The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mrs.pasingsee, 2022-09-11 06:36:56

หลักสูตรไทย64

หลักสูตรไทย64



หลักสูตรสถานศกึ ษา

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

(ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑)

วิสยั ทศั น์

โรงเรียนแก้วอนิ ทร์สธุ าอุทศิ เปน็ องค์กรแห่งการเรยี นรู้ โดยจดั การศึกษาให้นักเรียนมีความรู้คู่
คุณธรรม มีวินัย ส่งเสริมสนบั สนนุ กจิ กรรม อนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและสิง่ แวดล้อม พัฒนาคุณภาพ
การศึกษาให้ได้มาตรฐานภายใตป้ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

พนั ธกจิ

1. ทกุ ฝ่ายมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาองค์กรใหเ้ ปน็ องค์กรแหง่ การเรยี นรู้
2. ร่วมมอื กนั ทุกฝา่ ยจดั การศึกษาระดับปฐมวัย โดยเนน้ พัฒนาการดา้ น ร่างกาย สตปิ ญั ญา
อารมณ์ จติ ใจ และสังคมให้เปน็ ไปตามพฒั นาการร่วมมอื กับทกุ ฝา่ ยจดั การศึกษาระดบั
ประถมศึกษา โดยเนน้ ความรู้ความสามารถด้านภาษาไทย
ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยแี ละสิ่งแวดลอ้ ม งานอาชพี มี
สนุ ทรียภาพด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ
3. พัฒนาผ้เู รยี นให้มวี นิ ยั ในตนเอง มีคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ มทพ่ี ึงประสงค์ มีความ
รบั ผิดชอบ ขยัน ประหยัด ซอ่ื สตั ย์ และอดทนรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
4. สรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมือในชมุ ชนใหเ้ กิดความพึงพอใจตอ่ การจดั การศึกษาเนน้ การ
ประชาสัมพนั ธ์ ปลูกจิตสานกึ รับผิดชอบตอ่ สังคมและสาธารณะ อนรุ ักษ์สิ่งแวดล้อมรว่ มกบั ชุมชน

เป้าประสงค์

เพอื่ ใหร้ ะบบการบริหารการจัดการทางการศึกษาเกิดประสทิ ธิภาพ ครูและบุคลากรทางการศึกษามี
ศักยภาพเปน็ มืออาชีพ ผ้เู รียนมคี วามรู้ มคี ุณธรรม มีทกั ษะในการดารงชีวิตในสงั คมอย่างมีความสุข

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

หลกั สตู รสถานศึกษาของโรงเรยี นแก้วอินทร์สธุ าอุทิศ พุทธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 มงุ่ พฒั นาผ้เู รียน ใหม้ ีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เพือ่ ให้
สามารถอย่รู ่วมกบั ผอู้ ่ืนในสงั คมได้อยา่ งมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองและพลโลก ดงั น้ี

หลกั สตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ



1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซื่อสัตยส์ จุ รติ
3. มวี ินยั
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อย่อู ย่างพอเพยี ง
6. ม่งุ ม่นั ในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

ค่านิยม 12 ประการ

1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2. ซือ่ สัตย์ เสยี สละ อดทน
3. กตัญญตู อ่ พ่อแม่ผู้ปกครองครูบาอาจารย์
4. ใฝ่หาความรู้ หม่นั ศกึ ษาเล่าเรียน
5. รกั ษาวฒั นธรรมประเพณีไทย
6. มศี ลี ธรรม มนี ้าใจและแบ่งปัน
7. เขา้ ใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์เปน็ ประมขุ
8. มีระเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย เคารพผูใ้ หญ่
9. มีสติร้ตู วั ร้คู ดิ ร้ทู า
10. รจู้ ักใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
11. เขม้ แข็งท้ังกายและใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝา่ ยต่า
12. คดิ ถงึ ประโยชน์ส่วนรวมมากกวา่ ประโยชน์สว่ นตน

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น

หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนแก้วอินทร์สุธาอุทิศ พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มงุ่ พัฒนาผู้เรียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้
ซ่ึงการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดน้ัน จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5
ประการ ดงั นี้

1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและสง่ สาร มีวฒั นธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมูล
ขา่ วสารและประสบการณ์อันจะเปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสงั คม รวมท้ังการเจรจาตอ่ รองเพื่อ
ขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักการเหตุผลและความ
ถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้ วิธีการส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและ
สังคม

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ



2. ความสามารถในการคดิ เป็นความสามารถในการวิเคราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพื่อนาไปส่กู ารสร้างองค์ความรูห้ รอื สารสนเทศ
เพอ่ื การตัดสินใจเกยี่ วกบั ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆที่เผชิญได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักการเหตุผลคุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์การ
เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
และมกี ารติดสนิ ใจท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบทเ่ี กดิ ขึ้นตอ่ ตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการตา่ งๆไปใชใ้ นการ
ดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนร้ดู ้วยตนเอง การเรียนรอู้ ย่างตอ่ เน่ือง การทางานและการอยู่รว่ มกันในสังคมด้วย
การสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆอย่างเหมาะสม การ
ปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่
ส่งผลกระทบต่อตนเองและผอู้ ่นื

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื กและใช้เทคโนโลยดี ้านต่างๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ
ทางาน การแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์ถกู ตอ้ งเหมาะสมและมีคุณธรรม

วิสัยทศั นก์ ลุ่มสาระการเรยี นรู้
ภาษาไทย

วิสัยทศั น์กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทยม่งุ
พัฒนาในเรอ่ื งการใชภ้ าษาไทยซง่ึ เปน็ เอกลักษณข์ อง
ชาติ โดยมุง่ อนรุ กั ษไ์ วเ้ ป็นสมบตั ทิ างวฒั นธรรมอนั
กอ่ ใหเ้ กดิ ความเปน็ เอกภาพและเสรมิ สรา้ งบคุ ลกิ ภาพ
ของคนในชาติ ความคดิ ของมนุษย์ กฎเกณฑท์ าง
ภาษา ตลอดจนการพฒั นาทกั ษะในการพดู ฟงั อ่าน
เขียนทถ่ี กู ตอ้ ง

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นแกว้ อนิ ทร์สุธาอทุ ิศ



กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ทาไมตอ้ งเรียนภาษาไทย

ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพแล ะเสริมสร้าง
บุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อส่ือสารเพื่อสร้างความเข้าใจและ
ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดารงชีวิตร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้
อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนา
ความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคม และ
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความม่ันคงทางเศรษฐกิจ
นอกจากนี้ยงั เป็นส่ือแสดงภมู ิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวฒั นธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็นสมบตั ิล้าค่า
ควรแก่การเรยี นรู้ อนุรกั ษ์ และสบื สานใหค้ งอยคู่ ชู่ าติไทยตลอดไป

เรียนรอู้ ะไรในภาษาไทย

ภาษาไทยเป็นทักษะท่ีต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพื่อการส่ือสาร การเรียนรู้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และเพือ่ นาไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ

 การอ่าน การอ่านออกเสียงคา ประโยค การอ่านบทรอ้ ยแก้ว คาประพันธ์ชนิดต่างๆ การอ่าน
ในใจเพ่ือสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากส่ิงที่อ่าน เพ่ือนาไป ปรับใช้ใน
ชวี ิตประจาวัน

 การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนส่ือสาร โดยใชถ้ ้อยคาและรูปแบบตา่ งๆ ของการเขียน
ซ่งึ รวมถงึ การเขยี นเรยี งความ ย่อความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะห์วิจารณ์ และเขียน
เชงิ สร้างสรรค์

 การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอยา่ งมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก
พูดลาดับเรื่องราวต่างๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสต่างๆ ทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และ
การพดู เพือ่ โน้มน้าวใจ

 หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสมกับ
โอกาสและบคุ คล การแตง่ บทประพันธป์ ระเภทต่างๆ และอทิ ธิพลของภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

 วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือศึกษาข้อมูล แนวความคิด คุณค่า
ของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทาความเข้าใจบทเห่ บทร้องเล่นของเด็ก เพลงพื้นบ้านที่
เป็นภูมิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย ซ่ึงได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราวของ
สงั คมในอดตี และความงดงามของภาษา เพ่อื ให้เกิดความซาบซงึ้ และภูมิใจ ในบรรพบุรุษท่ไี ด้ส่ังสมสืบทอดมา
จนถึงปจั จุบัน

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นแกว้ อนิ ทร์สุธาอุทศิ



สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระท่ี ๑ การอา่ น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอื่ นาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนิน

ชีวติ และมีนสิ ยั รักการอา่ น

สาระท่ี ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ

เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อย่าง มีประสิทธภิ าพ

สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สึก

ในโอกาสตา่ งๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์

สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมิ

ปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของชาติ

สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คณุ คา่ และนามา
ประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตจรงิ

คุณภาพผู้เรยี น

จบชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓

 อ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง ข้อความ เรื่องส้ันๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูกต้องคล่องแคล่ว
เข้าใจความหมายของคาและข้อความท่ีอ่าน ตั้งคาถามเชิงเหตุผล ลาดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุป
ความรู้ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน ปฏิบัติตามคาสั่ง คาอธิบายจากเรื่องท่ีอ่านได้ เข้าใจความหมายของข้อมูลจาก
แผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ อา่ นหนังสอื อย่างสม่าเสมอ และ มมี ารยาทในการอ่าน

 มที กั ษะในการคดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัด เขยี นบรรยาย บันทึกประจาวัน เขยี นจดหมายลาครู
เขียนเรอื่ งเกยี่ วกบั ประสบการณ์ เขยี นเร่อื งตามจนิ ตนาการและมมี ารยาทในการเขยี น

 เล่ารายละเอียดและบอกสาระสาคัญ ตง้ั คาถาม ตอบคาถาม รวมทั้งพูดแสดงความคิดความรู้สึก
เก่ียวกับเรือ่ งที่ฟังและดู พูดส่อื สารเล่าประสบการณ์และพูดแนะนา หรือพูดเชิญชวนให้ผอู้ ่ืนปฏิบัติตาม และมี
มารยาทในการฟงั ดู และพดู

 สะกดคาและเขา้ ใจความหมายของคา ความแตกตา่ งของคาและพยางค์ หน้าท่ขี องคา ในประโยค
มีทักษะการใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคา แต่งประโยคง่ายๆ แต่ง คาคล้องจอง แต่งคา
ขวญั และเลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถิน่ ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอุทศิ



 เข้าใจและสามารถสรุปข้อคิดท่ีไดจ้ ากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเพอ่ื นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีท่ีอ่าน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ซึ่งเป็นวัฒนธรรมของท้องถ่ิน ร้องบท
ร้องเลน่ สาหรบั เดก็ ในทอ้ งถนิ่ ท่องจาบทอาขยานและบทร้อยกรอง ทีม่ ีคุณคา่ ตามความสนใจได้

จบชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖
 อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถกู ต้อง อธิบายความหมายโดยตรง
และความหมายโดยนัยของคา ประโยค ข้อความ สานวนโวหาร จากเร่ืองท่ีอ่าน เข้าใจคาแนะนา คาอธิบาย
ในค่มู อื ต่างๆ แยกแยะข้อคิดเหน็ และข้อเท็จจริง รวมทง้ั จับใจความสาคัญของเร่ืองท่อี ่านและนาความรู้ความคิด
จากเร่ืองทอี่ ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตได้ มีมารยาทและมนี ิสัยรกั การอ่าน และเห็นคณุ ค่า
สิง่ ที่อา่ น
 มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนสะกดคา แต่งประโยคและเขียน
ข้อความ ตลอดจนเขียนส่ือสารโดยใช้ถ้อยคาชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพ โครงเร่ืองและแผนภาพความคิด
เพื่อพัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ ย่อความ จดหมายส่วนตัว กรอกแบบรายการต่างๆ เขียนแสดง
ความรูส้ ึกและความคดิ เห็น เขยี นเรื่องตามจินตนาการอย่างสรา้ งสรรค์ และมีมารยาทในการเขยี น
 พูดแสดงความรู้ ความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู เล่าเรื่องย่อหรือสรุปจากเร่ืองท่ีฟังและดู ต้ัง
คาถาม ตอบคาถามจากเรื่องที่ฟังและดู รวมท้ังประเมินความน่าเช่ือถือจากการฟังและดูโฆษณาอย่างมีเหตุผล
พูดตามลาดับข้ันตอนเร่ืองตา่ งๆ อย่างชดั เจน พูดรายงานหรือประเด็นคน้ คว้าจาก การฟัง การดู การสนทนา
และพูดโนม้ น้าวได้อยา่ งมีเหตผุ ล รวมทั้งมมี ารยาทในการดูและพดู
 สะกดคาและเข้าใจความหมายของคา สานวน คาพังเพยและสุภาษิต รู้และเข้าใจ ชนิดและ
หนา้ ทขี่ องคาในประโยค ชนิดของประโยค และคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้ คาราชาศัพท์และคา
สุภาพไดอ้ ยา่ งเหมาะสม แต่งประโยค แตง่ บทรอ้ ยกรองประเภทกลอนส่ี กลอนสภุ าพ และกาพยย์ านี ๑๑
 เข้าใจและเห็นคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพ้ืนบ้าน ร้องเพลงพื้นบ้านของ
ท้องถ่ิน นาข้อคดิ เห็นจากเรอ่ื งทอ่ี ่านไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ จริง และทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดได้

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทร์สุธาอุทศิ



สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพือ่ นาไปใช้ตัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดาเนินชวี ติ

และมีนสิ ัยรกั การอ่าน

ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.๑ ๑. อ่านออกเสียงคา คาคลอ้ งจอง และข้อความ  การอา่ นออกเสยี งและบอกความหมายของคา คาคล้อง
สนั้ ๆ จอง และขอ้ ความทป่ี ระกอบดว้ ย คาพื้นฐาน คือ คาทีใ่ ช้

๒. บอกความหมายของคา และข้อความท่ีอ่าน ในชีวติ ประจาวนั ไมน่ อ้ ยกว่า ๖๐๐ คา รวมทัง้ คาท่ใี ช้

เรยี นรใู้ น กลมุ่ สาระการเรยี นรอู้ ืน่ ประกอบด้วย

- คาทมี่ ีรปู วรรณยกุ ต์และไม่มีรูปวรรณยุกต์

- คาท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา

- คาทม่ี ีพยญั ชนะควบกลา้

- คาที่มีอกั ษรนา

๓. ตอบคาถามเกีย่ วกับเรือ่ งที่อ่าน  การอ่านจบั ใจความจากสอ่ื ตา่ งๆ เชน่
๔. เลา่ เรอื่ งยอ่ จากเรื่องทอ่ี า่ น - นทิ าน
๕. คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเรื่องทอ่ี ่าน - เรอ่ื งสนั้ ๆ
- บทรอ้ งเลน่ และบทเพลง
๖. อ่านหนังสอื ตามความสนใจ อยา่ ง - เรอ่ื งราวจากบทเรยี นในกลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
สม่าเสมอและนาเสนอเรอ่ื งท่อี ่าน
และกลมุ่ สาระการเรยี นรู้อ่นื
๗. บอกความหมายของเคร่อื งหมาย หรอื
สัญลกั ษณส์ าคัญทม่ี ักพบเหน็ ในชวี ิตประจาวนั  การอา่ นหนังสอื ตามความสนใจ เช่น
- หนังสือทีน่ ักเรียนสนใจและเหมาะสมกบั วัย
๘. มีมารยาท ในการอ่าน - หนังสอื ทคี่ รแู ละนักเรียนกาหนดรว่ มกนั

