The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaplanfe, 2021-06-13 07:46:02

sc22002

sc22002

93

กิจกรรมที่ 1.3 วิเคราะหประเภทของเชื้อเพลิงท่ีควรนํามาใชในการผลิตไฟฟาของประเทศไทย
เพ่ือใหมีไฟฟาใชอยางเพียงพอในอนาคต โดยเรียงตามความเหมาะสม 3 อันดับ ลงในตาราง
ท่ีกาํ หนดให

ในการตอบควรคํานึงส่งิ ตอไปน้ี
1. ปรมิ าณเช้ือเพลิงสํารองเพียงพอและแนนอนเพือ่ ความมัน่ คงในการจัดหา
2. การกระจายชนิดของเช้อื เพลิงใหห ลากหลาย เชน การใชถานหิน หรือพลังงาน
ทางเลือก และกระจายแหลงที่มาของเช้ือเพลิงใหมากขึ้น เชน จากประเทศมาเลเซีย ประเทศ
เมียนมารและประเทศลาว เปน ตน
3. เชือ้ เพลิงที่มรี าคาเหมาะสมและมเี สถยี รภาพ
4. เชื้อเพลิงท่ีเม่ือนํามาผลิตไฟฟาแลว สามารถควบคุมมลพิษใหอยูในระดับ
มาตรฐานคุณภาพทสี่ ะอาดและยอมรับได
5. การใชทรพั ยากรพลังงานภายในประเทศทีม่ ีอยูอยางจาํ กัดใหเกดิ ประโยชนส งู สดุ
กิจกรรมท่ี 1.4 ยกตัวอยางพลังงานทดแทนท่ีมีอยูในชุมชนของตนเอง 1 ชนิด พรอมท้ังอธิบาย
กระบวนการผลิต

ตวั อยางชมุ ชนคลองนํ้าไหล
จากการสํารวจพบวาตําบลคลองนํ้าไหล ดําเนินกิจกรรมจนเกิดกลุมพลังงาน

ชมุ ชนเมอื่ ป พ.ศ. 2554 จํานวน 6 กลุม ประกอบดวย 1. กลุมเตาเผาถาน 200 ลิตร บานบึงหลม
2. กลุมเตาเศรษฐกิจบา นบึงหลม ซึ่งตอมาไดขยายงาน ตอยอดงาน ปรับโครงสรางใหมเปล่ียนชื่อ
กลมุ พลังงานทดแทนบานบึงหลม 3. กลุมเตาซุปเปอรอั้งโลบานคลองดวน 4. กลุมเตายางไรควัน
บานมะปรางทอง 5. กลุม บอ หมกั กาซชวี ภาพจากมลู สตั ว 6. กลุม เตาแกส ชีวมวลใชแกลบบานคลองพลู

ป พ.ศ. 2555 ต.คลองนํ้าไหลเปนแมขายตําบลนาอยูไดสํารวจขอมูลพบทุนและ
ศักยภาพจึงไดพ ัฒนาวิทยากร แหลง เรียนรูเปนสถานท่แี ลกเปลย่ี นเรียนรูดานพลังงาน มีชุมชนจาก
การนําของพลังงานจังหวัดหลายจังหวัดเขามาศึกษาเรียนรู ภายใตหลักคิดวาจะไปดูงานไกล ๆ
ทําไม ของจังหวัดกําแพงเพชรก็จัดการพลงั งานไดป ระสบผลสาํ เรจ็

94

กิจกรรมทา ยเรอ่ื งที่ 2 โรงไฟฟากับการจดั การดานสิ่งแวดลอ ม
กจิ กรรมท่ี 2.1 นําตัวอักษรทอ่ี ยูหนาคาํ ตอบดานขวามอื เก่ยี วกบั ผลกระทบและการจดั การดา น
ส่ิงแวดลอมของโรงไฟฟา เติมลงในชอ งวา งดานซา ยมือใหถูกตอง

ก 1. ฝนุ ละอองจากการเผาไหมของเชอื้ เพลงิ ก. ผลกระทบส่ิงแวดลอ มดานอากาศ

ค 2. นาํ้ มีอุณหภมู สิ ูงกวา 30 องศาเซลเซยี ส ข. ผลกระทบสิง่ แวดลอมดา นเสียง

ข 3. เสียงจากการเครอื่ งผลิตไฟฟา ค. ผลกระทบสงิ่ แวดลอมดา นนํา้

ง 4. ตดิ ต้งั เครื่องดกั จบั ฝนุ ง. การจัดการสิ่งแวดลอมดานอากาศ

ค 5. มีสารเคมีปนเปอนลงสแู มน าํ้ จ. การจัดการส่งิ แวดลอมดา นเสียง

ฉ 6. ตรวจสอบคุณภาพนา้ํ ฉ. การจดั การส่งิ แวดลอมดานน้าํ

ฉ 7. ปรบั อณุ หภมู นิ ้าํ ใหใ กลเ คยี งกับธรรมชาติ

ข 8. การทาํ งานของกังหนั ลม

จ 9. ปลกู ตน ไมเ ปนแนวกนั

ง 10.ตดิ ตงั้ เคร่ืองกําจัดกาซซัลเฟอรไ ดออกไซด

95

กิจกรรมที่ 2.2 บอกแนวทางในการตรวจสอบคณุ ภาพอากาศในพืน้ ท่ชี มุ ชนรอบโรงไฟฟา

สังเกตคาคุณภาพอากาศจากเร่ืองตรวจวัดที่ติดต้ังอยูในชุมชนรอบโรงไฟฟาวาคุณภาพ
อากา ศอยู ในเ กณฑ มาต รฐาน ตาม ประ กาศ กระ ทรว งอุตส าหก รรม แล ะปร ะกา ศ
กระทรวงวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยีและสิง่ แวดลอ ม

