The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2559

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pidthong.pidthong, 2022-01-21 00:28:22

รายงานประจำปี 2559

รายงานประจำปี 2559

Keywords: รายงานประจำปี 2559

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

รายจ่าย (รอ้๗ย๐ละ)
๖๐
๕๐ สิ่งรทอ้ ส�ำ ยุรลลาาะยบส๑หุ ุข๒รภ.ี่ ๑าพ
๔๐ ขรออ้ งยเใสลชือ้ ะส้ ผ่ว๕า้ น.ต๔ัว แรลย้อะายกนลาพะรเาด๑หนิ๓นท.ะ๕าง
๓๐ ปรรอ้ ะยวกลัตอะถบดุอ๑บิา๗ห.๔าร
๒๐
๑๐


หนสี้ ิน (รอ้๗ย๐ละ)
๖๐
๕๐ เงรนิ้อกยูน้ละอก๑ร๙ะบ.๑บ
๔๐ กรบอ้อทงยทบลนุาะทพ๑สัฒ๙ตน.ร๑าี สหรกอ้ รยณล์อะอ๑ม๔ท.ร๑พั ย์ กรออ้ งยทลุนะเง๑ิน๗ล.้า๗น
๓๐
๒๐
๑๐


เงนิ ออม (ร้อ๗ย๐ละ)
๖๐
๕๐ เงริน้อฝยาลกะธน๖๔าค.๕าร รเ้อกยบ็ ลไะว้ท๑บี่ ๓า้ .น๘ รซ้อ้อื ยปลระะ๒กัน.๗
๔๐
๓๐
๒๐
๑๐


พ้ืนท่ีต้นแบบตำ�บลแก่นมะกรูด จังหวัดอุทัยธานี ๕๑๓ ครัวเรือน มีรายได้ในปี ๒๕๕๘ อยู่ที่
๖๐,๘๖๕,๗๓๒ บาท เพ่มิ ขน้ึ เป็น ๗๑,๗๕๑,๘๔๕ บาทในปี ๒๕๕๙ ขณะท่ีรายจ่ายปี ๒๕๕๙ ก็เพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๕๘
เป็น ๗๑,๑๖๓,๖๔๖ บาท จาก ๖๗,๗๓๔,๑๙๕ บาท หนส้ี ิน จาก ๔๕,๑๗๔,๓๔๕ บาท เป็น ๔๗,๙๘๕,๓๔๕ บาท
เงนิ ออม เพมิ่ ขึน้ จาก ๓,๔๓๙,๘๒๒ บาท เป็น ๓,๕๗๒,๙๒๒ บาท

50

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

รายได้

๑๑,๕๖ห๘ม,๕ู่ท๔ี่ ๑๕ บาท ๑๗,๓๓ห๘ม,ทู่๗ี่๖๒๙ บาท ๒๑,๐๔ห๑ม,๙ู่ท่ี๑๓๘ บาท ๒๑,๘๐ห๒ม,่ทู๖๑่ี ๔๓ บาท

รายจ่าย (หนว่ ๗ยล๐้านบาท)
๖๐
๕๐
๔๐ ๑๒,๕๔ห๑ม,ู่ท๑๖ี่ ๑๗ บาท ๑๔,๖๖ห๕ม,๘ูท่ ี่๔๒๐ บาท ๒๖,๖๖ห๐ม,๘ู่ท๒ี่ ๓๒ บาท ๑๗,๒๙ห๕ม,ู่ท๘่ี๑๔๗ บาท
๓๐
๒๐
๑๐


หนี้สนิ (หนว่ ๗ยล๐า้ นบาท)
๖๐
๕๐
๔๐ ๑๑,๕๐ห๕ม,๕ู่ที่๑๑๐ บาท ๘,๔๒ห๘ม,๖่ทู ๕ี่ ๒๐ บาท ๑๕,๒๔ห๗ม,ู่ท๑๘่ี ๓๕ บาท ๑๒,๘๐ห๔ม,่ทู๐่ี๐๔๐ บาท

๓๐
๒๐
๑๐


เงินออม (หน่วยล้านบาท)




๔ ๑,๕๘ห๙ม,๘ทู่ ๔ี่ ๔๐ บาท
๓ ๕๘๔ห,๓ม๘ู่ท่ี๐๑บาท ๗๔๒ห,๔ม๓ู่ท๒ี่ ๒บาท ๖๕๖ห,๒ม๗ู่ท๐่ี ๓บาท





51

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

ความร่วมมือกับภาคีเครอื ขา่ ย

ปิดทองหลังพระฯ ดำ�เนินงานพัฒนาในทุกพื้นท่ี โดยได้รับการสนับสนุนและความร่วมมือจากภาคี
เครือข่ายต่างๆ ทั้งหน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม เช่น ในพ้นื ท่ีตน้ แบบ
จังหวัดน่าน สำ�นักงานเกษตรจังหวัดน่าน โครงการชลประทานจังหวัดน่าน กองร้อยทหารพรานที่ ๓๒๐๑
และ ๓๒๐๒ สนบั สนนุ งบประมาณในการพฒั นาระบบนำ�้
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดน่าน องค์การบริหารส่วนตำ�บลขุนน่าน พัฒนาท่ีดิน
จังหวดั นา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั หนว่ ยพัฒนาการเคลือ่ นที่ ๓๑ สำ�นักงานประมง
จังหวัดน่าน สำ�นักงานปศุสัตว์จังหวัดน่าน พัฒนาท่ีดิน สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ กล้าไม้เศรษฐกิจ ยาและเวชภัณฑ์
รกั ษาโรคสัตว์ พนั ธ์ุปลา พันธุส์ ตั ว์ตา่ งๆ และสารปรับปรุงดนิ เป็นตน้
นอกจากน้ี ยังมีการอบรมเพ่ิมความรู้โดยหน่วยงานต่างๆ เช่น สำ�นักงานเกษตรอำ�เภอสองแคว ร่วมกับ
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตร ปศุสัตว์อำ�เภอ สาธารณสุขอำ�เภอ สาธารณสุขอำ�เภอสองแคว สำ�นักงานพัฒนา
ท่ีดนิ จงั หวัดน่าน ส�ำ นกั งานตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวดั นา่ น และโครงการชลประทานจงั หวัดน่าน จดั โครงการอบรม
เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตของเกษตรกรในพื้นท่ีต้นแบบ อำ�เภอสองแคว ๓ หมู่บ้าน และหมู่บ้านใกล้เคียง
โครงการอบรมการท�ำ ปุ๋ยอินทรยี แ์ ละสารชีวภัณฑ์
ในการพัฒนาอาชีพ กรมวิชาการเกษตร จังหวัดน่าน ตรวจสอบมาตรฐานสินค้าแหล่งผลิต GAP
พริก และมะนาวในพ้ืนที่ต้นแบบอำ�เภอสองแคว ให้ได้มาตรฐาน และราคาสูงขึ้น หน่วยจัดการต้นนำ้�ขุนน่าน
และหน่วยพัฒนาสังคมท่ี ๒๕ จังหวัดน่าน สนับสนุนการต่อยอดกลุ่มไม้กวาดบ้านห้วยฟอง พลังงานจังหวัดน่าน
สนับสนุนตอู้ บพลังงานแสงอาทิตย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลขุนน่าน บ้านนำ้�รีพัฒนา จัดโครงการตรวจหาสารเคมีในเลือดคน
ในชุมชนบ้านนำ้�ชา้ งพัฒนาและบา้ นนำ้�รพี ฒั นา ๓๘๕ ราย เพ่อื หาคา่ สารเคมีในเลอื ดและแนะนำ�โทษของสารเคมี
สร้างความตระหนักคิดในการรกั ษาสขุ ภาพของชาวบ้าน
ภาคเอกชนท่ีให้การสนับสนุน ได้แก่ เครือเจริญโภคภัณฑ์ สนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มเป็ดไข่ และกล้า
กล้วยหอมทอง บริษัทเบทาโกร ส่งเสริมการจัดต้ังกลุ่มเลี้ยงไก่ เล้ียงหมู ศูนย์เรียนรู้บ้านก่ิวจันทร์ และทำ�แปลง
ทดลองข้าวโพดตามหลักวิชาการเพื่อเพิ่มผลผลิตในพ้ืนที่ที่เหมาะสม บริษัท สยามแม็คโคร จำ�กัด (มหาชน)
ต่อยอดพืชเศรษฐกิจ รับซ้ือผลผลิตมะนาวพันธุ์ตาฮิติ อำ�เภอสองแคว จนเกิดการรวมกลุ่มและจดทะเบียน
เปน็ กลมุ่ วสิ าหกจิ ชุมชนผปู้ ลกู มะนาวบา้ นยอด
นอกจากน้ี ยังมีหน่วยงานที่เข้ามาร่วมส่งเสริมความรู้ ความชำ�นาญ และทักษะใหม่ๆ ให้เกษตรกร
เพ่ือนำ�ความรู้ใหม่ไปประยุกต์ใช้ในการเพ่ิมผลผลิต เช่น กรมป่าไม้ กองอำ�นวยการรักษาความม่ันคงภายใน
ราชอาณาจักร จังหวัดน่าน (กอ.รมน.) จัดโครงการปลูกฝังจิตสำ�นึกรักสามัคคีและเสริมสร้างการปรองดองให้
นักศึกษาในเขตพ้ืนท่ีจังหวัด พัฒนาชุมชนอำ�เภอเฉลิมพระเกียรติ จัดประชุมเวทีกระบวนการสร้างความเข้าใจ
โครงการหมู่บ้านประชารัฐ ๑๕ หมู่บ้านและการจัดทำ�บัญชีครัวเรือน สำ�นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัดน่าน
ถ่ายทอดความรกู้ ารจัดทำ�บัญชคี รัวเรือน

52

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

ขณะท่อี งค์กรปกครองทอ้ งถ่ินในพ้ืนที่ ทั้ง อบต.ตาลชมุ อบต.ขุนนา่ น และเทศบาลต�ำ บลยอด ร่วมสนบั สนุน
งบประมาณดำ�เนินการต่างๆ โดยบรรจุเข้าอยู่ในแผนพัฒนาของ อบต. เช่น โครงการพัฒนาระบบน้ำ�
และการส่งเสริมสนับสนุนกล่มุ อาชพี ตา่ งๆ
ปดิ ทองหลังพระฯ จังหวัดนา่ น ยงั รว่ มกบั สำ�นักงานโครงการพระธรรมจาริกจงั หวดั นา่ น จดั กจิ กรรมอบรม
คณุ ธรรม จริยธรรมในพื้นทต่ี น้ แบบ ดว้ ยโครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม “ค่ายพทุ ธบตุ ร” และร่วมกับศนู ยอ์ บรม
และส่งเสริมศีลธรรมบ้านป่ากลาง อำ�เภอปัว จัดอบรมศีลธรรมในโรงเรียน การทำ�บุญสัญจรเพื่อปลูกฝังคุณธรรม
เป็นตน้