 การอ่านเครอื่ งหมายหรอื สญั ลักษณ์ ประกอบดว้ ย
- เครื่องหมายสญั ลกั ษณ์ตา่ งๆ ท่พี บเห็นใน

ชีวิตประจาวนั
- เคร่ืองหมายแสดงความปลอดภัยและแสดงอันตราย
 มารยาทในการอา่ น เชน่
- ไมอ่ า่ นเสยี งดงั รบกวนผูอ้ นื่
- ไมเ่ ล่นกนั ขณะทอ่ี ่าน
- ไมท่ าลายหนงั สอื

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทร์สุธาอทุ ิศ



ป.๒ ๑. อ่านออกเสยี งคา คาคลอ้ งจอง ข้อความ  การอา่ นออกเสยี งและการบอกวามหมายของคา คา
และบทร้อยกรองง่ายๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ้ งจอง ข้อความ และบทร้อยกรองงา่ ยๆ ทป่ี ระกอบด้วยคา

๒. อธบิ ายความหมายของคาและขอ้ ความท่ี พ้นื ฐานเพิม่ จาก ป. ๑ ไม่นอ้ ยกว่า ๘๐๐ คา รวมท้ังคา

อ่าน ทีใ่ ช้เรียนรู้ในกลุม่ สาระการเรยี นรอู้ ืน่ ประกอบดว้ ย

- คาทม่ี รี ปู วรรณยุกตแ์ ละไม่มีรปู วรรณยุกต์

- คาท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา
- คาที่มพี ยัญชนะควบกลา้
- คาที่มอี กั ษรนา
- คาท่มี ตี ัวการันต์

- คาที่มี รร
- คาทมี่ ีพยญั ชนะและสระที่ไมอ่ อกเสยี ง

๓. ตั้งคาถามและตอบคาถามเกย่ี วกับ  การอา่ นจบั ใจความจากสื่อตา่ งๆ เช่น

เรอื่ งที่อ่าน - นิทาน

๔. ระบุใจความสาคญั และรายละเอียดจาก - เรอื่ งเลา่ ส้นั ๆ

เรือ่ งที่อา่ น - บทเพลงและบทร้อยกรองง่ายๆ

๕. แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตกุ ารณ์ - เร่ืองราวจากบทเรยี นในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

จากเรื่องที่อ่าน และกล่มุ สาระการเรยี นรอู้ นื่

- ข่าวและเหตกุ ารณป์ ระจาวนั

๖. อา่ นหนงั สอื ตามความสนใจอย่างสม่าเสมอ  การอ่านหนังสอื ตามความสนใจ เช่น

และนาเสนอเรือ่ งที่อา่ น - หนงั สือท่นี ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกับวยั

- หนงั สือทค่ี รูและนกั เรยี นกาหนดรว่ มกนั

๗. อ่านข้อเขยี นเชงิ อธิบาย และปฏบิ ัตติ าม  การอ่านขอ้ เขยี นเชิงอธิบาย และปฏบิ ตั ติ ามคาสง่ั หรือ

คาสัง่ หรอื ข้อแนะนา ข้อแนะนา

- การใชส้ ถานท่ีสาธารณะ

- คาแนะนาการใชเ้ ครอื่ งใช้ทจ่ี าเป็นในบา้ นและในโรงเรยี น

๘. มมี ารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอา่ น เชน่

- ไมอ่ า่ นเสยี งดังรบกวนผอู้ ่ืน

- ไม่เล่นกนั ขณะทอ่ี า่ น

- ไม่ทาลายหนงั สือ

- ไมค่ วรแย่งอ่านหรือชะโงกหน้าไปอ่านขณะท่ผี ูอ้ ่ืนกาลัง

อ่านอยู่

ป.๓ ๑. อา่ นออกเสียงคา ขอ้ ความ เร่ืองส้ันๆ และ  การอา่ นออกเสียงและการบอกความหมายของคา คา
บทร้อยกรองงา่ ยๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง คล่องแคล่ว คล้องจอง ขอ้ ความ และบทรอ้ ยกรองง่ายๆ ทปี่ ระกอบด้วยคา

๒. อธิบายความหมายของคาและข้อความที่ พน้ื ฐานเพ่มิ จาก ป.๒ ไม่นอ้ ยกวา่ ๑,๒๐๐ คา รวมท้ังคาท่ี

อา่ น เรียนรู้ในกลุม่ สาระการเรยี นรู้อ่ืน ประกอบด้วย

๓. ตั้งคาถามและตอบคาถามเชงิ เหตุผล - คาทม่ี ีตวั การนั ต์

เก่ียวกับเร่อื งที่อ่าน - คาทม่ี ี รร

- คาที่มพี ยัญชนะและสระไมอ่ อกเสียง

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทร์สุธาอุทิศ



- คาพอ้ ง

- คาพเิ ศษอน่ื ๆ เช่น คาท่ีใช้ ฑ ฤ ฤๅ

 การอ่านจบั ใจความจากส่อื ตา่ งๆ เช่น

- นิทานหรือเรอื่ งเก่ียวกบั ท้องถ่นิ

๔. ลาดบั เหตกุ ารณ์และคาดคะเนเหตุการณจ์ าก - เร่ืองเลา่ สั้นๆ

เรือ่ งท่อี ่านโดยระบุเหตผุ ลประกอบ - บทเพลงและบทร้อยกรอง

๕. สรุปความรู้และขอ้ คิดจากเรอ่ื งทอี่ า่ นเพอ่ื - บทเรียนในกลมุ่ สาระการเรียนรอู้ นื่

นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั - ขา่ วและเหตกุ ารณ์ในชีวติ ประจาวนั ในท้องถน่ิ

และชุมชน

๖. อา่ นหนังสือตามความสนใจ  การอา่ นหนังสอื ตามความสนใจ เช่น

อย่างสม่าเสมอและนาเสนอเร่อื งทอี่ ่าน - หนงั สอื ที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกบั วยั

- หนงั สอื ท่ีครแู ละนักเรยี นกาหนดร่วมกนั

๗. อา่ นขอ้ เขยี นเชิงอธิบายและปฏิบัตติ าม  การอา่ นข้อเขียนเชงิ อธิบาย และปฏบิ ตั ิตามคาสงั่ หรอื

คาสั่งหรอื ขอ้ แนะนา ขอ้ แนะนา

- คาแนะนาตา่ งๆ ในชีวิตประจาวัน

- ประกาศ ปา้ ยโฆษณา และคาขวัญ

๘. อธิบายความหมายของข้อมลู จากแผนภาพ  การอา่ นข้อมูลจากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภมู ิ

แผนท่ี และแผนภมู ิ

๙. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน เช่น

- ไมอ่ ่านเสยี งดงั รบกวนผู้อนื่

- ไม่เล่นกันขณะทีอ่ า่ น

- ไม่ทาลายหนงั สอื

- ไม่ควรแย่งอา่ นหรือชะโงกหนา้ ไปอา่ นขณะทีผ่ ู้อนื่ กาลงั

อา่ น

ป.๔ ๑. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และ บท  การอ่านออกเสยี งและการบอกความหมายของบทร้อย
รอ้ ยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง แก้วและบทร้อยกรองที่ประกอบด้วย

๒. อธบิ ายความหมายของคา ประโยค และ - คาท่ีมี ร ล เปน็ พยัญชนะตน้

สานวนจากเร่อื งท่อี า่ น - คาท่ีมีพยญั ชนะควบกลา้

- คาทีม่ ีอกั ษรนา

- คาประสม

- อักษรย่อและเคร่อื งหมายวรรคตอน

- ประโยคที่มสี านวนเปน็ คาพงั เพย สุภาษิต ปริศนาคาทาย

และเคร่ืองหมายวรรคตอน

 การอ่านบทรอ้ ยกรองเป็นทานองเสนาะ

๓. อ่านเรอ่ื งสน้ั ๆ ตามเวลาที่กาหนดและตอบ  การอา่ นจับใจความจากส่ือตา่ งๆ เช่น

คาถามจากเรอ่ื งทอ่ี ่าน - เรื่องสนั้ ๆ

๔. แยกขอ้ เทจ็ จรงิ และข้อคดิ เห็น - เร่อื งเล่าจากประสบการณ์

จากเรื่องท่ีอ่าน - นิทานชาดก

๕. คาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเรื่องทอ่ี า่ นโดยระบุ - บทความ

เหตผุ ลประกอบ - บทโฆษณา

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทรส์ ุธาอุทิศ

๑๐

๖. สรุปความรแู้ ละข้อคิดจากเรือ่ งท่อี า่ น - งานเขยี นประเภทโน้มนา้ วใจ

เพอื่ นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน - ขา่ วและเหตกุ ารณป์ ระจาวัน

- สารคดีและบนั เทงิ คดี

๗. อ่านหนงั สอื ท่ีมีคุณคา่ ตามความสนใจอยา่ ง  การอ่านหนงั สือตามความสนใจ เชน่

สม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกบั เร่อื งที่ - หนงั สอื ที่นกั เรียนสนใจและเหมาะสมกับวยั

อ่าน - หนังสือที่ครูและนกั เรยี นกาหนดรว่ มกนั

๘. มมี ารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอา่ น

ป.๕ ๑. อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และ บท  การอ่านออกเสยี งและการบอกความหมายของบทรอ้ ย
ร้อยกรองได้ถูกตอ้ ง แกว้ และบทรอ้ ยกรองที่ประกอบด้วย

๒. อธิบายความหมายของคา ประโยคและ - คาที่มีพยัญชนะควบกล้า

ข้อความท่เี ปน็ การบรรยาย และ - คาทม่ี อี กั ษรนา

การพรรณนา - คาท่มี ีตวั การนั ต์

๓. อธิบายความหมายโดยนยั จากเร่อื งท่ี - อักษรย่อและเคร่ืองหมายวรรคตอน

อา่ นอย่างหลากหลาย - ข้อความท่ีเปน็ การบรรยายและพรรณนา

- ขอ้ ความท่ีมคี วามหมายโดยนยั

 การอ่านบทร้อยกรองเปน็ ทานองเสนาะ

๔. แยกขอ้ เท็จจรงิ และข้อคดิ เห็นจากเรอ่ื งที่  การอา่ นจับใจความจากสอ่ื ตา่ งๆ เช่น

อา่ น - วรรณคดีในบทเรียน

๕. วิเคราะห์และแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั - บทความ

เรอื่ งทอี่ ่านเพอ่ื นาไปใช้ ในการดาเนนิ ชวี ิต - บทโฆษณา

- งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ

- ข่าวและเหตุการณป์ ระจาวัน

๖. อ่านงานเขยี นเชิงอธิบาย คาสงั่ ข้อแนะนา  การอา่ นงานเขยี นเชงิ อธิบาย คาสง่ั ข้อแนะนา และ

และปฏิบตั ติ าม ปฏิบตั ิตาม เชน่

- การใช้พจนานกุ รม

- การใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์

- การอา่ นฉลากยา

- คูม่ อื และเอกสารของโรงเรยี นทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั นกั เรียน

- ข่าวสารทางราชการ

๗. อา่ นหนังสือทมี่ ีคุณคา่ ตามความสนใจอยา่ ง  การอา่ นหนงั สือตามความสนใจ เชน่

สมา่ เสมอและแสดงความคิดเห็นเก่ยี วกบั เรอ่ื งท่ี - หนงั สือท่นี ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วัย

อา่ น - หนังสือท่ีครูและนักเรยี นกาหนดร่วมกนั

๘. มมี ารยาทในการอา่ น  มารยาทในการอ่าน

ป.๖ ๑. อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและ บท  การอา่ นออกเสยี งและการบอกความหมายของบทร้อย
รอ้ ยกรองได้ถกู ต้อง แกว้ และบทร้อยกรอง ประกอบดว้ ย

๒. อธิบายความหมายของคา ประโยคและ - คาที่มีพยญั ชนะควบกล้า

ข้อความท่เี ป็นโวหาร - คาทม่ี อี กั ษรนา

- คาท่ีมีตวั การันต์

- คาทม่ี าจากภาษาตา่ งประเทศ

- อักษรย่อและเครื่องหมายวรรคตอน

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทร์สุธาอทุ ศิ

๑๑

๓. อา่ นเรือ่ งส้ันๆ อยา่ งหลากหลาย โดยจับ - วัน เดือน ปแี บบไทย
เวลาแลว้ ถามเก่ียวกบั เร่ืองทอ่ี า่ น - ข้อความที่เป็นโวหารตา่ งๆ
๔. แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเร่ืองท่ีอ่าน - สานวนเปรยี บเทียบ
 การอ่านบทรอ้ ยกรองเป็นทานองเสนาะ

 การอา่ นจบั ใจความจากส่อื ตา่ งๆ เช่น
- เรื่องสั้น ๆ
- นิทานและเพลงพืน้ บ้าน
- บทความ

๕. อธิบายการนาความรู้และความคิด จากเรอ่ื ง - พระบรมราโชวาท

ทีอ่ ่านไปตัดสนิ ใจแกป้ ญั หา ในการดาเนนิ ชวี ิต - สารคดี

- เร่อื งสนั้

- งานเขียนประเภทโนม้ นา้ ว

- บทโฆษณา

- ขา่ ว และเหตุการณส์ าคญั

 การอา่ นเร็ว

๖. อ่านงานเขยี นเชิงอธิบาย คาส่งั ข้อแนะนา  การอา่ นงานเขียนเชิงอธบิ าย คาส่ัง ข้อแนะนา และ

และปฏิบตั ติ าม ปฏบิ ัติตาม

- การใชพ้ จนานุกรม

- การปฏบิ ัตติ นในการอยู่ร่วมกนั ในสังคม

- ขอ้ ตกลงในการอยรู่ ว่ มกันในโรงเรยี น และการใชส้ ถานที่

สาธารณะในชมุ ชนและทอ้ งถ่ิน

๗. อธบิ ายความหมายของข้อมลู จากการอ่าน  การอา่ นข้อมูลจากแผนผงั แผนท่ี แผนภูมิ และกราฟ

แผนผัง แผนท่ี แผนภมู ิ และกราฟ

๘. อ่านหนงั สอื ตามความสนใจ และอธบิ าย  การอา่ นหนงั สอื ตามความสนใจ เช่น

คุณค่าทไี่ ดร้ ับ - หนงั สอื ทีน่ กั เรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย

- หนงั สืออ่านที่ครแู ละนกั เรยี นกาหนดรว่ มกัน

๙. มีมารยาทในการอา่ น  มารยาทในการอ่าน

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทร์สุธาอุทศิ

๑๒

สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนส่ือสาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขียนเรือ่ งราวในรูปแบบต่างๆ

เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้าอยา่ งมีประสิทธิภาพ

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๑ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั
 การคัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทดั ตามรูปแบบการ
๒. เขียนสอ่ื สารดว้ ยคาและประโยคงา่ ยๆ เขียนตัวอกั ษรไทย

๓. มมี ารยาทในการเขียน  การเขียนส่ือสาร
- คาท่ใี ชใ้ นชวี ติ ประจาวัน
ป.๒ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัด - คาพืน้ ฐานในบทเรยี น
๒. เขียนเรื่องสน้ั ๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ - คาคล้องจอง
๓. เขยี นเร่ืองส้ันๆ ตามจินตนาการ - ประโยคง่ายๆ
๔. มีมารยาทในการเขยี น
 มารยาทในการเขียน เช่น
ป.๓ ๑. คัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัด - เขียนให้อา่ นงา่ ย สะอาด ไม่ขดี ฆ่า
๒ เขยี นบรรยายเก่ยี วกบั สิง่ ใดสงิ่ หนงึ่ ได้ - ไมข่ ดี เขียนในท่ีสาธารณะ
- ใชภ้ าษาเขยี นเหมาะสมกบั เวลา สถานที่ และบุคคล
อย่างชัดเจน
๓. เขียนบันทึกประจาวนั  การคดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการ
๔. เขียนจดหมายลาครู เขียนตวั อกั ษรไทย
๕. เขียนเรอ่ื งตามจินตนาการ
๖. มีมารยาทในการเขียน  การเขียนเร่ืองสัน้ ๆ เกยี่ วกับประสบการณ์

