The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaplanfe, 2021-06-13 07:46:02

sc22002

sc22002

43

ขอ ควรรูเ กย่ี วกบั วงจรไฟฟา
1) การกดสวติ ช เพอื่ เปด ไฟ คอื การทําใหวงจรปด มีกระแสไฟฟาไหล
2) การกดสวติ ช เพือ่ ปดไฟ คอื การทําใหวงจรเปด ไมมกี ระแสไฟฟา ไหล
3) ไฟตก คอื แรงดนั ไฟฟาตก อาจมสี าเหตมุ าจากการท่ีโรงไฟฟาขัดของ หรือมีการใช
ไฟฟามากขนึ้ อยา งรวดเร็ว

ภาพวงจรปด ภาพวงจรเปด

กิจกรรมทา ยเรอ่ื งท่ี 2 วงจรไฟฟา
(ใหผ เู รยี นไปทาํ กจิ กรรมเรื่องท่ี 2 ทสี่ มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู)

44

เรอ่ื งท่ี 3 สายดนิ และหลกั ดนิ

1. สายดนิ (Ground Wire)
สายดิน คือ สายไฟท่ีตอเขากับเคร่ืองใชไฟฟา โดยการตอลงดิน เพ่ือใหสายดิน

เปนตัวนํากระแสไฟฟาที่อาจเกิดการร่ัวไหล จากเคร่ืองใชไฟฟาลงสูพ้ืนดิน เปนการปองกันไมให
ไดร ับอันตรายจากกระแสไฟฟา

สวนปลายของสายดินจะถูกฝงไวในดิน ดวยการรวมสายดินจากทุกจุดภายในบาน
มาไวท่ีตูควบคุมไฟฟา และตอสายอีกเสนจากตูควบคุมไฟฟาลงสูพ้ืนดิน สวนที่ถูกฝงไวในดิน
จะเปนแทงทองแดงเปลือย ไมมีฉนวนหุม ยาวประมาณ 6 ฟุต เรียกวา “หลักดิน” เน่ืองจาก
ดนิ มีความช้ืนอยเู สมอ จึงทาํ ใหเกดิ ความตานทานไฟฟา ตํ่า กระแสไฟฟา จงึ ไมไ หลมาทาํ อนั ตราย

สายดินมีไวเพื่อปองกันอันตรายที่เกิดจากไฟช็อตหรือไฟรั่ว เพราะหากเกิดไฟช็อต
หรือไฟร่ัวขณะที่ใชงานอุปกรณชิ้นน้ัน กระแสไฟจะไหลเขาสูสวนที่เปนโลหะ ซึ่งถาสัมผัสโลหะ
ของอุปกรณนั้น โดยท่ีไมมีการติดตั้งสายดินไว กระแสไฟฟาทั้งหมดก็จะไหลเขาสูตัวผูใช
เคร่ืองใชไฟฟา อาจทําใหไดรับอันตรายและเสียชีวิตได แตถาท่ีบานมีการติดต้ังสายดินไว
กระแสไฟฟาเหลา นน้ั กจ็ ะไหลผา นเขาไปท่สี ายดินแทน อันตรายตา ง ๆ ท่ีเกิดจากไฟชอ็ ตหรือไฟร่ัว
ก็จะไมเกิดขึ้น ท่ีเปนเชนน้ีเพราะวา สายดินทําหนาที่เหมือนทอนํ้าลนของอางลางจานในครัว
เม่อื เปด น้าํ จนถงึ ทอนํา้ ลนแลว นา้ํ ก็จะไหลออกมาตามทอน้ัน น้ําจึงไมลน อาง

2. หลกั ดนิ (Ground Rod)
หลักดิน คือ อุปกรณท่ีทําหนาท่ีนํากระแสไฟฟาท่ีร่ัวไหลจากเครื่องใชไฟฟาผาน

สายดินลงสพู ืน้ ดนิ โดยหลกั ดนิ จะมลี กั ษณะเปน แทงทรงกระบอก เสนผานศนู ยก ลาง 16 มิลลิเมตร
และยาวไมนอยกวา 2.4 เมตร ทําจากวัสดุท่ีทนการผุกรอน เชน แทงทองแดงหรือแทงแมเหล็ก
หุม ทองแดง เปน ตน โดยหลักดินเปน องคป ระกอบท่สี าํ คญั ของระบบสายดิน ดังนี้

1) เปน อปุ กรณปลายทางทจ่ี ะทาํ หนาทีส่ มั ผัสกับพ้ืนดิน
2) เปน สวนทจี่ ะทาํ ใหส ายดนิ หรืออุปกรณท่ตี อ ลงดนิ มีศักยไฟฟา เปน ศูนยเทากับดิน
3) เปน เสน ทางไหลของประจุไฟฟาหรอื กระแสไฟฟา ทจ่ี ะไหลลงสูพน้ื ดิน
4) เปนตัวกําหนดคุณภาพ อายุความทนทาน และความปลอดภัยของระบบการตอ

ลงดินในระยะยาว

45

สายดนิ
หลกั ดนิ

ภาพสายดินและหลักดิน

ภาพการตอ สายดิน

สําหรับเคร่ืองใชไฟฟาที่แนะนําใหติดตั้งสายดิน เชน เคร่ืองทําน้ําอุนไฟฟา ตูเย็น
เคร่อื งปรับอากาศ เครือ่ งซักผา เคร่อื งคอมพวิ เตอร เปนตน

46

จากการศกึ ษาความรูเก่ียวกับวงจรไฟฟาและอุปกรณไฟฟา สามารถนํามาใชตอระบบ
ไฟฟา ภายในบานได ดงั ตัวอยา งในภาพ

ภาพตวั อยางการตอ ระบบไฟฟา ภายในบาน

กิจกรรมทายเรอ่ื งที่ 3 สายดินและหลกั ดนิ
(ใหผ เู รียนไปทาํ กจิ กรรมเร่ืองที่ 3 ท่ีสมุดบันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู)

47

หนว ยการเรียนรทู ี่ 4
การใชแ ละการประหยัดพลังงานไฟฟา

สาระสาํ คญั
ปจจุบันมนุษยพึ่งพาสิ่งอํานวยความสะดวกมากมาย โดยเฉพาะเครื่องใชไฟฟา จึงทําให

พลังงานไฟฟาเปน สงิ่ จําเปนในการดําเนินชีวิต ดังน้ันเพื่อใหการใชพลังงานไฟฟามีความปลอดภัย
ผใู ชจงึ ตองรูจักเครอ่ื งใชไ ฟฟา พรอ มท้งั เลือกใชไดอ ยางเหมาะสม และเพ่ือใหการใชพลังงานไฟฟา
เกดิ ความคุมคาและประหยัด ผูใชตองรูจักวิธีการประหยัดพลังงานไฟฟา รวมถึงรูจักการคํานวณ
คาไฟฟาทใี่ ชในครัวเรอื นอยางถกู ตอ งเพอื่ วางแผนการใชพลงั งานไฟฟาในครวั เรอื นไดอยางคุมคา

ตวั ชวี้ ดั
1. อธิบายกลยทุ ธการประหยดั พลังงานไฟฟา
2. จําแนกฉลากเบอร 5 ของแทก บั ของลอกเลียนแบบ
3. ปฏิบัติตนเปน ผูประหยดั พลังงานไฟฟา ในครัวเรือน
4. เลือกใชเ คร่ืองใชไฟฟาไดเหมาะสมกับสถานการณท ก่ี าํ หนดให
5. อธิบายวิธีการดแู ลรักษาเคร่อื งใชไฟฟา ในครัวเรอื น
6. บอกองคประกอบของคาไฟฟา
7. คํานวณคา ไฟฟา ในครวั เรือน

ขอบขา ยเนื้อหา
เร่ืองที่ 1 กลยุทธก ารประหยัดพลังงานไฟฟา 3 อ.
เร่อื งท่ี 2 การเลือกซ้อื เลอื กใช และดูแลรักษาเครือ่ งไฟฟาในครัวเรือน
เรอ่ื งท่ี 3 การคาํ นวณคา ไฟฟาในครัวเรอื น

เวลาท่ใี ชใ นการศกึ ษา 30 ชั่วโมง

ส่ือการเรียนรู
1. ชุดวิชาการใชพลังงานไฟฟาในชีวิตประจําวนั 2 รหัสวิชา พว22002
2. สมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู ประกอบชดุ วิชาการใชพ ลังงานไฟฟา ในชีวติ ประจําวัน 2
3. แผงสาธติ การตอวงจรไฟฟา

48

เรอื่ งท่ี 1 กลยทุ ธก ารประหยดั พลงั งานไฟฟา 3 อ.
พลังงานไฟฟาเปนส่ิงที่มีความจําเปนอยางหน่ึงในการดําเนินชีวิตของมนุษย และมี

ความตอ งการทเ่ี พม่ิ มากข้นึ อยางตอเนอื่ ง ในขณะที่เช้ือเพลิงประเภทฟอสซิลที่ใชในการผลิตไฟฟา
มีแนวโนมลดลงอยางตอเน่ือง อาจสงผลกระทบตอการขาดแคลนพลังงานไฟฟาในอนาคต ดังนั้น
ประชาชนควรตระหนักถงึ การใชพลังงานไฟฟา อยางประหยดั และรูคณุ คา

การประหยดั พลังงาน คือ การใชพลังงานอยางมีประสทิ ธิภาพ และรูคุณคา การประหยัด
พลังงานนอกจากชวยลดปริมาณการใชพลังงาน ซึ่งเปนการประหยัดคาใชจายของครัวเรือนและ
ประเทศชาตแิ ลว ยงั ชวยลดปญหาผลกระทบจากสิ่งแวดลอมไดดวย กลยุทธหนึ่งของประเทศไทย
ท่ีประสบความสําเร็จดานการประหยัดการใชไฟฟาและพลังงานของชาติคือ กลยุทธประหยัด
พลังงานไฟฟา 3 อ. ไดแก อุปกรณประหยัดไฟฟา อาคารประหยัดไฟฟา และอุปนิสัยประหยัด
ไฟฟา

กลยทุ ธก ารประหยัดพลังงาน 3 อ.

1. กลยุทธ อ. 1 อปุ กรณป ระหยดั ไฟฟา
กลยทุ ธ อ. 1 คอื อุปกรณประหยัดไฟฟา เปนการสงเสริมใหทุกครัวเรือนเปลี่ยนมาใช

อุปกรณไฟฟาทม่ี ีประสทิ ธิภาพสูง ประหยัดไฟ กฟผ. จึงไดดําเนินโครงการ “ฉลากประหยัดไฟฟา
เบอร 5 หรือ ฉลากเบอร 5” ซึ่งเปนการดําเนินงานดานมาตรฐานประสิทธิภาพพลังงาน โดยใช
ฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพไฟฟา ปจจุบันอุปกรณไฟฟาและเครื่องใชไฟฟาที่ติดฉลากเบอร 5
มีหลายชนดิ เชน ตเู ยน็ เคร่อื งปรบั อากาศ พดั ลมไฟฟา หมอ หงุ ขา วไฟฟา และหลอด LED เปน ตน

49
ภาพอปุ กรณไ ฟฟาที่ตดิ ฉลากประสิทธภิ าพสงู

ภาพฉลากเบอร 5 ของแท

50

ปจจุบนั ฉลากเบอร 5 มีผูลอกเลยี นแบบเปนจํานวนมาก โดยมีการติดฉลากเลียนแบบ
หรือติดเพียงคร่ึงเดียว ซึ่งหาก กฟผ. ตรวจพบจะแจงดําเนินคดีตามกฎหมาย ท้ังน้ี กฟผ.
ไดจดทะเบียนเครื่องหมายรับรองตามพระราชบัญญัติเคร่ืองหมายการคา หากบุคคลใด
ลอกเลียนแบบถอื วา มีความผิด สามารถสังเกตลักษณะของฉลากเบอร 5 ของปลอมได ดังภาพ

ภาพฉลากเบอร 5 ของปลอม

2. กลยทุ ธ อ. 2 อาคารประหยดั ไฟฟา
กลยุทธ อ. 2 คือ อาคารประหยัดไฟฟา เปนการสงเสริมใหผูประกอบการ

ภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรม เห็นความสําคัญและพรอมใจกันใชอุปกรณประหยัดไฟฟา
ที่มปี ระสทิ ธิภาพสูง พรอมกับการใชมาตรการตาง ๆ ที่เปนการประหยัดไฟฟา ไดแก การบริหาร
การใชไฟฟา การปรับปรุงระบบปองกันความรอนเขาสูอาคาร การใชระบบปรับอากาศ
ประสิทธิภาพสงู การปรับปรุงระบบแสงสวาง และการจัดการอบรมใหความรูดานการใชพลังงาน
ทัง้ นก้ี ารประหยัดพลงั งานไฟฟาในอาคารสามารถดําเนนิ การได ดงั น้ี

1) ออกแบบวางตําแหนงอาคาร ควรออกแบบใหดานยาวของอาคารหันหนาเขาหา
ทิศตะวันออกหรอื ทิศตะวันตก

2) ปลูกไมยืนตนใหรมเงาแกอาคาร พรอมทิ้งชายคาหลังคาหรือจัดทําแผงบังแดด
ชวยเสรมิ การบงั แดด

51

3) ออกแบบภูมิทัศนรอบอาคารเพ่ือลดความรอนเขาสูตัวอาคาร เชน ปลูกหญา
รอบอาคาร ขดุ สระนํา้ ตดิ ตง้ั น้ําพุ ดักลมกอนพดั เขา สูอาคาร และปลูกไมย นื ตนใหร มเงา เปน ตน

4) ใชวัสดุท่ีมีคุณสมบัติเปนฉนวนความรอน สะทอน หรือปองกันความรอนเปนผนัง
หลังคา และฝา เพดานของอาคาร

5) ใชวัสดุหรือนวัตกรรมที่ชวยระบายความรอน เชน ลูกระบายอากาศอลูมิเนียม
ทท่ี าํ งานโดยไมตอ งอาศยั พลงั งานไฟฟา

6) ใชระบบปรับอากาศ ชนิดประหยัดไฟ และแยกสวิตชเปด – ปดเฉพาะเครื่อง
เพื่อใหควบคมุ การเปด – ปดตามความตองการใชงานในแตล ะบริเวณ

7) ลดจํานวนพัดลมดูดอากาศ เพื่อปองกันการสูญเสียอากาศเย็นมิใหออกไป
จากหอ งปรบั อากาศมากเกนิ ไป

