The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบรายงานผลการทดสอบการอ่าน RT ปีการศึกษา2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แบบรายงานผลการทดสอบการอ่าน RT ปีการศึกษา2563

แบบรายงานผลการทดสอบการอ่าน RT ปีการศึกษา2563

รายงานผลการประเมินความสามารถ
ดา้ นการอ่านของผเู้ รยี น (Reading Test : RT)
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ปีการศึกษา 2563

กล่มุ นิเทศ ติดตาม และประเมินผล
สานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั อุบลราชธานี

สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารเลขที่ 9/2564

1

คำนำ

กระทรวงศึกษาธิการ เล็งเห็นความสาคัญของการยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยมีนโยบายให้
ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใหค้ วามสาคัญกับการจัดการศึกษาที่มีระบบเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนไปสูค่ วาม
เป็นพลเมืองท่ีสมบูรณ์ สามารถดารงตนในสังคมอย่างปกติสุข การอ่านและการเขียน เป็นทักษะหนึ่งที่จาเปน็
อย่างยง่ิ สาหรับการเรยี นรู้ และการพัฒนาชวี ติ สู่ความสาเรจ็ เพราะจะนามาซ่ึงความรู้และสง่ เสรมิ ให้เกิดการคิด
วิเคราะห์ มีวิจารณญาณ แยกแยะ และประยุกต์ใช้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อชีวิต พร้อมท้ังสามารถถ่ายทอด
ส่ือสารความรู้ ความคดิ ใหผ้ ู้อ่นื ทราบและเข้าใจได้ ซึ่งเป็นทักษะท่สี าคญั ในศตวรรษที่ ๒๑ หากผเู้ รียนบกพร่อง
หรือขาดความสามารถในการอ่านการเขียนจะส่งผลให้การเรียนรู้ไม่อาจก้าวหน้าได้ และจะประสบความ
ยากลาบากในการดารงชีวิต จึงเป็นหน้าที่ของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาที่จะต้องพัฒนา
ความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่อง ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ และการส่ือสารให้แก่
ประชาชนตั้งแต่วัยเยาว์ อันจะเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ในระดับท่ีสูงข้ึน และใช้ภาษาไทยในการส่ือสารได้
อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

สานักงานศึกษาธิการจังหวัดอุบลราชธานี ซ่ึงเป็นหน่วยงานกลางในการประสานความร่วมมือในการ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียนในภาพรวมของจังหวัด และเป็นผู้รับผิดชอบในการประสานงานและดาเนินการจัดสอบ
ได้นาข้อมูลผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2563
ในภาพรวมของจังหวัดอุบลราชธานี เพื่อหน่วยงานทางการศึกษา สถานศึกษาในและผู้ท่ีสนใจจะได้นาข้อมูล
สารสนเทศของรายงานผลฉบบั นีไ้ ปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ในการพฒั นาคุณภาพนกั เรยี น และการบรหิ ารการศึกษา
ใหม้ คี ณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพยงิ่ ขน้ึ ตอ่ ไป

สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั อุบลราชธานี

เมษายน 2564

2

บทสรุปสำหรบั ผบู้ ริหำร

เรือ่ ง รายงานผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รียน ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1
ปกี ารศึกษา 2563

หนว่ ยงำน สานักงานศึกษาธิการจงั หวดั อุบลราชธานี
ปีทท่ี ำ พ.ศ. 2564

………………………………………………………………………

ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการกาหนดจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนท้ังด้านความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ
ทพี่ ึงประสงค์ โดยเฉพาะจุดเน้นด้านหลักสูตรและกระบวนการเรยี นรทู้ ีส่ ่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1
อ่านออกเขียนได้ และผู้เรียนต้ังแต่ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 ข้ึนไป อ่านคล่องเขียนคล่อง สานักทดสอบทาง
การศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ไดป้ ระเมินความสามารถด้านการอ่านของผูเ้ รยี น ชนั้
ประถมศึกษาปีที่ 1 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินเชิงวินิจฉัยความสามารถด้านการอ่าน (การอ่านออกเสียง
และอ่านรู้เรื่อง) ของผู้เรียน โดยภาพรวมของจังหวัดอุบลราชธานี โดยจาแนกตามสังกัด เพื่อจัดทา
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการยกระดับคุณภาพผู้เรียนจากผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของ
ผู้เรียน ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 สาหรับหนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง

หน่วยงานทางการศึกษาทุกสังกัดในจังหวัดอุบลราชธานี ได้ดาเนินการประเมินความสามารถด้านการ
อ่านของผเู้ รียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 ระหว่างวนั ที่ 16–19 มีนาคม 2564 มโี รงเรียน
ในสังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จานวน 1043 โรง สังกัดสานักงานคณะกรรมการ
ส่งเสริมการศึกษาเอกชน จานวน 63 โรง สังกัด กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน จานวน 10 โรง
สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน 14 โรง สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และ
นวัตกรรม จานวน 1 โรง รวมจานวนโรงเรียนที่เข้าสอบ จานวน 1,131 โรง จานวนนักเรียนที่เข้าสอบ
21,035 คน (ปกติ จานวน 20,050 คน พิเศษ จานวน 852 คน Walk-in จานวน 133 คน) โดยใช้
เครื่องมือในการประเมินความสามารถด้านการอ่าน จานวน 2 ฉบับ ได้แก่ ฉบับที่ 1 การอ่านรู้เร่ือง เป็น
แบบทดสอบ ประกอบด้วย 3 ตอน ได้แก่ ตอนท่ี 1 การอ่านรู้เรื่องเป็นคา เป็นข้อสอบจับคู่ ตอนที่ 2 การ
อ่านรู้เรื่องเป็นประโยค ประกอบด้วย ข้อสอบแบบเขียนประโยคเล่าเร่ืองจากภาพมี 5 ภาพ ข้อสอบแบบ
เลือกตอบ ตอนที่ 3 การอ่านรู้เรื่องเป็นข้อความ เป็นข้อสอบแบบเลือกตอบ ฉบับท่ี 2 การอ่านออกเสียง
เป็นแบบทดสอบภาคปฏิบตั ิ ประกอบดว้ ย ตอนท่ี 1 การอา่ นออกเสยี ง เป็นคา ตอนท่ี 2 การอา่ นออกเสียง
เป็นขอ้ ความ จานวน 100 คะแนน การแปลความหมาย ระดบั ความสามารถของผู้เรียนเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ดี
มาก ดี พอใช้ และปรับปรุง ประกาศผลการประเมินวันที่ 20 เมษายน 2564 ผลการประเมินความสามารถ
ด้านการอ่านของผ้เู รยี น ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ดังนี้

1. ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ระดับจังหวัดอุบลราชธานี พบว่า ผลการ
ประเมินความสามารถดา้ นการอ่าน รวม 2 สมรรถนะคือ การอ่านออกเสียงและการอา่ นรู้เรื่อง มคี า่ เฉล่ียร้อย
ละ 72.85 ระดับคุณภาพ ดี ระดับคุณภาพในแต่ละด้าน ด้านการอ่านออกเสียง มีคะแนนเฉล่ียร้อยละ
73.65 ระดบั คุณภาพ ดี และ ด้านการอา่ นร้เู รอื่ ง มีคะแนนเฉลีย่ ร้อย 71.98 ระดบั คณุ ภาพ ดี และมคี ะแนน
ตา่ กว่าระดับภาคและระดับประเทศ

2. ผลการประเมนิ จาแนกตามสงั กดั ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ น รวม 2 สมรรถนะ ทมี่ ี
คะแนนเฉล่ียสูงที่สุด ได้แก่ โรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยมีคะแนนเฉล่ีย

3

ดา้ นการอ่านออกเสียง ร้อยละ 74. 93 การอา่ นร้เู ร่ือง รอ้ ยละ 72.91 คะแนนเฉลยี่ รวมร้อยละ 73.94 อยู่
ระดบั คณุ ภาพ ดี และสูงกวา่ ระดับประเทศ รองลงมาคือ โรงเรียนสงั กัดองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น มคี ะแนน
เฉลี่ยด้านการอ่านออกเสียง ร้อยละ 70.68 การอา่ นรู้เรื่อง ร้อยละ 72.87 คะแนนเฉล่ียรวมร้อยละ 71.87
อยู่ระดับคุณภาพ ดี โรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน มีคะแนนเฉล่ียด้านการ
อ่านออกเสียง ร้อยละ 68.36 การอ่านรู้เร่ือง ร้อยละ 67.42 คะแนนเฉล่ียรวมร้อยละ 67.95 อยู่ระดับ
คุณภาพ ดี โรงเรียนสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม มีคะแนนเฉลี่ยด้านการ
อ่านออกเสียง ร้อยละ 63.96 การอ่านรู้เร่ือง ร้อยละ 66.14 คะแนนเฉล่ียรวมร้อยละ 65.05 อยู่ระดับ
คุณภาพ ดี และ โรงเรียนสังกัดกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน มีคะแนนเฉลี่ยด้านการอ่านออกเสียง
ร้อยละ 64.07 การอา่ นรเู้ ร่อื ง รอ้ ยละ 62.19 คะแนนเฉล่ียรวมรอ้ ยละ 63.13 อย่รู ะดบั คณุ ภาพ ดี

3. จานวนและร้อยละนักเรียน จาแนกตามระดับคุณภาพ ภาพรวมของจังหวดั อุบลราชธานี ด้านการ
อ่านออกเสียง นักเรียนมีผลการอ่านออกเสียง ระดับดีมาก จานวน 11,805 คน คิดเป็นร้อยละ 59.60
ระดบั ดี จานวน 4,645 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 23.45 ระดบั พอใช้ จานวน 2,005 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 10.12
ระดับปรับปรุง จานวน 1,351 คน คิดเป็น 6.82 ด้านการอ่านรู้เรื่อง นักเรียนมีผลการอ่านรู้เร่ือง ระดับดี
มาก มจี านวน 9,819 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 49.84 ระดบั ดี จานวน 7,764 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 39.41 ระดับ
พอใช้ จานวน 1,748 คน คิดเป็นร้อยละ8.87 ระดับพอใช้ จานวน 368 คน คิดเป็นร้อยละ 1.86 รวมทั้ง
2 ด้าน นักเรียนมีผลการสอบ ระดับดีมาก มีจานวน 11,148 คน คิดเป็นร้อยละ 56.63 ระดับดี จานวน
5,950 คน คิดเปน็ ร้อยละ 30.22 ระดับพอใช้ จานวน 1,940 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.85 ระดบั พอใช้ จานวน
647 คน คิดเป็นร้อยละ 3.28

4. คะแนนผลการประเมินการอ่านรายด้านและประเภทของคา ผลการอ่านออกเสียง ภาพรวมของ
จังหวัดอุบลราชธานี ร้อยละ 73.65 ประเภทคาท่ีนักเรียนอ่านได้ที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ คาสระประสมท่ี
ไมม่ ตี ัวสะกด ร้อยละ 94.82 คาสระเด่ยี ว รอ้ ยละ 90.11 และ คาสระประสมที่มีตวั สะกด รอ้ ยละ 89.63
ประเภทคาที่นักเรียนอ่านได้น้อยที่สุด 3 อันดับ ได้แก่ คาสระเปลี่ยนรูป ร้อยละ 52.23 คาท่ีมีตัวสะกดไม่
ตรงตามมาตรา รอ้ ยละ 64.26 และคาสระเดย่ี ว ทีไ่ ม่มีตัวสะกด รอ้ ยละ 72.52

5. เมื่อเปรียบเทียบผลการประเมิน ปีการศึกษา 2562 กับปีการศึกษา 2563 ระดับจังหวดั พบว่า
ปีการศึกษา 2563 ผลการประเมิน รวม 2 สมรรถนะ มีค่าเฉล่ียร้อยละเพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2562
ร้อยละ 2.16 แยกรายสังกัด พบว่า ผลการประเมินสูงขึ้น มี 2 สังกัด ได้แก่ สังกัดสานักงานคณะกรรมการ
ส่งเสริมการศึกษาเอกชน มีผลการประเมิน เพ่ิมขึ้นจากปีการศึกษา 2562 ร้อยละ 5.58 และ สังกัด
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน มผี ลการประเมนิ เพมิ่ ขน้ึ จากปกี ารศึกษา 2562 รอ้ ยละ 1.76

