The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนที่ 15 หน่วย ต้นไม้ที่รัก อ.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนที่ 15 หน่วย ต้นไม้ที่รัก อ.3

แผนที่ 15 หน่วย ต้นไม้ที่รัก อ.3

การวิเคราะห์โครงสร้างหนว่ ยการจัดประสบการณ์ตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560
หนว่ ยท่ี 15 ตน้ ไมท้ ่รี กั ชน้ั อนบุ าลปที ี่ 1 - 3 ภาคเรียนท่ี 1

รายการ อนบุ าลปีที่ 1 อนุบาลปีท่ี 2 อนบุ าลปีที่ 3

สาระทคี่ วรเรยี นรู้ 1. ส่วนประกอบของต้นไม้ 1. ชื่อและส่วนประกอบของตน้ ไม้ 1. ช่อื และลกั ษณะของตน้ ไม้
2. ลักษณะส่วนประกอบของตน้ ไม้ 2. รูปร่างและลักษณะของใบไม้ 2. การจำแนกประเภทของต้นไม้
3. การเจรญิ เตบิ โตของต้นไม้ 3. การปลูกต้นไม้ การดแู ลตน้ ไม้
4. ประโยชน์ของต้นไม้ 4. ประโยชนข์ องต้นไม้ (ไมด้ อก ไม้ผล ไมใ้ บ)
5. การดแู ลตน้ ไม้ 5. การประกอบอาหารจากพชื 3. การทดลองการดูดนำของรากและหน้าที่

มาตรฐาน มฐ 1 ตบช. 1.3 (1.3.1) มฐ 1 ตบช. 1.3 (1.3.1) ของราก
ตัวบง่ ช้ี มฐ 2 ตบช. 2.1 (2.1.4) มฐ 2 ตบช. 2.1 (2.1.4), 4. การบำรุงดแู ลรักษาตน้ ไม้
สภาพที่พึงประสงค์ มฐ 2 ตบช. 2.2 (2.2.1) มฐ 2 ตบช. 2.2 (2.2.1) 5. โทษของการท าลายปา่
มฐ 4 ตบช. 4.1 (4.1.1) (4.1.3) มฐ 4 ตบช. 4.1 (4.1.1) (4.1.3)
มฐ 7 ตบช. 7.1 (7.1.1) มฐ 7 ตบช. 7.1 (7.1.1) มฐ 1 ตบช. 1.3 (1.3.1)
มฐ 9 ตบช. 9.1 (9.1.1) มฐ 8 ตบช. 8.2 (8.2.1) มฐ 2 ตบช. 2.1 (2.1.4)
มฐ 10 ตบช. 10.1 (10.1.1) มฐ 9 ตบช. 9.1 (9.1.1) มฐ 2 ตบช. 2.2 (2.2.1)
มฐ 2 มฐ 2 (10.1.2) มฐ 10 ตบช. 10.1 (10.1.1) มฐ 4 ตบช. 4.1 (4.1.1) (4.1.3)
มฐ 2 มฐ 2 (10.1.2) (10.1.3) มฐ 7 ตบช. 7.1 (7.1.1)
มฐ 2 มฐ 2 (10.1.4) มฐ 8 ตบช. 8.2 (8.2.1)
มฐ 12 ตบช. 12.2 (12.2.1) มฐ 9 ตบช. 9.1 (9.1.1)
มฐ 2 ตบช. 9.2 (9.2.1)
มฐ 10 ตบช. 10.1 (10.1.1)
มฐ 2 มฐ 2 (10.1.2) (10.1.3)
มฐ 2 มฐ 2 (10.1.4)
มฐ 12 ตบช. 12.2 (12.2.1)

รายการ อนบุ าลปีที่ 1 อนุบาลปีที่ 2 อนบุ าลปที ่ี 3

ประสบการณส์ ำคญั ร่างกาย รา่ งกาย รา่ งกาย
1.1.1 การใช้กลา้ มเนื้อใหญ่
1.1.1 การใชก้ ล้ามเนอื้ ใหญ่ 1.1.1 การใช้กลา้ มเน้ือใหญ่ (2) การเคลือ่ นไหวเคลื่อนที่
(3) การเคล่อื นไหวพร้อมอปุ กรณ์
(1) การเคลอื่ นไหวอยกู่ บั ที่ (2) การเคลอ่ื นไหวเคลอ่ื นท่ี (5) การเลน่ เครือ่ งเลน่ สนามอยา่ งอสิ ระ
1.1.2 การใช้กลา้ มเนื้อเล็ก
(2) การเคล่ือนไหวเคลอ่ื นท่ี (3) การเคลื่อนไหวพร้อมอปุ กรณ์ (1) การเลน่ เครือ่ งเล่นสัมผสั และ
การสร้างจากแท่งไม้ บล็อก
(4) การเคล่ือนไหวท่ีใช้การประสานสัมพันธ์ (4) การเคลือ่ นไหวท่ีใช้ประสานสมั พนั ธ์ (2) การเขียนภาพและการเลน่ กับสี
(3) การปั้น
ของการใช้กล้ามเน้ือใหญ่ ในการกล้ิงบอลการ ของการใชก้ ลา้ มเน้ือใหญ่ในการรบั บอล (4) การประดษิ ฐ์สง่ิ ต่างๆ ด้วยเศษวัสดุ
(5) การหยิบจับ การใช้กรรไกร การฉีก
โยนบอล (5) การเล่นเคร่อื งเล่นสนามอย่างอสิ ระ การตดั การปะ และการรอ้ ยวสั ดุ
1.1.5 การตระหนกั ร้เู กี่ยวกบั ร่างกายตนเอง
(5) การเลน่ เคร่ืองเลน่ สนามอย่างอิสระ 1.1.2 การใชก้ ลา้ มเนื้อเลก็ (1) การเคลอ่ื นไหวโดยควบคมุ ตนเองไป
ในทิศทาง ระดบั และพ้ืนที่
1.1.2 การใชก้ ล้ามเนื้อเลก็ (1) การเลน่ เคร่อื งเล่นสัมผสั และ
อารมณ์
(1)การเล่นเคร่อื งเลน่ สมั ผัสและการสร้าง การสร้างจากแท่งไม้ บล็อก 1.2.1 สุนทรยี ภาพ ดนตรี
(3) การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
จากแท่งไม้ บลอ็ ก (2) การเขียนภาพและการเล่นกบั สี (4) การเลน่ บทบาทสมมติ
(5) การท ากิจกรรมศลิ ปะตา่ ง ๆ
(2) การเขียนภาพและการเลน่ กับสี (3) การป้ัน 1.2.2 การเลน่

(3) การปัน้ (5) การหยบิ จบั การใชก้ รรไกร การตัด

(5) การหยบิ จับ การใช้กรรไกร การตัดการปะ การปะ และการร้อยวัสดุ

1.1.5 การตระหนกั รเู้ ก่ียวกับรา่ งกายตนเอง 1.1.5 การตระหนักรู้เกีย่ วกับรา่ งกายตนเอง

(1) การเคลอ่ื นไหวโดยควบคุมตนเองไป (1) การเคลื่อนไหวโดยควบคมุ ตนเองไป

ในทศิ ทาง ระดบั และพ้ืนท่ี ในทิศทาง ระดับและพื้นที่

อารมณ์ อารมณ์

1.2.1 สุนทรยี ภาพ ดนตรี 1.2.1 สุนทรียภาพ ดนตรี

(3) การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี (3) การเคลื่อนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี

(5) การท ากิจกรรมศลิ ปะต่างๆ (4) การเลน่ บทบาทสมมติ

1.2.2 การเลน่ (5) การท ากิจกรรมศิลปะต่างๆ

(2) การเล่นรายบุคคล กล่มุ ยอ่ ยและกล่มุ ใหญ่ 1.2.2 การเลน่

รายการ อนุบาลปที ี่ 1 อนุบาลปีท่ี 2 อนุบาลปที ่ี 3

(3) การเลน่ ตามมุมประสบการณ์ (2) การเล่นรายบุคคล กล่มุ ย่อยกลุม่ ใหญ่ (2) การเลน่ รายบคุ คล กล่มุ ย่อยกลมุ่ ใหญ่

1.2.๔ การแสดงออกทางอารมณ์ (3) การเล่นตามมมุ ประสบการณ์ (3) การเลน่ ตามมุมประสบการณ์

(4) การร้องเพลง (4) การเล่นนอกหอ้ งเรียน

สงั คม สงั คม สงั คม

1.3.2 การดูแลรักษาธรรมชาติและ 1.3.2 การดแู ลรักษาธรรมชาตแิ ละ 1.3.2 การดูแลรกั ษาธรรมชาติและ

ส่งิ แวดลอ้ ม ส่ิงแวดลอ้ ม สง่ิ แวดลอ้ ม

(1) การมสี ว่ นร่วมรับผิดชอบดแู ลรกั ษา (4) การเพาะปลกู และดูแลต้นไม้ (1) การมสี ว่ นรว่ มรับผิดชอบดูแลรกั ษา

สิง่ แวดล้อมท้ังภายในและภายนอกห้องเรียน 1.3.5 การเล่นและทำงานแบบรว่ มมอื ร่วมใจ ส่งิ แวดลอ้ มทั้งภายในและภายนอก

(4) การเพาะปลูกและดแู ลต้นไม้ (3) การทำศลิ ปะแบบร่วมมือ หอ้ งเรยี น

(4) การเพาะปลกู และดูแลต้นไม้

1.3.5 การเลน่ และทำงานแบบร่วมมือรว่ มใจ

(3) การทำศลิ ปะแบบร่วมมือ

สติปญั ญา สติปญั ญา สติปัญญา

1.4.1 การใชภ้ าษา 1.4.1 การใช้ภาษา 1.4.1 การใชภ้ าษา

(3) การฟงั เพลง นิทาน คำคลอ้ งจอง หรือ (3) การฟังเพลง นิทาน คำคล้องจอง หรือ (3) การฟังเพลง นทิ าน คำคล้องจอง

เร่ืองราวตา่ งๆ เร่อื งราวตา่ งๆ บทรอ้ ยกรองหรือเรอ่ื งราวตา่ งๆ

(4) การพูดแสดงความคิด ความรสู้ ึกและ 1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิง เหตุผล (4) การพดู แสดงความคิด ความรู้สกึ และ

ความตอ้ งการ การตดั สนิ ใจและแกป้ ญั หา ความตอ้ งการ

1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิง เหตุผล (1) การสังเกตลกั ษณะ ส่วนประกอบของ (5) การพูดกับผู้อ่ืนเก่ียวกับประสบการณ์ของ

การตดั สนิ ใจและแกป้ ญั หา สง่ิ ต่างๆ โดยใช้ประสาทสมั ผัสอยา่ งเหมาะสม ตนเอง หรอื พดู เล่าเรอ่ื งราวเกย่ี วกับตนเอง

(1) การสงั เกตลกั ษณะ สว่ นประกอบของสงิ่ (2) การสังเกตสิ่งต่างๆและสถานท่ีจากมมุ มอง (8) การรอจงั หวะทีเ่ หมาะสมในการพดู

ตา่ งๆโดยใชป้ ระสาทสมั ผสั อยา่ งเหมาะสม ทต่ี ่างกัน (14) การอ่านและชี ข้อความ โดยกวาด

