือหักล้ำงสมมติฐำน ปัจจัยเสี่ยง (Risk factor) ปัจจัยเสี่ยงคือ สิ่งที่เพิ่มโอกำสกำรเกิดโรค (National cancer institute’s dictionary) หรือ ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับกำรเพิ่มควำมเสี่ยง (Risk) ของกำรเป็น


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 36 โรคและกำรติดเชื้อ (Vaz, 2005) ซึ่งควำมเสี่ยง (Risk) คือควำมน่ำจะเป็นที่จะ เกิดเหตุกำรณ์ไม่พึงประสงค์ ปัจจัยเสี่ยงอำจเป็นสำเหตุ (cause) หรืออำจไม่ใช่ ปัจจัยเสี่ยงเป็นเพียงตัวพยำกรณ์โรค ซึ่งไม่จ ำเป็นว่ำปัจจัยเหล่ำนั้นท ำให้เกิด โรค (Fletcher, 2014; 2019) ดังนั้นปัจจัยเสี่ยงของกำรฆ่ำตัวตำยจึงหมำยถึง ตัวแปรหรือสิ่งที่เพิ่มโอกำสหรือควำมน่ำจะเป็นที่จะเกิดพฤติกรรมฆ่ำตัวตำย (กำรคิด กำรวำงแผนและกำรกระท ำ) ปัจจัยกระตุ้น (Precipitating factor) ปัจจัยกระตุ้น คือปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกำรเริ่มต้นของกำรเจ็บป่ วย เกิดโรค อุบัติเหตุ หรือกำรตอบสนองทำงพฤติกรรม (medical conditions dictionary) โดยทั่วไป precipitating factors คือสิ่งที่กระตุ้น(Trigger) ให้เริ่มเกิดโรคหรือ กำรเจ็บป่ วย (onset of health issues) เป็นปัจจัยที่ท ำให้เรำทรำบว่ำ ท ำไมคน นี้ถึงมีอำกำรตอนนี้ (Bolton, 2014) ปัจจัยกระตุ้นของพฤติกรรมฆ่ำตัวตำยจึง หมำยถึง ปัจจัยที่ท ำให้เริ่มต้นเกิดควำมคิดวำงแผนหรือลงมือกระท ำฆ่ำตัวตำย ปัจจัยปกป้อง (Protective factors) ปัจจัยปกป้องหมำยถึงปัจจัยที่ลดโอกำสเกิดโรค แต่ไม่รับประกันว่ำบุคคล จะไม่เป็นโรค (Beale,2017) ปัจจัยปกป้องพฤติกรรมฆ่ำตัวตำยจึงเป็นปัจจัย หรือคุณลักษณะที่ท ำให้บุคคลมีโอกำสน้อยที่จะคิดฆ่ำตัวตำย พยำยำมฆ่ำตัว ตำย หรือเสียชีวิตจำกกำรฆ่ำตัวตำย อุบัติการณ์ (Incident) อุบัติกำรณ์หมำยถึงเหตุกำรณ์หรือกำรเกิดขึ้นที่ไม่ได้คำดคิดหรือทันทีทันใด ซึ่งอำจก่อให้เกิดอันตรำย ควำมเสียหำย หรือกำรเปลี่ยนแปลงทันทีทันใดต่อ บุคคล องค์กร หรือระบบ


6.2 โมเดล 5 ปัจจัยอธิบายการเกิดอุบัติการณ์ฆ่าตัวตายและพยายามฆ่า ตัวตายในคนไทย สมมุติฐำนที่ใช้อธิบำยกำรฆ่ำตัวตำยในคนไทย ที่เรียกว่ำ “โมเดล 5 ปัจจัย ของกำรฆ่ำตัวตำย (TK’s Five Factors model of suicide)” ได้เสนอเป็นกรอบ ควำมคิด โดยนำยแพทย์ธรณินทร์ กองสุข ในปีพ.