หนว่ ยงานราชการ ภาคเอกชน

• กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • เครือเจรญิ โภคภณั ฑ์
• กระทรวงกลาโหม สนบั สนุนการจดั ตั้งกลมุ่ เป็ดไข่
• กระทรวงมหาดไทย กล้ากลว้ ยหอมทอง
• กระทรวงพลงั งาน • บริษัทเบทาโกร
• กระทรวงสาธารณสุข สง่ เสรมิ อาชพี การจัดตงั้ กลมุ่ เลี้ยงไก,่ หมู
• กระทรวงศกึ ษาธิการ จัดตง้ั ศูนยเ์ รียนรู้บา้ นกิ่วจนั ทร์
แปลงทดลองข้าวโพดตามหลกั วชิ าการ
องคก์ รปกครองท้องถิ่น • บริษัท สยามแม็คโคร จำ�กดั (มหาชน)
รบั ซอ้ื ผลผลติ มะนาวพนั ธต์ุ าฮิ
• องค์การบรหิ ารส่วนตำ�บลขุนน่าน จนเกดิ การรวมกลมุ่ และจดทะเบยี นเปน็ กลมุ่
• องคก์ ารบริหารส่วนต�ำ บลตาลชุม วสิ าหกจิ ชมุ ชนผปู้ ลกู มะนาวบา้ นยอด
• เทศบาลต�ำ บลยอด
ศาสนา

• ส�ำ นักงานโครงการพระธรรมจาริก
จงั หวดั น่าน
• ศูนย์อบรมและส่งเสริมศลี ธรรม
บา้ นป่ากลาง อ�ำ เภอปวั

53

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

พนื้ ทต่ี น้ แบบบา้ นโคกล่าม-แสงอร่าม จังหวดั อุดรธานี ไดร้ บั ความร่วมมอื สนบั สนนุ ความรู้ในการปรับปรงุ ดิน
และพัฒนาผลผลติ จากหนว่ ยงานตา่ งๆ เชน่ สถานีพฒั นาทีด่ ินจงั หวดั อดุ รธานี ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณ์
การเกษตร เกษตรอ�ำ เภอหนองวัวซอ เกษตรจังหวดั ศนู ย์เมล็ดพนั ธ์ขุ ้าวอุดรธานี ประมงจงั หวัด ปศสุ ตั ว์จงั หวัด
สนับสนุนพันธ์ุสัตว์ ขณะที่พาณิชย์จังหวัด เกษตรและสหกรณ์จังหวัด มณฑลทหารบกที่ ๒๔ เช่ือมโยงตลาด
และแหลง่ รับซื้อผลผลิต
นอกจากนี้ ยังร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในพื้นท่ี เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ทำ�โครงการ
ธนาคารขยะ และโรงขยะชุมชนเพื่อคัดแยกขยะ นำ�เยาวชนจากโรงเรียนบ้านแสงอร่ามพิทยาคมมาเรียนรู้
การท�ำ ปยุ๋ หมกั และการท�ำ ฝายอนุรักษ์
เกษตรจังหวัดเพชรบุรี และการศึกษานอกโรงเรยี น สนับสนนุ กล้าไมผ้ ล ให้กับชาวบา้ น ประมง สนับสนนุ
พันธ์ุปลา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สนับสนุนเป็ดไข่ และแรงงานช่วยเหลือการทำ�ฝายชะลอน้ำ� มหาวิทยาลัย
พระจอมเกลา้ ฯ ธนบุรี สนบั สนุนองค์ความรูแ้ ละชว่ ยเหลอื ซ่อมแซมระบบสบู น�้ำ ดว้ ยพลงั งานแสงอาทิตย์ เปน็ ต้น
พน้ื ทต่ี น้ แบบตำ�บลแกน่ มะกรดู จงั หวดั อทุ ยั ธานี ไดร้ บั ความรว่ มมอื จากสำ�นกั งานเกษตรและสหกรณจ์ งั หวดั
และองค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านไร่ สนับสนุนกล้าพันธ์ุกล้วยและสตรอว์เบอร์รี และมีสถาบันการศึกษาเข้าร่วม
สนับสนุนการดำ�เนินการ คือ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง วิทยาเขตอุทัยธานี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯ
เจา้ คุณทหารลาดกระบงั และวทิ ยาลัยชุมชนจงั หวัดอทุ ยั ธานี
ปิดทองหลังพระฯ ยังได้สร้างเครือข่ายความร่วมมือผู้นำ�ความคิดระดับนานาชาติ ร่วมกับสำ�นักงาน
ส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)
บรษิ ทั ช.การชา่ ง จ�ำ กดั (มหาชน) และสถาบนั เอเชยี ศกึ ษา จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั รว่ มจดั การประชมุ ทางวชิ าการ
“ความท้าทายต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของเอเชีย” เฉลิมฉลองพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙
เถลงิ ถวลั ยราชสมบตั ิครบ ๗๐ ปี เม่ือวนั ท่ี ๘ มิถุนายน ๒๕๕๙ ณ โรงแรมดสุ ติ ธานี กรงุ เทพมหานคร มีวตั ถปุ ระสงค์
เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในด้านการพัฒนาประเทศท่ียกระดับความเป็นอยู่ของพสกนิกร
ชาวไทยใหส้ ามารถพ่ึงตนเองได้อยา่ งเข้มแขง็ และยง่ั ยืน
ส่งเสริมความเข้าใจเก่ียวกับแนวพระราชดำ�ริสู่เวทีระดับนานาชาติ และเป็นเวทีแก่บุคลากรด้านการพัฒนา
ของประเทศ ในการเผยแพร่และแลกเปล่ียนองค์ความรู้เชิงวิชาการในการพัฒนาอย่างย่ังยืนตามแนวพระราชดำ�ริ
ตลอดจนเรียนรู้งานพัฒนาของต่างประเทศ โดยแบ่งการจัดงานออกเป็น ๒ ช่วง คือ ช่วงเช้า การอภิปรายของ
ผทู้ รงคุณวุฒิจาก ๔ ประเทศ ได้แก่ Mr. Stefanos Fotiou Director of Environment and Development
Division จาก UNESCAP และการเสวนาเร่ืองการพัฒนาอย่างย่ังยืน โดย Ms. Lamiya Morshed Executive
Director, Yunus Centre จากบงั กลาเทศ Ms. Monica Sy Buddhist Compassion Relief Tzu Chi Foundation
จากไต้หวัน และหม่อมราชวงศ์ดิศนัดดา ดิศกุล เลขาธิการมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ ช่วงบ่าย
เปน็ การเสวนาของคณะผวู้ จิ ยั เพอื่ แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ เชงิ วชิ าการเกยี่ วกบั ประสบการณก์ ารพฒั นาในตา่ งประเทศ
และบทเรียนการพัฒนาในประเทศที่มีรูปธรรมความสำ�เร็จ โดยมีผู้เข้าร่วมงานจากหน่วยงานราชการ มูลนิธิ
องค์กรพฒั นาเอกชน สถาบนั การศกึ ษาและส่ือมวลชนกวา่ ๔๐๐ คน

54

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

ในแผนงานสง่ เสรมิ การรบั รแู้ ละเขา้ ใจแนวพระราชด�ำ ริ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ใหป้ ระชาชนในสงั คมทกุ ภาคสว่ น
ทราบและศรัทธาต่อแนวพระราชดำ�ริ รู้ เข้าใจ และนำ�ไปประยุกต์ใช้ แก้ไขปัญหาและพัฒนาตนเอง ชุมชน
มีการจัดงานมหกรรมแลกเปล่ียนความรู้ปิดทองหลังพระฯ ๓ ครั้งในปีที่ผ่านมา ร่วมกับกระทรวงมหาดไทย
และสถาบันการศึกษาในพ้ืนท่ี เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้จากการปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีต้นแบบหรือชุมชน
เข้มแขง็ ทมี่ ่ันคงจากการพัฒนาตนเอง ซ่ึงผ้รู ่วมงานสามารถน�ำ ความร้ไู ปประยุกต์ใช้ให้เกดิ ผลได้ กล่าวคือ ร่วมกับ
กระทรวงมหาดไทยและมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี จัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ที่จังหวัดอุดรธานี เมื่อวันที่
๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จัดงาน “แลกเปล่ียนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาชุมชน
อยา่ งย่ังยืน จงั หวดั เพชรบุร”ี ณ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี วนั ที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๙ รว่ มกบั มหาวิทยาลยั
แม่โจ้ จัดงาน “แลกเปลีย่ นเรยี นรู้เพือ่ การพฒั นาชุมชนอย่างย่ังยนื จงั หวดั แพร่” ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตแพร่
วนั ที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๙

พืน้ ทีต่ ้นแบบแห่งใหม่

ประสบการณ์และบทเรยี นจากการท�ำ งานในพื้นทีต่ น้ แบบ ๕ แห่งของปดิ ทองหลังพระฯ ท�ำ ใหไ้ ด้ข้อสรปุ ว่า
การพัฒนาตอ้ งเกิดจากชาวบ้านมีความรู้ เขา้ ใจ เหน็ ประโยชน์ มคี วามตอ้ งการ (ระเบดิ จากขา้ งใน) ร่วมลงมือทำ�
แสดงความเปน็ เจา้ ของ และชว่ ยดแู ลรกั ษา จงึ จะเปน็ การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื และการขยายผลทด่ี �ำ เนนิ การไดอ้ ยา่ งรวดเรว็
ควรมีพื้นที่ต้นแบบให้ประชาชนได้เรียนรู้ ปิดทองหลังพระฯ จึงร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในท้องถิ่น ส่วนราชการ
ท่ีเก่ียวข้อง และภาคีเครือข่าย นำ�แนวคิดน้ีมาขยายผลการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่
จังหวัดขอนแก่นและจงั หวัดชายแดนภาคใต้

