รายงานผลการปฏบิ ัติงาน
ประจาปีงบประมาณ 2564
ANNUAL
REPORT
KHONKAEN RAJANAGARINDRA PSYCHIATRIC HOSPITAL
โรงพยาบาลจติ เวชขอนแก่นราชนครนิ ทร์
กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ
คำนำ
รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ฉบับน้ี ได้รวบรวมเน้ือหาต่าง ๆ
ประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไปของโรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์ ข้อมูลด้านการเงิน ข้อมูลบุคลากร
ข้อมูลการให้บริการ สรุปผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ สรุปผลงานวิจัย และผลการ
ปฏิบัติงานของทุกฝ่าย/กลุ่มงานซึ่งเป็นการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติงานท่ีได้วางแผนไว้อย่างมีส่วนร่วมของ
บคุ ลากรทกุ ระดับ
โรงพย าบ าล จิตเวช ขอน แก่น ราช น คริน ท ร์ห วังว่าราย งาน ผล การป ฏิบั ติงาน ป ระจำปี งบ ป ระมาณ
พ.ศ.2564 เล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เก่ียวข้องและผู้สนใจศึกษาข้อมูล เพ่ือใช้ข้อมูลเป็นแนวทางในการพัฒนา
งานของแต่ละฝ่าย/กลุ่มงานให้ดีขึ้นต่อไป สุดท้ายน้ีขอขอบคุณผู้ท่ีเก่ียวข้องในการจัดทำรายงานผลการ
ปฏบิ ัตงิ านประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ใหส้ ำเร็จลุลว่ งดว้ ยดี
นายธรณนิ ทร์ กองสุข
ผอู้ ำนวยการสถาบนั จติ เวชศาสตรส์ มเดจ็ เจ้าพระยา
รกั ษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงพยาบาลจติ เวชขอนแกน่ ราชนครินทร์
กมุ ภาพนั ธ์ 2565
สารบญั
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ท่ัวไป ................................................................................................................................................................1
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์................................................................................................................1 - 1
รายนามผบู้ รหิ าร......................................................................................................................................................1 - 1
พนื้ ท่ีรับผดิ ชอบ........................................................................................................................................................1 - 1
หนา้ ท่ีและความรับผิดชอบ ......................................................................................................................................1 - 1
วิสัยทศั น์ ..................................................................................................................................................................1 - 2
พันธกิจ.....................................................................................................................................................................1 - 2
นโยบายคณุ ภาพ ......................................................................................................................................................1 - 2
เขม็ มงุ่ /จดุ เน้นในการพัฒนา.....................................................................................................................................1 - 2
ค่านยิ ม.....................................................................................................................................................................1 - 2
ประเด็นยทุ ธศาสตร์ .................................................................................................................................................1 - 2
โครงสร้างการบรหิ ารราชการ...................................................................................................................................1 - 3
อัตรากำลัง ...............................................................................................................................................................1 - 4
สรปุ ผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั รองราชการปฏิบัตริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564.................................1 – 7
ขอ้ มลู ด้านการเงนิ ...........................................................................................................................................................1 – 12
ขอ้ มลู ด้านการใหบ้ ริการ...................................................................................................................................................1 – 19
ผลงานวจิ ัย .......................................................................................................................................................................1 – 37
สว่ นท่ี 2 ผลการปฏิบตั งิ านระบบคุณภาพโรงพยาบาล
1) คณะกรรมการทมี นำทางคลินิก (PCT) ................................................................................................................2 - 1
2) คณะกรรมการบริหารส่งิ แวดลอ้ มและความปลอดภยั (ENV) ..............................................................................2 - 2
3) คณะกรรมการบรหิ ารและพฒั นาทรพั ยากรบคุ คล (HRD) ...................................................................................2 - 3
4) คณะกรรมการปอ้ งกนั และควบคมุ การตดิ เชอ้ื (IC)..............................................................................................2 - 3
5) คณะกรรมการทบทวนความสมบูรณ์ของเวชระเบียน (MRA)..............................................................................2 - 5
6) คณะอนุกรรมการควบคมุ เครอื่ งมอื และการจดั การเกี่ยวกับเครือ่ งมือ (CM)........................................................2 - 5
7) คณะกรรมการจริยธรรมการวจิ ยั ในมนษุ ย์...........................................................................................................2 - 6
8) คณะกรรมการวิจยั และนวตั กรรม........................................................................................................................2 - 6
9) คณะกรรมการพฒั นาระบบยา (MS) ..................................................................................................................2 – 7
10) คณะกรรมการบรหิ ารระบบสารสนเทศ (IM)....................................................................................................2 – 7
สว่ นท่ี 3 ผลการปฏิบตั งิ านของกลมุ่ งาน
❖ กลมุ่ ภารกิจอำนวยการ
1) กลุม่ งานบรหิ ารทว่ั ไป ..........................................................................................................................................3 - 1
2) กลมุ่ งานทรพั ยากรบุคคล.....................................................................................................................................3 - 3
3) กลุ่มงานการเงินและบัญชี ...................................................................................................................................3 - 5
4) กลุ่มงานพสั ดุ.......................................................................................................................................................3 - 8
5) กลุ่มงานโครงสร้างพ้ืนฐานและวิศวกรรมทางการแพทย์................................................................................... 3 - 10
6) กลมุ่ งานประกันสุขภาพ.................................................................................................................................... 3 - 11
7) กลุ่มงานโภชนบริการ ....................................................................................................................................... 3 - 13
❖ กลมุ่ ภารกิจบริการจติ เวชและสขุ ภาพจิต
1) กลมุ่ งานการแพทย์........................................................................................................................................... 3 - 14
2) กลุ่มงานทนั ตกรรม........................................................................................................................................... 3 - 15
3) กลมุ่ งานเภสชั กรรม.......................................................................................................................................... 3 - 15
4) กลมุ่ งานจิตวิทยา.............................................................................................................................................. 3 - 17
5) กลมุ่ งานสังคมสงเคราะห์.................................................................................................................................. 3 - 19
6) กลุ่มงานเทคนคิ การแพทย์................................................................................................................................ 3 - 24
7) กลุ่มงานรังสีวิทยา ............................................................................................................................................ 3 - 25
8) กลุม่ งานเวชกรรมฟนื้ ฟู..................................................................................................................................... 3 - 26