8) ใชประโยชนจากแสงธรรมชาติในเวลากลางวันแทนแสงสวางจากไฟฟา เชน
ใชก ระเบอ้ื งโปรง แสง หนาตา งกระจกใส เปนตน

9) ใชหลอดไฟฟาแสงสวางชนิดเกิดความรอนนอยท่ีดวงโคม เชน หลอดฟลูออเรส-
เซนต ลดความรอ นจากหลอดไฟฟา แสงสวา งโดยไมจาํ เปน

10) ใชอุปกรณนวัตกรรม คือ บัลลาสตอิเล็กทรอนิกส กับหลอดฟลูออเรสเซนต
เพื่อยืดอายุการใชงานของหลอดไฟ และประหยัดคาไฟฟา รวมท้ังใชครอบโลหะสะทอนแสง
เพอื่ ชวยเพิม่ ความสวางแกห ลอดไฟ 2 – 3 เทา โดยใชจ ํานวนหลอดไฟเทาเดิม

3. กลยทุ ธ อ. 3 อปุ นิสัยประหยัดไฟฟา
กลยทุ ธ อ. 3 คือ อปุ นสิ ยั ประหยัดไฟฟา เปนการปลูกจิตสํานึกและอุปนิสัยใหคนไทย

โดยเฉพาะอยางย่ิงเยาวชนไทย ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ซ่ึงมีแนวปฏิบัติหลักในการ
ประหยัดพลังงานไฟฟาในครัวเรอื น ดงั น้ี

1) ปดและถอดปลก๊ั ทกุ ครง้ั หลงั เสร็จสิน้ การใชงานเคร่ืองใชไฟฟา
2) หม่ันทาํ ความสะอาดเครอื่ งใชไ ฟฟาอยา งสม่าํ เสมอ
3) เลอื กขนาดของใชเครอื่ งใชไ ฟฟาใหเ หมาะสมกบั การใชง าน

ท้ังนี้เครื่องใชไฟฟาแตละชนิดมีวิธีการใชงานเพ่ือประหยัดพลังงานไฟฟาท่ีแตกตางกัน
ดังภาพ

52

ภาพวิธีการประหยดั ไฟฟา

กิจกรรมทา ยเรอื่ งท่ี 1 เรอ่ื งกลยทุ ธก ารประหยัดพลงั งานไฟฟา 3 อ.
(ใหผูเ รยี นไปทาํ กจิ กรรมเรอื่ งที่ 1 ทส่ี มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนร)ู

53

เรือ่ งท่ี 2 การเลือกซ้ือ เลือกใช และดูแลรักษาเครอ่ื งไฟฟาในครัวเรือน

โดยทั่วไปเครื่องใชไฟฟาภายในครัวเรือน มักมีการใชพลังงานไฟฟาสูงเกือบทุกชนิด
เพ่ือเปน การประหยดั และคุมคา ผใู ชจ ึงควรมีความรเู ก่ียวกบั การใชเ ครื่องใชไ ฟฟาอยางถูกวิธี ในท่ีนี้
จะกลา วถงึ เคร่ืองใชไ ฟฟาที่มีใชท่ัวไปในครัวเรือน เชน เคร่ืองทําน้ําอุนไฟฟา กระติกน้ํารอนไฟฟา
พัดลม โทรทศั น เตารีดไฟฟา ตเู ย็น เปน ตน

1. เครอ่ื งทาํ นํา้ อนุ ไฟฟา

เครื่องทํานา้ํ อนุ ไฟฟา เปนอุปกรณท ่ที ําใหนํ้ารอนข้ึน โดยอาศัยการพาความรอนจาก
ขดลวดความรอนขณะที่กระแสนํ้าไหลผาน สวนประกอบหลักของเครื่องทําน้ําอุนไฟฟา คือ
ขดลวดความรอน หรือเรียกวา ฮีตเตอร และอุปกรณควบคุมอุณหภูมิ หรือเรียกวาเทอรโมสตัท
ซ่งึ สว นประกอบแตล ะสวนมหี นา ที่แตกตางกัน ดงั น้ี

1) ขดลวดความรอน มีหนาท่ีใหค วามรอนกบั นา้ํ

2) อุปกรณควบคุมอุณหภูมิ มีหนาที่ตัดกระแสไฟฟาเม่ืออุณหภูมิของนํ้าถึงระดับ
ท่ีตัง้ ไว

ฝาบน (ฝาครอบเคร่ือง) ฮีตเตอร ฟว ส
(ปอ งกันไฟฟาลดั วงจร)
เทอรโ มสตทั

กระบอกทําความรอ น ESD
(อุปกรณปอ งกัน
จุดตอสายไฟเขาเคร่อื ง
หลอดไฟ ไฟดูด)
แสดงสภาวะ ไทแอก
การทํางาน เซนเซอร

ชุดควบคมุ (VR)

ปุมเทส ESD ทางนํ้าเขา
ทางน้ําออก

ภาพสวนประกอบของเคร่ืองทํานา้ํ อนุ ไฟฟา

54

การใชเ คร่ืองทํานํา้ อนุ ไฟฟาอยางถกู วิธีและประหยดั พลังงาน
1) เลือกเครื่องทํานํ้าอุนไฟฟาใหเหมาะสมกับการใชงาน เคร่ืองทํานํ้าอุนท่ีใช

โดยทั่วไปควรมขี นาดไมเกนิ 4,500 วัตต
2) ตง้ั อณุ หภมู ินํา้ ใหอ ยใู นชว ง 35 – 45 Cํ
3) ใชห ัวฝก บัวชนิดประหยัดนา้ํ จะประหยัดนํ้าไดถ ึงรอยละ 25 – 75
4) ใชเครื่องทําน้ําอุนไฟฟาท่ีมีถังน้ําภายในตัวเคร่ืองและมีฉนวนหุม เพราะ

สามารถลดการใชพลงั งานไดม ากกวา ชนดิ ทีไ่ มมถี งั นาํ้ ภายในรอยละ 10 – 20
5) ปดวาลว น้าํ ทุกคร้ังขณะฟอกสบูหรือสระผม
6) ปดวาลวนํา้ และสวติ ชท นั ทเี มอ่ื เลกิ ใชงาน

การดแู ลรกั ษาเคร่อื งทํานํ้าอนุ ไฟฟา
การดูแลรักษาเคร่ืองทํานํ้าอุนไฟฟาใหมีอายุการใชงานนานขึ้น ลดการใชพลังงาน
และปอ งกนั อบุ ัตเิ หตุ หรอื อันตรายทอี่ าจจะเกิดขึ้น มขี อควรปฏิบตั ดิ ังน้ี

1) หมั่นตรวจสอบการทาํ งานของเคร่ืองอยางสมํ่าเสมอ ใหมีสภาพพรอมใชงาน
โดยเฉพาะอยางยง่ิ ระบบความปลอดภัยของเคร่อื ง

2) ตรวจดูระบบทอ น้ําและรอยตอ ไมใ หม ีการรัว่ ซึม
3) เมือ่ พบความผดิ ปกตใิ นการทาํ งานของเครอ่ื ง ควรใหชางผูช ํานาญตรวจสอบ
4) ตอ งมกี ารตอ สายดิน

คา ไฟฟา ของเครอ่ื งทํานํา้ อุนไฟฟา ขนาดตาง ๆ เม่ือใชง านเปน เวลา 1 ชวั่ โมง

ขนาดเครอ่ื งทํานํ้าอนุ ไฟฟา คาไฟฟา ตอ ช่วั โมงโดยประมาณ

ขนาดเล็ก (3,000 – นอยกวา 5,000 วัตต) 13.20 บาท
ขนาดกลาง (5,000 – นอ ยกวา 8,000 วตั ต) 18.00 บาท
ขนาดใหญ (8,000 วตั ต ข้นึ ไป) 24.00 บาท

55

2. กระตกิ น้าํ รอ นไฟฟา
กระตกิ นาํ้ รอ นไฟฟา เปน อปุ กรณในการตมน้ําใหรอน ประกอบดวยขดลวดความรอน

อยดู า นลางของกระติก และอปุ กรณค วบคุมอุณหภมู ิเปน อปุ กรณค วบคุมการทาํ งาน
เมือ่ กระแสไฟฟาไหลผานขดลวดจะเกิดความรอน และถายเทไปยังน้ําภายในกระติก

ทําใหนํ้ามีอุณหภูมิสูงขึ้นจนถึงจุดเดือด จากนั้นอุปกรณควบคุมอุณหภูมิจะตัดกระแสไฟฟา
ในวงจรหลักออกไป แตยังคงมีกระแสไฟฟาไหลผานขดลวดความรอน และแสดงสถานะนี้
โดยหลอดไฟสญั ญาณอนุ จะสวา งขน้ึ เมือ่ อณุ หภมู ิของนํ้ารอนภายในกระติกลดลงจนถึงจุด ๆ หนึ่ง
อุปกรณควบคุมอุณหภูมิจะทํางานโดยปลอยใหกระแสไฟฟาผานขดลวดความรอนเต็มที่ทําให
นาํ้ เดอื ดอีกคร้ัง

กระตกิ น้าํ รอนไฟฟาโดยทวั่ ไปที่มจี ําหนายในทอ งตลาดจะมขี นาดความจุต้ังแต 2 – 4
ลิตร และใชกําลงั ไฟฟาระหวา ง 500 – 1,300 วตั ต

ท่ีกดน้ํา
ตวั หมุนล็อคทกี่ ดน้ํา
ปมุ ล็อค
ฝาปด ดานใน
ตวั กระตกิ ดานในเคลือบ
ดวยสาร Poly-Flon
จุดบอกระดับน้ําสงู สดุ
ท่ดี รู ะดับน้ํา
ไฟแสดงการอนุ
ไฟแสดงการตม
ชอ งเสียบปลั๊กแมเหล็ก

ภาพตดั ขวางกระตกิ นํ้ารอนไฟฟา

การใชก ระติกนา้ํ รอนไฟฟาอยา งถกู วธิ แี ละประหยัดพลงั งาน
1) เลอื กซอื้ รนุ ที่มตี รามาตรฐานอตุ สาหกรรม (มอก.)
2) ใสนํ้าใหพอเหมาะกับความตองการหรือไมสูงกวาระดับท่ีกําหนดไว เพราะ
จะทําใหกระตกิ เกดิ ความเสียหาย
3) ระวังไมใหน้ําแหง หรือปลอยใหระดับนํ้าต่ํากวาขีดที่กําหนด เพราะจะทําให
เกดิ ไฟฟาลัดวงจรในกระติกนํา้ รอน

56

4) ไมควรเสียบปล๊ักท้ิงไวตลอดเวลา ควรถอดปล๊ักเม่ือเลิกใชนํ้ารอนแลว เพ่ือลด
การสิ้นเปลืองพลังงาน แตหากมีความจําเปนตองใชนํ้ารอนเปนระยะ ๆ เชน ในที่ทํางานบางแหง
ทม่ี ีนํา้ รอ นไวสําหรบั เตรยี มเคร่อื งดื่มตอนรับแขก ก็ไมควรถอดปลั๊กออกบอย ๆ เพราะการดึงปลั๊ก
ในแตละครั้งจะทาํ ใหอณุ หภมู ขิ องนํ้าคอ ย ๆ ลดลง กระติกน้ํารอนไมสามารถเก็บความรอนไดนาน
เม่อื จะใชง านใหมก ต็ อ งเสยี บปลก๊ั และเริ่มตมนํา้ ใหมซ ่งึ เปนการสน้ิ เปลืองพลังงาน

5) ไมนาํ สงิ่ ใด ๆ มาปดชอ งไอนา้ํ ออก
6) ตรวจสอบการทาํ งานของอปุ กรณค วบคุมอณุ หภมู ิใหอยูในสภาพใชงานไดเสมอ
7) ไมค วรตงั้ ไวในหองท่ีมีเคร่ืองปรบั อากาศ

การดแู ลรกั ษากระตกิ นาํ้ รอนไฟฟา
การดแู ลรักษากระติกนํ้ารอนไฟฟาใหมีอายุการใชงานนานขึ้น ลดการใชพลังงานลง
และปองกันอุบตั เิ หตุ หรอื อันตรายท่ีอาจจะเกดิ ขน้ึ มีขอ ควรปฏบิ ัติ ดงั น้ี
1) หมัน่ ตรวจสายไฟฟาและข้วั ปลัก๊ ใหอยใู นสภาพพรอมใชง านอยูเ สมอ
2) ควรใชนํ้าสะอาดสําหรับตม เพื่อปองกันการเกิดคราบสนิมและตะกรัน
ทผี่ วิ ดา นในกระติกน้าํ รอ นไฟฟา
3) หมั่นทําความสะอาดดา นในกระติกน้ํารอนไฟฟา ไมใหมีคราบตะกรัน เน่ืองจาก
ตะกรันจะเปนตัวตานทาน การถายเทความรอนจากขดลวดความรอนไปสูนํ้า ทําใหเวลา
ในการตมนาํ้ เพิ่มขนึ้ เปน การสูญเสยี พลงั งานโดยเปลาประโยชน
4) การทาํ ความสะอาดสวนตาง ๆ ของกระติกนา้ํ รอ นไฟฟา

(1) ตัวและฝากระติกน้ํารอนไฟฟา ใชผาชุบน้ําบิดใหหมาดแลวเช็ด
อยา งระมดั ระวงั

(2) ฝาปดดา นใน ใชน ้ําหรือนํ้ายาลางจานลา งใหสะอาด
(3) ดานในกระติกนํ้ารอนไฟฟา ใชฟองนํ้าชุบนํ้าเช็ด และลางใหสะอาด

ดวยน้ํา โดยไมราดน้ําลงบนสวนอื่นของตัวกระติก นอกจากภายใน
กระติกน้ํารอนไฟฟาเทานั้น อยาใชของมีคมหรือฝอยขัดหมอขูดหรือขัด
ตัวกระติกนํา้ รอนไฟฟา ดานใน เพราะจะทาํ ใหส ารเคลือบหลดุ ออกได

57

5) เม่ือไมตองการใชกระติกนํ้ารอนไฟฟา กอนเก็บควรลางดานในกระติกน้ํารอน
ไฟฟา ใหสะอาด และควาํ่ กระตกิ นํ้ารอนไฟฟา เพ่อื ใหน้าํ ออกจากตัวกระติกนํ้ารอนไฟฟา แลวใชผา
เช็ดดา นในใหแหง