4

สำรบญั หน้ำ
เรอ่ื ง 1
คานา 2
บทสรปุ สาหรบั ผู้บรหิ าร ...................................................................................................... 5
บทที่ 1 บทนา…………………………………………………………………………………………………………
บทที่ 2 กรอบการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรยี น (Reading Test : RT) 8
17
ปีการศกึ ษา 2563 …………………………………………………………………………………..
บทที่ 3 วิธีดาเนนิ การ …………………………………………………………………………………………… 20
บทที่ 4 รายงานผลการทดสอบความสามารถดา้ นการอา่ นของผูเ้ รยี น (Reading Test : RT) 55
60
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 ………………………………………………… 61
บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายและขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………….
บรรณานกุ รม ………………………………………………………………………………………………………
คณะทางาน …………………………………………………………………………………………………………

5

บทท่ี 1

บทนำ

ควำมเปน็ มำ

กระทรวงศึกษาธิการจึงกาหนดให้มีการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ. 2552-2561) โดย
กาหนดจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนท่ีคลอบคลุมท้ังด้านความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ สาหรับใช้
เป็นกลไกขับเคล่ือนเพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน ให้ความสาคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนต้ังแต่วัยเร่ิมต้น และ
การจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโดยเฉพาะระดับชั้นประถมศึกษา ในปีการศึกษา 2558 ได้กาหนดนโยบาย “ปี
การศึกษา 2558 เป็นปีปลอดนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้” และนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 เมื่อจบชัน้
ประถมศึกษาปีท่ี 1 ต้องอ่านออกเขียนได้ และมีมาตรการการประเมินผลท่ีเป็นรูปธรรม ดังน้ัน จึงมีความ
จาเปน็ อยา่ งยิ่งทีจ่ ะต้องเน้นให้ผ้เู รียนมคี วามสามารถในการอ่านและการเขยี นตามเกณฑ์มาตรฐาน การวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เป็นองค์ประกอบสาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทาให้ได้ข้อมูล
สารสนเทศท่ีจาเปน็ ในการพิจารณาวา่ ผู้เรียนเกิดคุณภาพการเรียนรู้ตามผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังและมาตรฐาน
การเรียนรู้ เป็นการสะท้อนถึงประสิทธิภาพการการสอนของครู และเป็นข้อมูลสาคัญที่สะท้อนคุณภาพการ
ดาเนินงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษา รวมทั้งการประเมินคุณภาพการศึกษาเป็นกลไกที่สะท้อนให้ภาพ
ความสาเร็จของการจัดการศึกษาของชาติ รวมทั้งคุณภาพของระบบการประกันคุณภาพของโรงเรียน
นอกจากน้ียังนาไปสู่การตัดสินใจเชงิ นโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ซ่ึงใน
การดาเนนิ การประเมินคุณภาพท้งั ระบบ มีการแบ่งระดับของการประเมินคุณภาพการศึกษาออกเปน็ 4 ระดับ
คือ การประเมินระดับช้ันเรียน การประเมินระดับโรงเรียน การประเมินระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และการ
ประเมินระดับชาติ ซ่ึงการประเมินคุณภาพการศึกษาดังกล่าวนี้เป็นการประเมินที่สะท้อนคุณภาพศึกษาท่ี
แท้จริง

ปีการศึกษา 2563 สานักประเมินทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ดาเนินการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 โดยพิจารณากรอบแนว
ทางการสร้างเครื่องมือจาก การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามระดับชั้น
ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 การวิเคราะห์ระดับพัฒนาการเรียนรู้ของ
นักเรียน และการวิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้ภาษาไทยท่ีถูกต้องตามหลักภาษาและใช้กรอบคาศัพท์ในบัญชี
คาพ้ืนฐาน เพอ่ื เป็นตัวช้ีวดั ผลสาเรจ็ ในการดาเนินงานตามนโยบายรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จุดเนน้
ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ และจุดเน้นสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน อันจะนาไปสู่การ
กาหนดนโยบายการศึกษา การนาไปใช้วินิจฉัยข้อบกพร่องความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนได้อย่างตรง
ประเด็น

สานักงานศึกษาธิการจังหวดั อุบลราชธานี เป็นหน่วยงานท่ีมีบทบาทสาคัญอย่างย่งิ ในการสง่ เสริมและ
พัฒนาไม่ว่าจะเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย และ
ข้อมูลที่ดี และเพียงพอ เป็นส่ิงหนึ่งท่ีกาหนดรูปแบบ วิธีการ ให้เหมาะสมกับนักเรียน ครู และโรงเรียน จึงนา
ผลประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา
2563 มาทาการสรุปและเขียนรายงานในระดับจังหวัดอุบลราชธานี เพื่อเป็นข้อมูลไปใช้ในการวางแผน
ปรับปรงุ พัฒนาการจัดการศึกษาของจังหวดั ต่อไป

6

วัตถปุ ระสงคข์ องกำรประเมิน

1. เพื่อประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรยี น (Reading Test : RT) ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551

2. เพอ่ื นาผลการประเมนิ ไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุง คุณภาพการเรยี นการสอนของโรงเรียน

ขอบข่ำยกำรนำเสนอ
ขอบข่ายของการดาเนินการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT)

ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 สถานศึกษาทุกสังกัดในจังหวัดอุบลราชธานี ได้แก่ สังกัด
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จานวน 1043 โรงเรียนน สังกัดสานักงานคณะกรรมการ
ส่งเสริมการศึกษาเอกชน จานวน 63 โรงเรียน สังกัด สังกัดกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน จานวน
10 โรงเรียน สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน 14 โรงเรียน สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา
วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม จานวน 1 โรง รวมจานวนทั้งสน้ิ จานวน 1,131 โรงเรียน จานวนนกั เรียน
ที่เขา้ สอบ จานวน 21,035 คน

นิยำมศัพท์เฉพำะ
การดาเนนิ การประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผเู้ รยี น ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 การศกึ ษา

2563 ไดก้ าหนดนิยามไว้ ดังนี้
การประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผูเ้ รียน หมายถึง การตดั สินคุณภาพผู้เรยี นระดับชน้ั

ประถมศึกษาปที ่ี 1 ในดา้ นการอ่านออกเสียง และการอา่ นรู้เรือ่ ง ออกเป็น 4 ระดบั คอื ดีมาก ดี พอใช้ และ
ปรบั ปรงุ

การอ่านรู้เรื่อง หมายถงึ ความสามารในการบอกข้อคิด จับใจความ ตอบคาถาม บอกความหมายของ
เครือ่ งหมาย หรอื สัญลกั ษณ์ คาดคะเน สรปุ ความรูข้ ้อคิดอย่างสมเหตุสมผล แปลความ และตอ่ เตมิ ข้อความท่ี
ได้จากการอ่านคา ประโยค และข้อความ โดยใช้แบบทดสอบการอา่ นรู้เรื่อง ซง่ึ มี 3 ตอน ไดแ้ ก่ ตอนท่ี 1 การ
อ่านรู้เรอ่ื งเป็นคา เป็นขอ้ สอบแบบจบั ค่คู า 10 คา ตอนท่ี 2 การอา่ นรเู้ รอ่ื งเป็นประโยค ประกอบด้วย ขอ้ สอบ
แบบเขียนประโยคเลา่ เรอ่ื งจากภาพ มี 5 ภาพ และขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ มี 10 ข้อ และตอนท่ี 3 การอ่านรู้
เร่ืองเปน็ ข้อความ เปน็ ข้อสอบแบบเลือกตอบ มี 5 ข้อ

การอา่ นออกเสยี ง หมายถงึ การท่ีผรู้ ับการทดสอบเปล่งเสียงออกมาให้ผ้ปู ระเมนิ ไดย้ ินเป็นคา ประโยค
ขอ้ ความสั้น ๆ ที่อยู่ในวงคาศัพท์ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบประเมินภาคปฏิบตั ิ ซึง่ มี 2 ตอน
ได้แก่ ตอนที่ 1 การอ่านออกเสียงเป็นคา จานวน 20 คา และตอนที่ 2 การอ่านออกเสียงข้อความ จานวน 1
ข้อความ ประกอบดว้ ย 10 ประโยค รวม 60-70 คา คะแนนเต็ม 30 คะแนน

ประโยชนท์ ค่ี ำดว่ำจะไดร้ บั
1. สถานศึกษามีข้อมูลผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT)

และสามารถนาผลการประเมินไปใช้พัฒนาและปรับปรุงการเรียนการสอน ตลอดจนสามารถใช้เป็นข้อมูล
ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอย่าง
ต่อเนื่อง

7

2. สานักงานศึกษาธิการจังหวัดอุบลราชธานี และหน่วยงานทางการศึกษาและท่ีเกี่ยวข้อง มีข้อมูล
รายงานการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1
ปีการศึกษา 2563 สาหรับการนาไปใช้ประกอบการพิจารณากาหนดนโยบาย แนวทาง และกาหนดแผนงาน
เพอื่ ยกระดบั มาตรฐานคณุ ภาพการศกึ ษา

8

บทที่ 2

แนวคดิ ในกำรประเมินควำมสำมำรถดำ้ นกำรอ่ำน

การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้
ผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ทราบถึงความสามารถในการอ่านออกเสียงและอ่านรู้เรื่องของตนเอง
รวมท้ังครูผู้สอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 มีข้อมูลจุดแข็งและจุดที่ต้องพัฒนาเก่ียวกับความสามารถใน
การอ่านออกเสียงและอ่านรู้เรื่องของผู้เรียนแต่ละคน ใช้ในการวางแผนเสริมจุดเด่นและพัฒนาจุดด้อยของ
ผู้เรียนแต่ละคน รวมทั้งเน้นย้าให้โรงเรียนปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอน เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดย
การสอนแบบแจกลูกสะกดคา ส่งเสริมใหใ้ ช้ภาษาท้องถิ่นร่วมกับภาษาไทย เป็นส่ือในการจดั การเรยี นการสอน
ในพ้ืนท่ีท่ีใช้ภาษาอย่างหลากหลายเพื่อวางรากฐานให้ผู้เรียนมีการพัฒนาการด้านการคิดวิเคราะห์ รวมท้ังมี
ทักษะการส่ือสารและใชภ้ าษาทีส่ ามในการต่อยอดการเรยี นร้ไู ด้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

แนวคดิ ทใ่ี ช้ในการบริหารจัดการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รยี น ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1
ปีการศึกษา 2563 น้ี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน คานึงถึงความสาคัญของกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 แนวคิดเก่ียวกับการ
กระจายอานาจในการบริหารจัดการ (Decentralization) และแนวคิดเกี่ยวกับ ความโปร่งใสในการจัดสอบ
(Transparency) โดยมรี ายละเอยี ด ดังตอ่ ไปนี้

หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขนั้ พ้ืนฐำน พทุ ธศักรำช 2551 กลุ่มสำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย
ควำมสำคัญ
ภาษาไทยเปน็ เอกลักษณ์ประจาชาติ เปน็ สมบตั ิทางวฒั นธรรมอันก่อให้เกดิ ความเป็นเอกภาพ และ

เสรมิ สร้างบุคลกิ ภาพของคนในชาติให้มีความเปน็ ไทย เปน็ เครื่องมือในการติดต่อส่ือสาร เพอ่ื สร้างความเขา้ ใจ
และความสัมพันธท์ ด่ี ีต่อกนั ทาใหส้ ามารถประกอบกิจธรุ การงานและดารงชวี ติ ร่วมกนั ในสังคมประชาธิปไตย
ได้อย่างสันตสิ ขุ และเปน็ เครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศตา่ ง ๆ เพ่ือ
พัฒนาความรู้ ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรคใ์ ห้ทันตอ่ การเปล่ียนแปลงทางสงั คมและ
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพฒั นาอาชีพใหม้ ีความม่ันคงทางสงั คมและ
เศรษฐกจิ นอกจากนี้ ยงั เปน็ สอ่ื ที่แสดงภมู ปิ ัญญาของบรรพบุรษุ ด้านวัฒนธรรม ประเพณี ชวี ทัศน์ โลกทัศน์
และสุนทรียภาพ โดยบนั ทึกไวเ้ ปน็ วรรณคดีและวรรณกรรม อนั ล้าคา่ ภาษาไทยจงึ เปน็ สมบตั ขิ องชาตทิ ค่ี วรค่า
แก่การเรยี นรู้ เพอ่ื อนุรักษ์และสืบสานให้คงอยู่คชู่ าติไทยตลอดไป

คณุ ภำพของผู้เรียน
เมื่อจบหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานแลว้ ผ้เู รียนตอ้ งมีความรู้ ความสามารถและคุณธรรมจรยิ ธรรม
และคา่ นยิ ม ดงั นี้
1. สามารถใช้ภาษาส่ือสารได้อยา่ งดี
2. สามารถอา่ น เขยี น ฟัง ดู และพดู ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ
3. มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ คดิ อยา่ งมีเหตผุ ลและคดิ เป็นระบบ
4. มนี ิสัยรักการอ่าน การเขียน การแสวงหาความร้แู ละใชภ้ าษาในการพัฒนาตน และสรา้ งสรรค์งาน
อาชีพ