55

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

โครงการพัฒนาและจัดหาน้ำ�ในตำ�บลทุ่งโป่ง อำ�เภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น มีแนวคิดการพัฒนา คือ
นำ�ประสบการณ์และองค์ความรู้การพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริในพ้ืนท่ีต้นแบบปิดทองหลังพระฯ มาสู่การปฏิบัติ
ตามยุทธศาสตร์การบูรณาการการขับเคล่ือนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภาคเกษตรและชนบท
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ร่วมกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น และส่วนราชการที่เก่ียวข้อง ในการพัฒนา
และจดั หาน�ำ้ ให้ ๑๐ หมู่บ้านในต�ำ บลทุ่งโป่ง อำ�เภออุบลรตั น์ จงั หวดั ขอนแก่น เป็นพ้นื ทตี่ น้ แบบและม่งุ หวงั ทจ่ี ะ
ขยายผลในพ้นื ที่เปา้ หมายอกี ๕๒๘ หมูบ่ า้ น
ท้ังน้ี จังหวัดขอนแก่นได้เสนอแผนการขับเคล่ือนฯ ต่ออนุกรรมการส่งเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนา
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ยุทธศาสตร์ท่ี ๑) ซ่ึงได้รับอนุมัติให้ดำ�เนินการพัฒนาระบบน้ำ� โดยโครงการ
ปรบั ปรุงคลองสง่ น้ำ�สถานบี ้านหนองผือ ๒ จดุ รวม ๑,๕๗๙ เมตร เพมิ่ พนื้ ท่รี ับประโยชน์ ๓๘๑.๔ ไร่ โครงการ
ต่อท่อส่งน้ำ�จากคลองส่งน้ำ�สถานีสูบน้ำ�บ้านจระเข้ เพ่ิมพ้ืนที่รับประโยชน์ของสถานีสูบน้ำ�บ้านจระเข้ เพ่ือเสริม
ประสทิ ธภิ าพใหช้ าวบา้ นปลายคลองจากสถานสี บู น�ำ้ หนองผอื ไดร้ บั น�ำ้ และพน้ื ทรี่ ะบบชลประทานไปไมถ่ งึ ประมาณ
๖,๐๐๐ ไร่ รวม ๔,๘๐๐ เมตร และโครงการสร้างฝายแบบ มข-๕๘ และซอ่ มแซมฝาย ๒ ตวั และกอ่ สรา้ งใหม่ ๑ ตัว
เพื่อเพ่ิมระดับน้ำ�ในลำ�ห้วยให้สูงขึ้นและสามารถกระจายน้ำ�ไปยังพื้นที่การเกษตร ๒ ตำ�บล คือ ตำ�บลโคกสูง
และต�ำ บลท่งุ โปง่ จะมีพืน้ ท่รี ับน�ำ้ ไดเ้ พ่ิมอกี ประมาณ ๘๐๐ ไร่ โดยงบประมาณด�ำ เนินการ ๑๙๒,๓๓๓,๓๐๐ บาท
การพัฒนาระบบนำ้�ท้ัง ๓ โครงการ จะเพิ่มพ้ืนท่ีรับประโยชน์ในด้านการเกษตรได้ ๖๕๖.๖ ไร่ จากเดิม
ที่ชาวบ้านบริเวณนี้ไม่ได้ใช้คลองส่งน้ำ�มานานถึง ๒๐ ปี คิดเป็นร้อยละ ๔.๓ ของพื้นที่การเกษตรท้ังหมด
๑๕,๓๒๙ ไร่
การพัฒนาระบบนำ้�ระยะที่สอง จะเป็นโครงการผันน้ำ�จากเข่ือนอุบลรัตน์ ปล่อยลงพื้นท่ี ระยะทาง
๗ กโิ ลเมตร พร้อมระบบกระจายน�้ำ เขา้ แปลง ครอบคลมุ พื้นที่ ๒ ต�ำ บล (ตำ�บลเขือ่ นและตำ�บลทงุ่ โปง่ ) ท�ำ ใหจ้ ะมี
นำ�้ มาเตมิ พ้ืนทปี่ ระมาณ ๕ ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร มีพ้นื ท่รี บั ประโยชน์ ๗,๐๐๐ ไร่ ด้วยงบประมาณ ๑๔๘,๐๐๐,๐๐๐ บาท

56

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

พร้อมกับการปรับปรุงบำ�รุงดิน ด้วยกระบวนการทำ�ปุ๋ยรองพ้ืนเพ่ือเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน โดยใช้
เศษวัสดุที่หาได้ในพื้นที่ เช่น ใบไม้ แกลบ ฟาง รว่ มกับสถานพี ัฒนาทด่ี นิ สามารถท�ำ ปุ๋ยรองพื้นในพื้นทีต่ ้นแบบ
ได้ ๑๘ ตัน และการทำ�แปลงเกษตรลดรายจ่าย สร้างรายได้ให้กับเกษตรกร ๑๔๔ ราย ใน ๑๐ หมู่บ้าน
ของตำ�บลทุ่งโป่ง และมีการสร้างองค์ความรู้การบริหารจัดการน้ำ� การปรับปรุงดินให้เหมาะสมกับการเพาะปลูก
วิเคราะห์ตลาด วางแผนการผลิต การติดตามการผลิตโดยส่งเสริมปลูกข้าวโพดหวาน ฟักทอง ที่ไม่เคยมี
การปลกู มากอ่ น สรา้ งรายได้ให้แกเ่ กษตรกร ๕๐ ราย มากกว่า ๑,๐๘๔,๔๙๙.๙๐ บาท (ยังไม่รวมรายได้จากข้าว
กล้วย ไกพ่ น้ื เมือง)

ข้าวพน้ื ทีร่ ับนำ�้ ขา้ วโพดหวาน ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์

๖๕๙.๖ ไร่ ๗๕๒,๐๑๔.๒๐ บาท ๓๐๓,๐๒๐.๗๐ บาท
ยงั ไมเ่ ก็บเกยี่ วผลผลติ

ฟักทอง กลว้ ย ไกพ่ ้ืนเมือง

๒๙,๔๖๕.๐๐ บาท ยงั ไมเ่ ก็บเกีย่ วผลผลติ ยงั ไม่เก็บเกี่ยวผลผลติ

แผนงานในระยะต่อไป คือ การพัฒนาเปน็ แหล่งเรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพียง ส�ำ หรบั เกษตรกรในโครงการ มข.
แก้จน คณะอาจารย์และนักศึกษา หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ท้องที่ ภาคประชาสังคม
และนกั เรียนระดบั ประถมศกึ ษา รวม ๔,๙๙๐ คน โดยถ่ายทอดกระบวนการการทำ�งานทน่ี อ้ มน�ำ แนวพระราชด�ำ ริ
มาปรบั ใช้ มีแปลงตน้ แบบและขยายผลสเู่ กษตรกรในบรเิ วณใกลเ้ คียง
นอกจากน้ี ยังร่วมกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น พัฒนาหลักสูตรเกษตรยุคใหม่และเตรียมความพร้อม
สร้างศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง และโรงพยาบาลเกษตร เพ่ือแก้ไขปัญหาของเกษตรกรและเพ่ือเป็นจุดเร่ิมต้น
ในการดำ�เนนิ งาน เพือ่ สร้างฐานงานพัฒนาสู่กจิ กรรมดา้ นอื่นๆ

57

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

พน้ื ท่ี ๓ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้

ปิดทองหลงั พระฯ ร่วมกับมหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ กอ.รมน. ภาค ๔ ศอ.บต. สภาความม่นั คงแห่งชาติ
กระทรวงมหาดไทย ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ปกครองท้องท่ี ผู้นำ�ศาสนา และผู้นำ�ชุมชน พัฒนาพื้นท่ี ๓ จังหวัด
ชายแดนภาคใต้ เพ่ือเปน็ พ้นื ทีต่ น้ แบบและพัฒนาระบบการตลาด
จากการสำ�รวจและวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ในพื้นท่ี ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีปัญหาหลายมิติที่
สง่ ผลกระทบตอ่ ชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบา้ น เชน่ สภาพป่าต้นน้�ำ แต่ละพนื้ ท่ีเส่อื มโทรม ถูกบุกรกุ ด้วยพืชเชงิ เด่ยี ว
ไฟไหม้ป่า ทำ�ให้ป่าต้นน้ำ�เสียหาย ไม่มีระบบการจัดการนำ้�ท่ีสามารถนำ�มาใช้ประโยชน์อย่างทั่วถึง ขาดการดูแล
รักษา ไม่มรี ะบบท่อส่งน้ำ�ไปสพู่ ื้นทก่ี ารเกษตร ท�ำ ให้ขาดแคลนน้ำ�ในชว่ งหนา้ แล้ง ดินเปน็ ดินพรุ ดินทราย ค่าดนิ ต่ำ�
ไม่อุ้มน้ำ� ทำ�ให้ชาวบ้านทำ�การเกษตรได้น้อย เกษตรกรขาดการวางแผนบริหารจัดการการเพาะปลูกให้เหมาะสม
กับความต้องการของตลาด ขาดเทคนิคและองค์ความรู้ในการจัดการปัญหาที่เกิดขึ้น จึงใช้ต้นทุนการผลิตสูง
ปริมาณผลผลิตต�ำ่ และขาดชอ่ งทางในการจ�ำ หนา่ ยผลผลิต เปน็ ตน้

58

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

การดำ�เนินงานในพื้นท่ี ๓ จังหวัดชายแดนใต้ ทีมปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีดำ�เนินโครงการพัฒนาแก้ไขปัญหา
อย่างเร่งด่วน (Quick win) ก่อน เพ่ือสร้างความเช่ือม่ันศรัทธาของชาวบ้านและหน่วยงานภาคี ต่องานพัฒนา
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สร้างพลังร่วมของชุมชนในการจัดการแก้ปัญหาด้วยตนเอง มีชาวบ้านได้รับ
ประโยชน์ ๘๒ ครอบครัว ประกอบด้วย การกำ�จดั ศตั รูพืช (หอยเชอร่)ี โดยนำ�ไปทำ�ปยุ๋ และเลย้ี งเปด็ ตำ�บลทา่ น้ำ�
อ�ำ เภอปะนาเระ จังหวัดปตั ตานี ผลทไี่ ดร้ ับ คอื ท�ำ ให้ชาวบ้านสามารถลดต้นทนุ เรื่องปยุ๋ ในนาขา้ ว ๒,๙๐๐ บาท
ตอ่ ไรต่ อ่ ครวั เรอื น และเกิดรายได้จากการขายไขเ่ ปด็ ๑๕๐-๒๐๐ บาทตอ่ วนั โดยเริ่มตน้ นำ�รอ่ ง ๑๐ ครวั เรือน
กิจกรรมเพ่มิ รายได้ทดแทนราคายางตกตำ�่ ตำ�บลท่าน�้ำ อ�ำ เภอปะนาเระ จงั หวัดปตั ตานี โดยการทำ�เกษตร
แบบผสมผสานในสวนยาง ปลกู ผกั ในร่มเงาตน้ ยาง เช่น พรกิ ไทยออ่ น ผักเหลยี ง ผกั หวานปา่ การใช้ทะลายปาล์ม
มาทำ�เห็ดฟาง เศษซากวัสดุสามารถเป็นปุ๋ยให้ต้นยางโตเร็ว ลดต้นทุนได้อีกทางหนึ่ง ส่งผลให้เกิดรายได้เพ่ิมจาก
วนั ละ ๑๕๐บาทตอ่ วนั เปน็ ๕๐๐-๖๐๐ บาทตอ่ วนั น�ำ รอ่ ง ๑๕ ครวั เรอื นทพ่ี ฒั นาเปน็ กลมุ่ กองทนุ ปา่ ยางบรหิ ารจดั การ
ดว้ ยตวั เอง มีเงินหมนุ เวยี นทง้ั ส้ิน ๘,๐๐๐ บาท
กจิ กรรมแปลงพอเพียง ต�ำ บลท่าธง อ�ำ เภอรามัน จังหวัดยะลา โดยการปลกู พชื ผกั สวนครัวท่ชี าวบ้านบรโิ ภค
สามารถสรา้ งรายได้วนั ละ ๑๐๐-๒๐๐ บาทตอ่ คนต่อวนั มผี เู้ ข้าร่วม ๑๗ คน
กจิ กรรมส่งเสริมและรักษาสุขภาพสัตวต์ ำ�บลท่าธง อำ�เภอรามัน จังหวัดยะลา โดยพัฒนาเกษตรกรผู้เล้ียง
สตั ว์ในพน้ื ทร่ี วมตัวเปน็ กลุ่มกองทุนเวชภณั ฑ์ พัฒนาเป็นหมออาสารักษาสตั ว์ มีสมาชิก ๑๓ คน
กิจกรรมเกษตรทฤษฎีใหม่ตำ�บลโคกเคียน อำ�เภอเมือง จังหวัดนราธิวาส เพื่อแก้ปัญหาดินทรายไม่อุ้มนำ้�
ด้วยการทำ�เกษตรแบบผสมผสาน สรา้ งฐานความรู้ในการปรับปรุงดนิ การเกษตรทฤษฎีใหม่ ลดรายจา่ ย เพิม่ ราย
ไดใ้ ห้ชาวบา้ น มชี าวบ้านเข้ามาเรียนรกู้ ารปรับปรุงดนิ เพ่อื ปลกู ผกั และจบั จองพน้ื ท่เี พ่ือรว่ มกจิ กรรมปลูกผัก ๒๗ คน
เกิดรายไดว้ นั ละ ๑๐๐-๒๐๐ บาทต่อคนตอ่ วนั
กิจกรรมการซ่อมแซมระบบน้ำ�มัสยิดนูรุลอิสลามียะห์ ตำ�บลโคกเคียน อำ�เภอเมือง จังหวัดนราธิวาส
เพ่ือสร้างตัวอย่างที่ชาวบ้านร่วมลงแรงในการพัฒนาระบบน้ำ� ผลที่เกิดข้ึนคือ ความสามัคคีของชาวบ้าน
เพราะมสั ยิดเป็นศนู ยร์ วมใจ แหลง่ เรยี นรู้ชุมชน
ผลจากการด�ำ เนินงาน คาดหมายว่านอกจากจะเกิดความรว่ มมือ มีภาคหี น่วยงานราชการ องค์กรปกครอง
ท้องถิน่ สถาบันการศึกษา และชาวบา้ นเข้ามารว่ มในแตล่ ะพนื้ ที่ เพ่ือร่วมกนั สง่ เสริมความรู้ เทคนิคการท�ำ เกษตร
เชิงประณีตแก่ชาวบ้านแล้ว จะเกิดกลุ่มกองทุน ๖ กลุ่ม ท่ีชาวบ้านสามารถบริหารจัดการตนเองอย่างมีภูมิคุ้มกัน
มีกลไกการทำ�งานของชาวบ้านเอง คือ กลุ่มกองทุนเกษตรทฤษฎีใหม่ บ้านฮูแตทูวอ กลุ่มกองทุนเกษตรพอเพียง
บ้านจำ�ปูน กลุ่มกองทนุ เยาวชนเหด็ นางฟ้าบา้ นจำ�ปนู กลมุ่ กองทุนสัตวก์ บี ต�ำ บลท่าน้�ำ อำ�เภอปะนาเระ จังหวดั
ปัตตานี กลุ่มกองทุนสัตว์ปีก พ้ืนท่ีตำ�บลท่าธง อำ�เภอรามัน จังหวัดยะลา และกลุ่มกองทุนเกษตรทำ�สวนยาง
ต�ำ บลทา่ น�ำ้ อ�ำ เภอปะนาเระ จงั หวดั ปตั ตานี รวมทง้ั เกดิ องคค์ วามรจู้ ากการปฏบิ ตั งิ านจรงิ โดยการถอดกระบวนการ
เพ่ือน�ำ ไปสง่ ตอ่ ๖ ด้าน คือ การพฒั นาระบบป๊มั น�้ำ ดว้ ยแอรเ์ วย์ การเพาะเห็ดดว้ ยทะลายปาลม์ การเพาะเห็ดนางฟา้
การปรบั ปรงุ บ�ำ รงุ ดนิ การผลติ สารไลแ่ มลง และการท�ำ ปุ๋ยนำ้�ชีวภาพ

