The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2559

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pidthong.pidthong, 2022-01-21 00:28:22

รายงานประจำปี 2559

รายงานประจำปี 2559

Keywords: รายงานประจำปี 2559

“…ให้มีความมุ่งมนั่ มีก�ำ ลังใจ ในอนั ทีจ่ ะรว่ มกันปฏิบตั สิ รรพกิจน้อยใหญ่ในภาระหน้าที่
ตามแนวพระบรมราโชบายท่พี ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร

ไดพ้ ระราชทานไว้ ใหง้ านทกุ อยา่ งสำ�เร็จผล เป็นความดี ความเจริญ ทัง้ แก่ตนเอง
แกส่ ว่ นรวม และประเทศชาติ เป็นการร�ำ ลึกถงึ พระมหากรุณาธิคุณ...”

พระราชด�ำ รสั สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวมหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู
วนั ที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๙

สารบญั ๓
๑๒
สรปุ ผู้บรหิ าร
ความเป็นมา มลู นธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ ๑๕
และสถาบันสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปิดทองหลังพระฯ ๑๗
คณะกรรมการ ๑๙
หลักการด�ำ เนนิ งานและแนวทางปฏบิ ตั งิ าน ๒๔
กรอบการด�ำ เนินงานตามมตคิ ณะกรรมการ ๖๘
สรุปการดำ�เนินงานปิดทองหลังพระฯ ๘๖
งบการเงนิ ปี ๒๕๕๙
แผนงานในปงี บประมาณ ๒๕๖๐

2

๑ สรปุ ผ้บู รหิ าร รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

การด�ำ เนินงานของมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ สามารถบรรลุ
ตามเป้าหมายสำ�คัญของการก่อต้ังมูลนิธิ คือ ประชาชนสามารถเรียนรู้และสร้างประสบการณ์ตรงจากแนวทาง
โครงการพระราชดำ�ริและน้อมนำ�มาปรับใช้ในชีวิตประจำ�วัน ส่งเสริมอาชีพให้กับประชาชน เพื่อยกระดับฐานะ
ความเป็นอยู่ รวมทั้งส่งเสริมความรู้ความเข้าใจควบคู่กับการกระตุ้นจิตสำ�นึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดล้อม

มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ยังดำ�เนินการได้บรรลุผลตามเป้าหมายตัวช้ีวัดผลสัมฤทธ์ิท้ัง ๕ ด้าน ๑๘ ตัวชี้วัด
ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การบูรณาการการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงระยะท่ี ๒
(พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๓) โดยผลการด�ำ เนินงานทส่ี ำ�คัญ คือ พื้นที่ตน้ แบบ ๕ จังหวดั จำ�นวน ๘๑ หมบู่ า้ น ๓,๑๖๑
ครัวเรือน มีรูปแบบการพัฒนาท่ีเหมาะสม ประชาชนสามารถอยู่รอดในระดับครัวเรือน ก้าวไปสู่ชุมชนพอเพียง
และพ่ึงพาตัวเองได้อย่างย่ังยืน มีครัวเรือนในพ้ืนที่ต้นแบบอยู่รอด หรือรายได้ไม่ตกเกณฑ์ จปฐ.เพ่ิมขึ้น
จากปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ร้อยละ ๑๖ จากการเพิ่มประสิทธิภาพโครงสร้างพ้ืนฐานธรรมชาติด้านการผลิต
โดยการบรหิ ารจดั การนำ้� การปรบั ปรงุ ดนิ ใหเ้ หมาะสมกบั การเพาะปลกู การฟน้ื ฟทู รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

3

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

ด้านระบบนำ้� สามารถเพิ่มพ้ืนท่ีรับประโยชน์ด้านเกษตรกรรมได้เป็น ๑๑,๙๙๗ ไร่ เพิ่มขึ้น ๓,๖๒๔ ไร่
หรอื รอ้ ยละ ๔๓.๒๘ มีระบบน้ำ�เพอ่ื การเกษตรคดิ เป็นร้อยละ ๑๔.๙๑ ของพื้นที่เกษตรกรรมทงั้ หมดในพน้ื ที่ต้นแบบ
๕ จังหวัด กล่าวคือ พ้ืนท่ีต้นแบบโครงการบริหารจัดการนำ้�อย่างย่ังยืน อ่างเก็บนำ้�ห้วยคล้ายอันเน่ืองมาจาก
พระราชดำ�ริ จังหวัดอุดรธานี สามารถเพิ่มพ้ืนท่ีรับประโยชน์จากนำ้�เพ่ือการเกษตร ร้อยละ ๖.๙ ทำ�ให้มีน้ำ�
เพื่อการเกษตรครอบคลุมร้อยละ ๓๘.๘๙ ของพืน้ ที่เกษตรกรรมทง้ั หมด การทำ�ฝายในพ้นื ท่ตี น้ น้�ำ เหนอื อา่ งเก็บนำ้�
หว้ ยคลา้ ย โดยปิดทองหลังพระฯ สนับสนุนเพยี งวสั ดุอปุ กรณ์ สามารถเพิ่มปริมาณกักเก็บน้�ำ ในพืน้ ท่ีได้ ๑๘,๑๘๑
ลกู บาศก์เมตร

โครงการพ้ืนท่ีต้นแบบบูรณาการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพ้ืนที่ตำ�บลแก่นกระกรูด จังหวัดอุทัยธานี สามารถ
ขยายพื้นที่รับประโยชน์เพ่ิมขึ้น ๑,๖๑๙.๓๗ ไร่ จาก ๘๓๕.๘๓ ไร่ในปี ๒๕๕๘ เป็น ๒,๔๕๕ ไร่ หรือเพ่ิมขึ้น
ร้อยละ ๑๙๓.๗๔ มีระบบนำ้�เพ่ือการเกษตรครอบคลุมร้อยละ ๑๔.๖๙ ของพื้นที่เกษตรกรรมทั้งหมด โครงการ
แผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นท่ีประยุกต์ฯ บ้านโป่งลึก-บางกลอย จังหวัดเพชรบุรี สามารถเพ่ิมพื้นท่ีรับประโยชน์
เพื่อการเกษตรจากเดิม ๓๐๒ ไร่ ในปี ๒๕๕๘ เป็น ๓๗๒ ไร่ โครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือยอันเนื่อง
มาจากพระราชด�ำ ริ จังหวดั กาฬสินธม์ุ ีพน้ื ทร่ี บั ประโยชน์ทางการเกษตรเพ่มิ ขนึ้ จากเดิม ๕,๙๓๘ ไร่ในปี ๒๕๕๘
เปน็ ๗,๗๙๑ ไร่ ในปี ๒๕๕๙

4

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

ด้านการส่งเสริมอาชีพ มีการสนับสนุนการปลูกไม้ผลยืนต้นเพ่ือสร้างรายได้ระยะยาวในพื้นที่ต่างๆ เช่น
กล้วยหมาก มะขามเปรย้ี วยักษ์ ทุเรียน เงาะ อโวคาโด มะพรา้ วน้ำ�หอม ในพ้นื ทีโ่ ครงการพน้ื ท่ตี น้ แบบบูรณาการ
แก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นท่ีตำ�บลแก่นกระกรูด จังหวัดอุทัยธานี เพิ่มข้ึนจากการส่งเสริมการปลูกสตรอว์เบอร์รี
นอกจากเพ่ือสร้างรายได้แล้ว ยังเป็นการสร้างแนวกันชนให้กับชายป่าห้วยขาแข้งอีกด้วยเช่นเดียวกับการสนับสนุน
ให้ปลูกตะคร้อ ไผ่เกรียบ สะตอ มะเนียง ทุเรียน มังคุด มะขามยักษ์ ในพ้ืนที่โครงการแผนพัฒนาชนบท
เชิงพ้นื ท่ปี ระยกุ ต์ฯ บ้านบางกลอย-โป่งลกึ จังหวดั เพชรบุรี

นอกจากนี้ ยงั มกี ารสนับสนนุ อาชีพทางเลอื กอื่นๆ เชน่ การเลยี้ งจิ้งหรีด กุ้งฝอย กบ ไส้เดือน มดแดง ปศุสตั ว์
และประมง ฯลฯ ควบคู่กับการให้ความรู้ในการเพาะปลูกให้ได้มาตรฐานการผลิตท่ีดี การแปรรูปและการตลาด
รวมทั้งเช่ือมโยงความร่วมมือกับภาคธรุ กจิ ภาคเอกชน ในการรับซอ้ื ผลผลติ จากการส่งเสริมอาชพี เป็นตน้

ในการเผยแผ่ความรู้ตามแนวพระราชดำ�ริเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ
ไดร้ ่วมกบั ภาคแี ละสถาบนั การศึกษา จดั เวทีแลกเปลยี่ นเรียนร้รู ะหว่างชมุ ชนด้วยกนั เอง อกี ๓ คร้งั ใน ๓ ภูมภิ าค
คอื ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือที่จังหวัดอดุ รธานี ภาคกลางท่จี งั หวดั เพชรบุรี และภาคเหนือท่จี ังหวัดแพร่

แผนการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ จึงมุ่งเน้นให้การดำ�เนินงานของสถาบัน
ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ มีความเข้มข้นในการขยายผลมากขึ้น
โดยในการพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบ จะส่งเสริมการรวมกลุ่มให้มีการบริหารจัดการท่ีดี โปร่งใส ตรวจสอบได้ และ
มรี ะบบการรวมกลมุ่ ทเ่ี ปน็ มาตรฐานสากล พฒั นาพนื้ ทใ่ี หเ้ ปน็ ตน้ แบบอยา่ งครบวงจร และขยายผลตอ่ ไปยงั พนื้ ทอ่ี นื่ ๆ
ในจังหวัดต้นแบบ จัดตั้งสถาบันฝึกอบรมตามแนวทางปิดทองหลังพระฯ ที่จะรวบรวมความรู้และประสบการณ์
ของสถาบนั ฯ ในการพฒั นาชมุ ชนในพน้ื ทตี่ น้ แบบมาเปน็ หลกั สตู รในการฝกึ อบรมตอ่ ไป รว่ มกบั ความรจู้ ากภมู ปิ ญั ญา
เดิมและสืบสานขยายผลแนวทางพระราชดำ�ริรว่ มกับภาคีเครือขา่ ยตา่ งๆ ใหก้ วา้ งขวางยิง่ ขนึ้

5

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

สาร
ประธานกรรมการ
มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ

6

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

ในปี ๒๕๕๙ ประชาชนชาวไทยต้องประสบกับความสูญเสียครั้งย่ิงใหญ่ จากการเสด็จสวรรคตของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ยังความโศกเศร้าอาลัยให้เกิดแก่ประชาชน
มาจนถงึ ปจั จบุ นั ดว้ ยประชาชนชาวไทยไดป้ ระจกั ษแ์ ละส�ำ นกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ โดยเสมอมาวา่ พระบาทสมเดจ็
พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ไดท้ รงงานอยา่ งหนักและต่อเนอ่ื งมาตงั้ แตเ่ สดจ็ ข้นึ ครองสิริราช
สมบัติ เพ่ือความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้นของประชาชนโดยแท้ ดังจะเห็นได้ว่า โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ
จ�ำ นวนมาก เชน่ โครงการปลานิลพระราชทาน โครงการฟาร์มโคนม โครงการหน่วยแพทยพ์ ระราชทาน ทุนมูลนิธิ
อานันทมหิดล ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม อันเกิด
จากพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระองค์ ลว้ นอ�ำ นวยประโยชนแ์ กป่ ระชาชนทกุ คน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพยี งทไ่ี ด้พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย เพื่อเป็นแนวทางการดำ�เนินชวี ิตทดี่ ีอย่างย่ังยนื
มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ ได้ก่อต้ังข้ึนมาเพ่ือดำ�เนินการขยายผลแนวพระราชดำ�ริ
ให้กวา้ งขวางจนเป็นแนวทางหลักในการพัฒนาประเทศ และได้ด�ำ เนนิ การมาแล้วเป็นเวลา ๗ ปี ซง่ึ ตลอดระยะเวลา
ดงั กล่าวนน้ั มลู นธิ ฯิ ได้ร่วมกบั ภาคีต่างๆ ท้งั ภาครัฐและภาคเอกชนตลอดจนชมุ ชน นำ�แนวพระราชด�ำ ริมาปรับใช้
ในการพัฒนา และยึดหลักการพัฒนาเชิงพื้นท่ีเป็นหัวใจในการสร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วน โดยเฉพาะ
ภาคประชาชน เพอื่ ให้เกิดการพัฒนาอย่างยง่ั ยืนได้อยา่ งแท้จรงิ
ในปที ่ผี ่านมา พน้ื ทีต่ ้นแบบการพฒั นาไดข้ ยายไปยงั พืน้ ท่ใี หม่ ทำ�ให้มูลนิธฯิ มพี ้นื ท่กี ารด�ำ เนนิ งานในจงั หวดั
ตา่ งๆ ๙ จงั หวดั ประกอบด้วย จังหวดั น่าน จังหวดั อดุ รธานี จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ จงั หวัดเพชรบุรี จังหวัดอทุ ัยธานี
จงั หวดั ขอนแกน่ จงั หวัดยะลา จงั หวดั ปัตตานี และจังหวดั นราธิวาส ผลส�ำ เร็จและความกา้ วหนา้ ในการด�ำ เนนิ งาน
ของมูลนิธิฯ แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า การพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร น้ันมีความสอดคล้องกับความต้องการของประเทศและประชาชน
ในทุกพืน้ ที่ ซ่งึ เมื่อน�ำ ไปปฏิบัติแลว้ ก็ไดร้ ับการยอมรบั และได้รบั ความรว่ มมอื จากทุกภาคส่วนทเี่ ก่ียวขอ้ ง
ในฐานะประธานกรรมการมลู นธิ ฯิ ขา้ พเจา้ ขอขอบคณุ คณะกรรมการทงั้ ในสว่ นของมลู นธิ ิ และในสว่ นสถาบนั
ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ภาคีราชการ เอกชน และชุมชนต่างๆ ตลอดไปจนถึงเจ้าหน้าท่ี
ปิดทองหลงั พระฯ ในทุกพืน้ ท่ี ที่มศี รัทธาในแนวพระราชดำ�ริและเข้ามารว่ มงานกนั เป็นจำ�นวนมาก
ขออวยพรให้ทุกท่านประสบความสำ�เร็จในงาน เพื่อท่ีเพ่ือนร่วมชาติของเราจะพัฒนาได้อย่างยั่งยืน
ตามพระราชปณิธาน เป็นก�ำ ลังในการพฒั นาให้ประเทศไทยได้รุ่งเรอื งสถาพรต่อไป