สายตาตามบรรทัดจากซา้ ยไปขวาจากบน

ลงลา่ ง

รายการ อนุบาลปีท่ี 1 อนุบาลปีท่ี 2 อนบุ าลปที ี่ 3

คณติ ศาสตร์ (6) การต่อของชิ้นเล็กเติมในช้ินใหญ่ (8) การนบั และแสดงจำนวนของส่งิ ต่างๆ (18) การเลน่ เกมทางภาษา
ให้สมบรู ณแ์ ละการแยกชิ้นสว่ น ในชวี ติ ประจำวนั 1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิง เหตุผล
(8) การนับและแสดงจำนวนสง่ิ ตา่ งๆ (13) การจบั คู่ การเปรียบเทยี บและการ การตดั สนิ ใจและแก้ปญั หา
ในชีวิตประจำวัน เรียงลำดบั สิ่งตา่ งๆ ตามลักษณะความยาว/ (1) การสงั เกตลกั ษณะ ส่วนประกอบ
(13) การจับคู่ ตามลักษณะ รูปรา่ ง และ ความสงู น้ำหนัก ปรมิ าตร การเปล่ียนแปลง และความสัมพันธ์ของส่ิง
จำนวน (14) การบอกและเรยี งลำดับกจิ กรรมหรือ ต่างๆ โดยใช้ประสาทสัมผัสอยา่ งเหมาะสม
เหตกุ ารณต์ ามช่วงเวลา (9) การเปรียบเทยี บและเรียงลำดบั จำนวน
1. การนบั ปากเปลา่ 1 - 5 1.4.4 เจตคติที่ดตี อ่ การเรียนรู้และการ ของสิ่งต่างๆ
2. นบั และแสดงจำนวน 1 - 2 แสวงหาความรู้ (14) การบอกและเรยี งลำดบั กิจกรรม
(1) การสำรวจส่ิงตา่ งๆ และแหล่งเรียนรู้ หรือเหตุการณต์ ามช่วงเวลา
รอบตวั 1.4.4 เจตคตทิ ีด่ ตี ่อการเรยี นรแู้ ละการ
แสวงหาความรู้
1. การเปรยี บเทยี บจำนวน มาก - น้อย (1) การสำรวจส่งิ ตา่ งๆและแหล่งเรียนรู้
2. ตำแหนง่ บน - ลา่ ง รอบตวั
3. การนบั ปากเปล่า 1 - 10 (4) การมีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลจาก
4. นับและแสดงจำนวน 1 - 5 การสืบเสาะหาความรใู้ นรูปแบบต่างๆ และ
แผนภูมิอย่างงา่ ย

1. การเปรยี บเทยี บจำนวน มาก - น้อย
2. ตำแหนง่ บน-กลาง-ลา่ ง
3. ทิศทาง ซา้ ย - ขวา
4. การนบั ปากเปลา่ 1 - 20
5. นบั และแสดงจำนวน 1 - 9

รายการ อนุบาลปที ่ี 1 อนบุ าลปที ี่ 2 อนุบาลปีที่ 3

วิทยาศาสตร์ - ทกั ษะการสังเกต - ทักษะการสังเกต 1. ทกั ษะการสังเกต
2. อธิบายเชือ่ มโยงสาเหตแุ ละผลที่
พั ฒ น า ก า ร ท า ง ภ า ษ า 1. การฟงั และปฏิบัตติ ามคำสัง่ 1. การฟังและปฏิบัตติ ามคำสง่ั คำแนะนำ เกิดข้นึ ในเหตุการณ์หรือการกระทำ
และการรู้หนังสือ 2. การฟงั เพลง นทิ าน คำคล้องจอง หรือ 2. การฟังเพลง นทิ าน คำคล้องจอง หรือ 1. การฟังและปฏิบตั ิตามคำส่งั คำแนะนำ
เรอ่ื งราวตา่ งๆ เรอ่ื งราวตา่ งๆ 2. การฟงั เพลง นทิ าน ค าคล้องจอง
3. การพูดแสดงความคดิ เห็น ความรู้สกึ 3. การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สกึ บทร้อยกรองหรือเรือ่ งราวตา่ งๆ
และความตอ้ งการ และความตอ้ งการ 3. การพูดแสดงความคดิ เหน็ ความรู้สึก
4. การพูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่งของเหตุการณ์ และความตอ้ งการ
และความสมั พันธข์ องสิ่งต่างๆ 4. การพดู อธิบายเก่ยี วกบั สิง่ ของ
เหตุการณ์ และความสัมพนั ธข์ องส่งิ ต่างๆ

หนว่ ยการจัดประสบการณท์ ี่ 15 ต้นไมท้ รี่ กั ชั้นอนุบาลปีที่ 3
แนวคิด

ป่าไมเ้ ปน็ พ้ืนทท่ี ่ีมีตน้ ไม้ใหญ่และพืชเลก็ ๆ ต้นไม้แต่ละชนิดมีลกั ษณะและธรรมชาตติ ่างกัน ประกอบดว้ ย ราก ลำต้น กิ่ง ก้าน ดอก ใบ และ
ผล ซ่ึงมีหน้าที่ต่างกันป่าไม้มีหลายประเภท มีคุณค่าต่อโลกและสิ่งมีชีวิตมากมาย เป็นแหล่งกำเนิดแม่น้ำลำธารช่วยดูดซับน้ำฝนไม่ให้เกิดการ
พังทลายของหน้าดิน และปอ้ งกันน้ำทว่ มเป็นทีอ่ ยู่ของสัตวป์ ่า ผู้คนได้อาศยั ปา่ ในการดำรงชีวติ จงึ ควรอนุรกั ษ์ปา่ ไว้

มาตรฐานหลกั สตู รปฐมวัย จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพทพี่ ึงประสงค์ ประสบการสำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้

มาตรฐานที่ 1 1.3 รักษา 1.3.1 เล่น ทำกจิ กรรม 1. เล่น ทำกจิ กรรมและปฏิบัติ 1.1.1 การใช้กล้ามเน้ือใหญ่ 1. ชือ่ และลักษณะของ
รา่ งกายเจริญเตบิ โต ความปลอดภัยของ และปฏิบตั ิต่อผู้อน่ื ต่อผู้อื่นอยา่ งปลอดภยั
ตามวัยและมสี ุขนิสยั ตนเองและผ้อู ่ืน อย่างปลอดภยั (5) การเล่นเคร่ืองเล่นสนามอย่าง ต้นไม้
ทด่ี ี
อิสระ 2. การจำแนกประเภท

1.1.2 การใช้กล้ามเน้ือเลก็ ของตน้ ไม้

(1) การเล่นเครื่องเล่นสัมผัสและ (ไมด้ อก ไม้ผล ไม้ใบ)

การสรา้ งจากแท่งไม้ บล็อก 3. การทดลองการดูดน้ำ

1.1.5 การตระหนักร้เู กี่ยวกับ ของรากและหนา้ ทีข่ องราก

ร่างกายตนเอง 4. การบำรงุ ดแู ลรกั ษา

(1) การเคลื่อนไหวโดยควบคุม ตน้ ไม้

ตนเองไปในทิศทาง ระดบั และ 5. โทษของการทำลายป่า

พนื้ ท่ี 6. การเปรยี บเทยี บจำนวน

1.2.2 การเลน่ มาก - น้อย

(2) การเล่นรายบคุ คล กลุ่มย่อย 7. ตำแหน่งบน-กลาง-ล่าง

กล่มุ ใหญ่ 8. ทศิ ทาง ซ้าย - ขวา

(3) การเล่นตามมุมประสบการณ์

มาตรฐานหลกั สูตรปฐมวัย จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้

มาตรฐาน ตวั บ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ 2. รับลกู บอลท่กี ระดอน ประสบการสำคญั สาระทค่ี วรเรียนรู้
ขน้ึ จากพื้นได้
มาตรฐานท่ี 2 2.1 เคลื่อนไหว 2.1.4 รบั ลูกบอลที่ 1.1.1 การใชก้ ลา้ มเน้ือใหญ่ 9. การนบั ปากเปล่า
กล้ามเนื้อใหญ่และ ร่างกายอยา่ ง กระดอนขนึ้ จากพ้ืนได้ 3. ใชก้ รรไกรตัดกระดาษ (2) การเคลื่อนไหวเคลื่อนท่ี 1 - 20
กลา้ มเน้ือเลก็ แข็งแรง คลอ่ งแคลว่ ตามแนวเส้นโคง้ ได้ 1.1.5 การตระหนักร้เู กี่ยวกบั ร่างกายตนเอง 10. นบั และแสดง
ใชไ้ ดอ้ ยา่ ง ประสานสัมพนั ธแ์ ละ (1) การเคล่ือนไหวโดยควบคุมตนเองไปใน จำนวน 1 - 9
คลอ่ งแคล่วและ ทรงตวั ได้ 4. สนใจมคี วามสขุ และ ทศิ ทาง ระดบั และพ้ืนที่
ประสานสมั พนั ธก์ นั แสดงออก
ผ่านงานศิลปะได้ 1.1.2 การใช้กล้ามเน้ือเล็ก
2.2 ใช้มอื -ตาประสาน 2.2.1 ใชก้ รรไกรตัด (5) การหยบิ จับ การใชก้ รรไกร การฉีก การ
5. สนใจ มคี วามสุขและ ตัด การปะ และการร้อยวัสดุ
สัมพนั ธ์กนั กระดาษตามแนวเสน้ แสดง
ทา่ ทาง / เคล่ือนไหว 1.1.2 การใชก้ ลา้ มเนื้อเลก็
โค้งได้ ประกอบเพลงจังหวะ และ (2) การเขยี นภาพและการเล่นกบั สี
ดนตรีได้ (3) การปน้ั
มาตรฐานที่ 4 4.1 สนใจมี 4.1.1 สนใจมีความสุข (4) การประดษิ ฐ์สงิ่ ต่างๆ ด้วยเศษวสั ดุ
ชื่นชมและ 1.2.1 สุนทรยี ภาพ ดนตรี
แสดงออกทาง ความสุขและ และแสดงออกผ่านงาน (3) การเคล่ือนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี
ศิลปะ ดนตรี (4) การเล่นบทบาทสมมติ
และการ แสดงออกผ่าน ศิลปะ (5) การท ากิจกรรมศิลปะต่าง ๆ
เคลื่อนไหว 1.1.1 การใชก้ ลา้ มเนื้อใหญ่
งานศิลปะ (3)การเคลอื่ นไหวพร้อมอุปกรณ์
1.1.5 การตระหนักรเู้ กีย่ วกับร่างกายตนเอง
ดนตรี และ 4.1.3 สนใจ (1) การเคลื่อนไหวโดยควบคุมตนเองไป
ในทิศทาง ระดบั และพื้นท่ี
การเคล่ือนไหว มีความสขุ และ

แสดงท่าทาง/

เคล่ือนไหวประกอบ

เพลง จงั หวะและดนตรี

มาตรฐานหลกั สูตรปฐมวัย จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

มาตรฐาน ตวั บง่ ช้ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ 6. ดูแลรกั ษาธรรมชาติ ประสบการสำคญั สาระที่ควรเรียนรู้
และสิ่งแวดล้อมด้วย
มาตรฐานที่ 7 7.1 ดูแลรกั ษา 7.1.1 ดแู ลรักษา ตนเองได้ 1.3.2 การดูแลรกั ษาธรรมชาติและ
รักธรรมชาติ ธรรมชาติและ ธรรมชาติและ ส่งิ แวดลอ้ ม
สงิ่ แวดล้อม สงิ่ แวดลอ้ ม ส่งิ แวดล้อมดว้ ยตนเอง (1) การมสี ว่ นรว่ มรับผดิ ชอบดแู ลรกั ษา
วฒั นธรรมและ ส่งิ แวดลอ้ มท้ังภายในและภายนอกห้องเรยี น
ความเปน็ ไทย (4) การเพาะปลูกและดูแลต้นไม้

มาตรฐานที่ 8 8.2 การมีปฏิสัมพันธ์ 8.2.1 เลน่ หรือทำงาน 7. เลน่ หรอื ทำงานร่วมกับ 1.3.5 การเลน่ และทำงานแบบรว่ มมือ
อยรู่ ว่ มกบั ผู้อ่นื ได้ ท่ดี กี บั ผู้อืน่ รว่ มกับเพ่ือนอย่างมี เพ่ือนอย่างมเี ป้าหมายได้ รว่ มใจ
อย่างมีความสุขและ เปา้ หมาย (3) การทำศลิ ปะแบบรว่ มมือ
ปฏิบัติตนเป็นสมาชิก
ทด่ี ีของสังคมใน
ระบอบประชาธปิ ไตย
อันมีพระมหากษตั รยิ ์
เปน็ ประมขุ

มาตรฐานท่ี 9 9.1 สนทนาโต้ตอบ 9.1.1 ฟังผู้อื่นพูดจน 8. ฟงั ผ้อู ่นื พดู จนจบและ 1.4.1 การใชภ้ าษา
ใช้ภาษาสือ่ สารให้ (3) การฟังเพลง นิทาน คำคล้องจอง
เหมาะสมกับวัย และเล่าเร่ืองใหผ้ ูอ้ ืน่ จบและสนทนาโต้ตอบ สนทนาโต้ตอบอย่าง บทรอ้ ยกรองหรือเรอ่ื งราวต่างๆ
(4) การพูดแสดงความคิด ความรู้สกึ และ
เขา้ ใจ อย่างต่อเนื่องเช่ือมโยง ต่อเนอ่ื งเชอ่ื มโยงกับ ความตอ้ งการ
(5) การพูดกบั ผู้อ่ืนเกี่ยวกบั ประสบการณ์
กบั เรอื่ งท่ีฟงั เรอื่ งท่ีฟังได้ ของตนเอง หรอื พดู เลา่ เร่ืองราวเกย่ี วกับ
ตนเอง