กิจกรรมที่ 2.3 แสดงความคิดเห็นโดยทาํ เครอื่ งหมายถูก (√) ลงในชองเห็นดวย หรือ ไมเห็นดวย

ขอ ความคดิ เห็นตอ โรงไฟฟา เหน็ ไมเ หน็
ดว ย ดว ย

1 ไฟฟา มีความจาํ เปนตอ การพฒั นาชมุ ชน √

2 ประเทศไทยมีโอกาสท่ีจะเกดิ วิกฤตพลังงานในอนาคต √

3 ตอ งการใหม กี ารสรางโรงไฟฟา ใหมใ นชุมชนของทาน √

4 การสรางโรงไฟฟามกี ารจัดการดา นสิ่งแวดลอมเปนอยางดี √

5 โรงไฟฟาเทคโนโลยีถา นหนิ สะอาดสามารถลดมลภาวะได √

6 พลังงานหมุนเวียน (ลม แสงอาทิตย นํ้า ชีวมวล) ไมสามารถนํามาใช √

เปนเช้อื เพลงิ หลักในการผลิตไฟฟา แทนกา ซธรรมชาตไิ ด

7 พลังงานนิวเคลียรสามารถนํามาใชเปนเชื้อเพลิงหลักในการผลิตไฟฟา √

แทนกา ซธรรมชาติได

8 การผลิตไฟฟาดวยพลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตยทําใหราคา √

คาไฟฟาแพง

9 โรงไฟฟาถานหนิ มีความจาํ เปนตอประเทศไทย √

10 ควรมีโรงไฟฟาหลายๆ ประเภท เพ่ือใหมไี ฟฟาเพียงพอตอความตองการ √

ใชไ ฟฟา

รวม 10 คะแนน

ขอ 1 – 10 ตอบเห็นดวย ขอ ละ 1 คะแนน
ขอ 1 – 10 ตอบไมเหน็ ดวย ขอ ละ 0 คะแนน
หากไดคะแนนมากกวา 8 คะแนน หมายถึงมีทศั นคติท่ีดีตอโรงไฟฟา

96

หนว ยการเรยี นรูท่ี 3
วงจรไฟฟา และอุปกรณไ ฟฟา

กิจกรรมทายเรอ่ื งที่ 1 อปุ กรณไฟฟา
กิจกรรมท่ี 1.1 บอกชอ่ื และหนาทีข่ องอปุ กรณไ ฟฟา

อุปกรณไฟฟา ช่อื อปุ กรณไ ฟฟา หนา ท่ี

สายไฟ สง พลงั งานไฟฟา จากที่หนงึ่ ไปอกี ทห่ี นึง่

ฟว ส ปองกนั กระแสไฟฟาไหลเกนิ จนเกิด
อันตรายตอเครอ่ื งใชไ ฟฟา

อปุ กรณต ดั ตอน ตดั วงจรอัตโนมัติเมือ่ กระแสไฟฟาเกนิ
หรือ เบรกเกอร คา ทกี่ าํ หนด

สวิตซ เปด หรือปด วงจรไฟฟา

เคร่ืองตดั ไฟรวั่ ตดั วงจรไฟฟา เมอ่ื เกิดไฟฟา รัว่

เตา รบั หรอื เปนอุปกรณเชื่อมตอ วงจรไฟฟาใน
ปลัก๊ ตวั เมีย ครัวเรอื น

เตาเสียบ หรือ เปนอุปกรณท ตี่ ิดกับปลายสายไฟของ
ปลั๊กตวั ผู เคร่ืองใชไฟฟาเพ่ือตอกระแสไฟฟา
เขาเครอ่ื งใชไฟฟา

97

กิจกรรมที่ 1.2 เลือกอุปกรณไฟฟาทีก่ าํ หนดให เติมลงในชอ งวางใหตรงกับลักษณะการใชงาน

สายไฟ ฟวส เบรกเกอร สวิตช
สะพานไฟ เครือ่ งตัดไฟฟารว่ั เตารับ เตา เสียบ

1) เม่อื ผูใ ชเ ครือ่ งใชไ ฟฟาถูกไฟฟา ช็อต เกดิ ไฟกระชาก จะทําให เคร่ืองตัดไฟรั่ว ตัดไฟ
2) เม่ือกระแสไฟฟา ไหลผา นเครื่องใชไฟฟาเกนิ ขนาด จะสงผลให ฟว ส ขาด
3) สวิตช ใชส าํ หรบั ควบคมุ การ เปด – ปด หลอดไฟ
4) กอนดําเนินการซอมระบบไฟฟา เพื่อความปลอดภัย จะตองทําการตัดไฟฟาท้ังหมด
ภายในบา น โดยสับคนั โยก สะพานไฟ ลง
5) ตองนาํ เตาเสียบ ของเคร่อื งใชไ ฟฟา เสยี บกบั เตารับ ใหแ นนเม่ือตอ งการใชเ ครอื่ งใชไ ฟฟา
6) เมื่อมกี ารใชเครอื่ งใชไ ฟฟา หลายชนดิ พรอ มๆ กนั ทําใหก ระแสไฟฟา ไหลในวงจรเกินกําหนด
จะทําให เบรกเกอร ตัดไฟฟาโดยอัตโนมตั ิ