(ทา่ นผูห้ ญงิ บตุ รี วรี ะไวทยะ)
ประธานกรรมการ

มลู นธิ ปิ ิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ

7

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

สาร
ประธานกรรมการสถาบนั สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรม

ปดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ

8

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ
สถานการณป์ จั จบุ นั หลายประเทศชน้ั น�ำ ของโลกมกี ารเปลย่ี นแปลงผนู้ �ำ และการบรหิ ารเศรษฐกจิ ซง่ึ กระตนุ้
ให้เกิดการปรับตัวกันขนานใหญ่ทั่วโลก และเกิดการคาดการณ์กันในหลายมิติ เช่น จะเกิดการปิดก้ันทางการค้า
จะมคี วามตึงเครยี ดในทะเลจีนใต้ จะมกี ารสะสมก�ำ ลงั อาวธุ กันอย่างกวา้ งขวาง เปน็ ต้น
ความเปลยี่ นแปลงดงั กลา่ วยอ่ มจะสง่ ผลกระทบตอ่ ประเทศของเราได้ ไมม่ ากกน็ อ้ ย แตเ่ มอื่ ยอ้ นดวู กิ ฤตตา่ งๆ
ของโลกทเี่ คยเกิดข้นึ มาในอดตี จะเหน็ ได้วา่ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทฤษฎใี หม่ และแนวพระราชด�ำ รติ า่ งๆ
ทง้ั เร่อื งทางเศรษฐกิจ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม และวัฒนธรรม ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ พระราชทาน
มาน้ัน ล้วนให้คำ�ตอบและทางแก้ไขท่ีได้ผลอย่างย่ังยืนม่ันคงแก่ปวงชนชาวไทย รอแต่เพียงให้เราศึกษา
แนวพระราชดำ�รใิ หถ้ อ่ งแท้ น�ำ ไปปฏบิ ัติแล้วพฒั นาต่อยอดให้ดยี ิง่ ๆ ขน้ึ ไป
เหล่าน้ันคือพันธกิจท่ีปิดทองหลังพระฯ ได้ดำ�เนินการอย่างต่อเน่ืองมาจนเข้าสู่ปีที่ ๗ ในขณะน้ี สรุปได้
โดยย่อ คอื การน�ำ แนวพระราชด�ำ รไิ ปแก้ไขปญั หาของประเทศ ดว้ ยกระบวนการมสี ว่ นร่วมจากทกุ ภาคสว่ นในพน้ื ท่ี
ต้นแบบเพ่อื ใหเ้ ห็นประจักษ์ ได้รับการยอมรบั จนมกี ารนำ�ไปปฏบิ ตั อิ ยา่ งกวา้ งขวางและเป็นระบบ
จากภาคเหนอื ในพน้ื ทต่ี น้ แบบจงั หวดั นา่ น ปดิ ทองหลงั พระฯ รว่ มกบั ภาคี ขยายพนื้ ทต่ี น้ แบบไปยงั ภาคอสี าน
ภาคกลาง และภาคใต้ จนท�ำ ใหป้ ัจจุบนั มีพ้นื ที่ตน้ แบบประกอบดว้ ย นา่ น อุดรธานี กาฬสนิ ธุ์ ขอนแก่น อุทยั ธานี
เพชรบรุ ี และในพื้นทส่ี ามจงั หวดั ชายแดนใต้
ในภาวะทค่ี วามเหลอ่ื มล�ำ้ ของประเทศขยายตวั อยา่ งตอ่ เนอ่ื งในชว่ งหลายทศวรรษทผ่ี า่ นมานน้ั การด�ำ เนนิ งาน
ของปิดทองหลังพระฯ จึงมุ่งสร้างโอกาสในการพัฒนาตนเองให้แก่ชุมชนที่ด้อยโอกาส ผ่านกระบวนการร่วมคิด
ร่วมท�ำ ซ่งึ ปรากฏวา่ การด�ำ เนนิ งานมคี วามกา้ วหนา้ ในทุกพ้ืนที่
อยา่ งไรกต็ าม การพฒั นาทยี่ ดึ โยงการสรา้ งคนหรอื ประชาชนเปน็ แกนส�ำ คญั นน้ั เปน็ ไปตามพระบรมราโชวาท
ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่ว่า “...การพัฒนาประเทศจำ�เป็นต้องทำ�ตามลำ�ดับข้ัน
ตอ้ งสรา้ งพน้ื ฐาน คอื ความพอดี พอกนิ พอใชข้ องประชาชนสว่ นใหญเ่ ปน็ เบอ้ื งตน้ กอ่ น โดยใชว้ ธิ กี ารและใชอ้ ปุ กรณ์
ทีป่ ระหยัด แตถ่ ูกต้องตามหลักวชิ าการ เมือ่ ไดพ้ น้ื ฐานม่นั คงพร้อมพอควรและปฏิบตั ิไดแ้ ลว้ จึงค่อยสรา้ งคอ่ ยเสริม
ความเจริญ และฐานะเศรษฐกิจชน้ั ท่สี งู ข้นึ โดยล�ำ ดับตอ่ ไป…”
นอกเหนือไปจากนั้น ปิดทองหลังพระฯ ให้ความสำ�คัญกับ “ภูมิสังคม” ตระหนักว่าแต่ละพื้นที่มีปัญหาท่ี
แตกต่างกัน เช่น จังหวัดน่านและอุทัยธานีมีปัญหาเร่ืองการบุกรุกพื้นท่ีป่าสงวน ก็ได้เข้าไปร่วมกับหน่วยงาน
พรอ้ มกบั ชมุ ชนตา่ งๆ ก�ำ หนดพน้ื ทท่ี �ำ กนิ ทช่ี ดั เจน และสง่ เสรมิ เรอ่ื งอาชพี ใหค้ นสามารถอยรู่ ว่ มกบั ปา่ ไดอ้ ยา่ งเกอ้ื กลู กนั
ที่จังหวัดกาฬสินธุ์ อุดรธานี เพชรบุรี มีปัญหาเร่ืองแหล่งนำ้�ในการประกอบอาชีพ ควรแก้ไขด้วยการร่วมกับ
หน่วยงานต่างๆ พัฒนาแหล่งนำ้�และต่อยอดเร่ืองการส่งเสริมอาชีพ ให้มีรายได้อย่างต่อเน่ืองตลอดทั้งปี พร้อมสู่
การพฒั นาอยา่ งเป็นขัน้ ตอน อย่รู อด พอเพียง และยัง่ ยนื
ความสำ�เรจ็ ในชว่ งทผี่ ่านมาเกดิ จากความรว่ มมอื ของภาคส่วนต่างๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เชน่ กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ใน
รูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือประชาชนในชุมชน ทำ�ให้ปิดทองหลังพระฯ สามารถเพิ่มพ้ืนที่ต้นแบบ
การพัฒนา และนำ�แนวพระราชดำ�รไิ ปสกู่ ารปฏิบตั ิครบทุกภาคของประเทศ
ผมจึงขอขอบคุณทุกท่าน ทั้งในภาครัฐ เอกชน และชุมชนท่ีได้ร่วมงานกันมา พร้อมกับหวังว่าจะมีความ
รว่ มมอื กันมากยงิ่ ขนึ้ ในอนาคตเพ่อื เพม่ิ ความเข้มแข็งให้แก่ภมู ิค้มุ กนั ของประเทศและประชาชน ให้เกดิ ความผาสุก
สมดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ ที่ทรงงานอย่างไม่หยุดยั้งมาโดยตลอด
เพื่อประชาชนตลอดพระชนมช์ พี

(หมอ่ มราชวงศ์ดศิ นัดดา ดศิ กุล)
ประธานกรรมการ

สถาบนั ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
9

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

สาร
ปลัดส�ำ นกั นายกรฐั มนตรี

10

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

ตามมติคณะรฐั มนตรีเม่อื วนั ที่ ๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๒ ได้มอบหมายให้ส�ำ นักงานปลัดส�ำ นักนายกรฐั มนตรี
จัดตั้งมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ และสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ
สืบสานแนวพระราชดำ�ริ เพื่อปฏิบัติภารกิจด้านการจัดการความรู้และส่งเสริมการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริ
อยา่ งเปน็ ระบบกวา้ งขวาง จนกระทงั่ เปน็ แนวทางหลกั ในการพฒั นาประเทศซง่ึ ไดเ้ รม่ิ ด�ำ เนนิ การมาตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๕๕๒
เป็นตน้ มา
เม่ือผ่านระยะเวลาของ ๕ ปีแรก มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริและสถาบันส่งเสริม
และพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ ได้ดำ�เนินงานอย่างเข้มข้นและก้าวหน้าจนเกิด
การขยายพื้นท่ีต้นแบบไปยังภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง นอกจากนี้ แนวทางการพัฒนา
เชงิ พนื้ ที่ (area-based) ของมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ และสถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรม
ปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ ยังได้รับการพัฒนามาเป็นคู่มือท้ังเอกสารและส่ือประเภทต่างๆ
ในการพัฒนาแบบบูรณาการ ที่หน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทยและอีกหลายกระทรวงสามารถนำ�ไปใช้
ในการขยายผลไดเ้ ปน็ อย่างดี
จากความสำ�เร็จดังกล่าว คณะรัฐมนตรีจึงมีมติเม่ือวันท่ี ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๘ อนุมัติการดำ�เนินงาน
ตามแผนยุทธศาสตร์การบูรณาการขับเคล่ือนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของมูลนิธิ
ปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ และสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสาน
แนวพระราชดำ�ริ ระยะที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ เพ่ือผลักดันให้การพัฒนาตามแนวพระราชดำ�รมิ ีความก้าวหน้า
และย่งั ยืนตอ่ ไป
ในฐานะปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี กระผมได้รับทราบการดำ�เนินงานของมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสาน
แนวพระราชดำ�ริ และสถาบันสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมปดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชด�ำ รมิ าอย่างตอ่ เน่ือง
และได้มีโอกาสในการลงพ้ืนท่ีตรวจเยี่ยมภารกิจของมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ และสถาบัน
ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริในหลายๆ พ้ืนที่ จึงขอขอบคุณทุกท่าน
ทีม่ ีส่วนชว่ ยผลักดนั ใหเ้ กดิ การนำ�แนวพระราชด�ำ รไิ ปปรบั ใช้ในทุกชุมชน หนว่ ยงาน และองค์กร พรอ้ มกนั นกี้ ระผม
มีความยินดีให้ความสนับสนุนการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�รินี้อย่างเต็มความสามารถ เพ่ือให้เกิดความมั่นคง
มงั่ คั่งและยั่งยนื ของประเทศชาตติ อ่ ไป

(นายจิรชัย มูลทองโร่ย)
ปลดั ส�ำ นกั นายกรฐั มนตรี

11

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

ความเป็นมา

๒ มูลนิธิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ
และสถาบนั ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระ
สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ

     มติคณะรัฐมนตรีในการประชุมเม่ือวันท่ี ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ เห็นชอบให้สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายก
รฐั มนตรี ด�ำ เนนิ การจดั ตง้ั  “มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ร”ิ และ “สถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรม
ปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ร”ิ มีการจดทะเบียนจัดตง้ั มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ  สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
เมอ่ื วนั ท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๕๓

