The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mrs.pasingsee, 2022-09-11 06:36:56

หลักสูตรไทย64

หลักสูตรไทย64

๕๑

หน่วยการเรียนรบู้ รู ณาการสาระทอ้ งถิน่ รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย

ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๔

สาระที่ 1 การอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคิด เพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แกป้ ญั หาในการดาเนนิ
ชีวติ และมีนสิ ัยรักการอ่าน

รหสั ตวั ชี้วัด ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ
ท ๑.๑ ป ๔/๓
3. อ่านเรอื่ งสั้น ๆ ตามเวลา การอ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ - ปรัมปราทม่ี า เกาะเกร็ด
ท่กี าหนดและตอบคาถามจาก - เรอื่ งส้ัน - นิทานมอญ
เร่อื งท่ีอา่ น - เรื่องเล่าจากประสบการณ์ - บทความ นนทบุรี
- นิทานชาดก จังหวดั เล็กๆทไ่ี มค่ วรมองขา้ ม
- บทความ
- บทโฆษณา
- งานเขียนประเภทโนม้ น้าวใจ

สาระท่ี 2 การเขยี น
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี นเขียนสอื่ สาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความและเขียนเรื่องราวในรปู แบบ
ตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

รหสั ตัวชี้วดั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น
ท ๒.๑ป ๔/๕
5 เขียนเรอื่ งตามจนิ ตนาการ การเขียนเร่ืองตามจินตนาการจากคา ภาพ - ถนนสายดอกไม้
- เกาะเกร็ด
และหัวขอ้

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ิศ

๕๒

โครงสร้างรายวชิ าพ้ืนฐานกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๕ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง

ลาดับ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสาคญั เวลา น้าหนกั
ท่ี ตวั ชี้วัด ชวั่ โมง คะแนน
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ๓
๑ อา่ นคิดพจิ ารณา ท ๒.๑ ป.๕/๑ ๑. อ่านออกเสียงและการบอก ๑๐ ๔
ท ๓.๑ ป.๕/๑
ท ๕.๑ ป.๕/๑ - ๓ ความหมายของบทรอ้ ยแกว้ และ

บทร้อยกรองที่ประกอบด้วยคาที่มี

พยญั ชนะควบกลา้

๒. คดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็ม
บรรทัดและคร่ึงบรรทัด

พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น
และความร้สู ึกจากการฟงั

๓. สรุปเร่อื งอ่านจากวรรณกรรม

๔. ระบคุ วามร้แู ละข้อคิดจากการ
อา่ นวรรณกรรม

๕. มีมารยาทในการฟงั การดู และ
การพดู

๒ เจรจาอาขยาน ท ๑.๑ ป.๕/๑ - ๓ ๑. การอ่านออกเสยี งและการบอก ๑๐ ๔
ท ๒.๑ ป.๕/๑ ความหมายของคาท่มี ีตวั การันต์
ท ๔.๑ ป.๕/๑
ท ๕.๑ ป.๕/๑ - ๔ ๒. ชนิดและหน้าท่ขี องคาใน
ประโยค คานาม คาสรรพนาม

๓. คดั ลายมือตวั บรรจงครึ่ง
บรรทดั

๔. สรปุ เรือ่ งจากวรรณคดี

๕. ขอ้ คดิ จากการอ่านวรรณคดี

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอุทิศ

ลาดับ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสาคญั ๕๓
ที่ ตัวช้ีวดั
เวลา น้าหนกั
๓ นิทานเริงใจ ท ๑.๑ ป.๕/๑ - ๒ ชวั่ โมง คะแนน
ท ๒.๑ ป.๕/๓
๔ ภาษาใชส้ ือ่ สาร ท ๓.๑ ป.๕/๔ ๖. อธิบายคุณค่าจากการอา่ น ๑๐ 4
ท ๔.๑ ป.๕/๒ วรรณคดี ๑๐ ๕

ท ๑.๑ ป.๕/๑ - ๒ ๗. อาขยานจากเร่ืองสังข์ทอง
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ๕, ๗, ๘
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ๗ ๘. การอธิบายความหมายของบท
อาขยาน

๑. อา่ นนทิ าน

๒. อ่านอักษรนา

๓. อักษรยอ่ และเครื่องหมายวรรค
ตอน

๔. ประโยคและสว่ นประกอบของ
ประโยค

๕. การเขยี น การพดู รายงาน การ
พดู ลาดบั เหตกุ ารณ์

๖. การนาแผนภาพความคิดไป
พฒั นางานเขยี น

๑. การอ่านออกเสยี งและการบอก
ความหมายของประโยคและ
ขอ้ ความทีเ่ ป็นการบรรยายและ
พรรณนา มีคาบพุ บทและ
คาสันธานและคาสันธาน
๒. ขอ้ ความที่มีการบรรยายและ
พรรณนา
๓. คดั และเขยี นลายมือตวั บรรจง
คร่ึงบรรทัดในการเขยี นจดหมาย
๔. รูปแบบการเขียนจดหมาย ถึง
เพือ่ น และบิดา มารดา

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ิศ

ลาดับ หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสาคญั ๕๔
ที่ ตวั ชว้ี ดั
เวลา น้าหนกั
๕ กานทก์ ลอน ท ๑.๑ ป.๕/๑ - ๒ ชว่ั โมง คะแนน
วรรณกรรม ท ๒.๑ ป.๕/๓, ๖, ๗, ๘
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ๗ ๕. รูปแบบการกรอกรายการ ๘ ๔
๖ ถ้อยคาสานวน (ไปรษณีย์ ธนาคาร อาเภอ และ ๑๒ ๕
ท ๑.๑ ป.๕/๑ - ๓ หนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง)
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ๒, ๘ ๖. วิเคราะหค์ า ขอ้ ความที่
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ๓, ๕ เหมาะสมกบั กาลเทศะในการ
ท ๔.๑ ป.๕/๗ เขยี นจดหมาย เขยี นจดหมายถงึ
ท ๕.๑ ป.๕/๔ ผปู้ กครองและญาติ
๗. คา ประโยคและข้อความที่มี
คาบุพบทและคาสันธาน
๘. มารยาทในการเขยี น

๑. คาอทุ าน
๒. คาประสม คาซา้ คาซอ้ น
๓. ชนดิ ของประโยค
- ประโยคสามัญ
- สว่ นประกอบของประโยค
-ประโยค ๒ ส่วน
-ประโยค ๓ ส่วน
๔. การอ่าน การเขยี นประกาศ
๕. วรรณคดี “โคลงโลกนิติ”

๑. การอ่านออกเสียงและการบอก
ความหมายของประโยค และ
ขอ้ ความทีม่ ีคาพ้องรปู พ้องเสียง
๒. สรปุ ความรู้ ความคดิ จาก
วรรณกรรมเรือ่ งสงิ โตกับแพะ และ
นาไปใช้ในชวี ิตประจาวนั
๓. การเขยี นเรอ่ื งตามจินตนาการ
๔. การเขียนแสดงความรู้สกึ
๕. การเขยี นแผนภาพโครงเร่ือง

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอุทิศ

ลาดบั หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสาคัญ ๕๕
ท่ี ตวั ชว้ี ดั
เวลา น้าหนกั
ชวั่ โมง คะแนน

๗ ๗. ชวนคดิ ชวนเขยี น ท ๑.๑ ป.๕/๑, ๒, ๓ สงิ โตกับแพะ ๑๐ ๔
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ๒, ๓, ๘ ๖. มารยาทในการเขยี น ๑๐ ๕
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ๓, ๕
ท ๔.๑ ป.๕/๗ ๑. อ่านออกเสยี งบทร้อยกรองและ
ท ๕.๑ ป.๕/๔ บอกความหมายของคา คาคล้อง
จอง คาสัมผสั
๘ อ่านจบั ความยอ่ ท ๑.๑ ป.๕/๔, ๖ ๒. คาที่มคี วามหมายโดยนัย
ความคิด ท ๒.๑ ป.๕/๔ ๓. ความหมายของคา ประโยค
ท ๔.๑ ป.๕/๒ และข้อความท่ีเป็นการบรรยาย
และการพรรณนา
๔. อา่ น เขยี นและวิเคราะห์
สานวนท่เี ปน็ คาพงั เพย สภุ าษิต
๕. เขยี นสอื่ สารโดยใชค้ าได้
ถูกต้องชดั เจนและเหมาะสม - คา
ขวญั - คาคม
๖. คดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็ม
บรรทดั และครึ่งบรรทดั
๗. อาขยานเร่อื ง ตนเปน็ ที่พ่ึงแห่ง
ตน
๘. มมี ารยาทในการเขยี น
๙. มมี ารยาทใน การฟงั การดู
และการพดู