มาตรฐานหลกั สตู รปฐมวัย สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้
ประสบการสำคัญ
มาตรฐาน ตวั บง่ ช้ี สาระท่คี วรเรยี นรู้

(8) การรอจังหวะท่เี หมาะสมในการพูด

9.2 อ่าน เขยี นภาพ 9.2.1 อา่ นภาพ 9. อา่ นคำด้วยการชี้ หรือ 1.4.1 การใช้ภาษา
และสัญลักษณ์ได้
สัญลักษณ์คำด้วยการชี้ กวาดตามองจดุ เริ่มต้น (14) การอา่ นและชี ข้อความ โดยกวาด

หรอื กวาดตามอง และจดุ จบของข้อความได้ สายตาตามบรรทดั จากซา้ ยไปขวา จากบน

จุดเร่ิมตน้ และจดุ จบ ลงล่าง

ของข้อความ (18) การเล่นเกมทางภาษา

มาตรฐานท่ี 10 10.1 มีความสามารถ 10.1.1 บอกลักษณะ 10. บอกลกั ษณะการ 1.4.2 การคดิ รวบยอด การคิดเชงิ เหตุผล
มคี วามสามารถใน ในการคดิ รวบยอด
การคิดทเ่ี ปน็ พน้ื ฐาน ส่วนประกอบ เปลี่ยนแปลงของสงิ่ ต่างๆ การตดั สนิ ใจและแกป้ ัญหา
ในการเรยี นรู้
การเปล่ยี นแปลงหรือ จากการสงั เกตโดยใช้ (1) การสงั เกตลกั ษณะ

ความสมั พันธข์ องสิ่ง ประสาทสมั ผสั ได้ การเปลย่ี นแปลงของสิ่งต่างๆ โดยใช้

ตา่ งๆจากการสังเกต ประสาทสัมผสั อย่างเหมาะสม

โดยใชป้ ระสาทสมั ผสั

10.1.2 จบั คู่และ 11.จบั คูแ่ ละเปรียบเทียบ 1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตผุ ล

เปรยี บเทยี บความ ความแตกต่างและความ การตัดสนิ ใจและแกป้ ัญหา

แตกต่างและความ เหมอื นของส่ิงต่างๆ โดย (8) การนบั และแสดงจำนวน

เหมอื นของสงิ่ ต่างๆ ใชล้ ักษณะทส่ี งั เกตพบได้ (9) การเปรยี บเทียบและเรยี งลำดบั

โดยใช้ลักษณะท่ีสังเกต จำนวนของสิง่ ต่าง ๆ

พบ 2 ลกั ษณะขนึ้ ไป (13) การจบั คู่ การเปรยี บเทียบและ

การเรยี งลำดบั สิ่งตา่ งๆตามลักษณะ

10.1.3 จำแนกและจัด 12. จำแนกและจดั กลุ่ม 1.4.2 การคดิ รวบยอด การคิดเชิงเหตุผล

กลมุ่ สิ่งตา่ งๆโดยใช้ สง่ิ ตา่ งๆโดยใช้ตัง้ แต่ 2 การตดั สนิ ใจและแกป้ ัญหา

ต้ังแต่ ลักษณะขึ้นไปเปน็ เกณฑ์ (5) การคดั แยก การจดั กลุ่มและการจำแนก

2 ลกั ษณะขนึ้ ไปเปน็ ได้ สิง่ ตา่ งๆตามลักษณะและรปู ร่างรปู ทรง

เกณฑ์

มาตรฐานหลักสตู รปฐมวัย สภาพท่ีพงึ ประสงค์ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

มาตรฐาน ตัวบง่ ช้ี ประสบการสำคญั สาระท่ีควรเรยี นรู้

มาตรฐานที่ 12 10.1.4 เรียงลำดับ 13. เรยี งลำดับสิง่ ของ 1.4.2 การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล
มีเจตคติท่ีดตี อ่ สิ่งของหรือเหตุการณ์ หรอื เหตกุ ารณ์อยา่ งนอ้ ย การตดั สินใจและแก้ปัญหา
การเรียนรู้ และมี อยา่ งนอ้ ย 5 ลำดบั 5 ลำดบั ได้ (14) การบอกและเรียงลำดับกิจกรรม
ความสามารถใน หรอื เหตุการณต์ ามช่วงเวลา
การแสดงหา
ความรูไ้ ด้อยา่ ง 12.2 มคี วามสามารถ 12.2.1 ค้นหาคำตอบ 14. ค้นหาคำตอบของขอ้ 1.4.4 เจตคตทิ ดี่ ีต่อการเรยี นร้แู ละการ
เหมาะสมกับวัย ในการแสวงหาความรู้
ของข้อสงสัยต่างๆ โดย สงสยั ตา่ งๆ โดยใช้วธิ ีการ แสวงหาความรู้

ใช้วิธีการที่หลากหลาย ทห่ี ลากหลายดว้ ยตนเอง (1) การสำรวจส่งิ ตา่ งๆ และแหลง่ เรยี นรู้

ดว้ ยตนเอง ได้ รอบตวั

(4) การมสี ว่ นร่วมในการรวบรวมขอ้ มลู

จากการสบื เสาะหาความรูใ้ นรูปแบบต่างๆ

และแผนภูมิอย่างงา่ ย

การวางแผนกจิ กรรมรายหนว่ ยการจัดประสบการณ์
หนว่ ยที่ 15 ตน้ ไมท้ ีร่ กั ช้นั อนุบาลปที ่ี 3

วนั ท่ี เคล่ือนไหวและจงั หวะ เสริมประสบการณ์ กจิ กรรม การเล่นกลางแจง้ เกมการศึกษา
ศิลปะสร้างสรรค์ การเลน่ ตามมุม - เกมสงั เกตรายละเอียด
- เกมรับบอล ภาพต้นไม้
1 - เคลอื่ นไหวพน้ื ฐาน - ชื่อและลกั ษณะของต้นไม้ - วาดภาพสีเทียน - เลน่ ตามมุม กระดอนจากพ้ืน
- เกมพน้ื ฐานการบวก
- เคล่อื นไหวประกอบ - ตดั กระดาษรูปใบไม้ต่อ ประสบการณ์ 1 ถงึ 9

เพลงต้นไม้ เตมิ ตามจนิ ตนาการ - เกมเรียงลำดบั ภาพการ
เจริญเติบโตของพชื
2 - เคลื่อนไหวพน้ื ฐาน - การจำแนกประเภทของ - พมิ พ์ภาพจากน้ิวมือเป็น - เลน่ ตามมุม - เลน่ เครอื่ งเล่นสนาม

- เคลื่อนไหวตามคำสัง่ ตน้ ไม้ (ไมด้ อก ไม้ผล ไมใ้ บ) รูปต้นไม้ ประสบการณ์ - เกมลงิ ชงิ ลูกบอล
กระดอนจากพ้ืน
- พับสี

3 - เคลอ่ื นไหวพนื้ ฐาน - การทดลองการดดู นำของ - ศลิ ปะแบบร่วมมือ - เลน่ ตามมุม
ประสบการณ์
- เคลือ่ นไหวประกอบ ราก และหน้าที่ของราก ประดิษฐ์

คำบรรยาย ต้นไมจ้ ากเศษวัสดุ

4 - เคล่อื นไหวพน้ื ฐาน - การบำรงุ ดแู ลรักษาตน้ ไม้ - ปั้นดินน้ำมัน - เลน่ ตามมุม - เล่นนำเลน่ ทราย - เกมจับคตู่ ้นไม้กับผลไม้
ประสบการณ์ - มอญซ่อนใบไม้
- เคล่อื นไหวประกอบ - เปา่ สี - เกมจดั หมวดหม่ภู าพกบั
- เล่นตามมุม สัญลกั ษณ์
อปุ กรณ์ ประสบการณ์

5 - เคลอื่ นไหวพน้ื ฐาน - โทษของการทำลายปา่ - โมบายรูปใบไม้
- เคลือ่ นไหวประกอบ
เพลงต้นไม้ใหญ่

ผงั ความคดิ แผนการจัดประสบการณ์หนว่ ย หน่วยท่ี 15 ต้นไมท้ ี่รัก ชนั้ อนบุ าลปีท่ี 3

๑. กจิ กรรมเคล่อื นไหวและจังหวะ ๒. กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ ๓. กจิ กรรมศิลปะสรา้ งสรรค์

1. เคลื่อนไหวประกอบเพลงต้นไม้ 1. ช่ือและลกั ษณะของตน้ ไม้ 1. วาดภาพสีเทียนและตดั กระดาษรูปใบไม้ตอ่ เติม
2. เคล่ือนไหวตามคำส่ัง 2. การจำแนกประเภทของต้นไม้ (ไม้ดอก ไมผ้ ล ไมใ้ บ) ตามจินตนาการ
3. เคลอื่ นไหวประกอบคำบรรยาย 3. การทดลองการดูดนำของราก และหนา้ ที่ของราก 2. พิมพ์ภาพจากน้ิวมือเป็นรูปตน้ ไม้และพบั สี
4. เคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์ 4. การบำรงุ ดแู ลรักษาต้นไม้ 3. ศลิ ปะแบบรว่ มมอื ประดิษฐ์ตน้ ไม้จากเศษวัสดุ
5. เคลอื่ นไหวประกอบเพลงต้นไมใ้ หญ่ 5. โทษของการท าลายปา่ 4. ปน้ั ดนิ น้ำมนั และเป่าสี
5. โมบายรปู ใบไม้

๔. กิจกรรมเล่นตามมุม หน่วย ๖. กจิ กรรมเกมการศกึ ษา
การเลน่ ตามมุมประสบการณ์ ต้นไม้ทีร่ ัก
1. เกมสงั เกตรายละเอียดภาพต้นไม้
๕. กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง 2. เกมพื้นฐานการบวก 1-9
3. เกมเรียงลำดับภาพการเจรญิ เติบโตของพชื
๑. เกมสง่ ลกู โป่ง 4. เกมจบั คู่ต้นไม้กบั ผลไม้
๒. กระโดดขาเดยี วไปขา้ งหน้า 5. เกมจัดหมวดหมู่ภาพกับสญั ลกั ษณ์
๓. เดินต่อเท้าถอยหลังบนเสน้ ตรง
๔. ว่ิงซกิ แซ็กหลบเครื่องกดี ขวาง
๕. เล่นเครอื่ งเลน่ สนาม

แผนการจัดประสบการณ์รายวนั วนั ท่ี 1 หน่วยที่ 15 ตน้ ไมท้ ่รี กั ชัน้ อนุบาลปที ่ี 3

จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมนิ
พฒั นาการ
การเรียนรู้ ประสบการณ์สำคญั สาระทคี่ วรเรียนรู้
สังเกต
กิจกรรมเคลอื่ นไหว (1) การเคลอ่ื นไหว 1. กิจกรรมพ้ืนฐานให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกาย 1. เครอ่ื งเคาะจังหวะ ความสนใจ มคี วามสุข
ไปทวั่ บริเวณอย่างอิสระตามจังหวะ เมือ่ ได้ยนิ 2. เพลงต้นไม้ และแสดงท่าทาง /
และจังหวะ โดยควบคมุ ตนเองไป สญั ญาณหยดุ ใหห้ ยุดเคลื่อนไหวในทา่ น้ันทันที เคลื่อนไหวประกอบ
2. ครูแนะนำการปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหว เพลง จังหวะและดนตรี
สนใจ มคี วามสขุ และ ในทศิ ทาง ระดบั และ ประกอบเพลงตน้ ไม้
3. ให้เด็กร้องเพลงต้นไม้ ตามครูทีละวรรค
แสดงท่าทาง / พน้ื ที่ 2–3 คร้ัง หรอื จนเดก็ ส่วนใหญ่จำได้
4. เด็กเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการ
เคลือ่ นไหวประกอบ (3) การเคล่อื นไหว ประกอบเพลงต้นไม้
5.เดก็ และครรู ่วมกันปฏบิ ตั ิตามขอ้ 2 ซ้ำ
เพลงจังหวะ และดนตรี ตามเสียงเพลง/ดนตรี 2 – 3 คร้ัง
6. หลังปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแล้ว เด็กพักผ่อน
ได้ เพอื่ เตรยี มปฏิบตั ิกิจกรรมต่อไป