ศ. 2560 ในช่วงที่ท ำงำนใน เขตสำธำรณสุขที่ 1 ประกอบด้วย จังหวัดเชียงใหม่ เชียงรำย ล ำพูน ล ำปำง แพร่ น่ำน พะเยำ และแม่ฮ่องสอน ซึ่งเป็นเขตสุขภำพที่มีอัตรำกำรฆ่ำตัวตำยสูง ที่สุดในประเทศไทย และบำงจังหวัดในเขตสุขภำพนี้มีอัตรำกำรฆ่ำตัวตำยสูง ต่อเนื่องหลำยปี สมมติฐำนนี้เกิดจำกข้อเท็จจริงที่ได้จำกประสบกำรณ์ในกำร ดูแลรักษำผู้พยำยำมฆ่ำตัวตำย กำรให้กำรปรึกษำช่วยเหลือเยียวยำญำติและผู้ ได้รับผลกระทบจำกเหตุกำรณ์ฆ่ำตัวตำย กำรประชุมหำรือทำงกำรแพทย์รำย กรณีฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำย (suicide and suicide attempt case conference) ร่วมกับหลักฐำนเชิงประจักษ์ที่ได้จำกกำรวิเครำะห์ข้อมูลใน รำยงำนกำรเฝ้ำระวังพฤติกรรมท ำร้ำยตนเองทั้งกรณีเสียชีวิตและไม่เสียชีวิตที่ อยู่ในระบบรำยงำน รง 506S ของกระทรวงสำธำรณสุข รวมทั้งรำยงำนกำร สอบสวนกรณีฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำตัวตำยของทีมสอบสวนที่ผ่ำนกำร ฝึกอบรมหลักสูตรกำรสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำย พยำยำมฆ่ำตัวตำยและ กำรกระท ำรุนแรงที่มุ่งตนเอง (SDV) ซึ่งกระจำยประจ ำอยู่ในจังหวัดต่ำงๆ สมมติฐำนโดย โมเดล 5 ปัจจัยกำรฆ่ำตัวตำย (TK’s Five Factors model of suicide) เสนอว่ำ อุบัติกำรณ์กำรฆ่ำตัวตำยหรือพยำยำมฆ่ำตัวตำยที่ไม่ได้ เป็นกำรอุทิศตนต่อควำมเชื่อ ศำสนำหรือพลีชีพเพื่อชำติ กลุ่ม หรือเผ่ำพันธุ์ จะ เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีครบ 5 เงื่อนไขปัจจัยดังต่อไปนี้ 1) มีปัจจัยเสี่ยง ที่ท ำให้ บุคคลมีควำมไว(susceptibility) หรือมีควำมอ่อนแอของร่ำงกำยและ/หรือ


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 38 จิตใจ 2) มีปัจจัยกระตุ้น ที่ท ำให้คิดฆ่ำตัวตำยและตัดสินใจกระท ำ 3) กำรเฝ้ำ ระวังล้มเหลว (หมำยถึง กำรเฝ้ำระวังสัญญำณเตือนฆ่ำตัวตำย) 4) ด่ำนกั้น ล้มเหลว (หมำยถึง ด่ำนกั้นกำรเข้ำถึงวัสดุอุปกรณ์สำรพิษหรือสถำนที่ที่ใช้ฆ่ำ ตัวตำย) และ 5)ปัจจัยปกป้องอ่อนแอ หำกมีเพียงปัจจัยใดปัจจัยหนึ่ง หรือไม่ ครบทั้ง 5 เงื่อนไขปัจจัย อุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยหรือพยำยำมฆ่ำตัวตำยจะไม่ เกิดขึ้น ดังแสดงในภำพที่ 3 ภาพที่3 โมเดล 5 ปัจจัยอธิบำยกำรเกิดอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำยและพยำยำมฆ่ำ ตัวตำยในคนไทย