๑. การอา่ นจบั ใจความสาคัญจาก
บทรอ้ ยกรอง (กาพย์ยานี ๑๑)
๒. การอา่ นการใช้พจนานุกรม
๓. การอา่ นการใชว้ ัสดอุ ปุ กรณ์
การอา่ นฉลากยาคมู่ ือและเอกสาร
ของโรงเรียนที่เกยี่ วข้องกบั
นกั เรียน
๔. เขียนยอ่ ความจากนิทาน

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอุทิศ

ลาดับ หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสาคัญ ๕๖
ท่ี ตัวชีว้ ดั
เวลา น้าหนัก
ชวั่ โมง คะแนน

๕. เขียนย่อความจากความเรียง
วรรณกรรม และวรรณคดีใน
หนังสือเรยี นหรือส่ือตา่ ง ๆ
๖. ประโยคในการเขียนย่อนิทาน
๗. กลุม่ คา หรือวลี

สอบกลางปี ๑. การอ่านพระบรมราโชวาท ๑๒ ๔
๙ ๙. ม่งุ ลิขติ คิดเหตุผล ท ๑.๑ ป.๕/๔, ๕, ๖ ๒. การอ่านโฆษณา
๓. การอ่านเชญิ ชวน
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ๙ ๔. การอ่านโน้มน้าวใจ
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ๓ ๕. การอ่านวรรณคดเี ร่ือง
ท ๔.๑ ป.๕/๒ กระเชา้ สดี า
ท ๕.๑ ป.๕/๒ ๖. คดั พระบรมราโชวาท
๗. การเขยี นโฆษณา
๘. การเขียนเชิญชวน
๙. การเขียนโนม้ นา้ วใจ
๑๐.การพดูโฆษณา
๑๑.การพดูเชญิ ชวน
๑๒.การพดูโนม้ น้าวใจ
๑๓.การพดูแสดงความรู้ ความคดิ
เหน็ และความรสู้ กึ จาก วรรณคดี
เร่อื งกระเช้าสดี า
๑๔. การเขยี นประโยคในการ
ตอบคาถามเขยี นแสดงความ
คิดเหน็ และวเิ คราะหเ์ ร่ืองท่ีอ่าน
๑๕. ระบุความรหู้ รือข้อคิดจาก
การอ่านวรรณคดเี รอื่ ง
กระเช้าสีดาเพอ่ื นาไปใช้ในชีวิต
จริง

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอุทิศ

ลาดับ หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสาคญั ๕๗
ท่ี ตวั ช้ีวัด
เวลา น้าหนัก
ชั่วโมง คะแนน

๑๖. มารยาทในการเขียน
๑๗.การอา่ นงานเขียนเชงิ อธบิ าย
คาสัง่ ข้อแนะนาและปฏบิ ัติตาม
เชน่
- การใช้พจนานุกรม
- การใชว้ ัสดุอุปกรณ์
- การอ่านฉลากยา
- คู่มอื และเอกสารของโรงเรยี นท่ี
เกี่ยวข้องกับนักเรียน
- ขา่ วสารทางราชการ

10 อา่ นคดิ เขียนเรียน ท ๑.๑ ป.๕/๔, ๕, ๖ ๑. อ่านข่าวจากสือ่ สงิ่ พมิ พ์ ๘ ๕
นาไปใช้ ท ๒.๑ ป.๕/๑, ๙ ๒. การตอบคาถามจากเร่อื ง รว่ ม
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ๓ แรงรวม่ ใจ
ท ๔.๑ ป.๕/๒ ๓. การแยกข้อเท็จจรงิ และ
ท ๕.๑ ป.๕/๒ ข้อคิดเหน็ จากเร่ืองท่ีอ่าน
๔. การคาดคะเนเหตุการณจ์ าก
เรื่องท่ีอ่าน โดยระบุเหตผุ ล
ประกอบ

๕. การวเิ คราะหแ์ สดงความ
คดิ เห็นเกย่ี วกับเร่ืองท่ีอ่านเพ่ือ น
าไปใช้
ในชวี ติ ประจาวนั

๖.การ เขียนตอบคาถามจากเรื่อง
ที่อ่าน

๗.การพดู แสดงความร้คู วาม
คิดเห็นและความร้สู ึกจากเรอ่ื งที่
ฟงั และดู

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอุทิศ

ลาดับ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู/้ สาระสาคัญ ๕๘
ท่ี ตวั ชีว้ ัด
เวลา น้าหนัก
ช่ัวโมง คะแนน

๘. การตัง้ คาถามและตอบคาถาม
เชงิ เหตุผลจากเรือ่ งที่ฟังและดู

๙.การจาแนกส่วนประกอบ ของ
ประโยคเพื่อเขยี นตอบและ แสดง
ความคดิเห็นจากเรองื่ ที่อ่าน ๑๐.
การสรุปเรอ่ื งจากวรรณคดี หรอื
วรรณกรรมที่อ่าน

11 สัญลักษณแ์ ผนผัง ท ๑.๑ ป.๕/๔, ๕, ๖ ๑. อา่ นวิเคราะห์และแสดง ๑๐ ๔
ความคดเิ หน็ เก่ียวกับเรอ่ื งท่ีอ่าน
แผนภูมิแผนท่ี ท ๒.๑ ป.๕/๑, ๙ เพื่อนาไปใชใ้ นการดาเนนชิ วี ิต ๒.
การอา่ นสญั ลักษณท่ใ์ ชใ้ น ชวี ติ
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ๓ ประจาวนั ๓.อ่านและแสดง
ความคดิเห็น จากแผนภมู ิแท่ง
ท ๔.๑ ป.๕/๒ แสดงจานวนเดก็ ทเ่ี กิดในเดือน
ม.ค.- ม.ิ ย.ของ โรงพยาบาลแห่ง
ท ๕.๑ ป.๕/๒ หนงึ่

๔. อา่ นและอธิบายความหมาย
ของข้อมูลจากแผนท่ีประเทศไทย
และตงั้ คาถามตอบคาถาม เชิง
เหตผุ ล
๖.สรุปความรู้ความคดิ จาก
วรรณกรรมเรอ่ื งสงิ โตกบแั พะ และ
นาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน
๕ . กา รน า แผนภาพโ คร งเรอื่ ง
และ แผนภาพความคิดไปพฒั นา
การเขียนเร่ือง สิงโตกับแพะ

หลกั สตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอุทิศ

ลาดบั หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสาคญั ๕๙
ท่ี ตัวชี้วดั
เวลา น้าหนกั
ชวั่ โมง คะแนน

๗. มมี ารยาทในการฟงั การดูและ
การพูด

12 หนา้ ตา่ งทีเ่ ปดิ กว้าง ท ๑.๑ ป.๕/๑ ๖ ๗ ๘ ๑. มะกะโท ๘๕

ท ๒.๑ ป.๕/๑-๓ ๙ ๒ . คาราชาศพั ท์
๓. บทอาขยานตามความสนใจ

ท ๓.๑ ป.๕/๑-๓ ครงึ่ บรรทดั

ท ๔.๑ ป.๕/๑ ๗ ๔. อาขยานตามความสนใจ
๕.การคัดลายมอื ตวบั รรจง

ท ๕.๑ ป.๕/๑-๓ ๖ . คาราชาศัพท์

๗. วรรณคดแี ละวรรณกรรมใน

บทเรียน

๘. มารยาทในการอ่าน

๙ . การนา แผนภาพโครงเร่ือง

และ แผนภาพความคดิ ไปพัฒนา

งาน

13 ภาษาจรรโลง ท ๑.๑ ป.๕/๑ ๑. อาขยานบทหลกั วถิ เี ด็กไทย ๑๒ ๔
๒.คดั ลายมอื ตวบั รรจงครงึ่ ๑๐ ๕
บรู ณาการสาระ ท ๒.๑ ป.๕/๑-๓ ๙ บรรทดั อาขยานบทหลกั วิถี
ทอ้ งถิน่ เดก็ ไทย
๔. การแตง่ กาพย์ยานี ๑๑
ท ๓.๑ ป.๕/๑-๓ ๓. มารยาทในการเขียน