จดุ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่ือ การประเมิน
การเรยี นรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระทค่ี วรเรียนรู้ พัฒนาการ

กจิ กรรมเสริม (3) การฟังเพลง นิทาน ชอ่ื และลักษณะของ 1. ครูอา่ นเน้ือเพลงชมไพรใหเ้ ดก็ อ่านตาม 1. แผนภมู เิ พลงชมไพร สังเกต
ประสบการณ์
1. ฟังผู้อ่นื พูดจนจบ คำคลอ้ งจอง ต้นไม้ ไม้ดอก คือ ไม้ 2. เด็กร้องเพลงชมไพรตามครูทีละวรรคจน 2. ภาพป่าหลายๆ 1. การฟังผ้อู น่ื พูดจนจบ
และสนทนาโต้ตอบ
อย่างตอ่ เน่อื งเช่ือมโยง บทรอ้ ยกรองหรือ ท่ีปลูกไว้เพื่อใช้ดอก เด็กส่วนใหญ่จำได้แล้วสนทนาเกี่ยวกับเน้ือ แบบและภาพส่ิง และสนทนาโต้ตอบอย่าง
กับเรอ่ื งทีฟ่ ังได้
เรื่องราวต่างๆ เป็นประโยชน์ เช่น เพลง ตา่ งๆที่มอี ยใู่ นป่า ต่อเน่ืองเชื่อมโยงกับเร่ือง
2. อา่ นคำด้วยการชี้
หรอื กวาดตามอง (4) การพดู แสดง ป ระดับ ต กแต่ งจัด 3. เด็กเล่าประสบการณ์ของตนเองเก่ียวกับ เชน่ ต้นไม้สตั ว์น้ำตก ทีฟ่ งั
จดุ เรมิ่ ต้นและจุดจบ
ของข้อความได้ ความคิด ความร้สู ึก สวนไม้ผล คือ ต้นไม้ ต้นไมแ้ ละป่าไม้ทเ่ี คยพบ 3. ปริศนาคำทาย 2. การอ่านคำดว้ ยการชี

และความตอ้ งการ ทีม่ ีลูกเป็นผลสามารถ 4. เดก็ ดูภาพต้นไมพ้ ร้อมท้งั เล่นปรศิ นาคำทาย เกี่ยวกับต้นไม้ หรือกวาดตามอง

รับประทานได้ไม้ใบ เก่ยี วกบั ตน้ ไม้ จุดเร่ิมต้นและจุดจบของ

คือ ไม้ที่ปลูกไว้ เพื่อ 5. เด็กตอบปริศนาคำทายเกี่ยวกบั ต้นไม้ ข้อความ

(5) การพดู กบั ผู้อนื่ ใช้ใบเป็นประโยชน์ อะไรเอ่ย.. ลกู กนิ ได้ใบแก้รอ้ น ใบออ่ นใชส้ ูบ

เก่ียวกบั ประสบการณ์ (ตน้ จาก)

ของตนเอง หรือพดู อะไรเอย่ ....เด็กๆน่งุ ผ้า เม่ือชราเปลอื ยกาย

เล่าเรอ่ื งราวเกีย่ วกับ (ตน้ ไผ่)

ตนเอง อะไรเอ่ย... ต้นเท่าลำเรือใบหอ่ เกลือไม่มดิ

(8) การรอจังหวะท่ี (ตน้ สน, ตน้ มะขาม)

เหมาะสมในการพูด อะไรเอย่ ... ใบหยกั ๆ ลกู รกั เตม็ คอ มะละกอ

(14) การอา่ นและชี กไ็ มใ่ ช่ (ต้นตาล)

ขอ้ ความโดยกวาด 6. ครูนำบัตรภาพต้นไม้เช่น ไม้ดอก ไม้ผล ไม้

สายตาตามบรรทดั ใบมาให้เด็กดูพร้อมทั้งสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับ

จากซา้ ยไปขวาจากบน ช่ือของต้นไม้ว่าช่ืออะไรบ้าง รวมท้ังลักษณะ

ลงล่าง สำคญั ของตน้ ไม้ 3 ประเภท

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ สอื่ การประเมนิ
การเรยี นรู้ ประสบการณ์สำคญั สาระทีค่ วรเรียนรู้ พัฒนาการ

กิจกรรมศิลปะ (5) การทำกิจกรรม 1. ครูเตรยี มอุปกรณ์กจิ กรรม 2 กจิ กรรม ได้แก่ 1. กระดาษวาดภาพ สังเกต
สร้างสรรค์ ศลิ ปะต่าง ๆ
1. สนใจ มีความสุข (5) การหยบิ จับ การ วาดภาพสีเทียนตามจินตนาการ และตัด 2. สีเทียน 1. ความสนใจ มีความสุข
และแสดงออกผา่ นงาน ใชก้ รรไกร การตดั
ศลิ ปะได้ การปะ กระดาษ 3. กรรไกรปลายมน และแสดงออกผา่ นงาน
2. ใช้กรรไกรตดั
กระดาษตามแนว (1)การเลน่ เครอื่ งเล่น เป็นรปู ใบไมส้ รา้ งภาพตอ่ เติมตามจินตนาการ 4. กระดาษติดภ าพ ศิลปะ
เสน้ โค้งได้ สัมผัสและการสรา้ ง
จากแท่งไม้ บลอ็ ก 2. ครูแนะนำอปุ กรณ์ วิธีการปฏบิ ัตแิ ละ ใบไม้ 2. การใช้กรรไกรตดั
กิจกรรมเลน่ ตามมุม (2) การเลน่ รายบคุ คล
เล่น ทำกจิ กรรม กลมุ่ ยอ่ ย กลุ่มใหญ่ ข้อตกลงในการปฏิบัตกิ จิ กรรม 5. กาว กระดาษตามแนวเส้นโคง้
และปฏบิ ัติต่อผ้อู น่ื (3) การเลน่ ตามมุม
อย่างปลอดภัยได้ ประสบการณ์ 3. เดก็ ทำกจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรคท์ ั้ง

2 กจิ กรรมตามความสนใจ

4. เด็กร่วมกนั เกบ็ อปุ กรณแ์ ละนำเสนอผลงาน

1. ครแู นะนำกจิ กรรมตามมุมประสบการณ์ มมุ ประสบการณใ์ น สังเกต

2. เด็กเลอื กกจิ กรรมตามมุมประสบการณต์ าม หอ้ งเรียน การเลน่ ทำกจิ กรรมและ

ความสนใจ ซ่ึงควรจัดไว้อย่างน้อย ๔ มมุ เช่น ปฏบิ ัติต่อผอู้ ่นื อย่าง

- มุมหนงั สอื - มุมบล็อก ปลอดภัย

- มุมเกมการศึกษา - บทบาทสมมติ

- มุมเครอ่ื งเลน่ สมั ผัส - มุมธรรมชาตศิ กึ ษา

3. เมอื่ หมดเวลาเด็กเก็บของเขา้ ทีใ่ หเ้ รียบร้อย

กจิ กรรมกลางแจ้ง (2)การเคล่อื นไหว 1. เดก็ ยนื เปน็ วงกลมเตรยี มความพรอ้ มร่างกาย 1. ลกู บอล สงั เกต
รบั ลูกบอลท่กี ระดอน เคลอ่ื นท่ี การรบั ลกู บอลที่
ขน้ึ จากพน้ื ได้ (4) การเคลื่อนไหว โดยครูเป็นผ้นู ำให้เดก็ ปฏบิ ตั ิตาม 2. นกหวีด กระดอนข้นึ จากพื้น
ทใี่ ช้การประสาน
สัมพนั ธข์ องกล้ามเน้ือ 2. อาสาสมคั รออกมาเปน็ ผู้นำในการทำทา่ ทาง

เตรียมความพร้อมร่างกาย ประมาณ 3 – 4 คน

และใหเ้ พอื่ นปฏิบัติตาม

จดุ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อ การประเมิน
การเรียนรู้ ประสบการณส์ ำคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู้ พัฒนาการ
3. ครูสาธิตวิธีการเล่นเกมรับบอลกระดอนจาก
เกมการศกึ ษา พน้ื สังเกต
บอกลักษณะ 4. เดก็ ยนื เรยี งแถวตอนลกึ หนั หนา้ เข้าหาครู การบอกลักษณะ
ส่วนประกอบของ ครยู นื ห่างจากเด็กประมาณ 1 เมตร สว่ นประกอบของส่งิ
สงิ่ ต่างๆ จากการ 5. ครูโยนบอลบอลให้กระดอนจากพ้ืน 1 คร้ัง ต่างๆจากการสังเกตโดย
สงั เกตโดยใช้ แล้ว ใชป้ ระสาทสมั ผสั
ประสาทสัมผัสได้ ให้เด็กคนที่ 1 รับ เมอื่ เด็กรับแล้วก็โยนบอลให้
กระดอนขึ้นจากพ้ืน 1 คร้ังส่งใหค้ รู แลว้ วงิ่ ไป
ตอ่ ท้ายแถว
6. ปฏิบัติกจิ กรรมในข้อ 5 จนครบทุกคน
7. เม่ือหมดเวลาเด็กเข้าแถวทำความสะอาด
รา่ งกายก่อนเข้าช้ันเรียน

(1) การสังเกต การสงั เกต 1. ครแู นะนำอุปกรณพ์ รอ้ มทงั้ สาธติ วิธีการเล่น 1. เกมศึกษา
ลักษณะ สว่ นประกอบ รายละเอยี ด
ของสง่ิ ต่างๆ โดยใช้ สว่ นประกอบ เกมศึกษารายละเอยี ดภาพต้นไม้ รายละเอียดภาพ
ประสาทสมั ผัสอย่าง ของต้นไม้
เหมาะสม 2. แบ่งเด็กเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม ให้เด็ก ตน้ ไม้

1กลุ่มรับเกมที่แนะนำใหม่ไปเล่น กลุ่มอ่ืนๆ เล่น ๒. เกมการศกึ ษาใน

เกมการศกึ ษาชุดเดมิ หนว่ ยที่ผา่ นมา

3. เด็กเล่นเกมโดยหมุนเวียนสลับเปลี่ยนกันใน

แ ต่ ล ะ ก ลุ่ ม โ ด ย ทุ ก ก ลุ่ ม ต้ อ ง ได้ เล่ น เ ก ม ศึ ก ษ า

รายละเอียดภาพต้นไม้

4. หมดเวลาเด็กเก็บเกมการศึกษาเขา้ ที่หลังเลิก

เลน่ แล้ว

แผนการจดั ประสบการณ์รายวนั วนั ที่ 2 หนว่ ยที่ 15 ต้นไมท้ รี่ ัก ชน้ั อนบุ าลปที ี่ 3

จดุ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่อื การประเมิน
การเรยี นรู้ พฒั นาการ
ประสบการณส์ ำคญั สาระที่ควรเรยี นรู้ 1. กจิ กรรมพ้ืนฐานโดยเคล่อื นไหวอยกู่ บั ท่ี เช่น 1. เครือ่ งเคาะจังหวะ
กิจกรรมเคล่ือนไหว กม้ ตัวไปดา้ นล่าง เงยหน้าข้ึนข้างบน ยดื ตวั ให้สงู 2. นกหวีด สงั เกต
และจงั หวะ (1) การเคลอ่ื นไหว ยอ่ ตวั ลง ฯลฯ และเคลอ่ื นไหวแบบเคลอ่ื นท่ี เช่น ความสนใจ มีความสขุ
สนใจ มีความสขุ โดยควบคุมตนเองไป วิง่ ทางซ้าย - ขวา เดินดว้ ยปลายเทา้ ไป และแสดงทา่ ทาง /
และแสดงท่าทาง / ในทิศทาง ระดบั และ ขา้ งหน้า - ข้างหลัง ฯลฯ ประกอบจงั หวะที่ เคลอ่ื นไหวประกอบ
เคลอ่ื นไหวประกอบ พน้ื ที่ ครูเคาะ และเม่อื ได้ยินสญั ญาณหยุด ให้หยุด จงั หวะ และดนตรี
จงั หวะและดนตรีได้ (3) การเคลอ่ื นไหว เคล่อื นไหวในทา่ น้ันทนั ที
ตามเสียงเพลง/ดนตรี 2. ครูแนะนำการปฏิบตั กิ จิ กรรมเคล่ือนไหวตาม
คำสง่ั ใหเ้ ดก็ ฟงั โดยใหเ้ ด็กยนื อิสระรอบๆ
หอ้ งเรยี นเม่ือได้ยินเสียงเคาะจงั หวะให้เดก็
เคลอ่ื นไหวรา่ งกายไปรอบๆห้องตามจงั หวะการ
เคาะชา้ – เร็ว และเม่อื ไดย้ ินเสียงนกหวีดใหเ้ ดก็
หยดุ เคลอื่ นไหวทนั ที และฟังคำสั่งจากครู ดงั นี้