ภาพกระติกนํา้ รอนไฟฟา

คาไฟฟา ของกระตกิ นํ้ารอ นไฟฟา ขนาดตาง ๆ เม่อื ใชง านเปน เวลา 1 ชั่วโมง

ขนาดของกระตกิ น้ํารอ นไฟฟา คา ไฟฟา ตอโมงโดยประมาณ

2 ลติ ร 2.40 บาท
2.5 ลติ ร 2.60 บาท
3.2 ลติ ร 2.88 บาท

58

3. พดั ลม

พดั ลม เปนอุปกรณที่ชว ยในการหมุนเวียนอากาศ และระบายความรอนภายในบาน
ซงึ่ ในปจจบุ นั พดั ลมท่ใี ชม หี ลากหลายลักษณะและประเภทขน้ึ อยกู ับการใชงาน

สวนประกอบหลักของพัดลม ไดแ ก ใบพดั ตะแกรงหนา ตะแกรงหลัง มอเตอรไฟฟา
สวติ ชควบคมุ การทํางาน และกลไกควบคมุ การหมุนและสาย ดังภาพ

กลไกควบคมุ การหมุนและสา ย ใบพดั
มอเตอรไฟฟา

ตะแกรงหนา
ตะแกรงหลงั ตวั ยดึ ใบพัดกับแกนมอเตอร

เปด – ปด
และปรบั ความแรง
ของพดั ลม

ภาพสวนประกอบหลักของพดั ลม

การใชพ ดั ลมอยา งถกู วิธีและประหยดั พลงั งาน
1) เลือกใชความแรงของลมใหเหมาะกับความตองการ ความแรงของลมย่ิงมาก
ยง่ิ ใชไฟฟามาก
2) ปดพัดลมทันทเี มอ่ื ไมใชง าน
3) ในกรณีที่พัดลมมีระบบรีโมทคอนโทรล ไมควรเสียบปล๊ักทิ้งไว เพราะจะมี
ไฟฟา เลยี้ งอุปกรณตลอดเวลา
4) ควรวางพดั ลมในที่ที่มอี ากาศถา ยเทสะดวก เพราะพดั ลมใชห ลกั การดดู อากาศจาก
บริเวณดา นหลังของตวั ใบพัด แลวปลอ ยออกสดู า นหนา ถาอากาศบริเวณรอบพัดลมมีการถายเทดี
ไมรอนหรืออับช้ืน ก็จะไดรบั ลมเย็นรูสึกสบาย และยังทําใหมอเตอรสามารถระบายความรอนไดดี
เปน การยืดอายกุ ารใชงานอกี ดว ย

59

การดแู ลรกั ษาพดั ลม
การดแู ลรกั ษาพัดลมอยางสมํ่าเสมอ จะชว ยใหพัดลมทาํ งานไดเตม็ ประสทิ ธิภาพ และ

ยังชว ยยืดอายุการทาํ งาน มขี อ ควรปฏิบัติ ดังน้ี
1) ทําความสะอาดเปน ประจํา โดยเฉพาะ ใบพัด ตะแกรงครอบใบพัด และชองลม

ตรงฝาครอบมอเตอร ไมใ หม ฝี ุนละอองและคราบน้ํามนั
2) ดูแลใหมีสภาพดีอยูเสมอ ไมใหแตกหัก ชํารุด หรือโคงงอผิดสวน จะทําให

ลมทอ่ี อกมามีความแรงของลมลดลง
4. โทรทศั น
โทรทัศน เปนอุปกรณท่ีแปลงสัญญาณคล่ืนแมเหล็กไฟฟาเปนภาพดวยวงจร

อิเล็กทรอนกิ สท ีม่ ีความซบั ซอ น สวนประกอบของโทรทัศนท ่ีเห็นไดช ดั เจนมีดงั น้ี
1) สวนประกอบภายนอก คือ ตัวโครงท่ีหอหุมอุปกรณอิเล็กทรอนิกส จอภาพ

ปุมหรอื สวิตชตา ง ๆ และชองตอสายอากาศ เปนตน
2) สวนประกอบภายใน คือ อุปกรณอิเล็กทรอนิกส ตัวรับ – เปล่ียนสัญญาณ

เปนภาพและเสยี งที่มาในรปู ของคลืน่ แมเหลก็ ไฟฟา สวนประกอบของจอภาพและระบบเสยี งรวมทง้ั
ลําโพง เปน ตน

ภาพการสงสัญญาณโทรทศั นม ายังเครือ่ งรับโทรทศั น

ปริมาณพลังงานท่ีโทรทัศนใชขึ้นอยูกับเทคโนโลยีและขนาดของจอภาพ โดยขนาด
จอภาพของโทรทัศน ระบุดวยความยาวเสนทแยงมุมของจอภาพ โทรทัศนแตละขนาดและแตละ
ประเภทจะมีการใชไฟฟา แตกตางกัน ยง่ิ ขนาดจอภาพใหญก จ็ ะใชกําลังไฟฟา มาก

60

วัดตามเสนทแยงมมุ ชนขอบดาํ
หนว ยเปน น้วิ

ภาพการวัดเสนทแยงมมุ ของโทรทัศน

การเลอื กใชโ ทรทศั นอ ยา งถกู วิธีและประหยดั พลงั งาน
1) ควรเลอื กใชโทรทัศนต ามความตอ งการใชงาน โดยพิจารณาจากขนาดและการใช
กําลังไฟฟา สําหรบั เทคโนโลยีเดยี วกนั โทรทศั นย ่งิ มีขนาดใหญ ยิง่ ใชไ ฟฟา มากขึ้น
2) ไมเสียบปลั๊กทิ้งไว เพราะจะทําใหมีกระแสไฟฟาหลอเลี้ยงระบบภายใน
อยูตลอดเวลา ทาํ ใหส ิน้ เปลืองไฟฟา และอาจกอ ใหเกดิ อันตรายในขณะเกดิ ฟา ผา ได
3) ควรชมโทรทัศนดว ยกนั เพือ่ เปน การประหยัดคาไฟ
4) ไมเ ปดโทรทศั นท้ิงไว
5) ไมค วรปรับจอภาพใหส วางมากเกนิ ไป และไมควรเปลี่ยนชองบอย เพราะจะ
ทําใหหลอดภาพมีอายุการใชงานลดลง และสนิ้ เปลอื งไฟฟา โดยไมจ าํ เปน
การดแู ลรักษาโทรทัศน
การดูแลรักษาและใชโทรทัศนใหถูกวิธี นอกจากจะชวยใหโทรทัศนเกิดความคงทน
ภาพทไ่ี ดค มชัด และมีอายุการใชง านยาวนานขึน้ ควรมีขอปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
1) ควรวางโทรทัศนไวใ นจุดที่มีการถายเทอากาศไดดี เพื่อใหเคร่ืองสามารถระบาย
ความรอนไดส ะดวก
2) หมน่ั ทําความสะอาดจอภาพเปนประจํา เพอื่ ลดปรมิ าณฝุนละออง โดยใชผ านุม
เช็ดตัวเคร่ืองโทรทัศน สวนจอภาพควรใชผงซักฟอกอยางออน หรือนํ้ายาลางจานผสมกับนํ้าเช็ด
เบา ๆ จากนั้นเช็ดดว ยผานุม ใหแหง และทีส่ ําคัญตองถอดปลัก๊ กอนทําความสะอาดทกุ ครัง้

61

คา ไฟฟาของโทรทศั นช นดิ และขนาดตาง ๆ เมอ่ื ใชงานเปน เวลา 1 ชว่ั โมง

ชนดิ และขนาดของจอโทรทศั น คา ไฟฟา ตอชัว่ โมงโดยประมาณ

จอแบน 20 นวิ้ 0.28 บาท
จอแบน 25 นิว้ 0.67 บาท
จอ LCD 26 น้วิ 0.35 บาท
จอ LCD 46 นิว้ 0.76 บาท
จอ LED 26 นวิ้ 0.20 บาท
จอ LED 46 นิ้ว 0.40 บาท

5. เตารดี ไฟฟา

เตารีดไฟฟา เปนเคร่ืองใชไฟฟาท่ีมีใชกันแทบทุกครัวเรือน หากเปรียบเทียบกับ
เครื่องใชไฟฟาชนิดอ่ืน เตารีดจัดเปนเคร่ืองใชไฟฟาที่ใชกําลังไฟฟาสูง การเลือกซื้อและใชงาน
อยางถูกวิธีจะสามารถลดการใชไฟฟาลงได เตารีดไฟฟาสามารถแบงได 3 ลักษณะ คือ เตารีด
แบบธรรมดา แบบไอนํ้า และแบบกดทบั

เตารดี ไฟฟาแตละประเภทมสี ว นประกอบสําคญั 3 สว น คือ
1) ไสเตารีด ทํามาจากโลหะผสมระหวางนิกเกิลและโครเมียม ทําหนาที่ใหกําเนิด
ความรอนเมื่อไดรับกระแสไฟฟา โดยความรอนจะมากหรือนอยขึ้นกับสวนผสมของโลหะและ
ความยาวขดลวด
2) อุปกรณควบคุมอุณหภูมิ ทําหนาที่ปรับความรอนของไสเตารีดใหเทากับระดับ
ทไี่ ดต ั้งไว
3) แผน โลหะดา นลา งของเตารีด ทาํ หนา ทเี่ ปน ตวั กดทับเวลารีด และกระจายความรอน

62

แบบธรรมดา แบบไอน้าํ แบบกดทบั

ภาพเตารดี ไฟฟา แตล ะชนดิ

เตารดี ไฟฟาที่มีชนดิ และขนาดตา งกัน มีอตั ราการใชกาํ ลงั ไฟฟา ไมเ ทากัน ดังนี้

ชนิดของ ขนาด ลกั ษณะ กาํ ลงั ไฟฟา
เตารดี ไฟฟา แรงกดทบั (วตั ต)
ตวั เตามีอปุ กรณ 3 ชิน้ คอื
ธรรมดา 1 – 2 กิโลกรมั แผน โลหะ ดามจบั 750 – 1,000

ไอน้าํ 1 – 2 กิโลกรัม และปมุ ควบคมุ ความรอ น 1,100 – 1,750
มีชอ งไอนา้ํ ทางดานลางเตารีด และ
กดทบั 40 – 50 วาลว ควบคมุ การเปด นํา้ ไหลออก 900 – 1,200
กิโลกรมั มีแผนความรอนทีม่ ขี นาดใหญก วา
เตารีดแบบธรรมดาและแบบไอน้ํา

มีคนั โยกสาํ หรับกดทับ

การใชเ ตารีดไฟฟา อยางถกู วิธีและประหยดั พลงั งาน
ในการใชเตารีดไฟฟาอยางประหยัดพลังงาน ไมควรลดปริมาณความรอน
ที่ใชในการรีดลง แตควรใชเตารีดไฟฟารีดผาอยางรวดเร็วที่ระดับความรอนที่เหมาะสมกับ
ความหนาและชนดิ ของผา รวมทง้ั ควรปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
1) เกบ็ ผาทรี่ อรีดใหเ รียบรอย และใหผ า ยับนอ ยท่สี ุด
2) แยกประเภทผา หนาและผา บาง เพอื่ ความสะดวกในการรีด

63

3) รวบรวมผาที่จะรีดแตละครั้งใหมากพอ การรีดผาครั้งละชุดทําใหสิ้นเปลือง
ไฟฟามาก

4) ไมควรพรมนาํ้ มากจนเกินไป เพราะจะทาํ ใหสูญเสียความรอนจากการรดี มาก
5) เริม่ รีดจากผา บาง ๆ หรือตอ งการความรอนนอยกอน จากนั้นจึงรีดผาที่ตองการ
ความรอนสูง และควรเหลอื ผา ทต่ี อ งการความรอ นนอยสวนหน่งึ ไวรดี ในตอนทาย
6) ถอดปลัก๊ กอนเสรจ็ สิน้ การรีด 3 – 4 นาที
การดแู ลรกั ษาเตารดี ไฟฟา
การดแู ลรักษาเตารดี ไฟฟาอยางสมา่ํ เสมอจะชวยใหเ ตารดี ทาํ งานไดเ ต็มประสิทธภิ าพ
และชวยยดื อายกุ ารทาํ งาน มขี อควรปฏบิ ัติดงั นี้
1) หากพบคราบสกปรกบนหนาสัมผัสเตารีด ใหใชฟองน้ําชุบนํ้ายาทําความสะอาด
โดยเฉพาะของเตารีดไฟฟาหรือน้ํายาลางจานเช็ดออก เพราะคราบสกปรกจะเปนตัวตานทาน
ความรอน ทาํ ใหสน้ิ เปลืองไฟฟา มากขึ้นในการเพิ่มความรอน
2) สําหรับเตารีดไฟฟาไอน้ํา นํ้าท่ีใชควรเปนนํ้ากลั่นเพ่ือปองกันการเกิดตะกรัน
ซึง่ ตะกรนั จะเปน สาเหตุของการเกดิ ความตา นทานความรอน
3) ควรตรวจหรือเปลี่ยนสายไฟซึ่งอาจชํารุดหรือเสื่อมสภาพ เมื่อใชเตารีดไฟฟา
มาเปน ระยะเวลานาน

คา ไฟฟา ของเตารีดไฟฟา ชนดิ ตา ง ๆ เม่ือใชงานเปน เวลา 1 ชว่ั โมง

ชนดิ ของเตารดี ไฟฟา คาไฟฟา ตอชั่วโมงโดยประมาณ

เตารีดไฟฟาธรรมดา 4.00 บาท
เตารีดไฟฟา ไอนํา้ ขนาดเล็ก 5.32 บาท
เตารดี ไฟฟาไอนา้ํ ขนาดใหญ 7.20 บาท

64

6. ตเู ยน็
ตูเย็น เปนอุปกรณทําความเย็นเพื่อถนอมอาหารโดยการลดอุณหภูมิ ท่ีใชพลังงาน

ตลอด 24 ชว่ั โมง ดงั นนั้ การเลือกและใชตูเย็นอยา งเหมาะสมจะชวยประหยดั พลังงานไดม าก

ภาพตเู ยน็

อุปกรณห ลกั ทีท่ าํ ใหภ ายในตเู ยน็ เกิดความเย็น ประกอบดว ย
1) คอมเพรสเซอร ทําหนาท่ีในการอัดและดูดสารทําความเย็นใหหมุนเวียน