98

กจิ กรรมทายเรอื่ งท่ี 2 วงจรไฟฟา
กิจกรรมท่ี 2.1 เลอื กแบบการตอวงจรไฟฟา ทีก่ าํ หนดให ใสล งในชอ งวางดานซายมอื ใหต รงกบั ภาพ
การตอวงจรไฟฟา

ก. การตอ วงจรไฟฟาแบบอนกุ รม
ข. การตอวงจรไฟฟาแบบขนาน
ค. การตอ วงจรไฟฟาแบบผสม

____ข_.____ ขอ 1

____ข_.____ ขอ 2

____ค_.____ ขอ 3

____ก_.____ ขอ 4

99

กิจกรรมที่ 2.2 ทําการทดลองการตอวงจรไฟฟาแบบอนกุ รม โดยใชแผงสาธิตการตอวงจรไฟฟา
ปฏิบัติตามขนั้ ตอนทีก่ าํ หนดให แลวเขียนผลการทดลอง พรอมทงั้ สรปุ ผลการทดลอง

ภาพแผงสาธติ การตอ วงจรไฟฟา (วงจรอนกุ รม)
ข้ันตอนที่ 1 ประกอบวงจรอนุกรมตามภาพแผงสาธิตการตอวงจรไฟฟา (วงจรอนุกรม)
โดยใสห ลอด LED ลงในฐานเสียบหลอด LED จาํ นวน 3 หลอด จากน้ันเปดเบรกเกอร และเปดไฟ
โดยหลอด LED โดยทุกหลอดตอ งติด
หมายเหตุ : หากใสห ลอด LED แลว ไฟไมตดิ ใหส ลบั ขว้ั หลอด LED
ข้นั ตอนที่ 2 ทาํ การถอดหลอด LED ออก 1 หลอด สังเกตการเปลย่ี นแปลงและบนั ทึกผล
ข้ันตอนท่ี 3 ปดเบรกเกอร และสรปุ ผลการทดลอง
ผลการทดลอง
เมอื่ ทําการถอดหลอด LED ออก 1 หลอด พบวา หลอด LED ที่เหลือจะดบั
สรปุ ผลการทดลอง
การตอวงจรแบบอนุกรม คือ การตอวงจรดวยอุปกรณไฟฟาต้ังแต 2 ตัวข้ึนไปเรียงตอกัน
โดยกระแสไฟฟาจะไหลจากแหลงจายผานไปยังอุปกรณไฟฟาตัวที่ 1 ผานอุปกรณไฟฟาตัวท่ี 2
และผานตัวตอ ๆ ไป จนกลับมาครบวงจรที่แหลงจายไฟ เมื่ออุปกรณตัวใดตัวหน่ึงขาดหรือหลุด
จากวงจร จึงเปรียบเสมือนวาวงจรขาด กระแสไฟฟาไมสามารถไหลไดครบวงจร ทําใหอุปกรณ
ท่ีเหลือในวงจรไมสามารถทํางานไดเชนกัน จากการทดลองเมื่อทําการถอดหลอด LED ออก
1 หลอด จงึ เปนเหตุใหห ลอด LED ท่เี หลอื ดับ

100

กิจกรรมที่ 2.3 ทําการทดลองการตอวงจรไฟฟาแบบขนาน โดยใชแผงสาธิตการตอวงจรไฟฟา
ปฏิบัตติ ามขน้ั ตอนท่กี ําหนดให แลวเขยี นผลการทดลอง พรอ มทัง้ สรปุ ผลการทดลอง

ภาพแผงสาธติ การตอ วงจรไฟฟา (วงจรขนาน)
ขัน้ ตอนที่ 1 ตอวงจรโดยใชส ายไฟตามภาพแผงสาธติ การตอวงจรไฟฟา (วงจรขนาน) โดย
นําหลอดไฟท้ังสามประเภท (หลอดไส หลอดตะเกียบ และหลอด LED) มาติดต้ังกับข้ัวหลอด
จากน้นั เปดเบรกเกอร และเปด สวติ ชไ ฟ โดยทกุ หลอดตอ งติด
หมายเหตุ : หากใสห ลอดไฟแลวไฟไมต ดิ ใหขยับข้วั หลอด
ขั้นตอนที่ 2 ทําการถอดหลอดไฟ ออก 1 หลอด หรือทดลองปดสวิตชบางตัวบนแผงสาธิต
สังเกตการเปลีย่ นแปลงของวงจรไฟฟา และบนั ทกึ ผลการทดลอง
ขัน้ ตอนที่ 3 ปด เบรกเกอร และสรปุ ผลการทดลอง
ผลการทดลอง
เมอื่ ถอดหลอดไฟออกหน่ึงหลอด หรือปดสวิทชบางตัวบนแผงสาธิต หลอดไฟท่ีเหลือยังคง
ติดอยู
สรปุ ผลการทดลอง
การตอ วงจรแบบขนาน เมือ่ อปุ กรณไ ฟฟา ตัวใดชํารดุ หรือหลดุ ออกจากวงจร อุปกรณไฟฟา
ที่เหลือยังสามารถทํางานได เน่ืองจากกระแสในวงจรขนานไหลแยกกนั แตล ะวงจร