- กระโดดข้ามตน้ ไมล้ ม้
- เขยง่ สมั ผัสใบไม้
- กม้ ตัวใหพ้ ้นก่งิ ไม้
- กระโดดไปทางซา้ ยของต้นไม้
- กระโดดไปทางขวาของตน้ ไม้
ฯลฯ
3. หลงั ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเสร็จแลว้ เดก็ พกั ผอ่ น
อิริยาบถ 2 – 3 นาที จับคู่นวดไหล่เบาๆ เพ่ือ
เตรยี มปฏิบตั ิกจิ กรรมต่อไป

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื การประเมนิ
การเรียนรู้ ประสบการณ์สำคญั สาระท่ีควรเรียนรู้ พฒั นาการ

กิจกรรมเสริม (4) การมสี ่วนร่วมใน การจดั กลุ่ม จำแนก 1. ครูนำบัตรภาพไม้ดอก ไม้ใบ ไม้ผล มาให้เด็ก 1. กระดาษบรู๊พแผน สงั เกต
ประสบการณ์ การรวบรวมขอ้ มูลจาก
จำแนกและจัดกลุ่ม การสืบเสาะหาความรู้ ประเภทของต้นไม้ ดูและทบทวนช่ือและลักษณะของต้นไม้ 3 ภมู ิ การจำแนกและจดั กลุ่มส่ิง
ส่ิงตา่ งๆ โดยใช้ ในรูปแบบตา่ งๆ และ
ต้ังแต่ 2 ลกั ษณะ แผนภมู อิ ยา่ งง่าย คือไม้ดอก ไม้ใบ และ ประเภทและให้ความรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับไม้ดอก 2. บัตรภาพไม้ดอก ต่างๆ โดยใช้ตั้งแต่ 2
ขนึ้ ไปเปน็ เกณฑไ์ ด้ (5) การคัดแยก การ
จัดกลุ่ม และจำแนก ไมผ้ ล ไมใ้ บ ไม้ผลวา่ มีความเหมอื นและต่างกันอย่างไร ไม้ผล ไมใ้ บเทา่ จำนวน ลักษณะขน้ึ ไปเปน็ เกณฑ์
กิจกรรมศลิ ปะ สงิ่ ต่างๆ ตามลักษณะ
สรา้ งสรรค์ และรปู รา่ ง รูปทรง 2. คละบัตรภาพตน้ ไม้ 3 ประเภทให้แต่ละกลมุ่ กลุ่ม
สนใจมีความสขุ และ
แสดงออกผา่ นงาน ชว่ ยกนั จำแนกบตั รภาพออกเป็นประเภทไมด้ อก
ศลิ ปะได้
ไม้ใบและไมผ้ ล โดยนำบัตรภาพไปติดบน

กระดาษบรพู๊ ประจำกลมุ่ ของตน ดังนี้

แผนภมู ิแสดงจำนวนไมด้ อก ไมใ้ บและไมผ้ ล

ไมด้ อก ไม้ผล ไมใ้ บ

ไม้ผล
รวม รวม ไรมวใ้ มบ
ไ3ม.้ใเบดจ็กาเปกรตียาบรเาทงียแบผจนำภนูมวิวน่าขชอนงิดไมใดด้ มอีกจำไไไนมมมใ้้ผว้ผบลนลมแลากะ

ชนิดใดมีจำนวนน้อย และเขียนตัวเลขลงในช่อง
รวม

(2) การเขยี นภาพและ 1. ครูเตรยี มอุปกรณก์ จิ กรรม 2 กิจกรรม ได้แก่ 1. กระดาษวาดภาพ สังเกต
การเล่นกบั สี พิมพภ์ าพจากนิ้วมอื เปน็ รูปตน้ ไม้และพับสี 2. สีนำ้ ความสนใจมคี วามสขุ และ
(5) การทำกิจกรรม 2. ครแู นะนำอปุ กรณ์ วิธกี ารปฏบิ ตั ิและข้อตกลง 3. ฟองน้ำ แสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ
ศลิ ปะต่าง ๆ
ในการปฏิบตั กิ จิ กรรม 4. ผา้ เช็ดมือ
3. เดก็ ทำกิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ทั้ง 5. พูก่ ัน
2 กจิ กรรมตามความสนใจ
4. เด็กรว่ มกนั เก็บอปุ กรณแ์ ละนำเสนอผลงาน

จุดประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สือ่ การประเมนิ
การเรยี นรู้ พฒั นาการ
ประสบการณส์ ำคญั สาระที่ควรเรยี นรู้
กิจกรรมเลน่ ตามมมุ 1. ครแู นะนำกิจกรรมตามมุมประสบการณ์ มุมประสบการณ์ใน สงั เกต
เล่น ทำกจิ กรรม (1) การเลน่ เคร่อื งเลน่ ห้องเรยี น การเลน่ ทำกจิ กรรมและ
และปฏบิ ัตติ ่อผอู้ น่ื สมั ผสั และการสร้าง 2. เด็กเลือกกิจกรรมตามมมุ ประสบการณ์ตาม ปฏิบตั ิต่อผอู้ ่ืนอย่าง
อย่างปลอดภัยได้ จากแท่งไม้ บล็อก ปลอดภยั
(2) การเลน่ รายบคุ คล ความสนใจซงึ่ ควรจดั อยา่ งน้อย ๔ มุม เชน่
กิจกรรมกลางแจง้ กล่มุ ย่อย กลุ่มใหญ่
เลน่ ทำกจิ กรรม (3) การเล่นตามมุม - มมุ หนังสอื - มมุ บลอ็ ก
และปฏบิ ตั ิต่อผู้อื่น ประสบการณ์
อย่างปลอดภัยได้ - มุมเกมการศกึ ษา - บทบาทสมมติ
(5) การเล่นเครือ่ งเลน่
สนามอยา่ งอิสระ - มุมเครื่องเลน่ สัมผสั - มมุ ธรรมชาติศกึ ษา

3. เมื่อหมดเวลาเดก็ เก็บของเข้าทใ่ี ห้เรียบร้อย

1. ครแู นะนำข้อตกลงในการเล่นเครื่องเลน่ สนาม เครือ่ งเล่นสนาม สงั เกต

แตล่ ะชนดิ พรอ้ มทง้ั แนะนำวธิ ีการเล่นอย่างปลอดภัย การเล่น ทำกิจกรรมและ

2. เดก็ เลน่ เคร่ืองเล่นสนามโดยมคี รูดูแลอย่างใกล้ชิด ปฏบิ ัติตอ่ ผ้อู น่ื อย่าง

3. เม่ือหมดเวลาเด็กเข้าแถวทำความสะอาดร่างกาย ปลอดภยั

ก่อนเขา้ ช้ันเรียน

เกมการศึกษา (8) การนบั และแสดง การนับและแสดง 1. ครแู นะนำอุปกรณพ์ รอ้ มทั้งสาธติ วธิ ีการเล่น 1. เกมพื้นฐานการ สังเกต
จำนวน 1 - 9
จับคู่และเปรียบเทียบ จำนวนของสงิ่ ตา่ งๆใน เกมพ้ืนฐานการบวกจำนวน 1 - 9 บวกจำนวน 1 - 9 การจบั คแู่ ละ

ความแตกต่างและ ชีวติ ประจำวัน 2. แบง่ เด็กเปน็ กลมุ่ ตามความเหมาะสม ใหเ้ ดก็ 1 ๒. เกมการศึกษาใน เปรียบเทียบ

ความเหมือนของสิ่ง (13) การจบั คู่ การ กลุม่ รับเกมที่แนะนำใหมไ่ ปเล่น กลุ่มอน่ื ๆ เล่นเกม หนว่ ยทผ่ี ่านมา ความแตกตา่ งและความ

ต่างๆ โดยใช้ลักษณะท่ี เปรยี บเทยี บและการ การศึกษาชดุ เดมิ เหมือนของส่ิงต่างๆ โดย

สงั เกตพบได้ เรียงลำดับสิ่งต่างๆ 3. เด็กเลน่ เกมโดยหมนุ เวยี นสลบั เปลี่ยนกันในแต่ ใชล้ ักษณะท่สี ังเกตพบ

ตามลกั ษณะ ละกลุ่มโดยทกุ กลมุ่ ต้องได้เลน่ เกมพื้นฐานการบวก

จำนวน 1 – 9

4. หมดเวลาเด็กเก็บเกมการศกึ ษาเข้าทีห่ ลงั เลกิ

เล่นแล้ว

แผนการจดั ประสบการณ์รายวนั วนั ที่ 3 หน่วยท่ี 15 ต้นไมท้ รี่ ัก ชน้ั อนบุ าลปีที่ 3

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื การประเมนิ
การเรียนรู้ พฒั นาการ
ประสบการณส์ ำคัญ สาระทคี่ วรเรยี นรู้ 1. กิจกรรมพื้นฐาน ให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายไปท่ัว 1. ดนตรีบรรเลง
กจิ กรรมเคลื่อนไหว บริเวณอย่างอิสระตามเสียงดนตรีบรรเลง เม่ือเพลง 2. คำบรรยาย สังเกต
และจังหวะ (1) การเคลือ่ นไหว หยุดให้หยุดการเคล่อื นไหวในท่านั้นทันที ความสนใจ มคี วามสุข
สนใจ มคี วามสขุ โดยควบคุมตนเอง 2. เด็กทำทา่ ตามจนิ ตนาการของตนเอง โดยฟัง และแสดงทา่ ทาง /
และแสดงท่าทาง / ไปในทศิ ทาง ระดับ คำบรรยาย“เด็กๆ เดินเข้าไปในป่า ในระหว่างทางมี เคล่อื นไหวประกอบ
เคลอ่ื นไหวประกอบ และพื้นที่ กิ่งไม้หักขวางทางอยู่จึงกระโดดข้ามกิ่งไม้เม่ือเดินไป จงั หวะ และดนตรี
จังหวะและดนตรีได้ (3) การเคลือ่ นไหว เรื่อยๆก็มองเห็นต้นมะม่วงมากมายนับได้ 1 2 3
ตามเสยี งเพลง/ดนตรี จนถึง 20 ต้น (ครูบอกให้เดก็ นับปากเปล่า) มาถึงต้น
(8) การนบั และ มะม่วงต้นหนึ่งมีลูกดกมาก เด็กๆ นับได้ 1 2 3 4 5
แสดงจำนวน 6 7 8 9 ลูก (ครูให้เด็กหยิบของเล่นชิ้นเล็ก ๆ ให้ได้
9 ชิ้น) แล้วเดินต่อไปเร่ือยๆ ไปพบกับหมูป่าตัวใหญ่
หมูป่าตัวใหญ่รปู ร่างน่ากลัวมาก จึงรีบวิ่งหนีหมปู ่าไป
แอบอยู่ที่ต้นไม้ใหญ่เมื่อหมูป่าวิ่งไปทางอ่ืน เด็กๆจึง
รีบเดนิ กลับบ้านทันที
3. หลังปฏิบัติกจิ กรรมเสร็จแล้ว เด็กนอนราบ
พกั ผ่อน เพ่ือเตรยี มปฏบิ ัตกิ ิจกรรมต่อไป

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื การประเมิน
พัฒนาการ
การเรยี นรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้

กจิ กรรมเสริม (4) การมีส่วนร่วมใน การทดลองการดดู นำ 1. ครูนำต้นไม้มา 2 กระถาง กระถางท่ี 1 ต้นไม้ท่ีมี 1. ต้นไม้ 2 กระถาง สังเกต