พันธกิจ


จัดการความรู้และส่งเสริมการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จ
พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ โดยเชื่อมโยงองค์ความรู้และบูรณาการความร่วมมือ
กบั หน่วยงานสืบสานแนวพระราชด�ำ ริตา่ งๆ ภาครัฐ เอกชน วิชาการ ท้องถิ่น ชมุ ชน และประชาสังคม เพื่อให้เกิด
การแกไ้ ขปัญหาและพฒั นา จนเป็นแนวทางหลักในการพฒั นาประเทศอยา่ งเปน็ ระบบและยั่งยนื

12

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

วัตถุประสงค์


๑. จัดตั้งและสนับสนุนการดำ�เนินงานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสาน
แนวพระราชดำ�ริ ซ่ึงเป็นหน่วยปฏิบัติของมูลนิธิ ให้ดำ�เนินการได้อย่างมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับ
เจตนารมณแ์ หง่ การจดั ตงั้

๒. ใหส้ ถาบนั โดยมีมลู นิธิสนบั สนนุ ให้ทนุ ดำ�เนินงาน มีวตั ถุประสงค์ ดังน้ี
๒.๑) สนับสนุนส่งเสริมและให้ความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาแก่องค์กร ชุมชน
ประชาสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาครัฐ องค์กรทางสังคม สถาบันวิชาการ
ภาคธรุ กจิ ในการด�ำ เนนิ งานทสี่ อดคลอ้ งกบั มติ กิ ารพฒั นาตามแนวพระราชด�ำ ริ เพอ่ื ใหป้ ระชาชน
มชี ีวติ ความเป็นอยทู่ ่ดี ีขนึ้ รวมถึงส่งผลตอ่ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
๒.๒) สนับสนุนการจัดการความรู้ตามแนวพระราชดำ�ริ โดยประสานความร่วมมือกับศูนย์ศึกษา
การพฒั นาโครงการสว่ นพระองค์ โครงการตามพระราชประสงค์ โครงการหลวง โครงการอนั เนอื่ ง
มาจากพระราชดำ�ริ องค์กรชุมชนประชาสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรภาครัฐ
องค์กรทางสังคม  สถาบันวิชาการ ภาคธุรกิจ เพื่อให้เกิดคลังความรู้ การยกระดับความรู้
การต่อยอดชุดความรู้ใหม่ การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาในและนอกระบบ ตลอดจนการ
ขยายผลเช่ือมโยงสู่การน�ำ ไปปฏบิ ตั อิ ย่างกวา้ งขวาง
๒.๓) สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การบรู ณาการ ภารกจิ และกจิ กรรมของสถาบนั กบั แผนชมุ ชน แผนองคก์ รปกครอง
สว่ นท้องถ่นิ แผนพฒั นาจังหวดั แผนหนว่ ยงานภาครฐั ทเ่ี ก่ยี วข้อง และนโยบายรฐั บาล
๒.๔)  สนบั สนนุ ส่งเสริม แนะนำ� และช่วยเหลือ องค์กรชุมชน ประชาสงั คม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
องค์กรภาครัฐ องค์กรทางสังคม สถาบันวิชาการภาคธุรกิจ เพื่อให้น้อมนำ�แนวพระราชดำ�ริ
ไปปรบั ใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนแ์ ละเปน็ แนวทางหลักในการพัฒนาทุกระดับของประเทศ
๒.๕) สรา้ งการรับรู้ ความเข้าใจ และความร่วมมือด�ำ เนินการตามแนวพระราชด�ำ รอิ ยา่ งต่อเนอื่ ง

๓. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการศึกษา และทัศนศึกษาที่เกี่ยวกับการนำ�แนวพระราชดำ�ริไปประยุกต์ใช้
และขยายผลสชู่ มุ ชน

๔. เพ่ือสง่ เสริมการประสานการด�ำ เนนิ งานรว่ มกับองคก์ รชุมชน ประชาสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
องคก์ รภาครัฐ องค์กรทางสังคม สถาบนั วิชาการ ภาคธรุ กิจ เพอ่ื กจิ กรรมพฒั นาและกิจกรรมสาธารณประโยชน์

๕. ไมด่ ำ�เนินการเกีย่ วขอ้ งกบั การเมอื งแต่ประการใด

13

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

ผลผลิตจากการด�ำ เนนิ งาน


๑. เกิดแนวทางที่หลากหลายในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศตามภูมิสังคมอย่างยั่งยืนตาม
แนวพระราชดำ�ริ
๒. เกิดการมีส่วนร่วมจากภาคีทุกภาคส่วนในการพัฒนายุทธศาสตร์ชาติ และยุทธศาสตร์สาขาตาม
แนวพระราชดำ�ริ
๓. เกิดการรับรู้ เขา้ ใจ และความรว่ มมือสนบั สนุนจากภาครฐั วิชาการ เอกชน ทอ้ งถิ่น ชุมชน ประชาสงั คม
และนานาชาติ ในการร่วมสรา้ งภมู ิค้มุ กันและรว่ มแก้ไขปัญหาพนื้ ฐานท่ีสำ�คัญของประเทศตามแนวพระราชด�ำ ริ

14

๓ รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

คณะกรรมการ
มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ

ในการประชุมคณะผู้ก่อตั้งมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ เม่ือวันที่
๕ มกราคม ๒๕๕๓ ไดม้ ีการพจิ ารณาผูด้ ำ�รงตำ�แหนง่ กรรมการมลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สาน
แนวพระราชดำ�ริ ซึ่งที่ประชุมมมี ติเหน็ ชอบให้ตงั้ กรรมการมลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระฯ ดังมีรายนาม
ของกรรมการ ดังนี้

๖๔๗ ๓๕ ๑. ท่านผู้หญิงบุตร ี วรี ะไวทยะ ประธานกรรมการ
๒. ท่านผู้หญงิ จรุงจิตต์ ทขี ะระ รองประธานกรรมการ
๑๒ ๓. รศ.ดร.จิรายุ อิศรางกรู ณ อยุธยา กรรมการ
๔. ดร.วริ ไท สนั ติประภพ กรรมการ
๕. นายมนญู สรรคค์ ณุ ากร กรรมการ
๖. รศ.สุธรรม อยู่ในธรรม กรรมการ
๗. หม่อมราชวงศ์ดิศนัดดา ดิศกุล กรรมการและเลขาธิการ

15

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

คณะกรรมการ
สถาบันส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลังพระ
สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ

หมอ่ มราชวงศ์ดิศนัดดา ดิศกุล ประธานกรรมการ

ดร.สเุ มธ ตันติเวชกุล กรรมการ

รศ.ดร.จิรายุ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา กรรมการ

ทา่ นผหู้ ญิงจรุงจติ ต์ ทขี ะระ กรรมการ

ปลัดส�ำ นกั นายกรฐั มนตร ี กรรมการ

ปลดั กระทรวงมหาดไทย กรรมการ

ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรรมการ

ปลัดกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม กรรมการ

ผบู้ ัญชาการทหารบก กรรมการ

เลขาธกิ ารคณะกรรมการพเิ ศษ

เพื่อประสานงานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชด�ำ ริ (กปร.) กรรมการ

ประธานกรรมการสถาบันพฒั นาองคก์ รชุมชน (องค์การมหาชน) กรรมการ

ดร.วริ ไท สนั ติประภพ กรรมการ

นายกสมาคมองค์การบริหารส่วนจงั หวัดแหง่ ประเทศไทย กรรมการ

นายกสมาคมสนั นบิ าตเทศบาลแห่งประเทศไทย กรรมการ

นายกสมาคมองค์การบริหารส่วนตำ�บลแห่งประเทศไทย กรรมการ

นายกสมาคมก�ำ นัน ผู้ใหญบ่ า้ นแหง่ ประเทศไทย กรรมการ

ผู้อ�ำ นวยการสถาบันส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำ�ร ิ กรรมการและเลขานกุ าร



16

๔ รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

หลักการดำ�เนินงานและแนวทางปฏิบัติงาน

มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ มีหลักในการด�ำ เนินงานและแนวทางการปฏบิ ัตงิ าน โดยการ
นอ้ มนำ�เอาองคค์ วามรูข้ องพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั มาปฏิบตั ิ ยดึ หลักการทรงงานของพระองคท์ ่าน ดังน้ี

๑. หลักการองคค์ วามรู้ ๖ มติ ิ

คือ มติ ดิ ้านนำ้� ด้านดนิ ด้านเกษตร ดา้ นพลงั งานทดแทน ดา้ นป่า และด้านสงิ่ แวดลอ้ ม โดยปรบั ให้สอดรับ
เป็นไปตามสภาพของภูมิสังคมและพ้ืนท่ีที่มีปัญหาความยากจน เช่ือมโยงความรู้ไปสู่การแก้ไขปัญหาและส่งเสริม
ให้เกดิ การพัฒนาใหเ้ ป็นไปได้อยา่ งยั่งยนื

๒. หลกั การพัฒนา “เขา้ ใจ เข้าถึง พฒั นา”

ตอ้ งมีการท�ำ ความเขา้ ใจในชมุ ชน เขา้ ใจในสภาพพืน้ ทแ่ี ละภมู สิ งั คม การเข้าถงึ ข้อมลู การเก็บข้อมูลทเ่ี ปน็ จริง
และนำ�ข้อมูลมาวิเคราะห์ แล้วจึงเร่ิมการพัฒนาโดยการนำ�องค์ความรู้ให้ชาวบ้านลงมือทำ�ด้วยตนเอง ปิดทอง
หลังพระฯ เป็นผู้เชื่อมความรู้จากหน่วยงานท่มี ีองค์ความรู้ จากครภู ูมปิ ญั ญา ไปใหก้ ับชาวบ้าน

17

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

๓. หลกั การทรงงานและหลกั การโครงการ ๒๓ ขอ้

หลกั การโครงการ หลกั การทรงงาน

๑. ระเบดิ จากภายใน ๑. จะท�ำ อะไรต้องศึกษาขอ้ มูลให้เปน็ ระบบ
๒. ท�ำ งานแบบองค์รวม
๒. แกป้ ัญหาจากจดุ เลก็ ๓. ไม่ติดต�ำ รา
๔. ประหยัด
๓. ท�ำ ตามล�ำ ดบั ขั้น ๕. ทำ�ให้งา่ ย
๖. การมสี ่วนรว่ ม
๔. ภูมิสงั คม ๗. ต้องยึดประโยชน์ส่วนรวม
๘. ใช้ธรรมชาตชิ ่วยธรรมชาติ
๕. บริการที่จุดเดยี ว ๙. ปลูกปา่ ในใจคน

๖. ใชอ้ ธรรมปราบอธรรม

๗. การพึง่ ตนเอง

๘. พออยู่พอกิน

๙. ความซอื่ สัตย์สุจรติ จรงิ ใจต่อกนั

๑๐. ขาดทุนคอื กำ�ไร

๑๑. เศรษฐกิจพอเพียง

๑๒. ทำ�งานอยา่ งมีความสขุ

๑๓. ความเพียร

๑ ๔. รู้ รัก สามัคคี

18

๕ รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

กรอบการด�ำ เนนิ งานตามมติคณะกรรมการ

คณะกรรมการมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ได้วางกรอบการดำ�เนินงานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม
ปดิ ทองหลงั พระฯ ไวด้ งั นี้
๑. นำ�เสนอแผนด�ำ เนินงาน ใหส้ อดคล้องกับนโยบายรฐั บาลในการแกไ้ ขปัญหาความยากจน การสง่ ผลผลติ
จ�ำ แนกกลมุ่ เปา้ หมายเปน็ ๒ ระดบั ระดบั ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นา โครงการสว่ นพระองค์ โครงการตามพระราชประสงค์
โครงการหลวง โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ และระดับองค์กรชุมชน ประชาสังคม องค์กรปกครอง
สว่ นท้องถน่ิ องคก์ รภาครฐั องค์กรทางสงั คม สถาบันวชิ าการ ภาคธรุ กจิ

19

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ
๒. แผนงบประมาณจะจำ�แนกเป็น ๓ ระดับ คือ ระดับแผนงาน ระดับโครงการ และระดับกิจกรรม
โดยระดบั แผนงานจะสอดคล้องกับผลผลิตทก่ี �ำ หนดไว้
๓. จ�ำ แนกแผนงานออกเป็น ๔ แผนงาน คอื
๓.๑ งานจัดการความรู้ ประกอบด้วย การรวบรวมองค์ความรู้ตามแนวพระราชดำ�ริเป็นคลังความรู้
การนำ�องค์ความรู้จากโครงการพระราชดำ�ริ ไปช่วยแก้ไขปัญหาให้ชาวบ้าน การจัดทำ�คู่มือ ข้ันตอนการพัฒนา
และการบริหารโครงการ การติดตามประเมินผล เพื่อเป็นตัวอย่างสำ�หรับโครงการขยายผลในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ การจัด
ท�ำ ความรพู้ รอ้ มใชท้ ป่ี ระชาชนสามารถน�ำ ไปปรบั ใชก้ บั ภมู สิ งั คมได้ การเชอื่ มโยงองคค์ วามรโู้ ดยการจดั เวทแี ลกเปลยี่ น
เรียนรู้ระหว่างชาวบ้าน ผู้นำ�ชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้เช่ียวชาญ การเช่ือมความรู้จากสถาบันการศึกษา
สชู่ มุ ชน โดยมคี วามรว่ มมือในรูปแบบต่างๆ กบั สถาบนั อุดมศึกษา