9

5. ตระหนกั ในวัฒนธรรมการใชภ้ าษาและความเปน็ ไทยภมู ิใจและชื่นชมในวรรณคดีและวรรณกรรม
ซ่งึ เป็นภูมปิ ัญญาของคนไทย

6. สามารถนาทกั ษะทางภาษามาประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและถูกต้องตาม
กาลเทศะ และบุคคล

7. มีมนุษยสัมพนั ธ์ทด่ี ี และสรา้ งความสามัคคีในความเป็นชาติไทย
8. มคี ุณธรรมจริยธรรม มีวิสยั ทศั น์ โลกทัศน์ทกี่ วา้ งไกลและลกึ ซ้งึ
เมอ่ื จบแต่ละช่วงชน้ั ผเู้ รียนต้องมคี วามรคู้ วามสามารถ คณุ ธรรมจริยธรรม และคา่ นยิ ม ดังน้ี
ช่วงช้นั ท่ี 1 ชั้นประถมศึกษำปที ่ี 1 - 3
1. สามารถอ่านได้คล่องและอา่ นไดเ้ รว็
2. เขา้ ใจความหมายและหน้าทีข่ องคา
3. นาความรู้ที่ได้จาการอา่ นมาคดิ คาดคะเนเร่ืองราวหรอื เหตกุ ารณ์และกาหนดแนวทางการปฏิบัติได้
4. เลือกอ่านหนังสอื ที่เปน็ ประโยชน์ทงั้ ความรู้ และความบนั เทงิ
5. ดแู ละเขยี นแสดงความรู้ ความคดิ ความรสู้ ึก ความตอ้ งการและจินตนาการ
6. จดบันทกึ ความรู้ ประสบการณ์ และเรอื่ งราวในชวี ติ ประจาวนั
7. จับใจความสาคัญ ต้ังคาถาม ตอบคาถาม สนทนา แสดงความคิดเห็นเล่าเรื่อง ถ่ายทอดความรู้
ความคดิ ความรู้สึก และประสบการณจ์ ากเรอ่ื งทฟ่ี งั ทีด่ ูได้
8. เขา้ ใจว่าภาษาไทยมีท้ังภาษาไทยกลางและภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ิน
9. ใช้คาคล้องจองแต่งบทร้อยกรองงา่ ย ๆ
10. ท่องจาบทรอ้ ยกรองที่ไพเราะ และนาไปใช้ในการพดู และการเขยี น
11. นาปริศนาคาทายและบทร้องเล่นในท้องถนิ่ มาใชใ้ นการเรยี นและเลน่
12. ใช้ทักษะทางภาษาเป็นเครื่องมือการเรียน การแสวงหาความรู้ และใช้ได้เหมาะสมกับบุคคลและ
สถานการณ์
13. นาความรู้ท่ีได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมไปใช้ในชีวิตมีมารยาทการอ่าน การเขียน
การฟงั การดู และการพูด
14. มีนสิ ยั รกั การอา่ นและการเขยี น

ตวั ชี้วดั ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับกำรประเมนิ กำรอ่ำน
การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563สานัก

ทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนดให้มีการประเมิน ตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้มาตรฐาน และตวั ช้ีวัดท่ีเกี่ยวขอ้ งดังน้ี

สำระท่ี 1 กำรอำ่ น
มำตรฐำน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนิน
ชวี ติ และมีนิสัยรกั การอา่ น

10

ช้ัน ตวั ชวี้ ดั สำระกำรเรียนร้แู กนกลำง

ป.1 - อา่ นออกเสียงคา คาคลอ้ งจอง และข้อความ การอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคา

ส้ัน ๆ คาคล้องจอง และข้อความท่ีประกอบดว้ ย

- บอกความหมายของคา และขอ้ ความทีอ่ า่ น คาพ้ืนฐาน คือ คาที่ใช้ในชีวิตประจาวันไม่น้อย

กว่า 600 คา รวมท้ังคาที่ใช้เรียนรู้ในกลุ่มสาระ

การเรยี นรูอ้ ื่น ประกอบดว้ ย

- คาทม่ี รี ปู วรรณยุกต์และไมม่ ีรปู วรรณยุกต์

- คาท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตาม

มาตรา

- คาทม่ี ีพยัญชนะควบกลา้

- คาที่มอี กั ษรนา

- ตอบคาถามเกยี่ วกบั เรื่องทีอ่ า่ น การอา่ นจบั ใจความจากสือ่ ตา่ ง ๆ เชน่

- เล่าเร่ืองย่อจากเร่อื งที่อ่าน - นทิ าน

- คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเรอ่ื งท่ีอ่าน - เรือ่ งส้นั ๆ

- บทรอ้ งเล่นและบทเพลง

- เร่ืองราวจากบทเรยี นในกลุ่มสาระ

การเรียนรู้ภาษาไทยและกลมุ่ สาระ

การเรียนรู้อน่ื

- บอกความหมายของเคร่ืองหมาย หรือ ก า ร อ่ า น เ ค รื่ อ ง ห ม า ย ห รื อ สั ญ ลั ก ษ ณ์

สั ญ ลั ก ษ ณ์ ส า คั ญ ท่ี มั ก พ บ เ ห็ น ใ น ประกอบดว้ ย

ชวี ิตประจาวนั - เคร่ืองหมายสญั ลกั ษณ์ตา่ ง ๆ ที่พบเหน็

ในชีวิตประจาวัน

- เครื่องหมายแสดงความปลอดภัยและแสดง

อันตราย

สำระที่ 2 กำรเขยี น
มำตรฐำน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราว ในรูปแบบ
ตา่ ง ๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ

ชน้ั ตัวชี้วัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง
ป.1 - เขยี นส่อื สารด้วยคาและประโยคงา่ ย ๆ
การเขยี นสือ่ สาร
- คาทีใ่ ช้ในชวี ติ ประจาวนั
- คาพ้นื ฐานในบทเรยี น
- คาคล้องจอง
- ประโยคงา่ ย ๆ

11

สำระที่ 3 กำรฟัง กำรดู และกำรพูด

มำตรฐำน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกใน

โอกาสตา่ ง ๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์

ชั้น ตัวชีว้ ดั สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง

ป.1 ตอบคาถามและเล่าเรื่องท่ีฟังและดูทั้งท่ีเป็น การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น

ความรู้ความบันเทงิ ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้

และความบนั เทิง

- เรอ่ื งเล่าและสารคดีสาหรบั เด็ก

- นิทาน – การ์ตนู - เรื่องขบขนั

สำระท่ี 4 หลักกำรใชภ้ ำษำไทย
มำตรฐำน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลังของภาษา
ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ

ช้ัน ตัวชี้วดั สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง

ป.1 - เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา -การสะกดคา การแจกลกู และการอ่านเปน็ คา

-มาตราตวั สะกดที่ตรงตามมาตราและไมต่ รง

ตามมาตรา

-การผนั คา

-ความหมายของคา

- เรียบเรยี งคาเป็นประโยคง่าย ๆ - การแต่งประโยค

สำระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม

มำตรฐำน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ

นามาประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตจรงิ

ชน้ั ตัวชี้วดั สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง

ป.1 บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟัง วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสาหรับเด็ก

วรรณกรรมร้อยแกว้ และรอ้ ยกรองสาหรับเด็ก เช่น

- นิทาน

- เรอื่ งสนั้ ง่าย ๆ

- ปรศิ นาคาทาย

- บทรอ้ งเล่น

- บทอาขยาน

- บทรอ้ ยกรอง

- วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรยี น

12

ควำมหมำยของกำรอ่ำน
การดาเนินการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา

2563 ได้กาหนดนิยามความหมายไว้ ดังนี้
1) การอา่ นร้เู ร่ือง หมายถึง การอา่ นคา ประโยค หรอื ขอ้ ความสั้น ๆ ทีเ่ ปน็ คาในวงคาศพั ทใ์ นระดับชั้น

ประถมศึกษาปีที่ 1 ท้ังที่เป็นคาที่มีความหมายโดยตรงหรือคาที่มีความหมายโดยนัยที่ใช้ในชีวิตประจาวัน โดย
สามารถบอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านร้อยแก้ว ร้อยกรอง สาหรับเดก็ (เป็นข้อความง่าย ๆ) จับใจความจากเรือ่ ง
ท่ีอ่าน ตอบคาถามจากเร่ืองท่ีอ่าน บอกความหมายของเครื่องหมายสัญลักษณ์ท่ีสาคัญ ที่พบเห็นใน
ชีวิตประจาวัน คาดคะเนจากเรื่องท่ีอ่าน สรุปความรู้ข้อคิดจากเรื่องที่อ่านได้อย่างสมเหตุสมผล แปลความและ
สร้างสรรคจ์ ากภาพ

2) การอ่านออกเสียง หมายถึง การอ่านคา ประโยค หรือข้อความสั้น ๆ ที่เป็นคา ในวงคาศัพท์ใน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ท้ังท่ีเป็นคาท่ีมีความหมายโดยตรงหรือคาท่ีมีความหมายโดยนัยที่ใช้ใน
ชีวติ ประจาวัน โดยวธิ กี ารอ่านออกเสียง

กำรสร้ำงเครื่องมอื ประเมินควำมสำมำรถดำ้ นกำรอ่ำน
การสร้างเครื่องมือประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งคณะ

ผู้ดาเนินการสร้างเคร่ืองมือประเมิน ประกอบด้วย กลุ่มผู้เช่ียวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านจิตวิทยา
พัฒนาการ จิตวิทยาการเรียนรู้ ครูผู้สอนท่ีมีประสบการณ์ด้านการสอนภาษาไทยมากกว่า 5 ปีขึ้นไป
ผู้เช่ียวชาญด้านการวัดและประเมินผล โดยพิจารณากรอบแนวทางในการสร้างเครื่องมือจากการศึกษา บัญชี
คาพื้นฐานของผู้เรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ตามที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด การวิเคราะห์มาตรฐาน
และตัวช้ีวัดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามระดับช้ันของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 การวิเคราะห์ระดับพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน และการวิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้
ภาษาไทยที่ถูกต้องตามหลักภาษา เพื่อเป็นตัวชี้วัดผลสาเร็จในการดาเนินงานตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการ จุดเน้นยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ และจุดเน้นสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน อันจะนาไปสู่การกาหนดนโยบายการศึกษา การนาไปใช้วินิจฉัยข้อบกพร่องความสามารถด้านการ
อ่านของผเู้ รียนไดต้ รงประเดน็

โครงสรำ้ งเคร่ืองมอื กำรประเมนิ
โครงสร้างเคร่ืองมือมาตรฐานเพ่ือใช้ประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษา
ปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 เป็นความสามารถด้านการอ่านออกเสียง และการอ่านรู้เรื่อง ซึ่งสอดคล้องกับ
มาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระ การเรียนรู้
ภาษาไทย มีรายละเอยี ดตามกรอบโครงสรา้ ง ดงั นี้

13

มาตรฐานและตวั ช้วี ัด องค์ รปู แบบขอ้ สอบ (จานวนข้อ) รวม (ข้อ)
ประกอบ จบั คู่ เลือกตอบ เขยี น ปฏบิ ตั ิ (คะแนน)

สมรรถนะ 1 กำรอ่ำนออกเสียง ตอบ จรงิ 20
ส้ัน (20คะแนน)
ท 1.1 ป.1/1 อ่านออกเสียงคา คา คา
20 1 บทอา่ น
คล้องจอง และข้อความสั้น ๆ (คาที่มี 20 คา 1 (30

รูปวรรณยุกต์ และไม่มีรูปวรรณยุกต์ ขอ้ ความ 1 21 คะแนน)

คาที่มีตัวสะกดตรงมาตรา และไม่ตรง ขอ้ ความ 21
(50
มาตรา คาที่มีพยัญชนะควบกล้า คาที่ มี 10 คะแนน)
มอี กั ษรนา)
ประโยค 10
(10
รวม 60– คะแนน)

70 คา 5
(10
รวม คะแนน)
10
สมรรถนะ 2 กำรอำ่ นรูเ้ รอื่ ง (20
คะแนน)
ท 1.1 ป.1/2 บอกความหมายของคา คำ 10
5
และข้อความท่อี ่าน 10 คา 10 คะแนน