101

กิจกรรมท่ี 2.4 ทําการทดลองการตอวงจรไฟฟาแบบผสม โดยใชแผงสาธิตการตอวงจรไฟฟา
ปฏบิ ัติตามขั้นตอนทีก่ าํ หนดให แลว เขยี นผลการทดลอง พรอ มทงั้ สรปุ ผลการทดลอง

ภาพแผงวงจรการตอวงจรไฟฟา (วงจรผสม)
ข้ันตอนท่ี 1 ประกอบวงจรผสมตามภาพแผงวงจรการตอวงจรไฟฟา (วงจรผสม)
โดยใสหลอด LED ลงในฐานเสียบหลอด LED จํานวน 3 หลอด และปรับตัวตานทานท่ีคาตํ่าสุด
โดยหมุนไปซายสุด (ทวนเข็มนาฬิกา) จากนั้นทําการเปดเบรกเกอร และเปดสวิตชไฟ โดย
หลอด LED ทุกหลอดตองติด ทําการปลดหลอด LED หลอดที่ 1 หรือ 2 ออก สังเกตการ
เปลีย่ นแปลง
หมายเหตุ : หากใสห ลอด LED แลวหลอดไมติดใหส ลับขั้วหลอด LED
ขั้นตอนท่ี 2 ประกอบวงจรไฟฟาตามภาพแผงวงจรการตอวงจรไฟฟาแบบผสม
ใหครบถว นตามเดิม
ข้ันตอนท่ี 3 ทําการปลดหลอด LED หลอดท่ี 3 ออก สงั เกตการเปล่ียนแปลง
ขัน้ ตอนท่ี 4 บันทกึ ผลการทดลองและสรุปผลการทดลอง
ผลการทดลอง
- เมอ่ื ทาํ การถอดหลอด LED หลอดท่ี 1 หรือ 2 ออก พบวา หลอด LED ท่เี หลือยงั คงติดอยู
- เมื่อทําการปลดหลอด LED หลอดท่ี 3 ออก หลอด LED ทเ่ี หลอื ดบั
สรปุ ผลการทดลอง
วงจรไฟฟาแบบผสม คือ การตอวงจรไฟฟารวมกันระหวางวงจรไฟฟาแบบอนุกรมและ
วงจรไฟฟา แบบขนาน

102

จากการทดลอง เม่ือปลดหลอด LED หลอดท่ี 1 หรือ 2 ออกพบวา หลอด LED ที่เหลือ
ยงั คงสวา งอยู เนอ่ื งจากเปนสวนของวงจรขนาน ซ่ึงกระแสไฟฟาสามารถไหลครบวงจรได แตเม่ือ
ทาํ การปลดหลอด LED หลอดที่ 3 ออก พบวาหลอด LED ท่ีเหลือดับทุกหลอด เน่ืองจากเปนสวน
ของวงจรอนกุ รม ทาํ ใหกระแสไฟไมส ามารถไหลไดครบวงจร

กิจกรรมทายเรอ่ื งที่ 3 สายดนิ และหลกั ดนิ

กิจกรรมที่ 3.1 บอกถึงความสาํ คญั ของสายดนิ และหลักดิน
สายดินและหลกั ดนิ ท่ตี อ เขากับเครอ่ื งใชไฟฟา โดยการตอ ลงดินนั้น มีไวเพ่ือปองกัน

อันตรายที่เกิดจากไฟช็อตหรือไฟร่ัว หากเกิดไฟช็อตหรือไฟร่ัวกระแสไฟเหลานั้นก็จะไหล
ผา นเขา ไปท่ีสายดินแทน แตถาไมมีการติดตั้งสายดิน กระแสไฟท้ังหมดก็จะไหลเขาสูตัวเราทําให
ไดรบั อันตรายและเสียชวี ิตได

กิจกรรมที่ 3.2 บอกเครอ่ื งใชไฟฟาในครัวเรือนทต่ี อ งติดตง้ั สายดิน มาอยา งนอย 3 ชนิด
1. เครอ่ื งทําน้ําอุนไฟฟา
2. เครอ่ื งซักผา
3. เคร่ืองปรบั อากาศ
4. ตูเ ย็น

103

หนวยการเรียนรูท่ี 4
การใชแ ละการประหยดั พลังงานไฟฟา

กจิ กรรมทายเรอื่ งท่ี 1 กลยทุ ธก ารประหยดั พลงั งานไฟฟา 3 อ.

กิจกรรมท่ี 1.1 เลือกกลยุทธการประหยัดพลังงานไฟฟา 3 อ. ใสลงในชองวางใหตรงกับ
แนวทางการประหยัดไฟฟาของแตล ะกลยทุ ธ

ก. กลยทุ ธ อ. 1 อุปกรณป ระหยดั ไฟฟา
ข. กลยุทธ อ. 2 อาคารประหยัดไฟฟา
ค. กลยุทธ อ. 3 อุปนสิ ัยประหยัดไฟฟา

____ค.___ 1) หม่ันทาํ ความสะอาดเครือ่ งใชไฟฟา อยางสมาํ่ เสมอ
____ข.___ 2) ปลกู ไมยนื ตน ใหร ม เงาแกอาคาร
____ก.___ 3) เลอื กใชต เู ยน็ ที่ติดฉลากประหยัดไฟเบอร 5
____ข.___ 4) ใชระบบปรับอากาศท่ีแยกสวิตช เปด – ปด เฉพาะเครื่อง เพ่ือใหควบคุม