20

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

๓.๒ งานส่งเสริมการพัฒนา ประกอบด้วย โครงการส่งเสริมการบูรณาการระดับพื้นที่ และโครงการ
พฒั นาระบบความรว่ มมอื ภาคีเครอื ขา่ ยสืบสานแนวพระราชดำ�ริ ม่งุ ส่งเสรมิ ความรว่ มมอื กบั ภาคพี ัฒนาทกุ ภาคสว่ น
ในการแก้ไขปัญหาความยากจน ฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยต้องนำ�ไปสู่การพัฒนาที่ย่ังยืน
ตามแนวพระราชด�ำ ริ สนับสนุนใหช้ มุ ชน ท้องถน่ิ รว่ มเปน็ กลไกขับเคล่อื นหลัก และเป็นเจา้ ของการพฒั นา ทงั้ น้ี
การพัฒนาน้ันต้องสอดคล้องกับภูมิสังคมและสามารถวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม ส่งเสริมความร่วมมือกับ
ภาคีพัฒนา ทั้งหน่วยงานพื้นที่ หน่วยงานภารกิจ หน่วยงานนโยบาย และท้องถ่ิน ชุมชน องค์กรทางสังคม
เพื่อให้มีโครงการต้นแบบการพัฒนาอย่างเหมาะสม และสนับสนุนให้มีโครงการขยายผลในระดับจังหวัด โดยมี
แนวทางหลักคือ ควรเป็นพื้นที่ที่มีการต่อยอดโครงการท่ีชุมชนได้ดำ�เนินการตามแนวพระราชดำ�ริอยู่แล้ว หรือ
ชุมชนมีความเข้มแข็งและต้องการดำ�เนินการตามแนวพระราชดำ�ริ และควรกระจายตัวตามภูมิภาคต่างๆ ไม่ซำ้�
พื้นท่เี ดิม

21

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

๓.๓ งานส่ือสารและภาคีสัมพันธ์ ประกอบด้วย โครงการส่งเสริมการรับรู้และเข้าใจแนวพระราชดำ�ริ
ของประชาชน สื่อมวลชน ส่งเสริมการส่ือสารเพ่ือการรับรู้ เข้าใจ การปรับทัศนคติ ทั้งในระดับส่วนกลาง
ระดับจังหวัด และชุมชน ตลอดจนบทบาทในการเช่ือมโยงส่ือมวลชนเรียนรู้ชนบท นำ�สื่อมวลชนลงพ้ืนที่ต้นแบบ
และพืน้ ที่ขยายผลปดิ ทองหลงั พระฯ การเผยแพร่กิจกรรมของมูลนิธปิ ิดทองหลังพระฯ ใหเ้ ป็นทีร่ บั รู้ของสาธารณชน
๓.๔ งานบริหารจัดการสำ�นักงาน ประกอบด้วย การติดตามสนับสนุนงานฝ่ายต่างๆ และงานโครงการ
อยา่ งตอ่ เนอื่ ง การบริหารการเงนิ ควบคุมดแู ลคา่ ใช้จ่าย จดั ทำ�งบการเงินประจ�ำ ปี การบรหิ ารสำ�นกั งาน อำ�นวย
ความสะดวกต่อการทำ�งาน การติดตามประเมินผลโดยการพัฒนาระบบสารสนเทศ การจัดประชุมคณะกรรมการ
และคณะอนุกรรมการ งานธุรการต่างๆ คณะกรรมการสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ
สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ เหน็ ชอบกับการท�ำ ยทุ ธศาสตรก์ ารดำ�เนินงาน ดงั นี้

22

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

วิสัยทัศน์

เป็นองค์กรจัดการความรู้
และสง่ เสรมิ การพฒั นาตามแนวพระราชดำ�ริ

ในการพฒั นาประเทศอย่างยง่ั ยนื

ยุทธศาสตร์

คา่ นิยมองค์กร ๑. การพัฒนาพน้ื ทีต่ น้ แบบ
๒. การจดั ต้ังสถาบนั ฝึกอบรม
๓. การส่งเสริมการรบั รู้
ศรทั ธา แนวพระราชด�ำ ริ และเข้าใจแนวพระราชดำ�ริ
เช่อื มน่ั ในองคก์ ร ๔. การสอื่ สารสาธารณะและภาคีสมั พนั ธ์
กา้ วหนา้ ร่วมกันทกุ ภาคส่วน ๕. การบริหารจัดการ
ย่ังยืน โดยประชาทำ�เอง

23

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

๖ สรปุ การด�ำ เนินงานปดิ ทองหลังพระฯ
นา่ น
อดุ รธานี

อุทยั ธานี

เพชรบุรี กาฬสนิ ธ์ุ

ปัตตานี
นราธวิ าส

ยะลา

24

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

สรปุ ผลการด�ำ เนินงาน


การดำ�เนินงานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
ตลอดปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ยังคงมงุ่ เนน้ สง่ เสรมิ การรวมกลมุ่ เพื่อสรา้ งความเขม้ แขง็ ให้กบั ชมุ ชนในพ้ืนท่ีตน้ แบบ
เดิมทั้ง ๕ จังหวัด และพื้นท่ีต้นแบบแห่งใหม่ ๒ แห่ง ควบคู่กับการเพ่ิมประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐาน
ของการประกอบอาชพี คอื น�ำ้ ดนิ และเกษตร เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพอย่างยง่ั ยนื

การพัฒนาระบบน้ำ�

ในปี ๒๕๕๙ การพฒั นาระบบนำ�้ สามารถเพม่ิ พืน้ ทรี่ ับประโยชนด์ า้ นเกษตรกรรมในพ้นื ทต่ี น้ แบบ ๕ จงั หวดั
ไดถ้ ึง ๓,๘๑๙ ไร่ จาก ๑๗,๔๘๕ ไร่ เปน็ ๒๑,๓๐๔ ไร่ กล่าวคอื
เพิ่มพ้นื ทรี่ บั ประโยชนจ์ าก ๓๐๒ ไร่ เปน็ ๓๗๒ ไร่ ในพนื้ ทีต่ น้ แบบบา้ นโป่งลึก-บางกลอย จังหวดั เพชรบรุ ี
ด้วยการพัฒนาระบบสูบน้ำ�ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ร่วมกับ
จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย สร้างกงั หันน�้ำ และระบบปม๊ั ชักจากแมน่ �ำ้ เพชรบุรีเพอ่ื ลดต้นทนุ ในการสบู น้ำ� เสรมิ แนวกนั
ฝายบริเวณท้ายหว้ ยสระหินเพอื่ เสริมประสทิ ธิภาพแหล่งน�้ำ เดมิ
ในพ้ืนท่ีโครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือยอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ จังหวัดกาฬสินธ์ุ การเสริม
ประสิทธิภาพสถานีสูบน้ำ�ด้วยพลังไฟฟ้าและระบบการกระจายน้ำ�สู่พื้นที่เกษตร กรมชลประทานพัฒนาระบบนำ้�
ในพนื้ ที่ถมดิน ตดิ ต้ังสถานีสูบนำ�้ แหง่ ใหม่ ๒ สถานี พร้อมระบบกระจายนำ�้ ส่แู ปลงเกษตร และการขดุ สระเกบ็ น้ำ�
ในพ้ืนท่ีนอกเขตชลประทาน ๒๙๑ บ่อ การซ่อมแซมฝายในพื้นที่ ๖ ตัว พ้ืนท่ีรับประโยชน์ ๒๒๗ ไร่ สามารถ
เพิ่มพ้ืนที่รบั ประโยชน์จาก ๕,๙๓๘ ไร่ เป็น ๘,๐๖๘ ไร่
พ้ืนที่ต้นแบบตำ�บลแก่นมะกรูด จังหวัดอุทัยธานี สามารถเพิ่มพ้ืนที่รับประโยชน์ได้ถึง ๑,๖๑๙.๓๗ ไร่
หรอื รอ้ ยละ ๑๙๓.๗๔ คือ จาก ๘๓๕.๘๓ ไร่ ในปี ๒๕๕๘ เปน็ ๒,๔๕๕ ไร่ ด้วยการเพ่มิ เตมิ ระบบสง่ น้�ำ เขา้ แปลง
เกษตร จากระบบเดมิ ๕ ล�ำ ห้วย ๘ บ่อพวง โดยสนับสนนุ วสั ดุทอ่ และขอ้ ตอ่ โดยใช้แรงงานชาวบ้าน
การขยายผลแนวทางของปิดทองหลังพระฯ โดยโครงการซ่อมแซม ปรับปรุง เสริมฝาย อ่างเก็บนำ้�
และการสง่ น�ำ้ ดว้ ยระบบทอ่ ตามยทุ ธศาสตรข์ บั เคลอื่ นการพฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในภาคการเกษตร
และชนบท ยงั สามารถเพิ่มพน้ื ท่รี บั ประโยชนใ์ นจังหวดั น่านได้ ๙๗,๘๕๒ ไร่ และเพม่ิ พนื้ ที่รับประโยชน์ในจังหวดั
อดุ รธานี ระยะท่ี ๑ และ ๒ ไดร้ วม ๙๗,๖๗๔ ไร่

25

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

การพัฒนาระบบนำ้�ในพื้นท่ตี ้นแบบ ๕ จังหวดั

พื้นที่รบั ประโยชน์ ปี ๒๕๕๘
๑๗,๘๔๕ ไร่

พนื้ ที่รบั ประโยชน์ ปี ๒๕๕๙
๒๑,๑๐๙ ไร่

เพม่ิ ขนึ้ ๓,๒๖๔ ไร่
รอ้ ยละ ๑๘.๒๙

จงั หวดั นา่ น

พนื้ ที่ตน้ แบบ ๙,๑๑๒ ไร่

• โครงการตอ่ ยอดการพัฒนาในยทุ ธศาสตร์จงั หวัด
“สรา้ งเมอื งนา่ นนา่ อยู่ คปู่ ่าตน้ น�ำ้ ”

พน้ื ท่ีรับประโยชน์ รวม ๔,๙๓๑ ไร่


• โครงการซอ่ มแซม ปรับปรุง เสริมฝาย
อา่ งเกบ็ น�ำ้ และการสง่ น้ำ�ด้วยระบบท่อ
ตามยุทธศาสตร์ขบั เคลอ่ื นการพฒั นา
ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ในภาคการเกษตรและชนบท
๖๖๓ โครงการ ๒๖๓ หมู่บ้าน

พนื้ ทีร่ บั ประโยชน ์ รวม ๙๗,๘๕๒ ไร่

26

จังหวดั อดุ รธานี รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

โครงการซ่อมแซม ปรับปรงุ เสรมิ ฝาย อา่ งเกบ็ น�้ำ และการสง่ น้ำ�ดว้ ยระบบทอ่
ตามยุทธศาสตร์ขบั เคลอื่ นการพัฒนาตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในภาคการเกษตรและชนบท ระยะท่ี ๒
พ้นื ที่รบั ประโยชน์ ๑๕๒ หมู่บา้ น ๒๐ อ�ำ เภอ ๖๘,๖๖๑ ไร่

พ๑,้นื ๒ท๙ี่ร๗บั ปไรระ่ โยชน์ ปี ๒๕๕๙

โครงการซ่อมแซม ปรับปรุง เสรมิ ฝาย อ่างเก็บน้ำ�
และการส่งนำ�้ ด้วยระบบท่อ ตามยุทธศาสตร์ขับเคล่อื น
การพฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในภาคการเกษตรและชนบท ระยะท่ี ๑
พ้นื ท่ีรบั ประโยชน์ ๑๓๑ หม่บู า้ น ๑๕ อ�ำ เภอ
๒๙,๐๑๓ ไร่

จงั หวัดเพชรบุรี

พนื้ ทรี่ บั ประโยชน์ ป๓ี ๒๐๕๒๕ไ๘ร่
พนื้ ทร่ี ับประโยชน์ ป๓ี ๒๗๕๒๕ไ๙ร่

เพ่ิมขน้ึ ๗๐ ไร่
ร้อยละ ๒๓.๑๘

27

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

จังหวัดกาฬสนิ ธุ์

พื้นที่รับประโยชน์ ปี ๒๕๕๘
๕,๙๓๘ ไร่

พน้ื ท่รี บั ประโยชน์ ปี ๒๕๕๙
๘,๐๖๘ ไร่

เพม่ิ ข้ึน ๒,๑๓๐ ไร่
รอ้ ยละ ๒๖.๔๐

จงั หวดั อทุ ยั ธานี

พืน้ ท่รี ับประโยชน์ ปี ๒๕๕๘
๘๓๖ ไร่

พนื้ ท่รี ับประโยชน์ ปี ๒๕๕๙
๒,๔๕๕ ไร่
เพ่ิมข้นึ ๑,๖๑๙ ไร่
รอ้ ยละ ๑๙๓.๖๖

28

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

นอกจากนี้ ยงั มกี ารเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพโครงสรา้ งพน้ื ฐานการผลติ ดว้ ยการปรบั ปรงุ บำ�รงุ ดนิ โดยการทำ�น�้ำ หมกั
และปุ๋ยเพ่ือเพ่ิมปริมาณอินทรียวัตถุในดินร่วมกับชาวบ้าน โดยใช้เศษวัสดุที่หาได้ในพื้นท่ี เช่น ใบไม้ แกลบ
ฟาง มลู ววั และสาร พด. สามารถท�ำ ปุ๋ยรองพน้ื ในพืน้ ท่ีต้นแบบได้ ๒,๖๖๘ ตัน ในพ้นื ทต่ี น้ แบบจงั หวดั อุดรธานี
เพชรบรุ ี และกาฬสินธุ์