ปัจจัยเสี่ยงของพฤติกรรมฆ่าตัวตาย ปัจจัยเสี่ยงของพฤติกรรมฆ่ำตัวตำยที่มีหลักฐำนสนับสนุนเข้มแข็ง และหำก มีหรือเกิดขึ้นกับบุคคลใด จะมีโอกำสสูงกว่ำคนทั่วไปในกำรเกิดพฤติกรรมกำร ฆ่ำตัวตำย แบ่งเป็น 6 หมวด ดังต่อไปนี้ 1. กำรเจ็บป่ วยด้วยโรคจิตเวช (Turecki, 2019; Favril, 2022; Miola, 2023) ได้แก่ โรคซึมเศร้ำ (Major depressive disorder) โรคไบโพล่ำร์ (bipolar disorders) โรคจิตเภท (Schizophrenia) โรคบุคลิกภำพผิดปกติ (Personality disorders) โรควิตกกังวล (anxiety disorders) 2. กำรติดสุรำหรือสำรเสพติด (Ullman, 2021; Favril, 2022) ได้แก่ สุรำ (Alcohol use disorders), กัญช ำ cannabis use disorders, ยำนอนห ลับ (sedative or hypnotic use disorders), สำรเสพติดผิดกฎหมำยอื่นๆ (Illicit Substances use disorders) 3. กำรเจ็บป่ วยด้วยโรคทำงกำยรุนแรงเรื้อรัง (อนุพงศ์ บุญมำ; 2556; Turecki,2019) ได้แก่ อัมพำต/โรคหลอดเลือดสมอง มะเร็งในทุกอวัยวะ โรค ตับเรื้อรัง ไตวำยเรื้อรัง พิกำร โรคปวดศีรษะเรื้อรัง โรคปวดเรื้อรัง และหำกมีกำร ป่ วยทำงกำย ร่วมกับกำรเจ็บป่ วยทำงจิตเวชจะยิ่งเพิ่มควำมเสี่ยงกำรเกิด พฤติกรรมฆ่ำตัวตำย (Kavalidou, 2016) 4.บุคลิกภำพหุนหันพลันแล่น (aggressive impulsive trait) และนิยมควำม สมบูรณ์แบบ (perfectionism) (Turecki, 2019) 5. เคยพยำยำมฆ่ำตัวตำยหรือบุคคลในครอบครัวเคยมีพฤติกรรมฆ่ำตัว ตำย (Turecki, 2019; Ullman,2021; Favril, 2022)


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 40 6. ประสบเหตุกำรณ์เลวร้ำยในวัยเด็ก: Childhood trauma or early life adversity ทั้งกำรถูกทอดทิ้ง (Neglect) และถูกล่วงละเมิดหรือทำรุณกรรม (Abuse) ทำงร่ำงกำย จิตใจ และทำงเพศ มีควำมสัมพันธ์อย่ำงมำกกับ พฤติกรรมฆ่ำตัวตำยในชีวิตต่อมำภำยหลัง (Turecki, 2019; Ullman,2021; Rogerson,2024) ปัจจัยกระตุ้น (Precipitating factors) หรือตัวกระตุ้น (Trigger) ปัจจัยกระตุ้นที่เป็นตัวท ำให้เกิดกำรเริ่มต้นของพฤติกรรมกำรฆ่ำตัวตำย เช่น กำรคิดฆ่ำตัวตำย กำรวำงแผนและกำรตัดสินใจกระท ำฆ่ำตัวตำย ปัจจัย กระตุ้นที่มีหลักฐำนสนับสนุนเข้มแข็ง แบ่งเป็น 4หมวด ได้ดังนี้ 1. วิกฤตในชีวิต หรือ Stressful life event ได้แก่ กำรสูญเสียสัมพันธภำพ กับคนที่รักหรือคนส ำคัญในชีวิต ตกงำน ถูกกีดกันทำงสังคมหรือโดดเดี่ยวทำง สังคม (Social isolation) (Turecki,2019) ควำมขัดแย้งในครอบครัว (Familyrelated conflict) ควำมขัดแย้งในควำมสัมพันธ์ (Relationship conflict) ปั ญหำด้ำนกฎหมำยถูกฟ้องร้องมีคดีควำม ปั ญหำกำรเงิน(Financial problems) ปัญหำกำรเรียนหรือที่โรงเรียน (Favril,2022) กำรถูกบูลลี่รวมถึงใน ไซเบอร์หรือโซเชียลมีเดีย (Korczak, 2015; Zhu, 2023) ซึ่งโดยรวม