 การเขียนเรื่องสั้นๆ ตามจนิ ตนาการ

 มารยาทในการเขียน เช่น
- เขยี นให้อ่านง่าย สะอาด ไม่ขดี ฆ่า
- ไม่ขีดเขยี นในทสี่ าธารณะ
- ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล
- ไม่เขียนลอ้ เลยี นผู้อืน่ หรอื ทาใหผ้ ู้อนื่ เสยี หาย

 การคัดลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทดั ตามรูปแบบการ
เขียน ตัวอักษรไทย

 การเขียนบรรยายเก่ียวกับลักษณะของ คน สัตว์ สิ่งของ
สถานที่

 การเขยี นบนั ทกึ ประจาวนั

 การเขียนจดหมายลาครู

 การเขยี นเรื่องตามจนิ ตนาการจากคา ภาพ และหัวข้อ
ท่กี าหนด

 มารยาทในการเขียน เช่น
- เขยี นให้อ่านงา่ ย สะอาด ไม่ขดี ฆา่
- ไม่ขีดเขียนในท่สี าธารณะ
- ใช้ภาษาเขยี นเหมาะสมกบั เวลา สถานที่ และบุคคล

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๑๓

- ไมเ่ ขียนลอ้ เลียนผู้อื่นหรือทาให้ผอู้ ื่นเสียหาย

ป.๔ ๑. คัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และครึ่ง  การคดั ลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทดั และครึ่งบรรทดั ตาม

บรรทัด รูปแบบการเขยี นตัวอักษรไทย

๒. เขียนสอื่ สารโดยใชค้ าไดถ้ ูกตอ้ งชัดเจน  การเขยี นส่ือสาร เชน่

และเหมาะสม - คาขวญั

- คาแนะนา

๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ  การนาแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคดิ ไป

ความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขยี น พัฒนางานเขียน

๔. เขียนย่อความจากเร่ืองส้นั ๆ  การเขียนย่อความจากส่อื ต่างๆ เชน่ นทิ าน ความเรียง

ประเภทตา่ งๆ ประกาศ จดหมาย คาสอน

๕. เขยี นจดหมายถึงเพอ่ื นและบดิ ามารดา  การเขยี นจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา

๖. เขียนบันทึกและเขียนรายงานจาก  การเขยี นบนั ทึกและเขียนรายงานจากการศกึ ษาค้นคว้า
การศึกษาคน้ คว้า

๗. เขียนเรอื่ งตามจนิ ตนาการ  การเขยี นเรื่องตามจนิ ตนาการ
๘. มมี ารยาทในการเขยี น  มารยาทในการเขียน

ป.๕ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และคร่ึง  การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั และ คร่ึง

บรรทัด บรรทัดตามรปู แบบการเขียนตัวอกั ษรไทย

๒. เขียนสื่อสารโดยใชค้ าไดถ้ ูกตอ้ งชัดเจน  การเขียนส่ือสาร เชน่

และเหมาะสม - คาขวญั

- คาอวยพร

- คาแนะนาและคาอธิบายแสดงขนั้ ตอน

๓. เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพ  การนาแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดไป

ความคิดเพือ่ ใช้พัฒนางานเขยี น พฒั นางานเขียน

๔. เขยี นยอ่ ความจากเรือ่ งทอ่ี ่าน  การเขียนย่อความจากส่อื ต่างๆ เชน่ นทิ าน ความเรียง

ประเภทตา่ งๆ ประกาศ แจง้ ความ แถลงการณ์ จดหมาย คา

สอน โอวาท คาปราศรัย

๕. เขยี นจดหมายถงึ ผปู้ กครองและญาติ  การเขยี นจดหมายถงึ ผปู้ กครองและญาติ

๖. เขยี นแสดงความร้สู ึกและความคดิ เห็นได้  การเขยี นแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น

ตรงตามเจตนา

๗. กรอกแบบรายการตา่ งๆ  การกรอกแบบรายการ

- ใบฝากเงนิ และใบถอนเงิน

- ธนาณตั ิ

- แบบฝากส่งพสั ดุไปรษณียภัณฑ์

๘. เขยี นเร่ืองตามจนิ ตนาการ  การเขยี นเร่ืองตามจนิ ตนาการ

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอุทิศ

๑๔

๙. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขยี น

ป.๖ ๑. คดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และ  การคดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั และ ครึง่

ครึ่งบรรทัด บรรทดั ตามรูปแบบการเขียนตัวอกั ษรไทย

๒. เขียนสอื่ สารโดยใช้คาไดถ้ ูกต้องชัดเจน  การเขยี นสื่อสาร เช่น

และเหมาะสม - คาขวัญ

- คาอวยพร

- ประกาศ

๓. เขยี นแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพ  การเขยี นแผนภาพโครงเรอ่ื งและแผนภาพความคิด

ความคิดเพอื่ ใชพ้ ฒั นางานเขียน

๔. เขยี นเรยี งความ  การเขียนเรียงความ

๕. เขียนยอ่ ความจากเรอื่ งทอ่ี ่าน  การเขียนย่อความจากส่อื ต่างๆ เช่น นิทาน ความเรยี ง

ประเภทตา่ งๆ ประกาศ แจง้ ความ แถลงการณ์ จดหมาย

คาสอน โอวาท คาปราศรยั สนุ ทรพจน์ รายงาน

ระเบยี บ คาสงั่

๖. เขียนจดหมายส่วนตวั  การเขียนจดหมายส่วนตวั

- จดหมายขอโทษ

- จดหมายแสดงความขอบคุณ

- จดหมายแสดงความเห็นใจ

- จดหมายแสดงความยินดี

๗. กรอกแบบรายการตา่ งๆ  การกรอกแบบรายการ

- แบบคารอ้ งต่างๆ

- ใบสมัครศกึ ษาต่อ

- แบบฝากส่งพสั ดุและไปรษณียภัณฑ์

๘. เขียนเรื่องตามจนิ ตนาการและ  การเขยี นเร่ืองตามจนิ ตนาการและสร้างสรรค์

สร้างสรรค์

๙. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๑๕

สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพดู

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดอู ย่างมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรู้สึกใน
โอกาสตา่ งๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์

ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ป.๑ ๑. ฟังคาแนะนา คาส่ังง่ายๆ และปฏบิ ตั ติ าม  การฟังและปฏบิ ตั ติ ามคาแนะนา คาสง่ั ง่ายๆ

๒. ตอบคาถามและเลา่ เร่ืองที่ฟังและดู ทง้ั  การจับใจความและพดู แสดงความคดิ เหน็

ทเ่ี ป็นความรแู้ ละความบนั เทงิ ความรู้สกึ จากเร่ืองที่ฟังและดู ทั้งทีเ่ ปน็ ความรู้และ

๓. พูดแสดงความคิดเหน็ และความรสู้ ึก ความบันเทิง เชน่

จากเร่ืองท่ีฟังและดู - เร่อื งเลา่ และสารคดสี าหรบั เด็ก

- นิทาน

- การ์ตูน

- เรื่องขบขัน

๔. พดู ส่อื สารได้ตามวัตถปุ ระสงค์  การพูดสื่อสารในชีวิตประจาวนั เชน่

- การแนะนาตนเอง

- การขอความช่วยเหลือ

- การกล่าวคาขอบคุณ

- การกลา่ วคาขอโทษ

๕. มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด  มารยาทในการฟัง เชน่

- ตั้งใจฟงั ตามองผู้พดู

- ไมร่ บกวนผอู้ ่ืนขณะทฟ่ี ัง

- ไม่ควรนาอาหารหรือเครื่องด่ืมไปรบั ประทาน

ขณะท่ฟี ัง

- ใหเ้ กียรตผิ พู้ ดู ด้วยการปรบมือ

- ไมพ่ ูดสอดแทรกขณะทีฟ่ ัง

 มารยาทในการดู เช่น

- ตงั้ ใจดู

- ไม่ส่งเสียงดงั หรอื แสดงอาการรบกวนสมาธิของ

ผอู้ ืน่

 มารยาทในการพูด เชน่

- ใชถ้ ้อยคาและกริ ยิ าทสี่ ุภาพ เหมาะสมกับ

กาลเทศะ

- ใชน้ ้าเสียงนมุ่ นวล

หลกั สตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอุทิศ

๑๖

ป.๒ ๑. ฟงั คาแนะนา คาสง่ั ท่ีซับซ้อน และ  การฟังและปฏบิ ัติตามคาแนะนา คาส่ังทซ่ี ับซ้อน

ปฏบิ ตั ิตาม

๒. เลา่ เร่ืองที่ฟงั และดูท้ังทีเ่ ป็นความร้แู ละ  การจับใจความและพดู แสดงความคิดเห็น

ความบันเทงิ ความรสู้ กึ จากเรื่องที่ฟังและดู ท้งั ทเี่ ป็นความรู้และ

๓. บอกสาระสาคัญของเรื่องทฟี่ ังและดู ความบนั เทิง เช่น

๔. ต้ังคาถามและตอบคาถามเกยี่ วกับ - เร่อื งเล่าและสารคดสี าหรบั เดก็

เรื่องที่ฟังและดู - นทิ าน การ์ตูน และเรื่องขบขัน

๕. พูดแสดงความคิดเห็นและความรูส้ กึ - รายการสาหรับเดก็

จากเรอ่ื งท่ฟี งั และดู - ขา่ วและเหตกุ ารณป์ ระจาวัน

- เพลง

๖. พูดสอื่ สารได้ชัดเจนตรงตาม  การพูดสื่อสารในชีวิตประจาวนั เช่น

วตั ถุประสงค์ - การแนะนาตนเอง

- การขอความชว่ ยเหลือ

- การกล่าวคาขอบคุณ

- การกล่าวคาขอโทษ

- การพูดขอรอ้ งในโอกาสตา่ งๆ

- การเลา่ ประสบการณ์ในชวี ติ ประจาวนั

๗. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพูด  มารยาทในการฟัง เช่น

- ต้งั ใจฟัง ตามองผู้พูด

- ไม่รบกวนผอู้ ่ืนขณะทีฟ่ ัง

- ไมค่ วรนาอาหารหรือเครื่องด่มื ไปรบั ประทาน

ขณะที่ฟัง

- ไมพ่ ูดสอดแทรกขณะทีฟ่ ัง

 มารยาทในการดู เช่น

- ตั้งใจดู

- ไมส่ ่งเสยี งดังหรอื แสดงอาการรบกวนสมาธขิ อง

ผอู้ ืน่

 มารยาทในการพดู เชน่

- ใช้ถ้อยคาและกริ ยิ าที่สภุ าพ เหมาะสมกับ

กาลเทศะ

- ใช้นา้ เสียงนุ่มนวล

- ไม่พูดสอดแทรกในขณะท่ผี ู้อ่นื กาลงั พูด

- ไมพ่ ดู ล้อเลยี นให้ผู้อน่ื ได้รับความอับอายหรอื

เสียหาย

ป.๓ ๑. เลา่ รายละเอยี ดเก่ยี วกับเรื่องที่ฟงั และ  การจับใจความและพดู แสดงความคดิ เหน็ และ

ดูทั้งที่เปน็ ความรแู้ ละความบันเทงิ ความรู้สึกจากเร่ืองที่ฟังและดูท้ังที่เป็นความรู้และ

๒. บอกสาระสาคญั จากการฟังและการดู ความบันเทิง เช่น

๓. ตง้ั คาถามและตอบคาถามเก่ยี วกับ - เรือ่ งเลา่ และสารคดสี าหรับเดก็

หลกั สตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทร์สุธาอทุ ศิ

๑๗

เร่อื งที่ฟังและดู - นทิ าน การ์ตนู เร่อื งขบขัน

๔. พดู แสดงความคิดเหน็ และความรู้สกึ - รายการสาหรบั เด็ก

จากเรอ่ื งที่ฟังและดู - ขา่ วและเหตุการณใ์ นชวี ิตประจาวัน

- เพลง

๕. พูดส่ือสารไดช้ ัดเจนตรงตาม  การพดู สื่อสารในชีวิตประจาวัน เช่น

วตั ถุประสงค์ - การแนะนาตนเอง

- การแนะนาสถานที่ในโรงเรียนและในชุมชน

- การแนะนา/เชิญชวนเก่ียวกับการปฏบิ ัติตนใน

ดา้ นต่างๆ เช่น การรกั ษาความสะอาดของรา่ งกาย

- การเล่าประสบการณ์ในชีวิตประจาวัน

- การพูดในโอกาสตา่ งๆ เชน่ การพดู ขอร้อง การ

พูดทักทาย การกลา่ วขอบคุณและขอโทษ การ

พูดปฏเิ สธ และการพดู ชกั ถาม

๖. มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพดู  มารยาทในการฟัง เชน่

- ตง้ั ใจฟัง ตามองผู้พดู

- ไม่รบกวนผูอ้ นื่ ขณะท่ฟี ัง

- ไมค่ วรนาอาหารหรือเคร่ืองดืม่ ไปรับประทาน

ขณะที่ฟัง

- ไมแ่ สดงกริ ยิ าทไ่ี มเ่ หมาะสม เชน่ โห่ ฮา หาว

- ให้เกยี รติผู้พดู ดว้ ยการปรบมอื

- ไมพ่ ูดสอดแทรกขณะที่ฟัง

 มารยาทในการดู เช่น

- ต้งั ใจดู

- ไม่สง่ เสยี งดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธขิ อง

ผู้อน่ื

 มารยาทในการพูด เชน่

- ใช้ถ้อยคาและกริ ยิ าทสี่ ภุ าพ เหมาะสมกับ

กาลเทศะ

- ใชน้ า้ เสยี งนุม่ นวล

- ไมพ่ ดู สอดแทรกในขณะทผี่ ู้อืน่ กาลงั พูด

- ไม่พูดล้อเลยี นใหผ้ อู้ ่นื ได้รบั ความอับอายหรอื

เสียหาย

ป.๔ ๑. จาแนกข้อเทจ็ จริงและข้อคิดเห็นจาก  การจาแนกข้อเทจ็ จรงิ และข้อคิดเหน็ จากเร่ืองท่ี

เร่ืองท่ีฟังและดู ฟงั และดู ในชีวติ ประจาวนั

๒. พูดสรุปความจากการฟังและดู  การจับใจความ และการพูดแสดงความรู้

๓. พูดแสดงความรู้ ความคิดเหน็ ความคดิ ในเร่ืองท่ีฟังและดู จากสอ่ื ตา่ งๆ เช่น

และความรู้สึกเกี่ยวกบั เรื่องท่ีฟงั และดู - เรื่องเลา่

๔. ตั้งคาถามและตอบคาถามเชงิ เหตุผล - บทความสน้ั ๆ

หลกั สตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทร์สุธาอุทิศ

๑๘

จากเร่อื งที่ฟังและดู - ขา่ วและเหตุการณ์ประจาวัน
- โฆษณา
๕. รายงานเร่อื งหรือประเด็นท่ศี กึ ษา - สื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์
คน้ คว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา - เรอ่ื งราวจากบทเรยี นกลมุ่ สาระการเรียนรู้
๖. มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพดู ภาษาไทย และกล่มุ สาระการเรยี นร้อู ่นื