9) กลุ่มงานเวชระเบียน.........................................................................................................................................3 – 27
❖ กลมุ่ ภารกจิ พัฒนาสคู่ วามเปน็ เลศิ
1) กลมุ่ งานวจิ ัยและการพฒั นา............................................................................................................................. 3 - 28
2) กลมุ่ งานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ............................................................................................................... 3 - 29
3) กลุ่มงานยุทธศาสตรแ์ ละแผนงานโครงการ....................................................................................................... 3 - 30
4) กลุ่มงานพัฒนาและวิเคราะห์นโยบายแผนงานด้านการปอ้ งกันการฆา่ ตวั ตาย.................................................. 3 - 31
5) กลุ่มงานบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์และดิจิทัล .....................................................................................................3 – 33
❖ กลมุ่ ภารกจิ การพยาบาล
1) กลุ่มการพยาบาล ............................................................................................................................................. 3 - 35
❖ กลมุ่ ภารกจิ สนับสนนุ และพัฒนาเครอื ขา่ ยบรกิ าร
1) ศูนย์วิกฤตสุขภาพจติ (MCATT) ....................................................................................................................... 3 - 43
สารบญั ตาราง หน้า
➢ ขอ้ มูลท่ัวไป 1-4
ตารางที่ 1 อตั รากำลงั โรงพยาบาลจิตเวชขอนแกน่ ราชนครินทร์ 1-4
ตารางท่ี 2 อัตรากำลังขา้ ราชการ โรงพยาบาลจติ เวชขอนแกน่ ราชนครินทร์ 1-5
ตารางท่ี 3 อตั รากำลังพนกั งานราชการ โรงพยาบาลจติ เวชขอนแก่นราชนครนิ ทร์ 1-5
ตารางที่ 4 อัตรากำลงั ลกู จ้างประจำ โรงพยาบาลจติ เวชขอนแกน่ ราชนครินทร์ 1-6
ตารางที่ 5 อัตรากำลงั พนักงานกระทรวงสาธารณสขุ โรงพยาบาลจติ เวชขอนแกน่ ราชนครนิ ทร์ 1-7
ตารางที่ 6 สรุปผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ตั ิราชการรอบ 5 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1-9
ตารางท่ี 7 สรปุ ผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรับรองการปฏิบตั ิราชการรอบ 11 เดือน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
1 - 19
➢ ขอ้ มูลการใหบ้ รกิ าร 1 - 20
ตารางที่ 1 ข้อมูลการมารับบริการ 1 - 21
ตารางท่ี 2 แสดงจำนวนผปู้ ว่ ยนอกและผ้ปู ว่ ยรบั ไว้รักษา (ราย) จำแนกตามเพศและช่วงอายุ 1 - 22
ตารางที่ 3 แสดงขอ้ มลู จำนวน (ราย) ผมู้ ารบั บริการจำแนกตามกลมุ่ วัย 1 - 23
ตารางท่ี 4 แสดงจำนวนผูป้ ่วยนอกใหม่ (คน) จำแนกตามโรคหลกั 10 ลำดบั แรก 1 - 24
ตารางที่ 5 แสดงจำนวนผู้ปว่ ยนอกเก่า (ราย) จำแนกตามโรคหลัก 10 ลำดับแรก 1 - 25
ตารางท่ี 6 แสดงจำนวนผูป้ ว่ ยนอกทงั้ หมด คร้ัง จำแนกตามโรคหลกั 10 ลำดบั แรก 1 - 26
ตารางที่ 7 แสดงจำนวนผู้ปว่ ยรบั ไว้รักษา (ราย) จำแนกตามโรคหลกั 10 ลำดบั แรก 1 - 27
ตารางท่ี 8 แสดงจำนวนผ้ปู ่วยจำหน่าย (ราย) จำแนกตามโรคหลัก 10 ลำดบั แรก 1 - 28
ตารางที่ 9 แสดงจำนวนผปู้ ว่ ยนอกและผูป้ ว่ ยรบั ไว้รักษาจงั หวัดขอนแกน่ จำแนกตามภูมิลำเนาผปู้ ว่ ย 1 - 29
ตารางท่ี 10 แสดงจำนวนผูป้ ว่ ยนอกและผ้ปู ว่ ยรับไว้รักษาจงั หวัดมหาสารคามจำแนกตามภูมลิ ำเนาผปู้ ่วย 1 - 30
ตารางที่ 11 แสดงจำนวนผ้ปู ว่ ยนอกและผู้ปว่ ยรบั ไวร้ ักษาจงั หวัดรอ้ ยเอด็ จำแนกตามภมู ลิ ำเนาผปู้ ่วย 1 - 31
ตารางที่ 12 แสดงจำนวนผู้ปว่ ยนอกและผปู้ ว่ ยรับไวร้ กั ษาจงั หวัดกาฬสนิ ธุ์จำแนกตามภมู ลิ ำเนาผ้ปู ่วย 1 - 32
ตารางท่ี 13 ตารางสรปุ ข้อมูลผปู้ ว่ ยที่มารบั บริการที่โรงพยาบาลจิตเวชขอนแกน่ ราชนครนิ ทรป์ ระจำปงี บประมาณ 2564 1 - 33
ตารางท่ี 14 แสดงจำนวนของผปู้ ว่ ยรับไวร้ กั ษา (ราย) 10 ลำดับแรกตามรหสั โรคหลักแพทย์วินจิ ฉยั และตกึ ทรี่ ับไว้รกั ษา 1 - 34
ตารางท่ี 15 แสดงจำนวนของผปู้ ่วยจำหน่าย (ราย) 10 ลำดบั แรกตามรหสั โรคหลกั แพทย์วินิจฉัยและตกึ ทจ่ี ำหนา่ ย 1 - 35
1 - 36
ตารางที่ 16 แสดงข้อมูลผู้ปว่ ยในจำแนกตามตึก
ตารางท่ี 17 แสดงการเปรียบเทยี บข้อมลู การให้บริการผู้ป่วยนอกปงี บประมาณ 2560– 2564
ตารางที่ 18 แสดงการเปรยี บเทยี บขอ้ มลู การให้บริการผู้ป่วยใน ปีงบประมาณ 2560 - 2564
สรุปผลการปฏิบตั ริ าชการ
ภาพผลตงานมโคคารรงบั กรารอ/งกจิ กรรม
กปราะรจปาปฏงี บิ บตั ปิรระามชากณารพป.ศร.2ะจ56าป4ี
งบประมาณ พ.ศ. 2564
โครงการรณรงคส์ ัปดาห์สุขภาพจติ แห่งชาติ ปี 2563
เรื่อง “สขุ ภาพจิตไทย กา้ วไปพร้อมกนั ”
หน่วยงานรับผิดชอบ : กลมุ่ งานสารนิเทศและประชาสัมพันธ์
วัตถปุ ระสงค์
เพ่ือสรา้ งความร่วมมือการดำเนินงานสขุ ภาพจิตในการช่วยเหลือประชาชนคนไทยให้มีสุขภาพจิตดีข้ึน
และสามารถก้าวผา่ นวิกฤตไปพร้อมๆ กัน
กลมุ่ เป้าหมาย : หน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชนภาคประชาสังคม ด้านการส่ือสารมวลชน จำนวน 7 หน่วยงาน
ประชาชนท่ัวไป/อสม. เขตเทศบาลคนรขอนแกน่ จำนวน 150 คน
งบประมาณทใ่ี ชใ้ นการดำเนนิ โครงการ : 50,000 บาท (ห้าหมืน่ บาทถ้วน)
ผลการดำเนินงานโครงการ :
ดำเนินการจัดกิจกรรม ในวันท่ี 4 พฤศจิกายน 2563 ณ บริเวณสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่ง
ประเทศไทย จังหวัดขอนแก่น โดยมีนายแพทย์ณัฐกร จำปาทอง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่น
ราชนครินทร์ เดินหน้าให้ความรู้สุขภาพจิต จัดงานสัปดาห์สุขภาพจิตแห่งชาติ ร่วมกับ สถาบันสุขภาพจิตเด็ก
และวัยรุ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ศูนย์สุขภาพจิตที่ 7 และสำนักประชาสัมพันธ์เขต 1 ขอนแก่น โดยใช้ช่ือ
งาน “สขุ ภาพจิตไทย ก้าวไปด้วยกัน”
ภายในงานประกอบไปด้วยกิจกรรมการตรวจวัดความเครียดด้วยเคร่ือง Bio Feedback
นิทรรศการสุขภาพจิต ถาม-ตอบปัญหาสุขภาพจิต การแสดงดนตรีสด เป็นการแสดงพลังด้านสุขภาพจิตของ
คนไทยโดยรวม มงุ่ เป้าให้คนไทยไม่ละเลยผู้ที่มีความเส่ียงหรือกำลงั ประสบปัญหาด้านสุขภาพจิต และหยิบยื่น
ความช่วยเหลือ โดยเร่ิมจากสถาบันครอบครัว โรงเรียน ท่ีทำงาน ขยายไปสู่จุดที่ใหญ่ขึ้น เป็นองค์กร ชุมชน
และสังคมไทย และการรณรงค์การให้ความสำคัญกับการฟัง “ฟังกัน วันละสิบ” คือการรับฟังคนรอบขา้ งอยา่ ง
น้อย 10 นาที หรือรับฟงั คนรอบข้างอย่างน้อย 10 ครั้งในหนึ่งวัน โดยตั้งใจเป็นผรู้ ับฟังท่ีดีและสามารถสื่อสาร
ว่า ฉนั พร้อมรับฟังคุณ การรับฟังน้จี ะเปน็ เครอื่ งมอื สำคญั ทจ่ี ะช่วยให้คนไทยเข้าใจกันมากขึ้น ห่วงใยกันมากข้ึน
และได้ระบายความทกุ ข์ใจกอ่ นท่จี ะสะสมจนกลายเป็นปญั หาดา้ นสุขภาพจิต
การประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ ารเพื่อพัฒนาชุดคู่มอื สำหรับเจ้าหน้าที่ผดู้ ูแลกลมุ่ แรงงาน
เพือ่ เสริมสรา้ งพลังใจป้องกนั การฆ่าตัวตาย
หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ : กลุ่มงานพฒั นาและวิเคราะหน์ โยบายแผนงานด้านการป้องกนั การฆา่ ตัวตาย
วตั ถปุ ระสงค์ : รว่ มแสดงความคดิ เห็นและแนวทางการชว่ ยเหลือแรงงานท่ีมคี วามเสย่ี งต่อการฆ่าตัวตาย
กลมุ่ เป้าหมาย : สำนกั งานจัดหางานจงั หวัด/สำนักงานสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน/สำนกั งานประกนั สังคม
จงั หวัด/สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน/ศนู ย์ฟืน้ ฟสู มรรถภาพแรงงาน/กองบริหารข้อมูลตลาดแรงงาน
ผลการดำเนินงานโครงการ :
การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาชุดคู่มือสำหรับเจ้าหน้าท่ีผู้ดูแลกลุ่มแรงงาน เพ่ือ
เสริมสร้างพลังใจป้องกันการฆ่าตัวตาย วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564 อ.จุฑามาศ วรรณศิลป์ ผู้อำนวยการศูนย์
สุขภาพจิตท่ี 7 ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิด ซึ่งมีตัวแทนจากสำนักงานจัดหางานจังหวัด/สำนักงาน
สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน/สำนักงานประกันสังคมจังหวัด/สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน/ศูนย์ฟื้นฟู
สมรรถภาพแรงงาน/กองบริหารข้อมูลตลาดแรงงาน เข้าร่วมประชุมในครั้งนี้ โดยได้รับเกียรติ จาก
ศ.พญ.สุวรรณา อรุณพงคไ์ พศาล ผศ.ดร.ลัดดา แสนสีหา ดร.อคั รเดช กล่นิ พิบูลย์ รองผู้อำนวยการ กลมุ่ ภารกิจ
การพยาบาล ร่วมให้เกียรติเป็นวิทยากร ร่วมอภิปราย : ความคิดเห็นและแนวทางการช่วยเหลือแรงงานท่ีมี
ความเส่ียงต่อการฆ่าตัวตาย และได้รว่ มจัดหาแนวทางการยกร่างคู่มือสำหรับเจ้าหน้าท่ีผู้ดูแลกลุ่มแรงงานเพื่อ
เสริมสร้างพลังใจ การนำคู่มือไปใช้ในหน่วยงาน และการประเมินผล ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ โรงแรมอวานี
ขอนแกน่ โฮเทล แอนด์ คอนเวนชัน่ ฯ
การประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ ารตดิ ตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
ความร่วมมือการป้องกนั การฆ่าตวั ตายระดับชาติ
หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ : กลุ่มงานพัฒนาและวิเคราะหน์ โยบายแผนงานด้านการป้องกันการฆ่าตวั ตาย
วตั ถุประสงค์
1. รับรู้ถึงข้อมูล สถานการณ์ปัญหาการฆ่าตัวตาย ติดตามกำกับ มาตรการเพ่ือการแก้ไขปัญหาของ
แตล่ ะพ้ืนที่ และมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเหน็ ตอ่ การแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน
ได้อย่างมีคณุ ค่า
2. ได้แลกเปล่ียนความรู้ ประสบการณ์การดำเนินงานเพื่อการป้องกันการฆ่าตัวตายในระดับพื้นที่
และชุมชน
3. มีส่วนร่วมในการออกแบบพัฒนาคลังข้อมูล สารสนเทศ และระบบส่งต่อ เพ่ือป้องกันดูแล
ช่วยเหลอื ผ้ทู เ่ี สีย่ งต่อการฆ่าตัวตายใหม้ คี วามครอบคลมุ และมีประสทิ ธิภาพ
กลมุ่ เปา้ หมาย : คณะกรรมการยทุ ธศาสตรก์ ารปอ้ งกนั การฆ่าตวั ตายระดบั ชาติ /สหวิชาชีพโรงพยาบาลจิตเวช
ขอนแกน่ ราชนครนิ ทร์ จำนวน 20 คน
งบประมาณที่ใชใ้ นการดำเนนิ โครงการ : 242,133 (สองแสนสีห่ มน่ื สองพันหน่ึงร้อยสามสบิ สามบาทถว้ น)
ผลการดำเนนิ งานโครงการ :
การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ความร่วมมือการป้องกัน