การทำ�น้�ำ หมักและป๋ยุ

อดุ รธานี เพชรบรุ ี กาฬสนิ ธุ์

จากวัชพืชแหง้ /ฟางข้าว/ จากวัชพืชแห้ง/ฟางข้าว/ จากวัชพืชแหง้ /ฟางขา้ ว/
มูลสตั ว/์ กากน�้ำ ตาล/ มูลสัตว/์ กากน�ำ้ ตาล/ กากออ้ ย/มลู สัตว/์
การไถกลบตอซงั ข้าว สาร พด. ๑, ๓, ๖ /ดนิ / กากน้�ำ ตาล

๕๕๑ ตนั ๗๒ ตันหยวกกล้วย ๒,๐๔๕ ตัน

29

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

ปี ๒๕๕๘
ผา่ นเกณฑ์ จปฐ. ๑,๗๙๔ ครัวเรอื น

ปี ๒๕๕๙
ผ่านเกณฑ์ จปฐ. ๒,๐๑๐ ครวั เรอื น
เพ่มิ ข้นึ รอ้ ยละ ๑๖

ครวั เรือนในพ้นื ทเ่ี ปา้ หมายท้งั หมด
๓,๑๖๑ ครัวเรือน

การสง่ เสรมิ และพฒั นาอาชพี


การปรบั ปรุงโครงสร้างพนื้ ฐานธรรมชาตทิ ง้ั ระบบน้ำ� ดนิ รวมทงั้ การสนบั สนุนปจั จยั การผลิต เพอ่ื สง่ เสริม
และพัฒนาอาชีพในพ้ืนท่ีต้นแบบ ปิดทองหลังพระฯ ดำ�เนินการด้วยการให้องค์ความรู้ รับฟังความต้องการของ
ราษฎรเป็นหลัก และร่วมกับหน่วยงานราชการ ภาคีเครือข่าย รวมท้ังภาคเอกชน แก้ไขปัญหาและส่งเสริมอาชีพ
อย่างสอดคล้องกับสภาพพื้นท่ี ภูมิสังคม และตลาด ทำ�ให้ประชาชนเป้าหมายในพื้นที่ต้นแบบ ๕ จังหวัด
รวม ๘๑ หมู่บ้าน ๓,๑๖๑ ครัวเรือน มีรายได้ผ่านเกณฑ์ จปฐ. รวม ๒,๐๑๐ ครัวเรือน เพ่ิมขึ้นจากปี ๒๕๕๘
จำ�นวน ๒๑๖ ครัวเรือน หรอื คิดเปน็ ร้อยละ ๑๖
การสง่ เสรมิ และพฒั นาอาชพี ในพน้ื ทต่ี น้ แบบปดิ ทองหลงั พระฯ ดำ�เนนิ การควบคกู่ บั แผนงานสง่ เสรมิ การผลติ
การแปรรปู และการตลาด โดยใชแ้ นวทางประยุกต์เกษตรทฤษฎีใหม่ ทเ่ี รม่ิ จากการวางระบบการบริหารจัดการท่ดี นิ
การคำ�นวณปริมาณนำ้�ให้เพียงพอต่อการเพาะปลูกตลอดปี การคำ�นวณแรงงานที่จะสามารถดำ�เนินการได้
ตลอดจนการวางแผนแก้ไขปัญหาแก่เกษตรกรในด้านความเส่ียงท่ีจะเกิดข้ึน เช่น ราคาสินค้าทางการเกษตร

30

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

ระบบการตลาด ราคาปจั จยั การผลติ การสรา้ งกระบวนการเรยี นรเู้ รอ่ื งกองทนุ การพฒั นาระบบกองทนุ การพฒั นา
เครื่องมือในการตรวจติดตามการดำ�เนินงานด้านการเกษตร ประมง ปศุสัตว์ ในลักษณะ “สมุดตรวจแปลง”
เพื่อให้รู้ปัญหาและหาทางแก้ไขปัญหาให้แก่เกษตรกรรายแปลงได้อย่างทันท่วงที โดยทำ�การบันทึกฐานข้อมูล
เกษตรกร ปฏทิ ินการเพาะปลกู บันทึกการลงแปลงของทมี ผูป้ ฏบิ ตั ิงานในพื้นท่ี ตน้ ทุน ผลผลิต รายได้ การเจริญ
เติบโตของพืช ประวัติการรักษา ปัญหาท่ีเกิดข้ึน รวมท้ังแนวทางการแก้ไขปัญหาและองค์ความรู้ที่เกิดขึ้น
ในแปลง โดยจะบันทึกผลทีพ่ น้ื ทต่ี ้นแบบ และประมวลผลเป็นระบบฐานขอ้ มลู กลางเพื่อเรยี กใช้
นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนากระบวนการวิเคราะห์เพ่ือกำ�หนดผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพในพื้นที่ต้นแบบ
ซ่ึงพบว่า ผลิตภัณฑ์ท่ีมีศักยภาพในพ้ืนที่ต้นแบบจังหวัดน่าน ได้แก่ กล้วย ลูกเดือย งาม้อน ข้าวก่ำ�พันธ์ุลืมผัว
พรกิ ซปุ เปอรฮ์ อท พน้ื ทตี่ น้ แบบจงั หวดั อดุ รธานี ไดแ้ ก่ ขา้ วหอมมะลิ ผกั ปลอดภยั ไกไ่ ข่ พนื้ ทต่ี น้ แบบจงั หวดั อทุ ยั ธานี
ได้แก่ สตรอวเ์ บอร์รี และขา้ วโพด พ้นื ทีต่ ้นแบบจงั หวดั เพชรบรุ ี ไดแ้ ก่ กลว้ ย ทเุ รียน พื้นทตี่ ้นแบบจังหวดั กาฬสินธ์ุ
ได้แก่ พรกิ มะเขอื เทศ ถว่ั ลิสง ผกั ปลอดภยั จงิ้ หรีด กบ ปลา และไก่ไข่

ผลิตภณั ฑใ์ นพนื้ ทีต่ ้นแบบ

น่าน กลว้ ย ลูกเดอื ย งาม้อน ขา้ วก่ำ�พนั ธล์ุ มื ผวั พริกซปุ เปอรฮ์ อท

อดุ รธานี ข้าวหอมมะลิ ผักปลอดภัย ไก่ไข่
เพชรบรุ ี กลว้ ย ทุเรยี น

กาฬสนิ ธุ์ ผกั ปลอดภยั จ้ิงหรีด กบ ปลา ไก่ไข่
พริก มะเขือเทศ ถัว่ ลิสง

อุทยั ธานี ข้าวโพด
สตรอว์เบอร์ร ี

31

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙ พืชผกั สวนครวั
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ
• ปี ๒๕๕๙
พื้นทตี่ ้นแบบจงั หวัดน่าน
ผู้ปลกู ๙๔๔ ครัวเรอื น
ขา้ ว ลดรายจา่ ย เดอื นละ ๓๐๐ บาท

• ผปลี ผ๒ล๕ติ เ๕ฉล๘ย่ี ๕๐ ถังตอ่ ไร่

พชื เศรษฐกิจทมี่ ีตลาดรองรบั

• ปี ๒๕๕๘ กลว้ ยน้ำ�ว้าเหลอื งนวล • ปี ๒๕๕๙

ผ้ปู ลกู ๓๒๗ ราย ผูป้ ลูก ๓๒๗ ราย
รายได้ ๓๘๐,๘๓๒ บาท รายได้ ๖๑๗,๑๙๐ บาท
เฉลีย่ ตอ่ ราย ๑,๑๖๔.๖๒ บาท เฉลยี่ ต่อราย ๑,๘๘๗.๔๓ บาท
เพ่ิมข้นึ ๒๓๖,๒๗๗ บาท
รอ้ ยละ ๖๒.๐๔

32

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

ลกู เดือย

ผลผลติ รวม ๖๔,๔๕๓ กิโลกรัม
ผ้ปู ลูก ๑๔๐ ราย ๓๕๕ ไร่
สรา้ งรายได ้ ๕๑๙,๑๒๗ บาท
เฉล่ยี ไร่ละ ๑,๔๖๒ บาท

ข้าวก�่ำ พนั ธุ์ลมื ผวั

ผู้ปลกู ๔๒๖ ราย ๑๖๔ ไร่
ผลผลติ รวม ๒๐,๕๔๑ กโิ ลกรมั
สร้างรายได้ ๕๑๓,๕๒๕ บาท
เฉลีย่ ไรล่ ะ ๓,๑๓๑ บาท

• ปี ๒๕๕๘ พรกิ ซปุ เปอรฮ์ อท • ผปู้ปี ล๒ูก๕๑๕๖๙ราย

ผู้ปลกู ๓๒ ราย ผลผลติ ๒,๔๙๓ กิโลกรมั
ผลผลติ ๑๗,๐๑๕ กโิ ลกรัม สรา้ งรายได้ ๑๐๔,๖๕๘ บาท
สร้างรายได้ ๕๕๔,๓๔๓ บาท เฉลี่ยตอ่ ราย ๖,๕๔๑ บาท
เฉลย่ี ไร่ละ ๑๓,๑๙๘ บาท
เฉลย่ี ต่อราย ๑๗,๓๒๓ บาท

33

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

มะนาว

ผู้ปลูก ๙๓ ราย รายได้ ๑,๘๕๕,๙๗๒ บาท เฉล่ยี ตอ่ ราย ๑๙,๙๕๗ บาท

งาม้อน ผู้ปลูก ๑๔๐ ราย สร้างรายได้ ๓๔๕,๙๕๐ บาท เฉล่ยี ต่อราย ๒,๔๗๑ บาท

พืชอ่ืนๆ ได้แก่ กระเจ๊ยี บ มะเขอื เปราะ

ผูป้ ลูก ๓๕ ราย สร้างรายได้ ๓๓,๔๔๖ บาท เฉลีย่ ต่อราย ๙๕๕ บาท
34

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

พน้ื ทต่ี ้นแบบบา้ นโคกล่าม-แสงอร่าม จังหวดั อดุ รธานี

มีการถ่ายทอดความรใู้ หแ้ ก่ชาวบ้าน ลด ละ เลกิ การใช้สารเคมี และการลดตน้ ทนุ การผลิต โดยใช้มาตรฐาน
การปฏิบัติที่ดีทางการเกษตร (GAP) ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เริ่มนำ�ร่องแก่เกษตรกรที่สนใจ ๕๒ ราย
และส่งเสริมอาชพี ทางเลอื กใหเ้ กษตรกร โดยพัฒนาแหล่งทดลองเล้ยี งจง้ิ หรดี กุง้ ฝอย กบ ตั้งแต่ข้ันตอนการเลยี้ ง
การดแู ล เพื่อพฒั นาองคค์ วามรกู้ อ่ นถา่ ยทอดใหแ้ ก่ชมุ ชน

ข้าวหอมมะลิ

• ปี ๒๕๕๘ • ปี ๒๕๕๙

ผปู้ ลูก ๑๐๐ ราย ผปู้ ลกู ๑๑๔ ราย
พ้นื ทีป่ ลูก ๑๐๐๒ ไร่ พ้นื ทีป่ ลูก ๙๐๒ ไร่
ผลผลติ เฉลี่ย ๔๘.๘๔ ถังต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย ๕๒.๔๓ ถังต่อไร่
รายได้ ๖,๑๓๕,๓๑๖ บาท รายได้ ๓,๗๘๓,๓๔๙ บาท

พืชหลงั นา

ผ้ปู ลูก ๖๒ ราย สร้างรายได้ ๔๘๑,๙๐๙ บาท เฉลยี่ ตอ่ ราย ๗,๗๗๓ บาท
35

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

กล้วย • ปี ๒๕๕๙ สร้างรายได้ ๑๐๘,๐๐๐ บาท

ไกไ่ ข่ • ปี ๒๕๕๘ • ปี ๒๕๕๙

ผเู้ ลีย้ ง ๒๐ ราย ผูเ้ ลย้ี ง ๓๐ ราย
สร้างรายได้ ๑๓๐,๐๙๕ บาท สร้างรายได้ ๑๙๙,๔๗๐ บาท
เฉล่ยี ตอ่ ราย ๖,๕๐๔ บาท เฉล่ียต่อราย ๖,๖๔๙ บาท
เพ่ิมขนึ้ ร้อยละ ๕๓.๓๓