ท ๔.๑ ป.๕/๖ ๑. นทิ านคตธิ รรมเร่อื ง ลงิ กบั
จระเข้
ท ๕.๑ ป.๕/๑-๓ ๒. การเขยี นบนั ทึกความรจู้ าก
แหลง่ ความรู้ต่างๆ
14 รไู้ ว้ไดป้ ระโยชน์ ท ๑.๑ ป.๕/๑

วรรณคดลี านาเร่อื ง ท ๒.๑ ป.๕/๑-๓ ๗ ๙
เหตุการณใ์ นบ้านสวน ท ๓.๑ ป.๕/๑-๓

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ิศ

ลาดับ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสาคัญ ๖๐
ที่ ตัวชีว้ ดั
ท ๔.๑ ป.๕/๗ เวลา นา้ หนกั
ท ๕.๑ ป.๕/๑-๓ ชัว่ โมง คะแนน

15 แรงกระทบ ท ๑.๑ ป.๕/๑ ๓. การเลือกอ่านหนังสือตาม ๘ ๔
ท ๒.๑ ป.๕/๑-๓ ๙ ความสนใจ
ท ๓.๑ ป.๕/๑-๓ ๔. การเขยี นเร่อื งตามจนิ ตนาการ
ท ๔.๑ ป.๕/๓ ๕.การพดรู ายงานจากการศกึ ษา
ท ๕.๑ ป.๕/๑-๓ คน้ คว้า
- การพดู ลาดับขน้ั ตอนการ
รวม ๓๓ ตัวชวี้ ัด ปฏิบตั งิ าน
- การพดู ลาดบั เหตุการณ์
๖. วรรณคดีและวรรณกรรมใน
บทเรยี น
๗. มารยาทในการอา่ น
๘. มารยาทในการฟงั การดู และ
การพดู

๑. ควายหงานกบั ผักหวานป่า
๒. คาทม่ี าจากภาษาต่า งประเทศ
๓. ภาษาไทยมาตรฐาน
๔. ภาษาถ่ิน
๕. วรรณกรรมทอ้ งถิ่น
๖. วรรณกรรมในภูมภิ าคอาเซยี น
๗. เพลงพ้นื บา้ น

๑๖๐

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย โรงเรยี นแกว้ อนิ ทร์สุธาอุทศิ

๖๑

หน่วยการเรยี นร้บู รู ณาการสาระทอ้ งถิน่ รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย ท ๑๕๑๐๑

ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕ ครอู ภริ นันตฐ์ ภาดา มาตรพันธ์นา

หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานและตวั ช้วี ดั สาระสาคัญ ช่วั โมง

"ตะลุม่ พานแวน่ ฟ้า" ท .๑.๑ ป.๕/๑-๙ บูรณาการองค์ความร้ตู ะลุ่ม ๘

การเดนิ ทางของภาษาเพื่อ ท ๒.๑ ป.๕/๑ ๒ ๓ ๔ ๙ และพานแวน่ ฟ้า กบั การ

พฒั นาอาชพี ท ๓.๑ ป.๕/๑-๕ เรียนรภู้ าษาถ่นิ คา

ท ๔.๑ ป.๕/๓ ๕ ภาษาตา่ งประเทศ และการ

ท ๕.๑ ป.๕/๑ ๒ อา่ นเพื่อนาความรไู้ ปใช้สร้าง

อาชีพ

"ทุเรยี นนนท"์ ท .๑.๑ ป.๕/๑-๙ บูรณาการความร้เู รอื่ ง ๘

ในพรรณพฤษากบั สตั วาภิธาน ท ๒.๑ ป.๕/๑ ๒ ๓ ๖ ๙ ทุเรยี นนนท์ กบั การเรยี นรู้

ภมู ิปัญญาภาษาและ ท ๔.๑ ป.๕/๓ การอา่ นออกเสยี งบทร้อย

วรรณกรรม ท ๕.๑ ป.๕/๑ ๒ ๓ แก้ว บทร้อยกรอง นาไปใช้

ในการพฒั นาการเขยี น การ

พูด การแต่งกาพยย์ านี ๑๑

เพือ่ เสนอคุความรู้ ข้อคิด

คณุ ค่าของวรรณกรรมที่

สามารถนาไปใช้ในชีวิตจรงิ

หลกั สตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นแกว้ อนิ ทร์สุธาอุทศิ

๖๒

โครงสร้างรายวชิ าพืน้ ฐานกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง

ลาดับ ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก
(ชว่ั โมง)
ท่ี เรียนรู้ เรียนรู้/

ตัวชวี้ ัด

๑ หนว่ ยการเรยี นรู้ ท ๑.๑ การอ่านออกเสยี งวรรณกรรมเรอ่ื งจาก ผาแตม้ สู่ ๘ ๕
อียปิ ต์ การอ่านสรุปใจความสาคญั การอา่ น ๘ ๕
ที่ ๑ ป ๖/๑ - ป ๖/๖ คาศัพท์ การอา่ นวัน เดือน ปี แบบไทย การมี ๕
มารยาทในการอา่ น เป็นการแสดงถงึ อปุ นิสยั ที่ดี
จากผาแตม้ สู่ ป ๖/๘ - ป ๖/๙ และน่าช่ืนชม การเขียนแผนภาพ โครงเร่ือง
และอธิบายการนาความรู้และขอ้ คดิ จาก
อียปิ ตบ์ ูรณาการ ท ๒.๑ วรรณกรรมเพ่อื นาไปตัดสนิ ใจแกป้ ญั หาในการ
ดาเนินชวี ิตได้ การนาความร้แู ละประสบการณ์มา
หลกั สตู รท้องถน่ิ ป ๖/๑ ป ๖/๒ ถ่ายทอดสู่ผฟู้ งั ด้วยการพดู เล่าเรอื่ ง เปน็ การให้
ความรู้หรือผ่อนคลายอารมณ์ โดยมจี ดุ ประสงค์
ป ๖/๓ ป ๖/๙ เพอื่ สรา้ งความรู้ ความเข้าใจ และความ
เพลิดเพลนิ
ท ๓.๑
การอ่านวรรณกรรม เพอื่ สรปุ ใจความสาคญั
ป ๖/๑ ป ๖/๒ อา่ นออกเสยี งคาศพั ท์และเนือ้ เร่อื งได้ถูกต้อง
ชัดเจน ถกู วรรคตอน และเขยี นแผนภาพ
ท ๔.๑ โครงเรอ่ื ง อธิบายการนาความรู้และข้อคิดจาก
วรรณกรรมเพื่อนาไปตดั สินใจแกป้ ญั หาในการ
ป ๖/๑ ป ๖/๒ ดาเนินชีวติ

ท ๕.๑ ประเพณลี งแขกทานา อักษร ๓ หมู่
คาเปน็ คาตาย การผันวรรณยกุ ต์ ความหมาย
ป ๖/๑ ป ๖/๓ ของคา ความหมายตรง ความหมายโดยนัย การ
เขียนส่อื สาร
๒ หนว่ ยการเรยี นรู้ ท ๑.๑