59

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

การดำ�เนินงานภายใต้โครงการแก้ปัญหาและพัฒนาอย่างเร่งด่วน (Quick win) ในพื้นท่ีต้นแบบจังหวัด
ชายแดนใต้ ซ่ึงสามารถแก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการที่จำ�เป็นของชาวบ้านได้ จึงกำ�หนดแผนขยาย
การทำ�งาน โดยการส่งเสริมกลุ่มอาชีพ เช่น ขยายงานการเพ่ิมรายได้ในระหว่างราคายางตกตำ่� สู่การส่งเสริม
การปลูกผัก ปลูกไม้ผล ไม้เศรษฐกิจในสวนยาง ในพ้ืนที่ภเู ขาใหญ่หมทู่ ี่ ๒ และ ๓ ต�ำ บลทา่ น�ำ้ อำ�เภอปะนาเระ
จังหวัดปัตตานี ซึ่งเป็นป่าต้นน้ำ�ของตำ�บลท่าน้ำ� เพ่ือเปลี่ยนจากสวนยางเป็นป่ายาง เพิ่มรายได้แก่ชาวสวน
และเพ่ิมพ้ืนท่ีป่าต้นนำ้� ฟ้ืนฟูแหล่งน้ำ�ธรรมชาติให้กลับมาขยายงานแปลงเกษตรพอเพียง สู่การส่งเสริมการปลูก
พืชหลังนา ในพน้ื ทห่ี มู่บา้ นจำ�ปนู ต�ำ บลทา่ ธง อำ�เภอรามนั จงั หวดั ยะลา ในพ้นื ท่ี ๑๕๐ ไร่ สร้างอาชีพเสรมิ รายได้
ตลอดทง้ั ปแี ก่ชาวบ้าน และงานแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ โซนนิคมบ้านฮแู ตทวู อ ต�ำ บลโคกเคยี น จังหวัดนราธิวาส
ขยายลงสู่หมู่บ้านประชารัฐ และ ๗ หมู่บ้านท่ีเผชิญปัญหาน้ำ�ทะเลกัดเซาะฝ่ัง โดยนำ�กระบวนการปรับสภาพดิน
และเทคนิคการปลูกผกั ในงานเกษตรทฤษฎีใหม่ ไปส่งเสริมอาชีพเพม่ิ รายได้
พรอ้ มกบั งานพฒั นาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการท�ำ เกษตร ดว้ ยการสรา้ งฝายอนรุ ักษ์ ขดุ สระน�ำ้ สรา้ งบ่อพวง
ในพ้ืนท่ีภูเขาใหญ่ งานต่อท่อนำ้�จากสระน้ำ�วังพญา สู่แปลงพืชหลังนาบ้านจำ�ปูน ตำ�บลท่าธง จังหวัดยะลา
และการขุดลอกคลองโคกเคียน ตำ�บลโคกเคียน จังหวัดนราธิวาส การพัฒนาระบบการผลิตและการตลาดสินค้า
ทางการเกษตร (ผลไม้) จังหวัดชายแดนภาคใต้ เช่น ทุเรียน มังคุด เงาะ ลองกอง ผลไม้ท้องถ่ิน ในพื้นท่ี
ตำ�บลบันนงั สตา อ�ำ เภอบนั นังสตา จังหวดั ยะลา และต�ำ บลเมาะมาวี อำ�เภอยะรัง จงั หวดั ปัตตานี ๕๙๙ ราย
ในปี ๒๕๕๙ ปิดทองหลังพระฯ ยังได้รับมอบหมายจากกระทรวงมหาดไทย จัดทำ�ข้อมูลของศูนย์คัดแยก
ไม้ผล เพื่อประมวลผลลงในโปรแกรมคาดการณ์ผลผลิตลองกองของศูนย์คัดแยกฯ เจ้าหน้าที่ และ อสพ.
ปิดทองหลงั พระฯ ไดล้ งพ้นื ที่จับพกิ ัดศนู ยค์ ดั แยกเปา้ หมายไดส้ �ำ เร็จบรรลุเปา้ หมาย รวมทั้งรับผิดชอบการจำ�หน่าย
ลองกองร่วมกบั ภาคีเครือข่ายตา่ งๆ ๗๕ ตัน

60

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

ผลการดำ�เนนิ การ มเี กษตรกรเขา้ ร่วมโครงการ ๑๑๗ ราย ผลผลติ รวม ๓๗,๐๘๙.๔ กโิ ลกรมั รวมเป็นเงนิ
ทั้งสิ้น ๘๐๑,๗๔๑.๕๐ บาท เป็นการผลักดันให้เกษตรกรจำ�หน่ายลองกองได้ราคาสูงขึ้น จากเดิมกิโลกรัมละ
๕-๗ บาท เมื่อโครงการเข้ามาให้องค์ความรู้การทำ�เกษตรเชิงประณีต มีการแยกเกรด ทำ�ให้ราคาลองกอง
เกรด เอ อยู่ท่ี ๒๗-๓๐ บาท เกรดบี ๑๗-๒๕ บาท เกรดซี ๑๐-๑๔ บาท และเกรดคละ ๑๕ บาท
หลังจากนี้ ปิดทองหลังพระฯ จะเตรียมทีมทำ�ความเข้าใจหลักการทำ�งาน ทำ�งานเป็นทีม บูรณาการ
การทำ�งานไดอ้ ย่างต่อเนื่องในหมูบ่ า้ น ลงพ้ืนที่เก็บข้อมูลเศรษฐกิจ สงั คม และกายภาพดนิ การใช้ประโยชน์ทด่ี ิน
สภาพป่า พื้นท่ีรับประโยชน์ สภาพสังคม ร่วมกับปราชญ์ชาวบ้าน หน่วยงานที่เข้ามาทำ�งานในพื้นที่ นำ�ข้อมูล
มาวิเคราะห์ และท�ำ การคืนขอ้ มลู ให้ชาวบา้ น จากสภาพปญั หาทีเ่ กดิ ขึน้ จะแกไ้ ขอยา่ งไร และนำ�ข้อมูลมาคืนให้กับ
ชาวบา้ น เพอื่ จัดลำ�ดบั ความส�ำ คัญของปัญหา และจดั ทำ�แผนตอ่ ไป
ทั้งนี้ ปิดทองหลังพระฯ ได้คัดเลือกพื้นท่ีต้นแบบ ตามกระบวนการเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา มีการสำ�รวจ
การวิเคราะหข์ อ้ มลู และแผนการจัดท�ำ ประชาคมหมู่บา้ น โดยประสานการปฏบิ ตั ริ ่วมกับ กอ.รมน. ภาค ๔ ศอ.บต.
จังหวัดยะลา นราธิวาส และปัตตานี เพื่อคัดเลือกหมู่บ้านที่ผู้นำ�ทุกระดับและชาวบ้านมีความพร้อมใน
การเข้ามาร่วมคิดร่วมลงมอื ท�ำ งาน พนื้ ท่มี สี ภาพปัญหาตอ่ การดำ�รงชวี ติ และการประกอบอาชพี และมคี วามสำ�คญั
ต่อระบบนิเวศ ซง่ึ ในเบอ้ื งต้นเสนอต�ำ บลของผู้นำ�ชาวบา้ นทเ่ี คยมาศกึ ษาดงู าน ๖ ต�ำ บล ๔ อ�ำ เภอ ใน ๓ จงั หวัด
ประกอบดว้ ย ต�ำ บลแป้น อ�ำ เภอสายบรุ ี ตำ�บลทา่ น้ำ�และตำ�บลพอ่ มง่ิ อำ�เภอปะนาเระ ต�ำ บลสะก�ำ อำ�เภอมายอ
จงั หวัดปัตตานี ตำ�บลทา่ ธง อำ�เภอรามนั จังหวัดยะลา และตำ�บลโคกเคียน อ�ำ เภอเมอื ง จังหวดั นราธวิ าส