การเปด – ปด ตามความตองการใชงานในแตละบริเวณ
____ค.___ 5) เลือกขนาดของเครอื่ งใชไ ฟฟาใหเหมาะสมกับการใชงาน
____ค.___ 6) รีดผาครง้ั ละมาก ๆ และไมพ รมนํา้ จนชมุ เกนิ ไป
____ข.___ 7) ใชท่ีครอบโลหะสะทอนแสงเพื่อชวยเพิ่มความสวางแกหลอดไฟได 2 – 3 เทา

โดยใชจ ํานวนหลอดไฟเทาเดมิ
____ก.___ 8) เปล่ยี นหลอดไฟจากหลอดไสเปน หลอด LED
____ค.___ 9) ปดสวติ ชแ ละถอดปลก๊ั เคร่อื งใชไฟฟา ทกุ ครง้ั หลังเลิกใชง าน
____ข.___ 10) ใชว สั ดุท่ีมคี ณุ สมบตั ิเปนฉนวนความรอ น สะทอนหรือปองกันความรอน เชน ผนัง

หลงั คา และฝา เพดานของอาคาร

104

กิจกรรมที่ 1.2 บอกวธิ กี ารประหยดั ไฟฟาในการใชเครือ่ งใชไฟฟาในบา นมาอยา งนอ ย 5 ชนดิ

เคร่ืองใชไ ฟฟา วิธีการประหยดั ไฟฟา
โทรทศั น
1. ไมป ดโทรทัศนด ว ยรโี มทคอนโทรลอยา งเดียว ตองปดดวยตัวเครื่องและ
ไฟฟาแสงสวาง ถอดปล๊ักเม่อื เลกิ ใชงาน
พัดลม 2. ตงั้ โทรทัศนห า งจากฝาผนงั อยางนอย 10 ซม.และอยูในที่อากาศถายเท
ไดส ะดวก
กระตกิ นํา้ รอ น 1. เลอื กใชหลอดผอมหรือฟลอู อเรสเซนต หรอื หลอด LED
คอมพวิ เตอร 2. หมน่ั ทาํ ความสะอาดหลอดไฟ และโคมไฟ
1. หมนั่ ทําความสะอาดเปน ประจาํ
ตเู ยน็ 2. เลอื กใชขนาดท่ีเหมาะสม
เตารดี 1. ใสนา้ํ เฉพาะปริมาณท่ตี อ งการใช
เคร่ืองปรบั อากาศ 2. ถอดปล๊ักเม่อื น้ําเดอื ด แลว กรอกใสก ระติก
1. ปดจอเมอื่ ไมใชง านนานกวา 10 นาที
หมอหุงขาวไฟฟา 2. เลอื กซ้อื เครือ่ งทมี่ ีระบบประหยัดไฟโดยมองหาสญั ลักษณ Energy Star
เครอ่ื งซักผา 1. ต้ังหา งจากฝาผนังอยางนอย 15 ซม.
2. เลือกขนาดความจุทีเ่ หมาะสมและแชเ ฉพาะของจําเปน
1. รีดผาครัง้ ละมาก ๆ ไมพรมนาํ้ จนชุม
2. ตากผา ใหเรยี บรอ ย ลดการยบั ประหยดั เวลารดี
1. ทําความสะอาดเคร่ืองทกุ ครึ่งป ไมนาํ ของรอ นเขาหองแอร
2. เปดเคร่ืองปรับอากาศที่ 26 องศาเซลเซียส ปรับอุณหภูมิขึ้น 1 องศา
เซลเซยี ส ประหยัดไฟได รอ ยละ 10
1. เลือกขนาดความจทุ ่ีเหมาะสม
2. ไมเ ปดฝาหมอ หุงขา วขณะที่ขา วยังไมส ุก
1. ซกั ผา ครัง้ ละมาก ๆ ตามปรมิ าณทเี่ ครื่องกาํ หนดสูงสุด
2. แชผ า กอนเขาเครอื่ ง ชว ยใหกาํ จดั ส่งิ สกปรกไดดขี ้ึน

105

กจิ กรรมที่ 1.3 เลือกฉลากประหยัดไฟฟาเบอร 5 ของแทจากรปู ที่กําหนดให พรอมอธิบาย
ลักษณะของฉลากประหยดั ไฟฟา เบอร 5 ของแท

รปู ท่ี 1 รูปท่ี 2
รปู เลือกฉลากประหยัดไฟเบอร 5 ของแท คอื รปู ที่ 1 โดยสามารถสังเกตุรายละเอียดได ดงั นี้

106

กิจกรรมที่ 1.4 นําบิลคาไฟฟาจํานวน 3 เดือน ท่ีไดปฏิบัติวิธีการประหยัดไฟฟา มาบันทึกผล
การใชไฟฟาในครัวเรือนลงในตารางท่ีกําหนดให และสังเกตการเปลี่ยนแปลงวาการใชไฟฟา
ในแตละเดือนประหยัดไฟฟาไดเปนจํานวนเทาไหร พรอมอธิบายวิธีการประหยัดไฟฟาของ
แตละเดอื นลงในตารางทก่ี าํ หนด