ท 1.1 ป.1/3 ตอบคาถามเกี่ยวกบั เร่อื ง

ทีอ่ ่าน ประโยค 10 5
ท 1.1 ป.1/4 เล่าเรื่องย่อจากเรอ่ื งท่ี เลา่ เร่อื ง
อ่าน จากภาพ 5
ท 1.1 ป.1/5 คาดคะเนเหตุการณจ์ าก ภาพ
เรื่องท่ีอา่ น ประโยค
ท 1.1 ป.1/7 บอกความหมายของ
เคร่อื งหมายหรอื สญั ลักษณ์สาคญั ท่มี ัก 10
พบเห็นในชีวิตประจาวนั ประโยค

ท 2.1 ป.1/2 เขียนสื่อสารด้วยคาและ

ประโยคงา่ ย ๆ ข้อควำม 5
ท 3.1 ป.1/2 ตอบคาถามและเลา่ เรอื่ ง 3–5
ทฟี่ ังและดทู ้งั ทีเ่ ปน็ ความรู้และความ ข้อความ
บันเทิง

ท 4.1 ป.1/3 เรียบเรยี งคาเป็นประโยค

งา่ ย ๆ

14

ท 5.1 ป.1/1 บอกข้อคดิ ท่ีได้จากการ
อา่ นหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและ
ร้อยกรองสาหรบั เดก็

รวม 10 15 5 30

(50

คะแนน)

ขอบขา่ ยสาระ (ส่งิ เรา้ ) อักษรสูง ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห

เป็นคา ประโยค ข้อความ หรือบทร้อย อักษรกลำง ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ

กรองง่าย ๆ ท่ีมีวงคาศัพท์ที่เป็นคาประสม อักษรต่ำ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว

ด้วยพยัญชนะและสระประกอบด้วยคา ฬ ฮ

คล้องจอง ข้อความสั้น ๆ (คาท่ีมี รูป สระเสียงส้ัน-ยำวทเี่ ป็นสระเด่ียวจำนวน 18 ตวั ประกอบด้วย

วรรณยุกต์ และไม่มีรูปวรรณยุกต์ คาท่ีมี สระอะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ

ตัวสะกด ตรงมาตรา และไม่ตรงมาตรา คา เออะ เออ สระประสม 6 ตวั ประกอบด้วยสระ เอียะ เอยี อวั ะ

ท่ีมีพยัญชนะควบกล้า คาท่ีมีอักษรนา ) อัว เออื ะ เอือ และสระเกิน 4 ตวั ประกอบดว้ ย สระอา ใอ ไอ

หมายเหตุ คาที่นามาใช้อยู่ในรายงานผล เอา สระลดรูป สระเปล่ียนรูป (ท้งั มีและไม่มรี ปู วรรณยุกต์)

ก า ร ศึ ก ษ า ค า พ้ื น ฐ า น นั ก เ รี ย น ช้ั น

ประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 ปีการศึกษา

2554 ส า นั ก วิ ช า ก า ร แ ล ะ ม า ต ร ฐ า น

การศึกษา สานักงานคณะกรรมการ

การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นกำรประเมิน
เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผูเ้ รยี น ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ปี

การศึกษา 2563 มที ง้ั หมด 2 ฉบบั ได้แก่
ฉบบั ที่ 1 กำรอำ่ นร้เู รอื่ ง เป็นแบบทดสอบ ประกอบด้วย
ตอนที่ 1 การอ่านร้เู รื่องเป็นคา เป็นข้อสอบแบบจบั คู่คา 10 คา คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ตอนท่ี 2 การอา่ นรเู้ ร่อื งเปน็ ประโยคมี 15 ขอ้ ประกอบด้วย
- ขอ้ สอบแบบเขยี นประโยคเลา่ เรือ่ งจากภาพมี 5 ภาพ คะแนนเต็ม 10 คะแนน
- ขอ้ สอบแบบเลือกตอบมี 10 ขอ้ คะแนนเตม็ 20 คะแนน
ตอนท่ี 3 การอา่ นรู้เรือ่ งเป็นข้อความ เปน็ ข้อสอบแบบเลือกตอบมี 5 ข้อ คะแนนเตม็ 10

คะแนน
ฉบับท่ี 2 กำรอำ่ นออกเสียง เปน็ แบบทดสอบภาคปฏบิ ตั ิ ประกอบด้วย
ตอนท่ี 1 การอ่านออกเสียงเปน็ คา มีจานวนคาท้ังสน้ิ 20 คา คะแนนเตม็ 20 คะแนน
ตอนที่ 2 การอ่านออกเสียงข้อความ มีจานวน 1 ข้อความ ประกอบด้วย 10 ประโยค รวม

60 - 70 คา คะแนนเต็ม 30 คะแนน

15

กำรแปลควำมหมำยของผลกำรประเมนิ
ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรยี น ในรายองคป์ ระกอบ รายสมรรถนะและภาพรวม

สามารถแปลความหมายได้ ดังต่อไปน้ี

ควำมหมำยในภำพรวม ระดับควำมสำมำรถ
ดมี าก
คะแนนความสามารถของนักเรียนในการอ่านออกเสียง อ่านรู้
เรอื่ ง คา ประโยค และขอ้ ความในวงคาศัพทท์ ี่กาหนดได้ถูกต้อง ดี
ตั้งแตร่ อ้ ยละ 75 ข้ึนไป
พอใช้
คะแนนความสามารถของนักเรียนในการอ่านออกเสียง อ่านรู้
เรอ่ื ง คา ประโยค และขอ้ ความในวงคาศัพท์ท่ีกาหนดได้ถูกต้อง ปรับปรุง
ตง้ั แตร่ อ้ ยละ 50 ขน้ึ ไปแตน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 75

คะแนนความสามารถของนักเรียนในการอ่านออกเสียง อ่านรู้
เร่อื ง คา ประโยค และขอ้ ความในวงคาศัพท์ท่ีกาหนดได้ถูกต้อง
ตง้ั แต่ร้อยละ 25 ขึน้ ไปแตน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 50

คะแนนความสามารถของนักเรียนในการอ่านออกเสียง อ่านรู้
เรอื่ ง คา ประโยค และข้อความในวงคาศัพทท์ ี่กาหนดได้ถูกต้อง
ต่ากว่าร้อยละ 25

กำรนำผลกำรประเมนิ ไปใชใ้ นกำรวนิ ิจฉัยนักเรียน
ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 สถานศึกษาและ

ครูผู้สอนสามารถนาผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ไปใช้ในการวางแผนพัฒนาผู้เรียน
เป็นรายบุคคล และยังสามารถนาไปใช้ในการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ในแต่ละปี
การศกึ ษาอีกด้วย โดยครผู ้สู อนสามารถศึกษาผลการประเมินความสามารถของผเู้ รยี น เปน็ รายบุคคลจากแบบ
รายงานผลการประเมินความสามารถของผู้เรียนเป็นรายบุคคล (R-Student 01) นาเสนอผลการประเมิน
ความสามารถของผู้เรียนทั้งด้านการอ่านออกเสียง และการอ่านรู้เรื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของการอ่าน
ออกเสียงจะมีการนาเสนอผลการอ่านเป็นคาท่ีมีรูปแบบของคาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น คาสระเด่ียว/ไม่มี
ตัวสะกด คาสระเด่ียว/ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา คาสระเด่ียวเปล่ียนรูป/ตัวสะกดตรงมาตรา คาสระเด่ียวเปลี่ยน
รูป/ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา คาสระเกิน/ไม่มีตัวสะกด เป็นต้น โดยมีการระบุคาที่ใช้ สอบอ่านด้วย ดังน้ัน เมื่อ
พบว่านกั เรยี นสว่ นใหญอ่ ่านผิดซ้า ๆ ท่ีคาเดยี วกนั แสดงว่า คาน้นั เปน็ คายากสาหรับนกั เรียนในช้ันเรยี นน้นั ครู
ควรต้องปรับกระบวนการสอน ทาความเข้าใจกับนักเรียนและฝึกให้มากขึ้น และวางแผนพัฒนาผู้เรียนเป็น
รายบุคคล รวมทั้งนาไปปรบั วธิ ีเรียนเปล่ยี นวธิ ีสอน หรือนาไปใช้เป็นประเดน็ ในการทาวจิ ยั ในชัน้ เรยี นอีกด้วย

16

กำรวิเครำะห์ผลในภำพรวมของโรงเรยี น
ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสามารถนาผล

การประเมนิ จากแบบสรปุ รายงานผลการประเมนิ ของโรงเรียน (R-School 01) แบบรายงานคา่ สถติ พิ ้ืนฐานผล
การประเมินของโรงเรียน (R-School 02) แบบรายงานผลการประเมินผู้เรียนจาแนกรายบุคคลในแต่ละ
สมรรถนะ (R-School 03) แบบรายงานผลการประเมินผู้เรียนจาแนกรายบุคคลในแต่ละองค์ประกอบ
(R-School 04) และแบบรายงานผลค่าสถิติพื้นฐานจาแนกรายโรงเรียน (R-School 05) ไปวิเคราะห์ และ
หาจดุ บกพร่องของการเรียนการสอนในภาพรวม เชน่ พบว่า นักเรยี นส่วนใหญ่อ่าน-เขียน คาทใ่ี ชว้ รรณยุกต์ไม่
ถูกต้องในกลุ่มพยัญชนะเสียงสูง โรงเรียนควรสง่ เสริมใหค้ รูผสู้ อนพัฒนาชดุ ฝกึ ให้นกั เรยี นไดฝ้ กึ อา่ น-เขยี น คาท่ี
ใช้วรรณยุกต์ โดยให้ทาซ้า ๆ จนคล่อง ก็จะเป็นการแก้ปัญหาท่ีตรงจุด เป็นต้น ท้ังน้ี สิ่งท่ีโรงเรียนวิเคราะห์ได้
จากผลการประเมินจะช่วยให้ครูค้นหาเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ ที่เหมาะสมกับนักเรียน หรือปรับเปล่ียน
วิธีการจัดการเรียนรู้ เพื่อแก้ไขปัญหาการอ่านเขียนของนักเรียนทุกคน และช่วยกันเสริมสร้างพื้นฐานการอ่าน
เขยี นของนักเรียนใหเ้ ขม้ แข็ง จนเปน็ เครื่องมอื การเรียนร้ขู องนกั เรียนในชน้ั เรียนถัดไปไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

17

บทท่ี 3

วิธีดำเนนิ กำร

การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ปีการศกึ ษา 2563 ซ่งึ เปน็ การประเมินด้านการอา่ นออกเสยี ง และอ่านรู้เรื่อง ซึง่ สอดคล้องกับมาตรฐาน และ
ตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ทั้งน้ี
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดอุบลราชธานี และหน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัดอุบลราชธานี ดาเนินการ
ประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา
2563 มรี ายละเอยี ดของการประเมนิ สรุปไดด้ ังต่อไปน้ี

วธิ กี ำรและปฏบิ ัติกำรดำเนนิ กำร
วธิ ดี าเนินการ ปฏทิ ินการดาเนนิ กิจกรรมการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading

Test : RT) ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563

ที่ กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผดิ ชอบ

1 ประชุมชแ้ี จงผแู้ ทนศนู ยส์ อบของ สพฐ. และผูแ้ ทน รุ่นท่ี 1 (23 – 25 พ.ย. 63) สพฐ.
สงั กดั อ่ืน ๆ เกี่ยวกับแนวทางการจดั สอบการอา่ น รุ่นที่ 2 (25 – 27 พ.ย. 63)

2 ศูนย์สอบ นาเข้าและตรวจสอบข้อมูลสถานศึกษาที่มี 23 พ.ย.- 7 ธ.ค. 63 ศูนยส์ อบ

สิทธสิ์ อบ ผา่ นระบบ NT Access

3 สถานศึกษานาเข้าข้อมูลนักเรียนท่ีมีสิทธิ์สอบ ผ่าน 8 – 31 ธ.ค. 63 สถานศึกษา

ระบบ NT Access

4 ศูนย์สอบตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลผ่านระบบ NT 1 – 17 ม.ค. 64 ศูนย์สอบ

Access (ครง้ั สดุ ทา้ ย)

5 สพฐ. ตรวจสอบการจดั สนามและออกเลขทนี่ ่งั สอบ 19 ม.ค. – 12 ก.พ. 64 สพฐ.