stressful life events สัมพันธ์กับกำรเสียชีวิตจำกกำรฆ่ำตัวตำย OR 2.18 95%CI (1.63, 2.93) number of effect size =23 (Franklin, 2017) และถ้ำมีเหตุวิกฤติในชีวิต ที่ประมินว่ำเป็นกำรพ่ำยแพ้ (defeated) และ/หรือ ท ำให้อับอำยขำยหน้ำ อัปยศอดสู(Humiliation) ร่วมกับบุคคลนั้นขำดทักษะกำรเผชิญปัญหำและ แก้ไขปัญหำก็จะท ำให้รู้สึกอับจนหนทำง ไม่มีทำงออก และถ้ำมีควำมรู้สึกโดด เดี่ยวแปลกแยก หรือ ควำมรู้สึกว่ำเป็นภำระต่อผู้อื่น รวมถึงขำดเป้ำหมำย/


เหตุผลที่มีชีวิตอยู่และขำดกำรช่วยเหลือทำงสังคม บุคคลนั้นก็จะมีโอกำสสูงที่ จะเกิดควำมคิดฆ่ำตัวตำย (O’Connor, 2018) 2.อำกำรทำงจิตก ำเริบ: โดยเฉพำะโรคซึมเศร้ำหำกไม่ได้รับกำรรักษำหรือ ขำดกำรรักษำ อำจมีอำกำรอย่ำงหนึ่งคือคิดถึงเรื่องกำรตำยอยู่ซ ้ำๆหรือคิดฆ่ำ ตัวตำย ซึ่งจะน ำไปสู่กำรกระท ำฆ่ำตัวตำยได้หำกมีเงื่อนไขที่เหมำะสมครบถ้วน รวมถึงโรคจิตเภทหำกไม่ได้รับกำรรักษำหรือขำดกำรรักษำจนมีอำกำรก ำเริบ เกิดมีหูแว่วหรือเสียงสั่งให้ท ำร้ำยตนเองหรือฆ่ำตัวตำย 3. พิษของสำรเสพติด: มีสำรเสพติดหลำยตัวท่ีออกฤทธิ์หลอนประสำททำ ให้เกิดพฤติกรรมกำรฆ่ำตัวตำยได้ เช่น กำรใช้กัญชำในวัยรุ่นมีควำมเสี่ยงต่อ suicidal attempt OR 3.46 (95% CI, 1.53-7.84, I2 = 61.3%) (Gobbi, 2019) 4. รับทรำบข่ำวกำรฆ่ำตัวตำย: กำรทรำบข่ำวกำรฆ่ำตัวตำยของคนที่รัก คน ใกล้ชิด หรือคนที่ชื่นชอบ หรือแม้แต่กำรเสพข่ำวน ำเสนอกำรฆ่ำตัวตำยจำกทีวี หรือโซเชียลมีเดียซ ้ำๆ หลำยๆ ครั้ง พบบ่อยว่ำเป็นตัวกระตุ้น (Trigger) ให้ผู้ที่มี ควำมคิดฆ่ำตัวตำยหรือมีควำมปรำรถนำที่จะตำยอยู่แล้วตัดสินใจกระท ำกำร ฆ่ำตัวตำย (O’Connor, 2018) ปัจจัยปกป้อง (Protective factors) ปัจจัยที่มีหลักฐำนสนับสนุนเข้มแข็งว่ำสัมพันธ์กับกำรลดโอกำสเกิด พฤติกรรมฆ่ำตัวตำย แบ่งได้ 6 หมวดดังต่อไปนี้ 1. ระดับบุคคล: ทักษะกำรเผชิญและแก้ไขปัญหำ (Coping and problemsolving skill) (McAuliffe, 2006) 2. ระดับครอบครัวและกลุ่มเพื่อน: สัมพันธภำพที่อบอุ่นแน่นแฟ้น และกำรมี เพื่อนสนิทที่คอยช่วยเหลือ


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 42 สนับสนุนซึ่งกันและกัน จะลดควำมทุกข์ใจเมื่อเผชิญปัญหำและรู้สึกไม่อับจน หนทำงได้ง่ำย 3. ระดับชุมชน: ชุมชนเข้มแข็งมีกำรสนับสนุนช่วยเหลือกันดี (social support) และมีกำรเชื่อมควำมสัมพันธ์ที่ดี (connectedness) หมำยถึง ระดับ ที่บุคคลหรือกลุ่มคนมีควำมใกล้ชิดกันทำงสังคม มีควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกัน หรือแบ่งปันทรัพยำกรกับบุคคลหรือกลุ่มอื่นๆ รวมควำมถึง social support, social participation, social isolation, social integration, social cohesion, and social capital. ปัจจัยเหล่ำนี้จะช่วยป้องกันและยับยั้งพฤติกรรมกำรฆ่ำ ตัวตำย (U.S. Centers for Disease Control and Prevention, 2013.) 4. ระดับระบบบริกำรสำธำรณสุข: กำรเข้ำถึงบริกำรที่สะดวกและคุณภำพ กำรดูแลรักษำที่ต่อเนื่องจนหำยทุเลำหรือลดควำมพิกำร โดยเฉพำะระบบ บริกำรสุขภำพจิต (Turecki, 2019) ระบบสำธำรณสุขที่เกี่ยวข้องกับกำรป้องกัน แก้ไขปัญหำฆ่ำตัวตำยของประเทศไทย ที่ทีมสอบสวนอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัวตำย ต้องให้ควำมส ำคัญในกำรหำข้อมูลที่เป็ นจุดบกพร่องของระบบเพื่อให้ ข้อเสนอแนะส ำหรับปรับปรุงพัฒนำป้องกันกำรเกิดซ ้ำของอุบัติกำรณ์ฆ่ำตัว ตำย ได้แก่ 1) ระบบแจ้งเตือนและช่วยเหลือกรณีกระท ำรุนแรงต่อตนเองหรือฆ่ำตัวตำย 2) ระบบเฝ้ำระวังและติดตำมกลุ่มเสี่ยงและผู้ที่เคยพยำยำมฆ่ำตัวตำย 3) ระบบคัดกรองและบ ำบัดรักษำผู้ติดสุรำและผู้ติดสำรเสพติด 4) ระบบดูแลเฝ้ำระวังโรคซึมเศร้ำ 5) ระบบดูแลเฝ้ำระวังโรคจิตเภท


ซึ่งระบบทั้ง 5 นี้ ต่ำงมีแนวทำงมำตรฐำนในกำรปฏิบัติพบบ่อยว่ำอุบัติกำรณ์ ฆ่ำตัวตำยที่เกิดขึ้นนั้นเกี่ยวข้องกับระบบเหล่ำนี้มีจุดบกพร่อง เช่น มำตรฐำน กำรดูแลผู้ป่ วยโรคซึมเศร้ำมีข้อแนะน ำส ำหรับผู้ป่ วย Major depressive disorder เป้ำหมำยส ำคัญในกำรรักษำคือต้องให้อำกำรของโรคหำยสนิท (เช่น คะแนนประเมินด้วย 9Q<7) และผู้ป่ วยต้องได้รับยำอย่ำงต่อเนื่อง 6-9 เดือน หลังจำกอำกำรทุเลำ(remission) จึงสำมำรถลดอำกำรกลับซ ้ำได้อย่ำงมี ประสิทธิผล แต่ในกำรดูแลรักษำโรคซึมเศร้ำในระบบสำธำรณสุขบำงพื้นที่ขำด ระบบกำรติดตำมต่อเนื่อง ท ำให้ผู้ป่ วยโรคซึมเศร้ำขำดนัด ไม่ได้รับยำอย่ำง ต่อเนื่องจนครบ 6 -9 เดือน ส่งผลให้ผู้ป่ วยมีอำกำรก ำเริบรุนแรงจนเกิดมี ควำมคิดฆ่ำตัวตำยและน ำไปสู่กำรฆ่ำตัวตำยส ำเร็จในที่สุด เช่นเดียวกับกำร ดูแลรักษำผู้ป่ วยโรคจิตเภท โรคติดสุรำ โรคติดสำรเสพติดต่ำงๆ ต้องรักษำจน ให้หำยทุเลำและต้องติดตำมอย่ำงต่อเนื่องป้องกันกำรกลับซ ้ำ กิจกรรมดังกล่ำว นี้ที่จริงแล้วก็คือกำรลดหรือขจัดปัจจัยเสี่ยงของกำรฆ่ำตัวตำยนั่นเองเนื่องจำก กำรเจ็บป่ วยด้วยโรคจิตเวชเหล่ำนี้เป็นปัจจัยเสี่ยงส ำคัญของกำรฆ่ำตัวตำย และอำกำรของโรคก ำเริบก็เป็นตัวกระตุ้น(Triggers) ให้ผู้ป่ วยเกิด พฤติกรรม ฆ่ำตัวตำย 5. ระดับสังคม ควำมคิดควำมเชื่อและศำสนำ: ในสังคมที่ปลูกฝังควำมคิด ควำมเชื่อ อย่ำงจริงจังเข้มข้น ว่ำกำรฆ่ำตัวตำยเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องสังคมไม่ ยอมรับ จะเป็นปัจจัยปกป้องลดกำรฆ่ำตัวตำย ดังจะเห็นได้จำกประเทศ อิสลำมซึ่งมีแนวโน้มที่จะแสดงอัตรำกำรฆ่ำตัวตำยต ่ำกว่ำประเทศอื่นๆ ในโลก (Lester 2006; Shah & Chandia, 2010) และข้อมูลจำก WHO (2014) ชัดเจน ว่ำในปี ค.ศ. 2012 ภูมิภำคเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก ซึ่งเป็นภูมิภำคที่มีชำว


Suicide and Suicide attempt incident investigation, new approach. 44 มุสลิมปกครอง มีอัตรำกำรฆ่ำตัวตำยโดยประมำณต ่ำที่สุดแห่งหนึ่ง อิสลำม หมำยถึงกำรคล้อยตำมต่อพระเจ้ำ กำรยอมรับคล้อยตำมนี้ท ำให้ท้ำยที่สุดแล้ว พระเจ้ำคือผู้ตัดสินทุกสิ่ง ด ำเนินกำรตำมค ำสั่งสอนหรือข้อควำมแห่งเหตุผล ศำสนำอิสลำมสอนให้ชำวมุสลิมเชื่อในกำรสถิตอยู่ของพระเจ้ำและในกำร พิพำกษำครั้งสุดท้ำยของพระเจ้ำ กำรฆ่ำตัวตำยถือเป็นสิ่งต้องห้ำมในศำสนำ อิสลำม ตรรกะเบื้องหลังข้อห้ำมนี้คือ มีกำรกระท ำที่ควบคุมก ำกับสิ่งต่ำงๆ รวมทั้งชีวิต ซึ่งหมำยถึงเป็นเพียงควำมสนใจของพระเจ้ำเท่ำนั้น นอกจำกนี้ ยัง บ่งชี้ถึงกำรขำดควำมไว้วำงใจในพระเจ้ำผู้ทรงสำมำรถท ำให้สิ่งต่ำงๆ ดีขึ้นได้ (Okashar in Wasserman, 2020) ในโองกำรหนึ่ง อัลกุรอำนกล่ำวว่ำ 'บรรดำผู้ ที่ศรัทธำและผู้ที่มีจิตใจมุ่งมั่นด้วยกำรร ำลึกถึงอัลลอฮ์; บัดนี้โดยกำรร ำลึก ถึงอัลลอฮ์ท ำให้หัวใจได้สงบลงอย่ำงแน่นอน' ซึ่งเป็นตัวอย่ำงหนึ่งที่อิสลำม พยำยำมจัดกำรกับควำมทุกข์ทำงจิตใจและหรือทำงอำรมณ์ แนวทำงปฏิบัติที่ ส ำคัญที่สุดอย่ำงหนึ่งในศำสนำอิสลำมคือกำรละหมำดซึ่งปกติจะสวดมนต์ห้ำ ครั้งต่อวัน เป็นช่วงเวลำเฉพำะที่ชำวมุสลิมใช้เวลำในกำรถวำยเกียรติแด่พระ เจ้ำ นอกจำกนี้ ผู้น ำอิสลำมหรือที่รู้จักกันในชื่อ “อิหม่ำม” ยังให้กำรช่วยเห็น สมำชิกในที่ประชุมในเรื่องต่ำงๆ ไม่เพียงแต่เรื่องศำสนำและจิตวิญญำณ เท่ำนั้น แต่ยังรวมถึงปัญหำส่วนตัว สังคม และจิตเวชด้วย (Ali et al., 2005) แต่ อย่ำงไรก็ตำมศำสนำอิสลำมดูเหมือนจะระงับยับยั้งกำรฆ่ำตัวตำยได้ แต่ไม่ใช่ ควำมคิดฆ่ำตัวตำย ข้อสังเกตนี้สนับสนุนจำกกำรค้นพบว่ำ ผู้ป่ วยโรคซึมเศร้ำ ในคูเวต ร้อยละ58 มีควำมคิดฆ่ำตัวตำย แต่มีเพียงร้อยละ11เท่ำนั้นที่กระท ำ ฆ่ำตัวตำย (Leff, 1986)


Click to View FlipBook Version