การฆ่าตัวตายระดับชาติ วันท่ี 22 กุมภาพันธ์ 2564 นายแพทย์จุมภฏ พรมสีดา รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิดการประชุม ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย นายแพทย์ณัฐกร จำปาท อง
ผ้อู ำนวยการโรงพยาบาลจติ เวชขอนแก่นราชนครินทร์ อาจารย์นันทวดี วรวสุวสั ผู้อำนวยการกองส่งเสริมและ
พัฒนาสุขภาพจิต อาจารย์จุฑามาศ วรรณศิลป์ ผู้อำนวยการศูนย์สุขภาพจิตท่ี 7 ศ.พญ.สุวรรณา อรุณพงศ์
ไพศาล และ ดร.อัครเดช กล่นิ พบิ ลู ย์ รองผ้อู ำนวยการ กลมุ่ ภารกิจการพยาบาล
เพ่ือหารือติดตามการขับเคล่ือนการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การป้องกันการฆ่าตัวตายรวมท้ัง การ
พิจารณากิจกรรมงานวิจัยโครงการพัฒนารูปแบบความร่วมมือขององค์กรเครือข่ายเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย
ของประชาชนท่ัวไปและประชาชนกลุ่มเสี่ยงใน 25 จังหวัด 4 ภาคของประเทศไทย ณ ห้องประชุมรุจิรพิพัฒน์
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแกน่ ราชนครินทร์
การอบรมโปรแกรมการบำบัดโดยการแกไ้ ขปญั หาผมู้ ีพฤติกรรมการฆ่าตวั ตาย
สำหรบั บุคลากรสาธารณสขุ
หน่วยงานรบั ผิดชอบ : กล่มุ งานพฒั นาและวิเคราะหน์ โยบายแผนงานด้านการป้องกนั การฆ่าตัวตาย
วตั ถปุ ระสงค์
1. ไดร้ ับการเพมิ่ ความรู้ เขา้ ใจและทกั ษะของโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาผมู้ ีพฤติกรรมการ
ฆ่าตัวตายได้อย่างถกู ต้อง
2. ไดแ้ ลกเปลย่ี นความรู้ ประสบการณก์ ารดูแล ตามแนวคิดโปรแกรมการบำบดั โดยการแก้ปัญหาผู้มี
พฤติกรรมการฆา่ ตัวตาย
3. สามารถนำความรู้ที่ได้มาพัฒนารปู แบบบริการเพื่อดูแลชว่ ยเหลอื ผมู้ พี ฤตกิ รรมการฆ่าตัวตายให้
สอดคล้องกบั ปัญหาและความต้องการได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ไม่ฆา่ ตวั ตายซ้ำ
กลมุ่ เปา้ หมาย :
1. พยาบาลวชิ าชพี /นกั วิชาการสาธารณสขุ โรงพยาบาลจติ เวชขอนแก่นราชนครนิ ทร์
2. บุคลากรจากหนว่ ยบริการสาธารสุข ระดับ สสจ รพศ รพท รพช และรพ.สต ทว่ั ประเทศ
3. คณะวทิ ยากร/คณะทำงาน รวมจำนวนทงั้ สิ้น 60 คน
งบประมาณทใ่ี ช้ในการดำเนินโครงการ : 367,500 บาท (สามแสนหกหม่นื เจ็ดพนั ห้าร้อยบาทถ้วน)
ผลการดำเนินงานโครงการ :
โครงการอบรมโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ไขปัญหาผู้มีพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย สำหรับบุคลากร
สาธารณสุข ระหว่างวันที่ 10-12 มีนาคม 2564 ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
ได้รับเกียรติจาก ศาสตราจารย์ ดร. ดาราวรรณ ต๊ะปิ่นตา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ให้
เกียรติเป็นวิทยากรบรรยาย และนายแพทย์สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล ท่ีปรึกษากรมสุขภาพจิต ให้เกียรติมอบ
ใบประกาศนียบัตรแก่ผู้ท่ีผ่านการอบรม พร้อมทั้งกล่าวปิดการอบรมในครั้งนี้ ผู้เข้าร่วมอบรมประกอบด้วย
พยาบาลวชิ าชีพ และนักจิตวิทยา รวมจำนวน 56 คน
โครงการการพัฒนาจิตเป็นวิถีและวัฒนธรรมองคก์ ร สำหรบั บุคลากรใหม่
(Mindfulness Organization ; MIO)
หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ : ศนู ยจ์ ิตประภัสร์ กล่มุ ภารกจิ การพยาบาล
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือพัฒนาจิตของบุคลากรท่ีบรรจุระหว่างปี 2562-2563 ให้ตระหนักในคุณค่าของตนเองโดยใช้
สติและสมาธิ
2. เพ่ือสร้างค่านิยมในการทำงานร่วมกนั อยา่ งกัลยาณมติ ร
3. เพอ่ื สรา้ งความตระหนักในคา่ นิยมและวฒั นธรรมทีด่ ีขององค์กร
กลุม่ เป้าหมาย : บุคลากรทีบ่ รรจุเข้าปฏิบัตงิ านระหวา่ งปี 2562-2563 จำนวน 35 คน
งบประมาณทใ่ี ช้ในการดำเนนิ โครงการ : 84,000 บาท (แปดหม่ืนสี่พนั บาทถ้วน)
ผลการดำเนินงานโครงการ :
ดำเนินการจัดประชุม ในวันที่ 25-26 มีนาคม 2564 ณ อาร์เอส พองริเวอร์ไซด์ รีสอร์ท
แอนด์สัมมนา อำเภอเมือง จังหวดั ขอนแก่น โดยมีนายแพทย์ณัฐกร จำปาทอง ผูอ้ ำนวยการโรงพยาบาลจิตเวช
ขอนแก่นราชนครินทร์ ให้เกียรติเป็นประธานในกล่าวเปิดโครงการการพัฒนาจิตเป็นวถิ ีและวัฒนธรรมองค์กร
สำหรับบคุ ลากรใหม่ (Mindfulness Organization ; MIO)
กิจกรรมเพ่ือเป็นการตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ ให้มีคุณภาพและเป็นไปตาม
มาตรฐาน จึงได้มีการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเพ่ือเป็นเครื่องมือในการทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายใน
องค์กร จากเดิมที่เน้นแต่การพัฒนาความรู้และทักษะในการทำงานก็หันมาใช้เครื่องมือใหม่ๆ เช่น การประกัน
คุณภาพ การพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) การสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ การจัดการความรู้
เปน็ ต้น องค์กรมีความจำเป็นอยา่ งยิ่งในการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญนั้นอยทู่ ่ีการเปลี่ยนแปลงเจตคติภายในตนเอง
และจากการศึกษาวิจัยเร่ืององค์กร พบว่าถ้าบุคลากรรสู้ ึกถึงคุณคา่ ของตนเองในการทำงานในองค์กร คุณค่าใน
ตนเองน้ันจะคงอยู่ได้ต้องอาศัยบรรยากาศการทำงานร่วมกันอย่างกัลยาณมิตร และสภาวะท่ีดีขององค์กรอัน
จะส่งเสรมิ และสะทอ้ นค่านิยมขององคก์ รทช่ี ดั เจน
โครงการรณรงค์เพอื่ ป้องกนั การฆ่าตวั ตาย
“การฟังด้วย SATI”
หน่วยงานรบั ผิดชอบ : กลมุ่ งานพัฒนาและวิเคราะหน์ โยบายแผนงานดา้ นการป้องกนั การฆา่ ตวั ตาย
วัตถุประสงค์
1. ได้รับความรู้ มีความเข้าใจปัญหาสุขภาพจิต และปรับตัวดูแลช่วยเหลือตนเองเบื้องต้นได้กรณี
จำเป็นก็สามารถหาแหลง่ ชว่ ยเหลือได้
2. ได้รับการถ่ายทอดความรู้ เสริมสร้างทัศนคติที่ดีต่อการเข้าถึงทักษะการฟังตามแนวทาง HEART
WITH EARS
3. ได้เรียนรู้และมีความเข้าใจในการใช้ เครื่องมือต่างๆ และ Application กรมสุขภาพจิต เพ่ือการ
ประเมินปัญหาสุขภาพจิต และคัดกรองผู้ท่ีอยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย เพื่อนำไปใช้คัดกรอง
ตนเอง หรือผู้ใกล้ชิดได้ต้ังแต่ในระยะเริ่มต้น รวมทั้งการเรียนรู้การแก้ไขปัญหาจากการที่ได้พูดคุย
ระบายและแนวทางการเขา้ ถึงบรกิ ารสขุ ภาพที่มปี ระสทิ ธภิ าพ
กลุ่มเป้าหมาย :
1. ประชาชนทั่วไป กลุม่ นิสิตนักเรยี น และเยาวชน ตวั แทนองคก์ รเอกชน ผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ
2. ส่ือมวลชน สื่อ Social online และวิทยทุ อ้ งถน่ิ
3. บุคลากรสาธารณสขุ จากหนว่ ยบริการสาธารณสขุ /หน่วยงานในสงั กัดกรมสขุ ภาพจติ จำนวน 200 คน
งบประมาณที่ใช้ในการดำเนินโครงการ : 300,000 บาท (สามแสนบาทถว้ น)
ผลการดำเนนิ งานโครงการ :
แพทย์หญิงพรรณพิมล วิปุลากร อธิบดีกรมสุขภาพจิต ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิด
การรณรงค์เพ่ือป้องกันการฆ่าตัวตาย “การฟังด้วย SATI” ในวันที่ 5 เมษายน 2564 โดยมีนายแพทย์
ณัฐกร จำปาทอง ผ้อู ำนวยการโรงพยาบาล จติ เวชขอนแก่นราชนครินทร์ เปน็ ผู้กลา่ วรายงาน จัดโดยกลมุ่ งาน
พัฒนาและวิเคราะห์นโยบายและแผนงานด้านการป้องกนั การฆ่าตัวตาย มีวัตถุประสงค์ เพ่ือความเข้าใจปัญหา
สขุ ภาพจิต และปรบั ตัวดูแลช่วยเหลือตนเองเบอ้ื งต้นได้ กรณีจำเป็นก็สามารถหาแหล่งช่วยเหลือได้ เสรมิ สร้าง
ทศั นคตทิ ่ีดตี ่อการเขา้ ถึงทักษะการฟังตามแนวทาง HEART WITH EARS และมีความเข้าใจในการใช้ เคร่ืองมือ
ต่างๆ และ Application กรมสุขภาพจติ เพื่อการประเมินปัญหาสุขภาพจติ และคดั กรองผู้ทีอ่ ยใู่ นกลุม่ เส่ยี งต่อ
การฆ่าตัวตาย เพ่ือนำไปใช้คัดกรองตนเอง หรือ ผู้ใกล้ชิดได้ตั้งแต่ในระยะเริ่มต้น รวมท้ังการเรียนรู้ การแก้ไข
ปัญหาจากการที่ได้พูดคุยระบาย และแนวทางการเข้าถึงบริการสุขภาพท่ีมีประสิทธิภาพ มีผู้เข้าร่วมเป็น
ประชาชนทั่วไป กลุม่ นสิ ิตนักเรียนและเยาวชน ตัวแทนองค์กรเอกชน ส่ือมวลชน ส่อื Social online และวิทยุ
ทอ้ งถิ่น บุคลากรสาธารณสขุ จากหน่วยบริการสาธารณสุข/หน่วยงานในสงั กดั กรมสุขภาพจิต ณ อาคาร เพิร์ล
แบงกค์ อ็ ก PEARL BANGKOK BUILDING กรงุ เทพมหานคร
โครงการรณรงคเ์ ผยแพร่ความรเู้ รอ่ื งบุหร่ี วนั งดสูบบุหรโ่ี ลก
หน่วยงานรับผิดชอบ : งานบำบดั และฟน้ื ฟผู ู้ปว่ ยจติ เวชสุรา/ยา/สารเสพตดิ กลุ่มภารกจิ การพยาบาล
วตั ถุประสงค์
1. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้ ข้อมูลโทษและอันตรายของบุหรี่แก่บุคลากร ประชาชนและผู้
มารบั บริการในโรงพยาบาล
2. เพ่อื เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้ ข้อมลู การฉีดวัคซนี ปอ้ งกนั โรคโควิด-19
3. เพือ่ ส่งเสรมิ การเลกิ บหุ รใ่ี นบคุ ลากรของโรงพยาบาล
4. เพอ่ื รณรงค์ประกาศโรงพยาบาลจิตเวชขอนแกน่ ราชนครนิ ทร์เป็นเขตปลอดบุหรี่
กลุ่มเป้าหมาย :
1. บุคลากรโรงพยาบาลจติ เวชขอนแก่นราชนครินทร์
2. ผู้ป่วย ญาติผปู้ ว่ ย และผรู้ บั บรกิ ารทมี่ ารับบรกิ ารที่โรงพยาบาลจิตเวชขอนแกน่ ราชนครนิ ทร์
3. ประชาชนทั่วไป
งบประมาณท่ีใชใ้ นการดำเนินโครงการ : 4,000 บาท (ส่ีพันบาทถ้วน)
ผลการดำเนนิ งานโครงการ :
ดำเนินการจัดกิจกรรม ในวันท่ี 31 พฤษภาคม 2564 ที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจิตเวช
ขอนแก่นราชนครินทร์ องค์การอนามัยโลกได้กำหนดให้วันท่ี 31 พฤษภาคม ของทุกปีเป็นวันงดสูบบุหร่ีโลก
โดยในปีน้ีได้กำหนดคำขวัญวันงดสูบบุหร่ีโลก พ.ศ.2564 ไว้ว่า “เลิกสูบ คุณทำได้” ดังนั้นการรณรงค์อย่าง
ตอ่ เน่อื งและจริงจังเพื่อให้ประชาชนเห็นความสำคญั และตระหนักว่าการสูบบหุ รี่เป็นพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
เปน็ อันตรายตอ่ สุขภาพกอ่ ให้เกิดโรคร้ายอกี หลายโรค
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์ เห็นความสำคัญของปัญหาในเร่ืองดังกล่าว จึงได้
จดั โครงการรณรงค์เผยแพร่ความรูเ้ รื่องบหุ ร่ีและโทษของบุหรี่ วันงดสูบบุหร่ี พ.ศ.2564 เพ่ือช่วยกันรณรงค์ให้
คนไทย ลด ละ เลิกสูบบุหรี่ ที่นอกจากส่งเสริมให้มีสุขภาพท่ีดีแล้ว การเลิกสูบบุหรี่ใช้วิถีชีวิตแบบใหม่ ยังช่วย
ลดการแพร่ระบาดของเช้ือโควิด-19 รวมทั้งให้ข้อมูลและรณรงค์การฉดี วัคซีนโควิด-19 เพ่ือลดความเส่ียงท่ีจะ
เกดิ อาการรุนแรงหากติดเชอ้ื โควิด-19 และเปน็ การสรา้ งภมู ิคุ้มกันเพือ่ ป้องกนั การติดเช้ือตามมา
ประชุมเชงิ ปฏิบัติการพัฒนาแนวทางการรักษาตามแผนการฟน้ื ฟจู ติ ใจในสภาวการณ์
ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั
หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ : กลมุ่ งานพฒั นาและวเิ คราะหน์ โยบายแผนงานด้านการป้องกันการฆา่ ตวั ตาย
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพือ่ ใหผ้ ู้เข้ารว่ มโครงการมคี วามรู้ ความเข้าใจถงึ กระบวนการจัดทำคู่มือแนวทางเวชปฏิบัตกิ าร
ดูแลรกั ษามีพฤตกิ รรมการฆ่าตวั ตาย
2. ได้แลกเปล่ียนความรู้ ประสบการณ์ การจดั ทำแนวทางเวชปฏบิ ัตกิ ารดูแลรกั ษามีพฤติกรรมการ
ฆ่าตวั ตาย
3. มีส่วนรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ ให้ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาแนวทางเวชปฏบิ ัตกิ ารดแู ล
รักษามีพฤติกรรมการฆ่าตวั ตาย ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องตามหลักวิชาการ และมีความสอดคลอ้ งไปกับ
บริบทของหน่วยงาน
กลุ่มเปา้ หมาย :
1. คณะกรรมการจดั ทำคู่มือแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้มีพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย
2. คณะทำงานจดั ทำคู่มือแนวทางเวชปฏบิ ตั ิการดูแลรักษาผ้ปู ่วยโรคซมึ เศรา้ จำนวน 20 คน
งบประมาณทใี่ ชใ้ นการดำเนินโครงการ : 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาทถ้วน)
ผลการดำเนนิ งานโครงการ :
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒ นาแนวทางก ารรักษาตามแผนการฟื้นฟูจิตใจ
ในสภาวการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 วันที่ 24 – 25 มิถุนายน 2564 ได้รับเกียรติ
จาก นายแพทย์ประภาส อุครานันท์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ เป็นประธานในพิธีเปิด
ณ ห้องประชุม โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จังหวัดอุบลราชธานี เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยบุคลากร
สหวิชาชีพโรงพยาบาลจติ เวชขอนแก่นราชนครนิ ทร์ และโรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จำนวน 20 ทา่ น
โครงการประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ าร การจดั การดูแลผู้ปว่ ยก้าวร้าวในโรงพยาบาล
หน่วยงานรับผิดชอบ : กลุ่มภารกิจการพยาบาล
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื ให้ผู้เขา้ ประชุมมีความรู้ ทกั ษะ ในการจดั การดูแลช่วยเหลือผู้ปว่ ยทม่ี พี ฤติกรรมกา้ วร้าวได้
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
2. ผู้เขา้ อบรมมีพฤติกรรมบรกิ ารในการดแู ลผูป้ ่วยทม่ี ีพฤติกรรมกา้ วร้าวท่ีเหมาะสม ผปู้ ว่ ยได้รบั การ
ดแู ลทม่ี ีคุณภาพ รวดเรว็ ทนั ใจ และปลอดภยั
3. ผู้ปว่ ยและบุคลากรมีความปลอดภยั ในการให้บริการผู้ปว่ ย
กลมุ่ เปา้ หมาย : บุคลากรทางการพยาบาล จำนวน 70 คน (จำนวน 2 รุ่นๆละ 35 คน)
งบประมาณท่ใี ช้ในการดำเนินโครงการ : 30,000 บาท (สามหม่นื บาทถว้ น)
ผลการดำเนินงานโครงการ :
ดำเนินการจัดประชุม ในวันที่ 18-19 สิงหาคม 2564 ณ ห้องประชุมรังสิพราหมณกุล
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์ โดยมีนายแพทย์ณัฐกร จำปาทอง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลจิตเวช
ขอนแก่นราชนครินทร์ ให้เกียรติเป็นประธานกล่าวเปิดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดการดูแลผู้ป่วย
กา้ วรา้ วในโรงพยาบาล
การให้บริการตรวจรักษาผู้ป่วยท่ีมีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ผู้ป่วยท่ีมารับบริการจะมี
พฤติกรรมการแสดงออกท่ีแตกต่างกันแล้วแต่โรคและอาการของแต่ละคน ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจะมีอาการ
ซึมเศร้า มีความคิดฆ่าตัวตายพยายามทำร้ายตนเอง ซ่ึงเสี่ยงต่อการเกิดพฤติกรรมรุนแรงต่อตนเอง ต่อผู้อ่ืน
ต่อทรัพย์สิน จึงจำเป็นต้องมีกระบวนการหรือวิธีป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดอันตรายบุคลากรทางการพยาบาลทุก
ระดับทั้งพยาบาล พนักงานช่วยเหลือคนไข้ ที่คอยดูแลช่วยเหลือไม่ให้ผู้ป่วยเกิดพฤติกรรมดังกล่าว ซ่ึงต้องมี
พฤติกรรมการบริการท่เี หมาะสมกับสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน ให้บริการด้วยรอยยม้ิ ใช้คำพดู ท่ีเหมาะสมแสดงออก
ด้วยความพร้อมและเต็มใจให้บริการ กลุ่มภารกิจการพยาบาลได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดโครงการ
ประชมุ เชิงปฏิบัติการ การจัดการผู้ปว่ ยกา้ วรา้ วในโรงพยาบาล เพ่ือให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ ทักษะท่ีได้
ประยุกตใ์ ชใ้ นการช่วยเหลือผู้ปว่ ยได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
โครงการพฒั นาโปรแกรมจงั หวดั ต้นแบบด้านการป้องกันการฆ่าตัวตาย
การอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารการทบทวนระบบการดแู ลรักษาผ้มู พี ฤติกรรมเส่ียงตอ่ การฆ่าตวั ตาย
สำหรับแพทยเ์ วชศาสตร์ครอบครวั
หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ : กลุม่ งานพฒั นาและวเิ คราะห์นโยบายแผนงานดา้ นการป้องกันการฆ่าตวั ตาย
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้หน่วยบริการปฐมภูมิ ได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัย
บำบัดรักษา ลงรหัสโรค ส่งต่อ และเฝ้าระวังป้องกันการฆ่าตัวตายซ้ำ และสามารถบูรณาการหลักการ
เวชศาสตร์ครอบครัวในการดูแลแก้ไขปัญหาผู้มีพฤติกรรมฆ่าตัวตายในระดับบุคคล ครอบครัว และสังคม ได้
อย่างครบวงจร
กลุ่มเป้าหมาย : แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว จิตแพทย์ และผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิต ของโรงพยาบาลน่าน
สำนักสาธารณสขุ จงั หวดั น่าน ศูนยส์ ขุ ภาพจิตท่ี 1 และโรงพยาบาลสวนปรุง จำนวน 15 คน
ผลการดำเนนิ งานโครงการ :
วันที่ 26 ตุลาคม 2564 นายแพทย์ณัฐกร จำปาทอง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลจิตเวช
ขอนแก่นราชนครินทร์ มอบหมายให้ ศูนยป์ อ้ งกันการฆา่ ตัวตายระดบั ชาติ จัดโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการการ
ทบทวนระบบการดูแลรักษาผู้มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย สำหรับแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว เพื่อให้
แพทย์ ในหน่วยบริการปฐมภูมิ ได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัย บำบัดรักษา
ลงรหัสโรค ส่งต่อ และเฝ้าระวังป้องกันการฆ่าตัวตายซ้ำ และสามารถบูรณาการหลักการเวชศาสตร์ครอบครัว
ในการดูแลแกไ้ ขปญั หาผู้มีพฤติกรรมฆา่ ตวั ตายในระดบั บุคคล ครอบครวั และสงั คม ได้อยา่ งครบวงจร
โดยมีวิทยากร คือ นายแพทย์ธุวชิต เกรียงตันติวงศ์ นายแพทย์ปฏิบัติการ โรงพยาบาล
จติ เวชขอนแก่นราชนครินทร์ และแพทยห์ ญิงกิตติยา ทองสขุ นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ โรงพยาบาลบา้ นไผ่
ให้เกียรติบรรยาย ในหัวข้อการวินิจฉัย การลงรหัสผู้มีพฤติกรรมฆ่าตัวตายและการรักษา แนวทางการดูแลผู้มี
พฤติกรรมฆ่าตัวตายสำหรับแพทย์ประจำหน่วยบริการปฐมภูมิ และร่วมอภิปราย แลกเปลี่ยนประสบการณ์
การดูแลผู้มีพฤติกรรมฆ่าตัวตาย จังหวัดน่าน ผู้เข้าร่วมจำนวน 15 คน ได้แก่ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว
จติ แพทย์ และผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจติ ของโรงพยาบาลน่าน สำนักสาธารณสุขจังหวัดน่าน ศูนยส์ ุขภาพจิต
ท่ี 1 และโรงพยาบาลสวนปรงุ ณ หอ้ งประชุม โรงพยาบาลนา่ น จงั หวัดนา่ น
สรุปผลการปฏบิ ัตริ าชการ
ตสาม่วคนารทบั ร่ี อ1ง
การปฏบิ ขตั ้อิรมาูลชทก่ัวไาปรประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564
1
โรงพยาบาลจติ เวชขอนแก่นราชนครินทร์
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์ เป็นโรงพยาบาลขนาด 250 เตียง (1 ตุลาคม 2558) เดิมชื่อโรงพยาบาลจิตเวช
ขอนแก่น ตง้ั อยู่เลขที่ 169 ถนนชาตะผดงุ หมทู่ ี่ 4 ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จงั หวัดขอนแก่น มพี นื้ ที่ 47 ไร่ 2 งาน 41 ตารางวา เร่ิม
ดำเนินการก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. 2511 เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการในวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2514 ได้รับประทานนามจากสมเด็จ
พระพีน่ างเธอเจา้ ฟ้ากลั ยาณิวฒั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ชอื่ โรงพยาบาลจติ เวชขอนแก่นราชนครนิ ทร์ เมื่อวันที่ 31 มีนาคม
2546 และโรงพยาบาลมีศูนย์ฟ้ืนฟูสมรรถภาพดอนดู่ห่างจากโรงพยาบาล 4 กโิ ลเมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่บริเวณโคก
ดอนดู่ หม่ทู ี่ 3 ตำบลพระลบั อำเภอเมอื ง จงั หวัดขอนแกน่ มีเน้ือที่ทั้งสิน้ 150 ไร่
รายนามผู้บรหิ าร ลกั ษณวิจารณ์ พ.ศ. 2513 – 2521
1. นายแพทยอ์ ดุ ม รังสิพราหมณกลุ พ.ศ. 2521 – 2529
2. ศาสตราจารย์นายแพทยส์ มพงษ์ ชาตธิ นานนท์ พ.ศ. 2529 – 2534
3. นายแพทย์ธนู วราอัศวปติ พ.ศ. 2534 – 2535
4. นายแพทย์พนั ธ์ศกั ด์ิ ยถาภธู านนท์ พ.ศ. 2535 – 2541
5. นายแพทยว์ ิวัฒน์ มงคล พ.ศ. 2541 – 2545
6. นายแพทย์อภิชยั ตั้งเสรี พ.ศ. 2545 – 2554
7. นายแพทยท์ วี อุครานนั ท์ พ.ศ. 2554 – 2560
8. นายแพทยป์ ระภาส จำปาทอง พ.ศ. 2560 – ปจั จุบัน
9. นายแพทย์ณฐั กร
พน้ื ทรี่ บั ผิดชอบ 4 จงั หวดั คอื จงั หวัดขอนแกน่ มหาสารคาม ร้อยเอด็ และกาฬสินธุ์
หนา้ ทแี่ ละความรบั ผิดชอบ*
1. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพ่ือพัฒนาเก่ียวกับมาตรฐานของงาน องค์ความรู้และเทคโนโลยี รวมทั้งรูปแบบการให้บริการ
เฉพาะดา้ นการฟน้ื ฟสู มรรถภาพทางจติ เวช
2. ส่งเสริม พัฒนา ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีเฉพาะทางด้านการฟ้ืนฟูสมรรถภาพทางจิตเวชแก่หน่วยงานอ่ืนที่
เกยี่ วขอ้ งท้งั ภาครัฐและเอกชน
3. ให้บริการตรวจ วินิจฉัย บำบัดรักษา และฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้มีปัญหาสุขภาพจิตที่รุนแรง ยุ่งยาก หรือซับซ้อน เพื่อ
พัฒนาวิชาการเฉพาะทางด้านการฟืน้ ฟสู มรรถภาพทางจิตเวช
4. ให้การเพ่มิ พูนความรู้และทกั ษะการปฏบิ ตั ิงานเฉพาะทางด้านการฟน้ื ฟูสมรรถภาพทางจิตเวชแกบ่ ุคลากรทางการแพทย์
และสาธารณสขุ รวมทัง้ บคุ ลากรอ่นื ของภาครัฐและภาคเอกชน