 การรายงาน เชน่
- การพูดลาดบั ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน
- การพดู ลาดบั เหตุการณ์

 มารยาทในการฟัง การดู และการพดู

ป.๕ ๑. พูดแสดงความรู้ ความคดิ เห็น และ  การจบั ใจความ และการพูดแสดงความรู้

ความรูส้ กึ จากเร่ืองท่ีฟงั และดู ความคดิ ในเร่ืองท่ีฟังและดู จากสือ่ ตา่ งๆ เชน่

๒. ต้ังคาถามและตอบคาถามเชงิ เหตผุ ล - เร่อื งเลา่

จากเรื่องทฟ่ี งั และดู - บทความ

๓. วิเคราะหค์ วามนา่ เชือ่ ถือจากเรอื่ ง - ขา่ วและเหตกุ ารณ์ประจาวัน

ทฟ่ี งั และดูอยา่ งมีเหตผุ ล - โฆษณา

- สอื่ สอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์

 การวเิ คราะหค์ วามนา่ เชื่อถือจากเร่ืองที่ฟงั และ

ดูในชีวิตประจาวัน

๔. พดู รายงานเร่ืองหรือประเด็นทศี่ ึกษา  การรายงาน เช่น

คน้ คว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา - การพูดลาดบั ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน

- การพดู ลาดับเหตุการณ์

๕. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู  มารยาทในการฟงั การดู และการพูด

ป.๖ ๑. พดู แสดงความรู้ ความเข้าใจ  การพดู แสดงความรู้ ความเข้าใจในจุดประสงค์

จุดประสงค์ของเร่ืองที่ฟังและดู ของเรื่องที่ฟังและดูจากส่ือตา่ งๆ ได้แก่

๒. ตงั้ คาถามและตอบคาถามเชิงเหตผุ ล - สื่อส่งิ พมิ พ์

จากเรือ่ งที่ฟังและดู - สื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์

๓. วเิ คราะห์ความน่าเช่ือถือจากการฟัง  การวเิ คราะหค์ วามน่าเชื่อถือจากการฟงั และดู

และดูสื่อโฆษณาอยา่ งมีเหตผุ ล ส่ือโฆษณา

๔. พูดรายงานเรื่องหรือประเดน็ ทีศ่ ึกษา  การรายงาน เช่น

ค้นควา้ จากการฟัง การดู และการสนทนา - การพูดลาดบั ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน

- การพูดลาดบั เหตุการณ์

๕. พดู โนม้ นา้ วอย่างมีเหตผุ ล และ  การพดู โน้มน้าวในสถานการณ์ตา่ งๆ เช่น

นา่ เช่อื ถอื - การเลือกต้งั กรรมการนกั เรยี น

- การรณรงคด์ ้านต่างๆ

- การโต้วาที

๖. มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด  มารยาทในการฟงั การดู และการพดู

หลกั สตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอุทิศ

๑๙

สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภมู ิ
ปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ

ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ป.๑ ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์  พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์

และเลขไทย  เลขไทย

๒. เขยี นสะกดคาและบอกความหมาย ของ  การสะกดคา การแจกลูก และการอา่ น

คา เปน็ คา

 มาตราตวั สะกดท่ีตรงตามมาตราและไม่

ตรงตามมาตรา

 การผนั คา

 ความหมายของคา

๓. เรียบเรยี งคาเป็นประโยคง่าย ๆ  การแต่งประโยค

๔. ตอ่ คาคล้องจองงา่ ยๆ  คาคล้องจอง

ป.๒ ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์  พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์

และเลขไทย  เลขไทย

๒. เขยี นสะกดคาและบอกความหมาย ของ  การสะกดคา การแจกลูก และการอ่าน

คา เปน็ คา

 มาตราตัวสะกดท่ีตรงตามมาตราและไม่

ตรงตามมาตรา

 การผันอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่า

 คาทีม่ ตี ัวการนั ต์

 คาท่ีมพี ยัญชนะควบกลา้

 คาท่มี ีอักษรนา

 คาท่มี คี วามหมายตรงข้ามกนั

 คาที่มี รร

 ความหมายของคา

๓. เรยี บเรยี งคาเป็นประโยคได้ตรงตาม  การแต่งประโยค

เจตนาของการสอ่ื สาร  การเรียบเรียงประโยคเป็นขอ้ ความสัน้ ๆ

๔. บอกลกั ษณะคาคล้องจอง  คาคล้องจอง

๕. เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและ  ภาษาไทยมาตรฐาน

ภาษาถ่นิ ไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ  ภาษาถน่ิ

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอุทศิ

๒๐

ป.๓ ๑. เขยี นสะกดคาและบอกความหมา  การสะกดคา การแจกลกู และการอ่าน

ของคา เปน็ คา

 มาตราตัวสะกดท่ีตรงตามมาตราและไม่

ตรงตามมาตรา

 การผนั อกั ษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่า

 คาทีม่ พี ยัญชนะควบกล้า

 คาที่มอี ักษรนา

 คาท่ีประวสิ รรชนยี แ์ ละคาทไ่ี มป่ ระ

วสิ รรชนยี ์

 คาที่มี ฤ ฤๅ

 คาทใ่ี ช้ บนั บรร

 คาทใ่ี ช้ รร

 คาท่ีมตี ัวการันต์

 ความหมายของคา

๓. ระบชุ นดิ และหน้าท่ีของคาในประโยค  ชนิดของคา ได้แก่

- คานาม

- คาสรรพนาม

- คากรยิ า

๔. ใช้พจนานกุ รมค้นหาความหมายของคา  การใช้พจนานุกรม

๕. แตง่ ประโยคงา่ ยๆ  การแต่งประโยคเพื่อการสือ่ สาร ไดแ้ ก่

- ประโยคบอกเล่า

- ประโยคปฏเิ สธ

- ประโยคคาถาม

- ประโยคขอร้อง

- ประโยคคาสั่ง

๖. แต่งคาคล้องจองและคาขวัญ  คาคลอ้ งจอง

 คาขวญั

๗. เลอื กใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและ  ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาถน่ิ ไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ  ภาษาถิน่

ป.๔ ๑. สะกดคาและบอกความหมายของคาใน  คาในแม่ ก กา

บริบทตา่ งๆ  มาตราตวั สะกด

 การผนั อักษร

 คาเป็นคาตาย

 คาพ้อง

๒. ระบุชนิดและหนา้ ท่ขี องคาในประโยค  ชนดิ ของคา ได้แก่

- คานาม

- คาสรรพนาม

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทร์สุธาอทุ ศิ

๒๑

๓ ใช้พจนานกุ รมค้นหาความหมายของคา - คากริยา
๔. แตง่ ประโยคได้ถูกต้องตามหลกั ภาษา - คาวิเศษณ์

๕. แตง่ บทร้อยกรองและคาขวัญ  การใชพ้ จนานุกรม

๖. บอกความหมายของสานวน  ประโยคสามญั
๗. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับ - สว่ นประกอบของประโยค
ภาษาถ่ินได้ - ประโยค ๒ ส่วน
- ประโยค ๓ ส่วน

 กลอนสี่
 คาขวัญ

 สานวนท่เี ปน็ คาพงั เพยและสุภาษติ

 ภาษาไทยมาตรฐาน
 ภาษาถน่ิ

ป.๕ ๑. ระบชุ นดิ และหน้าทีข่ องคาในประโยค  ชนดิ ของคา ได้แก่

- คาบพุ บท

- คาสันธาน

- คาอุทาน

๒. จาแนกส่วนประกอบของประโยค  ประโยคและสว่ นประกอบของประโยค

๓. เปรยี บเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกบั  ภาษาไทยมาตรฐาน

ภาษาถนิ่  ภาษาถิ่น

๔. ใชค้ าราชาศพั ท์  คาราชาศพั ท์

๕. บอกคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย  คาทีม่ าจากภาษาต่างประเทศ

๖. แต่งบทร้อยกรอง  กาพยย์ านี ๑๑

๗. ใชส้ านวนไดถ้ กู ตอ้ ง  สานวนทเี่ ป็นคาพงั เพยและสุภาษิต

ป.๖ ๑. วเิ คราะห์ชนดิ และหน้าทขี่ องคาใน  ชนดิ ของคา

ประโยค - คานาม

- คาสรรพนาม

- คากรยิ า

- คาวเิ ศษณ์

- คาบพุ บท

- คาเชอ่ื ม

- คาอุทาน

๒. ใช้คาได้เหมาะสมกบั กาลเทศะและ  คาราชาศพั ท์
บคุ คล  ระดบั ภาษา

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๓. รวบรวมและบอกความหมายของ ๒๒
คาภาษาตา่ งประเทศทใ่ี ชใ้ นภาษาไทย
 ภาษาถน่ิ
๔. ระบุลกั ษณะของประโยค  คาท่ีมาจากภาษาตา่ งประเทศ

๕. แตง่ บทร้อยกรอง  กลมุ่ คาหรอื วลี
๖. วเิ คราะห์และเปรยี บเทียบสานวนท่เี ปน็  ประโยคสามญั
คาพังเพย และสุภาษิต  ประโยครวม
 ประโยคซ้อน
 กลอนสุภาพ
 สานวนทเี่ ปน็ คาพงั เพย และสุภาษติ

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๒๓

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณค่าและนามา

ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจริง

ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.๑ ๑. บอกขอ้ คิดทีไ่ ด้จากการอ่านหรอื การฟงั  วรรณกรรมรอ้ ยแกว้ และร้อยกรองสาหรบั เด็ก เช่น

วรรณกรรมรอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรองสาหรับเดก็ - นิทาน

- เรอ่ื งส้นั ง่ายๆ

- ปรศิ นาคาทาย

- บทร้องเลน่

- บทอาขยาน

- บทร้อยกรอง

- วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี น

๒. ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนด และบทรอ้ ย  บทอาขยานและบทรอ้ ยกรอง
กรองตามความสนใจ - บทอาขยานตามทีก่ าหนด

- บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ

ป.๒ ๑. ระบขุ อ้ คิดทไ่ี ด้จากการอ่านหรอื การฟัง  วรรณกรรมรอ้ ยแก้วและร้อยกรองสาหรับเด็ก เช่น

วรรณกรรมสาหรบั เดก็ เพ่ือนาไปใช้ใน - นิทาน
ชวี ิตประจาวนั

- เร่อื งส้ันง่ายๆ

- ปรศิ นาคาทาย

- บทอาขยาน

- บทร้อยกรอง

- วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี น

๒. ร้องบทร้องเล่นสาหรับเดก็ ในทอ้ งถิน่  บทรอ้ งเล่นท่มี ีคณุ คา่

- บทร้องเลน่ ในทอ้ งถ่ิน

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทร์สุธาอุทศิ

๒๔

- บทร้องเล่นในการละเลน่ ของเดก็ ไทย

๓. ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนด และบทรอ้ ย  บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองท่มี คี ุณค่า
กรองที่มคี ณุ คา่ ตามความสนใจ - บทอาขยานตามทก่ี าหนด

- บทร้อยกรองตามความสนใจ

ป.๓ ๑. ระบุข้อคิดท่ไี ด้จากการอา่ นวรรณกรรมเพอ่ื  วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพ้ืนบา้ น

นาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั - นิทานหรอื เร่อื งในท้องถนิ่

๒. รู้จกั เพลงพืน้ บ้านและเพลงกลอ่ มเดก็ เพื่อปลกู ฝัง - เร่อื งสนั้ ง่ายๆ ปริศนาคาทาย
ความชน่ื ชมวฒั นธรรมท้องถนิ่

๓. แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับวรรณคดี ท่ีอ่าน - บทรอ้ ยกรอง

- เพลงพน้ื บ้าน

- เพลงกลอ่ มเด็ก

- วรรณกรรมและวรรณคดใี นบทเรยี นและ ตามความสนใจ

๔. ทอ่ งจาบทอาขยานตามทก่ี าหนดและบทรอ้ ย  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มคี ณุ คา่
กรองท่มี คี ุณคา่ ตามความสนใจ - บทอาขยานตามทกี่ าหนด

- บทร้อยกรองตามความสนใจ

ป.๔ ๑. ระบุข้อคดิ จากนทิ านพื้นบ้านหรอื นทิ านคตธิ รรม  วรรณคดีและวรรณกรรม เช่น

๒. อธิบายข้อคดิ จากการอ่านเพอ่ื นาไปใช้ในชวี ิตจริง - นทิ านพน้ื บ้าน

- นิทานคติธรรม

- เพลงพื้นบา้ น

- วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี นและตามความสนใจ

๓. รอ้ งเพลงพ้ืนบา้ น  เพลงพืน้ บา้ น

๔. ท่องจาบทอาขยานตามท่กี าหนด และบทรอ้ ย  บทอาขยานและบทร้อยกรองทม่ี คี ณุ ค่า
กรองท่มี คี ุณค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามทกี่ าหนด

- บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอุทศิ

๒๕

ป.๕ ๑. สรปุ เรอ่ื งจากวรรณคดหี รอื วรรณกรรมท่อี า่ น  วรรณคดีและวรรณกรรม เชน่

๒. ระบุความรแู้ ละข้อคิดจากการอา่ นวรรณคดแี ละ - นทิ านพืน้ บา้ น
วรรณกรรมท่ีสามารถนาไปใชใ้ นชีวติ จริง - นทิ านคติธรรม
- เพลงพ้ืนบ้าน
๓. อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม

- วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและตามความสนใจ

๔. ท่องจาบทอาขยานตามทก่ี าหนดและบทร้อย  บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองที่มคี ณุ ค่า
กรองท่ีมคี ณุ คา่ ตามความสนใจ - บทอาขยานตามทีก่ าหนด

- บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ

ป.๖ ๑. แสดงความคดิ เหน็ จากวรรณคดี หรือ  วรรณคดีและวรรณกรรม เชน่

วรรณกรรมทอ่ี ่าน - นิทานพ้ืนบ้านทอ้ งถิ่นตนเองและท้องถน่ิ อ่ืน

๒. เล่านิทานพืน้ บา้ นทอ้ งถิ่นตนเอง และนทิ าน - นิทานคติธรรม
พ้ืนบา้ นของทอ้ งถิน่ อ่ืน

๓. อธิบายคณุ คา่ ของวรรณคดี และวรรณกรรมที่ - เพลงพน้ื บา้ น

อ่านและนาไป ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จรงิ - วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรียนและตามความสนใจ

๔. ท่องจาบทอาขยานตามท่กี าหนด และบทร้อย  บทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่า
กรองทม่ี ีคุณคา่ ตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กาหนด

- บทร้อยกรองตามความสนใจ

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทร์สุธาอุทศิ

๒๖

โครงสรา้ งรายวชิ าพ้ืนฐานกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง

ลาดับ ชอื่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา

ท่ี เรียนรู้ เรียนรู้/ (ชวั่ โมง) น้าหนัก

ตัวชว้ี ดั

๑ หนว่ ยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๒/ - อา่ นออกเสียงและบอกความหมายของ ๑๕ ๕

เรยี นรู้ ๖/๘ ) คา คาคล้องจอง และ ข้อความท่ี

ท่ี ๑ ใบโบก (มฐ.ท ๒.๑ ป.๑ /๒) ประกอบดว้ ย คาพื้นฐาน คอื คาที่ใช้

ใบบัว (มฐ.ท ๓.๑ ป..๑/๓) ในชีวติ ประจาวนั

(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๓/ - การอา่ นหนงั สือตามความสนใจ