ที่ ๒ ป ๖/๑ - ป ๖/๖

ควาย ขา้ วและ ป ๖/๘ - ป ๖/๙

ชาวนาบูรณาการ ท ๒.๑

หลักสตู รทอ้ งถน่ิ ป ๖/๑ ป ๖/๒

ป ๖/๓ ป ๖/๙

ท ๓.๑

ป ๖/๑ ป ๖/๒

ท ๔.๑

ป ๖/๑ ป ๖/๒

ท ๕.๑

ป ๖/๑ ป ๖/๓

๓ หน่วยการเรียนรู้ ป ๖/๑ - ป ๖/๖ อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองได้ ๗
ถกู ตอ้ ง รู้ความหมายของคานาความรแู้ ละ
ท่ี ๓ ป ๖/๘ - ป ๖/๙ ความคดิ จากเร่อื งท่ีอา่ นไปตดั สินใจแกป้ ัญหาใน
การดาเนินชวี ิตร้คู วามหมายในการอ่านวนั เดือน
ชมรมคนรัก ท ๒.๑ ปี แบบไทยเขียนเรื่องราวในรปู แบบต่างๆ
เขียนสือ่ สารเขียนจดหมายสว่ นตวั เขียน
วรรณคดี ป ๖/๒ ป ๖/๓ แผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดโดยใช้
คาไดถ้ กู ตอ้ งชัดเจนและเหมาะสม พูดเล่าเรอ่ื งเป็น
ป ๖/๖ ป ๖/๙ การนาความรูแ้ ละประสบการณม์ าถา่ ยทอดสผู่ ฟู้ ัง
สามารถส่ือสารภาษาถิ่นแต่ละภาคได้ มี
ท ๓.๑ มารยาทในการอ่านและการเขียน

ป ๖/๑ ป ๖/๒

ป ๖/๖

ท ๔.๑

ป ๖/๑ ป ๖/๓

ท ๕.๑

ป ๖/๑ ป ๖/๓

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทร์สุธาอุทิศ

๖๓

๔ หน่วยการเรียนรู้ ท ๑.๑ การอ่านออกเสยี งคาศัพท์ และเนอื้ เร่ือง ๘ ๕
ท่ี ๔ ป ๖/๑ - ป ๖/๙ วรรณกรรมเรอ่ื งอา่ นปา้ ยไดส้ าระการอา่ นสรปุ ๘ ๕
อ่านปา้ ยไดส้ าระ ท ๒.๑ ใจความสาคญั การเขยี นแผนภาพโครงเรื่อง และ
ป ๖/๑ ป ๖/๒ อธบิ ายการนาความรู้ และขอ้ คิดจากวรรณกรรม
ป ๖/๓ ป ๖/๙ เพ่อื นาไปตัดสินใจ การมมี ารยาทในการฟัง การดู
ท ๓.๑ การพูด จะทาให้รับสารและส่งสารไดเ้ หมาะสม
ป ๖/๑ ป ๖/๒ กบั กาลเทศะเป็นทช่ี ่ืนชมของผพู้ บเห็น วลีคอื การ
ท ๔.๑ นาคามาเรียงกันต้ังแต่ ๒ คาขึ้นไป แตย่ งั มี
ป ๖/๑ ความหมายไม่ครบถว้ นสมบรู ณ์อยา่ งประโยค
ท ๕.๑ ประโยคคือกลุ่มคาท่เี รยี งต่อกันแลว้ ได้ใจความ
ป ๖/๓ สมบรู ณ์วา่ ใคร ทาอะไร คดิ อย่างไร รสู้ กึ อย่างไร
หรือมีสภาพอย่างไร บทรอ้ ยกรอง คอื ถอ้ ยคาที่
๕ หนว่ ยการเรยี นรู้ ท ๑.๑ เรียบเรยี งใหเ้ ป็นระเบียบถูกต้องตามข้อกาหนด

ที่ ๕ ป ๖/๑ - ป ๖/๖ การอา่ นออกเสยี งคาศัพทแ์ ละเนือ้ เร่ืองเรอ่ื งกทลี
ตานี การอา่ นสรปุ ใจความสาคญั การอา่ นงาน
กทลีตานี ป ๖/๘ - ป ๖/๙ เขยี นเชงิ อธบิ าย คาสงั่ ข้อแนะนาม่งุ ใหผ้ อู้ ่าน
ปฏิบตั ิตามไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง การเขยี นแผนภาพ
บรู ณาการ ท ๒.๑ โครงเรอื่ งและอธบิ าย การนาความรแู้ ละขอ้ คิด
จากวรรณกรรมเพอ่ื นาไปตดั สินใจแกป้ ัญหาในการ
หลกั สตู รท้องถิ่น ป ๖/๒ ป ๖/๓ ดาเนนิ ชวี ิตได้ การเขยี นนทิ านเป็นการเขยี นเร่ือง
ตามจินตนาการโดยใชป้ ระสบการณ์เดมิ
ป ๖/๘ ป ๖/๙ คานามเป็นคาชนดิ หนง่ึ ท่ใี ชเ้ รียกคน พืช สัตว์
สง่ิ ของและสถานที่ ซงึ่ ทาหนา้ ท่ีเปน็ ทง้ั ประธาน
ท ๓.๑ และกรรมในประโยคและใช้ส่อื สารใน
ชีวิตประจาวนั คาสรรพนามเป็นคาทใี่ ช้แทน
ป ๖/๑ ป ๖/๒ คานาม และคาสรรพนามเป็นคาทตี่ อ้ งการใชใ้ น
การสนทนาในชวี ิตประจาวัน จงึ ตอ้ งเลือกใช้กบั
ป ๖/๕ ป ๖/๖ บคุ คลต่างๆ ใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม คากรยิ าเปน็ คาท่ี
แสดงอาการหรือสภาพ หรือการกระทาของ
ท ๔.๑ ประธานในประโยคซึ่งเป็นคานาม หรอื คาสรรพ-
นาม ประโยคทกุ ประโยคต้องมกี รยิ า
ป ๖/๑

ท ๕.๑

ป ๖/๑ ป ๖/๓

๖ หน่วยการเรียนรู้ ท ๑.๑ นิทานทองอนิ ตอนนากพระขโนงทีส่ องสะท้อนให้ ๖ ๕
เหน็ การเกดิ ข่าวลือขึน้ ในสงั คมแมก้ ระทั่งไดเ้ ห็นสิง่
ท่ี ๖ ป ๖/๑ ป ๖/๒ นัน้ ดว้ ยสายตาก็อาจไม่ใช่ความจรงิ ยง่ิ ผู้รับ
นักสบื ทองอนิ ป ๖/๓ ป ๖/๕ ข่าวสารตอ้ งมี วิจารณญาณไตต่ รองเพ่อื ไมใ่ ห้หลง
ผดิ หรือตกเป็นเหยอื่ ของผไู้ มห่ วงั ดี
ป ๖/๘
ท ๒.๑ การอา่ นในใจให้เกิดความเข้าใจชดั เจนลกึ ซึง้
ป ๖/๒ ป ๖/๓ จะตอ้ งอา่ นแล้วสามารถต้งั คาถาม ตอบคาถาม
ป ๖/๘ ป ๖/๙