ในระบบของตเู ย็น
2) แผงทําความเยน็ มีหนาที่กระจายความเยน็ ภายในตูเยน็
3) แผงระบายความรอน เปนสวนท่ีใชระบายความรอนของสารทําความเย็น

ตดิ ตัง้ อยดู านหลงั ของตูเย็น
4) ตัวตเู ยน็ ทาํ จากโลหะ และอัดฉีดโฟมอยูระหวางกลาง เพ่ือทําหนาที่เปนฉนวน

กันความรอนจากภายนอก โดยปกตเิ ราระบุขนาดของตเู ย็นเปน ควิ หรือลูกบาศกฟุต
5) อุปกรณอ่ืน เชน อุปกรณควบคุมอุณหภูมิ สวิตชโอเวอรโหลด พัดลมกระจาย

ความเย็น เปน ตน

65

การใชตเู ยน็ อยางถูกวิธีและประหยดั พลังงาน
1) ไมควรเปด – ปดตูเย็นบอยครั้ง และไมควรเปดตูเย็นทิ้งไว เนื่องจากความรอน
ภายนอกจะไหลเขาตูเย็น ทําใหคอมเพรสเซอรตองทํางานหนักมากขึ้น เพ่ือรักษาอุณหภูมิ
ภายในตเู ยน็ ใหค งเดิมตามที่ตง้ั ไว
2) ไมควรติดตั้งตูเย็นใกลกับแหลงกําเนิดความรอน หรือรับแสงอาทิตยโดยตรง
เนื่องจากปริมาณความรอนจะถูกถายเทเขาไปในตูเย็นมากข้ึน เปนการเพิ่มภาระใหกับระบบ
ทําความเยน็
3) ไมเก็บอาหารในตูเย็นมากเกินไป เพราะจะทําใหอุณหภูมิในตูเย็นไมสมํ่าเสมอ
ควรใหม ชี องวาง เพื่อใหอ ากาศภายในไหลเวยี นไดสมาํ่ เสมอ
4) ไมควรนําอาหารรอนแชในตูเย็น เพราะจะทําใหอาหารท่ีอยูในบริเวณเดียวกัน
เส่ือมคณุ ภาพหรอื เสีย คอมเพรสเซอรม อี ายุการใชงานส้ันลง และสูญเสียพลงั งานไฟฟา มากขน้ึ
5) ไมควรเสียบปลั๊กใหมทันที เพราะจะสงผลใหมอเตอรของคอมเพรสเซอร
ทํางานหนกั และเกิดการชํารดุ หรอื อายกุ ารใชง านสนั้ ลง

การดแู ลรกั ษาตเู ยน็
การดูแลรกั ษาตเู ยน็ อยา งสม่ําเสมอ จะชวยใหตูเย็นทํางานไดเต็มประสิทธิภาพ และ
ชว ยยืดอายุการทาํ งาน มขี อควรปฏิบัติดงั น้ี
1) สําหรับตูเย็นท่ีมีแผงระบายความรอน ควรหมั่นทําความสะอาดแผงระบาย
ความรอนตูเยน็ อยางสมาํ่ เสมอ ไมใ หม ีฝุนละออง
2) ตรวจสอบขอบยางประตูไมใหชํารุดหรือเส่ือมสภาพ เพราะความรอนจะไหลเขา
ตเู ยน็ ทําใหม อเตอรตองทํางานหนักและเปลอื งไฟฟา มาก
3) อุปกรณระบายความรอน จะติดตั้งอยูดานหลังตูเย็น เพื่อใหสามารถระบาย
ความรอนไดดี ควรวางตูเย็นใหมีระยะหางจากผนังอยางนอย 15 ซม. ดานบนอยางนอย 30 ซม.
ดานขางอยางนอ ย 2 – 10 ซม.

66

คาไฟฟา ของตเู ย็นขนาดตา ง ๆ เม่อื ใชงานเปน เวลา 1 ชว่ั โมง

ขนาดของตเู ยน็ คา ไฟฟาตอช่วั โมงโดยประมาณ

4 ควิ 0.21 บาท
6 ควิ 0.27 บาท
12 ควิ 0.72 บาท

กจิ กรรมทายเรอื่ งท่ี 2 การเลอื กซอื้ เลอื กใช และดแู ลรักษาเครื่องไฟฟาในครวั เรอื น
(ใหผูเรยี นไปทํากจิ กรรมเรื่องท่ี 2 ทส่ี มุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรียนร)ู

67

เร่ืองท่ี 3 การคํานวณคา ไฟฟาในครัวเรือน

คา ไฟฟาทชี่ ําระในปจจุบนั ไมเหมอื นกับคาสนิ คาทั่วไป เชน ซอื้ น้ําบรรจุขวด ราคาขวดละ

5 บาท จํานวน 2 ขวด แมคาคิดราคา 10 บาท แตถาซื้อ 12 ขวด แทนท่ีจะคิดท่ีราคา 60 บาท

อาจจะลดใหเหลือ 55 บาท น่ันหมายความวา ย่ิงซ้ือจํานวนมาก ราคามีแนวโนมจะถูกลง

แต คาไฟฟาจะกลับกัน กลาวคือ ราคาไฟฟาถาย่ิงใชมาก คาไฟฟาจะย่ิงสูงข้ึน เราเรียกอัตรา

ชนิดน้ีวา “อัตรากาวหนา” สาเหตุที่ใชอัตรากาวหนาน้ี เนื่องจากเชื้อเพลิงที่ใชผลิตไฟฟามีจํากัด

และ ตองนําเขาจากตางประเทศ สงผลกระทบตอประเทศชาติ จึงตองการใหประชาชนใช

ไฟฟาเทาท่ีจําเปนและใชอยางประหยัด จึงตั้งราคาคาไฟฟาใหเปนอัตรากาวหนา หากดูคาไฟฟา

ที่จาย กันอยูในปจจุบัน จะพบวามีองคประกอบ 3 สวนดวยกัน ไดแก คาไฟฟาฐาน คาไฟฟาผัน

แปร (Ft) และภาษีมูลคาเพ่ิม

ใบแจง คาไฟฟาของการไฟฟาสวนภูมภิ าค ใบแจง คา ไฟฟาของการไฟฟา นครหลวง

68

ตอนที่ 1 องคป ระกอบของคาไฟ
1. คาไฟฟาฐาน
คาไฟฟา ฐาน ซ่งึ การไฟฟานครหลวงใชคําวา คา พลงั งานไฟฟา เปน คา ไฟฟาท่ีสะทอน

ตนทุนในการกอสรางโรงไฟฟา ระบบสายสง ระบบจําหนาย และคาการผลิตพลังงานไฟฟา
ภายใตสมมติฐานความตองการไฟฟา คาเชื้อเพลิง คาซ้ือไฟฟา คาใชจายตามนโยบายของรัฐ
ณ วันที่กําหนดโครงสรางคาไฟฟา โดยคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) จะพิจารณา
ปรับคาไฟฟาฐานคราวละ 3 – 5 ป ดังน้ันในระหวางชวงเวลาดังกลาว คาใชจายที่อยูเหนือ
การควบคุม คือ คาไฟฟาผันแปร (Ft) ท่ีมีผลตอตนทุนการผลิตไฟฟา ซ่ึงอาจมีการเปลี่ยนแปลง
ทั้งเพิ่มขึ้นหรือลดลง คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) จึงใชกลไกตามสูตรอัตโนมัติ
มาปรับคาไฟฟาผนั แปร (Ft)

2. คาไฟฟา ผนั แปร (Ft)
คาไฟฟาผันแปร หรือท่ีนิยมเรียกกันวาคาเอฟที (Ft) หมายถึง คาไฟฟาที่สะทอน

การเปลี่ยนแปลงของคาใชจายที่อยูนอกเหนือการควบคุม ไดแก คาเช้ือเพลิง คาซื้อไฟฟา และ
คาใชจายตามนโยบายของรฐั ท่ีเปลีย่ นไปจากคาไฟฟาฐาน โดยคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน
(กกพ.) จะพจิ ารณาปรบั คา ไฟฟาทกุ ๆ 4 เดือน

3. ภาษีมูลคาเพิ่ม
ตามหลักการภาษแี ลว ผูใชสนิ คา หรือผูขอรบั บรกิ าร จะเปนผูรับภาระภาษีมูลคาเพ่ิม

ซึ่งคาไฟฟาก็เชนเดียวกัน ผูใชไฟฟาจะเปนผูรับภาระภาษีมูลคาเพ่ิม โดยคิดจากคาไฟฟาฐาน
รวมกับคาไฟฟา ผนั แปร (Ft) ในอัตราภาษมี ลู คา เพ่ิมรอยละ 7

ตอนท่ี 2 อัตราคาไฟฟา
อตั ราคา ไฟฟาแบง ออกเปน 8 ประเภท ไดแ ก
ประเภทท่ี 1 บานอยูอาศัย เปนการใชไฟฟาภายในบานเรือนที่อยูอาศัย รวมท้ังวัด

สํานกั สงฆ และสถานประกอบศาสนกจิ ของทกุ ศาสนา
ประเภทท่ี 2 กิจการขนาดเล็ก เปนการใชไฟฟาเพื่อประกอบธุรกิจ ธุรกิจรวมกับ

บา นอยอู าศยั อตุ สาหกรรม หนวยราชการ สํานักงาน หรือหนวยงานอื่นใดของรัฐ องคกรปกครอง
สว นทอ งถน่ิ รัฐวสิ าหกิจ สถานทูต สถานท่ีทําการของหนวยงานราชการตางประเทศ และสถานท่ี
ทาํ การขององคการระหวางประเทศ หรอื อ่นื ๆ

69

ประเภทท่ี 3 กิจการขนาดกลาง เปนการใชไฟฟาเพื่อประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรม
หนวยราชการ สํานักงาน หรือหนวยงานอ่ืนใดของรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ
สถานทูต สถานที่ทําการของหนวยงานราชการตางประเทศ และสถานท่ีทําการขององคการ
ระหวา งประเทศ

ประเภทท่ี 4 กิจการขนาดใหญ เปนการใชไฟฟาเพ่ือประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรม
หนวยราชการ สํานักงาน หรือหนวยงานอ่ืนใดของรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ
สถานทูต สถานที่ทําการของหนวยงานราชการตางประเทศ และสถานที่ทําการขององคการ
ระหวางประเทศ หรืออ่ืน ๆ

ประเภทที่ 5 กิจการเฉพาะอยาง เปนการใชไฟฟาเพ่ือประกอบกิจการโรงแรม และ
กจิ การใหเชาพักอาศยั ตลอดจนบริเวณที่เก่ียวขอ ง

ประเภทท่ี 6 องคกรท่ีไมแสวงหากําไร เปนการใชไฟฟาขององคกรท่ีไมใชสวนราชการ
แตม ีวตั ถปุ ระสงคในการใหบรกิ ารโดย ไมคิดคา ตอบแทน

ประเภทท่ี 7 สูบน้ําเพ่ือการเกษตร เปนการใชไฟฟากับเครื่องสูบนํ้าเพ่ือการเกษตรของ
หนวยราชการ สหกรณเพ่ือการเกษตร กลุมเกษตรกรที่จดทะเบียนจัดต้ังกลุมเกษตรกร
กลุมเกษตรกรทห่ี นว ยราชการรบั รอง

ประเภทท่ี 8 ไฟฟาช่ัวคราว เปนการใชไฟฟาเพ่ืองานกอสราง งานท่ีจัดขึ้นเปนพิเศษ
ช่วั คราว สถานทท่ี ไ่ี มมที ะเบยี นบา นของสํานกั งานทะเบียนสว นทองถนิ่ และการใชไฟฟาที่ยังปฏิบัติ
ไมถ ูกตอ งตามระเบยี บของการไฟฟาสว นภูมภิ าค

ซ่ึงสามารถดูขอมูลไดที่ การไฟฟานครหลวง (www.mea.or.th) และการไฟฟา
สวนภูมิภาค (www.pea.co.th) โดยอัตราคาไฟฟาประเภทท่ี 1 บานอยูอาศัย (อัตราปกติ)
แสดงดงั น้ี

การใชพ ลงั งานไฟฟา คา พลงั งานไฟฟา คา บริการ
(บาท/หนว ย) (บาท/เดอื น)
1. ใชพ ลังงานไฟฟาไมเกนิ 150 หนวยตอ เดือน
15 หนว ยแรก (หนวยท่ี 0 – 15) 2.3488 8.19
10 หนวยตอไป (หนว ยท่ี 16 – 25) 2.9882
10 หนว ยตอไป (หนวยท่ี 26 – 35) 3.2405

70 3.6237 38.22
3.7171
65 หนว ยตอไป (หนวยที่ 36 – 100) 4.2218
50 หนว ยตอ ไป (หนว ยที่ 101 – 150) 4.4217
250 หนว ยตอไป (หนวยท่ี 151 – 400)
เกนิ 400 หนวยข้ึนไป (หนวยที่ 401 เปนตนไป) 3.2484
2. ใชพลงั งานไฟฟา เกนิ 150 หนวยตอ เดอื น 4.2218
150 หนว ยแรก (หนวยที่ 0 – 150) 4.4217
250 หนวยตอไป (หนวยที่ 151 – 400)
เกิน 400 หนวยขึ้นไป (หนว ยที่ 401 เปน ตนไป)

ตอนที่ 3 การคํานวณการใชไฟฟา

คา พลังงานไฟฟาคิดจากปริมาณพลงั งานไฟฟาท้ังหมดท่ใี ชในแตละเดือน ซ่ึงไดจากการใช

เครื่องใชไฟฟาแตละชนิด โดยใชเคร่ืองวัดที่เรียกวา “มาตรกิโลวัตต – ชั่วโมง” หรือ “มาตร

กําลังไฟฟา ” หรอื “มเิ ตอรไฟฟา”

การวดั พลงั งานไฟฟาที่ใชในบานนิยมใชหนวยใหญกวาจูล โดยใชเปน กิโลวัตต – ชั่วโมง

หรอื เรยี กวา หนว ย (Unit : ยนู ติ )

พลังงานไฟฟา 1 กิโลวัตต – ชั่วโมง หมายถึง พลังงานไฟฟาท่ีใชไป 1,000 วัตตในเวลา

1 ชั่วโมง หรอื พลงั งานไฟฟา (หนวย) = กําลงั ไฟฟา (กโิ ลวัตต) x เวลา (ช่วั โมง)