๔) - มารยาทในการอ่าน

(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๑) - การเขยี นส่ือสาร

- พดู แสดงความคิดเห็นและความรูส้ ึก

จากเรื่องท่ฟี งั และดู

- การแต่งประโยค

- คาคลอ้ งจอง

- ข้อคดิ ท่ีไดจ้ ากการอา่ นหรอื การฟัง

วรรณกรรมรอ้ ยแกว้ และร้อยกรอง

สาหรับเดก็

๒ หน่วยการ (ป.๑มฐ.ท ๑.๑ ป.๑ - อา่ นออกเสียงและบอกความหมายของ ๑๒ ๕

เรียนรู้ /๒ คา คาคล้องจอง และ ข้อความท่ี

ที่ ๒ ภูผา /๖/๘) ประกอบดว้ ย คาพนื้ ฐาน คอื คาที่ใช้

(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑ /๒) ในชีวติ ประจาวัน

(มฐ.ท ๓.๑ ป..๑/๓) - การเขยี นสอ่ื สาร

(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๓/ - การจับใจความและพดู แสดงความ

๔) คดิ เห็น ความรสู้ กึ จากเร่ืองท่ีฟงั และดู

(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๑) ทง้ั ทเ่ี ปน็ ความรแู้ ละความบันเทงิ เช่น

- เร่ืองเล่าและสารคดสี าหรับเดก็

- นทิ าน - การต์ นู -

เรื่องขบขัน

- การแต่งประโยค

- คาคล้องจอง

หลกั สตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๒๗

- ข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือการฟงั

วรรณกรรมรอ้ ยแก้วและร้อยกรอง

สาหรับเดก็

๓ หนว่ ยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๑) - อา่ นออกเสยี งและบอกความหมายของ ๑๒ ๕

เรียนรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๒) คา คาคล้องจองและ ขอ้ ความที่

ที่ ๓ (มฐ.ท๓.๑ ป.๑/๑/ ประกอบด้วย คาพนื้ ฐาน คอื คาท่ีใช้ ใน

เพอื่ นกัน ๓) ชีวิตประจาวนั

(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๓/ - การคัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั

๔) ตามรปู แบบการเขยี นตัวอักษรไทย

(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑ /๑) - การเขียนส่อื สาร

- การฟังและปฏิบัตติ ามคาแนะนา คาส่ัง

ง่ายๆ

- การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้า

เกี่ยวกบั ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ

- แสดงความคดิ เห็นและความรู้สกึ จาก

เร่ืองท่ีฟังและดู

- การแต่งประโยค

- คาคล้องจอง

- ขอ้ คดิ ที่ได้จากการอา่ นหรอื การฟงั

วรรณกรรมรอ้ ยแกว้ และร้อยกรอง

สาหรบั เดก็

- การเขยี นส่อื สาร

- การฟังและปฏิบตั ติ ามคาแนะนา คาสั่ง

งา่ ยๆ

- การพดู รายงานการศึกษาค้นควา้

เกี่ยวกบั ภูมิปญั ญาท้องถิ่น

- แสดงความคิดเหน็ และความร้สู กึ จาก

เรื่องท่ีฟงั และดู

- การแตง่ ประโยค

- คาคล้องจอง

- ขอ้ คดิ ที่ไดจ้ ากการอา่ นหรือการฟัง

วรรณกรรมรอ้ ยแกว้ และร้อยกรอง

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๒๘

ลาดบั ที่ ช่อื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก
การเรยี นรู้ (ชวั่ โมง)
๗ เรียนร/ู้
หน่วยการ ตัวชีว้ ดั - อา่ นออกเสียงและบอกความหมายของคา ๑๐ ๕
เรียนรู้ คาคลอ้ งจอง และ ข้อความที่ประกอบดว้ ย ๑๐ ๕
ท่ี ๗ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๑) คาพืน้ ฐาน คอื คาทใี่ ช้ ในชวี ติ ประจาวนั ๑๐ ๕
เพอ่ื นรกั (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๒) - การคัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั ตาม
เพื่อนเลน่ (มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๑) รปู แบบ การเขยี นตัวอกั ษรไทย
(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๒) - การเขียนสอ่ื สาร
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๒) - ตอบคาถามและเลา่ เร่ืองทฟ่ี งั และดู ทงั้ ที่
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๒) เป็นความรแู้ ละความบันเทิง
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๔) - การพูดสอ่ื สารในชวี ติ ประจาวนั
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๑) - เขยี นสะกดคาและบอกความหมายของคา
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๒) - บอกข้อคิดท่ไี ด้จากการอ่านหรอื การฟัง
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๒) วรรณกรรมร้อยแกว้ และรอ้ ยกรองสาหรบั
(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๑) เดก็
- อา่ นออกเสยี งและบอกความหมายของคา
๘ หน่วยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๑) - ตอบคาถามเก่ยี วกบั เรอ่ื งทอ่ี า่ น
เรียนรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๒) - การคดั ลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทัดตาม
ที่ ๘ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๓) รปู แบบ การเขียนตัวอกั ษรไทย
พูดเพราะ (มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๑) - ตอบคาถามและเลา่ เรอื่ งทฟ่ี ังและดู ทั้งท่ี
(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๒) เป็นความรู้และความบันเทงิ
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๑) - เขยี นสะกดคาและบอกความหมายของคา
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๒) - เรียบเรยี งคาเปน็ ประโยคงา่ ย ๆ
(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๑)
- อ่านออกเสียงและบอกความหมายของคา
๙ หนว่ ยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๑) - ตอบคาถามเกีย่ วกบั เรือ่ งท่ีอ่าน
เรยี นรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๒) - การจบั ใจความและพูดแสดงความคิดเหน็
ท่ี ๙ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๓) ความรสู้ ึกจากเรอ่ื งท่ฟี ังและดู ท้งั ท่ีเปน็
เกือบไป (มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๑) ความร้แู ละความบันเทงิ
(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๒) - เขยี นสะกดคาและบอกความหมายของคา
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๑) - เรียบเรยี งคาเปน็ ประโยคง่าย ๆ
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๒) - บอกขอ้ คดิ ทไี่ ด้จากการอ่านหรอื การฟงั
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๓) วรรณกรรม รอ้ ยแก้วและรอ้ ยกรองสาหรับ
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๑) เดก็
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๒)
(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๑)

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๒๙

๑๐ หน่วยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๑) - ตอบคาถามเกย่ี วกับเรื่องทอ่ี า่ น ๑๐ ๕
เรยี นรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๒) - การอ่านหนังสือตามความสนใจ ๘ ๕
ท่ี ๑๐ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๓) - มารยาทในการอ่าน ๘ ๕
เพอื่ นรูใ้ จ (มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๑) - การคัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั ตาม
(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๒) รูปแบบ การเขยี นตัวอักษรไทย
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๑) - เขยี นสื่อสารดว้ ยคาและประโยคง่ายๆ
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๒) - การจับใจความและพดู แสดงความคดิ เหน็
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๓) ความรสู้ กึ จากเร่อื งท่ฟี ังและดู ทั้งทเี่ ป็น
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๑) ความรู้และความบันเทิง
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๒) - พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ เลขไทย
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๓) - เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา
(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๑) - เรยี บเรยี งคาเปน็ ประโยคง่าย ๆ
(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๒) - ข้อคิดทไ่ี ด้จากการอ่านหรอื การฟัง
วรรณกรรมรอ้ ยแก้วและรอ้ ยกรองสาหรับ
๑๑ หนว่ ยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๑) เด็ก
เรียนรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๒) - บทอาขยานและบทร้อยกรอง
ท่ี ๑๑ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๓) - บทอาขยานตามทก่ี าหนด
ช้างนอ้ ย (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๖)
นา่ รัก (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๘) - การอ่านหนงั สือตามความสนใจ
(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๑) - มารยาทในการอา่ น
(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๒) - ตอบคาถามเกยี่ วกบั เรอื่ งที่อ่าน
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๑) - เขยี นส่อื สารด้วยคาและประโยคงา่ ยๆ
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๒) - การจับใจความและพูดแสดงความคิดเหน็
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๓) ความรสู้ กึ จากเรอ่ื งท่ีฟงั และดู ทั้งทีเ่ ปน็
(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๑) ความรแู้ ละความบนั เทงิ
(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๒) - พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ เลขไทย
- เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา
๑๒ หนว่ ยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๑) - เรียบเรยี งคาเป็นประโยคง่าย ๆ
เรียนรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๒) - ขอ้ คิดทไ่ี ดจ้ ากการอ่านหรือการฟงั
ที่ ๑๒ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๓) วรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อยกรองสาหรับ
วันสงกรานต์ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๖) เดก็
(มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๘) - บทอาขยานและบทรอ้ ยกรอง
- บทอาขยานตามท่ีกาหนด

- อา่ นออกเสยี งและบอกความหมายของคา
คาคล้องจอง และ ขอ้ ความท่ีประกอบดว้ ยคา
พ้นื ฐาน
- ตอบคาถามเกีย่ วกบั เร่ืองท่ีอา่ น

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๑) - การคดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัดตาม ๘ ๓๐
(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๒) รูปแบบ การเขยี นตวั อกั ษรไทย ๘ ๕
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๑) - การเขียนส่อื สาร ๕
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๒) - การจบั ใจความและพดู แสดงความคดิ เห็น
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๓) ความรสู้ กึ จากเร่อื งทีฟ่ งั และดู ท้งั ทเี่ ป็น
(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๑) ความรแู้ ละความบนั เทิง
(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๒) - บอกและเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์
และเลขไทย
๑๓ หน่วยการเรยี น (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๑) - เขยี นสะกดคาและบอกความหมายของคา
ท่ี ๑๓ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๒) - การแตง่ ประโยค
เจ้าเน้อื ออ่ น (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๓) - บอกข้อคิดทไ่ี ดจ้ ากการอ่านหรอื การฟัง
เอย (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๖) วรรณกรรม ร้อยแก้วและร้อยกรองสาหรับ
(มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๘) เดก็
(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๒) - บทอาขยานและบทร้อยกรอง
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๑) - บทอาขยานตามท่กี าหนด
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๒)
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๓) - การอา่ นหนงั สอื ตามความสนใจ
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๑) - มารยาทในการอา่ น
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๒) - ตอบคาถามเก่ียวกับเรอ่ื งทอ่ี ่าน
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๓) - เขยี นส่อื สารด้วยคาและประโยคง่ายๆ
(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๑) - การจับใจความและพูดแสดงความคิดเหน็
(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๒) ความรสู้ กึ จากเร่อื งท่ฟี งั และดู ทง้ั ท่เี ปน็
ความรู้และความบนั เทงิ
๑๔ หน่วยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๑) - พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ เลขไทย
เรียนรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๒) - เขียนสะกดคาและบอกความหมาย ของคา
ท่ี ๑๔ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๓) - เรียบเรยี งคาเปน็ ประโยคง่าย ๆ
มาเลน่ กันไหม (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๖) - ขอ้ คดิ ทไ่ี ด้จากการอ่านหรอื การฟงั
(มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๘) วรรณกรรมร้อยแกว้ และรอ้ ยกรองสาหรบั
(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๑) เดก็
(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๒) - บทอาขยานและบทรอ้ ยกรอง
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๑) - บทอาขยานตามทีก่ าหนด
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๒)
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๓) - อ่านออกเสียงและบอกความหมายของคา
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๑) คาคล้องจอง และ ข้อความทปี่ ระกอบด้วย
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๒) คาพ้นื ฐาน คือ คาทใ่ี ช้ ในชวี ิตประจาวัน
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๓) - ตอบคาถามเกี่ยวกบั เรื่องท่อี ่าน
- การอ่านหนังสอื ตามความสนใจ
- มมี ารยาทในการอา่ น
- คัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัด
- เขียนสื่อสารด้วยคาและประโยคง่ายๆ
- การจับใจความและพดู แสดงความคดิ เหน็
ความรสู้ ึกจากเรอื่ งที่ฟงั และดู ท้งั ทเี่ ปน็
ความรแู้ ละ ความบันเทงิ
- บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์
และเลขไทย

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๓๑

(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๑) - เขยี นสะกดคาและบอกความหมายของคา
(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๒) - เรยี บเรยี งคาเป็นประโยคง่ายๆ

๑๕ หนว่ ยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๑) - อ่านออกเสียงและบอกความหมายของคา ๘๕
เรียนรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๒)
ที่ ๑๕ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๓) คาคล้องจอง และขอ้ ความทป่ี ระกอบดว้ ย
ของเธอของฉัน (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๖)
(มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๘) คาพน้ื ฐานทใี่ ช้ ใน
(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๑)
(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๒) ชวี ติ ประจาวนั
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๑)
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๒) - ตอบคาถามเก่ยี วกบั เรือ่ งท่อี ่าน
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๓)
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๑) - การคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั ตาม
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๒)
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๓) รูปแบบการเขยี นตัวอกั ษรไทย
(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๑)
(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๒) - การเขยี นสอ่ื สาร

- การจบั ใจความและพูดแสดงความคดิ เห็น

ความรสู้ กึ จากเรอื่ งทีฟ่ งั และดู ทั้งทีเ่ ปน็

ความร้แู ละความบันเทงิ

- บอกและเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์

และเลขไทย

- เขยี นสะกดคาและบอกความหมายของคา

- การแต่งประโยค

- บอกข้อคดิ ท่ีไดจ้ ากการอา่ นหรอื การฟัง

วรรณกรรมรอ้ ยแก้วและรอ้ ยกรองสาหรบั

เด็ก

- บทอาขยานและบทรอ้ ยกรอง

- บทอาขยานตามท่กี าหนด

๑๖ หนว่ ยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๑) - อา่ นออกเสยี งและบอกความหมายของคา ๘ ๕
เรยี นรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๒) คาคลอ้ งจอง และ ขอ้ ความทีป่ ระกอบด้วย
ที่ ๑๖ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๓) คาพ้นื ฐาน คอื คาทใี่ ช้ ในชวี ิตประจาวนั
ฝนตกแดดออก (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๖) - ตอบคาถามเกยี่ วกบั เร่อื งทอี่ า่ น
(มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๗) - การอา่ นหนังสือตามความสนใจ
(มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๘) - การอ่านเครอื่ งหมายหรือสญั ลกั ษณ์
(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๑) - มีมารยาทในการอา่ น
(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๒) - คดั ลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัด
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๑) - เขียนส่ือสารดว้ ยคาและประโยคงา่ ยๆ
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๒) - การจับใจความและพดู แสดงความคิดเหน็
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๓) ความรสู้ ึกจากเร่ืองทีฟ่ งั และดู ทั้งที่เป็น
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๑) ความรูแ้ ละ ความบันเทงิ
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๒) - บอกและเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๓) และเลขไทย
(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๑) - เขยี นสะกดคาและบอกความหมายของคา
(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๒) - เรียบเรยี งคาเปน็ ประโยคงา่ ยๆ

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๓๒

๑๗ หน่วยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๑) - อ่านออกเสียงและบอกความหมายของคา ๘๕

เรยี นรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๒) คาคล้องจอง และ ข้อความที่ประกอบดว้ ย

ท่ี ๑๗ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๓) คาพน้ื ฐาน คือ คาทใ่ี ชใ้ นชวี ติ ประจาวัน

เรารักเมืองไทย (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๖) - ตอบคาถามเกีย่ วกบั เร่อื งท่อี ่าน

(มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๗) - การอ่านหนงั สอื ตามความสนใจ

(มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๘) - การอ่านเครอ่ื งหมายหรือสญั ลักษณ์

(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๑) - มมี ารยาทในการอ่าน

(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๒) - คัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัด

(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๑) - เขยี นสอื่ สารด้วยคาและประโยคง่ายๆ

(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๒) - การจับใจความและพดู แสดงความคิดเห็น

(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๓) ความรสู้ กึ จากเร่อื งท่ีฟงั และดู ทัง้ ที่เป็น

(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๑) ความรแู้ ละความบันเทิง

(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๒) - บอกและเขยี นพยัญชนะสระวรรณยกุ ตแ์ ละ

(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๓) เลขไทย

(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๑) - เขยี นสะกดคาและบอกความหมายของคา

(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๒) - เรยี บเรยี งคาเป็นประโยคง่ายๆ

๑๘ หนว่ ยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๑) - อ่านออกเสียงและบอกความหมายของคา ๘๕

เรียนรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๒) คาคล้องจอง และ ข้อความทป่ี ระกอบดว้ ย

ท่ี ๑๘ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๓) คาพื้นฐาน คอื คาท่ีใช้ ในชีวิตประจาวนั

ตง้ั ไขล่ ม้ ต้มไข่ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๖) - ตอบคาถามเกย่ี วกบั เรอ่ื งทีอ่ ่าน

กนิ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๘) - การคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั ตาม

(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๑) รูปแบบการเขยี นตัวอักษรไทย

(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๒) - การเขยี นส่อื สาร

(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๑) - การจับใจความและพดู แสดงความคดิ เหน็

(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๒) ความรสู้ ึก จากเรอื่ งทีฟ่ ังและดู ท้งั ทเ่ี ปน็

(มฐ.ท ๓.๑ ป.๑/๓) ความรแู้ ละความบนั เทงิ

(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๑) - บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์

(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๒) และเลขไทย

(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๓) - เขยี นสะกดคาและบอกความหมาย ของคา

(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๑) - การแต่งประโยค

(มฐ.ท ๕.๑ ป.๑/๒) - บอกข้อคิดทไ่ี ดจ้ ากการอ่านหรอื การฟัง

วรรณกรรมรอ้ ยแก้วและร้อยกรองสาหรบั

เดก็

- บทอาขยานและบทร้อยกรองตามที่

กาหนด

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๓๓

หนว่ ยการเรียนรู้บูรณาการสาระทอ้ งถน่ิ รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย

ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑

สาระท่ี ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นสื่อสาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขียนเรอ่ื งราวในรปู แบบ

ต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

รหสั ตัวช้ีวดั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน

ท ๒.๑ ป๑/๒ ๑. เขียนสื่อสารด้วยคาและ - การเขยี นสอื่ สาร - ระบุชื่อตน้ ไม้ท่มี ใี นทอ้ งถิ่น
ประโยคงา่ ยๆ - คาทีใ่ ช้ในชวี ิตประจาวนั และสามารถแต่งประโยค
- คาพืน้ ฐานในบทเรียน เกี่ยวกบั ตน้ ไม้ท่ีมีในท้องถน่ิ
- คาคลอ้ งจอง
- ประโยคงา่ ยๆ

สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดอู ยา่ งมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความร้สู ึกใน
โอกาสต่างๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

รหสั ตัวชี้วดั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่ิน
ท ๓.๑ ป๑/๒ ๑. ตอบคาถามและเลา่ เร่ืองที่ - การจบั ใจความสาคญั จาก
ฟังและดทู ั้งท่ีเปน็ ความรแู้ ละ - การจับใจความและพดู แสดงความคดิ เหน็ การสนทนาเรื่องท่ีได้ฟงั ดู
ท ๓.๑ ป๑/๓ ความบนั เทิง ความรสู้ กึ จากเร่ืองที่ฟังและดู ทัง้ ทีเ่ ปน็ และตอบคาถามทีเ่ ป็นความรู้
ความรู้และความบันเทงิ เชน่ เกี่ยวกบั ต้นไมช้ นิดต่างๆทม่ี ใี น
๒.พูดแสดงความคดิ เหน็ และ ท้องถ่ิน
ความร้สู กึ จากเร่ืองท่ีฟงั และดู - เร่อื งเลา่ และสารคดีสาหรับเดก็
- นิทาน -การพูดแสดงความ
- การต์ นู คดิ เห็นและความรสู้ กึ
- เรอ่ื งขบขัน เก่ียวกับตน้ ไม้ชนิดต่างๆทีบ่ ้าน
ของนักเรยี นหรอื ในทอ้ งถ่นิ

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๓๔

โครงสร้างรายวิชาพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง

ลาดบั ที่ ช่ือหน่วยการ มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก
เรียนรู้ ตัวชวี้ ัด (ชว่ั โมง)

๑ หน่วยการเรียนรู้ (มฐ.ท ๔.๑ ป.๒/๑) พยัญชนะไทยแบง่ ตามระดบั เสยี งเปน็ อักษรสงู ๗๓
ที่ ๑ อักษรกลาง อักษรตา่
ตัวอักษรไทย

๒ หนว่ ยการเรยี นรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๑) คาทไ่ี มม่ ตี ัวสะกดจัดเป็นคาในมาตราแม่ ก กา ๖๓
ท่ี ๒ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๒)
มาตรา ก กา (มฐ.ท ๒.๑ ป.๒/๑)
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๒/๒)

๓ หนว่ ยการเรียนรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๑) คาทมี่ ี ง เป็นตัวสะกด จัดเป็นคาในมาตรา กง ๖๓

ท่ี ๓ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๑/๒)

มาตรา กง (มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๑)

(มฐ.ท ๒.๑ ป.๑/๒)

(มฐ.ท ๔.๑ ป.๑/๒)

๔ หนว่ ยการเรียนรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๑) คาท่มี ี ม เปน็ ตวั สะกด จัดเป็นคาในมาตรา กม ๖๓

ที่ ๔ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๒)

มาตรา กม (มฐ.ท ๒.๑ ป.๒/๑)

(มฐ.ท ๔.๑ ป.๒/๒)

๕ หนว่ ยการเรยี นรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๑) คาท่มี ี ย เป็นตัวสะกด จดั เป็นคาในมาตรา เกย ๖ ๓
ที่ ๕ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๒)
มาตรา เกย (มฐ.ท ๒.๑ ป.๒/๑)
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๒/๒)

๖ หน่วยการเรยี นรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๑) คาทม่ี ี ว เปน็ ตัวสะกด จดั เป็นคาในมาตรา เกอว ๖ ๓
ท่ี ๖ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๒)
มาตรา เกอว (มฐ.ท ๒.๑ ป.๒/๑)
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๒/๒)

๗ หน่วยการเรียนรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๑) คาทม่ี ี ก ข ค ฆ เป็นตัวสะกด ซง่ึ ออกเสียง ๖๓
เหมอื น ก สะกด จัดเปน็ คาในมาตรา กก
ที่ ๗ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๒)

มาตรา กก (มฐ.ท ๒.๑ ป.๒/๑)

(มฐ.ท ๔.๑ ป.๒/๒)

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๓๕

ลาดับท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก
การเรยี นรู้ เรยี นร/ู้ (ชั่วโมง)
๘ ตัวชีว้ ดั
๙ หนว่ ยการ คาที่มเี สยี งตวั สะกดเหมือนเสยี ง ด จดั เป็น ๖ ๓
๑๐ เรยี นรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๑) คาในมาตรา กด
๑๑ ที่ ๘ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๒)
มาตรา กด (มฐ.ท ๒.๑ ป.๒/๑)
๑๒ (มฐ.ท ๔.๑ ป.๒/๒)

๑๓ หนว่ ยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๑) คาที่มี น ญ ณ ร ล ฬ เป็นตัวสะกด ๖๓
๑๔ เรียนรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๒) จดั เป็นคาในมาตรา กน
ท่ี ๙ (มฐ.ท ๒.๑ ป.๒/๑)
มาตรา กน (มฐ.ท ๔.๑ ป.๒/๒)

หนว่ ยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๑) คาทม่ี เี สยี งตัวสะกดเหมือนเสยี ง บ จัดเป็น ๖ ๓
เรียนรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๒) คาในมาตรา กบ
ที่ ๑๐ (มฐ.ท ๒.๑ ป.๒/๑)
มาตรา กบ (มฐ.ท ๔.๑ ป.๒/๒)

หน่วยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๑) การผนั อักษร เป็นการเปลี่ยนเสียงคาต่างๆ ๖ ๓

เรยี นรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๒) ตามวรรณยุกต์ใหไ้ ด้คาใหมม่ ีความหมาย

ที่ ๑๑ (มฐ.ท ๒.๑ ป.๒/๑) แตกตา่ งจากเดิม อกั ษรสงู ผันได้ ๓ เสยี ง

การผันอักษร (มฐ.ท ๔.๑ ป.๒/๒) อกั ศรกลางผนั ได้ ๕ เสียง และอกั ษรตา่

สงู อักษร ผันได้ ๓ เสยี ง

กลาง อกั ษร

ตา่

หน่วยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๑) คาทีม่ พี ยญั ชนะต้น ๒ ตัวเรียงกนั โดยมี ๗ ๓
เรยี นรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๒) ร ล ว ควบพยัญชนะตัวอนื่ และอ่าน
ท่ี ๑๒ (มฐ.ท ๒.๑ ป.๒/๑) ออกเสียงควบกล้าชัดเจน จัดเปน็ คาควบ
คาทม่ี ี (มฐ.ท ๔.๑ ป.๒/๒) กล้าแท้
พยัญชนะ
ควบกล้า

หนว่ ยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๑) คาทมี่ พี ยญั ชนะต้นสองตวั ประสมสระ ๗ ๓
เรียนรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๒) เดยี วกัน บางคาออกเสยี ง ๒ พยางค์ ๗ ๓
ที่ ๑๓ (มฐ.ท ๒.๑ ป.๒/๑) บางคาออกเสยี งพยางค์เดยี วเรยี กว่า
คาที่มี (มฐ.ท ๔.๑ ป.๒/๒) อักษรนา พยญั ชนะต้นตัวแรกจะเปน็ อักษร
อักษรนา กลางหรอื อกั ษรสูง
(มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๑)
หนว่ ยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๒) พยัญชนะทมี่ ีไมท้ ัณฑฆาตกากับเพ่ือไมใ่ ห้
เรียนรทู้ ่ี ๑๔ (มฐ.ท ๒.๑ ป.๒/๑) อา่ นออกเสียงพยัญชนะตัวนน้ั เรยี กว่า ตวั
คาทม่ี ีตัว (มฐ.ท ๔.๑ ป.๒/๒) การนั ต์
การนั ต์

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอุทิศ

ลาดบั ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา ๓๖
(ช่วั โมง)
ท่ี เรียนรู้ เรียนรู/้ น้าหนัก

ตวั ช้ีวัด

๑๕ หนว่ ยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๑) คาที่มี รร ไม่มีตวั สะกด อ่านออกเสยี ง ๗ ๓

เรียนรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๒) รร เหมอื นพยัญชนะต้นประสมสระ -ะ

ท่ี ๑๕ (มฐ.ท ๒.๑ ป.๒/๑) และมี น สะกด

คาทม่ี ี รร (มฐ.ท ๔.๑ ป.๒/๒)

๑๖ หน่วยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๑) คาท่ีมีพยัญชนะท่ไี มอ่ อกเสยี ง นอกจาก ๗ ๓
เรียนรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๒) คาควบกลา้ ไม่แท้แล้ว ส่วนใหญ่ไม่ออก
ท่ี ๑๖ (มฐ.ท ๒.๑ ป.๒/๑) เสยี งตัวสะกดตัวที่ ๒ คอื ร และบาง
คาทีม่ ี คาไม่ออกเสยี ง ห
พยัญชนะและ
สระทไ่ี ม่ออก
เสยี ง

๑๗ หนว่ ยการ (มฐ.ท ๔.๑ ป.๒/๒) คาในภาษาไทยมีคาที่มีความหมายตรง ๗ ๓
เรียนรู้ ข้ามกนั ต้องศึกษาความหมายของคา
ที่ ๑๗ เพ่อื ใชใ้ นการพดู และเขยี นได้ถกู ต้อง
คาที่มี
ความหมาย
ตรงขา้ มกนั

๑๘ หน่วยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๑) คาท่มี ีเสยี งสระและเสียงตวั สะกด ๗๓
เรยี นรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๒) เหมือนกันเรยี กว่า คาคล้องจอง
ที่ ๑๘ (มฐ.ท ๒.๑ ป.๒/๑)
คาคล้องจอง (มฐ.ท ๔.๑ ป.๒/๒)

๑๙ หนว่ ยการ (มฐ.ท ๔.๑ ป.๒/๕) ภาษาไทยมาตรฐานเป็นภาไทยทีใ่ ช้พดู ๗ ๓

เรียนรู้ เขียน ติดตอ่ สือ่ สารโดยทวั่ ไป ส่วน

ที่ ๑๙ ภาษาถ่ินเปน็ ภาษาทใ่ี ชพ้ ดู ส่ือสารกัน

ภาษาไทย ภายในทอ้ งถน่ิ ใดท้องถิ่นหน่ึง แบ่งตาม

มาตรฐาน ลกั ษณะภูมภิ าคไดเ้ ป็น ๓ ภาษา คือ

ภาษาถ่ิน ภาษาถน่ิ เหนือ ภาษาถ่นิ อสี าน

(ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ) และภาษาถนิ่ ใต้

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๓๗

ลาดบั ที่ ชือ่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก
เรยี นรู้ (ชว่ั โมง)
๒๐ เรียนร/ู้ การอา่ นช่วยพัฒนาความรู้ ความคิดและ
หน่วยการ คุณธรรมที่จะนาไปใช้ในการดาเนนิ ชวี ติ ๓๓ ๕
๒๑ เรยี นรู้ ตวั ชี้วัด
๒๒ ท่ี ๒๐ การเขยี นสอื่ สารเพอื่ ให้ผ้อู า่ นเขา้ ใจตรงกันตอ้ ง ๑๓ ๓
การอา่ น (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๑) เลือกใชค้ าที่ถูกต้องเหมาะสม สามารถสอ่ื ๓๑ ๔
(มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๒) ความหมายไดช้ ัดเจนตรงตามจดุ ประสงค์
หนว่ ยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๓)
เรยี นรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๔) การเป็นผู้ฟงั ท่ีดตี อ้ งตง้ั ใจฟังอยา่ งมสี มาธิ เพ่ือ
ท่ี ๒๑ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๕) จบั ใจความสาคญั ของเรอ่ื งทฟ่ี งั ให้เข้าใจ จะได้
การเขียน (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๖) นาไปปฏบิ ตั ิไดถ้ กู ต้องเหมาะสม และเกดิ
หน่วยการ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๗) ประโยชน์ท้ังแก่ตนเองและผูอ้ น่ื
เรยี นรู้ (มฐ.ท ๑.๑ ป.๒/๘)
ท่ี ๒๒ (มฐ.ท ๕.๑ ป.๒/๑)
การฟัง การดู (มฐ.ท ๕.๑ ป.๒/๒)
และการพดู (มฐ.ท ๕.๑ ป.๒/๓)

(มฐ.ท ๒.๑ ป.๒/๒)
(มฐ.ท ๒.๑ ป.๒/๓)
(มฐ.ท ๒.๑ ป.๒/๔)
(มฐ.ท ๔.๑ ป.๒/๓)

(มฐ.ท ๓.๑ ป.๒/๑)
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๒/๒)
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๒/๓)
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๒/๔)
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๒/๕)
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๒/๖)
(มฐ.ท ๓.๑ ป.๒/๗)

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทร์สุธาอุทิศ

๓๘

หนว่ ยการเรยี นรู้บรู ณาการสาระท้องถ่นิ รายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒

สาระท่ี ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นสือ่ สาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ
ต่างๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

รหัสตวั ช้ีวดั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ท ๒.๑ ป๒/๓ - การเขียนเร่ืองส้ันๆ ตามจนิ ตนาการ
๑. เขยี นเรอ่ื งส้ันๆ ตาม - ศึกษาชนดิ ของต้นไม้ใน
ท้องถ่ิน และนาช่ือตน้ ไม้ชนดิ
จนิ ตนาการ ตา่ ง ๆ ในทอ้ งถนิ่ มาเขยี นเร่ือง
ส้นั ตามจนิ ตนาการ

สาระที่ ๔ หลักการใชภ้ าษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา

รหสั ตวั ช้ีวดั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ ้องถิ่น
ท ๔.๑ ป๒/๔
๑. ตง้ั คาถามและตอบคาถาม การจบั ใจความและพูดแสดงความคิดเห็น - ต้งั คาถามและตอบคาถาม
ท ๔.๑ ป๒/๔ เก่ียวกับเรอ่ื งท่ีฟังและดู ความรสู้ ึกจากเรื่องที่ฟงั และดู ทง้ั ทเี่ ปน็ เกย่ี วกับเร่ืองต้นไม้ในท้องถนิ่
ความรู้และความบนั เทิง เชน่
๒.พดู แสดงความคิดเห็นและ - เรอื่ งเล่าและสารคดีสาหรับเด็ก -การพดู แสดงความ
ความรสู้ กึ จากเร่ืองท่ีฟังและดู - นิทาน การ์ตูน และเรื่องขบขัน คิดเหน็ และความร้สู กึ
- รายการสาหรบั เด็ก เก่ียวกบั ตน้ ไม้ชนิดตา่ งๆท่ีบ้าน
- ขา่ วและเหตกุ ารณป์ ระจาวัน ของนักเรียนหรอื ในทอ้ งถนิ่
- เพลง

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทร์สุธาอุทิศ

๓๙

โครงสร้างรายวชิ าพนื้ ฐานกลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง

ลาดับที่ ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการเรยี นร้/ู สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก
เรียนรู้ ตวั ชวี้ ัด (ชั่วโมง)

๑ 1. ปฏิบัติการ ท.1.1 ป. 3/1 -คดั ลายมือ ๗๓

สายลับจิว๋ ป. 3/2 -จดหมาย

(วรรณคดี ป. 3/3 -สอบก่อนเรียน/หลงั เรยี น

กระตา่ ยตืน่ ตูม) ป. 3/4

ป. 3/9

ท.2.1 ป. 3/4 จดหมายลาครู

ท.4/1 ป. 3/1 บอกและเขียน

พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลข

ไทย

ท.5/1 ป.3/1 ,3/3, 3/4

๒ 2. แตเ่ ดก็ ซ่ือไว้ ท.1.1 ป. 3/1-ป.3/6 -สมุดเล่มเลก็ ๗๓

(แม่ไก่ใน ป.3/9 -ใบงาน

ตระกรา้ ) ท.2.1 ป. 3/1, 3/2, 3/6 -สอบก่อนเรยี น/หลงั เรียน

ท.4/1 ป. 3/1

ป.3/3 การใช้

พจนานกุ รมค้นหา

ความหมาย

ท.5/1 ป.3/1 ,3/3, 3/4

๓ 3. ป่านี้มคี ณุ ท.1.1 ป. 3/1-ป.3/6 -แตง่ ประโยค ๗๓

ป.3/9 -ใบงาน

ท.2.1 ป. 3/1, 3/2, 3/6 -สอบก่อนเรยี น/หลงั เรียน

ท.3.1 ป.3/1

ป.3/6

ท.4.1 ป. 3/4 แต่งประโยค

ท.5/1 ป.3/1 ,3/3, 3/4

๔ 4.อาหารดีมีสุข ท.1.1 ป. 3/1-ป.3/6 -ใบงานคากรยิ า ๗๓

ป.3/9 -คาคล้องจอง

ท.2.1 3/6 -สอบกอ่ นเรยี น/หลงั เรยี น

ท.3.1 ป.3/1 ป.3/4 ป.3/6

ท.4.1 ป.3/5ต่อคาคล้องจองง่าย ๆ

หลกั สตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๔๐

ลาดับที่ ชือ่ หน่วยการ มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก
เรยี นรู้ ตวั ชีว้ ัด (ชว่ั โมง)
๕ -ใบงาน ๓
5. ทาดอี ย่า ท.1.1 ป. 3/1-ป.3/6 -สอบก่อนเรยี น/หลงั เรยี น ๗
หวน่ั ไหว ป.3/9 ๓
-เขียนบรรยายเรือ่ ง ๗ ๓
๖ 6.พลงั งานคือ ท.2.1 ป. 3/1, 3/2, 3/6 -เลอื กอา่ นหนังสือตาม ๓
ชีวิต ท.3.1 ป.3/1 ชอบ ๗ ๓

๗ 7. ความฝันนั้น ป.3/6 -ใบงาน
เป็นจริง ท.4.1 ป.3/6 ภาษาถิ่น -สอบก่อนเรียน/หลังเรยี น 10
ท.5/1 ป.3/1 ,3/3, 3/4 10
๘ 8. ภูมใิ จใน -ใบงาน
ภาษาไทยของ ท.1.1 ป. 3/1 - ป.3/6 -สอบกอ่ นเรยี น/หลงั เรียน
เรา ท.2.1 ป. 3/2 เขยี นบรรยาย
ท.3.1 ป.3/1 -คาขวัญ
๙ 9. คดิ ไปรไู้ ป -สอบก่อนเรยี น/หลงั เรียน
ป.3/6
๑๐ 1. คิดไปรไู้ ป ท.5/1 ป.3/1 ,3/3, 3/4 -คัดลายมือ
กาเหวา่ ที่กลาง -บันทกึ ประจาวัน
กรุง ท.1.1 ป. 3/1 - ป.3/6 -จดหมาย
ท.4.1 ป. 3/1 ใบงานตัวการรันต์
ท.5/1 ป.3/1 ,3/3, 3/4

ท.1.1 ป. 3/1 - ป.3/6
ท.4.1 ป. 3/1 พยัญชนะ สระ และ
วรรณยุกต์เลขไทย
ท.5/1 ป.3/1 ,3/3, 3/4

ท.1.1 ป. 3/1 - ป.3/6
ท.4.1 ป. 3/1 การแต่งคาขวญั
ท.5/1 ป.3/1 ,3/3, 3/4

ท.1.1 ป. 3/1
ป. 3/2
ป. 3/3
ป. 3/9

ท.2.1 ป. 3/3 บันทึกประจาวัน
ป. 3/4 จดหมายลาครู

ท.4/1 ป. 3/1 หลักการอ่าน รร
ตวั การรันต์

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

ลาดับ ชือ่ หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสาคญั ๔๑ น้าหนัก

ที่ การเรยี นรู้ ตัวชว้ี ัด เวลา
(ชั่วโมง)
๑๑ 2. นอกเมือง ท.1.1 ป. 3/1 -ใบงานชนิดของคา 8

ในกรุง ป. 3/2 -สอ่ื ชนดิ ของคานาม 8

(ธนูดอกไม้ ป. 3/3 8
10
กับเจ้าชาย ป.3/4 10

น้อย) ป.3/5

ป.3/6

ท.4/1 ป. 3/2 ชนดิ คานาม

๑๒ 3. ส่งข่าว ท.1.1 ป. 3/1 -พดู โน้มน้าวใจ

เลา่ เรือ่ ง ป. 3/2 -ใบงานคาสรรพนาม

ป. 3/3

ป.3/4

ป.3/5 พดู แนะนาสถานที

ป.3/6 มายาท

ท.3.1 ป.3/5

ป.3/6

ท.4.1 ป. 3/2

๑๓ 4. ท.1.1 ป. 3/1 - ป.3/6 -ใบงานคากรยิ า

ประชาธปิ ไต ท.3.1 ป.3/1 – ป.3/6

ยใบเล็ก ท.4.1 ป.3/2 คากรยิ า

๑๔ 5. ของดีใน ท.1.1 ป. 3/1 - ป.3/7 อ่าน -ใบงานคาวเิ ศษณ์

ตาบล คาสั่ง ข้อแนะนา -ใบงานการอ่านคาส่ัง

ท.4.1 ป.3/2 คาวิเศษณ์

๑๕ 6.ธรรมชาติ ท.1.1 ป. 3/1 - ป.3/6 (อ่านฉลาก -เขียนบรรยายเรือ่ ง

เจา้ เอย และสนิ คา้ อ่านหนงั สอื ตามความสนใจ) -เลือกอา่ นหนังสือตามชอบ

ท.2.1 ป. 3/2 เขยี นบรรยาย

๑๖ 7. เล่นคา ท.1.1 ป. 3/1 - ป.3/6 (อา่ แผนที่ -ใบงานคาพ้อง 7

ทาย แผนภมู ิ ) -ใบงานอา่ นแผนที่

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอุทศิ

ท.4.1 ป. 3/1 คาพ้อง -ใบงานภาษาถ่ิน ๔๒

ท.4.1 ป. 3/6 ภาษาถิน่ 7

๑๗ 8. บันทึก ท.1.1 ป. 3/1 - ป.3/6 -ใบงานเพลงพ้นื บ้าน

ความหลงั ท.5/1 ป.3/2 เพลงพน้ื บ้าน/ปริศนาคา -ใบงานปริศนา

ทาย

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรยี นแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๔๓

หน่วยการเรยี นรู้บรู ณาการสาระทอ้ งถิน่ รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย

ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความรสู้ ึกใน

โอกาสตา่ งๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

รหสั ตวั ช้ีวัด ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถนิ่
ท 3.1 ป 3/5
๕. พดู สอ่ื สารไดช้ ัดเจนตรง - การพดู ส่ือสารในชีวิตประจาวนั เช่น การพดู สื่อสารใน
ตามวตั ถุประสงค์ - การแนะนาตนเอง ชวี ิตประจาวัน ได้แก่ การ
- การแนะนาสถานทใ่ี นโรงเรยี นและในชมุ ชน แนะนาสถานทีต่ า่ งๆใน
- การแนะนา/เชญิ ชวนเก่ยี วกบั การปฏบิ ัตติ นในดา้ น โรงเรยี น และการแนะนา
ตา่ งๆ เชน่ การรักษาความสะอาดของรา่ งกาย สถานที่ในชมุ ชน
- การเลา่ ประสบการณ์ในชวี ิตประจาวัน
- การพูดในโอกาสตา่ งๆ เชน่ การพูดขอรอ้ ง การพดู
ทกั ทาย การกล่าวขอบคุณและขอโทษ การพดู
ปฏเิ สธ และการพดู ชกั ถาม

สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณคา่ และนามา
ประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จรงิ

รหัสตัวช้ีวัด ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนร้ทู อ้ งถนิ่
ท 5.1 ป 3/2 ๒. รจู้ ักเพลงพืน้ บา้ นและเพลง
วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพื้นบา้ น นิทานหรอื เรื่องราวในท้องถิ่น
กลอ่ มเด็ก เพ่ือปลูกฝงั ความ ได้แก่
ชนื่ ชมวฒั นธรรมท้องถ่ิน - นิทานหรอื เรอ่ื งในทอ้ งถิ่น ๑. นิทานในท้องถิน่
๒. ประวตั ิ/ตานาน/ที่มาของ
- เร่อื งส้ันงา่ ยๆ ปรศิ นาคาทาย สถานท่แี หล่งประวตั ิศาสตรใ์ น
จังหวัดนนทบุรี
- บทร้อยกรอง ๓. เนือ้ หาเกีย่ วกบั แหล่ง
ท่องเท่ียว/สถานท่สี าคญั ใน
- เพลงพ้นื บา้ น จงั หวัดนนทบุรี เชน่
๔. เรอ่ื งราวเกยี่ วกับอาชพี
- เพลงกล่อมเดก็ สาคัญในจงั หวัดนนทบรุ ีทั้ง
- วรรณกรรมและวรรณคดีในบทเรียนและ ระดับอาเภอ / ตาบล หรือ
ตามความสนใจ หมบู่ า้ น

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอุทิศ

ท ๔.๑ ป๒/๔ ๒.พดู แสดงความคิดเห็นและ ๔๔
ความรูส้ กึ จากเร่ืองท่ีฟังและดู
-การพดู แสดงความ
คิดเหน็ และความรูส้ กึ
เก่ยี วกับต้นไม้ชนดิ ต่างๆทบ่ี ้าน
ของนักเรยี นหรอื ในท้องถ่ิน

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๔๕

โครงสรา้ งรายวิชาพืน้ ฐานกลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง

ลาดับท่ี ชือ่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก
เรยี นรู้ เรยี นรู/้ (ช่ัวโมง)
๑ -.การอ่านออกเสียงบทรอ้ งแก้วและบทรอ้ ยกรอง ๒
หน่วยการเรียนรู้ ตวั ชี้วัด -ศกึ ษาความหมายของคาใหมจ่ ากพจนานุกรม ๖
ท่ี ๑ -อ่านเร่อื งส้นั ๆ ตามเวลาทกี่ าหนดแลว้ ตอบคาถาม
ท๑.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ -สรุปความรูแ้ ละขอ้ เท็จจริงจากเรอ่ื งทอ่ี ่าน
การผจญภยั ของ ป๔/๔ ป๔/๖ -คดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และครงึ่ บรรทดั
สดุ สาคร ท๒.๑ ป๔/๑ ป๔/๗ -พูดอภิปรายแสดงความคดิ เหน็
ท๓.๑ ป๔/๒ ป๔/๔ -แต่งเรือ่ งตามจินตนาการและเขยี นถอดความ
ท๔.๑ ป๔/๑ ป๔/๓ -มารยาทในการเขียน
ป๔/๔ ป๔/๕ -สรปุ ความจากการฟังและดู
ท๕.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ -ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตผุ ลจากเรอ่ื งท่ีฟงั
ป๔/๔ และดู
-อธบิ ายขอ้ คดิ จากการอ่านเพอื่ นาไปใชใ้ นชวี ติ จริง
-ท่องบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรอง
ตามความสนใจ

๒ หน่วยการเรียนรู้ ท๑.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ -การอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรอง๒. ๘ ๓

ที่ ๒ ป๔/๓ การอ่านในใจ

ขนมไทยไรเ้ ทียม ท๒.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ -.การอา่ นสรุปความ

ทาน ป๔/๓ -.การคัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัดและครงึ่

ท๓.๑ ป๔/๑ ป๔/๖ บรรทดั ๕.การพดู แสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั ขนม

ท๔.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ ไทย

ป๔/๓ ป๔/๔ -.การแตง่ ประโยคสามญั ๗.การอธบิ ายข้อคดิ จากบท

อา่ นในบทเรียน

-.มารยาทในการเขียน

๓ หน่วยการเรยี นรู้ ท๑.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ -อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง ๖ ๒
๖ ๒
ที่ ๓ ป๔/๓ -อธิบายความหมายโดนนยั

เร่อื งเลา่ จากพทั ลงุ ท๒.๑ ป๔/๓ -ระบขุ อ้ คิดทไี่ ดจ้ ากการอ่าน

ท๓.๑ ป๔/๖ -รอ้ งบทรอ้ งเล่น

ท๔.๑ ป๔/๓

ท๕.๑ ป๔/๔

๔ หน่วยการเรียนรู้ ท๑.๑ ป๔/๑ ป๔/๖ -การอ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วและรอ้ ยกรอง