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนแก้วอนิ ทร์สุธาอุทิศ

๖๔

ท ๓.๑ อภิปรายแสดงความคดิ เหน็ เนือ้ เรอื่ ง ลาดบั

ป ๖/๑ - ป ๖/๓ เหตุการณ์ และสรุปใจความสาคญั ของเร่ือง

ป ๖/๖

ท ๕.๑

ป ๖/๑ ป ๖/๒

ป ๖/๓

๗ หนว่ ยการเรยี นรู้ ท ๑.๑ การอา่ นออกเสียงวรรณกรรมเร่ือง ละครยอ้ นคดิ ๘ ๑๐

ที่ ๗ ป ๖/๑ - ป ๖/๕ การอ่านสรปุ ใจความสาคัญ การอา่ นคาศพั ท์

ละครยอ้ นคิด ป ๖/๙ คาวิเศษณ์ คาบุพบท การรหู้ ลกั เกณฑ์ทาง

ท ๒.๑ ภาษา การแบง่ ประโยคเพื่อการสอ่ื สาร ประโยค

ป ๖/๑ ป ๖/๒ ใช้ส่ือสารในชวี ิตประจาวัน การใช้ประโยคได้

ป ๖/๓ ป ๖/๔ ถูกตอ้ งจะทาใหก้ ารส่อื สารมปี ระสธิ ภิ าพ

ท ๓.๑ การเขียนเรยี งความ มรี ปู แบบเฉพาะ คือ มีคา

ป ๖/๑ ป ๖/๖ นา เนือ้ เรือ่ ง สรุป เปน็ การเขียนเพอ่ื ถา่ ยทอด

ท ๔.๑ ความรู้ ความคดิ ความรสู้ กึ และประสบการณ์

ป ๖/๑ ป ๖/๔ ไปยังผูอ้ ่าน

ท ๕.๑

ป ๖/๑ ป ๖/๓

๘ หนว่ ยการเรียนรู้ ท ๑.๑ การอา่ นออกเสยี งวรรณกรรมเรอื่ ง กลอนกานท์ ๘ ๕
ท่ี ๘ ป ๖/๑ - ป ๖/๕ จากบ้านไทย การอา่ นสรุปใจความสาคญั
กลอนกานท์จาก ป ๖/๙ การอ่านคาศัพท์
บา้ นไทยบูรณา ท ๒.๑
การหลักสูตร ป ๖/๕ ป ๖/๘ คาเช่อื ม คาอทุ าน การอา่ นกลอนเสภา การ
ทอ้ งถน่ิ ป ๖/๙ อา่ นกาพยย์ านี ๑๑ คาสมั ผสั คลอ้ งจอง คอื คา
ท ๓.๑ ทีอ่ อกเสยี งคลอ้ งจองกัน ในการแตง่ บทร้อยกรอง
ป ๖/๑ ป ๖/๖ หรอื บทกลอนต้องมีคาสมั ผสั คล้องจอง จึงจะทา
ท ๔.๑ ใหเ้ กดิ ความไพเราะ สละสลวย
ป ๖/๑ ป ๖/๒
ป ๖/๔
ท ๕.๑
ป ๖/๑ ป ๖/๓

๙ หนว่ ยการเรยี นรู้ ท ๑.๑ บทเสภาเร่อื ง ขุนช้างขุนแผน เป็นวรรณคดที ี่ ๕๕

ท่ี ๙ ป ๖/๑ ป ๖/๒ สะท้อนความเป็นไทยอย่างเด่นชัด ท้งั สภาพ

การเดินทางของ ป ๖/๕ ป ๖/๘ สังคม วิถชี ีวิต วฒั นธรรมความเชื่อ และยงั

พลายนอ้ ย ท ๕.๑ สะทอ้ นความจริงของชวี ิตทตี่ อ้ งพบกบั ความทุกข์

ป ๖/๑ ป ๖/๒ ความเสยี ใจ ความพลดั พราก สิ่งเหล่านเี้ ปน็

ป ๖/๓ ป ๖/๔ คณุ คา่ ของวรรณคดีทผี่ ้อู ่านจะไดร้ บั

อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและ บทรอ้ ย

กรอง แสดงความคดิ เห็นจากวรรณคดหี รือ

วรรณกรรมทอ่ี า่ น เลา่ นทิ านพนื้ บา้ น

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทร์สุธาอทุ ิศ

๖๕

ทอ้ งถ่นิ ของตนเองและนิทานพนื้ บา้ นของท้องถิ่น

อ่ืน การมีมารยาทในการอา่ น

๑๐ หนว่ ยการเรยี นรู้ ท ๑.๑ ๗๕

ท่ี ๑๐ ป ๖/๑ ป ๖/๒ การอ่านออกเสียงวรรณกรรมเรือ่ งกวา่ แผน่ ดนิ

กวา่ แผน่ ดนิ จะ ป ๖/๔ ป ๖/๕ จะกลบหนา้ การอ่านสรปุ ใจความสาคัญ การอา่ น

กลบหน้า ป ๖/๙ คาศพั ท์ การพดู การแสดงความรู้ ความเข้าใจ

ท ๒.๑ จดุ ประสงค์ของเรอ่ื งทีฟ่ งั และดู การพูดรายงานทดี่ ี

ป ๖/๕ ป ๖/๘ ทาให้การนาเสนอข้อมลู มีความนา่ สนใจ การ

ป ๖/๙ วิเคราะหส์ านวน ทเี่ ป็นคาพังเพย สภุ าษิต

ท ๓.๑ สานวนไทยทม่ี คี วามหมายในเชงิ เปรยี บเทยี บและ

ป ๖/๑ ป ๖/๖ ให้คตสิ อนใจ

ท ๔.๑

ป ๖/๑ ป ๖/๖

ท ๕.๑

ป ๖/๑ ป ๖/๓

๑๑ หน่วยการเรยี นรู้ ท ๑.๑ การอ่านวรรณกรรมเรอ่ื งไมง้ ามใน สวนแก้ว การ ๗ ๑๐

ที่ ๑๑ ป ๖/๑ - ป ๖/๕ อา่ นสรปุ ใจความสาคญั การอ่านคาศพั ท์ การ

ไม้งามในสวน ป ๖/๙ อา่ นบทรอ้ ยกรอง ประโยครวม ประโยคซ้อน คา

แก้ว ท ๒.๑ ประพนั ธ์ประเภทร้อยแก้วและรอ้ ยกรอง ประเภท

บูรณาการ ป ๖/๕ ป ๖/๘ ของกลอน การแตง่ บทรอ้ ยกรองตอ้ งคานึงถึง

หลกั สตู รท้องถิน่ ป ๖/๙ ลกั ษณะและขอ้ กาหนดของบทร้อยกรองแตล่ ะ

ท ๓.๑ ประเภทรู้จกั เลอื กสรถอ้ ยคาทม่ี ีความหมายและ

ป ๖/๑ ป ๖/๖ เสียงคลอ้ งจองเหมาะสมมาใช้

ท ๔.๑

ป ๖/๑ ป ๖/๒

ป ๖/๔

ท ๕.๑

ป ๖/๑ ป ๖/๓

ระหว่างปกี ารศึกษา ๗๐

ทดสอบปลายภาคเรยี น ๓๐

รวม ๑๐๐

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทร์สุธาอทุ ิศ

๖๖

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖

สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพูด

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดอู ย่างมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกใน
โอกาสต่างๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์

รหสั ตัวช้ีวัด ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถิน่

ท ๓.๑ ป ๖/๑ ๑. พูดแสดงความรู้ ความ - การพูดแสดงความรู้ ความเข้าใจใน - พูดรายงาน บอกประวตั ิ
ป ๖/๔
เข้าใจ จดุ ประสงคข์ องเร่ือง จดุ ประสงค์ของเร่ืองท่ีฟังและดูจากส่อื ต่างๆ ความเปน็ มาของท้องถน่ิ

ทฟี่ ังและดู - การวิเคราะห์ความน่าเช่ือถือจากการฟงั และ ท่ีอาศัยออยู่

๒.พูดรายงานเร่ืองหรือ ดูส่อื โฆษณา

ประเดน็ ที่ศึกษาคน้ ควา้ จาก - การรายงาน

การฟงั การดู และการ - การพูดโน้มน้าวในสถานการณต์ ่างๆ

สนทนา - มารยาทในการฟัง การดู และการพูด

สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความเหน็ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณคา่ และนามา
ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จริง

รหัสตัวชี้วัด ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนร้ทู อ้ งถ่นิ
ท ๕.๑ ป ๖/๒
๑.เลา่ นทิ านพืน้ บ้านท้องถน่ิ - วรรณคดีและวรรณกรรม - เลา่ นิทานพื้นบ้านในท้องถน่ิ
ตนเองและนทิ านพนื้ บา้ น - บทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมคี ุณคา่ ตนเองและสามารถนาคณุ คา่ ท่ี
ท้องถน่ิ อนื่ ได้รับมาประยุกต์ใช้ในชวี ติ จรงิ
๒.อธิบายคณุ ค่าของ ได้
วรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ี
อา่ นและนาไปประยกุ ต์ใชใ้ น
ชีวิตจริง