เครื่องใชไฟฟาแตละชนิดจะใชพลังงานไฟฟาตางกัน ขึ้นอยูกับชนิดและขนาดของ

เคร่ืองใชไฟฟา ตามตัวเลขท่ีกํากับบนเคร่ืองใชไฟฟาที่ระบุท้ังความตางศักย (V) และกําลังไฟฟา

(W) รวมไปถงึ ความถี่ (Hz) ของไฟฟาที่ใชกบั เครือ่ งใชไฟฟานนั้

กําลังไฟฟา หมายถงึ พลงั งานไฟฟา ทน่ี าํ ไปใชงานในเวลา 1 วินาที มีหนวยเปน จูลตอวินาที

หรือ วัตต (W) สามารถคํานวณหากําลังไฟฟาไดจากความสัมพันธระหวางพลังงานไฟฟาท่ีถูกใช

ไปในเวลา 1 วินาที ดังน้ี พลงั งานไฟฟา ทใ่ี ช (จูล)

กาํ ลงั ไฟฟา (วัตต) = เวลาที่ใช (วินาที)

หรือ พลังงานไฟฟาทใ่ี ช (จูล) = กําลงั ไฟฟา (วัตต) x เวลาทีใ่ ช (วินาที)

71

ตัวอยางการคํานวณคา พลงั งานไฟฟา
ตวั อยา งท่ี 1 เปดเครื่องปรับอากาศที่ใชก ําลงั ไฟฟา 2,000 วัตต เปนเวลา 2 ชั่วโมง จะใชพลังงาน
ไฟฟา ไปก่หี นว ย และจะเสียเงินเทาไร ถาพลังงานไฟฟาหนวยละ 2.50 บาท (1,000 วัตต เทากับ
1 กิโลวัตต)

วธิ ีทํา พลงั งานไฟฟา (หนวย) = กาํ ลังไฟฟา (กโิ ลวตั ต) x เวลา (ช่ัวโมง)
กําลังไฟฟา
= 2,000 วตั ต
เวลาทใ่ี ช
= 2,000 = 2 กิโลวัตต
1,000

= 2 ชว่ั โมง

แทนคา พลังงานไฟฟา = 2 x 2 = 4 หนวย

ดงั นั้นจะเสียเงินคาพลังงานไฟฟา = 4 x 2.50 = 10 บาท

ตอบ ใชพลังงานไฟฟาไป 4 หนว ย และเสียเงินคาพลงั งานไฟฟา 10 บาท
ตัวอยา งท่ี 2 ถาใชพ ลงั งานไฟฟา 100 หนว ย จะตอ งจายเงินเทา ไร เมอ่ื กาํ หนดคาพลงั งานไฟฟา
ตามปริมาณพลังงานไฟฟาท่ใี ชใ นอตั รากาวหนา ดังตาราง

หนวยไฟฟา คา พลังงานไฟฟา (บาท/หนว ย)
15 หนวยแรก (หนว ยท่ี 0 – 15) 1.8632
10 หนวยตอไป (หนวยที่ 16 – 25) 2.5026
10 หนวยตอไป (หนวยที่ 26 – 35) 2.7549
65 หนวยตอ ไป (หนวยท่ี 36 – 100) 3.1381
50 หนว ยตอไป (หนวยท่ี 101 – 150) 3.2315
250 หนว ยตอไป (หนวยท่ี 151 – 400) 3.7362
เกิน 400 หนว ยขนึ้ ไป (หนว ยที่ 401 เปนตนไป) 3.9361

72

วธิ ที ํา
1. คํานวณคาไฟฟา หนวยที่ 0 – 15 รวมจาํ นวน 15 หนวย ราคาหนว ยละ 1.8632 บาท
ดงั น้ัน หนวยท่ี 0 – 15 คิดเปนเงนิ 15 x 1.8632 = 27.948 บาท
2. คํานวณคา ไฟฟา หนว ยท่ี 16 – 25 รวมจาํ นวน 10 หนว ย ราคาหนวยละ 2.5026 บาท
ดังนน้ั หนว ยท่ี 16 – 25 คิดเปนเงิน 10 x 2.5026 = 25.026 บาท
3. คาํ นวณคา ไฟฟาหนวยที่ 26 – 35 รวมจาํ นวน 10 หนว ย ราคาหนวยละ 2.7549 บาท
ดงั นน้ั หนว ยที่ 26 – 35 คิดเปนเงิน 10 x 2.7549 = 27.549 บาท
4. คํานวณคา ไฟฟา หนวยท่ี 36 – 100 รวมจํานวน 65 หนวย ราคาหนวยละ 3.1381 บาท
ดงั นัน้ หนว ยที่ 36 – 100 คิดเปนเงิน 65 x 3.1381 = 203.9765 บาท
ดังนัน้ รวมคา พลงั งานไฟฟา ท่ีตอ งจายทง้ั หมดเปนเงิน
= 27.948 + 25.026 + 27.549 + 203.9765 บาท
= 284.4995 บาท

ตอบ ตองจายเงนิ 284.4995 บาท

ตัวอยางที่ 3 ถาใชพลังงานไฟฟา 100 หนวย บิลคาไฟฟาท่ีแจงมาจะคิดเปนเงินเทาไหร โดยมี
คา บริการรายเดอื น เทากบั 38.22 บาท คา Ft เทากับ 0.70 บาทตอหนวย และคาภาษีมูลคาเพิ่ม
รอ ยละ 7
วธิ ีทาํ คาไฟฟาทง้ั หมดประกอบดวย 4 สว น คอื คาพลงั งานไฟฟา + คา Ft + คา บริการรายเดือน

+ คา ภาษมี ูลคาเพมิ่
1. คา พลงั งานไฟฟา จากตัวอยางที่ 2 ใชไฟฟา 100 หนวย = 284.4995 บาท

2. คา Ft = (100 x 70) = 70 บาท

3. คา บริการรายเดือน 100 = 38.22 บาท

4. คา ภาษี = [(284.4995 + 70 + 38.22) x 7]
100 = 27.49 บาท

ดังน้นั รวมคา ไฟฟา ท่ปี รากฏในบลิ ไฟฟา ทง้ั หมด = 420.21 บาท
= 284.4995 + 70 + 38.22 + 27.49

ตอบ คาไฟทแี่ จง ในบลิ เปนเงิน 420.21 บาท

73

สรปุ ขน้ั ตอนการคิดคาไฟฟา
1. คาํ นวณหาพลงั งานไฟฟาทใ่ี ชท ัง้ หมด (หนวย)
พลังงานไฟฟา (หนว ย) = กาํ ลังไฟฟา (กิโลวัตต) x เวลา (ชว่ั โมง)
2. คํานวณคา พลงั งานไฟฟา ใชท ้งั หมด (บาท)
คา พลังงานไฟฟา (บาท) = พลังงานไฟฟา (หนว ย) x อตั ราคาไฟฟาตอหนวย (บาท)
3. คํานวณคา Ft (บาท)
คา Ft (บาท) = พลงั งานไฟฟา (หนว ย) x คา Ft ตอหนว ย (บาท)
4. คา บริการรายเดอื น ตามทก่ี ารไฟฟา กาํ หนด
5. คาํ นวณคา ภาษมี ลู คาเพิ่ม คาํ นวณจากรอ ยละ 7 ของคา ใชจ ายรวม 3 คา คือ
คาพลังงานไฟฟา คา Ft และคาบรกิ ารรายเดือน

คา ภาษีมลู คา เพ่มิ = [(คาพลงั งานไฟฟา + คา Ft + คาบริการรายเดือน) x 7]

100
6. รวมคาไฟฟา ทต่ี อ งจายท้ังหมด เทากับ ผลรวมของคาพลังงานไฟฟา คา Ft คา บรกิ ารราย

เดือน และคาภาษมี ูลคาเพ่ิม

คาไฟฟาที่ตองจายท้ังหมด = คาพลังงานไฟฟา + คา Ft + คาบริการรายเดือน +

คาภาษมี ูลคา เพิ่ม

กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งที่ 3 การคํานวณคาไฟฟาในครัวเรือน
(ใหผเู รียนไปทํากจิ กรรมเรื่องที่ 3 ทีส่ มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรู)

74

บรรณานุกรม

การไฟฟา ฝายผลิตแหง ประเทศไทย. พลงั งานทดแทน. นนทบรุ ี: กองผลติ สื่อการสอื่ สารองคการ
ฝา ยส่ือสารองคการ กฟผ. 2554.

คมู ือการพฒั นาและการลงทุนผลิตพลังงานทดแทน ชุดที่ 1. ไฟฟาพลงั งานลม. กรมพัฒนา
พลงั งานทดแทน และอนุรักษพลงั งาน กระทรวงพลงั งาน. 2555.

คูมอื การพัฒนาและการลงทุนผลิตพลังงานทดแทน ชุดที่ 2. พลังงานแสงอาทติ ย. กรมพัฒนา
พลงั งานทดแทน และอนุรักษพลงั งาน กระทรวงพลังงาน. 2555.

คมู อื การพัฒนาและการลงทุนผลติ พลงั งานทดแทน ชุดที่ 4. ชีวมวล. กรมพฒั นาพลังงานทดแทน
และอนุรกั ษพลังงาน กระทรวงพลังงาน. 2555.

นวลฉวี รุง ธนเกียรต.ิ พลังงานนวิ เคลยี รเ พือ่ มนุษยชาติ. กรงุ เทพฯ: สาํ นกั พิมพ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 2547.

สาํ นกั งานนโยบายและแผนพลังงานกระทรวง กระทรวงพลงั งาน. การใชไฟฟา และการผลติ ไฟฟา
ของประเทศไทย. กรงุ เทพฯ. 2554.

สถานการณก ารผลิต-ใชไ ฟฟา ป 2558. กองวางแผนพัฒนากาํ ลงั การผลติ ไฟฟา ฝายวางแผน
ระบบไฟฟา การไฟฟาฝา ยผลิตแหง ประเทศไทย (ขอมลู ณ ธนั วาคม 2558)

BP Corporation (2015), BP Statistic Review of World Energy June 2015.

กรมพฒั นาพลงั งานทดแทนและอนรุ ักษพ ลงั งาน กระทรวงพลังงาน. (2554). รายงานไฟฟาของ
ประเทศไทยป 2554. [ออนไลน] . เขาถงึ ไดจ าก:
http://www.dede.go.th/dede/images/stories/stat_dede /electric54_1.pdf.
(วันที่คนขอ มูล: 21 มนี าคม 2556).

75

แหลงอางอิงออนไลน

กลุมพัฒนาการสง เสรมิ สุขภาพและอนามัยสิง่ แวดลอ ม ศอ.4. กรอบแนวคดิ การประเมนิ ผล
กระทบตอ สุขภาพจากโรงไฟฟา (HIA for Power Plant). [ออนไลน] . เขาถงึ ไดจ าก:
http://hpe4.anamai.moph.go.th/hpe. (วนั ทค่ี น ขอมูล: 21 มีนาคม 2556).

การไฟฟา สวนภูมิภาค. [ออนไลน] . เขา ถึงไดจ าก: http://www.pea.co.th.
(วันท่ีคนขอ มลู : 20 มนี าคม 2556).

การไฟฟา นครหลวง. [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก:
http://www.mea.or.th/home/index.php?l=th.
(วันที่คนขอ มูล: 20 มีนาคม 2556).

การไฟฟาฝา ยผลติ แหง ประเทศไทย. [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก: http://www.egat.co.th/.
(วันที่คนขอ มูล: 20 มนี าคม 2556).

ชดุ การสอน เรอ่ื งวงจรไฟฟา กิจกรรมท่ี 11. [ออนไลน] . เขาถึงไดจ าก:
http://sanchai2506.wordpress.com/. (วันทค่ี นขอมลู : 20 มนี าคม 2556).

ประกายนคร. Tips Electrical. [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจ าก:
http://www.praguynakorn.com/tip3- (วันที่คนขอมูล: 21 มีนาคม 2556).

ประเภทของสายไฟฟา . [ออนไลน] . เขาถงึ ไดจาก: http://www.srptc.ac.th/news/05-01-
2012-InRoXHKThu52521.pdf. (วนั ที่คนขอมูล: 21 มนี าคม 2556).

มาตรการประหยดั พลงั งาน. [ออนไลน] . เขา ถงึ ไดจ าก:
http://httpwww2egatcothrenewshtm.blogspot.com/2010/07/blog-post.html.
(วนั ที่คนขอมูล: 20 มนี าคม 2556).

วิธีติดต้งั สายดนิ ท่ถี ูกตอง. [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจ าก: www.clef-
audio.com/pic/correct_grounding.pdf. (วันทค่ี นขอมูล: 20 มีนาคม 2556).

วิธวี ดั ขนาดของจอ LCD [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก: http://repair-
notebook.com/archives/554. (วนั ที่คนขอมลู : 20 มนี าคม 2556).

76

สถาบนั วจิ ยั และพัฒนาพลงั งาน. (2556). พลงั งานไฟฟา . [ออนไลน]. เขา ถึงไดจาก:
http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/electric4/bottee3.htm. (วนั ท่คี น
ขอมลู 20 มนี าคม 2555).

สมาคมนิวเคลยี รแหงประเทศไทย. การเปรียบเทยี บขอดีและขอเสียของโรงไฟฟา นวิ เคลยี รก บั
โรงไฟฟา ท่ีใชเชอื้ เพลิงชนดิ อ่ืน. [ออนไลน]. เขา ถึงไดจาก:
http://www.nst.or.th/powerplant/pp04.htm. (วันท่ีคนขอมลู : 21 มนี าคม 2556).

สาํ นักงานนโยบายและแผนพลงั งาน กระทรวงพลังงาน. (2554). การใชไ ฟฟาและการผลติ ไฟฟา
ของประเทศไทย. [ออนไลน] . เขา ถึงไดจ าก:
http://www.eppo.go.th/power/power2554.pdf.
(วันที่คน ขอ มูล: 21 มีนาคม 2556).

สาํ นักนโยบายและแผนพลงั งาน กระทรวงพลงั งาน. เครอ่ื งใชไ ฟฟา ภายในบาน. [ออนไลน].
เขาถึงไดจ าก: http://www.eppo.go.th/encon/ebook/ep-51/home-utilities.pdf.
(วันที่คนขอมลู : 20 มนี าคม 2556).

Breakdown of Electricity Generation by Energy Source.

[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.tsp-data-portal.org/Breakdown-of-
Electricity-Generation-by-Energy-Source#tspQvChart. (วันที่คน ขอ มลู : 17 มีนาคม
2559).