36

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

พน้ื ท่ีต้นแบบบา้ นโป่งลึก-บางกลอย จงั หวัดเพชรบุรี


ส่งเสริมการปลกู ไมผ้ ลที่สรา้ งรายได้ในระยะยาว เชน่ ทุเรยี น มงั คุด มะขามยกั ษ์ พรอ้ มท้งั ถ่ายทอดความรู้
ในการปลูกไมผ้ ลเดิมในพืน้ ท่ี เช่น การตัดกง่ิ ทีม่ โี รคและเผาท�ำ ลายในต้นทุเรียน การตดั หนอ่ ของกล้วยเหลอื งนวล
เพื่อรักษาต้นแข็งแรง แนะนำ�ความรู้ในการปลูกทุเรียน ตั้งแต่เลือกต้นพันธุ์ตลอดจนการดูแลรักษา รวมทั้ง
การส่งเสริมพืชท่ีมีศักยภาพ อายุสั้นและขนส่งง่าย เนื่องจากพ้ืนท่ีเป็นถ่ินทุรกันดาร อาทิ การปลูกมะนาว
ในบ่อวง การฟ้ืนฟูวิถีการปลูกพริกกะเหรี่ยงและพริกทางเลือกอื่น เพื่อลดรายจ่ายและสร้างรายได้ เช่น พริก
และพริกขี้หนู เปน็ ตน้ ช่วยสร้างรายไดใ้ ห้กบั ชาวบา้ น ๑,๔๓๒,๖๗๙ บาท เพิ่มขน้ึ จากปี ๒๕๕๘ ท่ีมีรายไดอ้ ยู่ที่
๔๕๔,๒๖๗ บาท

พืชผกั สวนครัว ทุเรียน
• ปี ๒๕๕๙ • ปี ๒๕๕๙

สรา้ งรายได้ ๓๑,๐๕๘ บาท ผู้ปลูก ๓๕ ราย
สร้างรายได้ ๓๘๔,๒๙๐ บาท
เฉล่ียต่อราย ๑๐,๙๘๐ บาท

กล้วย • ปี ๒๕๕๘ • ปี ๒๕๕๙

ผู้ปลูก ๔๓ ราย ผูป้ ลกู ๔๔ ราย
สรา้ งรายได้ ๔๐๔,๔๒๗ บาท สร้างรายได้ ๙๓๖,๙๓๖, บาท
เฉลี่ยตอ่ ราย ๙,๔๐๕ บาท เฉลี่ยตอ่ ราย ๒๑,๒๙๔ บาท

37

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

หมู • ปี ๒๕๕๘ • ปี ๒๕๕๙

ผู้เล้ยี ง ๒๑ ราย ผ้เู ลีย้ ง ๒๕ ราย
สรา้ งรายได้ ๓๕,๙๐๐ บาท สร้างรายได้ ๕๐,๘๐๐ บาท
เฉลย่ี ตอ่ ราย ๑,๗๑๐ บาท เฉลีย่ ตอ่ ราย ๒,๐๒๓ บาท
เพมิ่ ข้นึ รอ้ ยละ ๑๘.๓๐
เป็ดเทศ
• ผปูเ้ ีล๒้ียง๕๑๕๖๙ราย
• ปี ๒๕๕๘
สร้างรายได้ ๑๔,๓๒๐ บาท
ผเู้ ลย้ี ง ๑๖ ราย เฉลยี่ ต่อราย ๘๙๕ บาท
สร้างรายได้ ๑๒,๗๒๐ บาท เพิ่มข้ึนร้อยละ ๑๒.๕๘
เฉล่ยี ต่อราย ๗๙๕ บาท
• ปี ๒๕๕๙
เป็ดไข่
ผู้เล้ียง ๑๖ ราย
• ปี ๒๕๕๙ สรา้ งรายได้ ๘,๑๖๐ บาท
เฉล่ยี ตอ่ ราย ๕๑๐ บาท
ผู้เลย้ี ง ๑๓ ราย เพิ่มข้ึนรอ้ ยละ ๘๘.๘๙
สร้างรายได้ ๗,๑๑๕ บาท
เฉลี่ยตอ่ ราย ๕๔๗.๓ บาท

ไก่พืน้ บา้ น

• ปี ๒๕๕๘

ผเู้ ล้ยี ง ๑๖ ราย
สรา้ งรายได้ ๔,๓๒๐ บาท
เฉลี่ยตอ่ ราย ๒๗๐ บาท

38

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

พนื้ ทีต่ น้ แบบโครงการพฒั นาแก้มลิงหนองเลงิ เปอื ยฯ จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์


เน้นส่งเสริมอาชีพด้านเกษตร ประมง และปศุสัตว์ โดยความร่วมมือจากหน่วยงานราชการท่ีเก่ียวข้อง
สถาบันการศึกษา ถ่ายทอดความรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ เพ่ือสร้างรายได้ และสร้างฐานการผลิตต้ังแต่การวางแผน
การตลาด การผลิต และแก้ไขปัญหาระหว่างการผลิต การจัดจำ�หน่าย ส่งผลให้ผลผลิตทางการเกษตรมีมูลค่า
เพิ่มขึน้ เชน่ พริก ไกไ่ ข่ จิง้ หรีด เป็นต้น
นอกจากนี้ ยังมีความร่วมมือกับภาคธุรกิจ ภาคเอกชน ในการรับซ้ือผลผลิตจากการส่งเสริมอาชีพ เช่น
พริก มะเขือเทศ ผัก กบ ปลา ไก่ไข่ จ้ิงหรีด หมู สามารถสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร ๑,๔๑๙,๗๘๒ บาท
ในปี ๒๕๕๙

ขา้ วในพื้นท่ีถมดิน ๒,๐๑๐ ไร่ • อปยี ู่ร๒ะห๕ว๕่าง๙การเก็บขอ้ มลู

• ผปู้ปี ล๒กู ๕๒๕๒๘๙ ราย รายได้ ๔,๕๕๔,๑๐๒ บาท

เฉลีย่ ต่อราย ๑๙,๘๘๗ บาท

ข้าวในพ้นื ทรี่ ับน�ำ้ ๕,๙๓๘ ไร่

ผปู้ ลกู ๕๖๐ ราย รายได้ ๓๗,๒๗๕,๗๙๕ บาท

พริก มะเขอื เทศ

• ปี ๒๕๕๙ • ปี ๒๕๕๙

ผู้ปลูก ๕๑ ราย ผูป้ ลูก ๔๒ ราย
รายได้ ๒๔๐,๒๐๔ บาท รายได้ ๓๒๔,๑๔๔ บาท
เฉลี่ยต่อราย ๔,๗๑๐ บาท เฉล่ียตอ่ ราย ๘,๑๔๖ บาท

39

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

ผกั ในโรงเรอื น

• ผป้ปู ี ล๒กู ๕๑๕๐๘ราย รายได้ ๑๗๖,๒๐๐ บาท • ปี ๒๕๕๙

เฉล่ยี ตอ่ ราย ๑๗,๖๒๐ บาท ผู้ปลกู ๑๙ ราย รายได้ ๘๐,๔๘๐ บาท
เฉล่ยี ตอ่ ราย ๔,๒๓๕ บาท

ปลา • ปี ๒๕๕๙
• ปี ๒๕๕๘
กบ ผ้เู ลยี้ ง ๖๔ ราย ผ้เู ล้ยี ง ๑๐๔ ราย
รายได้ ๑๐๔,๕๗๐ บาท เกบ็ ผลผลติ แลว้ ๕๖ ราย
ผเู้ ลยี้ ง ๕๐ ราย เฉล่ยี ตอ่ ราย ๑,๖๓๔ บาท รายได้ ๙๓,๖๔๐ บาท
รายได้ ๑๐๓,๓๐๒ บาท
เฉลยี่ ตอ่ ราย ๒,๐๖๖ บาท

ไก่ไข่ • ปี ๒๕๕๘ • ปี ๒๕๕๙

ผเู้ ลยี้ ง ๓๐ ราย ผเู้ ล้ียง ๕๒ ราย
รายได้ ๖๐,๐๐๐ บาท รายได้ ๑๗๖,๙๑๑ บาท
เฉล่ยี ตอ่ ราย ๒,๐๐๐ บาท เฉลี่ยต่อราย ๓,๔๐๒ บาท

จง้ิ หรดี • ปี ๒๕๕๙

• ปี ๒๕๕๘ ผ้เู ล้ียง ๓๗ ราย
รายได้ ๗๖,๑๔๕ บาท
ผู้เล้ียง ๑๔ ราย เฉล่ยี ต่อราย ๔,๖๒๕ บาท
รายได้ ๒๗,๕๘๐ บาท
เฉลย่ี ตอ่ ราย ๑,๙๗๐ บาท

40

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

หมู

• ปี ๒๕๕๘ • ปี ๒๕๕๙

ผเู้ ล้ียง ๑๑๖ ราย ผู้เลีย้ ง ๙๒ ราย
รายได้ ๗๒,๕๐๐ บาท รายได้ ๕๓๖,๙๐๐ บาท
เฉล่ยี ตอ่ ราย ๖๒๕ บาท เฉลยี่ ตอ่ ราย ๕,๘๓๖ บาท

พื้นที่ตน้ แบบตำ�บลแกน่ มะกรูด จงั หวัดอุทัยธานี


ส่งเสริมการปลูกพืชเมืองหนาว ได้แก่ สตรอเบอร์รี ให้ได้มาตรฐานการปฏิบัติท่ีดีทางการเกษตร (GAP)
และพชื ผักเมืองหนาวอืน่ ๆ เชน่ เบบแี้ ครอท บล็อคโคลี่ กรีนโอค๊ เปน็ อาชีพทางเลือก รวมท้งั ส่งเสรมิ การปลูกไม้ผล
เพ่ือสรา้ งรายไดร้ ะยะยาว เชน่ ทุเรยี น เงาะ อโวคาโด มะพรา้ วน�้ำ หอม นอกจากเป็นการสร้างรายไดแ้ ลว้ ยงั เพ่อื
ลดการบุกรุกพ้ืนท่ีป่าห้วยขาแข้ง ตลอดจนความร่วมมือในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวร่วมกับจังหวัดอุทัยธานี
องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุทัยธานี เกษตรจังหวัด ศูนย์พัฒนาชาวเขา ด้วยการส่งเสริมกิจกรรมการทำ�แปลง
เรียนรู้ การปลูกไม้เมืองหนาว การปลูกไม้ดอกในและนอกโรงเรือน เพื่อสร้างจุดขายในการดึงดูดนักท่องเที่ยว
และสรา้ งรายไดจ้ ากการทอ่ งเทยี่ วใหก้ ับชาวบา้ น

สตรอวเ์ บอรร์ ี กล้วย สมนุ ไพร เพแอ่ื ปกลารงทนอ่�ำ งรเ่อทงย่ี ว

ผู้ปลกู ๓๓ ราย ปี ๒๕๕๙ ปี ๒๕๕๙ ผู้รว่ มโครงการ ๗ ราย
ได้ผลผลติ ๔๑,๓๐๐ ตัน สรา้ งรายได้
สรา้ งรายได้ สรา้ งรายได้ ๔๖๕,๐๐๐ บาท
๑๙๖,๘๓๙ บาท ๗๐,๐๐๐ บาท เฉลย่ี ตอ่ ราย
๖๖,๔๒๙ บาท

41

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ


การด�ำ เนนิ งานของปดิ ทองหลงั พระฯ ในปี ๒๕๕๙ ยงั มเี ปา้ หมายเพอ่ื การอนรุ กั ษแ์ ละฟนื้ ฟทู รพั ยากรธรรมชาติ
ในพ้นื ท่ี เช่น การก่อสร้างฝายดนิ ผสมซีเมนต์ ๑๐ ตวั โดยปดิ ทองหลังพระฯ สนับสนุนวัสดอุ ุปกรณ์ และชาวบ้าน
ร่วมกันลงแรง ในพื้นท่ีป่าต้นน้ำ�เหนืออ่างเก็บนำ้�ห้วยคล้ายฯ จังหวัดอุดรธานี ซึ่งนอกจากช่วยชะลอความชุ่มช่ืน
ให้ปา่ สงวนแหง่ ชาติหมากหญ้าแล้ว ยังสามารถเพิ่มปรมิ าณกกั เก็บนำ้�ในพนื้ ทีไ่ ดเ้ พิ่มข้นึ ๑๘,๑๘๑ ลกู บาศกเ์ มตร
ในพื้นที่ตำ�บลแก่นมะกรูด มีการทำ�ความเข้าใจกับชาวบ้านในเร่ืองการใช้ประโยชน์ในแปลงทำ�กิน
เตรียมต้นกล้ากล้วย ๓๙,๐๐๐ ต้น หมาก ๑๐,๐๐๐ ต้น มะขามเปรี้ยวยักษ์ ๖๐๐ ต้น เพ่ือการสร้างแนวกันชน
ใหก้ ับชายป่าห้วยขาแข้ง โดยประสานความรว่ มมือกบั สำ�นกั งานเกษตรและสหกรณ์จงั หวดั อทุ ยั ธานี และส�ำ นกั งาน
จัดการทรัพยากรป่าไม้ท่ี ๔ เช่นเดียวกับในพื้นที่บ้านโป่งลึก-บางกลอย จังหวัดเพชรบุรี มีการสนับสนุน
เพาะพนั ธ์ุกล้าตะครอ้ ๑๐,๐๐๐ ตน้ ไผเ่ กรยี บ ๔๐๐ ตน้ สะตอ ๑,๕๐๐ ต้น และมะเนียง ๑,๐๐๐ ต้น ในโครงการ
ปลูกป่าเสริมพ้ืนท่ีป่าในเขตพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน เพ่ือฟื้นฟูทรัพยากรป่า รักษาวัฒนธรรมและเสริม
รายได้