ท่ี ๔ ท๒.๑ ป .๔/๑ ป๔/ -.การสรปุ เรื่อง

ออมไว้กาไรชวี ติ ๓ ป๔/๗ ป๔/๘ -.การสรุปประโยชน์ของการออมทรัพย์

ท๔.๑ ป๔/๓ ป๔/๔ -การคดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัดและครงึ่ บรรทดั

ป๔/๖ การปลูกฝงั คณุ ลกั ษณะและวางพืน้ ฐานความ

ประหยดั อดออม

หลกั สตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทร์สุธาอทุ ศิ

-.การแต่งประโยคตามตัวอยา่ ง ๔๖
๖๓
-.การอธบิ ายข้อคิดจากบทอ่านในบทเรียน ๘๓

๕ หน่วยการเรียนรู้ ท๑.๑ ป๔/๑ ป๔/๖ -อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรอง ๖๒

ท่ี ๕ ท๒.๑ ป.๔/๒ -อธบิ ายความหมาย

น้าผ้ึงหยดเดยี ว ท๓.๑ ป๔/๒ ป๔/๓ -อ่านเรอ่ื งส้นั ๆตามเวลาทกี่ าหนด

ท๔.๑ ป๔/๑ ป๔/๓ -สรุปความรู้และข้อคิดจากเร่อื งท่ีอา่ น

ป๔/๔ -ระบขุ ้อคดิ จากนทิ าน

ท๕.๑ ป๔/๔ -อธิบายขอ้ คดิ จากการอา่ น

๖ หน่วยการเรยี นรู้ ท๑.๑ ป๔/๑ -การอ่านออกเสยี งบทรอ้ งแก้วและบทร้อยกรอง
ที่ ๖ ป๔/๖ -มาตราตวั สะกด แม่กน แม่กก แมก่ ด แมก่ บ
ผักสมุนไพรใบ ท๒.๑ ป๔/๑ -การแตง่ ประโยค
หญ้ามคี ณุ ค่า ป๔/๒ -คาท่ีประวิสรรชนยี แ์ ละคาไมป่ ระวสิ รรชนยี ์
ท้ังนนั้ ท๓.๑ ป.๔/๕ -คัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และครึง่ บรรทัด
ป.๔/๖ -การใช้ไมย้ มก
ท ๔.๑ ป.๔/๑ -การแตง่ คากลอนสี่
-มารยาทในการเขียน
-พดู สรุปความจากการฟังและดู
-ท่องบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทรอ้ ยกรอง
ตามความสนใจ

๗ หนว่ ยการเรียนรู้ ท๑.๑ ป๔/๒ ป๔/๓ -อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง

ท่ี ๗ ป๔/๔ -อธบิ ายความหมายโดยนยั

ระบาสายฟ้า ท๒.๑ ป๔/๒ ป๔/๓ -ระบุขอ้ คิดทไ่ี ด้

ป๔/๔ ป๔/๘ จากการอ่าน

ท๓.๑ ป๔/๕ ป๔/ -ร้องบทรอ้ งเล่น

๖ -ท่องจาบทอาขยาน

ท๔.๑ ป๔/๑

ท๕.๑ ป๔/๑ ป๔/๒

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย โรงเรยี นแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๔๗

ลาดับ ช่ือหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา
ที่ เรียนรู้ เรียนร้/ู (ช่ัวโมง)
ตวั ช้วี ัด น้าหนัก

ลาดับที่ หน่วยการเรียนรู้ ท๑.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ -อภปิ รายแสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกบั เร่อื งท่ีอา่ น ๘ ๓
ที่ ๘
๘ ภมู ิใจมรดกโลก

ป๔/๗ ป๔/๘ -ตอบคาถามและสรปุ ข้อคดิ จากเรอื่ งที่อา่ น

ท๒.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ -จดั ทาแผนการเดนิ ทางไปท่องเทย่ี วโดยระดม

ป๔/๖ ความคดิ ในกลมุ่

ท๓.๑ ป๔/๑ ป๔/๓ -อ่านคาที่มีอกั ษรนา

ท๔.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ -อา่ นเขียนคาท่มี ีเครอื่ งหมายการนั ต์และจาแนกคาที่

ป๔/๔ ผันวรรณยกุ ต์

ท๕.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ -วเิ คราะห์คาเปน็ คาตาย

-การแต่งคาคล้องจอง

-วเิ คราะหข์ ่าวสารเหตกุ ารณ์ประจาวัน

๙ หนว่ ยการเรยี นรู้ (มฐ.ท ๔.๑ ป.๔/๒) -อ่านออกเสียง ๖๓
๖๓
ที่ ๙ ท๑.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ -วิเคราะห์แสดง ๘๓
๖๒
ชวี ติ ที่ถกู เมิน ป๔/๔ ความคดิ เหน็

ท๒.๑ ป๔/๑ ป๔/๓ -เขยี นยอ่ ความจากเร่อื ง

ป๔/๘ -มมี ารยาทในการฟัง ดู การพูด

ท๓.๑ ป๔/๓ ป๔/๖ -จาแนกส่วนประกอบ

ท๔.๑ ป๔/๒ ป๔/๔

ป๔/๖

ท๕.๑ ป๔/๒

๑๐ หน่วยการเรยี นรู้ ท๑.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ -อ่านออกเสยี ง

ท่ี ๑๐ ป๔/๓ ป๔/๔ ป๔/๖ -อธิบายความหมายคา ประโยค

ดวงจันทรข์ อง ป๔/๘ -แยกแยะขอ้ เท็จจรงิ ข้อคดิ เหน็

ลาเจียก ท๒.๑ ป๔/๗ -สรปุ เร่ืองจากวรรณคดี

ท๓.๑ ป๔/๒

ท๔.๑ ป๔/๓

ท๕.๑ ป๔/๑ ป๔/๓

๑๑ หน่วยการเรียนรู้ ท๑.๑ ป๔/๒ ป๔/๓ -อ่านออกเสยี ง

ที่ ๑๑ ป๔/๔ -แยกแยะขอ้ เทจ็ จริง

โอม! พนิ จิ มหา ท๒.๑ ป๔/๒ ป๔/๓ ขอ้ คดิ เห็น

พจิ ารณา ป๔/๔ ป๔/๘ -อา่ นหนังสอื ตามความสนใจ

ท๓.๑ ป๔/๕ -เขยี นแผนภาพ

ป๔/๖ -เขยี นจดหมาย

ท๔.๑ ป๔/๑ -เขียนเร่อื งตามจินตนาการสร้างสรรค์

ท๕.๑ ป๔/๑

ป๔/๒

๑๒ หน่วยการเรยี นรู้ ท๑.๑ ป๔/๒ ป๔/๓ อ่านออกเสียง

ท่ี ๑๒ ป๔/๔ -อธบิ ายความหมายของคาและประโยค

-ตัง้ คาถามและตอบคาถาม

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

แรงพิโรธจากฟ้า ท๒.๑ ป๔/๒ ป๔/๓ -ระบใุ จความสาคญั ๔๘
ดิน ป๔/๘ -มีมารยาทในการอ่าน ๘๓
ท๓.๑ ป๔/๕ ป๔/๖ -คดั ลายมอื ๘๓
ท๔.๑ ป๔/๑
ท๕.๑ ป๔/๑ ป๔/๒

๑๓ หน่วยการเรียนรู้ ท๑.๑ ป๔/๒ ป๔/๓ -อา่ นออกเสียง

ที่ ๑๓ ป๔/๔ -อ่านเรือ่ งทีม่ ีคุณคา่

ไวรัสวายรา้ ย ท๒.๑ ป๔/๒ ป๔/๓ ที่นา่ สนใจ

ป๔/๔ ป๔/๘ -แยกแยะขอ้ เท็จจริง

ท๓.๑ ป๔/๕ ป๔/๖ ขอ้ คิดเหน็

ท๔.๑ ป๔/๑ -วิเคราะหค์ วามน่าเช่อื ถอื

ท๕.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ จากเรอ่ื งท่ฟี งั และดู

๑๔ หนว่ ยการเรียนรู้ ท๑.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ -อ่านออกเสียง

ที่ ๑๔ ป๔/๔ -อธิบายความหมายคา ประโยค

สนุกสนานกบั การ ท๒.๑ ป๔/๒ ป๔/๓ -แยกแยะข้อเทจ็ จรงิ ขอ้ คดิ เหน็

เล่น ป๔/๕ -อา่ นหนงั สอื ทม่ี ีคุณคา่ ทส่ี นใจ

ท๓.๑ ป๔/๔ ป๔/๕ -คดั ลายมอื

ป๔/๖ -เขียนสื่อสารโดยใชค้ าถูกต้อง

ท๔.๑ ป๔๑ ป๔/๕ -ใชส้ านวน

ท๕.๑ ป๔/๔

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

ลาดบั ท่ี ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสาคญั ๔๙ น้าหนัก
เรียนรู้ ตัวช้ีวัด
เวลา
๑๕ หน่วยการเรยี นรู้ ท๔.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ -อา่ นออกเสียง (ช่ัวโมง)
-อธบิ ายความหมายคา ประโยค
ที่ ๑๕ ป๔/๖ -แยกแยะขอ้ เท็จจริง ข้อคดิ เหน็ ๖๓
-เขยี นแผนภาพ
หอ้ งสมุดปา่ ท๒.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ -สรุปเร่ือง ๖๒
-ระบุความร้แู ละขอ้ คิด
ป๔/๓ ป๔/๔ ๖๒

ท๓.๑ ป๔/๕ ป๔/๖ ๘๓

ท๔.๑ ป๔/๒ ป๔/๕ ๘๓

ป๔/๖

ท๕.๑ ป๔/๔

๑๖ หน่วยการเรยี นรู้ ท๑.๑ ป๔/๑ ป๔/๓ -อา่ นออกเสียง
ท่ี ๑๖ ป๔/๗ ป๔/๘ -อธิบายความหมายคา ประโยค
หนเู อยจะบอกให้ ท๒.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ -อา่ นหนงั สือทีม่ ีคุณคา่ ทสี่ นใจ
ป๔/๔ -เขียนย่อความ
ท๕.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ -เขยี นเรือ่ งตามจนิ ตนาการ

๑๗ หนว่ ยการเรยี นรู้ ท๔.๑ ป๔/๑ -อ่านออกเสยี ง
ท่ี ๑๗ ท๒.๑ ป๔/๒ -อธิบายความหมายคา ประโยค
เที่ยวเมืองพระร่วง ท๓.๑ ป๔/๔ -แยกแยะขอ้ เทจ็ จริง ขอ้ คดิ เห็น
ท๔.๑ ป๔/๕ -อา่ นหนงั สอื ทม่ี ีคณุ ค่าทสี่ นใจ
ท๕.๑ ป๔/๒ -ทอ่ งจาบทอาขยาน

๑๘ หน่วยการเรยี นรู้ ท๑.๑ ป๔/๓ -อา่ นออกเสยี ง
ท่ี ๑๘ ท๒.๑ ป๔/๒ ป๔/๘ -อธบิ ายความหมายคา ประโยค
คนดีศรโี รงเรยี น ท๓.๑ ป๔/๓ ป๔/๕ -อา่ นหนงั สือทมี่ ีคุณค่าทสี่ นใจ
ป๔/๖ -พดู แสดงความรู้สกึ
ท๔.๑ ป๔/๔

๑๙ หน่วยการเรยี นรู้ ท๑.๑ ป๔/๒ ป๔/๓ -อา่ นออกเสียง
-อธบิ ายความหมายคา ประโยค
ท่ี ๑๙ ป๔/๔ -แยกแยะขอ้ เทจ็ จริง ข้อคิดเหน็
-อ่านหนังสือที่มคี ณุ คา่ ทสี่ นใจ
สารพษิ ใน ท๒.๑ ป๔/๒ ป๔/๓ -เขยี นสอื่ สารโดยใช้คาใหถ้ ูกต้อง
-วเิ คราะหค์ วามนา่ เช่อื ถอื อย่างมีเหตผุ ล
ชีวิตประจาวัน ป๔/๗ ป๔/๘

ท๓.๑ ป๔/๑ ป๔/๒

ป๔/๓

ท๔.๑ ป๔/๑ ป๔/๒

ท๕.๑ ป๔/๑ ป๔/๒

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๕๐

ลาดบั ท่ี ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก
เรยี นรู้ (ช่วั โมง)
๒๐ เรียนรู้/ -อ่านออกเสียง
หนว่ ยการเรียนรู้ -อธิบายความหมายคา ประโยค ๖๒
ท่ี ๒๐ ตวั ชว้ี ดั -อธบิ ายความหมายโดยนยั
อยา่ งน้ดี ีควรทา -แยกแยะข้อเท็จจรงิ ขอ้ คิดเห็น
ท๑.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ -จาแนกข้อเทจ็ จรงิ และข้อคดิ เห็น
ป๔/๓ ป๔/๕ ป๔/๖ -พดู สรุปความจากการฟังและการดู
ท๒.๑ ป๔/๓ ป๔/๔
ป๔/๗
ท๓.๑ ป๔/๑ ป๔/๖
ท๔.๑ ป๔/๑ ป๔/๒
ป๔/๔
ท๕.๑ ป๔/๒

๒๑ หน่วยการเรียนรู้ ท๔.๑ ป๔/๑ ป๔/๒ -อา่ นออกเสยี ง ๖๓

ที่ ๒๑ ท๒.๑ ป๔/๑ ป๔/๖ -อธบิ ายความหมายคา ประโยค

กระดาษน้ีมที ม่ี า ป๔/๘ -อ่านหนังสอื ทม่ี คี ุณค่าทสี่ นใจ

ท๓.๑ ป๔/๓ ป๔/๔ -เขยี นยอ่ ความ

ป๔/๖ -กรอกแบบรายการตา่ งๆ

ท๔.๑ ป๔/๑ ป๔/๕ -รายงานเรือ่ งหรอื ประเด็นท่ีศึกษา

ท๕.๑ ป๔/๒ ป๔/๔

๒๒ หน่วยการเรียนรู้ ท๔.๑ ป๔/๒ ป๔/๓ -อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรอง ๖๓

ที่ ๒๒ ท๒.๑ ป๔/๔ -แยกขอ้ เท็จจรงิ และข้อคดิ เหน็ จากเรื่องทีอ่ ่าน

รักที่คมุ้ ภัย ท๓.๑ ป๔/๓ ป๔/๖ - สรุปความรู้และข้อคดิ จากเรือ่ งทอ่ี า่ นเพ่ือนาไปใช้

ท๔.๑ ป๔/๓ ป๔/๗ ในชวี ิตประจาวัน

ท๕.๑ ป๔/๔ -คัดลายมอื ตวั บรรจง

-ใช้พจนานกุ รมค้นหาความหมาย

-การเขยี นแผนภาพ

-ภาษาพดู หรอื ภาษาเขียน

๒๓ หน่วยการเรียนรู้ ท๔.๑ ป๔/๑ -อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรอง ๖๒
ท่ี ๒๓ ท๒.๑ ป๔/๒ -อธิบายความหมาย
ธรรมชาตินมี้ ีคุณ ท๓.๑ ป๔/๔ -มมี ารยาทในการอ่าน
ท๔.๑ ป๔/๕ -สะกดคาและบอกความหมายของคา
ท๕.๑ ป๔/๒ -ระบุชนดิ และหนา้ ทขี่ องคา
-ใชพ้ จนานุกรมคน้ หาความหมาย

ระหวา่ งปกี ารศึกษา ๗๐
ทดสอบปลายปีการศึกษา ๓๐
รวมทั้งส้ิน ตลอดปี ๑๖๐ ๑๐๐

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทร์สุธาอทุ ิศ


Click to View FlipBook Version