MAC eKnowledge. วงจรไฟฟา ในบา น. [ออนไลน]. เขาถึงไดจ าก:
http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432209100/10.htm. (วันทค่ี น
ขอ มลู : 21 มนี าคม 2556).

Thailand Energy and Environment Network. โรงไฟฟา พลงั ความรอนใตพ ิภพฝาง.
[ออนไลน]. เขา ถึงไดจาก: http://teenet.cmu.ac.th/sci/fang_th.php. (วันที่คนขอมลู :
21 มีนาคม 2556).

77

ทีม่ าของภาพและขอ มูล

ลาํ ดบั ภาพ แหลง ท่ีมาของขอ มูล

หนวยการเรียนรทู ี่ 1 พลงั งานไฟฟา

1 ภาพไฟฟา ที่เกดิ จากการเสยี ดสขี องวัตถุ http://weerajit14.blogspot.com/2011/09/electrostar

tic.html

2 ภาพอปุ กรณไ ฟฟาทเี่ กิดจากการทาํ ปฏิกริ ิยา https://market.onlineoops.com/802286

เคมี (แบตเตอร)่ี

3 ภาพอปุ กรณไฟฟา ทเี่ กดิ จากการทาํ ปฏกิ ริ ิยา http://www.ksrv.ac.th

เคมี (ถานอัลคาไลน 1.5 โวลต)

4 ภาพอุปกรณไฟฟา ท่ีเกิดจากการทําปฏกิ ริ ิยา http://pantip.com/topic/30216515

เคมี (ถา นอัลคาไลน 9 โวลต)

5 ภาพการตอ อปุ กรณใ หเ กิดไฟฟาจากความรอ น http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/elect

ric4/bottee3.htm

6 ภาพเซลลแสงอาทิตยที่ใชในการผลิตไฟฟา http://thailandindustry.com/indust_newweb/news_

โรงไฟฟาเซลลแสงอาทิตยเขื่อนสิรินธร preview.php?cid=10072

จงั หวดั อบุ ลราชธานี

7 ภาพอุปกรณท ่มี กี ารใชไฟฟาที่เกดิ จากพลงั งาน http://lsp-acsp.exteen.com/20100421/entry

แมเ หล็กไฟฟา (ซาย)

8 ภาพอปุ กรณท ี่มกี ารใชไ ฟฟาท่ีเกิดจากพลงั งาน http://www.kelenor.com/index.php?controller=cate

แมเหลก็ ไฟฟา (ขวา) gory&path=633

9 ภาพคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน http://www.erc.or.th/ERCWeb2/Default.aspx

(กกพ.)

10 ภาพการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย http://www.egat.co.th/

(กฟผ.)

11 ภาพการไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) https://www.pea.co.th/SitePages/home.aspx

12 ภาพการไฟฟา นครหลวง (กฟน.) http://www.mea.or.th/home/index.php

หนวยการเรยี นรูที่ 2 ไฟฟา มาจากไหน

1 ภาพขั้นตอนการผลติ ไฟฟา ดวยถานหิน http://www.banpu.com/operation_coal_process.php

2 ภาพการผลติ ไฟฟา จากนาํ้ มันดีเซล http://www.balanceenergythai.com/%E0%B8%A3%

E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%81

%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9C%E0%B8%A

5%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B9%84%E0%B8%

9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2/

78

ลําดับ ภาพ แหลง ทม่ี าของขอมลู

3 ภาพกระบวนการผลิตไฟฟาดวยกา ซธรรมชาติ https://jobs.tva.com/power/cumb_turbineart.htm

4 ภาพกังหันลม http://www3.egat.co.th/re/egat_wind/wind_technol

ogy.htm

5 ภาพการผลติ ไฟฟา จากพลงั งานน้ํา https://napeiadotcom.wordpress.com/tag/%E0%B8

%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B

8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B

8%94%E0%B9%81%E0%B8%97%E0%B8%99/

6 ภาพโรงไฟฟา พลงั งานแสงอาทติ ย http://sahavicha.com/?name=knowledge&file=read

knowledge&id=117&t=%BE%C5%D1%A7%A7%D2%

B9%E1%CA%A7%CD%D2%B7%D4%B5%C2%EC....%

CA%D9%E8%AA%D5%C7%D4%B5%BE%CD%E0%B

E%D5%C2%A7%20(%B5%CD%B9%A8%BA)&d=%C1

%D2%E0%C3%D5%C2%B9%C3%D9%E9%A1%D2%

C3%E3%AA%E9%BB%C3%D0%E2%C2%AA%B9%EC

%A8%D2%A1%BE%C5%D1%A7%A7%D2%B9%E1%

CA%A7%CD%D2%B7%D4%B5%C2%EC%20%20%E0

%BE%D7%E8%CD%B9%D3%E4%BB%CA%D9%E8%

AA%D5%C7%D4%B5%B7%D5%E8%BE%CD%E0%BE

%D5%C2%A7%A1%D1%B9%E0%B6%CD%D0%A4%

E8%D0...

7 ภาพการผลิตไฟฟาจากชีวมวลโดยการเผา http://infothaifood.wordpress.com/

ไหมโดยตรง

8 ภาพขบวนการผลิตกาซชีวภาพจากขยะ http://www.ku.ac.th/e-

อนิ ทรียค รวั เรอื น magazine/july51/agri/energy.htm

9 ภาพแหลง พลังงานความรอนใตพิภพบนโลก http://teenet.cmu.ac.th/sci/intro01.php

10 ภาพโรงไฟฟา พลังความรอนใตพ ิภพฝางของ http://teenet.cmu.ac.th/sci/fang_th.php

กฟผ.

11 ภาพโรงไฟฟา พลังงานนวิ เคลยี ร http://www.npc-

se.co.th/npc_date/npc_previews.asp?id_head=11&i

d_sub=36&id=575

12 ภาพโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรและ http://qubalilar.biz/?tag=erm%C9%99nistan&paged

หอระบายความรอ น =9

79

ลําดบั ภาพ แหลง ทม่ี าของขอ มูล

13 ภาพโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรตั้งอยู http://www.telesurtv.net/english/news/3-Dead-in-

ติดทะเล South-Korean-Nuclear-Plant-Incident-20141226-

0023.html

หนวยการเรยี นรูท ี่ 3 วงจรไฟฟาและอปุ กรณไ ฟฟา

1 ภาพการตอวงจรไฟฟา แบบอนกุ รม http://www.myfirstbrain.com/teacher_view.aspx?id
=50790

2 ภาพการตอวงจรไฟฟาแบบขนาน http://www.myfirstbrain.com/teacher_view.aspx?id
=50790

3 ภาพการตอ วงจรไฟฟาแบบผสม https://physicskruadd.wordpress.com/2012/03/13/

การวิเคราะหว งจรไฟฟาเ/

4 ภาพการตอ วงจรไฟฟาภายในบา น http://webhtml.horhook.com/wbi/ec/4parallel-03.htm

5 ภาพแสดงตวั อยา งแผงวงจรไฟฟาในครวั เรอื น http://www.praguynakorn.com/tips/3/%E0%B8%AD

%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3

%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%AB%E0%B8%A5

%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B3

%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A

%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A

%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89

%E0%B8%B2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9A

%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9E

%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%B2

%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%A2

6 ภาพวงจรปด http://webhtml.horhook.com/wbi/ec/1circuit-04.htm

7 ภาพวงจรเปด http://webhtml.horhook.com/wbi/ec/1circuit-04.htm

8 ภาพสายไฟ http://www.pui108diy.com/wp/basic_electical_diy/
p435-home_electrical_e2a-lamp_switch_circuit-
l_n_g-cable-breaker

9 ภาพฟว สเสน http://thaigoodview.com/library/contest1/science0
10 ภาพฟว สแผน 4/110/body02.html
11 ภาพฟว สกระเบ้ือง http://www.eofficethailand.com/product.php?id_pr
oduct=1629&id_lang=1
http://silpa-thai.com/6_robeg

12 ภาพฟวสห ลอด http://th.aliexpress.com/item/WSFS-Wholesale-50-x-

80

ลําดบั ภาพ แหลง ท่มี าของขอ มลู

Fast-Quick-Blow-5-x-20mm-250V-5Amp-Glass-Tube-

Fuse/32604752075.html?spm=2114.54010308.4.6.lOa

pij

13 ภาพเบรกเกอรแ บบตาง ๆ http://www.prakaisangengineering.com/15633803/%E

0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%81%E

0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%97%E

0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%83%E0%B8%8A%E

0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%AD%E

0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E

0%B8%AB%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E

0%B8%A1

14 ภาพของสวิตชทางเดียวและสวติ ชส องทาง http://www.st.ac.th/wp-

content/uploads/sites/10/2013/03/cicuit.pdf

15 ภาพสะพานไฟและฟว สใ นสะพานไฟ (ซา ย) http://www.krucherdpua.com/wp-

content/uploads/web/cycle/cutout.htm

16 ภาพสะพานไฟและฟว สใ นสะพานไฟ (ขวา) http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=kanichi
koong&month=25-02-2015&group=17&gblog=18

17 ภาพเครอ่ื งตดั ไฟฟา รว่ั http://www.thaitechno.net/t1/productdetails.php?i
18 ภาพเตารบั และเตา เสยี บ d=91449&uid=36831
19 ภาพสายดนิ และหลกั ดิน (บน) http://www.ksv.ac.th/tb/cai/science2007/chap7_22.
htm
http://www.sysnetcenter.com/accessories/649-
ground-rod-ground-30-cm.html

20 ภาพสายดนิ และหลักดนิ (ลาง) https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8
%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B
9%8C_(%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0
%B9%89%E0%B8%B2)

21 ภาพการตอ สายดิน http://teenet.cmu.ac.th/emac/journal/2004/23/04.php

22 ภาพตัวอยางการตอระบบไฟฟาภายในบา น http://www.siambe.com/index.php?lay=show&ac=a
rticle&Id=539549118

หนว ยการเรยี นรูท ี่ 4 การใชและการประหยัดพลังงานไฟฟา

1 ภาพกลยทุ ธก ารประหยัดพลังงาน 3 อ. เอกสารประกอบโครงการฉลากประหยดั ไฟเบอร 5

การไฟฟาฝา ยผลิตแหงประเทศไทย

81

ลําดับ ภาพ แหลง ท่มี าของขอ มูล

2 ภาพอุปกรณไฟฟาทต่ี ดิ ฉลากประสทิ ธิภาพสงู เอกสารประกอบโครงการฉลากประหยัดไฟเบอร 5

การไฟฟาฝา ยผลติ แหงประเทศไทย

3 ภาพฉลากเบอร 5 ของแท เอกสารประกอบโครงการฉลากประหยดั ไฟเบอร 5

การไฟฟา ฝายผลติ แหงประเทศไทย

4 ภาพฉลากเบอร 5 ของปลอม เอกสารประกอบโครงการฉลากประหยดั ไฟเบอร 5

การไฟฟา ฝา ยผลิตแหงประเทศไทย

5 ภาพการประหยดั พลังงานไฟฟา http://www.eppo.go.th/encon/Publication/

6 ภาพเครอ่ื งทาํ นาํ้ อนุ ไฟฟา http://www.thaihometown.com/knowledge/689
7 ภาพตดั ขวางกระตกิ นา้ํ รอนไฟฟา http://tooktikchamaiporn.blogspot.com/2012/09/10
8-1.html
8 ภาพกระตกิ นา้ํ รอ นไฟฟา http://www.eppo.go.th/encon/ebook/ep-51/home-
utilities.pdf

9 ภาพสวนประกอบหลกั ของพัดลม http://www.eppo.go.th/encon/ebook/ep-51/home-
utilities.pdf

10 ภาพการสง สญั ญาณโทรทศั นม ายังเครื่องรับ http://www.eppo.go.th/encon/ebook/ep-51/home-

โทรทศั น utilities.pdf

11 ภาพการวัดเสน ทแยงมมุ ของโทรทัศน http://suwanneee.blogspot.com/

12 ภาพเตารดี ไฟฟาแตล ะชนิด (ซา ย) http://checkprice.net/price_list/DEFHkm6N90w.html

13 ภาพเตารีดไฟฟา แตล ะชนิด (กลาง) http://checkprice.net/price_list/AeEkMNPrsTz.html

14 ภาพเตารีดไฟฟา แตละชนิด (ขวา) http://www.plazathai.com/show-700803.html

15 ภาพตูเย็น http://topicstock.pantip.com/home/topicstock/200

9/12/R8643243/R8643243.html

82

เฉลยแบบทดสอบกอนเรยี น

1. ค. การเคลอ่ื นท่ีของอิเลก็ ตรอน
2. ค. กาซธรรมชาติ
3. ง. อนิ โดนีเซีย
4. ข. จา ยไฟฟาใหกบั ประชาชน
5. ก. ซอ้ื ไฟฟาจากตา งประเทศใหม าก ๆ
6. ข. เปนแหลงพลงั งานสะอาด
7. ก. ตนทุนคา ไฟฟา ตอหนว ยสงู
8. ก. ใชเงินลงทนุ ในการกอ สรา งสงู
9. ง. ไมถงึ 10 ป
10. ค. เชยี งใหม
11. ง. ติดตัง้ เครือ่ งกาํ จดั ซลั เฟอรไดออกไซด
12. ง. พกั น้าํ ไวท ี่บอพกั ท่ี 1 แลวปลอยไปสูบ อพักที่ 2 เพ่ือปรบั อณุ หภมู กิ อ นปลอ ยสสู าธารณะ
13. ค. นําเชื้อเพลงิ ฟอสซิลไปเผาเพ่ือตมน้ํา แลวนําไอน้ําท่ีไดไปปนกังหนั เพื่อผลติ กระแสไฟฟา
14. ข. โรงไฟฟาพลงั งานนวิ เคลียร
15. ข. ถานหิน
16. ข. วงจรขนาน
17. ง. การทําใหวงจรปด มีกระแสไฟฟาไหล
18. ค. ยอมใหกระแสไฟฟาไหลผา นไดตลอด โดยไมเกินกระแสไฟฟา ที่ฟวสก าํ หนด
19. ง. เปนอปุ กรณต ัดตอวงจรอัตโนมตั ิ เมอ่ื มีกระแสไฟฟาไหลผานเกินคา ท่ีกําหนด
20. ง. เครอื่ งใชไ ฟฟา ท่ีเหลอื ทกุ ชนิดทํางานได ยกเวน เครื่องซักผา
21. ค. ปอ งกนั อันตรายที่เกดิ จากไฟชอ็ ตหรือรัว่ ขณะใชเ ครอื่ งใชไฟฟา
22. ข. โทรศัพทม อื ถอื
23. ค. อาหารประหยัดไฟฟา
24. ง. ตองมลี ายนาํ้ สญั ลกั ษณของการไฟฟา ฝา ยผลิตแหง ประเทศไทย
25. ข. 35 – 45 องศา
26. ง. เปดประตหู อ งนอนขณะเปดเครื่องปรับอากาศ
27. ค. ทวี ีจอแบน 20 น้ิว
28. ง. รวบรวมผา ทจี่ ะรีด แลว รดี ภายในครงั้ เดียว
29. ก. เปด – ปด ตเู ย็นบอ ย ๆ
30. ง. คาพลงั งานไฟฟา คา บริการรายเดอื น คาไฟฟา ผันแปร ภาษีมลู คาเพม่ิ