ประสบการณ์ การรวบรวมข้อมูลจาก ของราก และหน้าที่ รากเกาะตดิ อยใู่ นดนิ กระถางท่ี 2 ตน้ ไม้ท่ีไมม่ ีรากอยู่ 2. ตน้ กระสงั 1. การค้นหาคำตอบ

1. คน้ หาคำตอบของ การสืบเสาะหาความรู้ ของราก ในดนิ ตน้ เทียน หรอื ตน้ ไม้ที่ ของขอ้ สงสัยต่างๆ โดย

ขอ้ สงสัยต่างๆ โดยใช้ ในรูปแบบตา่ งๆ และ 2. อาสาสมัคร 1 คนออกมาดึงต้นไม้ออกจาก มีนำมาทดลองการ ใช้วธิ ีการท่หี ลากหลาย

วิธกี ารทหี่ ลากหลาย แผนภูมิอยา่ งงา่ ย กระถาง 2 มือพร้อมๆ กัน แล้วบอกความรู้สึกจาก ดดู นำ้ ของรากได้ ดว้ ยตนเอง

ดว้ ยตนเองได้ (1) การสังเกตลักษณะ การดึงต้นไม้ออกจากกระถางว่ามีความรู้สึกอย่างไร 3. นำสีใสไ่ ปในขวด 2. การบอกลกั ษณะ

2. บอกลักษณะ และการเปลี่ยนแปลง ต้นไม้ในกระถาง 2 ใบตา่ งกนั ไหม แก้วเทา่ กับจำนวน การเปล่ยี นแปลงของ

การเปลีย่ นแปลงของ ของส่ิงตา่ งๆ โดยใช้ 3. ครสู รปุ เพิ่มเตมิ ถงึ หนา้ ท่ขี องราก คอื กล่มุ สง่ิ ตา่ งๆ จากการ

สิ่งต่างๆ จากการ ประสาทสมั ผสั อยา่ ง (1) ยดึ ลำตน้ ใหต้ ดิ กับดนิ 4. กระดาษบันทกึ ผล สงั เกตโดยใช้ประสาท

สังเกตโดยใชป้ ระสาท เหมาะสม (2) ดดู นำและอาหารไปเล้ียงลำตน้ การทดลอง สมั ผัส

สมั ผัสได้ 4. ครูแนะนำอุปกรณ์พร้อมสาธิตวิธีการทดลองการ

ดูดนำของรากต้นกระสัง ต้นเทียน หรือต้นไม้ที่

สามารถทดลองการดดู นำของรากได้

5. เด็กแต่ละกลุ่มร่วมกันทดลองการดูดนำของราก

ตน้ กระสงั หรอื ต้นเทยี น

6. เด็กบันทึกผลการทดลองโดยการวาดภาพ พร้อม

นำเสนอขอ้ มูล

7. เด็กและครูร่วมกันสรุปผลการทดลองและหน้าท่ี

ของราก

กจิ กรรมศิลปะ (4) การประดิษฐ์สง่ิ 1. ครแู นะนำกิจกรรมการทำศิลปะแบบร่วมมือโดยมี 1. กระดาษวาดภาพ สงั เกต

สรา้ งสรรค์ ตา่ งๆ ดว้ ยเศษวัสดุ เป้าหมายเพอื่ ทำต้นไมป้ ระดษิ ฐจ์ ากเศษวสั ดุ 2. สเี ทียน, ดินสอสี การเลน่ หรอื ทำงาน

เล่นหรือทำงานร่วมกับ (3) การทำศลิ ปะ ๒. ครูเตรียมวัสดุอุปกรณ์ เช่น กล่อง กระดาษ 3. เศษวัสดุ เช่น รว่ มกับเพ่ือนอย่างมี

เพ่ือนอย่างมเี ป้าหมาย แบบร่วมมอื วารสาร กระดาษหนงั สือพมิ พ์ กง่ิ ไม้ ใบไมแ้ ห้ง ฯลฯ กล่อง กระดาษ เปา้ หมาย

ได้ ๓. ครูแนะนำอุปกรณ์ วิธีการปฏิบัติและข้อตกลงใน วารสาร กระดาษ

การปฏิบัติกิจกรรมร่วมกันเป็นกลมุ่ หนงั สือพิมพ์ กง่ิ ไม้

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ การประเมิน
พัฒนาการ
การเรียนรู้ ประสบการณส์ ำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้
สังเกต
๔. เด็กแต่ละกลุ่มออกแบบผลงานและลงมือปฏิบัติ ใบไมแ้ หง้ ฯลฯ การเลน่ ทำกจิ กรรม
และปฏิบตั ิตอ่ ผู้อน่ื
กิจกรรมรว่ มกัน ได้ผลงานตามความคิดของทกุ คน อยา่ งปลอดภยั

๕. เด็กร่วมกนั เก็บอุปกรณ์ และนำเสนอผลงาน สงั เกต
การรบั ลกู บอลท่ี
กิจกรรมเล่นตามมุม (1) การเล่นเครอื่ ง 1. ครูแนะนำกจิ กรรมตามมุมประสบการณ์ มุมประสบการณ์ใน กระดอนข้ึนจากพ้ืน

เลน่ ทำกิจกรรมและ เลน่ สัมผัสและการ 2. เด็กเลือกกิจกรรมตามมุมประสบการณ์ตามความ หอ้ งเรยี น

ปฏบิ ตั ติ ่อผู้อ่นื อยา่ ง สรา้ งจากแทง่ ไมบ้ ล็อก สนใจซึ่งควรจัดไว้อยา่ งน้อย ๔ มมุ เช่น

ปลอดภัยได้ (2) การเล่นรายบุคคล - มุมหนงั สือ - มุมบล็อก

กล่มุ ย่อยกลุ่มใหญ่ - มมุ เกมการศกึ ษา - บทบาทสมมติ

(3) การเล่นตามมุม - มุมเครือ่ งเล่นสมั ผัส - มุมธรรมชาตศิ ึกษา

ประสบการณ์ 3. เม่ือหมดเวลาเดก็ เกบ็ ของเขา้ ทีใ่ หเ้ รียบร้อย

กจิ กรรมกลางแจ้ง (2) การเคลือ่ นไหว 1. เด็กเตรียมความพร้อมร่างกายโดยให้เด็กวิ่งอยู่กับ 1. เกมลิงชงิ ลูกบอล

รับลูกบอลท่ีกระดอน เคลื่อนที่ ที่ และกม้ ตวั ลงแตะข้อเทา้ สลบั ซ้ายขวา 10 ครั้ง กระดอนจากพ้ืน

ขนึ้ จากพื้นได้ (4) การเคลือ่ นไหว 2. ครูอธบิ ายและสาธติ การรบั ส่งลกู บอล 2. ลกู บอล

ทใี่ ชก้ ารประสาน 3. เดก็ จับคู่ รบั –สง่ ลูกบอลตามความถนดั ของตนเอง 3. นกหวดี

สมั พนั ธ์ของการใช้ 4. ครูอธิบายและสาธิตการเล่นเกมลิงชิงบอล

กลา้ มเนอื้ ใหญใ่ น กระดอนจากพื้นดังนี้

การรับบอล (1) เด็กจับมือเป็นวงกลม 1 วง(ขนาดตามความ

เหมาะสม)

(2) ครูขออาสาเด็ก 1 คน เป็นลิง คอยแย่งลูกบอลท่ี

เพ่อื นโยนลงพ้ืน

(3) เด็ก ๆ จะโยนลูกบอลให้กระดอนกับพ้ืนก่อนส่ง

ใหเ้ พอื่ นพร้อมทง้ั เรียกชอื่ เพ่ือนไปด้วย

จดุ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่ือ การประเมิน
การเรียนรู้ ประสบการณส์ ำคญั สาระท่ีควรเรยี นรู้ พฒั นาการ
4. ถ้าลิงแยง่ บอลได้ คนที่โยนลูกบอลให้เพ่ือนต้องมา
เป็นลิงแทน
5. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บอุปกรณ์ลูกบอลเข้าแถวทำ
ความสะอาดร่างกายก่อนเข้าช้ันเรียน

เกมการศึกษา (9) การเปรียบเทียบ การเจริญเตบิ โต 1. ครูแนะนำอุปกรณ์พร้อมทั้งสาธิตวิธีการเล่นเกม 1 . เกมเรียงล ำดับ สงั เกต
เรยี งลำดับสงิ่ ของ และเรียงลำดับจำนวน ของตน้ ไม้
หรือเหตุการณ์ ของสิ่งตา่ งๆ เรยี งลำดับการเจรญิ เติบโตของตน้ ไม้ การเจริญเติบโตของ การเรยี งลำดบั สง่ิ ของ
อย่างนอ้ ย 5 ลำดบั ได้
2. แบ่งเด็กเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม ให้เด็ก 1 ต้นไม้ หรอื เหตุการณอ์ ย่าง

กลุ่มรับเกมท่ีแนะนำใหม่ไปเล่น กลุ่มอื่นๆ เล่นเกม ๒. เกมการศกึ ษาใน น้อย 5 ลำดบั

การศึกษาชดุ เดิม หนว่ ยท่ีผ่านมา

3. เด็กเล่นเกมโดยหมุนเวียนสลับเปลี่ยนกันในแต่ละ

ก ลุ่ ม โ ด ย ทุ ก ก ลุ่ ม ต้ อ ง ได้ เล่ น เก ม เรี ย ง ล ำ ดั บ ก า ร

เจรญิ เตบิ โตของตน้ ไม้

4. เดก็ เกบ็ เกมการศกึ ษาหลงั เลิกเล่นแล้ว

แผนการจัดประสบการณ์รายวนั วนั ที่ 4 หน่วยท่ี 15 ต้นไมท้ ี่รกั ช้ันอนบุ าลปีที่ 3

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมิน
การเรยี นรู้ พฒั นาการ
ประสบการณส์ ำคัญ สาระที่ควรเรยี นรู้ 1. กิจกรรมพ้ืนฐานให้เดก็ เคลอื่ นไหวรา่ งกายไป
กจิ กรรมเคล่อื นไหว ทั่วๆบริเวณอย่างอสิ ระตามเสียงดนตรเี ม่อื ได้ยิน 1. เครื่องเคาะจงั หวะ สังเกต
และจังหวะ (3) การเคลื่อนไหว สญั ญาณหยดุ ให้หยดุ เคล่ือนไหวในทา่ น้ันทนั ที
สนใจ มคี วามสขุ พร้อมอุปกรณ์ 2. ครแู นะนำการปฏิบัติกิจกรรมเคลอื่ นไหว 2. ใบไม้ ความสนใจ มีความสขุ
และแสดงทา่ ทาง / (1) การเคลื่อนไหวโดย ร่างกายประกอบใบไม้ใหเ้ ดก็ ฟงั โดยให้เด็ก
เคล่ือนไหวประกอบ ควบคุมตนเองไปใน เคลอ่ื นไหวบริเวณรอบหอ้ งเรียนเมื่อไดย้ ินเสยี ง 3. นกหวดี และแสดงทา่ ทาง /
จังหวะและดนตรีได้ ทศิ ทาง ระดับและพน้ื ท่ี เคาะจังหวะ
(3) การเคลอ่ื นไหว 3. เด็กเคลือ่ นไหวร่างกายตามจนิ ตนาการ เคลือ่ นไหวประกอบ
ตามเสยี งเพลง/ดนตรี ประกอบใบไม้ไปรอบๆห้องตามจังหวะการเคาะ
ชา้ หรอื เรว็ และเม่ือได้ยินเสยี งนกหวีดใหเ้ ด็กหยดุ จงั หวะ และดนตรี
เคล่อื นไหวในทา่ นนั้ ทนั ทีและฟังคำสัง่ จากครู ดงั น้ี

- วางใบไมไ้ ว้บนศีรษะ
- วางใบไม้ไวท้ ีข่ ้างล่างใตเ้ ทา้
- วางใบไม้ไว้ที่กลางลำตัวเสียบไว้ทีเ่ อว
- แลกใบไมก้ ับเพือ่ นท่อี ยู่ใกล้
ฯลฯ
4. ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามขอ้ 3. ซ้ำอีก
5. หลังปฏิบัติกิจกรรมเสรจ็ แลว้ เด็กพกั ผอ่ น
อริ ยิ าบถ เพอ่ื เตรียมปฏบิ ตั กิ จิ กรรมต่อไป