การจัดการความรู้


ในปีท่ผี ่านมา ฝ่ายจัดการความรู้ ของสถาบนั ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมปิดทองหลังพระฯ มกี ารรวบรวม
ประสบการณ์และองค์ความรู้ในการนำ�แนวพระราชดำ�ริไปประยุกต์ใช้ในพื้นท่ีต้นแบบ ความรู้ด้านเทคนิค
ด้านบริหารจัดการ ด้านกระบวนการ รวมทั้งถอดบทเรียนกระบวนการพัฒนา วิเคราะห์ สังเคราะห์รูปแบบ
การพัฒนาท่ีเหมาะสม จัดทำ�เป็นชุดความรู้และหลักสูตร นอกจากนี้ ยังมีการถอดความรู้จากการปฏิบัติจริง
ในโครงการซอ่ มแซม ปรับปรงุ เสริมฝาย อา่ งเก็บน้ำ� การสง่ นำ้�ด้วยระบบทอ่ จังหวดั นา่ น และความรูจ้ ากเกษตรกร
ตน้ แบบ ๒๐ ราย ในพ้ืนท่ีจงั หวัดน่านและกาฬสนิ ธ์ุ เพอื่ เผยแพร่ตอ่ ผูส้ นใจตอ่ ไป
ชุดความรู้ หลักสูตร และคู่มือท่ีฝ่ายจัดการความรู้ดำ�เนินการเสร็จแล้ว คือ ชุดความรู้จากการปฏิบัติจริง
ในพืน้ ทตี่ ้นแบบ ประกอบดว้ ย ความรูเ้ ชงิ เทคนคิ ความรเู้ ชิงจดั การ และความรกู้ ารบรหิ ารงานพน้ื ที่ รวม ๕ เรือ่ ง
ไดแ้ ก่ แนวปฏบิ ตั แิ ละคมู่ อื การจดั การองคค์ วามรใู้ นการพฒั นาตามแนวพระราชด�ำ รขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
การพัฒนากลุ่มการผลิตและบริการ ความรู้จากการปฏิบัติ การปรับปรุงซ่อมแซมและพัฒนาศักยภาพแหล่งน้ำ�
ขนาดเล็ก กรณีจังหวัดน่าน รูปแบบการขยายผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงฯ กรณีจังหวัดอุดรธานี และสื่อวีดิทัศน์เผยแพร่ความรู้ การขับเคล่ือนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจพอเพียง
และฝ่าภัยแล้งด้วยแรงประชารฐั

61

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

หลักสูตร ๓ หลักสูตร ประกอบด้วย หลักสูตรนักปฏิบัติการพัฒนา เพื่อพัฒนาชุมชนตามหลัก เข้าใจ
เขา้ ถงึ พัฒนา หลักสตู รการพัฒนาเชิงพืน้ ทแ่ี บบบรู ณาการ และหลักสูตรการพฒั นากลุ่มการผลติ ทั้งน้ี หลักสูตร
นกั ปฏบิ ัตกิ ารพฒั นา มีการอบรมนักพัฒนาร่นุ แรกจากพ้นื ท่ีจงั หวัดชายแดนภาคใต้ ๔๒ คน ระยะเวลา ๔ เดือน
(กุมภาพันธ์-พฤษภาคม ๒๕๕๙) ในพื้นที่ต้นแบบจังหวัดน่าน และพื้นท่ีต้นแบบแห่งใหม่จังหวัดขอนแก่น
มีรูปแบบการฝึกอบรมเป็นลักษณะเรียนรู้จากการปฏิบัติการจริงในพื้นท่ี ท้ังหลักคิด หลักวิชา และหลักปฏิบัติ
ในการพฒั นาตามแนวพระราชดำ�ริ ภมู สิ งั คม บริบททางกายภาพ ชวี ภาพ เศรษฐกิจสงั คม วฒั นธรรมของหมบู่ ้าน/
ชมุ ชน ทกั ษะในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การระบปุ ญั หา ความตอ้ งการและการวางแผนชมุ ชน ความรคู้ วามเขา้ ใจปญั หา
เร่ืองการจัดการนำ้� ดิน ป่า และการเกษตร การส่งเสริมอาชีพการเกษตร ปศุสัตว์ และการแปรรูปผลผลิต
ทักษะการใช้เคร่ืองมือและอุปกรณ์การทำ�งานต่างๆ ทักษะในการสื่อสาร การฝึกฝนจิตใจ การทำ�งานร่วมกัน
เปน็ ทมี และความเข้าใจและทักษะในการบริหารจดั การงานพฒั นาในพน้ื ท่ี
เม่ือจบหลักสตู รการฝึกอบรมแลว้ ผู้เขา้ อบรมทั้ง ๔๒ คนไดล้ งไปปฏิบตั ิงานในพ้ืนทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใต้
ซงึ่ เปน็ ภมู ลิ �ำ เนาของตนเอง และเปน็ พนื้ ทต่ี น้ แบบแหง่ ใหมข่ องสถาบนั ฯ โดยใชป้ ระสบการณค์ วามรจู้ ากการฝกึ อบรม
ไปทำ�กระบวนการเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา เพ่ือเสนอแผนพัฒนาระยะเร่งด่วนที่ตอบโจทย์การแก้ไขปัญหาของพ้ืนท่ี
และสร้างเครือข่ายการท�ำ งานทไ่ี ด้รบั การยอมรับจากชมุ ชน
นอกจากนี้ ยงั มกี ารจดั ท�ำ คมู่ อื การขบั เคลอื่ นการพฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในภาคการเกษตร
และชนบท คู่มือการซ่อมแซมและปรับปรุงแหล่งน้ำ�ขนาดเล็ก ๘ ขั้นตอน วีดิทัศน์ แนวทางการพัฒนาแหล่งนำ้�
และการลดรายจ่าย หลักเกณฑ์การกล่ันกรองโครงการด้านพัฒนาแหล่งน้ำ� และคู่มือกำ�หนดรูปแบบสร้างฝายฯ
(ร่วมทำ�กับกรมชลประทาน) เพื่อสนับสนุนนโยบายรัฐบาล ในการถ่ายโอนประสบการณ์การทำ�งานของสถาบันฯ
ไปพัฒนาระบบการท�ำ งานของภาคราชการ

62

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

การสือ่ สารสาธารณะ

ฝ่ายสื่อสารสาธารณะและภาคีสัมพันธ์ ดำ�เนินงานตามแผนงานส่งเสริมการรับรู้และเข้าใจแนวพระราชดำ�ริ
เพ่ือให้ประชาชนในสังคมทุกภาคส่วนทราบและศรัทธาต่อแนวพระราชดำ�ริ รู้ เข้าใจ และนำ�ไปประยุกต์ใช้
แกไ้ ขปัญหาและพฒั นาตนเองและชมุ ชน ไดร้ ับความสนใจเผยแพรข่ ่าวสารผ่านสอ่ื สิง่ พิมพแ์ ละโทรทัศน์ ๖๘๔ ข่าว
สรา้ งการรบั ร้ไู ปสูป่ ระชาชน ๑,๔๓๔,๕๖๕,๗๘๓ คร้ัง

LOREM LIOPRSUEMM INPSLUORMEMLELOIPNORLSROUEERMMMEWMDIPIOIPESPLSUSOUUMRMMSIDWTSOALMOERTSITNASo1.M1E:1T2:201411:1N2o:2. 014DOLOR SIT AMEDTOLOR SIT AMET DODLOORLOSRITSAITMAETMETLLOLLOLORLLOOLRLOOELRROOREOMRREEMRREERMEMMEEIMMEPIMMPIIMSIPPISIPUPIISPSUPISPMSUUPSSMUSUUSMMUUDMMUMDMOMDDMODDLODODLODOODOLOOLORLLOOOLRLOOLRSOLORORRSIORRTSIRSRSTSIAISSTIITSATSMIITATITMIATAETAMAAMMETAMAMEMTEMETMEETETLTETLEOTLTLOTLRLOOLORLOEORROERMRREEMREEMMEIMEMPMIMPISIPIPISUIPPSISPUSMSPUUSMUUSMUMDUMMDMOMDDODDLODOLOODOLOOLRLOOLORLOOLRSORROSRIRSTIRSSTISATISIITSATMITAITMAATMEAAMEMTAMETMEEMTETTETETTLLOLOLOLROLROLREOLREOLRMEOLLRMEOLRMELOOLRMEOLLOIRMEOLRIPRMEOOLIPRMEROLISPERMEORLSPRIMEOMUIRSMPEOEUIRSPMELURIPEMSMMTULRISPEMOMLISPMUELMLOOUIISMPELMRLOOUPIMSPDIMORIUMSPLDOMRPEISUPSDRMRLOOIPUESDMSREMORULIPUSOMEDEOMIPSLURULDMOMEOESUPLMDMMRMLOOOUSLEIDMMMOMORULSLOPDMEIOOUMRRMDLLIOPOOEDUILRSMDTMIPROLOOPLRMEDIDPSOOMRULLDROOMSPSEOIOSDLMRSURLSOOOPOEDLIRISMSUOMLROULODLPRITESUOISMOMLRDOULLRITOOPMESOILMSRMITSROOULMOOPLDEARITSMOSROMIRLUOARPIDSEOITMSRLMRAMROIUTSODPDELIRASMMIMTSROSODUPRDEMIITSOSAMLMRSOOEUAMIPTDISEISRMOLMESAOIOTUTMIPTRDEISAMSMLITMLOOUTTISEPAMDTLIRMLSOTISOTAUAOMPEDILRITSMOLSTEAOMAUOPLITDEMIARMSMTORSOLAULIOTTEPMDOMRRSAMLSLTTEOUMOILOADMERRTSMESLTOOUASOIMLRTOEDEMRSSLATTMLOURTOEIEOIEDMMLRRSATLETTOOIROITEMDLMTEMRALTOLETOSTILRMOMEDOETERALTLLROSMOOMAITODELRRMAEOSLAOTOTOMMEIIDRELRARLMOTSTOIPORMMEEILMTRRLIPORMOSEATOLMEEIISPTORMELLREOSATIEOEISPMEMTMERRLPOSUAOITSMEEITRMTMRUISPMOATTRSLESIUMIEPTMRMRSEATULISPOIMLMEIEMRUTSIASPPLMLTIOEMIMEOUISPTMSATMRPLIOOMUISMPEDSMTLSTRUSPIDAOMRIMESETUULSATDORMRIPOIEUESDMIMTULPEMAOTORDUMEMIPMESEORTLMAOLUDPMMSMOMELRETLDMAOUOSMMOEEMLIDURSMLOMOOTLEDPDUMEIMOOMRTLLRODUIEDPOOEMLIMLRRSTDOIPOOOMEPELRIDMOPRSTLOMOOULRESPISDOMOLRSTRLLOSUPSDEOOIRMLLRISMOSULDOOPUOEILRITSSUMDRMOLOEOOUPLRISTISRMOMORMURITOLSPEMMOOIDSRAIRTRLSMUPOEAITRLIDSSMMRSUOAMPROLITESIDDSMMOASMUITSRPOIDIEODASMMMITSRLPUTOOIEAMDIITRSSMMLOUTEAOMPOIRTSSDIMTEAMLAIUTLOOSPDTIEASMMTULISRLAOOTPOEAMDMIISTSMLRTOUEAOOMIPTMDMSTEALMRITOURSOTDEEAMSMTRLROUSOTEAMIDEMRLTTAEOUSMOTDSITMAERMLTOSOSTTIDEMMRILOOSATTEMIDITRLTEOSAOTTIDMETLROSATOETIDMAROLSTATOIAMERTLOSATOMIMERLMTOSATIMERLTOSATEIMERSTEOATIMETRTSATITMERTSTAIMETSATIMETSATIAMETATIAMEMTATAMEMTALMEMETLALMOELETOTLLOEMETOLTRLOEOTLRTRLOOELRETORLLROELLEOTMLRRELOOEOLORMEMROLOARMEEOMRLARMOERREAMRMMREOEIIRIMMEEMERPIPPMMEEIMERIPMMEMPEISEISSPMMPTEESPMIISMUUTUISPPISLMIITUISPUPPIPMUIPMSSMOUPUSPIMLSMSSUSUIPMISMRUOSPUMPUUDUSDMMUDUEDDSMRSMMMUODMODMMOUDMUOOEDMDLOOLDDDLMMOMDLLODOODOILODLOOOOPOLDROOOLORILDROORSLLPLOODOLRRLOSOOUOLRSSOLROSOSRIOSRRLRMIUROSSTIRITRSLIOTSIRITMTRSSSAOTITSSIRADTSSAIITIAMIISRTSTATAMTIDITAOMASMTITIAMEMATMAATOALIEAMEMTATESAMOMEMMTELTEAMATMIEMETLAOTRTTEMMEEELLTEOTMELTERTLTOTOLTEESLORTOLALTLEOORRTTLISLOOELRMOTRLTLOLREOEIRMOLOLRORETEROMAERMELEOROREMEMRREOATMRMEMIERMRMEPEEIMMMIREMPEEIIPMMESMLIPPIMESMETISPPUMOIIIISSPMUTPPPPIUSISIMUPUISRPPISMSLSUSUIPMPISUSMSPELMOUUUUPSMDMSUOUUSMMDSMRMMMUDUODMUMDRMUOEDDMMOLODMEDODMMDLOIOODDDLDPMLOOOOLDDOOLROLOOODSOODILRLOLOOOLPIRULRLLOOOOSOLRPORSLOLOROSMIOLRRRSSLOSTOURISRRROSOTURISIRSMRISTSATIRISRTSMSTDAIIITSMSTSAATIITSIMDAOTTISSATIIAEMMDITTATAMIITOMELTAMATTOMEEAOMTALEAMMETATLEAMOMERTETMOMTEEMTRTEETTERETSETTSTITSITITT เผยแพร่ผ่านสื่อส่ิงพิมพ์