83

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น

1. ง. การทาํ ใหวงจรปด มกี ระแสไฟฟา ไหล
2. ก. ตนทุนคาไฟฟาตอหนว ยสงู
3. ข. วงจรขนาน
4. ง. ติดตง้ั เคร่ืองกําจดั ซัลเฟอรไ ดออกไซด
5. ค. ปอ งกันอันตรายที่เกดิ จากไฟช็อตหรอื รว่ั ขณะใชเครอื่ งใชไฟฟา
6. ค. การเคล่อื นที่ของอเิ ลก็ ตรอน
7. ค. ทวี ีจอแบน 20 นวิ้
8. ง. คาพลงั งานไฟฟา คา บรกิ ารรายเดือน คา ไฟฟาผนั แปร ภาษีมลู คา เพ่ิม
9. ง. อนิ โดนีเซีย
10. ง. ตองมีลายน้ําสัญลักษณข องการไฟฟา ฝา ยผลิตแหงประเทศไทย
11. ค. กาซธรรมชาติ
12. ง. รวบรวมผาทีจ่ ะรีด แลว รดี ภายในครัง้ เดียว
13. ง. เปนอปุ กรณตัดตอวงจรอตั โนมัติ เมื่อมีกระแสไฟฟาไหลผา นเกินคาทก่ี ําหนด
14. ข. เปนแหลงพลงั งานสะอาด
15. ก. เปด – ปด ตเู ยน็ บอย ๆ
16. ก. ซือ้ ไฟฟาจากตางประเทศใหม าก ๆ
17. ข. 35 – 45 องศา
18. ง. ไมถ งึ 10 ป
19. ข. จายไฟฟาใหกับประชาชน
20. ค. นาํ เชอ้ื เพลงิ ฟอสซิลไปเผาเพอ่ื ตม นา้ํ แลวนาํ ไอนา้ํ ทไ่ี ดไปปนกงั หันเพ่อื ผลติ กระแสไฟฟา
21. ง. เครอ่ื งใชไ ฟฟา ที่เหลอื ทุกชนิดทํางานได ยกเวนเคร่ืองซกั ผา
22. ง. พกั น้าํ ไวท ่บี อ พกั ท่ี 1 แลว ปลอยไปสบู อพักที่ 2 เพื่อปรบั อณุ หภูมกิ อ นปลอ ยสสู าธารณะ
23. ง. เปด ประตหู อ งนอนขณะเปด เครอื่ งปรับอากาศ
24. ก. ใชเ งินลงทุนในการกอสรา งสงู
25. ข. ถานหิน
26. ข. โรงไฟฟาพลังงานนวิ เคลียร
27. ค. อาหารประหยัดไฟฟา
28. ข. โทรศพั ทมอื ถือ
29. ค. เชยี งใหม
30. ค. ยอมใหก ระแสไฟฟาไหลผานไดตลอด โดยไมเ กินกระแสไฟฟา ท่ฟี วสกําหนด

84

เฉลย/แนวตอบ กิจกรรมทายเรอ่ื ง
หนวยการเรียนรูที่ 1
พลังงานไฟฟา

กจิ กรรมทายเรอ่ื งท่ี 1 การกําเนดิ ของไฟฟา
กิจกรรมท่ี 1.1 เขยี นบอกการกําเนิดพลงั งานไฟฟา พรอมยกตวั อยาง อยางนอย 3 วธิ ี

การกําเนดิ ไฟฟาท่สี ําคญั มี 5 วิธี ไดแก
1. ไฟฟาที่เกดิ จากการเสียดสขี องวัตถุ เชน ถแู ทง ยางกบั ผา ขนสตั ว
2. ไฟฟาท่เี กิดจากการทาํ ปฏกิ ริ ิยาทางเคมี เชน แบตเตอรี่ และถา นอลั คาไลน

(ถา นไฟฉาย)
3. ไฟฟาที่เกดิ จากความรอ น
4. ไฟฟา ที่เกดิ จากพลังงานแสงอาทติ ย เชน เซลลแสงอาทติ ย
5. ไฟฟาทเี่ กดิ จากพลงั งานแมเ หล็กไฟฟา ไฟฟา เชน เคร่ืองปน ไฟ

กิจกรรมทา ยเรอ่ื งท่ี 2 สถานการณพ ลังงานไฟฟาของประเทศไทย และประเทศในอาเซียน

กิจกรรมที่ 2.1 จงเลอื กชนิดและปริมาณเชื้อเพลงิ ที่ใชในการผลิตไฟฟา ของประเทศไทย

ในป พ.ศ. 2558 ใสลงในตารางใหถกู ตอ ง

ชนิดของเชือ้ เพลิง :

นา้ํ มนั ดเี ซล พลังงานหมนุ เวยี น ซ้ือไฟฟา จากประเทศมาเลเซยี

กาซธรรมชาติ นํ้ามันเตา ถา นหนิ นําเขาและถา นหินในประเทศ (ลิกไนต)

ปริมาณเชือ้ เพลิงท่ีใชใ นการผลติ ไฟฟา :

0.07 0.13 0.62 11.02 18.96 69.19

อันดบั ที่ ชนิดของเชอื้ เพลงิ ปรมิ าณเชื้อเพลงิ ทใ่ี ชในการผลิตไฟฟา
(รอ ยละ)

1 กา ซธรรมชาติ 69.19

2 ถานหนิ นําเขา และถา นหินในประเทศ (ลกิ ไนต) 18.96

3 พลังงานหมนุ เวยี น 11.02

4 นาํ้ มันเตา 0.62

5 นํา้ มันดีเซล 0.13

6 นาํ ไฟฟาจากประเทศมาเลเซยี 0.07

85

กิจกรรมท่ี 2.2 ดูวีดิทัศน เร่ือง “ทําไมคาไฟฟาแพง” และ เรื่อง “ไฟฟาซ้ือหรือสราง” แลว

ตอบคาํ ถามตอไปนี้

1) ประเทศไทยมีความตอ งการไฟฟาเพิ่มมากขึน้ เนื่องจากสาเหตุใด

การใชไ ฟฟาดา นตา งๆ สาเหตุทีท่ ําใหค วามตองการใชพลงั งานไฟฟาสูงข้ึน

ครวั เรือน 1. สงิ่ อาํ นวยความสะดวก เชน เครือ่ งใชไฟฟา
อุตสาหกรรม 2. จาํ นวนประชากรเพิม่ มากขน้ึ
การเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจ

คมนาคมขนสง รถไฟฟา

2) อะไรคือความเสี่ยงท่ีอาจเปนสาเหตุใหประเทศไทยมีไฟฟาใชไมเพียงพอในอนาคต ใหบอกมา
อยางนอย 3 สาเหตุ

1. ความตองการใชไฟฟามากกวากําลงั การผลิต
2. พ่ึงพาเช้ือเพลิงอยางใดอยางหน่ึงมากเกินไป เชน ใชกาซธรรมชาติมากเกินไป
หากมีการปดซอ มทอ กา ซ ตา งประเทศไมขายกา ซธรรมชาติให จะทําใหผลติ ไฟฟา ไมเ พียงพอ
3. พึ่งพาตางประเทศมากเกินไป เชน ซื้อไฟฟา ซ้ือเชื้อเพลิง หากเกิดปญหาระหวาง
ประเทศ หรือมภี าวะสงคราม ก็จะทําใหต างประเทศไมข ายเชอ้ื เพลิงและไฟฟาใหกบั ประเทศไทย
3) บอกแนวทางพรอ มทง้ั เหตุผล ในการจดั หาพลังงานไฟฟาของประเทศไทยใหม ีใชอ ยา งเพียงพอ
ในอนาคต ใหบ อกมาอยางนอย 2 ขอ

ท่ี แนวทาง เหตผุ ล

1 ซอ้ื ไฟฟาจากตางประเทศ ขอ ดี คือ ไมต อ งสรางโรงไฟฟา เอง
ขอเสีย คือ เงินไหลออกนอกประเทศ มีความเสี่ยงสูง หาก
ตางประเทศไมข ายไฟฟาให เกิดความไมมั่นคงทางไฟฟา

2 สรา งโรงไฟฟา เอง ขอดี คือ เงินไมไหลออกนอกประเทศ มีความม่ันคงทางไฟฟา
ในระยะยาว สรา งงานสรา งรายไดใ หกบั ประชาชน สง เสรมิ ให
เกดิ การขขายตวั ของเศรษฐกิจและอตุ สาหกรรมได
ขอเสีย คือ ตองใชเงินลงทุนสูงและตองมีระยะเวลาในการ
กอ สรา ง

3 ประหยัดไฟฟา ขอดี คือ ประหยัดคาใชจาย ท้ังภาครัฐ และครัวเรือน แตหาก
มคี วามตอ งการไฟฟา สูงเกนิ กาํ ลังการผลิตมาก ๆ การประหยัด
ไฟฟา จะไมส ามารถทดแทนความตอ งการไฟฟา ไดอยางเพยี งพอ

86

กิจกรรมท่ี 2.3 บอกส่ิงท่ีตองคํานึงถึงในการเลือกใชเช้ือเพลิงในการผลิตไฟฟา เพ่ือใหมีไฟฟาใช
อยา งเพยี งพอในอนาคต ใหบอกมาอยางนอ ย 3 ขอ

1. ปรมิ าณเช้ือเพลงิ สาํ รองเพียงพอและแนนอนเพอ่ื ความมนั่ คงในการจัดหา
2. การกระจายชนิดของเช้ือเพลิงใหหลากหลาย เชน การใชถานหิน หรือพลังงาน
ทางเลือก และกระจายแหลงที่มาของเชื้อเพลิงใหมากขึ้น เชน จากประเทศมาเลเซีย ประเทศ
เมียนมารและประเทศลาว เปนตน
3. เชอ้ื เพลงิ ทมี่ รี าคาเหมาะสมและมีเสถยี รภาพ
4. เชื้อเพลิงที่เมอ่ื นาํ มาผลิตไฟฟาแลว สามารถควบคุมมลพิษใหอยูในระดับมาตรฐาน
คณุ ภาพที่สะอาดและยอมรับได
5. การใชทรพั ยากรพลังงานภายในประเทศที่มอี ยอู ยางจํากดั ใหเ กิดประโยชนส ูงสดุ
กิจกรรมที่ 2.4 จากภาพสัดสวนการใชเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาของประเทศในอาเซียน
ใหเปรียบเทียบขอมูลเช้ือเพลิงที่ใชในการผลิตไฟฟาของแตละประเทศ เรียงจากปริมาณมาก
ไปหานอยมา 3 อันดับ ลงในตารางที่กําหนดให แลวเขียนสรุปผลการเปรยี บเทียบ

ท่ีมา: The World Bank-World Development Indicators
ภาพสัดสว นการใชเ ชื้อเพลิงในการผลติ ไฟฟาของประเทศในอาเซียน ป พ.ศ. 2557

87

ตารางเปรยี บเทียบเปรียบเทียบการใชเ ช้อื เพลิงในการผลติ ไฟฟา ของประเทศในอาเซยี น

ประเทศ ชนิดและรอ ยละของปรมิ าณเชื้อเพลิงทใี่ ชใ นการผลติ ไฟฟา

มากอันดับ 1 มากอันดับ 2 มากอันดับ 3

ไทย กา ซธรรมชาติ (70.4) ถา นหิน (21.4) พลงั น้ํา (3.2)

เมียนมาร พลงั น้าํ (71.2) กา ซธรรมชาติ (22.3) ถา นหิน (6.3)

กมั พชู า นํา้ มัน (48.4) พลังนํา้ (34.4) ความรอนใตพ ิภพ (13.1)

เวียดนาม พลงั นา้ํ (38.5) กา ซธรรมชาติ (35.4) ถา นหนิ (20.9)

ลาว พลังนาํ้ (90.7) ถานหนิ (6.2) น้ํามัน (3.1)

มาเลเซยี กาซธรรมชาติ (43.2) ถา นหนิ (39.2) นา้ํ มนั (9.0)

อินโดนเี ซยี ถา นหนิ (49.2) น้าํ มนั (22.5) กา ซธรรมชาติ (19.8)

ฟลปิ ปน ส ถา นหนิ (48.3) กา ซธรรมชาติ (28.9) พลังนาํ้ (13.8)

บรูไนดารุสซาลาม กา ซธรรมชาติ (99.1) น้าํ มัน (0.9) -

สิงคโปร กา ซธรรมชาติ (75.4) นา้ํ มนั (22.1) อื่นๆ (2.5)

สรปุ ผลการเปรยี บเทยี บ
ประเทศในอาเซียนใชเช้ือเพลิงในการผลิตไฟฟาท่ีแตกตางกัน เนื่องจากแตละประเทศ

มีทรัพยากรทแ่ี ตกตา งกนั โดยเช้ือเพลิงทใ่ี ชใ นการผลติ ไฟฟามากทสี่ ุดของแตล ะประเทศ มดี งั น้ี
ไทย : กาซธรรมชาติ รอยละ 70.4
เมียนมาร : พลงั น้ํา รอ ยละ 71.2
กัมพชู า : นํา้ มนั รอ ยละ48.4
เวียดนาม : พลงั น้ํา รอ ยละ 38.5
ลาว : พลงั นํา้ รอยละ 90.7
มาเลเซีย : กาซธรรมชาติ รอยละ 43.2
อินโดนเี ซยี : ถา นหนิ รอ ยละ 49.2
ฟลิปปน ส : ถา นหนิ รอยละ 48.3
บรไู นดารสุ ซาลาม : กาซธรรมชาติ รอยละ 99.1 และ
สิงคโปร : กา ซธรรมชาติ รอ ยละ 75.4

88

กิจกรรมทายเรอื่ งที่ 3 หนวยงานทเ่ี กย่ี วของดา นพลงั งานไฟฟา ในประเทศไทย

กจิ กรรมที่ 3.1 เลอื กตัวยอ ของชื่อหนวยงานที่เกย่ี วของดานพลงั งานไฟฟา ในประเทศไทยที่กําหนด
ใสล งในชอ งวางของตารางดา นซาย ใหตรงตามบทบาท/หนาท่ี และสถานการณท ่กี าํ หนด

1. สํานกั งานคณะกรรมการกํากับกจิ การพลังงาน (กกพ.)
2. การไฟฟา ฝา ยผลิตแหง ประเทศไทย (กฟผ.)
3. การไฟฟา สว นภูมิภาค (กฟภ.)
4. การไฟฟา นครหลวง (กฟน.)