เดือน คาไฟฟา ใน วธิ ีการประหยดั ไฟฟา
มีนาคม ครวั เรอื น
เมษายน (บาท) 1. ยายตเู ย็นออกหา งจากฝาผนงั อยางนอ ย 15 ซม.
พฤษภาคม 520 บาท 2. ทําความสะอาดเครือ่ งปรบั อากาศ ไมนาํ ของรอนเขาหอ งแอร
เปด แอรท่ี 26 องศาเซลเซียส
480 บาท 1. รีดผาอาทิตยล ะ 1 ครั้ง ทงั้ ครอบครวั
2. เวลาตมน้ํารอนใสน้ําเฉพาะปริมาณที่ตองการใชเมื่อใชเสร็จ
450 บาท ถอดปลก๊ั แลว กรอกใสกระติกเกบ็ ความรอ น
1. ปด หนา จอคอมพวิ เตอรเ มอ่ื ไมใชง านนานกวา 10 นาที
2. ถอดปลก๊ั โทรทัศนออกทุกครัง้ เม่ือเลกิ ใช

กิจกรรมทา ยเรอื่ งท่ี 2 การเลอื กซอ้ื เลือกใช และดแู ลรกั ษาเครอ่ื งใชไ ฟฟา ในครวั เรือน

กจิ กรรมท่ี 2.1 ใหใ สเครื่องหมายถูก (√) หนาขอทถี่ ูก และใสเครื่องหมายกากบาท (X) หนา ขอท่ีผิด

____√___ 1) ถาตอ งการลดคา ไฟฟา ควรเปลย่ี นหลอดตะเกยี บเปนหลอด LED
____X___ 2) บา นอยรู มิ คลองมตี าและยายอาศยั อยู จาํ เปน ตอ งซ้อื ตูเ ย็นขนาดใหญ
____X___ 3) สมศรีมีรานซัก อบ รีด จึงเลือกซ้ือเตารีดไฟฟาขนาดเล็กเพ่ือการเคลื่อนยาย

ไดส ะดวก
____X___ 4) เมอ่ื เลกิ ดโู ทรทศั นแ ลว จงึ ปด ดวยรีโมทคอนโทรลอยา งเดียวแลว จึงเขานอน
____√___ 5) เพอื่ การประหยดั ไฟ ควรลางเครอ่ื งปรับอากาศทุก ๆ 6 เดือน
____√___ 6) การหมั่นทําความสะอาดฝาครอบและใบพัดของพัดลม รวมถึงมอเตอรของพัดลม

จะชวยประหยดั ไฟฟา ได
____√___ 7) ควรตรวจสอบความพรอมของเครอ่ื งใชไ ฟฟา กอนการใชงาน

107

____X___ 8) ระหวางพักกลางวันควรเปดคอมพิวเตอรไวตลอด เพราะหากทําการ เปด – ปด
บอ ย ๆ จะทาํ ใหเปลืองไฟ

____√___ 9) ควรถอดปล๊ักกระติกน้ํารอนไฟฟากอนเลิกงานประมาณ 1 ชั่วโมง เพราะหลังจาก
ถอดปลั๊กออกแลวนํ้ายงั คงรอนอยา งตอ เน่ืองจนกวา จะเลิกงาน

____X___ 10) ควรตง้ั ตูเย็นชดิ ผนงั เพอื่ ปอ งกันอันตราย

กจิ กรรมทายเรอ่ื งท่ี 3 การคํานวณคา ไฟฟาในครัวเรือน
กิจกรรมท่ี 3.1 บันทึกขอ มลู จากใบแจง คาไฟฟาที่นํามา ลงในแบบบนั ทกึ ที่กําหนดให
ตวั อยา งใบแจงคา ไฟฟา

ใบแจงคาไฟฟา ของการไฟฟา สว นภูมิภาค ใบแจง คา ไฟฟาของการไฟฟา นครหลวง

108

ตวั อยา งจากใบแจง คาไฟฟาของการไฟฟา สวนภูมภิ าค
1. ชื่อผใู ชไฟฟา ....................นายประหยดั ไฟฟา.............................................................................
2. ท่อี ย.ู .........61/3 ม.7 ต.ทอนหงส อ.พรหมครี ี จ.นครศรีธรรมราช 8032..................................
3. คาไฟฟาประจําเดอื น.........................พฤษภาคม..........................พ.ศ...............2557.................
4. พลังงานไฟฟา ท่ใี ชค ร้ังกอ น...............3972.000................หนวย
5. พลงั งานไฟฟา ทอ่ี านครั้งหลงั .............4046.000................หนว ย
6. พลงั งานไฟฟาท่ีใชไป................74.00................................หนวย
7. คา ไฟฟา ฐาน = คาพลังงานไฟฟา + คา บริการรายเดือน = ..................211.11....................บาท
8. คา Ft หนวยละ = .............0.6900................ บาท รวมคา Ft = ...............51.06.............. บาท
9. คาภาษีมลู คาเพมิ่ รอ ยละ 7 = .............18.35..............บาท
10. คาไฟฟาท้ังหมด = ...............280.52..........................บาท
11. ผูเรียนสรปุ การคิดคาไฟฟาของการไฟฟา คิดจากคา ใดบา ง
.............คา พลังงานไฟฟา, คาบริการรายเดือน, คา Ft และคา ภาษมี ูลคา เพม่ิ รอยละ 7..............