6 ศูนยส์ อบแตง่ ต้งั คณะกรรมการของศูนยส์ อบ 15 - 19 ก.พ. 64 ศนู ย์สอบ

ระดับศูนย์สอบ

-ตัวแทนศูนยส์ อบ ประจาสนามสอบ

2 คน ตอ่ 1 สนามสอบ

-กรรมการตรวจเยย่ี มสนามสอบทกุ สนามสอบ

ระดบั สนำมสอบ

-หวั หนา้ สนามสอบ 1 คน

-กรรมการกลาง 1 คน ตอ่ 3 ห้องสอบ

-กรรมการคุมสอบ 2 คน ต่อ 1 ห้องสอบ

-เจา้ หนา้ ทีพ่ ยาบาล 1 คน ต่อ 1 สนามสอบ

-เจ้าหนา้ ทป่ี ระสานงาน 1 คน ตอ่ 1 สนามสอบ

-เจ้าหนา้ ทีป่ ชส. 1 คน ตอ่ 1 สนามสอบ

-นักการภารโรง 1 คน ตอ่ 5 หอ้ งสอบ

18

แนวทำงกำรจดั คณะกรรมกำร

-หัวหนา้ สนามสอบ,กรรมการกลาง และ

นักการภารโรง ของโรงเรยี นท่ีเป็นสนามสอบ

ปฏิบตั หิ น้าทข่ี ้างต้น

-กรรมการคุมสอบ โรงเรยี นสง่ รายชือ่

กรรมการคุมสอบให้กบั ศนู ยส์ อบเพื่อแต่งตง้ั

ให้ดาเนนิ การคุมสอบต่างกลุ่มโรงเรียน

7 สถานศึกษาหรือสนามสอบตรวจสอบเลขท่นี ่ังสอบและ 1 ม.ี ค. 64 เป็นตน้ ไป สถานศกึ ษา

ดาวนโ์ หลดบัตรประจาตวั ผู้เข้าสอบ

8 ศูนย์สอบประชุมช้ีแจงคณะกรรมการระดับศูนย์สอบ 1 – 5 มี.ค. 64 ศนู ย์สอบ

และสนามสอบ

9 สนามสอบดาเนนิ การจัดสอบ 8 - 12 ม.ี ค. 64 สนามสอบ

10 สนามสอบนาเขา้ ผลการทดสอบรายบคุ คล 8 – 28 มี.ค. 64 สนามสอบ

11 สพฐ.ประกาศผลการประเมินความสามารถด้านการ 20 เม.ย. 64 สพฐ.

อา่ นของผู้เรยี น

12 จดั ทารายงานผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ระดบั จังหวดั 21 เม.ย.64 - 30 พ.ค.64 ศธจ.อบ.

กำรดำเนนิ กำร
การประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รียน (Reading Test : RT) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1

ปีการศึกษา 2563 สานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน มอบหมายให้
สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั อบุ ลราชธานี เปน็ ศูนย์สอบ โดยดาเนินการดังนี้

กำรจัดสนำมสอบ
การจัดสนามสอบ สานักงานศึกษาธิการจังหวัดอุบลราชธาน ซึ่งทาหน้าที่ศูนย์สอบ กาหนดให้ทุก

โรงเรียนเป็นสนามสอบ ทุกสนามสอบดาเนินการจัดสอบพร้อมกันในวันเดียวกัน โดยคานึงถึงความโปร่งใส
ยตุ ธิ รรม

กำรแตง่ ตง้ั คณะทำงำนดำเนินกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรอำ่ นของผเู้ รยี น (Reading Test : RT)
ระดบั ศนู ยส์ อบ ประกอบด้วย ศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดอบุ ลราชธานี รองศกึ ษาธกิ ารจังหวดั อบุ ลราชธานี

ผู้อานวยการกลุ่มทุกกลุ่ม ศึกษานิเทศก์ และคณะทางานฝ่ายต่าง ๆ มีหน้าที่อนุมัติแต่งต้ังคณะกรรมการ
ดาเนินการทดสอบระดับสนามสอบ ประสานงาน รวบรวมข้อมูลนักเรียน โรงเรียน ประชุมช้ีแจงการจัดสอบ
วางแผนการจัดสอบ กากบั ตดิ ตาม รบั – ส่งแบบทดสอบ ควบคมุ การจดั สอบให้บริสุทธิ์ ยุติธรรม แก้ปญั หาของ
ศนู ยส์ อบและสนามสอบใหล้ ุลว่ งไปด้วยดี

ระดับสนามสอบ ประกอบด้วย ผู้อานวยการโรงเรียน เป็นประธานสนามสอบ และมีครูในโรงเรียน
กรรมการคุมสอบ

19

กำรรบั แบบทดสอบ
1. ศูนย์สอบส่งมอบแบบทดสอบ พร้อมเอกสารประกอบการสอบให้กบั ประธานสนามสอบ หรอื

ตัวแทนในตอนเชา้ ของวนั สอบ
2. หลงั เสรจ็ ส้ินการสอบ ให้แตล่ ะสนามสอบเกบ็ รกั ษาแบบทดสอบไว้ท่ีสนามสอบ เพอื่ นาไปใช้

ประโยชนต์ อ่ ไป

กำรตรวจและวิเครำะห์ข้อมูล
การตรวจและวเิ คราะหข์ ้อมลู จากการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รยี น (Reading Test :

RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ซึ่งเป็นข้อมูลโดยจากสานักทดสอบทางการศึกษา สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) และสามารถ
ดาวน์โหลดผลการทดสอบได้ทาง website http://nt.obec.go.th/

สถิติในกำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดอุบลราชธานี ดาเนินการวิเคราะห์ สรุป ประมวลผล ภาพรวมในระดับ

ระดับจังหวัด จาแนกเป็นรายสังกัด เปรียบเทียบผลการประเมินระหว่างปีการศึกษา เปรียบเทียบ
ระดบั ประเทศ และระดบั ภาค สถติ ทิ ใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ ไดแ้ ก่ คา่ เฉลีย่ ร้อยล และ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

20

บทท่ี 4

ผลกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรอำ่ นของผเู้ รียน

หน่วยงานทางการศึกษาทุกสงั กัดในจังหวัดอุบลราชธานี ได้ดาเนินการประเมนิ ความสามารถด้านการ
อา่ นของผเู้ รยี น ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ระหวา่ งวนั ที่ 16–19 มีนาคม 2564 มีโรงเรยี น
ในสังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 1043 โรงเรียน สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จานวน 63 โรงเรียน สังกัด สังกัดกองบัญชาการตารวจตระเวน
ชายแดน จานวน 10 โรงเรียน สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จานวน 14 โรงเรียน สังกัดกระทรวงการ
อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม จานวน 1 โรงเรียน รวมจานวนโรงเรียนที่เข้าสอบ จานวน
1,131 โรงเรียน จานวนนกั เรียนที่เข้าสอบ 21,035 คน

ผลกำรประเมนิ ควำมสำมำรถด้ำนกำรอำ่ นของผเู้ รียน
ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน นาเสนอในภาพรวมระดับจังหวัดอุบลราชธานี

แยกรายสงั กัด
1. ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของผูเ้ รียนระดบั จงั หวดั
2. ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนในโรงเรียนในจังหวัดอุบลราชธานี แยกเป็น

รายสงั กดั
3. ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนในโรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการ

สง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน

1. ผลกำรประเมนิ ควำมสำมำรถดำ้ นกำรอำ่ นของผเู้ รยี นระดับจงั หวัด
ผลการประเมินความด้านการอ่านของผู้เรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ในภาพรวม ระดับจังหวัด

อบุ ลราชธานี มรี ายละเอียดดังน้ี
1.1 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผ้เู รยี น ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563

ภาพรวมระดับจงั หวัด
ตำรำงท่ี 1 ผลกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำนของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษำปีท่ี 1 ปีกำรศึกษำ
2563 ภำพรวมระดับจงั หวัด

รายการ การอ่านออกเสยี ง การอ่านรู้เรื่อง รวม 2 สมรรถนะ
คะแนนเฉลี่ย 73.65 71.98 72.85
ระดับคุณภาพ ดี ดี ดี

จากตารางที่ 1 พบว่า ในภาพรวม 2 สมรรถนะ ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านอยู่ในระดับดี คิด
เป็นร้อยละ 72.85 และเมื่อพิจารณาในรายสมรรถนะ พบว่า ความสามารถด้านการอ่านออกเสียง คะแนน
เฉล่ียร้อยละ 73.65 ระดับคุณภาพอยู่ในระดับดี และ การอ่านรู้เร่ือง คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 71.98 ระดับ
คุณภาพอยใู่ นระดบั ดี

21

แผนภูมทิ ี่ 1 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรยี น ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1
ปกี ารศึกษา 2563

80 73.65 71.98 72.85
70
60 0 0
50 การอา่ นรู้เร่ือง รวม 2 สมรรถนะ
40
30
20
10 0
0

การอ่านออกเสียง

1.2 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 รวม 2 สมรรถนะ
จาแนกตามเกณฑ์ระดบั คุณภาพ
ตำรำงท่ี 2 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 รวม 2 สมรรถนะ
จาแนกตามเกณฑร์ ะดับคุณภาพ

ดา้ น จานวนนักเรยี น และรอ้ ยละนักเรยี น จาแนกตามระดบั คุณภาพ
ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ

จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
การอา่ นออกเสยี ง 11,805 59.60 4,645 23.45 2,005 10.12 1,351 6.82
การอ่านร้เู รื่อง 9,819 49.84 7,764 39.41 1,748 8.87 368 1.86

รวม2 ดา้ น 11,148 56.63 5,950 30.22 1,940 9.85 647 3.28

จากตารางที่ 2 พบวา่ ในภาพรวม 2 สมรรถนะ ผู้เรียนมคี วามสามารถในการอ่าน ระดับคุณภาพ
ดมี าก จานวน 11148 คน คดิ เป็นร้อยละ 56.63 ระดบั คุณภาพดี จานวน 5,950 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ
30.22 ระดบั คุณภาพ พอใข้ จานวน 1,940 คน คิดเปน็ ร้อยละ 9.85 และระดบั ปรับปรงุ จานวน 647 คน
คดิ เปน็ ร้อยละ 3.28 และเม่อื พิจารณาในรายสมรรถนะ พบว่า นกั เรยี นมีความสามารถดา้ นการอ่านออกเสยี ง
ระดบั คุณภาพดีมาก จานวน 11,805 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 59.60 ระดบั คุณภาพดี จานวน 4,645 คน คดิ เป็น
ร้อยละ 23.45 ระดับคุณภาพพอใช้ จานวน 2,005 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.12 และระดับปรับปรุงจานวน

1,351 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.82 และดา้ นการอ่านร้เู ร่ือง ระดบั คณุ ภาพดมี าก จานวน 9,819 คน
คิดเปน็ ร้อยละ 49.84 ระดบั คณุ ภาพดี จานวน 7,764 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 39.41 ระดับคุณภาพพอใช้
จานวน 1,748 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 8.87 และระดบั ปรบั ปรงุ จานวน 368 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 1.86

22

แผนภมู ทิ ี่ 1 จานวนนักเรียนจาแนกตามระดับคณุ ภาพ

จานวนนักเรยี นจาแนกตามระดบั คุณภาพ

ดีมาก ดี พอใช้

การอ่านออกเสียง การอา่ นรู้เรอ่ื ง รวม2 ด้าน
14000 11805
12000 9819
10000
8000 11148
6000 4645
4000
2000 7764
5950
0 2005
1748
1940
1351
368
647

ปรับปรงุ

1.3 การเปรยี บเทียบผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผเู้ รียน ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ปี
การศกึ ษา 2562 กบั ปีการศึกษา 2563

ตำรำงท่ี 3 การเปรียบเทียบผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผเู้ รยี น

สมรรถนะการอา่ น ปีการศกึ ษา 2562 ปกี ารศึกษา 2563 ผลต่าง สรปุ
การอ่านออกเสยี ง 68.63 73.65 5.02 เพม่ิ ข้นึ
-0.77 ลดลง
การอา่ นรเู้ รื่อง 72.75 71.98
2.16 เพิม่ ขน้ึ
รวม 2 สมรรถนะ 70.69 72.85

จากตารางที่ 3 พบว่า การประเมนิ ความสามารถดา้ นอา่ นรวม 2 สมรรถนะ ปีการศกึ ษา 2563 มีคา่ เฉลี่ยร้อย
ละเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 2.16) เมื่อพิจารณาเป็นรายสมรรถนะ พบว่า การอ่านออกเสียง มีค่าเฉลี่ยร้อยละเพ่ิมขึ้น
(ร้อยละ 5.02) และการอา่ นรู้เรื่อง มคี า่ เฉล่ยี รอ้ ยละลดลง (รอ้ ยละ 0.77) ดังแผนภูมทิ ี่ 3

23

แผนภมู ทิ ี่ 3 การเปรยี บเทียบผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รยี น ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ปี
การศึกษา 2562 กับ ปกี ารศึกษา 2563