หนวยงาน บทบาท/หนาท่แี ละสถานการณ
กฟผ.
กฟภ. 1. มีหนาที่ในการจัดหาพลงั งานไฟฟา

กฟน. 2. มบี านอยูในจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา แลวเกิดไฟฟา ดับตอ งตดิ ตอกบั หนวยงานใด
3. มีบานอยใู นจงั หวดั นนทบุรี หากไมไดจายคาไฟฟาแลวถูกตัดไฟฟา ตองติดตอกับ
กฟผ.
กฟน. หนว ยงานใด
กฟผ. 4. หากทา นพบปญ หาเกดิ ข้นึ กบั เสาสงไฟฟา แรงสูง ทา นควรแจงตอ หนว ยงานใด
กกพ.
กฟภ. 5. ทานสรา งบา นใหมในจังหวดั สมุทรปราการ ตอ งไปขอใชไฟฟากับหนวยงานใด

กกพ. 6. หากเกิดไฟฟาดับหลายๆ จังหวัดพรอมกัน จะตองตดิ ตอกบั หนว ยงานใด
กฟภ.
7. มหี นา ที่ควบคมุ ราคาคา ไฟฟา
8. ทา นมีบานอยใู นจังหวดั สตูล หากมปี ญหาเกย่ี วกับไฟฟาในบาน ตองขอขอมูลและ

คําแนะนาํ จากหนวยงานใด
9. หนวยงานทก่ี ํากบั ดแู ลการประกอบกิจการพลงั งาน
10. ทานอาศัยอยูในจังหวัดขอนแกน เกิดหมอแปลงไฟฟาระเบิด ควรแจงเหตุตอ

หนวยงานใด

89

หนว ยการเรียนรูท่ี 2
ไฟฟา มาจากไหน

กิจกรรมทายเรอื่ งท่ี 1 เช้อื เพลงิ และพลงั งานที่ใชใ นการผลิตไฟฟา
กิจกรรมท่ี 1.1 ดูวีดทิ ัศน เรอ่ื ง ผลติ ไฟฟาอยา งไรดี

1) บอกเชอ้ื เพลงิ ท่ใี ชใ นการผลิตไฟฟาวา มอี ะไรบาง

เชอ้ื เพลิงและพลงั งานท่สี ามารถใชใ นการผลิตไฟฟา เชน ถานหิน นํ้ามัน กาซธรรมชาติ ลม
นํ้า แสงอาทติ ย ชีวมวล ความรอ นใตพิภพ พลงั งานนวิ เคลียร เปนตน

2) เปรียบเทียบขอดีและขอจํากัดของเชื้อเพลิงท่ีใชในการผลิตไฟฟาแตละชนิด ลงในตาราง
ที่กาํ หนดให

แหลง ขอ ดี ขอ จํากดั
พลงั งาน
ถานหนิ 1. มีตน ทนุ ในการผลิตไฟฟา ตา่ํ 1. ปลอ ยกาซเรอื นกระจก
2. มีปริมาณเชื้อเพลงิ สํารองมาก 2. ใชเชือ้ เพลิงในปรมิ าณมาก
3. สามารถผลิตไฟฟาไดต ลอด 24 ชว่ั โมง 3. ประชาชนไมเช่ือมั่นเร่อื งมลภาวะทางอากาศ
4. ขนสงงา ย จัดเกบ็ งา ย

นํ้ามัน 1. ขนสง งาย 1.ตอ งนําเขาจากตา งประเทศ

2. หาซอื้ ไดง าย 2.ราคาไมคงท่ขี ึ้นกบั ราคานํ้ามนั ของตลาดโลก

3. มผี ลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยกวาการผลิต 3.ปลอ ยกาซเรือนกระจก

ดว ยถานหิน 4.ไฟฟา ทผ่ี ลติ ไดม ตี นทุนตอ หนวยสูง

4. สามารถเดินเครื่องไดอยางรวดเร็วเหมาะ 5.ปริมาณเชือ้ เพลิงเหลือนอ ย

สําหรับผลิตไฟฟาในกรณีฉุกเฉินหรือชวง

ความตอ งการไฟฟา สูงได

90

แหลง ขอดี ขอ จํากัด
พลงั งาน

กาซ 1. มีการเผาไหมสมบูรณจึงสงผลกระทบตอ 1. ปริมาณสํารองของกาซธรรมชาติในอาวไทย

ธรรมชาติ ส่งิ แวดลอมนอยกวาเชอื้ เพลงิ ฟอสซิลประเภท เหลอื นอ ยบางสว นตอ งนําเขาจากตางประเทศ

อืน่ ๆ 2. ราคากาซธรรมชาติไมคงที่ผูกติดกับราคา

2. มีประสิทธภิ าพในการผลิตไฟฟาสูงทสามารถ น้าํ มัน

ผลิตไฟฟาไดต ลอด 24 ชั่วโมง 3. ปลอยกา ซเรือนกระจก

3. มตี น ทุนในการผลติ ไฟฟาต่าํ

พลังงานลม 1. เปนแหลงพลังงานที่ไดจากธรรมชาติ ไมมี 1.มีความไมแนนอนข้ึนอยูกับสภาวะอากาศ

คา เชือ้ เพลิง บางฤดูอาจไมมีลมตองใชแบตเตอรี่ราคาแพง

2. เปนแหลงพลงั งานสะอาด เปน แหลงเก็บพลังงาน

3. สามารถใชระบบไฮบริดเพื่อใหเกิดประโยชน 2. สามารถใชไดในบางพ้ืนท่ีเทาน้ัน พ้ืนท่ี

สูงสุด คือ กลางคืนใชพลังงานลม กลางวัน ท่ีเหมาะสมควรเปนพื้นท่ีท่ีมีกระแสลมพัด

ใชพลงั งานแสงอาทิตย สมํา่ เสมอ

3. มีเสียงดังและมผี ลกระทบตอทัศนียภาพ

4. ทําใหเกิดการรบกวนในการสงสัญญาณ

โทรทศั น และไมโครเวฟ

5. ตนทนุ คาไฟฟาตอ หนวยสูง

พลงั งานน้าํ 1. ไมตอ งเสยี คาใชจายในการซ้อื เช้ือเพลิง 1. การเดินเครื่องผลิตไฟฟาขึ้นกับปริมาณนํ้า

2. ไมกอใหเกิดกาชคารบอนไดออกไซด จาก ในชว งทีส่ ามารถปลอยนา้ํ ออกจากเข่ือนได

การผลติ ไฟฟา 2. การกอสรางเขื่อนขนาดใหญในประเทศไทย

3. โครงการโรงไฟฟาพลังน้ําขนาดใหญมี มีขอจํากัดเนื่องจากอางเก็บน้ําของเข่ือน

ขีดความสามารถสูงในการรักษาความม่ันคง ขนาดใหญจะทําใหเกิดน้ําทวมเปนบริเวณ

ใหแกระบบไฟฟาสําหรับรองรับชวงเวลา กวางสง ผลกระทบตอบา นเรือนประชาชน

ที่มีความตองการใชกระแสไฟฟา สงู สุด

4. ตน ทุนคาไฟฟาตอ หนวยตํา่

พลงั งาน 1. เปนแหลงพลังงานธรรมชาติขนาดใหญท่ีสุด 1. ตนทุนคาไฟฟา ตอ หนวยสูง

แสงอาทิตย และสามารถใชเปนพลังงานไดไ มมวี ันหมด 2. แบตเตอรีซ่ ึ่งเปนตัวกกั เกบ็ พลงั งานแสงอาทิตย

2. ไมมีคาใชจ ายในเรื่องเช้อื เพลิง ไวใชในเวลากลางคืนมีอายกุ ารใชงานต่ํา

91

แหลง ขอดี ขอ จาํ กัด
พลังงาน
3. สามารถนําไปใชในแหลงที่ยังไมมีไฟฟาใช 3. มีความไมแนนอนขึ้นอยูกับสภาวะอากาศ
และอยูหางไกลจากระบบสายสงและสาย โดย พ้ืนท่ี ท่ีเ หมา ะสม ตอ งเป นพื้น ที่ท่ี มี
จาํ หนายไฟฟา ความเขม รงั สีดวงอาทติ ยค งทแี่ ละสมาํ่ เสมอ

4. เปนพลังงานสะอาดไมกอใหเกิดมลภาวะ
จากกระบวนการผลิตไฟฟา

พลังงาน 1. ใชประโยชนจากเศษวัสดุเหลือใชทาง 1. ชีวมวลเปนวัสดุท่ีเหลือจากการแปรรูป
ชีวมวล
การเกษตร ทางการเกษตรมปี ริมาณสํารองทไ่ี มแนน อน

2. เพม่ิ รายไดใ หเ กษตรกร 2. การบรหิ ารจดั การเชื้อเพลิงและจัดเก็บ

3. ชวยแกปญหาสิ่งแวดลอมเร่ืองวัสดุเหลือทิ้ง ทาํ ไดยาก

ทางการเกษตร 3. ราคาชีวมวลมีแนวโนมสูงข้ึนเน่ืองจากมี

ความตองการใชเพ่ิมขึ้นเรื่อย ๆ

4. ชีวมวล ที่มี ศักย ภา พ เห ลื ออ ยูมั ก จะ อ ยู

กระจัดกระจาย มีความชื้นสูง จึงทําให

ตนทุนการผลิตไฟฟาสูงข้ึน เชน ใบออยและ

ยอดออย ทะลายปาลม เปน ตน

พลงั งาน 1. เปนแหลงพลังงานที่ไดจากธรรมชาติ ไมมี ใชไดเฉพาะในพื้นท่ีที่มีแหลงความรอน

ความรอน คาเชื้อเพลงิ ใตพภิ พอยเู ทา นั้น

ใตพิภพ 2. เปน แหลง พลงั งานสะอาด

พลังงาน 1. เปนแหลงผลิตไฟฟาขนาดใหญโดยมีตนทุน 1. ใชเงินลงทุนในการกอสรา งสงู
นิวเคลียร การผลิตไฟฟาตอหนวยต่ําแขงขันไดกับ 2. จําเปนตองเตรียมโครงสรางพื้นฐานและ
โรงไฟฟาชนิดอนื่ ได
พัฒนาบุคลากรเพื่อใหการดําเนินงานเปนไป
2. เปน โรงไฟฟาที่สะอาดไมก อ ใหเ กดิ มลพษิ และ อยางมีประสทิ ธภิ าพ
กาซเรือนกระจก 3. ตองการเตรียมการจัดการกากกัมมันตรังสี
และมาตรการควบคุมความปลอดภัยเพ่ือ
3. ชวยเสริ มสรางความมั่นคงใหระบ บ ปองกนั อุบตั เิ หตุ
ผลติ ไฟฟา เนื่องจากใชเชื้อเพลิงนอย เม่ือ 4. ยังไมเปนท่ียอมรับของประชาชน ประชาชน
เทยี บกับโรงไฟฟาความรอนประเภทอ่ืน มขี อกังวลใจในเรื่องความปลอดภัย

4. มีแหลงเชื้อเพลิงมากมาย เชน แคนาดา

แหลง 92 ขอ จํากดั
พลังงาน
ขอ ดี
และออสเตรเลีย และราคาไมผันแปรมาก
เมอ่ื เทยี บกับเช้ือเพลิงฟอสซลิ

กิจกรรมท่ี 1.2 ใหใสเคร่ืองหมายถูก (√) หนาขอท่ถี ูก และทาํ เครื่องหมายกากบาท (X) หนาขอที่ผดิ

____√___ 1. พลังงานทดแทน คือ พลงั งานที่นาํ มาใชแทนเชือ้ เพลงิ ฟอสซลิ
____√___ 2. การนําพลังงานทดแทนมาใชมีวัตถุประสงคเพื่อลดปญหาการขาดแคลนเชื้อเพลิง

ฟอสซลิ และลดสภาวะโลกรอ น
____√___ 3. พลงั งานทดแทนแบง ออกเปน 2 ประเภท ไดแก พลังงานทดแทนประเภทสิ้นเปลือง

และพลงั งานทดแทนประเภทหมนุ เวยี น
____X___ 4. พลงั งานนวิ เคลยี ร เปน พลังงานทดแทนประเภทหมนุ เวยี น
____X___ 5. ประเทศไทยไมมกี ารใชประโยชนจากพลังงานความรอนใตพ ิภพ
____√___ 6. เชื้อเพลิงฟอสซิลเกิดจากการทับถมของซากพืชซากสัตวใตพิภพเปนเวลานาน

หลายรอยลา นป
____√___ 7. กระบวนการผลิตไฟฟาดวยถานหิน คือ เผาถานหินเพื่อใหเกิดความรอน แลวนํา

ความรอนไปตมนํ้าใหเกิดเปนไอน้ํา และนําไอน้ําไปหมุนกังหันไอนํ้าท่ีตอกับ
เครือ่ งกําเนดิ ไฟฟา จึงเกดิ เปน พลังงานไฟฟาออกมา
____X___ 8. พลังงานลม และพลงั งานแสงอาทิตย สามารถผลิตไฟฟา ไดตลอด 24 ชัว่ โมง
____√___ 9. แหลงถานหินของประเทศไทยที่ใชผลิตไฟฟาของโรงไฟฟาแมเมาะ จังหวัดลําปาง
คอื ถานหินลกิ ไนต
____X___ 10. การผลิตไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียร มีการเผาไหมเชื้อเพลิงทําใหเกิด
กา ซเรือนกระจก


Click to View FlipBook Version