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ การประเมิน
การเรียนรู้ พัฒนาการ
ประสบการณ์สำคัญ สาระท่คี วรเรียนรู้
กิจกรรมเสรมิ 1. ใหเ้ ด็กพูดคำคล้องจอง “ปา่ แสนสวย” ตามครู 1. ค าคล้องจอง สังเกต
ประสบการณ์ (1) การมีส่วนร่วม การบำรุงดแู ลรกั ษา
ดูแลรักษาธรรมชาติ รับผดิ ชอบดูแลรักษา ต้นไม้ ทลี ะวรรค 2 – 3 ครั้ง หรือจนเดก็ ส่วนใหญจ่ ำได้ ปา่ แสนสวย การดแู ลรกั ษาธรรมชาติ
และสิง่ แวดล้อมดว้ ย ส่ิงแวดล้อมท้ังภายใน
ตนเองได้ และภายนอกห้องเรยี น แล้วสนทนากบั เด็กเกีย่ วกับเน้ือหาคำคลอ้ งจอง 2. แปลงผกั ที่รดน้ำ และส่ิงแวดล้อมด้วย
(4) การเพาะปลูกและ
ดแู ลตน้ ไม้ 2. ครูสนทนาเกย่ี วกับประสบการณ์การปลูกตน้ ไม้ พรวนดิน และแปลง ตนเอง
(1) การสำรวจส่ิงต่างๆ
และแหลง่ เรียนรู้ และการดแู ลรกั ษาตน้ ไมโ้ ดยมกี ารสร้างข้อตกลง ผักที่ต้นไม้ขาดน้ำ
รอบตัว
รว่ มกันในการไปศกึ ษาแหล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรยี น

3. เด็กไปสำรวจแปลงเพาะปลูก และต้นไม้ต่างๆ

ในบริเวณโรงเรียนที่ครูเตรียมไว้มที ้ังแปลงทร่ี ดน้ำ

พรวนดิน และแปลงท่ตี ้นไม้ขาดน้ำ ให้เดก็ สังเกต

ความแตกตา่ งวา่ เกิดอะไรข้ึน

4. เด็กๆ ชว่ ยกนั ตอบคำถามต่อไปนี้

- ถ้าต้นไมไ้ มไ่ ดร้ ับนำ้ หลายๆ วัน ตน้ ไมจ้ ะเปน็

อยา่ งไร เพราะเหตุใด

- เด็ก ๆ รู้สกึ อย่างไรที่เห็นต้นไม้เห่ยี วเฉา

- เด็กๆ จะทำอย่างไรไม่ใหต้ ้นไมเ้ หี่ยวเฉา

5. ครูและเด็กร่วมกันสรุปเรื่องการบำรุงดูแลรักษา

ตน้ ไม้ และรว่ มกันทอ่ งคำคลอ้ งจอง“ป่าแสนสวย”

จดุ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ สือ่ การประเมิน
การเรยี นรู้ ประสบการณ์สำคญั สาระทีค่ วรเรียนรู้ พัฒนาการ
1. ครูเตรยี มอปุ กรณก์ จิ กรรม 2 กิจกรรม ไดแ้ ก่ 1. ดินนำ้ มัน
กจิ กรรมศลิ ปะ (2) การเขยี นภาพและ ปั้นดินน้ำมัน และเป่าสี 2. กระดาษ A4 สังเกต
สร้างสรรค์ การเล่นกบั สี 2. ครแู นะนำอปุ กรณ์ วธิ ีการปฏบิ ัติและข้อตกลง 3. สนี ้ำ ความสนใจมีความสุข
สนใจมคี วามสขุ (3) การปั้น ในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม 3. หลอดเปา่ สี และแสดงออกผ่านงาน
และแสดงออกผ่าน 3. เด็กทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ท้ัง 2 กิจกรรม ศลิ ปะ
งานศลิ ปะได้ ตามความสนใจ
4. เด็กร่วมกันเกบ็ อปุ กรณ์และนำเสนอผลงาน

กิจกรรมล่นตามมุม (1) การเล่นเครื่องเล่น 1. ครแู นะนำกจิ กรรมตามมุมประสบการณ์ มมุ ประสบการณใ์ น สังเกต
เลน่ ทำกิจกรรม สมั ผัสและการสรา้ ง ห้องเรยี น การเล่น ทำกจิ กรรมและ
และปฏิบัตติ อ่ ผอู้ น่ื จากแท่งไม้บล็อก 2. เดก็ เลอื กกิจกรรมตามมุมประสบการณ์ ปฏบิ ัตติ ่อผอู้ ื่นอย่าง
อยา่ งปลอดภยั ได้ (2) การเลน่ รายบคุ คล ปลอดภยั
กล่มุ ย่อย กลมุ่ ใหญ่ ตามความสนใจซง่ึ ควรจดั ไวอ้ ยา่ งนอ้ ย ๔ มุม เช่น
(3) การเล่นตามมมุ
ประสบการณ์ - มมุ หนงั สือ - มมุ บล็อก

- มุมเกมการศึกษา - บทบาทสมมติ

- มุมเครือ่ งเล่นสมั ผสั

3. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บของเข้าทใ่ี หเ้ รียบร้อย

จุดประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่ือ การประเมิน
การเรยี นรู้ ประสบการณส์ ำคัญ สาระท่ีควรเรยี นรู้ พฒั นาการ
1. ครแู นะนำขอ้ ตกลงในการเล่นเล่นนำ้ เล่นทราย อปุ กรณก์ ารเลน่ น้ำ
กจิ กรรมกลางแจง้ (1) การเคล่ือนไหว พร้อมท้ังแนะนำวธิ ีการเลน่ อยา่ งปลอดภัย เลน่ ทราย สงั เกต
เล่น ทำกจิ กรรม โดยควบคุมตนเองไป 2. เดก็ เล่นเล่นน้ำเล่นทรายตามความสนใจโดยมี การเลน่ ทำกจิ กรรมและ
และปฏบิ ตั ติ ่อผู้อน่ื ในทศิ ทาง ระดับและ ครดู ูแลอย่างใกล้ชดิ ปฏบิ ัติตอ่ ผ้อู ่ืนอยา่ ง
อยา่ งปลอดภยั ได้ พน้ื ท่ี 3. เมื่อหมดเวลาเด็กเก็บอุปกรณเ์ ล่นนำ้ เลน่ ทราย ปลอดภัย
เขา้ แถวทำความสะอาดรา่ งกายก่อนเขา้ ชั้นเรยี น

เกมการศกึ ษา (13) การจับคู่ การ ความสมั พนั ธข์ อง 1. ครูแนะนำอปุ กรณพ์ รอ้ มทงั้ สาธติ วธิ ีการเล่น 1. เกมจับคตู่ น้ ไม้กับ สังเกต
จบั คแู่ ละเปรยี บเทยี บ เปรียบเทียบและการ ตน้ ไมก้ บั ผลไม้ เกมจับคตู่ ้นไม้กบั ผลไม้ ผลไม้ การจบั คู่และ
ความแตกตา่ งและ เรียงลำดับส่ิงต่างๆ 2. แบ่งเดก็ เป็นกลุ่มตามความเหมาะสม ใหเ้ ดก็ 1 ๒. เกมการศกึ ษาใน เปรียบเทยี บ
ความเหมือนของส่งิ ตามลักษณะ. กลมุ่ รบั เกมทแี่ นะนำใหมไ่ ปเล่น กลมุ่ อื่นๆ เลน่ เกม หน่วยทผ่ี า่ นมา ความแตกต่างและความ
ต่างๆ โดยใช้ลักษณะที่ การศกึ ษาชุดเดมิ เหมือนของส่ิงต่างๆ โดย
สงั เกตพบได้ 3. เด็กเลน่ เกมโดยหมุนเวียนสลบั เปลย่ี นกนั ในแต่ ใชล้ กั ษณะทสี่ งั เกตพบ
ละกลุ่มโดยทุกกลุ่มตอ้ งได้เล่นเกมจับคู่ต้นไมก้ บั
ผลไม้
4. เดก็ เก็บเกมการศึกษาเข้าทหี่ ลังเลกิ เล่นแล้ว

แผนการจัดประสบการณ์รายวัน วันท่ี 5 หนว่ ยท่ี 15 ตน้ ไมท้ ี่รกั ชั้นอนบุ าลปีที่ 3

จุดประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอื่ การประเมิน
พฒั นาการ
การเรียนรู้ ประสบการณส์ ำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้

กจิ กรรมเคล่อื นไหว (1) การเคลือ่ นไหว 1. กิจกรรมพื้นฐานให้เด็กเคล่ือนไหวร่างกายไปทั่วๆ 1. เครอื่ งเคาะจังหวะ สงั เกต

และจังหวะ โดยควบคมุ ตนเองไป บริเวณอย่างอิสระตามจังหวะเม่ือได้ยินสัญญาณหยุด 2. เพลง ต้นไม้ใหญ่ ความสนใจ มีความสุข

สนใจ มีความสขุ ในทศิ ทาง ระดับและ ใหห้ ยุดเคล่ือนไหวในท่าน้ันทนั ที และแสดงทา่ ทาง /

และแสดงท่าทาง / พนื้ ที่ 2. ครูแนะนำการปฏิบัติกิจกรรมเคล่ือนไหวประกอบ เคลือ่ นไหวประกอบ

เคลื่อนไหวประกอบ (3) การเคล่อื นไหว เพลง ต้นไม้ใหญ่ ใหเ้ ดก็ ฟงั เพลง จงั หวะและดนตรี

เพลงจังหวะ และดนตรี ตามเสยี งเพลง/ดนตรี 3. เด็กร้องเพลงต้นไมใ้ หญ่ ตามครูทลี ะวรรค

ได้ (2) การเลน่ รายบคุ คล 2 – 3 ครง้ั หรือจนเด็กสว่ นใหญจ่ ำได้

กลุม่ ย่อย กลุม่ ใหญ่ 4. แบง่ เด็กเป็นกลุม่ ตามความเหมาะสม ให้แตล่ ะ

กล่มุ ออกแบบท่าทางตามจินตนาการประกอบเพลง

5. เด็กเคลอ่ื นไหวตามจินตนาการประกอบเพลง

ต้นไม้ใหญ่ ท่ีออกแบบไว้

6. หลงั ปฏิบัติกจิ กรรมเสร็จแลว้ เด็กนอนพกั ผ่อน

เพ่อื เตรยี มปฏิบตั กิ จิ กรรมต่อไป

กจิ กรรมเสรมิ (3) การฟงั เพลง โทษของการทำลาย 1. ครูเลา่ นทิ านประกอบภาพเรือ่ งป่าไม้ 1. นทิ าน เร่อื งป่าไม้ สงั เกต
ประสบการณ์ นิทานหรอื เรอ่ื งราว ป่า
การฟังผู้อืน่ พูดจน ต่างๆ 2. เด็กชว่ ยกนั สรุปเน้ือหาในนทิ านและอภปิ ราย 2. ภาพประกอบการ การฟงั ผู้อ่นื พูดจนจบ
จบและสนทนา (4) การพูดแสดง
โตต้ อบสอดคล้อง ความคิด ความร้สู กึ เก่ยี วกับโทษของการทำลายป่าและใหต้ อบคำถาม เล่านิทาน และสนทนาโตต้ อบ
กบั เรื่องที่ฟงั ได้ และความต้องการ
(5) การพดู กบั ผู้อน่ื ดังน้ี - ภูเขาท่มี ตี ้นไมเ้ ขียว สอดคล้องกับเรอื่ งทีฟ่ งั
เกย่ี วกบั ประสบการณ์
ของตนเอง (1) เด็กๆ เห็นภาพภูเขาหัวโล้นแห้งแล้งท่ีถูกถางป่า สมบูรณ์