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอุทศิ

๖๗

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

รายวชิ าพ้ืนฐาน ภำษำไทย
รายวชิ า ภาษาไทย
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยรายวชิ า ภาษาไทย
รหสั วชิ า ท ๑๑๑๐๑
เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง

ศกึ ษาคา คาคล้องจอง และ ข้อความสน้ั ๆ ความหมายของคาและข้อความท่อี ่าน
เครอื่ งหมาย หรือสัญลักษณส์ าคัญที่มักพบเห็นในชวี ติ ประจาวนั และประวตั ทิ ้องถิ่นนนทบรุ ี สถานที่
สาคัญ วฒั นธรรมและประเพณที ้องถนิ่ โดยการอ่านออกเสยี ง บอกความหมาย ตอบคาถาม เล่าเรื่อง
ย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ และ นาเสนอ เก่ียวกับเรื่องท่ีอ่าน อ่านหนังสือตามความสนใจอยา่ งสม่าเสมอ
และมีมารยาทในการอา่ น

ศึกษากระบวนการเขยี นสื่อสาร เร่อื งราวเกยี่ วกบั แหล่งเรียนร้ใู นท้องถ่นิ ของตน การ
ปกครอง วัฒนธรรม อาชีพ สถานสาคญั สถานที่ทอ่ งเที่ยวในทอ้ งถน่ิ ของตนไดโ้ ดยการคดั ลายมอื ตัว
บรรจงเตม็ บรรทัด เขยี นส่ือสารด้วยคาและประโยคงา่ ยๆ อยา่ งมีมารยาทในการเขยี น
เลือกฟงั ดู และพูดแสดงความรู้ ความคิดอย่างมวี ิจารณญาณ โดยการฟงั คาแนะนา คาสั่งง่ายๆ และ
ปฏบิ ตั ิตาม ตอบคาถาม เล่าเรือ่ ง พูดแสดงความคดิ เหน็ ความรูส้ กึ พดู ส่ือสารตามวตั ถุประสงคแ์ ละมี
มารยาทในการฟัง การดู และการพูด

ศกึ ษาพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ เลขไทย คาและความหมายของคา ประโยค คาคลอ้ ง
จอง โดยการเขยี นสะกดคา บอกความหมายของคา เรยี บเรียงคาเป็นประโยคง่ายๆ และต่อคาคลอ้ งจอง
งา่ ยๆศกึ ษาวรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อยกรองสาหรับเดก็ บทอาขยาน และบทรอ้ ยกรอง โดยการบอก
ข้อคิดท่ีได้จากการการอ่านหรือการฟัง ท่องจาบทอาขยานตามท่กี าหนด และบทร้อยกรองตามความ
สนใจ

รหัส

ทต๑.ัว๑ชปวี้ .๑ดั /๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘
ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ท ๓.๑ ป. ๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ท ๔.๑ ป. ๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ท ๕.๑ ป. ๑/๑, ป.๑/๒
รวมทัง้ หมด ๒๒ ตัวชวี้ ดั

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทร์สุธาอุทิศ

๖๘

รายวิชาพ้ืนฐาน คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
รายวชิ า ภาษาไทย
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ ภำษำไทย

กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทยรายวิชา ภาษาไทย
รหัสวชิ า ท ๑๒๑๐๑
เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

อ่านคา อ่านคาชื่อประเทศสมาชิกอาเซียน ชื่อเมืองหลวงประเทศสมาชิกอาเซียน คาขวัญของ
จังหวัดนนทบุรี คาคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ ข้อเขียนเชิงอธิบายจากเรื่องท่ีอ่านและ
อ่านประวัติท้องถิ่นนนทบุรี สถานที่สาคัญ วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่นโดยการอ่านออกเสียง อธิบาย
ความหมาย ตั้งคาถามและตอบคาถามเก่ียวกับเร่ืองที่อ่าน ระบุใจความสาคัญและรายละเอียด แสดงความ
คิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์ อ่านและปฏิบัติตามคาส่ังหรือข้อแนะนา นาเสนอเรื่องที่อ่าน อ่าน
หนงั สอื ตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและมีมารยาทในการอา่ น

ศึกษาเร่ืองการคดั ลายมือ การเขียนเรื่องเก่ียวกับประสบการณ์ และการเขียนเร่ืองตามจินตนาการ
โดยการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเร่ืองเก่ียวกับประสบการณ์เขียนเร่ืองตามจินตนาการ
เร่ืองราวเก่ียวกับแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นของตน การปกครอง วัฒนธรรม อาชีพ สถานที่สาคัญ สถานท่ี
ท่องเท่ียวในท้องถ่ินของตน และแสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเทศสมาชิกอาเซียน และมี
มารยาทในการเขียน

ศึกษาเรื่องการฟังคาแนะนา คาสั่งท่ีซับซ้อน การเล่าเร่ืองท่ีฟังและดู โดยการฟังและปฏิบัติตาม
เล่าเรื่องท่ีฟังและดูท้ังท่ีเป็นความรู้และความบันเทิง บอกสาระสาคัญของเร่ือง ตั้งคาถามและตอบคาถาม
เก่ยี วกับเรื่องทฟี่ งั และดู พูดแสดงความคดิ เห็นและความร้สู กึ จากเรื่องที่ฟังและดู พูดส่ือสารใหช้ ัดเจนตรง
ตามวัตถุประสงค์ สามารถนาความรู้ในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน และมี
มารยาทในการฟัง การดู และการพดู

ศึกษาเรื่องพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์และเลขไทย คาและความหมายของคา ประโยค
คาคล้องจอง

ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ิน โดยการบอกและเขียนสะกดคา บอกความหมายของคา
เรียบเรียงคาเป็นประโยคตามเจตนาของการสื่อสาร บอกลักษณะคาคล้องจอง เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน
และภาษาถน่ิ ไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ

ศกึ ษาวรรณกรรมสาหรับเด็ก บทร้องเลน่ สาหรบั เด็ก บทอาขยาน และบทรอ้ ยกรอง โดยการ

ระบขุ อ้ คิดที่ไดจ้ ากการอ่านหรือการฟงั เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน รอ้ งบทร้องเล่นสาหรบั เดก็ ใน

ทอ้ งถน่ิ ทอ่ งจาบทอาขยานตามทก่ี าหนด และบทร้อยกรองทมี่ ีคณุ คา่ ตามความสนใจ

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๖๙

รหสั
ท ๑ต.๑ัวชป.ว้ี ๒ดั/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
รวมทั้งหมด ๒๗ ตัวชว้ี ัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย โรงเรยี นแกว้ อนิ ทร์สุธาอุทศิ

๗๐

รายวชิ าพน้ื ฐาน คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
รายวิชา ภาษาไทย
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๓ ภำษำไทย

กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทยรายวชิ า ภาษาไทย
รหสั วชิ า ท ๑๓๑๐๑
เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

อ่านและบอกความหมายของคา คาคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ ข้อเขียนเชิง
อธิบายจากเร่ืองที่อ่าน ข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ แผนภูมิและคาศัพท์ช่ือประเทศสมาชิกอาเซียน และ
ประวัติท้องถ่ินนนทบุรี สถานที่สาคัญ วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่นโดยการอ่านออกเสียง อธิบาย
ความหมาย ต้ังคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ลาดับเหตุการณ์และคาดคะเน
เหตุการณ์ ระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรู้และข้อคิดจากเร่ืองที่อ่านเพ่ือนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
นาเสนอเรื่องที่อ่าน อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมออ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตาม
คาส่ังหรือขอ้ แนะนาอธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิและมีมารยาทในการ
อ่าน