5. ปฏิบัติงานร่วมกบั หรือสนบั สนุนการปฏิบตั งิ านของหน่วยงานอน่ื ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง หรอื ที่ไดร้ บั มอบหมาย
ทมี่ า : กฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการของกรมสุขภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560
1-1
2
วสิ ัยทศั น์
เป็นโรงพยาบาลจติ เวชชนั้ นำ ท่ีมคี ณุ ภาพคู่คุณธรรมอนั เป็นท่รี กั และศรัทธาของประชาชน
พนั ธกิจ
1.พฒั นาบริการและวิชาการใหเ้ ปน็ ศนู ยค์ วามเชีย่ วชาญระดบั สูงด้านการป้องกนั การฆ่าตวั ตาย
2.ใหบ้ ริการสุขภาพจติ และจติ เวชด้วยคณุ ภาพมาตรฐานและคณุ ธรรม
3.ใหบ้ ริการด้านสุขภาพจติ และจิตเวชในเขตสุขภาพ เพือ่ สขุ ภาวะทดี่ ีของประชาชน
4.พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการโดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล
นโยบายคณุ ภาพ
โรงพยาบาลจติ เวชขอนแกน่ ราชนครนิ ทร์มงุ่ ม่ันที่จะใหบ้ รกิ ารด้านสขุ ภาพจิตและจิตเวชในระดบั ที่สงู กวา่ ตตยิ ภมู ิ
เข็มมุ่ง/จุดเนน้ ในการพัฒนา
1. H = Happy Workplace (HRD) การพฒั นาสู่การเปน็ องค์กรแหง่ ความสขุ
2. E = Excellence Database for Suicide Prevention การพัฒนาฐานขอ้ มลู ด้านการปอ้ งกนั ช่วยเหลือผูท้ เ่ี สยี่ งต่อการ
ฆ่าตวั ตาย ที่เป็นเลศิ
3. A = Actually Staging of Care การดแู ลผู้ปว่ ยตามระยะของโรค
4. D = Digital Mental Health การพัฒนาสู่การเปน็ Smart Hospital
คา่ นยิ ม
• J = Journey to excellence = กา้ วสคู่ วามเปน็ เลิศ
• V = Visionary leadership = คดิ ฝันก้าวหนา้
• K = Knowledge Sharing = แบง่ ปันภมู ปิ ญั ญา
• K = Kindness = มนี ำ้ ใจอารีย์
ประเด็นยทุ ธศาสตร์
1. พัฒนาความเช่ยี วชาญด้านการป้องกัน ดูแลช่วยเหลือผทู้ ี่เสยี่ งต่อการฆา่ ตวั ตาย
2. พฒั นาระบบบริการผูป้ ว่ ยจติ เวชทร่ี ุนแรง ยุง่ ยากซับซ้อน ใหเ้ ปน็ ศนู ยส์ ง่ ต่อระดับตติยภูมขิ ้ันสูง
3. พฒั นาระบบบริการสุขภาพจิตและจติ เวชเพ่ือเพิม่ การเข้าถงึ บริการและการดูแลอยา่ งต่อเนื่องของประชาชนโดยภาคเี ครือขา่ ย
4. พฒั นาองค์ความรู้ นวัตกรรมและระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ดา้ นสขุ ภาพจิตและจติ เวช
5. เสริมสรา้ งองคก์ รแห่งความสขุ ท่มี ีระบบบริหารจดั การอย่างมธี รรมาภิบาล
1-2
3
1-3
ตารางที่ 1 อตั รากำลังโรงพยาบาลจติ เวชขอนแกน่ ราชนครินทร์
ลำดบั ที่ ตำแหนง่ อัตราเตม็ ปฏบิ ตั ิงานจริง อตั รากำลงั (คน) ลาศึกษาตอ่ อตั ราว่าง
1 ข้าราชการ 221 189 ยมื ตัวมา ยมื ตัวไป 2 14
2 ลกู จา้ งประจำ 29 30 - -
3 พนกั งานกระทรวงสาธารณสขุ 110 105 5 19 - 5
4 พนักงานราชการ 45 24 1- - 5
405 348 -- 2 24
รวม 2 18
8 37
ตารางท่ี 2 อัตรากำลังขา้ ราชการ โรงพยาบาลจิตเวชขอนแกน่ ราชนครนิ ทร์
ลำดบั ที่ ตำแหน่ง อตั รากำลัง (คน) ลาศกึ ษาต่อ อัตราวา่ ง
อัตราเตม็ ปฏบิ ตั ิงานจริง ยืมตัวมา ยมื ตวั ไป - -
- -
ข้าราชการ - -
- 2
1 ผู้อำนวยการ 1 1 -- - 1
- 2
2 นายแพทย์ 9 8 54 1 7
- 1
3 ทันตแพทย์ 2 2 -- - -
- -
4 เภสัชกร 9 7 -- 1 -
- -
5 นักจิตวทิ ยาคลนิ ิก 6 5 -- - -
- -
6 นกั สงั คมสงเคราะห์ 6 4 -- - -
- -
7 พยาบาลวชิ าชพี 139 116 - 14 - -
- -
8 พยาบาลเทคนิค 2 1 -- - -
- -
9 นกั จัดการงานท่ัวไป 3 3 -- - -
- -
10 เจ้าพนักงานธุรการ 3 3 -- - -
- 1
11 นกั โภชนากร 1 - -- - -
- -
12 โภชนาการ 1 1 -- - -
- -
13 นักวิชาการเงินและบญั ชี 2 2 -- - -
2 14
14 เจ้าพนักงานการเงนิ และบัญชี 4 4 --
15 เจา้ พนกั งานพัสดุ 3 3 --
16 นายชา่ งโยธา 1 1 --
17 นักวิชาการสถติ ิ 1 1 --
18 เจ้าพนักงานเวชสถิติ 3 3 --
19 นกั กจิ กรรมบำบัด 2 2 --
20 เจ้าพนกั งานอาชวี บำบัด 1 1 --
21 นกั เทคนิคการแพทย์ 2 2 --
22 เจ้าพนักงานรังสีการแพทย์ 1 1 --
23 เจ้าพนกั งานโสตทัศนศึกษา 1 1 --
24 เจ้าพนักงานทนั ตสาธารณสุข 1 - - -
25 เจ้าพนักงานเภสัชกรรม 5 5 --
26 เจ้าพนกั งานหอ้ งสมดุ 1 1 --
27 นักวชิ าการสาธารณสุข 5 5 --
28 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 2 2 --
29 นักเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3 3 --
รวม 220 188 5 18
1-4
ตารางที่ 3 อัตรากำลังพนักงานราชการ โรงพยาบาลจิตเวชขอนแกน่ ราชนครนิ ทร์
ลำดับท่ี ตำแหน่ง อตั รากำลัง (คน) ลาศกึ ษาตอ่ อัตราวา่ ง
อตั ราเตม็ ปฏบิ ตั งิ านจริง ยืมตวั มา ยืมตัวไป - -
- -
พนกั งานราชการ - -
- -
1 พนกั งานชว่ ยเหลือคนไข้ 15 15 - - - -
- -
2 เจา้ พนกั งานการเงินและบัญชี 1 1 -- - 1
- -
3 นกั วิชาการคอมพวิ เตอร์ 3 2 -1 - -
- -
4 นักวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ 1 1 - - - -
- -
5 เจา้ พนกั งานธรุ การ 1 1 -- - -
- -
6 นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน 2 1 -1 - -
- -
7 นกั วิชาการสาธารณสขุ 3 1 -1 - -
- -
8 เจา้ พนกั งานเครอื่ งคอมพิวเตอร์ 1 1 -- - -
- -
9 นักวิชาการการเงินและบญั ชี 2 1 -1 - -
- -
10 นักสงั คมสงเคราะห์ 2 - -2 - 1
11 เภสัชกร 4 2 -2
12 นายช่างไฟฟ้า 1 1 --
13 นักวิชาการพัสดุ 1 - -1
14 นกั วชิ าการสถิติ 1 - -1
15 นกั จิตวทิ ยา 2 - -2
16 นักเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 - -1
17 นักกิจกรรมบำบัด 1 - -1
18 นกั จดั การงานทว่ั ไป 1 2 21
19 นกั วชิ าการศกึ ษาพเิ ศษ 1 - -1
20 นายชา่ งเทคนิค 1 - -1
21 นักกายภาพบำบดั 1 - -1
22 พยาบาลวิชาชีพ 4 - -4
รวม 50 29 2 22
ตารางที่ 4 อัตรากำลังลูกจา้ งประจำ โรงพยาบาลจติ เวชขอนแกน่ ราชนครินทร์
ลำดบั ที่ ตำแหน่ง อตั รากำลัง (คน) ลาศึกษาต่อ อัตราว่าง
อัตราเต็ม ปฏิบตั งิ านจริง ยมื ตัวมา ยืมตวั ไป - -
- -
ลกู จา้ งประจำ - -
- -
1 พนกั งานช่วยเหลือคนไข้ ส.2 20 21 1 - - -
- -
2 พนกั งานขับรถยนต์ 1 1 -- - -
- -
3 พนกั งานธุรการ ส.4 1 1 -- - -
- -
4 ช่างไฟฟ้า ช.3 1 1 --
5 พนักงานการเงินและบญั ชี ส.3 1 1 --
6 ผูช้ ว่ ยพยาบาล ส.4 2 2 --
7 พนักงานพัสดุ ส.2 1 1 --
8 ชา่ งต่อท่อ ช.2 1 1 --
9 ช่างเช่ือม ช.2 1 1 --
รวม 29 30 1 -
1-5
ตารางท่ี 5 อัตรากำลังพนักงานกระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครนิ ทร์
ลำดับที่ ตำแหน่ง อัตรากำลงั (คน) ลาศกึ ษาต่อ อัตราว่าง
อตั ราเตม็ ปฏบิ ตั ิงานจรงิ ยมื ตวั มา ยืมตัวไป - -
- -
พนกั งานกระทรวงสาธารณสขุ - -
- -
1 บรรณารกั ษ์ 1 1 -- - -
- -
2 นักวิชาการโสตทศั นศึกษา 1 1 -- - -
- -
3 นักจัดการงานทว่ั ไป 4 4 -- -
- 3
4 นกั ทรพั ยากรบคุ คล 3 3 -- - 1
- -
5 นกั วชิ าการสาธารณสุข 1 1 -- - -
- -
6 นกั สงั คมสงเคราะห์ 1 1 -- - -
- -
7 นกั วชิ าการพสั ดุ 2 2 -- - -
- -
8 นกั ประชาสมั พันธ์ 1 1 -- - -
- -
9 นกั วชิ าการเงนิ และบญั ชี 1 1 - - - 1
- -
10 พยาบาล 3 - -- - -
- -
11 เภสชั กร 2 1 -- - 5
12 นายชา่ งเทคนคิ 1 1 --
13 เจ้าพนกั งานธรุ การ 7 7 --
14 เจ้าพนกั งานการเงนิ และบัญชี 5 5 --
15 เจา้ พนกั งานโสตศึกษา 1 1 --
16 เจา้ พนกั งานสถติ ิ 3 3 --
17 พนักงานธรุ การ 3 3 --
18 พนกั งานการเงนิ และบญั ชี 1 1 --
19 พนักงานบรกิ าร 19 19 - -
20 พนกั งานพมิ พ์ 4 4 --
21 พนกั งานชว่ ยเหลือคนไข้ 39 38 - -
22 พนกั งานประจำหอ้ งยา 4 4 --
23 พนักงานประกอบอาหาร 2 2 --
24 พนกั งานบัตรรายงานโรค 1 1 --
รวม 110 105 - -
หมายเหตุ : ข้อมูล ณ เดอื นกันยายน 2563
ท่ีมา : กลุ่มงานทรพั ยากรบุคคล
1-6
สรุปผลการปฏิบัติราชการ
สรุปตผลามกาคราปรฏับบิ รตั อิรางชการ
ตามคารบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการ
กปราะรจปาปฏงี ิบบตั ปริระามชากณารพป.ศร.2ะจ56าป4ี
งบประมาณ พ.ศ. 2564
ตารางที่ 6 สรปุ ผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบตั ริ าชการรอบ 5 เดือน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
ตารางสรุปผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ัติราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแกน่ ราชนครนิ ทร์ รอบ 5 เดอื น
ลำ ัดบตัว ้ชีวัดตาม ู่คมือฯ ผลการดำเนนิ งาน
ตวั ชว้ี ัด หนว่ ยวัด นำ้ หนกั เปา้ หมาย ผลการ ค่าคะแนน คะแนน
(5 เดือน) ดำเนินงาน ทไี่ ด้ ถว่ ง
40 นำ้ หนกั
มิตทิ ่ี 1 ด้านประสทิ ธิผล รอ้ ยละ 8 5.0000
ร้อยละ 16
10 รอ้ ยละของผู้ประสบภาวะวกิ ฤตทม่ี คี วามเส่ยี งตอ่ รอ้ ยละ รอ้ ยละ 60 100.00 5.0000 0.4000
ปัญหาสขุ ภาพจติ ได้รบั การเยยี วยาจิตใจตาม 16
มาตรฐานกรมสุขภาพจติ ต คะแนน รอ้ ยละ 55 99.97 5.0000 0.8000
ระดบั 20
12 รอ้ ยละของประชาชนกลุม่ เส่ยี งภายใต้สถานการณ์ 9 รอ้ ยละ 75 99.97 5.0000 0.8000
COVID-19 ใน 4 ประเด็น (StB SuD: Stress, (ครบ 3 ขัน้ ตอน) 11
Burnout, Suicide, Depression) เขา้ ถงึ บริการ 5 คะแนน 5.00 4.9175 0.4500
สขุ ภาพจติ รอ้ ยละ 20 ระดบั 5 0.5335
ขัน้ ตอนที่ 5.0000
14 รอ้ ยละของผไู้ ด้รับผลกระทบจากภาวะวกิ ฤตทีม่ ี รอ้ ยละ 6 1-3 0.3000
ปญั หาสุขภาพจติ ไดร้ ับการเยียวยาจติ ใจตาม 4.8500
มาตรฐานกรมสขุ ภาพจติ สำหรับกลมุ่ เสยี่ งใน ร้อยละ 8 รอ้ ยละ 35 64.97
4 ประเดน็ (ผมู้ ีภาวะเครียด, ผูท้ ี่มภี าวะเหนื่อยล้า 4.7600
หมดไฟ, ผมู้ คี วามเสี่ยงตอ่ การฆา่ ตัวตาย, ผู้มีภาวะ
ซึมเศร้า) 5.0000
มติ ทิ ่ี 2 ดา้ นคณุ ภาพใหบ้ รกิ าร 5.0000 0.4000
18 คา่ คะแนนความสำเรจ็ ของการพฒั นาไปสู่การเป็น ≥ ร้อยละ 100 2.0000
Smart Hospital ของหน่วยบรกิ ารจติ เวช 92
20 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาไปส่กู ารเป็นองคก์ ร ≥ ร้อยละ 100 3.0000
แหง่ ความสุข (Happy Organization) 96
มติ ิท่ี 3 ดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ
23 รอ้ ยละของผ้ปู ว่ ยจติ เวชยาเสพตดิ ทีเ่ ข้าสู่
กระบวนการบำบัดรกั ษาได้รบั การดแู ลอยา่ งมี
คณุ ภาพต่อเนื่องจนถงึ การติดตาม (Retention
Rate)
27 รอ้ ยละของผู้ป่วยจิตเวชทีม่ คี วามเสยี่ งสงู ตอ่ การก่อ
ความรุนแรง (SMI-V) ทไี่ ด้รับการตดิ ตามเฝา้ ระวัง
จากหนว่ ยบรกิ ารจิตเวชในสังกดั กรมสขุ ภาพจิตและ
เครือขา่ ยในเขตสุขภาพไม่กอ่ ความรุนแรงซำ้ ภายใน
1 ปี
- ร้อยละของผปู้ ่วยจิตเวชทม่ี ีความเส่ยี งสูงต่อการกอ่
ความรนุ แรง (SMI-V) ในพื้นท่ีทีร่ ับผดิ ชอบไดร้ บั การ