๒๘ ส�ำ นกั พมิ พ์ รวม ๓๘๔ ข่าว ๒๙,๙๗๑ คอลมั นน์ ิ้ว
๒๗๒,๖๖๘,๖๘๐ ฉบบั มกี ารรบั รู้ ๑,๐๙๐,๖๗๔,๗๒๐ คร้ัง

เผยแพรผ่ ่านส่ือโทรทัศน์

๒๐ สถานี รวม ๓๐๐ ข่าว ความยาว ๕,๑๕๕.๘๙ นาที
๑๑๐,๙๓๒,๖๐๑ ครวั เรอื น มกี ารรับรู้ ๓๔๓,๘๙๑,๐๖๓ ครง้ั

นอกจากน้ีฝ่ายสื่อสารสาธารณะและภาคีสัมพันธ์ สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ
สืบสานแนวพระราชดำ�ริ ยังดำ�เนินการร่วมกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เช่น มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จ
พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ สำ�นักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ กระทรวงมหาดไทย สำ�นักงาน
คณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ สำ�นักงานส่งเสริมการจัดประชุมและ
นิทรรศการ (องคก์ ารมหาชน) กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ภาคเอกชน
สื่อมวลชน มลู นิธิรากแกว้ และสถาบนั การศึกษาตา่ งๆ สรา้ งการรบั รผู้ ลสำ�เร็จจากการพฒั นาตามแนวพระราชด�ำ ริ
ส่งเสริมการเรียนรู้แนวพระราชดำ�ริเพื่อสร้างประสบการณ์ตรงจากการศึกษาดูงานโครงการพระราชดำ�ริและชุมชน
ตัวอยา่ งกบั กลุ่มเป้าหมาย มีการด�ำ เนนิ กจิ กรรมต่างๆ เชน่ การจัดแสดงนิทรรศการ รวม ๗ ครัง้ จดั กิจกรรมพเิ ศษ
เน่ืองในโอกาสสำ�คัญ เช่น “โครงการเผยแพรแ่ นวพระราชด�ำ ริ ๕๐ ปี ปลานิลพระราชทาน” “โครงการ ๑ จาน
จากใจ” และกิจกรรมพเิ ศษ “เปิดปฐมบทแห่งการพฒั นาเพื่อประชาผาสกุ ” เพ่อื สะทอ้ นการบำ�เพญ็ พระราชกรณียกจิ
ของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชที่สรา้ งคณุ ประโยชน์อย่างใหญห่ ลวงแก่ประชาชนชาวไทย

63

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

กิจกรรมรว่ มกบั สอ่ื มวลชน เชน่ ร่วมกบั ชมรมสอื่ บา้ นนอกจัดกิจกรรม “โครงการประกวดรางวลั สอ่ื เพื่อการ
พัฒนาชนบท” ชิงถว้ ยรางวัลพระราชทานสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี รว่ มกบั สถานีโทรทัศน์
ช่อง NOW๒๖ ผลิตรายการโทรทัศน์และสารคดีโทรทัศน์ ได้แก่ “ปั้นฝันเดอะบัณฑิต” เป็นรายการท่ีเปิดพ้ืนที่
ใหน้ ักศึกษาน�ำ ความรูม้ าปรบั ใช้พัฒนาชุมชน สารคดี “คนไมแ่ พ้” สารคดที น่ี ำ�เสนอบุคคลท่ใี ช้ความรู้ ความมงุ่ มั่น
อุตสาหะในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจนเป็นที่พึ่งของตนเองและชุมชน สารคดี “มิตรภาพไร้พรมแดน” สารคดี
ทน่ี �ำ เสนอเรอื่ งราวความรว่ มมอื ในโครงการพระราชด�ำ รจิ ากตา่ งประเทศ ออกอากาศตอ่ เนอื่ งตง้ั แตเ่ ดอื นพฤศจกิ ายน
– ธนั วาคม ๒๕๕๙ เป็นตน้
นอกจากน้ียังมีการจัดกิจกรรมนำ�สื่อมวลชนส่วนกลางศึกษาดูงานโครงการพระราชดำ�ริในโอกาส ๗๐ ปี
ครองราชย์ และ ๘๔ พรรษา สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกติ ิ์ พระบรมราชนิ ีนาถ ตลอดทงั้ ปี รวม ๑๒ ครง้ั
ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ฝ่ายสื่อสารสาธารณะและภาคีสัมพันธ์ริเร่ิมการประชาสัมพันธ์ตามแนวทางการ
พัฒนาชมุ ชนตาม “Practical Framework ของการพัฒนาอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำ�ริ” ซง่ึ ประกอบด้วยการพัฒนา
อย่างเป็นล�ำ ดบั ขน้ั ๓ ระดบั ไดแ้ ก่ ระดบั ครัวเรอื น ระดับชุมชน และระดับพ้นื ท่ี/ภูมภิ าค จากผลการวิจัย “โครงการ
ศกึ ษาแนวทางขบั เคลอ่ื นการบรหิ ารจดั การองคค์ วามรจู้ ากโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชด�ำ ร”ิ ทป่ี ดิ ทองหลงั พระฯ
ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีจัดทำ�ข้ึน รวมท้ังการนำ�ผลการศึกษารูปแบบการส่ือสาร
และพฤติกรรมการเปิดรับสื่อของประชาชนในพ้ืนที่ต้นแบบ โดยคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มาเป็นแนวทางในการจัดทำ�แผนประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อมวลชนท้องถ่ินและขับเคลื่อนงานด้านประชาสัมพันธ์
และแนวทางการสอ่ื สารทีจ่ ะดำ�เนนิ การต่อในปีงบประมาณ ๒๕๖๐