เขียนบรรยายเก่ียวกับสิ่งใดส่ิงหนึ่ง การเขียนบันทึกประจาวัน จดหมายลาครู เร่ือง ตาม
จนิ ตนาการ เขียนเรื่องเกย่ี วกับอาเซียนตามจินตนาการจากคาทก่ี าหนดให้ เรื่องราวเกี่ยวกบั แหล่งเรียนรู้
ในท้องถ่ินของตน การปกครอง วัฒนธรรม อาชีพ สถานท่ีสาคัญ สถานท่ีท่องเท่ียวในท้องถ่ินของตนได้
โดยการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบันทึกประจาวัน จดหมายลาครู เขียนเรื่องตามจินตนาการ
และมมี ารยาทในการเขียน

ศึกษาเรื่องการฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง การพูดส่ือสารโดยการเล่ารายละเอียด
เก่ียวกับเรื่องท่ีฟังและดู บอกสาระสาคัญของเรื่อง ตั้งคาถามและตอบคาถามเกี่ยวกับเร่ืองที่ฟังและดู
พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู พูดส่ือสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ และมี
มารยาทในการฟงั การดู และการพดู

ศึกษาเร่ืองคาและความหมายของคา ชนิดและหน้าที่ของคา ประโยค คาคล้องจองและคาขวัญ
ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ิน โดยการเขียนสะกดคา บอกความหมายของคา ระบุชนิดและหน้าที่
ของคาในประโยค ใช้พจนานุกรมคน้ หาความหมายของคา แต่งประโยคง่ายๆ แต่งคาคล้องจองและคา
ขวญั เลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิน่ ใหเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ

ศึกษาวรรณกรรมและวรรณคดี เพลงพ้นื บา้ น เพลงกล่อมเด็ก บทอาขยาน และบทรอ้ ยกรอง

โดยการระบุข้อคิดท่ีได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรม เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน รู้จักเพลง

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทร์สุธาอทุ ศิ

๗๑

พน้ื บ้านและเพลงกล่อมเด็ก ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศศึกษาค้นคว้าภาษาที่ใช้ของประเทศอาเซียน สามารถ
นาความรู้ในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับวรรณคดีท่ี
อ่าน ทอ่ งจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทรอ้ ยกรองท่มี คี ุณค่าตามความสนใจ

รหัส
ท ๑ต.๑วั ชปวี้ .๓ดั /๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
รวมท้ังหมด ๓๑ ตัวชีว้ ัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๗๒

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

รายวิชาพนื้ ฐาน ภำษำไทย
รายวชิ า ภาษาไทย
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทยรายวชิ า ภาษาไทย
รหสั วิชา ท ๑๔๑๐๑
เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง

อ่านบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง เรื่องสั้นๆ คา ประโยค และสานวนจากเร่ืองท่ีอ่าน โดยการ
อ่านออกเสียง อธิบายความหมายของคา อ่านเรื่องส้ันๆ ตามเวลาท่ีกาหนด ตอบคาถามจากเร่ืองที่อ่าน
และข้อมูลพื้นฐานของประเทศสมาชิกอาเซียน แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ีอ่าน คาดคะเน
เหตุการณ์จากเรอ่ื งท่ีอา่ นโดยระบเุ หตุผลประกอบ ภาษาทีใ่ ช้ของประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียน สรุปความรู้
และข้อคิดจากเร่ืองท่อี ่านเพอ่ื นาไปใช้ในชีวิตประจาวันแสดงความคิดเห็นจากหนังสือที่อ่าน อ่านหนังสือที่
มีคุณค่าอ่านประวัติท้องถ่ินนนทบุรี สถานท่ีสาคัญ วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่นตามความสนใจอย่าง
สม่าเสมอและมีมารยาทในการอ่าน

ศึกษาเรื่องการคัดลายมือ การเขียนสื่อสารเร่ืองราวเก่ียวกับแหล่งเรียนรู้ในท้องถ่ินของตน
การปกครอง วัฒนธรรม อาชีพ สถานท่ีสาคัญ สถานที่ท่องเท่ียวในท้องถิ่นของตนได้ เขียนแผนภาพ
โครงเรื่องและแผนภาพความคิด การเขียนย่อความ การเขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา การเขียน
บันทึกและเขียนรายงาน การเขียนเรื่องตามจินตนาการ โดยการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึง
บรรทดั เขียนส่อื สารโดยใช้คาได้ถกู ต้องชัดเจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิด
เพ่ือใช้พัฒนางานเขียน เขียนย่อความจากเรื่องสั้นๆ เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา เขียนบันทึก
เขยี นรายงานจากการศึกษาคน้ ควา้ เขียนเรื่องตามจนิ ตนาการ และมมี ารยาทในการเขียน

ศึกษาเร่ืองการฟัง การดู การพูดสรุปความการพูดสามารถพูดเร่ืองราวสื่อสารประชาสัมพันธ์
วัฒนธรรมประเพณี สถานท่ีสาคัญ สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆในท้องถ่ินแสดงความรู้ความคิดเห็นและ
ความรู้สึก การรายงานจากการฟัง การดู และการสนทนาโดยการจาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจาก
เรื่องที่ฟังและดู พูดสรุปความ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องท่ีฟังและดู
ต้ังคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผล รายงานเร่ืองหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และ
การสนทนา และมมี ารยาทในการฟงั การดู และการพดู

ศึกษาเรื่องการเขียนสะกดคาและความหมายของคา ชนิดและหน้าท่ีของคา บทร้อยกรองและ
คาขวัญสานวน ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น โดยการเขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา

หลกั สตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอทุ ิศ

๗๓

ในบริบทต่างๆระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา แต่งประโยคตาม
หลักภาษา แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ บอกความหมายของสานวน เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและ
ภาษาถิน่ พูด ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศศึกษาคน้ คว้าภาษาท่ีใช้ของประเทศอาเซียน สามารถนาความรู้ในหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน มีเจตคติท่ดี ีต่อภาษาไทยและมีความภาคภมู ิใจในภาษาของ
ชาติ

ศึกษานิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม เพลงพ้ืนบ้าน บทอาขยาน และบทร้อยกรอง โดยการ
ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม อธบิ ายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตจริง ร้อง
เพลงพน้ื บา้ น ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนด และบทรอ้ ยกรองที่มคี ุณค่าตามความสนใจ

รหัส
ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖
ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗
ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
รวมทั้งหมด ๓๓ ตัวช้วี ัด

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรยี นแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๗๔

รายวิชาพ้ืนฐาน คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
รายวิชา ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๕ ภำษำไทย

กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทยรายวชิ า ภาษาไทย
รหสั วิชา ท ๑๕๑๐๑
เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง

ศกึ ษาเรียนรู้ การอ่านงานเชิงอธบิ าย คาส่ัง ข้อแนะนา และปฏิบัตติ าม การใชพ้ จนานกุ รม การใช้วัสดอุ ุปกรณ์
ฉลากยา คูม่ ือและเอกสารของโรงเรยี นเกี่ยวกับนักเรยี น ขา่ วสารทางราชการ อ่านหนังสอื เก่ยี วกบั ประวัติศาสตร์ การ
ปกครอง ศิลปวัฒนธรรม วถิ ชี วี ิต ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ โดยการอา่ นออกเสียงร้อยแกว้ และการอา่ นทานองเสนาะบทรอ้ ย
กรอง อธบิ ายความหมายของถอ้ ยคา สานวน อ่านจบั ใจความ แยกขอ้ เท็จจริงและข้อคดิ เห็น วิเคราะหแ์ ละแสดงความ
คดิ เห็นเกย่ี วกับเร่อื งทอ่ี า่ น และมมี ารยาทในการอา่ น

ศกึ ษาเรยี นรู้ การเขยี นสื่อสารโดยใช้คาให้ถกู ตอ้ งชัดเจน เขียนจดหมายถงึ ผูป้ กครองและญาติ การกรอกแบบ
รายการตา่ งๆ การเขยี นแสดงความร้สู ึก ความคดิ เห็น เขยี นเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ เขียนยอ่ ความจากวรรณคดแี ละ
วรรณกรรมฝนบทเรียนและเร่อื งทเ่ี ก่ยี วกับประวตั ิศาสตร์ การปกครอง ศลิ ปวัฒนธรรม วิถชี ีวิต ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ การ
คดั ลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทัดและครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขยี นอกั ษรไทย การนาแผนภาพโครงเรอ่ื งและแผนภาพ
ความคดิ พัฒนางานเขียน และมมี ารยาทในการเขยี น