ตดิ ตามเฝ้าระวังจากหนว่ ยบริการจิตเวชในสังกดั กรม
สขุ ภาพจติ และเครอื ขา่ ยในเขตสุขภาพตามแนวทาง
ทกี่ ำหนด
- ร้อยละของผปู้ ว่ ยท่มี ีความเสี่ยงสงู ตอ่ การกอ่ ความ
รุนแรง (SMI-V) ท่ไี ดร้ บั การตดิ ตามเฝา้ ระวังจาก
หน่วยบรกิ ารจติ เวชในสังกัดกรมสขุ ภาพจติ และ
เครือข่ายในเขตสขุ ภาพไมก่ อ่ ความรุนแรงซำ้ ภายใน
1 ปี
1-7
ตารางที่ 6 สรปุ ผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบตั ิราชการรอบ 5 เดอื น ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
ตารางสรุปผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ัติราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
โรงพยาบาลจติ เวชขอนแก่นราชนครนิ ทร์ รอบ 5 เดือน
ลำ ัดบตัว ้ชีวัดตาม ู่คมือฯ ผลการดำเนนิ งาน
ตัวช้ีวดั หนว่ ยวดั น้ำหนกั เปา้ หมาย ผลการ ค่าคะแนน คะแนน
(5 เดอื น) ดำเนินงาน ทไี่ ด้ ถ่วง
3 นำ้ หนัก
-
28 คา่ EUI ของหนว่ ยงานในสังกดั กรมสขุ ภาพจิต ≥0 - 5.0000 0.1500
≥0 3 ≥ 0 1.09 5.0000
- ไฟฟา้ ร้อยละ - ≥ 0 6.70 5.0000
รอ้ ยละ -
- น้ำมนั ระดบั 3.4000 0.1020
20
29 รอ้ ยละการเบกิ จา่ ยเงินงบประมาณรายจา่ ย ร้อยละ รอ้ ยละ 45 75.41 3.0000 -
งบดำเนนิ งานและงบลงทนุ 8
ร้อยละ 8 ร้อยละ 35 9.94 0.4000 -
- ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณรายจา่ ย
งบดำเนนิ งาน รอ้ ยละ - ระดับ 5 ข้ันตอนท่ี 5.0000 0.4000
- 1-3 0.4000
- ร้อยละการเบกิ จ่ายเงินงบประมาณรายจา่ ย - 5.0000
งบลงทุน -
4 5.0000
มิติที่ 4 ดา้ นการพัฒนาองคก์ าร
100 ≥รอ้ ยละ 85 95.66 4.0000 -
30 ระดับความสำเร็จในการจัดทำชุดขอ้ มลู มาตรฐานที่
สามารถแลกเปลยี่ นกนั ไดอ้ ยา่ งไรร้ อยต่อ ≥รอ้ ยละ 45 50.87 1.0000 -
31 ร้อยละของบุคลากรในสงั กดั กรมสขุ ภาพจิตไดร้ บั ≥ร้อยละ 85 93.59 5.0000 0.2000
การพัฒนาให้มคี วามรู้ และทกั ษะดา้ นการใชข้ ้อมูล
สือ่ และเทคโนโลยดี จิ ิทลั (MIDL) 4.9355
- ร้อยละของบุคลากรในสงั กัดกรมสุขภาพจิตได้รับ
การพฒั นาให้มคี วามรู้ และทกั ษะดา้ นการใช้ขอ้ มูล
ส่ือ และเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล (MIDL) อยา่ งนอ้ ย 1
หลกั สูตร
- ร้อยละของบุคลากรในสงั กดั กรมสุขภาพจิตไดร้ ับ
การพัฒนาให้ความรู้ และทกั ษะดา้ นการใช้ข้อมลู
ส่อื และเทคโนโลยดี จิ ิทัล หลกั สูตรอื่นๆ ที่ไดร้ ับการ
พฒั นาเพ่มิ ในปี 2564
32 ร้อยละของการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใส
การดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจติ
(ITA)
รวม
1-8
ตารางท่ี 7 สรุปผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ตั ิราชการรอบ 11 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
ตารางสรุปผลการปฏบิ ัติราชการตามคำรบั รองการปฏบิ ัตริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแกน่ ราชนครินทร์ รอบ 11 เดือน
ลำ ัดบ ัตวช้ี ัวดตามคู่มือฯ ผลการดำเนนิ งาน
ตัวชี้วดั หน่วยวัด นำ้ หนกั เป้าหมาย ผลการ ค่าคะแนนท่ีได้ คะแนนถ่วง
(ร้อยละ) (11 เดอื น) ดำเนนิ งาน นำ้ หนกั
มิตทิ ่ี 1 ดา้ นประสทิ ธิผล 40 5.0000
5 ระดับความสำเรจ็ ในการส่งเสริมปอ้ งกนั ปญั หา 5 ระดับ 5 - 5.0000 0.2500
สุขภาพจิตผสู้ ูงอายใุ นสถานการณ์การแพรร่ ะบาด
ของเชอ้ื โรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) - ขั้นตอนที่ 1-2 1.0000 -
- รอ้ ยละความสำเร็จ รพ.สต./ศูนย์บรกิ าร - 81.23 2.0000 -
สาธารณสุขท่ีมกี ารดำเนนิ การเสริมสร้างภูมิคมุ้ กัน ระดบั ระดับ 5
ทางใจใหผ้ ้สู ูงอายุ
- 87.89 2.0000 -
- รอ้ ยละของผูส้ งู อายุที่เส่ียงต่อการมีปญั หา
สขุ ภาพจติ ไดร้ บั การดูแลทางสงั คมจติ ใจ รอ้ ยละ 5 ร้อยละ 82 129.65 5.0000 0.2500
6 ร้อยละของผปู้ ่วยโรคจติ เภทเขา้ ถงึ บรกิ ารสุขภาพจติ รอ้ ยละ 10 ร้อยละ 71 82.43 5.0000 0.5000
ทไ่ี ด้มาตรฐาน
ร้อยละ 3 ร้อยละ 85 94.23 5.0000 0.1500
7 ร้อยละของผ้ปู ว่ ยโรคซมึ เศรา้ เขา้ ถงึ บรกิ าร
สุขภาพจติ ท่ไี ดม้ าตรฐาน รอ้ ยละ 3 ร้อยละ 94 94.12 5.0000 0.1500
ร้อยละ 7 ร้อยละ 80 97.95 5.0000 0.3500
10 รอ้ ยละของผปู้ ระสบภาวะวกิ ฤตท่ีมีความเสีย่ งต่อ
ปัญหาสุขภาพจิตได้รบั การเยยี วยาจิตใจตาม ยกเลกิ การประเมนิ ตวั ชีว้ ัดน้ีลงสหู่ น่วยงานในรอบปีงบประมาณ 2564
มาตรฐานกรมสุขภาพจิต
รอ้ ยละ 7 รอ้ ยละ 80 97.38 5.0000 0.3500
11 ร้อยละของคนพกิ ารทางจิตใจหรือพฤตกิ รรมได้รับ
การดูแลฟ้นื ฟจู นมีคุณภาพชวี ิตทด่ี ขี น้ึ 20 5.0000
รอ้ ยละ 10 รอ้ ยละ 35 63.27 5.0000 0.5000
12 ร้อยละของประชาชนกล่มุ เส่ยี งภายใต้สถานการณ์
COVID-19 ใน 4 ประเดน็ (StB SuD: Stress, คะแนน 2 5 คะแนน 5.00 5.0000 0.1000
Burnout, Suicide, Depression) เขา้ ถึงบรกิ าร
สขุ ภาพจิตและได้รบั การเยยี วยาจติ ใจ 2 5.0000 0.1000
14 รอ้ ยละของผไู้ ด้รับผลกระทบจากภาวะวกิ ฤตทมี่ ี รอ้ ยละ - รอ้ ยละ 55 82.04 3.0000 -
ปญั หาสขุ ภาพจิตไดร้ ับการเยียวยาจติ ใจตาม ร้อยละ - รอ้ ยละ 66 99.63 2.0000 -
มาตรฐานกรมสขุ ภาพจิต สำหรบั กลมุ่ เสยี่ งใน
4 ประเด็น (ผมู้ ีภาวะเครยี ด, ผู้ทม่ี ภี าวะเหน่อื ยล้า ระดับ 6 ระดบั 5 ขน้ั ตอนท่ี 5.0000 0.3000
หมดไฟ, ผ้มู ีความเสี่ยงตอ่ การฆา่ ตวั ตาย, ผมู้ ีภาวะ 4-5
ซึมเศรา้ ) (ครบ 2 ขนั้ ตอน)
15 รอ้ ยละของประชาชนมีความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพจิตใน
สถานการณก์ ารระบาด COVID-19
มติ ิที่ 2 ดา้ นคณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร
17 ร้อยละของคลนิ กิ หมอครอบครวั (Primary Care
Unit: PCU) มีระบบ/กจิ กรรมในการดูแลสขุ ภาพจิต
และจติ เวชในชมุ ชน
18 ค่าคะแนนความสำเร็จของการพัฒนาไปสกู่ ารเป็น
Smart Hospital ของหน่วยบรกิ ารจิตเวช
19 รอ้ ยละของประชาชนมีความรอบร้ดู า้ นสุขภาพจิต
และมพี ฤติกรรมสขุ ภาพจิตทพี่ ึงประสงค์
- ร้อยละของประชาชนมีความรอบรู้ดา้ นสุขภาพจติ
- ร้อยละของประชาชนมพี ฤติกรรมสขุ ภาพจติ ท่พี ึง
ประสงค์
20 ระดับความสำเรจ็ ของการพัฒนาไปสูก่ ารเปน็ องคก์ ร
แห่งความสขุ (Happy Organization)
1-9
ตารางท่ี 7 สรปุ ผลการปฏบิ ัติราชการตามคำรับรองการปฏบิ ตั ิราชการรอบ 11 เดือน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
ตารางสรปุ ผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
โรงพยาบาลจติ เวชขอนแกน่ ราชนครินทร์ รอบ 11 เดอื น
ลำ ัดบ ัตวช้ี ัวดตามคู่มือฯ ผลการดำเนินงาน
ตัวชว้ี ัด หนว่ ยวดั นำ้ หนกั เปา้ หมาย ผลการ คา่ คะแนนทไี่ ด้ คะแนนถว่ ง
(ร้อยละ) (11 เดือน) ดำเนินงาน น้ำหนกั
มิตทิ ่ี 3 ดา้ นประสทิ ธิภาพของการปฏบิ ัติราชการ รอ้ ยละ 20 4.9200 0.0500
ร้อยละ 1 ร้อยละ 50 93.71 5.0000 0.2500
22 ร้อยละของผปู้ ว่ ยโรคจติ เภทได้รบั การรกั ษาตอ่ เน่ือง
ภายใน 6 เดอื น ร้อยละ 5 รอ้ ยละ 55 81.37 5.0000
รอ้ ยละ
23 รอ้ ยละของผู้ป่วยจิตเวชยาเสพติดที่เขา้ สู่ ร้อยละ 5 ร้อยละ 90 97.07 5.0000 0.2500
กระบวนการบำบัดรักษาได้รับการดูแลอย่างมี 2.5 ร้อยละ 65 100.0 5.0000 0.1250
คณุ ภาพตอ่ เน่ืองจนถงึ การตดิ ตาม (Retention -
Rate) 2 ร้อยละ 45 62.00 5.0000 0.1000
รอ้ ยละ 5.0000 0.1250
24 รอ้ ยละของผู้พยายามฆา่ ตวั ตายไมก่ ลับมาทำรา้ ย 2.5 - -
ตัวเองซำ้ ในระยะเวลา 1 ปี ร้อยละ
- ≥รอ้ ยละ 92 100.0 2.0000 -
25 ร้อยละของผปู้ ่วยจติ เวชที่เขา้ รับการบำบัดรกั ษาและ ≥0
จำหน่ายตามพระราชบญั ญตั ิสุขภาพจิตได้รับการ ≥0 - ≥รอ้ ยละ 96 100.0 3.0000 -
ติดตามตอ่ เนือ่ งครบ 1 ปี ≥0
ร้อยละ 1 ≥0 5.0000 0.0500
26 รอ้ ยละของผู้ป่วยโรคซึมเศรา้ หายทเุ ลา - ≥0 0.29 5.0000 0.0340
(Full remission) ระดับ - ≥0 4.60 5.0000
1 3.4000 0.4000
27 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชท่มี คี วามเสยี่ งสงู ต่อการกอ่ 0.4000
ความรนุ แรง (SMI-V) ทไี่ ด้รับการตดิ ตามเฝ้าระวงั รอ้ ยละ 95 109.15 3.0000
จากหนว่ ยบริการจิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิตและ
เครือขา่ ยในเขสขุ ภาพไม่กอ่ ความรุนแรงซำ้ ภายใน ร้อยละ 70 18.43 0.4000
1 ปี
20 5.0000
- รอ้ ยละของผปู้ ่วยจิตเวชท่มี ีความเส่ยี งสงู ตอ่ การกอ่ 5.0000
ความรนุ แรง (SMI-V) ในพื้นทร่ี บั ผดิ ชอบไดร้ บั การ 8 ระดับ 5 ข้ันตอนท่ี
ตดิ ตามเฝ้าระวงั จากหนว่ ยบริการจติ เวชในสงั กดั กรม 5.0000
สุขภาพจิตและเครอื ข่ายในเขสขุ ภาพตามแนวทางที่ 3-5
กำหนด
8- -
- รอ้ ยละของผ้ปู ่วยจติ เวชที่มีความเสยี่ งสงู ตอ่ การก่อ
ความรนุ แรง (SMI-V) ท่ีได้รบั การติดตามเฝา้ ระวัง
จากหนว่ ยบรกิ ารจติ เวชในสังกัดกรมสขุ ภาพจติ และ
เครือข่ายในเขตสขุ ภาพไมก่ อ่ ความรุนแรงซ้ำ ภายใน
1 ปี
28 คา่ EUI ของหนว่ ยงานในสงั กัดกรมสขุ ภาพจติ
- ไฟฟา้
- นำ้ มัน
29 รอ้ ยละการเบกิ จา่ ยเงินงบประมาณรายจ่าย
งบดำเนินงานและงบลงทุน
-ร้อยละการเบิกจา่ ยเงินงบประมาณรายจ่ายงบ
ดำเนนิ งาน
-ร้อยละการเบิกจา่ ยเงินงบประมาณรายจา่ ยงบ
ลงทุน
มิติท่ี 4 ดา้ นการพฒั นาองคก์ าร
30 ระดับความสำเร็จในการจดั ทำชุดข้อมูลมาตรฐานท่ี
สามารถแลกเปลย่ี นกนั ไดอ้ ยา่ งไรร้ อยตอ่
31 รอ้ ยละของบุคลากรในสงั กดั กรมสขุ ภาพจิตไดร้ บั
การพฒั นาใหม้ คี วามรู้ และทกั ษะดา้ นการใช้ข้อมลู
สื่อ และเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (MIDL)
1-10
ตารางที่ 7 สรุปผลการปฏิบตั ิราชการตามคำรับรองการปฏบิ ตั ริ าชการรอบ 11 เดอื น ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
ตารางสรปุ ผลการปฏบิ ตั ิราชการตามคำรับรองการปฏิบัตริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
โรงพยาบาลจติ เวชขอนแกน่ ราชนครนิ ทร์ รอบ 11 เดือน
ลำ ัดบ ัตวช้ี ัวดตามคู่มือฯ ผลการดำเนนิ งาน
ตัวชี้วดั หน่วยวดั นำ้ หนกั เปา้ หมาย ผลการ คา่ คะแนนทีไ่ ด้ คะแนนถว่ ง
(รอ้ ยละ) (11 เดอื น) ดำเนนิ งาน น้ำหนัก
-ร้อยละของบุคลากรในหนว่ ยงานที่ไดร้ ับการพฒั นา รอ้ ยละ - ร้อยละ 100 100.0 4.0000 -
ใหม้ ีความรู้ และทกั ษะดา้ นการใชข้ ้อมลู สอ่ื และ รอ้ ยละ
เทคโนโลยดี ิจิทัล (MIDL) อยา่ งน้อย - ≥ร้อยละ 60 70.87 1.0000 -
1 หลกั สตู ร -
ร้อยละ 4- - 5.0000 0.2000
- ร้อยละของบคุ ลากรในหนว่ ยงานท่ีได้รบั การพฒั นา รอ้ ยละ