เปรียบเทียบผลการประเมนิ การอ่าน ปีการศกึ ษา 2562กับปีการศกึ ษา 2563

75 72.75 72.85
74 73.65 71.98 70.69
73
72 การอ่านรูเ้ รอื่ ง รวม 2 สมรรถนะ
71
70
69 68.63
68
67
66

การอา่ นออกเสยี ง

ปีการศกึ ษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563

1.4 รายงานผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รียน ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา
๒๕๖3

ตำรำงท่ี 4 การเปรยี บเทยี บผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผ้เู รยี น ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ปี
การศึกษา 2563 สานักงานศกึ ษาธิการจังหวดั อุบลราชธานี กบั ระดบั ประเทศ

สมรรถนะการอา่ น ระดบั ประเทศ ระดับจังหวดั ผลตา่ ง สรปุ

การอ่านออกเสยี ง 74.14 73.65 -0.49 ตา่ กว่าระดับประเทศ

การอ่านรเู้ รื่อง 71.86 71.98 0.12 สูงกวา่ ระดบั ประเทศ

รวม 2 สมรรถนะ 73.02 72.85 -0.17 ตา่ กวา่ ระดบั ประเทศ

จากตารางที่ 4 พบว่า การประเมินความสามารถด้านการอ่าน รวม 2 สมรรถนะ ระดับจังหวัด

อุบลราชธานี มีค่าเฉล่ียร้อยละ ต่ากว่าระดับ ประเทศ คิดเป็นร้อยละ 0.17 เม่ือพิจารณารายสมรรถนะ

พบว่า ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านออกเสียง มีค่าเฉล่ียร้อยละ ต่ากว่าระดับประเทศ คิดเป็น

ร้อยละ 0.49 และ การอ่านรู้เรื่อง มีค่าเฉลี่ยร้อยละ สูงกว่า ระดับประเทศ คิดเป็นร้อยละ 0.12

ดังแผนภูมทิ ี่ 4

24

แผนภูมิที่ 4 การเปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1
ปกี ารศกึ ษา 2563 ระดับจงั หวัดอบุ ลราชธานี กับระดบั ประเทศ

เปรยี บเทยี บผลการประเมินการอา่ น ปกี ารศกึ ษา 2563 กบั ระดับประเทศ

75 74.14 73.02 72.85
74 73.65
73 71.86 71.98
72

71

70 การอา่ นรู้เรือ่ ง รวม 2 สมรรถนะ
การอ่านออกเสียง

ระดบั ประเทศ ระดับจังหวัด

ตำรำงท่ี 5 คะแนนผลการประเมินการอ่านรายดา้ นและประเภทของคา

ด้ำน ระดับคุณภำพ ร้อยละ
คะแนน ของ
กำรอำ่ นออกเสยี ง ดีมำก นักเรียนที่
1. กำรอ่ำนออกเสยี งคำ รอ้ ยละ ปรบั ปรุง พอใช้ ดี อ่ำนออก
ประเภทคา
1.1 สระเดีย่ ว 73.65  
1.2 สระเดีย่ ว 78.93 
1.3 สระเดีย่ ว คาอ่าน 72.52
1.4 ตัวสะกดตรงมาตรา เทวดา 72.52   90.11
1.5 ตวั สะกดตรงมาตรา เลขท่ี 90.11   84.49
1.6 ตัวสะกดตรงมาตรา กระดาษ 84.49  84.35
1.7 มรี ูปวรรณยกุ ต์ คนเดยี ว 84.35  77.70
1.8 มรี ูปวรรณยุกต์ อย่างน้ี 77.70  86.06
1.9 ไม่มีรปู วรรณยกุ ต์ แขง็ แรง 86.06  85.98
1.10 ไม่มีรปู วรรณยกุ ต์ เจ้าหญงิ 85.98  76.08
ชั่วโมง 76.08  88.83
1.11 สระเปล่ียนรปู /สระลดรูป นิยาย 88.83  81.76
เสาเอก 81.76
1.12 สระเปล่ยี นรปู ทั้งหมด 72.70 72.70
1.13 สระประสม ช็อกโกแลต 52.23 52.23
หวั ใจ 94.82  94.82

25

ระดบั คุณภำพ รอ้ ยละ

ดำ้ น คะแนน ของ
รอ้ ยละ ปรับปรุง พอใช้ ดี ดมี ำก นกั เรียนท่ี
อ่ำนออก

1.14 สระประสม เพ่ือนบา้ น 89.63  89.63

1.15 ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา ขอ้ มลู 71.73  71.73

1.16 ตวั สะกดไม่ตรงมาตรา ผูว้ ิเศษ 64.26  64.26

1.17 คาควบกลา้ วงกลม 81.82 81.82

1.18 คาควบกล้า ผัดกะเพรา 74.49  74.49

1.19 อกั ษรนา เหมือนกัน 72.69  72.69

1.20 อกั ษรนา ขนมจนี 76.26  76.26

2. กำรอ่ำนออกเสียงข้อควำม 70.13 

กำรอ่ำนรเู้ ร่อื ง 71.98 

1. การอา่ นรู้เรือ่ งคา 90.96 

2. การอา่ นรูเ้ รือ่ งประโยค (เล่าเรื่องจากภาพ) 81.70 

3. การอา่ นรเู้ รือ่ งประโยค (เลือกตอบ) 64.50 

4. การอา่ นรเู้ ร่อื งขอ้ ความ 58.27 

รวม 2 ดำ้ น 72.85 

จากตารางที่ 5 คะแนนผลการประเมินการอ่านรายด้านและประเภทของคา ผลการอ่านออกเสียง
ภาพรวมของจังหวัดอุบลราชธานี ร้อยละ 73.65 ประเภทคาท่ีนักเรียนอ่านได้ที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่
คาสระประสมที่ไม่มีตัวสะกด ร้อยละ 94.82 คาสระเดี่ยว ร้อยละ 90.11 และ คาสระประสมที่มีตัวสะกด
ร้อยละ 89.63 ประเภทคาท่ีนักเรียนอ่านได้น้อยที่สุด 3 อันดับ ได้แก่ คาสระเปล่ียนรูป ร้อยละ 52.23
คาที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา ร้อยละ 64.26 และคาสระเดี่ยว ท่ีไม่มีตัวสะกด ร้อยละ 72.52 ด้านการ
อ่านรู้เร่ือง การอ่านรู้เร่ืองคา มีคะแนนเฉล่ียสูงสุด ร้อยละ 90.96 รองลงมา คือ การอ่านรู้เร่ืองประโยค
(เล่าเร่ืองจากภาพ) คะแนนเฉล่ียร้อยละ 81.70 การอ่านรู้เร่ืองประโยค (เลือกตอบ) คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
64.50และการอา่ นรเู้ รือ่ งข้อความ คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ 58.27

2. ผลกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำนของผู้เรียนในโรงเรียนในจังหวัดอุบลรำชธำนี แยกเป็นรำย
สงั กัด

ผลการประเมนิ ความดา้ นการอ่านของผู้เรยี น ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 ของโรงเรียนแตล่ ะสังกัดใน
จงั หวัดอุบลราชธานี มีรายละเอียดดงั น้ี

2.1 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ของโรงเรียนในจังหวัดอุบลราชธานี
จาแนกรายสงั กดั

26

ตำรำงท่ี 6 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ของโรงเรียนในจังหวัดอุบลราชธานี โดย
จาแนกรายสังกดั มรี ายละเอยี ดดงั นี้

สังกัด การอ่านออกเสียง การอ่านรเู้ รื่อง รวม 2 สมรรถนะ

สพฐ. คะแนนเฉลยี่ ระดบั คณุ ภาพ คะแนนเฉลยี่ ระดับคณุ ภาพ คะแนนเฉลย่ี ระดบั คณุ ภาพ
สช.
อปท. 74.93 ดี 72.91 ดี 73.94 ดี
อว. 68.36 ดี 67.42 ดี 67.95 ดี
ตชด. 70.68 ดี 72.87 ดี 71.87 ดี
63.96 ดี 66.14 ดี 65.05 ดี
64.07 ดี 62.19 ดี 63.13 ดี

จากตารางท่ี 6 พบว่า ผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ น รวม 2 สมรรถนะ สังกัดที่ได้คะแนน
เฉลยี่ สงู สดุ ได้แก่ ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่าน รวม 2 สมรรถนะ ทม่ี คี ะแนนเฉล่ียสูงที่สุด ได้แก่
โรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยมีคะแนนเฉล่ยี ด้านการอ่านออกเสียง ร้อยละ
74. 93 การอ่านรู้เร่อื ง รอ้ ยละ 72.91 คะแนนเฉล่ียรวมรอ้ ยละ 73.94 รองลงมาคอื โรงเรยี นสังกัดองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น มีคะแนนเฉลี่ยด้านการอ่านออกเสียง ร้อยละ 70.68 การอ่านรู้เร่ือง ร้อยละ 72.87
คะแนนเฉลี่ยรวมร้อยละ 71.87 อยู่ระดับคุณภาพ ดี โรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน มีคะแนนเฉล่ียด้านการอ่านออกเสียง ร้อยละ 68.36 การอ่านรู้เรื่อง ร้อยละ 67.42
คะแนนเฉล่ียรวมร้อยละ 67.95 อยู่ระดับคุณภาพ ดี โรงเรียนสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์
วิจัย และนวัตกรรม มีคะแนนเฉล่ียด้านการอ่านออกเสียง ร้อยละ 63.96 การอ่านรู้เร่ือง ร้อยละ 66.14
คะแนนเฉลี่ยรวมร้อยละ 65.05 อยู่ระดับคุณภาพ ดี และ โรงเรียนสังกัดกองบัญชาการตารวจตระเวน
ชายแดน มีคะแนนเฉล่ียด้านการอ่านออกเสียง ร้อยละ 64.07 การอ่านรู้เรื่อง ร้อยละ 62.19 คะแนนเฉล่ีย
รวมรอ้ ยละ 63.13 อยู่ระดบั คณุ ภาพ ดี ดังแผนภมู ิที่ 5

27

แผนภูมิที่ 5 แสดงผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ของโรงเรียนในจังหวัดอุบลราชธานี
โดยจาแนกรายสังกดั

74.93
72.91
73.94
68.36
67.42
67.95
70.68
72.87
71.87
63.96
66.14
65.05
64.07
62.19
63.13
80
70
60
50
40
30
20
10
0

สพฐ. สช. อปท. อว. ตชด.

การอา่ นออกเสียง การอา่ นรูเ้ ร่ือง รวม 2 สมรรถนะ

2.2 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ของโรงเรียนในจังหวัดอุบลราชธานี
จาแนกรายสงั กัด เปรียบเทยี บกับปีการศึกษา 2562

ตำรำงท่ี 7 ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรยี น ของโรงเรยี นในจงั หวดั อุบลราชธานี
จาแนกรายสงั กัด เปรยี บเทียบกับปกี ารศกึ ษา 2562

สงั กัด คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลีย่ ผลต่าง สรปุ

ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563

สพฐ. 72.18 73.94 1.76 เพมิ่ ข้นึ

สช. 62.37 67.95 5.58 เพม่ิ ขึ้น

อปท. 74.02 71.87 -2.15 ลดลง

อว. 74.17 65.05 -9.12 ลดลง

ตชด. 63.55 63.13 -0.42 ลดลง

จากตารางท่ี 7 พบว่า ผลการประเมินความสามารถด้านอ่านรวม 2 สมรรถนะ ปีการศึกษา 2563 มี
สงั กดั ทม่ี คี า่ เฉลี่ยร้อยละเพิ่มข้ึน ได้แก่ โรงเรยี นสงั กดั สานักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน เพมิ่ ข้ึน
ร้อยละ 5.58 และ โรงเรียนสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่ิมข้ึนร้อยละ 1.67 สังกัด
ท่ีมีคา่ เฉลย่ี ร้อยละลดลง ได้แก่ โรงเรยี นสงั กัดกระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัย และนวัตกรรม ลดลง
ร้อยละ 9.12 โรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ลดลงร้อยละ 2.15 และโรงเรียนสังกัด
กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน ลดลงร้อยละ 0.42 ดังแผนภูมทิ ่ี 6

28

แผนภูมิที่ 6 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ของโรงเรียนในจังหวัดอุบลราชธานี
จาแนกรายสังกดั เปรียบเทยี บกับปีการศกึ ษา 2562

80 72.18
75 73.94
70
65 62.37
67.95
74.02
71.87
74.17

65.05
63.55
63.13

60

55
สพฐ. สช. อปท. อว. ตชด.
คะแนนเฉลยี่ ปกี ารศกึ ษา 2562 คะแนนเฉลี่ย ปีการศึกษา 2563