64

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

แผนการด�ำ เนินงาน ปีงบประมาณ ๒๕๖๐


จากความส�ำ เรจ็ ของการด�ำ เนนิ งานในปงี บประมาณทผ่ี า่ นมา มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
จึงกำ�หนดแผนการดำ�เนินงานเพ่ือขยายผลและต่อยอดความสำ�เร็จต่อไปในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ โดยมุ่งเน้น
การพัฒนาระบบการรวมกลุ่มท่ีเปน็ มาตรฐานสากล การพฒั นาพน้ื ท่ีใหเ้ ปน็ ต้นแบบอยา่ งครบวงจร การแกไ้ ขปญั หา
แบบองค์รวม และขยายผลการพัฒนาเชงิ พื้นทส่ี ู่พื้นท่อี ่ืนๆ ในจังหวดั ตน้ แบบ ดังนี้
พ้ืนท่ีต้นแบบ ๓ อำ�เภอของจังหวัดน่าน จะสนับสนุนองค์ความรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพผลผลิต เพิ่มรายได้
และพฒั นากล่มุ อาชพี ใหเ้ ข้มแข็ง ท้งั กลมุ่ ปลูกพืชเกษตรตา่ งๆ เช่น พริกซปุ เปอร์ฮอท พรกิ ใหญ่ ขา้ วโพดเล้ียงสตั ว์
ผักกาดเขยี วปลี กลว้ ยหอมทอง พชื ผกั กระเทียม ผักกาด กลว้ ยน้�ำ ว้า มะนาว สม้ โอ ถว่ั เขียว และกลุ่มอาชีพ
หัตถกรรมและแปรรูป เช่น กลุ่มเย็บผ้าชาวเขา กลุ่มผลิตไม้กวาด วิสาหกิจชุมชนผลิตน้ำ�ด่ืมชุมชนบ้านยอด
เปน็ ตน้ พรอ้ มกบั การพฒั นากองทนุ ทมี่ อี ยทู่ ง้ั ๑๔ กองทนุ ใหส้ ามารถบรหิ ารจดั การเอง เปน็ แหลง่ เงนิ ทนุ เพอ่ื พฒั นา
อาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ กระตุ้นเศรษฐกิจระดับฐานราก เพ่ือให้ชุมชนเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกัน เป็นต้นแบบ
ใหแ้ ก่หมู่บา้ นใกลเ้ คียงต่อไป
ด้านการส่งเสริมการเกษตร ตั้งเป้าหมายที่จะเสริมสร้างความรู้เทคนิคการผลิตข้าวให้ได้คุณภาพท่ีดีข้ึน
และลดต้นทุนการผลิต เพ่มิ ผลผลติ ขา้ วนาปี จากเฉลี่ย ๓๐๐ กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ เปน็ ๖๐๐ กโิ ลกรัมตอ่ ไรใ่ นทกุ พ้ืนที่
ขา้ วไรเ่ ป็น ๓๐๐ กโิ ลกรัมต่อไร่ ขา้ วกำ่�พนั ธลุ์ ืมผัว ๓๐๐ กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ และเพม่ิ คณุ ภาพ GAP เข้าสกู่ ารแปรรูป
ในระดับชุมชน ตลอดจนพฒั นาและขยายอาชีพการเลี้ยงสตั ว์ ทง้ั หมูเหมยซาน เป็ดไกพ่ น้ื เมอื ง และปลา รวมท้งั
จดั ต้ังศูนยร์ วบรวมผลผลติ ทางการเกษตรจากพ้นื ท่ี เพอื่ เป็นจดุ กระจายสนิ ค้าไปยังผู้บรโิ ภคในเขตเมือง
ตอ่ ยอดความรจู้ ากพน้ื ท่ีตน้ แบบไปสพู่ น้ื ท่อี ่นื นอกต้นแบบอีก ๖๑ หมูบ่ า้ นของจังหวดั นา่ น
พน้ื ทโ่ี ครงการบริหารจัดการน้�ำ อยา่ งยง่ั ยนื อา่ งเก็บน้�ำ หว้ ยคล้ายอันเนอื่ งมาจากพระราชด�ำ ริ บ้านโคกลา่ ม-
แสงอร่าม จังหวัดอุดรธานี จะสนับสนุนการแปรรูปและส่งเสริมพืชเศรษฐกิจเพ่ือสร้างแนวกันชนให้กับชายป่า
เชน่ ไผ่ ผกั หวานปา่ เปน็ ตน้ ปรบั ปรงุ ดนิ ดว้ ยปยุ๋ พชื สด ปยุ๋ หมกั และปยุ๋ เคมสี งั่ ตดั ปรบั ปรงุ และพฒั นาประสทิ ธภิ าพ
แหล่งนำ้�เดิม ด้วยการปรับปรุงซ่อมแซมฝายอนุรักษ์และฝายการเกษตรตามลำ�ห้วยหลัก เหนือพ้ืนที่อ่างฯ
หว้ ยคลา้ ยเพอื่ เติมนำ�้ ลงในอ่างฯ โดยชาวบา้ นร่วมลงแรง ๑๐ ตัว รวมทง้ั สนบั สนุนความรู้ด้านการวางแผนการผลติ
ทั้งครวั เรอื นตน้ แบบเดมิ และครัวเรอื นตน้ แบบรายใหม่
ส่งเสริมการรวมกลุ่ม ด้วยงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในการพัฒนาพันธ์ุสุกรเหมยซานอย่างครบวงจร ส่งเสริม
การวางแผนการผลิตในรูปแบบกลุ่ม เพ่ือความต่อเน่ือง สอดคล้องกับปริมาณความต้องการของตลาดทุกระดับ
พัฒนาองค์ความรู้ด้านการผลิตและตลาด เช่น การควบคุมคุณภาพและมาตรฐานการผลิตให้ได้มาตรฐาน GAP
พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การแหลง่ รวบรวมและกระจายผลผลติ รปู แบบบรรจภุ ณั ฑ์ สามารถเชอ่ื มโยงตลาดรองรบั
ผลผลติ ได้เอง และพัฒนาการดำ�เนนิ งานในรูปแบบกองทุนให้เขม้ แข็งยิ่งข้ึน
พ้ืนทต่ี น้ แบบบา้ นโป่งลึก-บางกลอย จังหวดั เพชรบรุ ี ในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ปิดทองหลังพระฯ ตงั้ เปา้ หมาย
ท่ีจะส่งเสริมการแปรรูปพืชเศรษฐกิจเพ่ือสร้างแนวกันชนให้กับชายป่า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านนำ้�และดิน
รวมท้งั ส่งเสริมอาชีพด้านเกษตรและปศุสัตว์ โดยเพมิ่ แปลงเกษตรตน้ แบบ จาก ๑๓ แปลง เปน็ ๓๕ แปลง

65

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

ในแปลงเกษตรตน้ แบบ ๓๕ แปลง จะมีการสง่ เสรมิ ศักยภาพระบบน้�ำ ดว้ ยการก่อสรา้ งถังเกบ็ นำ้� สานไมไ้ ผ่
ฉาบปูนทรงกลมขนาดความจุ ๑๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร ๓๕ ถงั เพือ่ จัดสรรนำ้�จากแหล่งน�้ำ หลักสรู่ ายแปลง หลงั จาก
สำ�รวจความต้องการใช้น้ำ�จากชนิดพืชที่ปลูก ระบบส่งน้ำ�เดิม และแนวทางการหาน้ำ�เพิ่มเติม โดยเจ้าของแปลง
จะต้องมสี ว่ นร่วมลงแรงและดำ�เนนิ การเอง ให้เก็บน�้ำ ไวใ้ ช้ไดท้ วั่ แปลง และเพยี งพอต่อการปลกู ไมผ้ ล เช่น ทเุ รยี น
มะนาว ฯลฯ ๑๐๐ ตน้ และปลกู พชื ระยะสนั้ จ�ำ นวน ๑ ไร่ ในแปลงของตนเอง ตลอดจนสง่ เสรมิ ใหส้ ามารถวเิ คราะห์
ตน้ ทนุ การผลติ วางแผนกิจกรรมรายแปลง วธิ ดี แู ลรักษา การจดั การ และการเก็บเกี่ยวผลผลติ ไปสปู่ ลายทางคอื
ตลาดได้
นอกจากน้ี จะมกี ารส่งเสรมิ ปรบั ปรงุ ดินของเกษตรกร ๑๐ ราย พืน้ ที่ ๕๐ ไร่ ส�ำ หรบั เตรยี มการปลูกข้าว
ด้วยการส่งเสริมการทำ�ปุย๋ หมักและปุ๋ยหมกั พชื สด รวมทัง้ ส่งเสรมิ องค์ความรู้และขยายพ้นื ท่ปี ลกู พชื ตา่ งๆ เพมิ่ ขึ้น
เช่น กลว้ ย พรกิ กะเหร่ยี ง มะนาวบ่อวง พืชระยะสนั้ การเลีย้ งกบนา เพือ่ ลดรายจ่ายในครัวเรอื น สร้างรายได้
จากการจำ�หน่ายผลผลิตท่ีเหลือจากการบริโภค และเตรียมการสำ�หรับการปลูกไม้ผลระยะยาว รวมท้ังส่งเสริม
พัฒนาระบบการเงินครวั เรือน พัฒนาระบบการผลิตเชือ่ มโยงการท่องเท่ยี วชุมชนและตลาด และการบริหารจดั การ
กองทุนขา้ วสาร กองทนุ หมู กองทนุ สัตวป์ กี เพอ่ื ใหช้ าวบา้ นสามารถบริหารจดั การเอง และด�ำ เนนิ กิจกรรมกองทนุ
ได้อย่างตอ่ เนอ่ื ง
ในพนื้ ทโ่ี ครงการพฒั นาแกม้ ลงิ หนองเลงิ เปอื ยอนั เนอื่ งมาจากพระราชด�ำ ริ จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ จะมกี ารฟนื้ ฟปู า่
ต้นน้ำ� ดงแม่เผด จังหวัดร้อยเอ็ด ปลูกป่า ปรับระบบนิเวศรอบหนองเลิงเปือย ปรับปรุงพัฒนาประสิทธิภาพ
แหล่งนำ้�เดิม ๖ สถานี และแหล่งน้ำ�เดิม ที่ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ เสริมประสิทธิภาพการกักเก็บนำ้� บ่อ
สระเก็บน้ำ�ในไร่นา
ดา้ นการเกษตร นอกจากการปรบั ปรงุ บ�ำ รงุ ดนิ ในพน้ื ทถ่ี มดนิ ใหเ้ หมาะสมกบั การเพาะปลกู แลว้ ยงั จะสนบั สนนุ
การดำ�เนินงานโรงปุ๋ย ส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจ สร้างโรงเพาะพันธ์ุผักและพันธุ์ไม้เศรษฐกิจ พัฒนา
ระบบการบริหารจัดการแหล่งรวบรวมและกระจายผลผลิต และพัฒนาผลผลิตให้ได้มาตรฐาน GMP สนับสนุน
การเลย้ี งสุกรเหมยซานในระบบท่ีไดม้ าตรฐาน รวมทง้ั สัตว์อ่นื ๆ เช่น ปลานิล ปลาหมอ กบ ตลอดจนสนับสนนุ
การด�ำ เนนิ งานกองทุนพืช ปศสุ ัตว์ ประมง ท่ีมีศกั ยภาพ
ต�ำ บลแกน่ มะกรดู จงั หวดั อทุ ยั ธานี แผนงานส�ำ คญั คอื การอนรุ กั ษพ์ นื้ ทปี่ า่ ไม้ ดว้ ยการจดั เวทที �ำ ความเขา้ ใจ
กับชาวบ้าน สร้างแนวกันชนให้กบั ชายปา่ ดว้ ยการสนับสนุนพันธ์ุไม้ เช่น กล้วย หมาก มะขามเปรี้ยวยกั ษ์ ฯลฯ
ใหก้ ับเกษตรกรชายขอบและผอู้ ยู่ในพน้ื ท่ีบุกรกุ ทส่ี นใจคนื พ้ืนทใี่ หป้ ่า รวมท้งั ส่งเสรมิ การแปรรูปพชื เศรษฐกิจ
ควบคู่กับการจัดทำ�แปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ ปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพแหล่งน้ำ�เดิมให้มีนำ้�เพียงพอ
ต่อการเพาะปลูกเพ่ือลดการทำ�เกษตรเชิงเด่ียว ด้วยการซ่อมแซมระบบส่งนำ้� ขุดบ่อพวงเพิ่มเติม พร้อมต่อระบบ
กาลักน้ำ�กระจายสู่พื้นที่ทำ�กิน ขุดสระใหม่ และขุดลอกบ่อเดิม จัดทำ�ถังเก็บนำ้�ขนาดใหญ่ เก็บน้ำ�ไว้ใช้ในแปลง
เกษตรทฤษฎีใหม่ สร้างฝายคอนกรีตผสมดิน ๔๐ ตัว เพ่ือเพิ่มปริมาณน้ำ�ในอ่างเก็บนำ้�ห้วยแม่ดีน้อย ทำ�ระบบ
อนรุ กั ษ์ดนิ และนำ�้ เช่น บอ่ ดักตะกอน ปรับพนื้ ท่ขี นั้ บันได ในพื้นท่เี สีย่ งดินสไลด์ ๕๐๐ ไร่