ให้ความรู้ และทกั ษะดา้ นการใช้ข้อมูล สื่อ และ - ≥รอ้ ยละ 70 75.15 2.0000 -
เทคโนโลยดี จิ ิทลั หลกั สตู รอ่นื ๆ ที่ได้รับการพัฒนา
เพมิ่ ในปี 2564 - ≥ร้อยละ 70 80.00 3.0000
100.0
32 รอ้ ยละของผลการประเมินคุณธรรมและความ 4.9840
โปรง่ ใสในการดำเนนิ งานของหนว่ ยงานในสงั กัดกรม
สขุ ภาพจิต (ITA)
- ร้อยละของผู้เข้าทำแบบสำรวจความคดิ เหน็ ดา้ น
คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนนิ งานของ
หน่วยงาน
- ร้อยละของผลการประเมนิ หนว่ ยงานคณุ ธรรม
รวม
1-11
สรุปผลการปฏิบตั ริ าชการ
ตามคารบั รอง
ขอ้ มลู ดา้ นการเงิน
การปฏบิ ัตริ าชการประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564
24
รายการ 2562 2563 2564
รายรับ
รายรับจากงบประมาณ -
รายรับจากการดาเนินงาน 113,106,406.27 119,982,515.30 119,888,824.55
รายรับดอกเบ้ยี เงินฝาก 212,383.20 181,519.52 140,364.14
รายรับอ่ืน ๆ 1,802,410.53 4,487,781.81 6,614,751.09
รวมรายรับ 115,121,200.00 124,651,816.63 126,643,939.78
(เพ่ิมข้ึนร้อยละ 8.28) (เพ่ิมขึ้นร้อยละ 1.60)
รายจ่าย
รายจ่ายบุคลากร 16,656,664.06 17,437,754.08 17,334,792.66
รายจ่ายจากการดาเนินงาน(ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ) 97,653,369.33 104,818,017.19 112,280,317.46
ค่าครุภัณฑ์ 6,824,315.30 9,458,007.00 5,011,500.00
ค่าที่ดินและส่ิงก่อสร้าง - - 60,000.00
รายจ่ายอื่น ๆ/เงนิ อุดหนุน 1,250,000.00 3,236,000.00 1,700,000.00
รวมรายจ่าย 122,384,348.69 134,949,778.27 136,386,610.12
(เพ่ิมข้ึนร้อยละ 10.27) (เพ่ิมข้ึนร้อยละ 1.06)
รายรับสูง (ตา่ ) กว่ารายจ่ายสุทธิ (7,263,148.69) (10,297,961.64) (9,742,670.34)
หัก นาส่งรายไดแ้ ผ่นดิน -- -
รายรับสูง (ต่า) กว่ารายจ่ายสทุ ธิหลงั หักนาสง่ รายได้แผ่นดนิ (7,263,148.69) (10,297,961.64) (9,742,670.34)
บวก เงินคงเหลือสะสมยกมา 78,316,466.82 71,053,318.13 60,755,356.49
เงินคงเหลือท้ังส้ิน 71,053,318.13 60,755,356.49 51,012,686.15
(ลดลงร้อยละ 14.49) (ลดลงร้อยละ 16.04)
ที่มา : กลุ่มงานการเงนิ และบัญชี ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2564
1-12
รายงานการรับ - จ่ายเงินและเงินบารุงคงเหลือ เทียบกับปีทแ่ี ล้ว
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และ 2563
2564 2563 เพิ่ม(ลด)ร้อยละ
รายรับ 119,888,824.55 119,982,515.30 - 0.08
รายรับจากงบประมาณ 140,364.14 181,519.52 - 22.67
รายรับจากการดาเนินงาน 47.39
รายรับดอกเบยี้ เงินฝาก 6,614,751.09 4,487,781.81 1.60
รายรับอื่น ๆ 126,643,939.78 124,651,816.63
รวมรายรับ
รายจ่าย 17,334,792.66 17,437,754.08 - 0.59
รายจ่ายบุคลากร 112,280,317.46 104,818,017.19 7.12
รายจ่ายจากการดาเนินงาน(ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสด)ุ - 47.01
ค่าครุภัณฑ์ 5,011,500.00 9,458,007.00
ค่าท่ีดินและส่ิงก่อสร้าง 60,000.00 - - 47.47
รายจ่ายอื่น ๆ/เงินอุดหนุน 1.06
1,700,000.00 3,236,000.00 - 5.39
รวมรายจ่าย 136,386,610.12 134,949,778.27
รายรับสูง (ตา่ ) กว่ารายจ่ายสุทธิ (10,297,961.64) - 5.39
หัก นาส่งรายไดแ้ ผน่ ดนิ (9,742,670.34) - 14.49
รายรับสูง (ตา่ ) กว่ารายจ่ายสุทธิหลังหักนาส่งรายได้แผ่นดิน - - - 16.04
บวก เงินคงเหลือสะสมยกมา (10,297,961.64) - 37.52
เงินคงเหลือทง้ั ส้ิน (9,742,670.34) 71,053,318.13 - 14.69
หัก ภาระผกู พัน 60,755,356.49 60,755,356.49
เงินคงเหลือหลังหักภาระผกู พนั 51,012,686.15
2,242,094.94 3,588,299.03
48,770,591.21 57,167,057.46
1-13
2564 2563 เพิ่ม(ลด)ร้อยละ
เงินคงเหลือท้งั สิ้น ประกอบด้วย 10,880,847.19 1,763,283.07 517.08
เงินสด - -
เงินฝากคลัง
เงินฝากธนาคาร 39,818,435.96 57,739,597.42 - 31.04
ประเภทประจา 313,403.00 1,252,476.00 - 74.98
- 3 เดือน 58,992,073.42 - 31.97
- 6 เดือน 40,131,838.96 60,755,356.49 - 16.04
- 9 เดือน 51,012,686.15
- 12 เดือน
- 24 เดือน
- มากกว่า 2 ปีขึ้นไป
ประเภทออมทรัพย์
ประเภทกระแสรายวัน
รวมเงินฝากธนาคาร
รวมเงินคงเหลือทง้ั ส้ิน
การวิเคราะห์
1. รายรับ ปีงบประมาณ 2564 เพิ่มข้ึน จากปีท่ีแล้ว เน่ืองมาจาก
1.1 มีการปรับเปลี่ยนการบันทึกบัญชีเงนิ จัดสรรงบค่าเส่ือม ให้สอดคล้องกับประกาศกระทรวงสาธารณสุขปี 2559 คือ
เมื่อรับเงินโอนให้มีการบันทึกเป็นรับรู้เป็นรายรับเงนิ บารุง โดยค่าเส่ือมปี 2563 ได้บบันทึกเป็นรายได้เงินบารุงในปี 2564
1.2 ได้รับจัดสรรงบเงินวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ ด้านวิจัยและนวัตกรรม
2. รายจ่าย ปีงบประมาณ 2564 ใช้จ่ายมากกว่ารายรับ เนื่องจาก
2.1 สถานะการณร์ ะบาดของเชื้อโรคไวรัส COVID-19 และหน่วยงานปรับนโยบายในการเก็บรักษาค่าพยาบาล
โดยเป็นสถานพยาบาลรับรักษาผู้ติดเชื้อไวรัส COVID-19 จึงทาให้มีค่าใช้จ่ายเป็นค่าตอบแทนสาหรับเจ้าหน้าท่ี
ในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มน้ีอีกทัง้ ค่าใช้จ่ายด้านอุปกรณ์การแพทย์และวัสดุวิทยาศาสตร์ทใ่ี ช้ในภาวะระบาดของเช้ือโรคไวรัส
COVID-19 และค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงสถานที่รองรับก็สูงข้ึนสอดคล้องกัน
2.1 การสนับสนุนเงินบารุงให้แก่หน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิตท่ีอยู่ในพน้ื ทีจ่ ังหวัดขอนแก่น มากถึง 1.7 ล้านบาท
1-14
ประเภทเงินประกันสัญญา/เงินรับฝาก
รายงานการรับ - จ่ายเงินและเงินคงเหลือเทียบกับปีที่แล้ว
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และ 2563
2564 2563 เพ่ิม(ลด)ร้อยละ
รายรับ - - 41.69
รายรับจากงบประมาณ - - 41.69
รายรับจากการดาเนินงาน 784,691.00 553,801.30
รายรับดอกเบย้ี เงินฝาก 784,691.00 553,801.30
รายรับอ่ืน ๆ
รวมรายรับ
รายจ่าย - - - 61.19
รายจ่ายบุคลากร - - 61.19
รายจ่ายจากการดาเนินงาน(ค่าตอบแทนใช้จ่ายและวัสด)ุ - - - 300.75
ค่าครุภัณฑ์ - - -
ค่าทดี่ ินและส่ิงก่อสร้าง 844,596.35 523,961.20 300.75
รายจ่ายอ่ืน ๆ 844,596.35 523,961.20 36.16
รวมรายจ่าย (59,905.35) 29,840.10 3.76
รายรับสูง (ต่า) กว่ารายจ่ายสุทธิ - -
หัก นาส่งรายได้แผน่ ดนิ (59,905.35) 29,840.10 3.76
รายรับสูง (ตา่ ) กว่ารายจ่ายสุทธิหลังหักนาส่งรายได้แผ่นดิน 824,227.35 3.76
บวก เงินคงเหลือสะสมยกมา 764,322.00 29,843.86
เงินคงเหลือทัง้ ส้ิน - -
หัก ภาระผกู พนั 764,322.00 29,843.86
เงินคงเหลือหลังหักภาระผกู พัน
1-15
2564 2563 เพ่ิม(ลด)ร้อยละ
เงินคงเหลือท้ังสิ้น ประกอบด้วย 764,322.00 824,227.35 - 7.27
เงินสด - -
เงินฝากคลัง
เงินฝากธนาคาร - - 7.27
ประเภทประจา
- 3 เดือน - -
- 6 เดือน 764,322.00 824,227.35 -
- 9 เดือน
- 12 เดือน
- 24 เดือน
- มากกว่า 2 ปีขึ้นไป
ประเภทออมทรัพย์
ประเภทกระแสรายวัน
รวมเงินฝากธนาคาร
รวมเงินคงเหลือทงั้ สิ้น
การวิเคราะห์
รายรับท่ปี รากฏเป็นการรับเงนิ ประกันสัญญา กรณี คา้ ประกันด้วยเงนิ สด และจ่ายคืนเมื่อพ้นภาระผูกพัน
ทัง้ น้ี ปีงบประมาณ 2564 มีจานวนเงินค้าประกันเพมิ่ ข้ึน ทั้งกิจกรรมด้านรับและด้านจ่าย
1-16
ประเภทเงินบริจาค/เงินอุดหนุน
รายงานการรับ - จ่ายเงินและเงินคงเหลือ เทียบกับปีที่แล้ว
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และ 2563
2564 2563 เพ่ิม(ลด)ร้อยละ
รายรับ - -
รายรับจากงบประมาณ - -
รายรับจากการดาเนินงาน 8,977,500.00 -
รายรับดอกเบ้ยี เงนิ ฝาก 8,977,500.00 -
รายรับอื่น ๆ
รวมรายรับ
รายจ่าย - -
รายจ่ายบุคลากร - -
รายจ่ายจากการดาเนินงาน(ค่าตอบแทนใช้จ่ายและวัสด)ุ - -
ค่าครุภัณฑ์ - -
ค่าท่ีดินและส่ิงก่อสร้าง 1,095,766.00 -
รายจ่ายอื่น ๆ 1,095,766.00 -
รวมรายจ่าย 7,881,734.00 -
รายรับสูง (ต่า) กว่ารายจ่ายสุทธิ - -
หัก นาส่งรายไดแ้ ผ่นดิน 7,881,734.00 -
รายรับสูง (ต่า) กว่ารายจ่ายสุทธิหลังหักนาส่งรายได้แผ่นดิน - -
บวก เงินคงเหลือสะสมยกมา 7,881,734.00 -
เงินคงเหลือทง้ั สิ้น - -
หัก ภาระผูกพัน 7,881,734.00 -
เงินคงเหลือหลังหักภาระผูกพนั
1-17
เงินคงเหลือท้งั ส้ิน ประกอบดว้ ย 7,881,734.00 -
เงินสด - -
เงินฝากคลัง
เงินฝากธนาคาร - -
ประเภทประจา
- 3 เดือน - -
- 6 เดือน 7,881,734.00 -
- 9 เดือน
- 12 เดือน
- 24 เดือน
- มากกว่า 2 ปีข้ึนไป
ประเภทออมทรัพย์
ประเภทกระแสรายวัน
รวมเงินฝากธนาคาร
รวมเงินคงเหลือทง้ั ส้ิน
การวิเคราะห์
รายรับปีงบประมาณ 2564 ข้างต้นเป็นการได้รับจัดสรรงบเงนิ อุดหนุนโครงการวิจัยจากกรมสุขภาพจิต
จานวน 8,977,500.00 บาท โอนลักษณะเข้าบัญชีฝากคลังเป็นปีแรก
1-18
สรุปผลการปฏิบตั ิราชการ
ตามคารับรอง
ขอ้ มลู ดา้ นการใหบ้ รกิ าร
การปฏิบตั ริ าชการประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564
ตารางที่ 1 ข้อมลู การมารับบริการ ใหม่(คน) ผปู้ ว่ ยนอก รวม(ราย) ผู้ปว่ ยรบั ไวร้ กั ษา
5,920 เกา่ (ราย) 94,267 3,359
ขอ้ มูลท่ัวไป 3,674 88,347 54,014 2,709
2,246 50,340 40,253 650
เพศ 38,007
- ชาย
- หญิง 3,576 45,003 48,579 2,489
1,855 33,361 35,216 492
สถานภาพสมรส 43
- โสด 160 3,150 3,310 256
- คู่ 200 4,793 4,993 65
- แยกกนั อยู่ 92 686 778 13
- หยา่ 35 1,229 1,264 1
- หมา้ ย
- สมณะ 2 125 127
- ไม่ระบุ
1,583 30,783 32,366 909
อาชีพ 1,920 27,213 29,133 1,317
- เกษตรกร 1,635 18,539 20,174
- นกั เรยี น/นักศกึ ษา/แม่บา้ น 903
- รับจ้าง/ผใู้ ช้แรงงาน 329 4,895 5,224 120
- ค้าขาย/ธุรกิจสว่ นตวั 402 6,302 6,704 103
- รบั ราชการ/รัฐวสิ าหกิจ 51 615 666
- อ่นื ๆ 7
สิทธิการรักษา 3,120 20,719 23,839 15
- ชำระเงนิ เอง 63 685 748 4
- ต้นสังกดั 498 9,477 9,975 105
- กรมบัญชีกลาง 80 1,295 1,375 16
- องคก์ ารปกครองสว่ นท้องถนิ่ 2 52 54 2
- ขา้ ราชการกรุงเทพมหานคร 2,436
- บัตรประกันสขุ ภาพ 1,597 28,555 30,152 633
- บตั รประกันสุขภาพผู้พิการ 213 22,002 22,215 146
- บัตรประกนั สงั คม 316 4,339 4,655 -
- สทิ ธลิ ดหย่อนประเภท ข. 24 1,132 1,156 2
- พรบ.คมุ ประพฤติ -
7 89 96
- บคุ คลทม่ี ปี ัญหาสถานะ และสทิ ธิ -22
1-19
ตารางที่ 1 ข้อมลู การมารับบรกิ าร(ตอ่ )
ข้อมูลทั่วไป ผู้ป่วยนอก ผ้ปู ่วยรบั ไวร้ กั ษา