ศกึ ษาเรยี นรู้ การพดู รายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีศกึ ษาค้นคว้า พดู ลาดบั ข้ันตอนการปฏบิ ตั ิงาน พูดลาดบั
เหตุการณ์ จากการฟัง การดู และการสนทนาเกย่ี วกับประวตั ิศาสตร์ การปกครอง ศลิ ปวัฒนธรรม วถิ ชี ีวติ ภูมิ ปญั ญา
ทอ้ งถิน่ โดยการพดู แสดงความรู้ ความคิดเหน็ ความรสู้ กึ ตัง้ คาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผล วเิ คราะห์ความ น่าเชือ่ ถอื
และมมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู

ศึกษาเรยี นรู้ ชนดิ และหนา้ ท่ีของคาวิเศษณ์ คาบพุ บท คาเชอื่ ม คาอทุ าน กล่มุ คาหรอื วลี ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาถ่ิน คาราชาศพั ท์ คาท่มี าจากภาษาต่างประเทศ กาพย์ยานี ๑๑ สานวนทเี่ ปน็ คาพังเพย โดยการระบุชนดิ และ
หนา้ ท่ีของคาในประโยค จาแนกสว่ นประกอบของประโยค เปรยี บเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาทอ้ งถิ่น ใชค้ าราชา
ศัพท์ บอกคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย แตง่ บทรอ้ ยกรองและใชส้ านวนได้ถกู ต้อง

ศกึ ษาเรียนรู้ วรรณคดแี ละวรรณกรรม นทิ านพ้นื บา้ น นทิ านคติธรรม สารคดี บทอาขยานและบทร้อยกรองที่
มคี ุณคา่ หนังสอื อา่ นนอกเวลา วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน โดยการสรปุ เรือ่ งจากวรรณคดหี รอื วรรณกรรม ระบุ
ความร้แู ละขอ้ คดิ จากการอ่านวรรณคดแี ละวรรณกรรมทสี่ ามารถนาไปใชใ้ นชวี ติ จริง อธิบายคณุ ค่าของวรรณคดีและ
วรรณกรรม ทอ่ งจาบทอาขยานที่กาหนดและบทร้อยกรองทม่ี ีคณุ คา่

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๗๕

รหสั
ตวั ชว้ี ดั
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
รวมท้ังหมด ๓๓ ตัวชี้วดั

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอุทศิ

๗๖

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
ภำษำไทย

รายวิชาพืน้ ฐาน กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทยรายวชิ า ภาษาไทย
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๑๖๑๐๑
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง

อา่ นออกเสยี ง บทร้อยแกว้ รอ้ ยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยค ข้อความทเ่ี ป็นโวหาร
เรือ่ งส้นั ๆ แยกข้อเท็จจริง ข้อคดิ เห็น อธิบายการนาความรู้ ความคิด จากเรื่องทอี่ า่ น ความหมายของข้อมูล
จากแผนผงั แผนที่ แผนภูมิ กราฟ อา่ นงานเขียนเชงิ อธิบาย อธิบายคณุ ค่าท่ีไดร้ ับจากการอา่ นหนังสอื
ตามความสนใจ ปฏิบตั ิตามคาส่งั ขอ้ แนะนา คัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัดและครง่ึ บรรทดั เขียน
สอ่ื สาร แผนภาพโครงเร่ือง แผนภาพความคิด เรยี งความ ยอ่ ความ เขียนจดหมายสว่ นตวั กรอก แบบ
รายการตา่ งๆ เร่ืองตามจนิ ตนาการ พูดแสดงความรู้ ความเขา้ ใจ ต้ังคาถาม ตอบคาถาม วิเคราะห์ ความ
นา่ เชื่อถอื จากสื่อโฆษณาพูดรายงาน สนทนา โนม้ น้าวอยา่ งมเี หตุผล จากเรอื่ งทฟี่ ังและดู วเิ คราะห์ชนิด

หนา้ ทขี่ องคา ใชค้ า รวบรวม บอกความหมายของคาภาษาต่างประเทศ ระบลุ กั ษณะของประโยค
แต่งบท รอ้ ยกรอง วิเคราะห์ เปรยี บเทยี บสานวน คาพังเพย สภุ าษติ แสดงความคดิ เหน็ อธิบายคุณค่า
วรรณคดี วรรณกรรม ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ เล่านิทานพืน้ บ้าน นทิ านท้องถน่ิ ท่องจาบท
อาขยานและ บทร้อย กรองโดยใชท้ ักษะกระบวนการอ่าน เขยี น ฟัง พูด เพ่อื ให้มีความรู้ ความ
เขา้ ใจในหลักเกณฑ์การใช้ภาษามีทักษะกระบวนการสอื่ สารกระบวนการคดิ วิเคราะห์กระบวนการ
แกป้ ัญหา มคี วามสนใจใฝเ่ รียนรมู้ มี ารยาท ในการอ่าน เขียน ฟงั ดู และพูด สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ใน
ชวี ติ ประจาวันมีเจคติที่ดีต่อภาษาไทยและภูมิใจในภาษาไทย

รหัส
ท ๑ต.๑ัวชป.ว้ี๖ด/ั ๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔

หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนแกว้ อนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๗๗

รวมทั้งหมด ๓๔ ตัวชีว้ ดั

คณะทางานจัดทาหลักสตู ร
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

`

ทป่ี รึกษา ผูอ้ านวยการโรงเรยี นแก้วอินทรส์ ุธาอุทิศ
รองผอู้ านวยการโรงเรียนแกว้ อนิ ทร์สธุ าอุทิศ
๑. นายสนุ ทร ประชารุง ประธานกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนแกว้ อนิ ทรส์ ธุ าอุทศิ
๒. นางสาวสิรินทร์ โกมลสุทธ์ิ ศึกษานิเทศกส์ านักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานนทบรุ ี เขต ๒
๓. นายวิวัฒน์ บุญเกษม ศกึ ษานเิ ทศก์สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต ๒
๔. นางสาวปยิ ะนุช จุลพรหม หัวหน้างานหลักสตู รสถานศกึ ษา
๕. นางสาวกนกวรรณ บุญอ่ิม
๖. นางสาวชุติมา จติ รังษี

คณะกรรมการจดั ทาหลักสตู ร

๑. ว่าท่ี ร.อ. อภิรนนั ตฐ์ ภาดา มาตรพนั ธน์ า ประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
๒. นางอัญชลี พาสิงหส์ ี กรรมการ
กรรมการ
๓. นางวรัธน์ เอีย่ มแกว้ ไพศาล กรรมการ
กรรมการ
๔. นางเกล็ดแก้ว ศรนี วลดี กรรมการ
กรรมการ
๕. นางณัฐยา สุรศรสี รรค์ กรรมการ
กรรมการ
๖. นางเรณู สถริ วฒุ พิ งศ์ กรรมการ
เลขานุการ
๗. นางสาวขวัญดาว กระแสโสม ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

๘. นางอรอนงค์ เอมชม

๙. นางศิริจนั ทร์ คงคุ้มภยั

๑๐. นายปกรณพ์ ศ โสกูล

๑๑. นางสาวสุภทั รรนิ ทร์ ทองทรัพย์ทวี

๑๒. นางสาวเนตรนภา เรอื งกลิ่น

๑๓. นายบดนิ ทร์ บวั ทอง

หลักสตู รสถานศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นแก้วอนิ ทรส์ ุธาอทุ ศิ

๗๘
หลักสตู รสถานศึกษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นแกว้ อนิ ทร์สุธาอทุ ศิ


Click to View FlipBook Version