2.3 ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรยี นปีการศึกษา 2563 ของโรงเรยี นในจงั หวัด
อุบลราชธานี จาแนกรายสังกัด เปรียบเทยี บกบั ระดับจังหวัด

ตำรำงที่ 8 ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นของผ้เู รยี น ของโรงเรยี นในจงั หวดั อุบลราชธานี

จาแนกรายสังกัด เปรียบเทียบกับระดับจังหวดั

สังกัด คะแนนเฉล่ยี คะแนนเฉลยี่ ผลต่าง สรปุ

ระดับจังหวัด ระดับสงั กดั

สพฐ. 72.85 73.94 1.09 สูงกวา่

สช. 72.85 67.95 -4.9 ตา่ กวา่

อปท. 72.85 71.87 -0.98 ตา่ กวา่

อว. 72.85 65.05 -7.8 ต่ากว่า

ตชด. 72.85 63.13 -9.72 ตา่ กว่า

จากตารางที่ 8 พบว่า ผลการประเมินความสามารถดา้ นอ่านคะแนนเฉล่ีย ปีการศึกษา 2563 สงั กดั
ที่มคี า่ เฉลย่ี สูงกวา่ ระดับจังหวัด ไดแ้ ก่ โรงเรียนสังกดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน สูงกวา่ ร้อย
ละ 1.09 และสังกัดท่ีมีค่าเฉลี่ยต่ากว่าระดับจังหวัด ได้แก่ โรงเรียนสังกัดกองบัญชาการตารวจตระเวน
ชายแดน ต่ากว่าร้อยละ 9.72 โรงเรียนสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม
ต่ากว่าร้อยละ 7.8 โรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ต่ากว่าร้อยละ 4.9
โรงเรยี นสงั กดั องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ตา่ กว่ารอ้ ยละ 0.98 ดงั แผนภมู ิท่ี 7

29

แผนภูมิที่ 7 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ของโรงเรียนในจังหวัดอุบลราชธานี
จาแนกรายสงั กัด เปรยี บเทยี บกับระดบั จังหวัด

76 72.85 72.85 72.85 72.85 72.85
74 73.94 67.95 71.87
72
70 65.05 63.13
68
66 สช. อปท. อว. ตชด.
64 ระดบั จังหวัด ระดับสงั กัด
62
60
58
56

สพฐ.

2.4 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนปีการศึกษา 2563 ของโรงเรียนในจังหวัด
อบุ ลราชธานี จาแนกรายสังกัด เปรียบเทยี บกบั ระดับจังหวัด

ตำรำงท่ี 9 ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียน ของโรงเรยี นในจงั หวดั อบุ ลราชธานี
จาแนกรายสงั กัด เปรียบเทยี บกบั ระดับประเทศ

สังกัด คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลย่ี ผลตา่ ง สรุป

ระดบั ประเทศ ระดบั สงั กัด

สพฐ. 73.02 73.94 0.92 สงู กว่า

สช. 73.02 67.95 -5.07 ตา่ กวา่

อปท. 73.02 71.87 -1.15 ต่ากว่า

อว. 73.02 65.05 -7.97 ต่ากวา่

ตชด. 73.02 63.13 -9.89 ต่ากวา่

จากตารางท่ี 9 พบว่า ผลการประเมินความสามารถดา้ น คะแนนเฉล่ีย ปีการศึกษา 2563 สังกัดท่ีมี
ค่าเฉลีย่ สูงกวา่ ระดับประเทศ ไดแ้ ก่ โรงเรียนสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน สูงกวา่ ร้อยละ
0.92 และสังกัดที่มีค่าเฉล่ียต่ากว่าระดับประเทศ ได้แก่ โรงเรียนสังกัดกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน
ต่ากว่าร้อยละ 9.89 โรงเรียนสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ต่ากว่าร้อยละ
7.97 โรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ต่ากว่าร้อยละ 5.0 โรงเรียนสังกัด
องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ต่ากว่าร้อยละ 1.15 ดังแผนภมู ทิ ี่ 8

30

แผนภูมิท่ี 8 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ของโรงเรียนในจังหวัดอุบลราชธานี
จาแนกรายสังกัด เปรยี บเทียบกับระดบั จงั หวัด

73.02
73.94
76 73.02 73.02 73.02 73.02
74 67.95 71.87
72
70 65.05 63.13
68
66 ตชด.
64
62
60
58
56

สพฐ. สช. อปท. อว.

คะแนนเฉลีย่ ระดบั ประเทศ คะแนนเฉลี่ย ระดบั สงั กดั

3. ผลกำรประเมินควำมสำมำรถดำ้ นกำรอำ่ นของผู้เรยี นในโรงเรียนสังกดั สำนกั ง
ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรยี นในโรงเรียนสังกดั สาน

โรงเรยี น โดยแตล่ ะขนาดเรยี งตามลาดบั คะนนรวมทงั้ 2 ดา้ น สงู ทส่ี ุด ตามลาดับ

ตำรำงที่ 10 ขนำดเลก็ พเิ ศษ จำนวน 1 โรงเรียน

ท่ี โรงเรยี น จำนวน กำรอ่ำนออกเสียง
อำเภอ นักเรยี น

เข้ำสอบ คะแนน ร้อยละ

1 ทววี ัฒนศ์ ึกษา เขมราฐ 5 49 98

แผนภมู ิท่ี 9 ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รยี นในโรงเรยี นสงั กัด

โรงเรยี น

98.6

98.4

98.2
98 98

97.8
อา่ นออกเสยี ง

31

งำนคณะกรรมกำรสง่ เสริมกำรศกึ ษำเอกชน ในจังหวัดอบุ ลรำชธำนี
นกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน ในจังหวดั อุบลราชธานี จาแนกตามขนาด

กำรอ่ำนรเู้ รื่อง รวม 2 ด้ำน ระดบั คุณภำพ
คะแนน ร้อยละ คะแนน รอ้ ยละ
49.2 98.4 98.2 98.2 อ่ำนออก อำ่ นรู้ รวม 2
เสียง เรอื่ ง ด้ำน

ดมี าก ดีมาก ดมี าก

ดสานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน ขนาดเล็กพิเศษ

นทววี ัฒน์ศกึ ษา

98.4
98.2

อา่ นรเู้ รือ่ ง รวม 2ดา้ น

31

ตำรำงที่ 11 ขนำดเล็ก จำนวน 5 โรงเรียน

อำเภอ จำนวน กำรอำ่ นออกเสยี ง
ท่ี โรงเรยี น นกั เรียน
เขำ้ สอบ
1 สมั มาสกิ ขาราชธานีอโศก วารนิ ชาราบ คะแนน รอ้ ย
2
2 มุทิตาศึกษา เดชอุดม 49.5 99
25 41.36 82.7

3 รุ้งอรุณศึกษา เมอื งอบุ ลราชธานี 18 37.72 75.4

4 อนบุ าลสุพรรณกิ า 2 บณุ ฑรกิ 41 29.51 59.0
107 31 62.0
5 อนุบาลกลุ วิกรานต์ตระการ ตระการพืชผล

พชื ผล

จากตารางท่ี 11 โรงเรียนเอกชนขนาดเล็ก จานวน 5 โรงเรยี น โรงเรียนท

รวม 2 ดา้ น เท่ากับ ร้อยละ 95.5 ระดับคุณภาพ ดีมาก รองลงมาคือ โรงเรยี นมุท

76.55 ตามลาดับ ระดับคณุ ภาพ ดมี าก ดังแผนภมู ทิ ี่ 10

32

ง กำรอำ่ นรเู้ รื่อง รวม 2 ดำ้ น ระดับคุณภำพ

ยละ คะแนน รอ้ ยละ คะแนน รอ้ ยละ อำ่ นออก อำ่ นรู้เร่ือง รวม 2ดำ้ น
เสยี ง

9 46 92 95.5 95.5 ดมี าก ดีมาก ดีมาก

72 39.16 78.32 80.52 80.52 ดีมาก ดีมาก ดมี าก

44 38.83 77.66 76.55 76.55 ดีมาก ดมี าก ดมี าก

02 43.21 86.43 72.73 72.73 ดี ดมี าก ดี

01 32.67 65.34 63.68 63.68 ดี ดี ดี

ท่มี คี ะแนนเฉลี่ยรวม 2 ด้าน สูงทสี่ ุด คือ โรงเรยี นสัมมาสกิ ขาราชธานอี โศก มคี ะแนนเฉล่ีย
ทิตาศึกษา และรุ้งอรุณศกึ ษา มีคะแนนเฉล่ียรวม 2 ด้าน เท่ากบั ร้อยละ 80.52 และ

32

แผนภมู ิท่ี 10 ผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผูเ้ รยี นในโรงเรยี นสงั ก

120

100 99
92
80
95.5
82.72
78.32
80.52
75.44

60

40

20

0 มุทติ าศกึ ษา รุ้ง
สัมมาสกิ ขาราชธานีอโศก

อา่ นออกเสยี ง อ

33

กดั สานักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน ขนาดเล็ก

77.66
76.55
59.02

86.43
72.73
62.01
65.34
63.68

งอรุณศึกษา อนุบาลสุพรรณิกา 2 อนบุ าลกุลวกิ รานตต์ ระการพชื ผล

อ่านร้เู ร่ือง รวม 2ด้าน

33

ตำรำงที่ 12 ขนำดกลำง จำนวน 16 โรงเรยี น

จำนวน กำรอำ่ นออกเ
นักเรียน
ที่ โรงเรยี น อำเภอ เขำ้ สอบ คะแนน รอ้
48.88 97
1 ฮว้ั เฉยี วกงฮัก อุบลฯ เมอื งอุบลราชธานี 17 42.51 85
2 ปญั ญารกั ษ์เกรยี งไกร โพธ์ไิ ทร 37 46.33 92
3 เวฬวุ ันวิทยา มว่ งสามสิบ 12 39.92 79
4 อนุบาลแสงสรุ ีย์ ตระการพืชผล 13 33.33 66
5 ชยั พิพัฒน์ ตระการพชื ผล 33 31.09 62
6 พุทธศาสตร์ศกึ ษาบา้ นดอนโด่ เขมราฐ 22
7 เจรญิ สขุ ศึกษา ศรเี มืองใหม่ 34.8 69
8 อนบุ าลจิรายุ ม่วงสามสิบ 31 37.55 75
9 วัดไชยมงคลวิทยาคม ตระการพืชผล 9 30.72 61
10 วฒุ ิศกึ ษา โพธไิ์ ทร 18 25.31 50
11 อนุบาลตระการทพิ ย์ ศรเี มืองใหม่ 19 31.81 63
12 ศริ ิอุบลวรรณ สวา่ งวรี ะวงศ์ 16 25.6 5
13 อบุ ลครสิ เตยี น เมืองอุบลราชธานี 30 28.77 57
14 วัดท่ากกแห่วทิ ยาราม เมอื งอบุ ลราชธานี 31 25.68 51
15 อนุบาลสาโรง สาโรง 22 19.38 38
16 ศนู ยพ์ ลาญข่อย สริ นิ ธร 18 16.17 32
28

34

เสียง กำรอำ่ นร้เู ร่ือง รวม 2 ด้ำน ระดบั คณุ ภำพ

อ่ำนออก อำ่ นรู้ รวม 2

อยละ คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ เสยี ง เร่ือง ด้ำน

7.76 40.23 80.47 89.11 89.11 ดมี าก ดมี าก ดีมาก

5.02 40.13 80.27 82.64 82.64 ดีมาก ดมี าก ดมี าก

2.66 34.33 68.66 80.66 80.66 ดมี าก ดี ดีมาก

9.84 38.07 76.15 78 78 ดมี าก ดีมาก ดมี าก
6.66 41.69 83.39 75.03 75.03 ดี ดีมาก ดีมาก

2.18 39.9 79.81 71 71 ดี ดมี าก ดี

9.61 34.87 69.74 69.67 69.67 ดี ดี ดี

5.11 29.33 58.66 66.88 66.88 ดีมาก ดี ดี

1.44 34.72 69.44 65.44 65.44 ดี ดี ดี

0.63 39.21 78.42 64.52 64.52 ดี ดมี าก ดี

3.62 30.5 61 62.31 62.31 ดี ดี ดี

51.2 33.5 67 59.1 59.1 ดี ดี ดี

7.54 29.58 59.16 58.35 58.35 ดี ดี ดี

1.36 26.04 52.09 51.72 51.72 ดี ดี ดี

8.77 27.27 54.55 46.66 46.66 พอใช้ ดี พอใช้

2.35 22.67 45.35 38.85 38.85 พอใช้ พอใช้ พอใช้

34

80.47 97.76จากตารางท่ี 12 โรงเรียนเอกชนขนาดกลาง จานวน 16 โรงเรียน โรงเรยี
89.11รวม 2 ดา้ น เท่ากบั ร้อยละ 89.11 ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก รองลงมาคือ โรงเรียนปัญ
และ 80.66ตามลาดับ ระดับคณุ ภาพ ดมี าก ดงั แผนภูมิ ที่ 11
80.825.702แผนภมู ทิ ี่ 11 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รียนในโรงเรียนสงั ก
82.64
68.6680.6692.66120
7767.891.584100
66.6765.0833.3980
62.1860
71 79.8140
69.6120
6699..6774
0