การสง่ เสรมิ การรวมกลมุ่

ในปี ๒๕๕๙ ปิดทองหลังพระฯ ส่งเสริมการรวมกลุ่มอาชีพและกองทุนต่างๆ เพื่อเป็นฐานการพัฒนา
สู่ความยงั่ ยนื และธรุ กิจเพือ่ สังคมท่ชี าวบ้านบริหารจัดการด้วยตนเอง เริม่ ตน้ ดว้ ยการสร้างระบบการบรหิ ารจัดการ
ท่ีดี คือ มีคณะกรรมการกองทุน กฎระเบียบกองทุน มีการดำ�เนินงานต่อเน่ืองท่ีสร้างมูลค่าและรายได้ให้แก่
สมาชิกและคนในชุมชน มีสมาชิกและผู้รับประโยชน์เพ่ิมข้ึน มีเงินทุนหมุนเวียนและมีธรรมาภิบาล ปัจจุบัน
มีกลุ่มกิจกรรมและกองทุนที่มาจากความต้องการของชุมชนใน ๕ พ้ืนที่ต้นแบบ จำ�นวน ๓๒ กลุ่ม/กองทุน
ครอบคลุมทงั้ ๘๑ หม่บู ้าน ท่ีมีลกั ษณะการบริหารจัดการที่ดคี รบท้งั ๖ ข้อ

พน้ื ที่ตน้ แบบ พนื้ ท่ีตน้ แบบ พื้นท่ตี ้นแบบ

จ๗ังหวกัดออุดงทรธนุ านี ๑จ๓งั หกวดัอนง่าทนนุ จ๒งั หวกัดอเพงชทรุนบุรี

พนื้ ที่ตน้ แบบ พ้ืนท่ีตน้ แบบ

จัง๖หวกัดอกางฬทสุนนิ ธุ์ จ๔งั หวกดั ออทุงัยทธนุ านี

42

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

ทง้ั น้ี ในปี ๒๕๕๙ มกี ารสรปุ บทเรยี นจากการด�ำ เนนิ งานทผี่ า่ นมา โดยใชพ้ น้ื ทจี่ งั หวดั อดุ รธานเี ปน็ กรณศี กึ ษา
ผ่านการวินิจฉัยระบบการลงบัญชี นำ�มาพัฒนาเป็นรูปแบบทางการบัญชีอย่างง่ายและสร้างระบบให้เปิดเผย
โปร่งใส เพ่ือเป็นฐานในการดำ�เนินงานต่อไป ตลอดจนปรับเปลี่ยนระบบการสนับสนุนปัจจัยการผลิตจากรูปแบบ
ใหฟ้ รี เปน็ การสนับสนุนผ่านระบบกองทนุ
ผลการดำ�เนินงานในปี ๒๕๕๙ ระบบกองทุนมีอัตราการขยายตัว ทั้งในเชิงมูลค่าและจำ�นวนสมาชิก
อย่างน่าพอใจ กล่าวคือ พ้ืนที่ต้นแบบจังหวัดน่าน มีกองทุนกลุ่มอาชีพที่บริหารจัดการโดยชุมชนอย่างต่อเนื่อง
๑๓ กองทุน คือ ๑. กองทุนป๋ยุ ๒. กองทุนเมลด็ พนั ธุ์ ๓. กองทุนอาหารสตั ว์ ๔. กองทนุ ยาและเวชภัณฑ์สัตว์
๕. กองทุนแปรรูปน้ำ�พริกมะแขว่น ๖. กองทุนโรงสีข้าว ๗. กองทุนเครื่องบดข้าวโพด ๘. กองทุนแหย่ง
๙. กลุ่มผ้ใู ชน้ ้�ำ ๑๐. กลุ่มไม้กวาด ๑๑. กลมุ่ กลว้ ยกรอบ ๑๒. กองทุนเป็ด และ ๑๓. วิสาหกิจกลมุ่ ผลติ มะนาว
มีเงินทุนหมุนเวียน รวม ๒,๖๘๔,๐๘๑ บาท เพิ่มมากขึ้นกว่าเท่าตัวจากปี ๒๕๕๘ ซึ่งมีเงินทุนหมุนเวียน
ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๙ รวม ๑,๒๙๕,๓๖๖ บาท

กองทุนปยุ๋ กองทุนเมลด็ พนั ธุ์

อ.ทา่ วงั ผา ๒๗,๕๑๑ บาท อ.ทา่ วงั ผา ๘๗๒,๐๑๕ บาท
อ.สองแคว ๔๘,๔๔๕ บาท อ.สองแคว ๒๑,๒๓๗ บาท

อ.เฉลมิ พระเกียรติ อ.เฉลมิ พระเกยี รติ
๔๒,๐๐๐ บาท ๒๕,๐๐๐ บาท

กองทุนอาหารสัตว์ กลมุ่ ไมก้ วาด กองทนุ ยาและเวชภัณฑ์สตั ว์

อ.ทา่ วงั ผา ๙,๓๖๔ บาท อ.ทา่ วงั ผา ไมม่ ี อ.ท่าวงั ผา ๖,๑๒๐ บาท
อ.สองแคว ๙,๑๐๐ บาท อ.สองแคว ไมม่ ี อ.สองแคว รว่ มกับ
อ.เฉลมิ พระเกยี รติ
อ.เฉลมิ พระเกยี รติ ๗๗,๐๔๙ บาท กองทุนอาหารสตั ว์ ๙,๑๐๐ บาท
กออ.งเฉทลนุ มิ เพครระอ่ืเกงยี บรดติขร้า่วมวกโพับด

กองทนุ แปรรปู กลุ่มกลว้ ยกรอบ กลุ่มผูใ้ ช้น้�ำ
น�้ำ พริกมะแขวน่
อ.ทา่ วงั ผา ไมม่ ี อ.ทา่ วงั ผา ๒,๐๐๐ บาท
อ.ทา่ วงั ผา ไมม่ ี อ.สองแคว ไมม่ ี อ.สองแคว ๑๐,๘๔๕ บาท
อ.สองแคว ๑๒๗,๐๔๗ บาท อ.เฉลมิ พระเกยี รติ
๕,๕๐๐ บาท อ.เฉลมิ พระเกยี รติ
อ.เฉลมิ พระเกยี รติ ไมม่ ี ๑,๑๕๐ บาท

กองทุนแหยง่ กองทุนโรงสีขา้ ว กองทนุ เป็ด กองทุนเครือ่ งบด
ขา้ วโพด
อ.ทา่ วงั ผา ๔,๔๒๗ บาท อ.ทา่ วงั ผา ๓๕,๐๔๙ บาท อ.ทา่ วงั ผา ๓๕,๒๕๐ บาท
อ.สองแคว ไมม่ ี อ.สองแคว ๑๔,๕๖๗ บาท อ.สองแคว ไมม่ ี อ.ทา่ วงั ผา ไมม่ ี
อ.สองแคว ไมม่ ี
อ.เฉลมิ พระเกยี รติ ไมม่ ี อ.เฉลมิ พระเกยี รติ อ.เฉลมิ พระเกยี รติ ไมม่ ี อ.เฉลมิ พระเกยี รติ
๒๓,๒๗๘ บาท ๓,๑๑๐ บาท

กลุม่ วผิสลาิตหมกะจิ นาว

อ.ทา่ วงั ผา ไมม่ ี
อ.สองแคว๑,๒๘๔,๗๗๙ บาท

อ.เฉลมิ พระเกยี รติ ไมม่ ี

43

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

พื้นท่ีต้นแบบจังหวัดอุดรธานี มี ๗ กองทุน คือ กองทุนปศุสัตว์ กองทุนปุ๋ย กองทุนการตลาด กองทุน
เมล็ดพันธ์ุข้าว กองทุนศึกษาดูงาน กองทุนโรงสีข้าวชุมชน และกองทุนผู้ใช้น้ำ� มูลค่ากองทุนรวมทุกกองทุน
๓๐๐,๗๖๔ บาท มีเงนิ กองทุนรวม ๙๒๘,๖๖๕ บาท

กองทุนปศสุ ตั ว์ กองทุนปุ๋ย

มูลค่ากองทุน ๒๑,๖๙๔ บาท มลู คา่ กองทุน ๓,๐๘๐ บาท
เงินกองทุน ๖๔,๗๓๑ บาท เงนิ กองทุน ๘๔,๕๓๐ บาท

กองทนุ การตลาด กองทนุ โรงสีข้าวชุมชน กองทนุ เมลด็ พนั ธข์ุ า้ ว

มลู ค่ากองทุน ๒๕,๕๕๘ บาท มลู คา่ กองทุน ๑๓๖,๙๒๖ บาท มลู ค่ากองทนุ ๑๖,๑๒๖ บาท
เงนิ กองทุน ๕๐,๔๒๙ บาท เงินกองทุน ๓๔๘,๓๓๔ บาท เงนิ กองทุน ๑๒๔,๙๒๒ บาท

กองทนุ ศกึ ษาดงู าน กองทนุ ผู้ใชน้ ำ�้

มลู คา่ กองทุน มลู คา่ กองทุน
๙๔,๓๐๐ บาท ๓,๐๘๐ บาท
เงนิ กองทุน เงนิ กองทุน
๒๔๖,๕๗๙ บาท ๙,๑๔๐ บาท

จังหวดั เพชรบุรี มี ๒ กองทุน คอื กองทนุ แม่บา้ น กองทนุ สกุ ร มเี งนิ กองทนุ รวม ๕๔,๕๐๐ บาท

กองทนุ แมบ่ ้าน กองทนุ สุกร

สมาชกิ ๒๘ ราย สมาชิก ๒๕ ราย
เงินกองทนุ เงินกองทนุ
๔๘,๑๕๐ บาท ๖,๓๕๐ บาท

44

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

ในพน้ื ทตี่ น้ แบบจงั หวดั กาฬสินธุ์ มี ๗ กองทุน คอื กองทนุ พชื แปลงรวม (กล้วย) มีสมาชกิ ๓๘๘ ราย
กองทนุ ผักเพอ่ื สขุ ภาพ มสี มาชกิ เพม่ิ ข้นึ ๕๔ ราย รวมเปน็ ๘๑ ราย กองทนุ สตั วป์ ีก (ไก่ไข่) สมาชกิ ๓๒ ราย
กองทุนจิ้งหรีด มีสมาชิกเพิ่มขึ้น ๒๔ ราย รวมเป็น ๓๘ ราย กองทุนประมง มีสมาชิกเพ่ิมขึ้น ๗๐ ราย
รวมเป็น ๑๕๔ ราย กองทุนสระ มีสมาชิกเพ่ิมข้ึน ๑๙๐ ราย รวมเป็น ๒๙๑ ราย และกองทุนสุกร มีสมาชิก
๙๒ ราย มลู ค่ากองทุนรวม ทุกกองทนุ ๔,๓๓๔,๙๙๐ บาท มเี งนิ กองทุนรวม ๓๔๙,๒๙๘ บาท

กองทนุ พืชแปลงรวม กองทุนผกั เพอ่ื สุขภาพ
(กลว้ ย)
เงนิ กองทนุ
มูลค่ากองทุน ๔๓,๙๐๐ บาท
๗๐,๘๕๐ บาท

กองทนุ สตั วป์ กี (ไกไ่ ข)่ กองทนุ สุกร กองทุนจงิ้ หรีด

มูลคา่ กองทนุ ๒๔,๐๐๐ บาท มูลค่ากองทุน ๑๒๓,๐๐๐ บาท มลู ค่ากองทนุ
เงินกองทนุ ๕๒,๘๐๐ บาท เงนิ กองทนุ ๑๑,๕๘๙ บาท ๒๔๕,๑๐๐ บาท

กองทุนประมง กองทุนสระ

มลู คา่ กองทนุ มลู คา่ กองทนุ ๓,๖๙๔,๐๐๐ บาท
๑๗๘,๐๔๐ บาท เงินกองทนุ ๒๑๑,๐๐๐ บาท
เงินกองทุน ๓๑,๙๐๐ บาท

จงั หวดั อุทัยธานี มี ๔ กองทุน/กลุม่ คอื กองทุนสตรอว์เบอรร์ ี กองทนุ พชื ผักเมอื งหนาว กองทนุ เกษตร
ทฤษฎใี หม่ มลู ค่ากองทุนรวมทุกกองทนุ ๒,๑๖๒,๓๐๓ บาท และกล่มุ ตลาดกะเหรีย่ ง