จังหวัดท่ีผปู้ ่วยมีภมู ิลำเนาอยู่ ใหม่ (คน) เกา่ (ราย) รวม(ราย)
- ขอนแก่น
- มหาสารคาม 2,873 47,787 50,660 1,624
- รอ้ ยเอด็ 758 10,859 11,617 552
- กาฬสินธุ์ 142 1,755 1,897 59
- นอกเขตพื้นท่รี บั ผิดชอบ 800 9,579 10,379 634
490
1,347 18,367 19,714
ตารางท่ี 2 แสดงจำนวนผ้ปู ่วยนอกและผู้ป่วยรบั ไวร้ กั ษา (ราย) จำแนกตามเพศและชว่ งอายุ
ช่วงอายุ นอกใหม่ นอกเก่า นอกทัง้ หมด ผปู้ ่วยรบั ไวร้ ักษา
(ปี)
0-4 ชาย หญงิ ชาย หญงิ ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม
5-9
10-14 -1 - - -11 -- -
15-19
20-24 9 5 21 6 30 11 41 -- -
25-29
30-34 23 21 60 37 83 58 141 8 8 16
35-39
40-44 223 199 960 948 1,183 1,147 2,330 110 77 187
45-49
50-54 565 259 4,321 1,982 4,886 2,241 7,127 388 65 453
55-59
60-64 618 217 5,670 2,058 6,288 2,275 8,563 598 73 671
65-69
70-74 515 187 5,621 2,330 6,136 2,517 8,653 418 72 490
75-79
80-84 421 172 6,037 2,578 6,458 2,750 9,208 372 81 453
85+
รวม 363 167 7,047 3,398 7,410 3,565 10,975 337 84 421
268 165 6,218 4,039 6,486 4,204 10,690 222 62 284
182 207 4,736 4,347 4,918 4,554 9,472 130 56 186
143 164 3,332 4,432 3,475 4,596 8,071 79 39 118
98 114 2,368 3,494 2,466 3,608 6,074 29 17 46
100 143 1,564 3,325 1,664 3,468 5,132 8 12 20
64 113 1,083 2,457 1,147 2,570 3,717 23 5
50 61 709 1,398 759 1,459 2,218 31 4
20 27 400 701 420 728 1,148 4- 4
12 24 193 477 205 501 706 1- 1
3,674 2,246 50,340 38,007 54,014 40,253 94,267 2,709 650 3,359
1-20
ตารางท่ี 3 แสดงข้อมูลจำนวน (ราย) ผู้มารับบรกิ ารจำแนกตามกลุ่มวยั
กลมุ่ โรค วยั รวม รบั ไว้
เดก็ แรงงาน สงู อายุ ผ้ปู ่วย รกั ษา
ความผิดปกติทางจติ ใจที่มสี าเหตุจากโรคทางกาย นอก
(F00 – F09) 1 – 19ปี 20 – 59 ปี 60 ปีขน้ึ ไป
ความผดิ ปกติทางจติ และพฤติกรรมเนอื่ งจากการใช้ 3,267 17
วัตถุออกฤทธ์ิต่อจติ ประสาท (F10 – F19) 45 1,181 2,041
จิตเภท, พฤติกรรมแบบจิตเภทและความหลงผดิ
(F20 – F29) 734 14,631 379 15,744 1,755
ความผิดปกตทิ างดา้ นอารมณ์(F30 –F39)
240 33,010 4,188 37,438 1,213
โรคประสาท ความเครียด และอาการทางกายทเี่ กิด 939 10,825 3,970 15,734 239
จากจติ ใจ (F40 – F48) 219 7,128 5,887 13,234 29
ความผิดปกติของพฤตกิ รรมที่เกี่ยวเนอ่ื งจากความ
ผดิ ปกติทางรา่ งกาย และสรรี วิทยา (F50 – F59) 4 602 726 1,332 0
ความผิดปกติของพฤติกรรมและบคุ ลกิ ภาพในผู้ใหญ่
(F60 – F69) 27 271 6 304 8
ภาวะปัญญาอ่อน (F70 – F79)
50 1,076 - 1,126 10
ความผิดปกติของพัฒนาการทางจติ ใจ(F80 – F89) 56 160 - 216 15
ความผดิ ปกตทิ างพฤตกิ รรมและอารมณท์ ่เี ร่มิ ในเดก็ 86 68 - 154 8
และวยั ร่นุ (F90 – F98)
โรคระบบประสาท(G00 – G99) 12 1,483 1,433 2,928 22
101 2,324 365 2,790 43
โรคอ่ืนๆ 2,513 72,759 18,995 94,267 3,359
รวม
1-21
ตารางท่ี 4 แสดงจำนวนผู้ปว่ ยนอกใหม่ (คน) จำแนกตามโรคหลกั 10 ลำดับแรก
ลำดับ ICD - 10 ช่อื โรค ชาย หญงิ รวม
1,126 106 1,232
1 F15 Mental and behavioural disorder due to use of
other stimulants, including caffeine 202 448 650
2 F32 Depressive episode 579 28 607
Mental and behavioural disorders due to 140 339 479
132 331 463
3 F19 multiple drug use and use of other
370 31 401
psychoactive substances
223 95 318
4 F41 Other anxiety disorder 139 87 226
71 96 167
5 F43 Reaction to severe stress, and adjustment 93 53 146
disorder 599 632 1,231
3,674 2,246 5,920
6 F10 Mental and behavioural disorder due to use of
alcohol
7 F20 Schizophrenia
8 F23 Acute and transient Psychosis disorders
9 F51 Nonorganic sleep disorders
10 Z00 General examination
other
รวม
1-22
ตารางที่ 5 แสดงจำนวนผูป้ ่วยนอกเกา่ (ราย) จำแนกตามโรคหลกั 10 ลำดบั แรก
ลำดบั ICD - 10 ชอ่ื โรค ชาย หญงิ รวม
1 F20 21,278 9,511 30,789
2 F41 Schizophrenia 2,853 7,278 10,131
3 F32 2,642 6,522 9,164
4 F15 Other anxiety disorder 4,975 579 5,554
5 F19 Depressive episode 3,964 246 4,210
Mental and behavioural disorder due to
6 F31 use of other stimulants, including caffeine 1,639 2,423 4,062
7 F10 Mental and behavioural disorders due to 3,032 220 3,252
8 F23 multiple drug use and use of other 1,244 1,009 2,253
9 F25 psychoactive substances 1,008 1,200 2,208
10 F06 Bipolar affective disorder 928 757 1,685
Mental and behavioural disorder due to
- use of alcohol 6,777 8,262 15,039
50,340 38,007 88,347
Acute and transient Psychosis disorders
Schizoaffective disorder
Other mental disorder due to brain
damage and dysfunction and to physical
disease
other
รวม
1-23
ตารางท่ี 6 แสดงจำนวนผู้ปว่ ยนอกทั้งหมด ครั้ง จำแนกตามโรคหลกั 10 ลำดบั แรก
ลำดับ ICD - 10 ช่ือโรค ชาย หญิง รวม
21,501 9,606 31,107
1 F20 Schizophrenia 2,993 7,617 10,610
2,844 6,970 9,814
2 F41 Other anxiety disorder 6,786
6,101 685
3 F32 Depressive episode 4,817
4 F15 Mental and behavioural disorder due to 4,161
use of other stimulants, including caffeine 3,653
2,479
Mental and behavioural disorders due to 2,217
2,053
5 F19 multiple drug use and use of other 4,543 274
16,570
psychoactive substances 1,675 2,486 94,267
3,402 251
6 F31 Bipolar affective disorder 1,383 1,096
1,014 1,203
7 F10 Mental and behavioural disorder due to
use of alcohol 620 1,433
8 F23 Acute and transient Psychosis disorders 7,938 8,632
54,014 40,253
9 F25 Schizoaffective disorder
10 F43 Reaction to severe stress, and adjustment
disorder
other
รวม
1-24
ตารางท่ี 7 แสดงจำนวนผู้ปว่ ยรับไว้รกั ษา (ราย) จำแนกตามโรคหลกั 10 ลำดับแรก
ลำดับ ICD - 10 ช่อื โรค ชาย หญงิ รวม
1,024
1 F20 Schizophrenia 793 231
798
2 F15 Mental and behavioural disorders due to 721 77
use of other stimulants, including caffeine 713
Mental and behavioural disorders due to 672 41 206
3 F19 multiple drug use and use of other 115
111
psychoactive substances 84
76
4 F10 Mental and behavioural disorder due to 197 9 31
use of alcohol 29
5 F32 Depressive episode 34 81 172
3,359
6 F31 Bipolar affective disorder 49 62
7 F23 Acute and transient psychotic disorders 55 29
8 F25 Schizoaffective disorder 43 33
9 Z29 Isolation 16 15
10 F12 Mental and behavioural disorders due to 29 -
use of cannabinoids
other 100 72
รวม 2,709 650
1-25
ตารางท่ี 8 แสดงจำนวนผู้ปว่ ยจำหนา่ ย (ราย) จำแนกตามโรคหลกั 10 ลำดับแรก
ลำดับ ICD - 10 ชือ่ โรค ชาย หญิง รวม
1 F20 Schizophrenia 828 246 1074
2 F15 Mental and behavioural disorders due to use of other 719 77 796
3 F19 stimulants, including caffeine
Mental and behavioural disorders due to multiple drug 702 38 740
use and use of other psychoactive substances
4 F10 Mental and behavioural disorder due to use of alcohol 185 10 195
5 F32 Depressive episode 40 87 127
6 F31 Bipolar affective disorder 57 67 124
7 F23 Acute and transient psychotic disorders 55 29 84
8 F25 Schizoaffective disorder 42 37 79
9 Z29 Isolation 16 15 31
10 F12 Mental and behavioural disorders due to use of 25 1 26
cannabinoids
- other 103 55 158
รวม 2,772 662 3,434
1-26
ตารางท่ี 9 แสดงจำนวนผปู้ ว่ ยนอกและผปู้ ่วยรับไว้รักษาจังหวัดขอนแกน่ จำแนกตามภูมิลำเนาผู้ปว่ ย
อำเภอ ประเภทผู้ปว่ ย
เมอื งขอนแกน่ นอกใหม่(คน) นอกเก่า(ราย) นอกทัง้ หมด(ราย) รบั ไว้รกั ษา(ราย)
บ้านฝาง
พระยืน 942 17,171 18,113 471
หนองเรอื
ชมุ แพ 114 1,879 1,993 53
สชี มพู
น้ำพอง 73 1,406 1,479 27
อบุ ลรตั น์
กระนวน 144 2,578 2,722 71
บ้านไผ่
เปอื ยน้อย 75 1,290 1,365 40
พล
แวงใหญ่ 61 694 755 39
แวงน้อย
หนองสองห้อง 227 3,821 4,048 123
ภเู วยี ง
มัญจาคีรี 56 987 1,043 40
ชนบท
เขาสวนกวาง 210 2,551 2,761 137
ภูผามา่ น
ซำสูง 134 2,401 2,535 98
โคกโพธิ์ไชย
หนองนาคำ 23 226 249 12
บา้ นแฮด
โนนศลิ า 66 984 1,050 51
รวม 30 395 425 23
40 699 739 22
59 752 811 25
97 1,985 2,082 63
132 1,833 1,965 85
97 1,305 1,402 54
58 1,014 1,072 40
12 282 294 3
62 1,084 1,146 38
30 478 508 22
33 372 405 29
74 1,114 1,188 42
24 486 510 16
2,873 47,787 50,660 1,624
1-27
ตารางที่ 10 แสดงจำนวนผ้ปู ว่ ยนอกและผปู้ ่วยรับไว้รกั ษาจงั หวัดมหาสารคามจำแนกตามภมู ิลำเนาผู้ปว่ ย
อำเภอ ประเภทผู้ปว่ ย
เมอื งมหาสารคาม นอกใหม่(คน) นอกเก่า(ราย) นอกทง้ั หมด(ราย) รบั ไว้รกั ษา(ราย)
แกดำ
โกสมุ พสิ ยั 92 1,104 1,196 78
กนั ทรวิชยั
เชียงยืน 14 293 307 12
บรบือ
นาเชือก 125 2,294 2,419 57
พยัคฆภมู ิพสิ ยั
วาปปี ทมุ 74 1,288 1,362 45
นาดูน
ยางสีสรุ าช 97 2,088 2,185 82
กุดรงั
ช่ืนชม 87 548 635 84
รวม 51 501 552 34
29 393 422 23
67 962 1,029 59
19 264 283 17
15 178 193 10
27 300 327 19
61 646 707 32
758 10,859 11,617 552
1-28
ตารางที่ 11 แสดงจำนวนผปู้ ว่ ยนอกและผปู้ ่วยรบั ไวร้ ักษาจังหวัดร้อยเอด็ จำแนกตามภูมลิ ำเนาผปู้ ่วย
อำเภอ ประเภทผปู้ ่วย
เมอื งร้อยเอ็ด นอกใหม่(คน) นอกเก่า(ราย) นอกทง้ั หมด(ราย) รบั ไว้รักษา(ราย)
เกษตรวิสัย
ปทมุ รัตน์ 24 304 328 13
จตุรพกั ตรพิมาน
ธวชั บุรี 12 127 139 4
พนมไพร
โพนทอง 11 85 96 6
โพธ์ิชยั
หนองพอก 14 123 137 3
เสลภูมิ
สวุ รรณภูมิ 10 172 182 3
เมอื งสรวง
โพนทราย 4 46 50 2
อาจสามารถ
เมยวดี 15 142 157 6
ศรีสมเด็จ
จงั หาร 3 77 80 2
เชยี งขวัญ
หนองฮี 3 83 86 1
ท่งุ เขาหลวง
13 111 124 2
รวม
10 71 81 7
2 10 12 1
2 35 37 0
6 78 84 6
1 55 56 0
4 119 123 2
7 85 92 1
-9 90
1 13 14 0
- 10 10 0
142 1,755 1,897 59
1-29