เผาป่า จนเหลือแต่ตอ และพ้ืนดินโล้นแห้งแล้งแล้ว - ภเู ขาหวั โลน้ แห้ง

รสู้ ึกอยา่ งไร แลง้ ทถี่ ูกถางป่า

(2) ถ้าเราต้องการให้ภูเขาหัวโล้นแห้งแล้งกลับไปเป็น เผาปา่

ปา่ ไมท้ ่สี มบูรณเ์ ราควรทำอยา่ งไร - นำป่าไหลหลาก

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื การประเมนิ
การเรียนรู้ พฒั นาการ
ประสบการณส์ ำคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู้ (3) ถ้าโรงเรยี นของเราไมม่ ีตน้ ไม้เลยจะเปน็ อยา่ งไร - น้ำทว่ มบา้ น ไร่ นา
กจิ กรรมศลิ ปะ 3. แบง่ กลุ่มเดก็ ช่วยกนั สร้างภาพ (วาดและฉกี ปะ 3. กระดาษบรฟู๊ ตาม
สร้างสรรค์ หรือพดู เลา่ เรื่องราว กระดาษ) สวนป่าในอนาคตลงในกระดาษบรู๊ฟ จำนวนกลุ่ม
ใช้กรรไกรตัด เกย่ี วกับตนเอง แลว้ นำเสนอผลงาน 4. สีเทียน
กระดาษตามแนว (8) การรอจงั หวะที่ 5. กระดาษมนั ปู
เส้นโคง้ ได้ เหมาะสมในการพดู 6. กาว
(9) การพูดเรียงลำดบั
คำเพื่อใชใ้ นการสอื่ สาร

(4) การประดษิ ฐ์สิ่ง 1. ครเู ตรยี มอุปกรณ์กิจกรรม 1 กจิ กรรม ได้แก่ 1. กระดาษสี สังเกต
ตา่ งๆ ด้วยเศษวัสดุ การทำโมบายรูปใบไม้ 2. กระดาษจาก การใช้กรรไกรตัด
(5) การหยิบจบั 2. ครูแนะนำอปุ กรณ์ วธิ ีการปฏิบตั แิ ละข้อตกลง วารสารสีทไ่ี ม่ใชแ้ ลว้ กระดาษตามแนวเสน้
การใชก้ รรไกร การตัด ในการปฏบิ ัติกิจกรรม 3. กรรไกรปลายมน โค้ง
และการร้อยวัสดุ 3. ครสู าธติ ทำโมบายจากเศษวสั ดุ 4. เชอื ก
4. เดก็ เลอื กเศษวัสดตุ ามที่สนใจ ตดั เปน็ ใบไม้ 5. แก้วหรือขวด
ตามทอ่ี อกแบบไว้ และทำโมบายใบไม้ พลาสตกิ ชนดิ ออ่ น
5. เด็กร่วมกันเก็บอปุ กรณ์และนำเสนอผลงาน สีต่าง ๆ

จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมิน
การเรยี นรู้ ประสบการณส์ ำคัญ สาระที่ควรเรยี นรู้ พฒั นาการ
1. ครแู นะนำกจิ กรรมตามมมุ ประสบการณ์ มุมประสบการณ์ใน
กจิ กรรมเล่นตามมุม (1) การเลน่ เครอ่ื งเลน่ ห้องเรียน สังเกต
เล่น ทำกิจกรรม สัมผัสและการสร้าง 2. เดก็ เลือกกิจกรรมเสรีตามมุมประสบการณ์ การเล่น ทำกจิ กรรมและ
และปฏบิ ตั ิต่อผู้อ่ืน จากแท่งไม้ บล็อก ปฏบิ ตั ิตอ่ ผู้อน่ื อยา่ ง
อย่างปลอดภยั ได้ (3) การเลน่ ตามมุม ตามความสนใจซ่งึ ควรจดั ไวอ้ ยา่ งนอ้ ย ๔ มมุ เชน่ ปลอดภัย
ประสบการณ์
- มุมหนังสอื - มุมบล็อก

- มุมเกมการศึกษา - บทบาทสมมติ

- มมุ เครอื่ งเล่นสมั ผสั - มมุ ธรรมชาติศึกษา

3. เม่ือหมดเวลาเด็กเก็บของเขา้ ทใ่ี ห้เรยี บรอ้ ย

กิจกรรมกลางแจ้ง (5) การเลน่ เคร่ืองเลน่ 1. ครูอธิบายและแนะนำข้อตกลงในการเล่นมอญ ใบไม้จรงิ หรอื สงั เกต
เลน่ ทำกิจกรรม สนามอย่างอสิ ระ การเลน่ ทำกิจกรรมและ
และปฏบิ ตั ิต่อผู้อื่น (1) การเคล่ือนไหว ซอ่ นใบไม้และสาธิตวธิ ีการเลน่ พลาสตกิ ปฏิบัติต่อผูอ้ ่ืนอยา่ ง
อยา่ งปลอดภัยได้ โดยควบคมุ ตนเองไป ปลอดภยั
ในทิศทาง ระดบั และ 2. เด็กเลน่ มอญซอ่ นใบไม้ ดงั น้ี
พนื้ ที่
(1) เดก็ นง่ั เปน็ วงกลมเอามอื มาวางไวบ้ นตกั มองท่ี

กลางวง

(2) เด็กทอี่ าสาเปน็ ผซู้ อ่ นใบไม้ จะเดนิ วนไปรอบ ๆ

และร้องเพลงมอญซ่อนใบไม้พรอ้ มกับคนท่ีน่งั ในวง

(3) คนท่ีซอ่ นใบไมจ้ ะแอบวางใบไม้ไว้ข้างหลงั

เพือ่ น แล้วเดินวนมาครบรอบ ถ้าเพอ่ื นยงั ไม่รูต้ วั

เพ่ือนคนทว่ี างใบไม้ กจ็ ะเอาใบไม้ตกี ้นแลว้ วิ่งหนี

เพ่อื วง่ิ ไปน่งั แทนทค่ี นทถี่ ูกตี ถา้ วิง่ หนีไม่ทันกต็ ้อง

เป็นคนซ่อนใบไม้อกี รอบหนึง่

3. เม่ือหมดเวลาเด็กเข้าแถวทำความสะอาดร่างกาย

กอ่ นเขา้ ช้ันเรยี น

จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ การประเมิน
การเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระทคี่ วรเรยี นรู้ พัฒนาการ
1. ครูแนะนำอปุ กรณพ์ รอ้ มทงั้ สาธิตวิธีการเล่น
เกมการศกึ ษา (18) การเล่นเกม การจัดหมวดหม่ภู าพ เกมจดั หมวดหมู่ภาพกับสญั ลกั ษณ์ 1. เกมจัดหมวดหมู่ สงั เกต
จบั คูแ่ ละเปรียบเทยี บ ทางภาษา กบั สญั ลกั ษณ์ 2. แบง่ เด็กเปน็ กลมุ่ ตามความเหมาะสม ให้เดก็ 1 ภาพกบั สัญลักษณ์ การจบั คู่และ
ความแตกต่าง และ ตวั อกั ษร กลุม่ รบั เกมท่ีแนะนำใหมไ่ ปเล่น กลมุ่ อื่นๆ เล่นเกม ๒. เกมการศกึ ษาใน เปรยี บเทยี บ
ความเหมือนของสิ่ง การศึกษาชุดเดมิ หนว่ ยท่ผี ่านมา ความแตกต่าง
ตา่ งๆที่สังเกตพบได้ 3. เดก็ เล่นเกมโดยหมุนเวียนสลบั เปล่ยี นกันในแต่
ละกลมุ่ โดยทุกกลมุ่ ตอ้ งไดเ้ ล่นเกมจดั หมวดหมู่ และความเหมือนของส่ิง
ภาพกับสัญลักษณ์ ตา่ งๆท่ีสงั เกตพบ
4. เดก็ เก็บเกมการศกึ ษาเข้าท่หี ลงั เลิกเลน่ แลว้

1 เลขท่ี ช่อื –สกุล
2
3
4
5
6
7

8
9
10
11

1. การเล่น ท ากิจกรรมและปฏบิ ตั ติ อ่ ผ้อู น่ื อยา่ ง ด้านรา่ งกาย แบบสงั เกตพฤตกิ รรมเดก็ หนว่ ยการจดั ประสบการณ์ที่ 15 ต้นไม้ที่รกั ชนั้ อนุบาลปที ่ี 3
ปลอดภยั ปลอดภยั
พัฒนาการ
2. การรบั ลูกบอลทกี่ ระดอนข้ึน
ดา้ นอารมณ์ ด้าน
3. การใชก้ รรไกรตัดกระดาษตามแนวเส้นโคง้ จติ ใจ สังคม

4. ความสนใจมีความสขุ และแสดงออกผ่านงานศลิ ปะ ด้านสติปัญญา

5. ความสนใจ มีความสขุ และแสดงท่าทาง/
เคลอ่ื นไหวประกอบเพลง

6. การดูแลรกั ษาธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมด้วยตนเอง

7. การเล่นหรอื ทำงานรว่ มกบั เพอ่ื นอย่างมเี ปา้ หมาย

8. การฟงั ผ้อู ื่นพดู จนจบและสนทนาโตต้ อบอย่าง
ต่อเนื่องเชอ่ื มโยงกบั เรื่องทฟี่ งั

9. การอา่ นคำดว้ ยการชี้ หรือกวาดตามองจุดเร่ิมตน้
และจุดจบของขอ้ ความ
10. การบอกลักษณะการเปลย่ี นแปลงของส่ิงต่างๆจา
การสงั เกตโดยใชป้ ระสาทสัมผัส
11. การจบั ค่แู ละเปรยี บเทียบความแตกต่างและ
ความเหมอื นของสง่ิ ตา่ งๆ

12. การจำแนกและจดั กลุม่ สิ่งตา่ งๆโดยใชต้ ังแต่
2 ลกั ษณะข้นึ ไปเปน็ เกณฑ์

13. การเรียงลำดบั สง่ิ ของหรอื เหตกุ ารณ์อย่างนอ้ ย
5 ลำดับ

14. การค้นหาคำตอบของข้อสงสัยตา่ งๆ โดยใช้วิธกี าร
ที่หลากหลายด้วยตนเอง

หมาย
เหตุ

12 เลขท่ี ชอื่ –สกลุ
13
14 1. การเลน่ ท ากิจกรรมและปฏิบตั ติ ่อผู้อืน่ อยา่ ง ดา้ นร่างกาย
15 ปลอดภัยปลอดภัย
16 พัฒนาการ
17 2. การรบั ลกู บอลทก่ี ระดอนขึ้น
18 ดา้ นอารมณ์ ด้านสงั คม
19 3. การใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนวเสน้ โคง้ จติ ใจ
20
4. ความสนใจมีความสุขและแสดงออกผ่านงานศิลปะ ด้านสตปิ ญั ญา
คำอธบิ าย ครูสงั เกตพฤติกรรมเด็กรายบุคคล จดบนั ทึกสรปุ เปน็ รายสปั ดาหร์ ะบุระดับคุณภาพเป็น ๓ ระดบั คือ
ระดับ ๓ ดี ระดบั ๒ ปานกลาง ระดับ ๑ ควรส่งเสริม 5. ความสนใจ มคี วามสขุ และแสดงท่าทาง/
เคล่อื นไหวประกอบเพลง

6. การดแู ลรักษาธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มด้วยตนเอง

7. การเล่นหรอื ทำงานรว่ มกับเพ่อื นอย่างมเี ปา้ หมาย

8. การฟงั ผู้อน่ื พดู จนจบและสนทนาโต้ตอบอย่าง
ต่อเนื่องเชือ่ มโยงกับเร่ืองท่ฟี ัง

9. การอ่านคำด้วยการช้ี หรอื กวาดตามองจดุ เริ่มตน้ และ
จุดจบของข้อความ
10. การบอกลกั ษณะการเปลย่ี นแปลงของสิง่ ตา่ งๆจา
การสงั เกตโดยใช้ประสาทสมั ผัส
11. การจับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่างและ
ความเหมือนของสงิ่ ตา่ งๆ

12. การจำแนกและจัดกลุม่ สิง่ ตา่ งๆโดยใช้ตังแต่
2 ลกั ษณะข้นึ ไปเปน็ เกณฑ์

13. การเรยี งลำดับสิ่งของหรอื เหตกุ ารณ์อยา่ งน้อย
5 ลำดับ

14. การค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆ โดยใช้วิธีการ
ท่ีหลากหลายดว้ ยตนเอง

หมาย
เหตุ

ความเหน็ และข้อเสนอแนะของหัวหนา้ ฝา่ ยวิชาการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(ลงชื่อ)
(นางเมทินี มหสิ ยา)

ตำแหนง่ ครูชำนาญการพิเศษ

ความเห็นและข้อเสนอแนะของผู้อำนวยการโรงเรียน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(ลงชอื่ )
(นางสาวสพุ รรณกิ า สบุ รรณาจ)

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนประชาสามคั คี


Click to View FlipBook Version