อ่านออกเสียง

35
ยนทม่ี ีคะแนนเฉลยี่ รวม 2 ด้าน สูงท่สี ดุ คือ โรงเรยี นฮัว้ เฉยี วกงฮกั อุบลฯ มีคะแนนเฉล่ีย
ญญารักษ์เกรียงไกร และเวฬุวันวทิ ยา มีคะแนนเฉล่ยี รวม 2 ดา้ น เทา่ กบั ร้อยละ 82.64
กดั สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน โรงเรียนขนาดกลาง

อ่านรเู้ รื่อง รวม 2ดา้ น
58.6666.8785.11
61.645.6449.444
50.63
64.52 78.42
63.62
6612.31
51.259.167
55578.9..531456
555112...370629
38.77 54.55
46.66
32.35 45.35
38.85

35

ตำรำงท่ี 13 ขนำดใหญ่ จำนวน 10 โรงเรยี น

ที่ โรงเรียน จำนวน กำรอ่ำนออกเสียง
อำเภอ นักเรียน
คะแนน ร้อยละ
เข้ำสอบ 45.5 91

1 อนบุ าลอรุณจิตร เดชอดุ ม 50

2 พุทธเมตตาวทิ ยา เมืองอบุ ลราชธานี 68 42.25 84.5

3 อนุบาลลกู รกั เหลา่ เสอื โก้ก 48 41.35 82.7

4 สมบูรณเ์ ลิศวทิ ยา นา้ ยืน 73 39.9 79.8

5 พระกุมารอบุ ล เมืองอบุ ลราชธานี 56 33.08 66.17

6 นคิ ม 2 อนุบาล สริ นิ ธร 12 24.33 48.66

7 อนบุ าลวัดศรีเจริญ บณุ ฑรกิ 55 33.87 67.74

8 เทพนมิ ิต เขมราฐ 18 20.05 40.11
ศนู ยพ์ ลาญข่อย 2 สริ ินธร 22 9.27 18.54
เขอ่ื งใน 19 6.21 12.42
9 บา้ นด่านเมน่

10 นนั ตาศึกษา

จากตารางท่ี 13 โรงเรยี นเอกชนขนาดใหญ่ จานวน 10 โรงเรียน โรงเรยี
2 ด้าน เท่ากับ รอ้ ยละ 90.32 ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก รองลงมาคือ โรงเรยี นพุทธเม
76.91ตามลาดับ ระดบั คุณภาพ ดมี าก ดงั แผนภูมิ ท่ี 12

36

ง กำรอำ่ นรเู้ ร่อื ง รวม 2 ด้ำน ระดับคุณภำพ

อ่ำนออก อำ่ นรู้ รวม 2
ะ คะแนน ร้อยละ คะแนน รอ้ ยละ เสียง เรือ่ ง ด้ำน

44.82 89.64 90.32 90.32 ดีมาก ดีมาก ดีมาก

37.82 75.64 80.07 80.07 ดีมาก ดีมาก ดีมาก

35.56 71.12 76.91 76.91 ดมี าก ดี ดีมาก

32.01 64.02 71.91 71.91 ดมี าก ดี ดี

7 32 64 65.08 65.08 ดี ดี ดี

6 38.91 77.83 63.25 63.25 พอใช้ ดีมาก ดี

4 24.94 49.89 58.81 58.81 ดี พอใช้ ดี

1 31.52 63.05 53.33 53.33 พอใช้ ดี ดี

4 17.18 34.36 26.45 26.45 ปรบั ปรุง พอใช้ พอใช้

2 18.05 36.1 24.26 24.26 ปรบั ปรุง พอใช้ ปรบั ปรงุ

ยนท่มี ีคะแนนเฉลย่ี รวม 2 ด้าน สูงท่สี ดุ คือ โรงเรยี นอนบุ าลอรุณจิตร มคี ะแนนเฉลี่ยรวม
มตตาวทิ ยา และอนบุ าลลกู รัก มีคะแนนเฉลี่ยรวม 2 ดา้ น เทา่ กบั รอ้ ยละ 80.07 และ

36

91แผนภูมิท่ี 12 ผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผ้เู รยี นในโรงเรยี นสงั ก
89.64
90.32100
84.590
75.6480
80.0770
82.760
71.1250
76.9140
79.830
64.0220
71.9110
66.170
64
อ่านออกเสียง

37

กัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โรงเรยี นขนาดใหญ่

65.08
48.66

77.83
63.25

67.74
49.89

58.81
40.11

63.05
53.33
18.54
34.36
26.45
12.42
36.1
24.26

อา่ นรู้เร่ือง รวม 2ดา้ น

37

ตำรำงที่ 14 ขนำดใหญพ่ เิ ศษ จำนวน 31 โรงเรียน

ท่ี โรงเรยี น จำนวน กำรอ่ำนออ

อำเภอ นกั เรียน คะแนน ร
เขำ้ สอบ

1 เทพพิทักษพ์ ิทยา วารินชาราบ 89 44.44 8

2 วดั นาเยียวิทยา นาเยยี 42 41.09 8

3 อนุบาลนอ้ งหญงิ ตระการพืชผล 73 43.42 8

4 อบุ ลวิทยากร เมืองอุบลราชธานี 23 42.21 8
5 อาเวมารีอา
เมอื งอุบลราชธานี 59 39.1
6 ปุญญสารวดั ศรีโพธ์ชิ ัย ตระการพชื ผล 29 39.41 7
7 วัดเวตวนั วิทยาราม เดชอุดม 88 40.93 8
8 มารียน์ ิรมล เมอื งอุบลราชธานี 82 40.06 8
9 บ้านเดก็ วารินชาราบ วารินชาราบ 149 38.87 7
10 อนบุ าลสุพรรณิกา นาจะหลวย 39 36.71 7
11 อนุบาลบ้านเดก็ เมอื งอุบลราชธานี 44 38.2

12 อัสสมั ชญั อบุ ลราชธานี เมืองอบุ ลราชธานี 108 37.3 7
13 ศิริเกษวิทยา 70 39.57 7
14 อนุบาลน้ายืน บุณฑรกิ 68 38.58 7
15 ฮั้วเฉยี วอุบลราชธานี 2 นา้ ยืน 49 33.22 6
16 วดั ไรน่ ้อย เมืองอุบลราชธานี 47 31.31 6
17 เตรียมบัณฑิต เมืองอบุ ลราชธานี 146 35.02 7
18 อนบุ าลพุทธเมตตา บุณฑริก 107 31.6 6
19 บ้านพณิ โท เขมราฐ 95 35.34 7
ม่วงสามสิบ

38

อกเสียง กำรอ่ำนรู้เรอ่ื ง รวม 2 ดำ้ น ระดับคุณภำพ

ร้อยละ คะแนน ร้อยละ คะแนน รอ้ ยละ อ่ำนออก อ่ำนรู้ รวม 2
เสยี ง เรื่อง ดำ้ น
88.89 40.31 80.62 84.76 84.76
ดมี าก ดีมาก ดมี าก
82.19 43.09 86.19 84.19 84.19
ดีมาก ดีมาก ดมี าก
86.84 39.93 79.86 83.35 83.35
84.43 40.39 80.78 82.6 82.6 ดีมาก ดีมาก ดีมาก
78.2 43.45 86.91 82.55 82.55
78.82 39.68 79.37 79.1 79.1 ดีมาก ดมี าก ดมี าก
81.86 36.79 73.59 77.72 77.72
80.12 35.64 71.29 75.7 75.7 ดมี าก ดมี าก ดมี าก
77.75 34.99 69.98 73.87 73.87
73.43 36.17 72.35 72.89 72.89 ดมี าก ดีมาก ดีมาก
76.4 34.54 69.09 72.75 72.75
ดีมาก ดี ดมี าก
74.61 35.19 70.38 72.5 72.5
79.14 31.7 63.4 71.27 71.27 ดมี าก ดี ดีมาก
77.17 32.57 65.14 71.16 71.16
66.44 37.69 75.38 70.91 70.91 ดีมาก ดี ดี
62.63 38.21 76.42 69.53 69.53
70.04 34.34 68.68 69.36 69.36 ดี ดี ดี
63.21 35.45 70.91 67.06 67.06
70.69 31.68 63.36 67.03 67.03 ดมี าก ดี ดี

ดี ดี ดี

ดมี าก ดี ดี

ดีมาก ดี ดี

ดี ดีมาก ดี

ดี ดีมาก ดี

ดี ดี ดี

ดี ดี ดี

ดี ดี ดี

38

ที่ โรงเรยี น จำนวน กำรอ่ำนอ

อำเภอ นักเรียน คะแนน
เขำ้ สอบ

20 ดสุ ติ คามนคร กดุ ข้าวปุ้น 78 33.42
21 อนบุ าลจิรพฒั น์วิทยา สาโรง 37 32.81
22 เซนต์เอเมลี 76 31.97
23 สที องอปุ ถมั ภ์ เมืองอบุ ลราชธานี 63 29.98
24 งามจิตวารนิ ชาราบ 2 109 30.77
25 พรเมตตาครสิ เตียน ดอนมดแดง 76 29.82
26 ประสทิ ธศิ์ ึกษาสงเคราะห์ วารนิ ชาราบ 64 27.65
27 สมเด็จ นาตาล 46 20.13
28 ศรีอดุ มปัญญาคม 107 21.43
29 พมิ พ์ประภาสงเคราะห์ เมืองอบุ ลราชธานี 25 21.48
30 วดั สวายน้อยวิทยา 32 19.62
31 ดารงวทิ ยา เมืองอบุ ลราชธานี
30.26
ทุ่งศรีอุดม
มว่ งสามสิบ
น้ายืน
นาตาล

จากตารางที่ 14 โรงเรียนเอกชนขนาดใหญ่พิเศษ จานวน 31 โรงเรียน
เฉล่ียรวม 2 ด้าน เท่ากับ ร้อยละ 84.76 ระดับคุณภาพ ดีมาก รองลงมาคือ โรง
84.19 และ 83.35 ตามลาดบั ระดับคณุ ภาพ ดีมาก ดังแผนภูมิ ที่ 13

39

ออกเสียง กำรอ่ำนรู้เร่ือง รวม 2 ดำ้ น ระดบั คุณภำพ

รอ้ ยละ คะแนน ร้อยละ คะแนน รอ้ ยละ อ่ำนออก อำ่ นรู้ รวม 2
เสียง เรอ่ื ง ดำ้ น

66.84 29.37 58.74 62.79 62.79 ดี ดี ดี

65.62 28.59 57.18 61.4 61.4 ดี ดี ดี

63.94 28.97 57.94 60.94 60.94 ดี ดี ดี

59.96 30.34 60.69 60.33 60.33 ดี ดี ดี

61.55 29.18 58.36 59.96 59.96 ดี ดี ดี

59.65 29.44 58.89 59.27 59.27 ดี ดี ดี

55.31 31.1 62.21 58.76 58.76 ดี ดี ดี

40.26 33.02 66.04 53.15 53.15 พอใช้ ดี ดี

42.87 25.29 50.59 46.73 46.73 พอใช้ ดี พอใช้

42.96 17.8 35.6 39.28 39.28 พอใช้ พอใช้ พอใช้

39.25 19.62 39.25 39.25 39.25 พอใช้ พอใช้ พอใช้

60.52 0 0 0 0 ดี ปรบั ปรุง ปรับปรงุ

น โรงเรียนที่มีคะแนนเฉล่ียรวม 2 ด้าน สูงที่สุด คือ โรงเรียนเทพพิทักษ์พิทยา มีคะแนน
งเรียนวัดนาเยียวิทยา และอนุบาลน้องหญิง มีคะแนนเฉลี่ยรวม 2 ด้าน เท่ากับ ร้อยละ

39

88.89แผนภูมิที่ 13 ผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผเู้ รียนในโรงเรียนสงั ก
80.62
100
84.7690
82.1980
70
86.1960
84.1950
40
86.8430
79.8620
10
83.350
84.43
80.78 อา่ นออกเสียง
82.6
78.2

86.91
82.55
78.82
79.37
79.1
81.86
73.59
77.72


Click to View FlipBook Version