กจิ กรรมท่ี 3.2 แสดงวิธคี าํ นวณคา ไฟฟา ตามใบแจงคา ไฟฟาท่ีนาํ มา โดยคาไฟฟา ทง้ั หมด
ประกอบดวย 4 สวน คือ คา พลังงานไฟฟา + คา Ft + คา บรกิ ารรายเดอื น + คาภาษีมลู คาเพมิ่

ตัวอยางจากใบแจง คาไฟฟา ของการไฟฟานครหลวง
1. คาพลงั งานไฟฟา ใชไ ฟฟา 241 หนวยเทากับ 754.41 บาท

2. คา Ft เทากบั (241 x 0.59) = 142.19 บาท

3. คาบรกิ ารรายเดือน เทากับ 38.22 บาท

[(754.41 + 142.19 + 38.22) x 7]
4. คาภาษี = 100 = 65.44 บาท

5. รวมคา ไฟฟาที่ตองจา ยทั้งส้ินเทากบั 754.41 + 142.19 + 38.22 + 65.44 = 1,000.26 บาท

109

กิจกรรมที่ 3.3 ทําการทดลองการตอวงจรไฟฟาแบบขนาน โดยใชแผงสาธิตการตอวงจรไฟฟา
ปฏบิ ตั ติ ามขน้ั ตอนทก่ี ําหนดให แลวเขยี นผลการทดลอง พรอมทัง้ สรปุ ผลการทดลอง

ภาพแผงสาธติ การตอ วงจรไฟฟา (วงจรขนาน)
ขั้นตอนท่ี 1 ตอวงจรโดยใชสายไฟตามภาพแผงสาธิตการตอวงจรไฟฟา (วงจรขนาน) โดย
นาํ หลอดไฟทงั้ สามประเภท (หลอดไส หลอดตะเกียบ และหลอด LED) มาตดิ ตั้งกับขวั้ หลอด
ขนั้ ตอนท่ี 2 จากน้นั เปด เบรกเกอร แลว อา นคาแรงดนั ไฟฟาและบันทึกผลการทดลอง
ขนั้ ตอนท่ี 3 เปดสวิตชท ุกตัว แลวสังเกตความแตกตางของระดับความสวางของหลอดไฟ
แตละชนิด แลวปดสวิตชไ ฟทกุ ตัว
ขั้นตอนที่ 4 เปด สวิตชไ ฟหลอดที่ 1 หลอดไส แลวอานคากระแสไฟฟาจากมิเตอร บันทึก
ผลการทดลองลงในตารางบนั ทึกผลการทดลอง แลวปด สวติ ชไ ฟหลอดท่ี 1
ขั้นตอนที่ 5 เปดสวิตชไฟหลอดที่ 2 หลอดตะเกียบ แลวอานคากระแสไฟฟาจากมิเตอร
บันทกึ ผลการทดลองลงในตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง แลว ปดสวติ ชไฟหลอดที่ 2
ขั้นตอนท่ี 6 เปดสวิตชไฟหลอดที่ 3 หลอด LED แลวอานคากระแสไฟฟาจากมิเตอร
บนั ทกึ ผลการทดลองลงในตารางบนั ทึกผลการทดลอง แลวปดสวิตชไ ฟหลอดที่ 3
ขนั้ ตอนท่ี 7 คาํ นวณคา กาํ ลังไฟฟา (วัตต) คาพลังงานไฟฟา (หนวย) คาไฟฟา (บาท) ของ
หลอดไฟแตละชนิดจากสูตรที่กําหนดใหในตารางบันทึกผลการทดลอง และบันทึกคาท่ีไดลงใน
ตารางบันทึกผลการทดลอง และสรปุ ผลการทดลอง

110

ผลการทดลอง
1. คา แรงดนั ไฟฟา (V) 220 โวลต (ใหใ ชค าจรงิ ท่ีอา นไดจากมเิ ตอร)
2. สมมุตใิ หใชง านอุปกรณไ ฟฟาเปน เวลา 240 ชัว่ โมง (คา สมมตุ ิตามความเหมาะสม)
3. สมมตุ ิใหค า ไฟฟา 4 บาท ตอ หนวย (คา สมมุตติ ามความเหมาะสม)

ตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง

ลําดบั อปุ กรณ คากระแสไฟฟา คากําลังไฟฟา คาพลงั งานไฟฟา คา ไฟฟา
ไฟฟา (แอมป) (วัตต) (หนว ย) (บาท)
(คาสมมตุ )ิ
P=VxI ยูนติ =(Pxชัว่ โมง)/1,000 คาไฟฟา=ยูนติ xราคา
1 หลอดไส 0.283 ตอหนว ย
0.078 0.283x220 (62.26x240)/1000
2 หลอด 0.061 = 62.26 = 14.94 14.94x4
ตะเกียบ 0.422 0.078x220 = 59.76
= 17.16 (17.16x240)/1000 4.12x4
3 หลอด LED 0.061x220 = 4.12 = 16.48
= 13.42 3.22x4
รวม 92.84 (13.42x240)/1000 = 12.88
= 3.22 89.12
22.28

สรุปผลการทดลอง
หลอดไฟทั้ง 3 ชนิด ใหความสวางแตกตางกัน และหลอดไฟท่ีกินไฟมากไปนอย ไดแก

หลอดไส » หลอดตะเกียบ » หลอด LED สงผลใหคาไฟฟา จากการใชหลอดไส มีคามากท่ีสุด และ
คา ไฟฟาจากหลอด LED มีคานอยท่ีสุด ดังนั้นในการเลือกใชหลอดไฟ เราควรเลือกใชหลอด LED
เพราะเปนหลอดที่ชวยประหยัดไฟฟา นอกจากน้ียังมีอายุการใชงานที่นานกวาหลอดทุกชนิดอีก
ดว ย