กองทนุ สตรอวเ์ บอร์รี กองทุนพชื ผกั เมอื งหนาว กองทนุ เกษตรทฤษฎใี หม่

มลู ค่ากองทุน มลู ค่ากองทุน มลู ค่ากองทนุ
๑,๙๗๕,๐๓๙ บาท ๑๖,๕๐๖ บาท ๑๗๐,๗๕๘ บาท

45

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มและกองทุนท่ีมีการพัฒนาศักยภาพเพื่อให้ชุมชนก้าวสู่ระดับพอเพียง คือ
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสามัคคีชาวนา (กลุ่มข้าวปลอดภัย) พ้ืนที่ต้นแบบ จังหวัดกาฬสินธุ์ ซ่ึงซื้อข้าวเปลือกจาก
เกษตรกรนำ�มาแปรรปู ปัจจุบันมีสมาชกิ ๒๐ ราย สร้างรายได้ ๓๒๐,๑๖๕ บาท แหลง่ รวบรวมและกระจายผลผลติ
ในพื้นที่ต้นแบบจังหวัดกาฬสินธุ์ ซ่ึงรับซ้ือผลผลิตจากสมาชิกไปจำ�หน่ายตามความต้องการของตลาด เร่ิมต้น
จากการน�ำ ผลผลิตจากเครอื ข่ายผกั เพือ่ สขุ ภาพหนองเลิงเปอื ย จำ�หนา่ ยใหห้ ้างบ๊ิกซี สรา้ งรายได้ในเวลา ๒ เดือน
(กันยายน-ตลุ าคม) รวม ๖๕,๔๗๘ บาท
กล่มุ โรงปุ๋ย ซ่งึ ปดิ ทองหลังพระฯ สนับสนนุ งบประมาณปรบั ปรุงเครือ่ งผลติ ปยุ๋ และเงนิ ทุนตงั้ ต้น เพื่อผลิต
ปยุ๋ ใหแ้ กเ่ กษตรกรและกองทุนอน่ื ในพื้นที่โครงการฯ ด้วยคุณภาพเท่าเทียมกับปุย๋ ในตลาดและราคาถกู กวา่ ปัจจุบนั
มีโรงปุ๋ยร่วมกันดำ�เนินงาน ๔ โรง ซึ่งสามารถผลิตและจำ�หน่ายปุ๋ยได้ตามวัตถุประสงค์ มีรายได้และสามารถ
คนื เงนิ ทนุ ใหก้ บั สถาบันฯ ไดแ้ ล้ว ๖๘,๐๐๐ บาท
ขณะที่มีกองทุนท่ีมีศักยภาพในการก้าวไปสู่ชุมชนท่ีสามารถพ่ึงพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ตามเป้าหมาย
ของทฤษฎใี หมข่ ัน้ ทส่ี าม คือ มคี วามร่วมมอื มากกวา่ ๑ หมบู่ ้าน และมีการเช่ือมโยงประสานกับหนว่ ยงานภายนอก
เชน่ เชอื่ มโยงแหลง่ ทนุ ภายนอก การแลกเปลย่ี นความรแู้ ละเทคโนโลยเี พอื่ ตอ่ ยอดความรเู้ ดมิ และเพม่ิ มลู คา่ ผลติ ภณั ฑ์
คือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกมะนาวบ้านยอด อำ�เภอสองแคว จังหวัดน่าน มีสมาชิกรวม ๙๓ ครัวเรือน
จากในและนอกหม่บู ้าน มีการเชอื่ มโยงให้บรษิ ัท สยามแม็คโคร จ�ำ กัด (มหาชน) รบั ซอื้ ผลผลติ มะนาวปลอดภัย
ตามมาตรฐาน GAP อย่างต่อเนื่อง ต้ังแต่เดือนมีนาคม-กันยายน ๒๕๕๙ รวม ๒๓ รอบ มีรายได้รวม
๒,๒๑๒,๒๒๒ บาท มีคณะกรรมการ ๑๑ คน ท่ีสมาชิกในกลุ่มร่วมกันคัดเลือก เป็นผู้ประสานงานรับออเดอร์
จากบริษัท และประชาสัมพันธ์รวบรวมผลผลิตทุกวันอังคาร สมาชิกมาร่วมกันคัดเกรด จัดแพ็คใส่บรรจุภัณฑ์
และลำ�เลียงผลผลิตส่งให้บริษัท โดยบริษัทจะโอนเงินให้กลุ่มภายใน ๑๕ วัน หลังท่ีส่งผลผลิต กำ�ไรจากการ
จำ�หน่ายมะนาว จะนำ�มาปันผลให้สมาชิกผู้ถือหุ้นในปลายปี และจัดสวัสดิการดูแลสมาชิกในกลุ่ม มีการรายงาน
ชี้แจงรายรับ-รายจ่าย ต่อคณะกรรมการทุกคร้ังท่ีมีการประชุมประจำ�เดือน หรือไม่เกินวันที่ ๑๐ ของเดือน
เพื่อความโปรง่ ใสและถกู ต้อง
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนไร่ฟ้าประทาน บ้านผาหลัก รับซ้ือผลผลิตมะนาวตาฮิติ และพริกจากสมาชิกในชุมชน
น�ำ ไปสง่ ให้กับพอ่ คา้ จากต่างจงั หวดั ท่มี ีออเดอรแ์ น่นอนต่อเนอื่ ง และไดร้ ับการสนบั สนนุ จากสำ�นกั งานเกษตรอ�ำ เภอ
ในการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน และการพัฒนาคุณภาพผลผลิต และสามารถหาตลาดได้เอง มีคณะกรรมการ
๘ คน ทส่ี มาชกิ ในกลมุ่ รว่ มกนั คดั เลอื ก เปน็ ผปู้ ระสานงานรบั ออเดอรจ์ ากพอ่ คา้ และประชาสมั พนั ธร์ วบรวมผลผลติ
จากเกษตรกรในหมบู่ ้าน

46

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

เศรษฐกจิ และสงั คม

การส�ำ รวจขอ้ มลู เศรษฐกจิ สงั คม ปี ๒๕๕๘ ในพน้ื ทตี่ ้นแบบจงั หวดั น่าน ทัง้ ๑,๗๒๓ ครวั เรอื น ๗,๓๙๒ คน
ใน ๒๐ หมู่บา้ น ๓ อำ�เภอ มีรายได้ รายจ่าย หนี้สนิ และเงนิ ออม สรุปไดด้ งั น้ี รายไดร้ วม ๒๗๕,๓๖๓,๗๑๐ บาท
เฉลี่ยครัวเรือนละ ๑๕๙,๘๑๖ บาท รายจ่ายรวม ๒๒๙,๗๙๕,๙๕๒ บาท เฉลี่ยครัวเรือนละ ๑๓๓,๓๗๐ บาท
หน้ีสินรวม ๖๖,๘๙๖,๓๓๔ บาท เฉล่ียครัวเรือนละ ๓๘,๘๒๕ บาท เงินออมรวม ๑๒๘,๓๘๐,๕๕๓ บาท
เฉลย่ี ครัวเรอื นละ ๗๔,๕๑๐ บาท

รายได้

รก้อายรลเกะษ๓ตร๐ ร้อรยับลจะา้ ง๔๔ อน่ื ๆ

เชน่ การคา้ ขายและหตั ถกรรม
ปศสุ ตั ว์ เงนิ สนบั สนนุ คา่ บ�ำ รงุ
ปลกู ปา่ เศรษฐกจิ

*รายไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ ครวั เรอื นในปี ๒๕๕๘ เพม่ิ ขน้ึ จากปี ๒๕๕๒ เฉลย่ี ปลี ะ ๑๗,๔๘๔ บาทตอ่ ครวั เรอื น คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓๑.๘๔ ตอ่ ปี

รายจ่าย (ร้อ๗ย๐ละ) ค่าอร้อปุ ยโภลคะบ๖ร๐ิโภค
๖๐
๕๐
๔๐ การลงทุน การรล้องยทลุนะค๑า้ ๔ขาย การลงทุน
๓๐ ในร้อกยาลรเะกษ๒ต๒ร ในรกอ้ ายรลเละี้ยง๑ส๔ัตว์

๒๐
๑๐


*รายจา่ ยเฉลย่ี ตอ่ ครวั เรอื นในปี ๒๕๕๘ เพม่ิ ขน้ึ จากปี ๒๕๕๒ เฉลย่ี ปลี ะ ๑๔,๖๙๖ บาทตอ่ ครวั เรอื น คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓๒.๕๒ ตอ่ ปี

หนส้ี ิน (รอ้๗ย๐ละ)
๖๐
๕๐
๔๐ หนจ้ี ากการผอ่ นสนิ คา้
๓๐ ยมื ญาติ และกองทนุ ตา่ งๆ
๒๐ หนกี้รออ้ งยทลนุะห๓ม๖ูบ่ ้าน
ในหมบู่ า้ น

๑๐ หนสี้ รถอ้ ธายนบลานั ะคกา๓ารร๕เงนิ /

*หนส้ี นิ เฉลย่ี ตอ่ ครวั เรอื นในปี ๒๕๕๘ เพม่ิ ขน้ึ จากปี ๒๕๕๒ เฉลย่ี ปลี ะ ๔๘ บาทตอ่ ครวั เรอื น คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐.๑๒ ตอ่ ปี

47

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

เงินออม (ร้อ๗ย๐ละ)
๖๐
๕๐
๔๐ ฝรา้อกยธลนะาค๑า๘ร ออรม้อไยวลใ้ ะนบ๙้าน ออมรอ้กยับลสะหก๒รณ์ เกคอารอรือ่ ลซมเงงชอื้ทปทน่ สรรุนัพละาดยกบั์

๓๐ ฝราอ้ กยปลระะ๑ก๑นั
๒๐
๑๐


*เงนิ ออมเฉลย่ี ตอ่ ครวั เรอื นในปี ๒๕๕๘ เพม่ิ จากปี ๒๕๕๒ เฉลย่ี ปลี ะ ๙,๔๓๓ บาทตอ่ ครวั เรอื น คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๕๒.๖๗ ตอ่ ปี

การสำ�รวจข้อมูลเศรษฐกิจสังคม ปี ๒๕๕๘ ในพ้ืนท่ีต้นแบบจังหวัดอุดรธานี ๒๗๙ ครัวเรือน มีรายได้
๓๒,๕๖๗,๑๒๑ บาท เป็นรายได้จากภาคการเกษตร ๗,๐๐๐,๖๓๔ บาท ปศุสัตว์ ๒,๑๕๗,๗๕๔ บาท รายจ่าย
รวม ๑๘,๘๐๕,๕๔๔ บาท เป็นรายจ่ายจากการซื้อวัตถุดิบประกอบอาหาร การศึกษาและงานบุญ มีหน้ีสิน
รวม ๒๑,๙๑๑,๐๗๐ บาท และมเี งนิ ออม รวม ๘,๒๒๙,๗๑๖ บาท

รายได้

๗,๐ภ๐า๐ค,๖เก๓ษ๔ตบร าท ๒,๑ภ๕า๗ค,ป๗ศ๕สุ ๔ัตบว์ าท

รายจ่าย (หนว่ ยลา้ นบาท)
๑๐


๗ ๓,๖๒ก๒าร,๕ศ๘ึก๔ษาบาท
๖ ๒พ,๓ธิ ีก๘ร๖ร,ม๙ง๐า๐นบบุญาท


๓ วัต๔ถ,ดุ ๐ิบ๕ป๓ร,๑ะ๙กอ๒บบอาาหทาร




48

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

หนี้สนิ (หน่วย๑ล้า๐นบาท) ๙,๔๖ก๖ข,๖.ค๗จ๐. บาท
๙ ๑เ,ง๖ิน๓ฝ๕า,ก๑๐ธ๐.กบ.สา.ท
๘ ๕ก,๘อง๕ท๐ุน,๐เ๐งิน๐ลบา้ านท

๖ ๒,๘๐๐ธ,.๘ก.๐ส๐. บาท
๕ ๙๓เก๕บ็ ,ไ๙ว๐้ท๐บี่ ้าบนาท






เงินออม (หนว่ ยลา้ นบาท)

๑๐ ๓เ,ง๙ิน๓ฝ๕าก,๔ธ๑น๖าคบาารท











พ้ืนท่ีต้นแบบบ้านโป่งลึก-บางกลอย จังหวัดเพชรบุรี ข้อมูลเศรษฐกิจสังคม ในปี ๒๕๕๙ พบว่า ๑๗๘
ครัวเรือน มีรายได้รวม ๑๘,๓๑๙,๕๓๖ บาท เพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๕๘ ท่ีมีรายได้รวม ๑๓,๒๘๙,๒๘๐ บาท
ขณะทรี่ ายจา่ ยในปี ๒๕๕๙ อยทู่ ่ี ๕,๖๖๗,๙๙๒ บาท หนีส้ ิน ๕,๔๔๒,๑๒๔ บาท เงนิ ออม ๑,๐๙๙,๗๘๕ บาท

รายได้

รา๑ย,ไ๕ด๖จ้ ๒า,ก๕ภ๑า๙คเบกาษทตร
49


Click to View FlipBook Version