111

คณะผูจดั ทาํ

คณะทป่ี รกึ ษา เลขาธิการ กศน. สํานักงาน กศน.
นายสรุ พงษ จําจด รองเลขาธกิ าร กศน. สํานักงาน กศน.
นายประเสรฐิ หอมดี รองผูวาการพฒั นาโรงไฟฟา
นายรตั นชยั นามวงศ ผชู วยผูว า การวิศวกรรมโรงไฟฟา
นายทนงรักษ แสงวัฒนะชยั ผอู าํ นวยการสาํ นักงาน กศน.จงั หวดั พษิ ณโุ ลก
นายนรา เหลา วชิ ยา ผูอาํ นวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา
นางตรนี ุช สุขสุเดช ตามอัธยาศยั
ผูอาํ นวยการฝายบรหิ ารงานวศิ วกรรมโรงไฟฟา และพลังงาน
นายสรุ พงษ คลอวุฒิเสถยี ร นวิ เคลยี ร
ผูชว ยผอู ํานวยการฝายบริหารงานวศิ วกรรมโรงไฟฟา
นายศภุ ผล รัตนากร และพลงั งานนิวเคลียร การไฟฟา ฝา ยผลิตแหงประเทศไทย
หัวหนา แผนกปฏิกรณน วิ เคลยี ร การไฟฟาฝายผลิตแหง
นางสาวนทีกลู เกรียงชยั พร ประเทศไทย

คณะทํางาน ผเู ช่ียวชาญเฉพาะดานเผยแพรท างการศกึ ษา สํานกั งาน กศน.
นางจารพุ ร พุทธวริ ยิ ากร
นางสาวจรรยา สิงหท อง ศึกษานเิ ทศน สํานกั งาน กศน.
นางญาณศิ า สุขอุดม
นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป นักวิชาการศกึ ษาชํานาญการพิเศษ สาํ นกั งาน กศน.
นางสาวพจนีย สวัสดิร์ ตั น
นางสาวจรี าภา เจียมศกั ดิ์ นกั วชิ าการศกึ ษาชํานาญการพิเศษ สํานกั งาน กศน.
นายจักรกริช แกลวกลา
นายพชิ ัย ชูกาญจนพทิ กั ษ ครูชํานาญการพเิ ศษ สาํ นกั งาน กศน.จงั หวัดกาํ แพงเพชร
นางสาวกาญจนา กิติดี
นางสาวจริ ดา วิทยพิบลู ย นกั วชิ าการศกึ ษาชาํ นาญการ สาํ นักงาน กศน.
นางสาวกิติยากรณ เหิมรักษพงศ
นกั วชิ าการศึกษาปฏิบัตกิ าร สาํ นักงาน กศน.

วศิ วกร ระดับ 9 การไฟฟาฝา ยผลติ แหง ประเทศไทย

นกั วทิ ยาศาสตร ระดบั 6 การไฟฟาฝา ยผลิตแหงประเทศไทย

วศิ วกร ระดับ 6 การไฟฟา ฝา ยผลติ แหง ประเทศไทย

ครู กศน. จงั หวัดนครสวรรค

112

คณะบรรณาธกิ าร

นางสาววมิ ลรัตน ภรู คิ ปุ ต ผูอาํ นวยการ กศน. เขตบางเขน สาํ นักงาน กศน. กรงุ เทพฯ

นางสาวอนงค ชูชยั มงคล ครเู ชี่ยวชาญ สํานักงาน กศน. จงั หวดั อุทัยธานี

นายสพุ จน เชย่ี วชลวิทย ครูเช่ยี วชาญ กศน. เขตประเวศ กรงุ เทพฯ

นางสาวพจนยี  สวัสด์ริ ัตน ครชู ํานาญการพิเศษ สํานกั งาน กศน.จงั หวดั กาํ แพงเพชร

นายเชาวลิต ธาดาสทิ ธเิ วท ครชู าํ นาญการพเิ ศษ สถาบันการศกึ ษาทางไกล

นางกมลวรรณ มโนวงศ ครชู ํานาญการพิเศษ สํานักงาน กศน. จงั หวัดเชียงใหม

นางญาณิศา สุขอุดม นักวิชาการศึกษาชํานาญการพิเศษ สาํ นักงาน กศน.

นายศภุ โชค ศรรี ัตนศลิ ป นกั วชิ าการศกึ ษาชํานาญการพเิ ศษ สาํ นกั งาน กศน.

นางสาวนิธมิ า ศรพี านชิ วิศวกร ระดับ 6 การไฟฟา ฝา ยผลิตแหง ประเทศไทย

นางสาวกาญจนา กิตดิ ี นักวทิ ยาศาสตร ระดบั 6 การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

นางสาวนภากาญจน สวุ รรณคช นักวิทยาศาสตร ระดบั 6 การไฟฟาฝา ยผลิตแหง ประเทศไทย

นางสาวจริ ดา วทิ ยพบิ ลู ย วิศวกร ระดบั 6 การไฟฟาฝายผลติ แหงประเทศไทย

นางสาวศริ กลุ กาญจนปฐมพร นักวทิ ยาศาสตร ระดบั 5 การไฟฟาฝา ยผลิตแหง ประเทศไทย

นายบญุ ชนะ ลอ มสริ อิ ุดม ครู คศ. 1 กศน. เขตหนองแขม กรงุ เทพฯ

นายธณลั ฐวิ รรธน ภคพัฑวัฒนฐากรู ครศู ูนยก ารเรยี นชมุ ชน กศน. เขตหนองแขม กรุงเทพฯ

113


Click to View FlipBook Version