66

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

เสรมิ สรา้ งกระบวนการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน ทง้ั ในเรอ่ื งกตกิ าการใชน้ �้ำ การปลกู พชื ทางเลอื กและการตอ่ ยอด
กิจกรรมการส่งเสริมหลังมีระบบนำ้� พัฒนาระบบการบริหารจัดการกองทุนต่างๆ ตลอดจนพัฒนาแหล่งรวบรวม
และกระจายผลผลิต ส่งเสริมพัฒนาระบบการผลิตเชื่อมโยงการท่องเที่ยวชุมชนและตลาด ให้มีผลิตผลจำ�หน่าย
แกน่ ักทอ่ งเท่ียวให้ได้ ๓๖๕ วนั จดั ท�ำ แหล่งไม้ดอกตามฤดกู าล ๓ ฤดู เพ่ิมสถานทท่ี ่องเทยี่ ว ฯลฯ
สำ�หรับพ้ืนที่ต้นแบบใหม่ของปิดทองหลังพระฯ คือ พื้นท่ีตำ�บลทุ่งโป่ง อำ�เภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น
ในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ หลังจากการสำ�รวจด้านกายภาพ และจัดทำ�ฐานข้อมูลเรียบร้อยแล้ว จะเร่ิมดำ�เนินการ
พฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐาน เชน่ แหลง่ น�้ำ ดว้ ยการสร้างฝาย พฒั นาชอ่ งทางการกระจายน�ำ้ และก่อสรา้ งระบบส่งนำ้�
ให้กับพ้ืนท่ี ๑๐ หมู่บ้านของตำ�บลทุ่งโป่ง ปรับปรุงบำ�รุงดิน ปรับปรุงแปลงเกษตรปลอดภัยต้นแบบ ส่งเสริม
การปลกู พชื ทางเลือกทีม่ ีตลาดรองรบั เป็นพืชหลงั นาทใี่ ช้นำ�้ น้อย เชน่ ข้าวโพดหวาน ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ถัว่ เหลอื ง
ถว่ั ลิสง กลว้ ย ผกั ปลอดภยั สง่ เสรมิ การเลย้ี งปลาในแหล่งนำ�้ สาธารณะ และไก่พ้นื บ้าน เปน็ ตน้ รวมทงั้ การสง่ เสรมิ
กลมุ่ อาชพี นอกภาคเกษตร นอกจากนจี้ ะมกี ารเตรียมแปลงเพาะพนั ธเ์ุ พอ่ื เปน็ แหล่งกระจายพันธุ์ใหก้ ับพ้ืนทต่ี ้นแบบ
จงั หวัดอุดรธานีและกาฬสินธ์อุ ีกด้วย
สำ�หรับพื้นท่ีต้นแบบ ๒๑ หมู่บ้าน ใน ๓ จังหวัดชายแดนใต้ จะขยายผลการทำ�งานโดยพัฒนาพ้ืนที่
ลุ่มน้ำ�เทือกเขาใหญ่ ๗ หมู่บ้านในจังหวัดปัตตานี เป็นต้นแบบการจัดการป่าต้นน้ำ� พัฒนาพ้ืนท่ีลุ่มนำ้�พรุบาเจาะ
๗ หม่บู ้านในจงั หวดั นราธวิ าส เปน็ ต้นแบบการพฒั นาดิน และพฒั นาพนื้ ทีล่ ุ่มน้�ำ พรุลานควายและพนื้ ทลี่ ่มุ นำ�้ สายบุรี
๗ หม่บู า้ นในจังหวัดยะลา เปน็ พืน้ ที่ตน้ แบบการพัฒนามิตนิ ้�ำ
รวมท้ังพัฒนาการพ้ืนท่ีต้นแบบในรูปแบบที่หลากหลายตามลักษณะภูมิสังคม เป็นตัวอย่างในการขยายผล
ก้าวไปสู่ชุมชนพอเพียงและพ่ึงพาตนเองได้อย่างยั่งยืน เพ่ือให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง และเกิดการรวมกลุ่มเป็น
วสิ าหกิจชมุ ชน ทมี่ ีการบริหารจัดการได้ดว้ ยตนเอง
ในการสง่ เสรมิ อาชพี เพม่ิ รายได้ จะสง่ เสรมิ การผลติ การแปรรปู การตลาดแบบกลมุ่ ธรุ กจิ เชน่ การทอ่ งเทยี่ ว
ระบบการผลติ และการตลาดสินคา้ ทางการเกษตรของจังหวดั ชายแดนภาคใต้ เชน่ ทุเรยี น มังคดุ เงาะ ลองกอง
ผลไม้ท้องถน่ิ ฯลฯ ในลกั ษณะการดำ�เนินงานรว่ มกนั ของภาคส่งเสรมิ การตลาด และภาคการผลติ เกิดภาคีร่วมกนั
ท้งั หนว่ ยงานรฐั และเอกชน
ในทุกพ้ืนที่จะมีแผนงานพัฒนานวัตกรรมรูปแบบต่างๆ เพ่ือลดต้นทุนการผลิตสินค้าการเกษตรและ
ระบบพลังงานทดแทนอีกดว้ ย
ปงี บประมาณ ๒๕๖๐ ยังเป็นปที ปี่ ิดทองหลังพระฯ จะรวบรวมองค์ความรู้จากการปฏบิ ตั งิ านในแตล่ ะพืน้ ท่ี
ตลอด ๗ ปีที่ผ่านมา สรุปและสังเคราะห์เป็นชุดความรู้ และหลักสูตรของการฝึกอบรมแบบปิดทองหลังพระฯ
เพื่อเผยแผ่การขยายผลแนวทางพระราชดำ�ริให้เป็นแนวทางหลักในการพัฒนาประเทศต่อไปตามพันธกิจของมูลนิธิ
เช่นเดียวกับเป้าหมายของฝ่ายสื่อสารสาธารณะและภาคีสัมพันธ์ ท่ีจะมุ่งการขยายผลการส่ือสารแนวพระราชดำ�ริ
ไปยงั กลมุ่ เปา้ หมายและภาคที กุ ภาคสว่ นใหก้ วา้ งขวางยง่ิ ขึน้

67

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

๗ งบการเงนิ ปี ๒๕๕๙

มูลนิธิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
งบการเงนิ
วนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙

รายงานของผูส้ อบบญั ชีรับอนญุ าต
เสนอ คณะกรรมการของมูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
ขา้ พเจา้ ได้ตรวจสอบงบการเงนิ ของมูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ ซ่งึ ประกอบด้วยงบแสดงฐานะ
การเงิน ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ และงบแสดงรายได้และค่าใช้จ่าย และงบแสดงการเปล่ียนแปลง
ส่วนของทุนส�ำ หรบั ปสี ้ินสุดวันเดยี วกัน รวมถงึ หมายเหตุสรุปนโยบายการบญั ชที สี่ ำ�คัญและหมายเหตเุ รือ่ งอน่ื ๆ
ความรับผดิ ชอบของผบู้ ริหารตอ่ งบการเงิน
ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำ�และการนำ�เสนองบการเงินเหล่าน้ีโดยถูกต้องตามท่ีควรตามมาตรฐาน
การรายงานทางการเงินสำ�หรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายใน
ที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจำ�เป็น เพื่อให้สามารถจัดทำ�งบการเงินท่ีปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง
อนั เป็นสาระสำ�คญั ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจรติ หรือข้อผดิ พลาด
ความรบั ผดิ ชอบของผ้สู อบบญั ชี
ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้า
ได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซ่ึงกำ�หนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อกำ�หนดด้านจรรยาบรรณ
รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบเพ่ือให้ได้ความเช่ือม่ันอย่างสมเหตุสมผลว่า งบการเงินปราศจาก
การแสดงข้อมลู ท่ีขัดตอ่ ขอ้ เทจ็ จรงิ อนั เปน็ สาระสำ�คญั หรือไม่

68

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพ่ือให้ได้มาซ่ึงหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจำ�นวนเงินและ
การเปิดเผยข้อมลู ในงบการเงิน วิธกี ารตรวจสอบท่ีเลอื กใช้ข้ึนอยู่กับดุลยพินจิ ของผสู้ อบบญั ชี ซ่ึงรวมถึงการประเมนิ
ความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลท่ีขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญของงบการเงินไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริต
หรอื ขอ้ ผดิ พลาด ในการประเมนิ ความเสยี่ งดงั กลา่ ว ผสู้ อบบญั ชพี จิ ารณาการควบคมุ ภายในทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การจดั ทำ�
และการน�ำ เสนองบการเงนิ โดยถกู ตอ้ งตามทคี่ วรของกจิ การ เพอ่ื ออกแบบวธิ กี ารตรวจสอบทเี่ หมาะสมกบั สถานการณ์
แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบ
รวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการ
ทางบัญชที ี่จัดท�ำ ขนึ้ โดยผู้บรหิ าร รวมท้ังการประเมินการน�ำ เสนองบการเงนิ โดยรวม
ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีท่ีข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพ่ือใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็น
ของขา้ พเจา้
ความเห็น
ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงินของมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ และผลการดำ�เนินงานสำ�หรับปีส้ินสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควร
ในสาระส�ำ คัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำ�หรับกจิ การท่ีไม่มสี ่วนได้เสยี สาธารณะ

สุขุมาภรณ์ วงศ์อรยิ าพร
ผสู้ อบบญั ชรี ับอนญุ าตเลขที่ ๔๘๔๓
บรษิ ทั ไพรซ้ วอเตอรเ์ ฮาสค์ เู ปอร์ส เอบเี อเอส จ�ำ กัด
กรงุ เทพมหานคร
๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

69

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

มลู นิธิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
งบแสดงฐานะการเงนิ
ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙

พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘

หมายเหตุ บาท บาท

สินทรพั ย ์

สินทรพั ยห์ มนุ เวียน

เงนิ สดและรายการเทียบเทา่ เงินสด ๓ ๓๑,๓๐๐,๓๕๕ ๒๙,๐๙๒,๔๙๑
๙๗๗,๒๗๕,๕๕๖ ๘๗๓,๘๐๙,๒๑๖
เงินลงทนุ ช่ัวคราว ๔
๑,๕๕๐,๒๘๒ ๑,๙๔๘,๘๒๙
ลูกหนอ้ี น่ื ๕ ๒,๐๘๑,๖๕๕ ๓,๑๒๑,๙๓๖
๒,๘๔๗,๓๘๔ ๒,๒๑๗,๖๓๑
เงนิ สำ�รองจา่ ย ๖

สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวียนอืน่

รวมสนิ ทรพั ย์หมนุ เวยี น ๑,๐๑๕,๐๕๕,๒๓๒ ๙๑๐,๑๙๐,๑๐๓

สินทรัพยไ์ ม่หมนุ เวียน

อุปกรณ์ - สทุ ธิ ๗ ๗,๙๔๔,๒๖๘ ๑๐,๐๐๐,๐๕๖
๓ ๔,๑๘๘
สนิ ทรัพยไ์ ม่มีตัวตน - สทุ ธ ิ ๘
๑,๔๔๘,๒๘๘ ๑,๑๗๖,๔๙๖
เงินมัดจ�ำ ระยะยาว - ๓๓๐,๐๐๐

สินทรัพยไ์ ม่หมนุ เวียนอน่ื

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวยี น ๙,๓๙๒,๕๕๙ ๑๑,๕๑๐,๗๔๐

รวมสนิ ทรพั ย์ ๑,๐๒๔,๔๔๗,๗๙๑ ๙๒๑,๗๐๐,๘๔๓





ประธานกรรมการมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ

ประธานกรรมการสถาบันส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ ในหน้า ๗๔ ถงึ ๘๕ เป็นส่วนหน่ึงของงบการเงินนี้

70

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

มลู นธิ ิปดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
งบแสดงฐานะการเงนิ
ณ วันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๙

พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘
บาท บาท


หนส้ี ินและส่วนของทุน

หนี้สนิ หมุนเวยี น

เจา้ หนี้ ๔,๙๗๐,๔๗๔ ๑,๑๙๑,๓๖๕
ค่าใช้จ่ายคา้ งจา่ ย ๗,๐๙๔,๕๔๒ ๑๓,๕๓๑,๓๗๔
หนี้สินหมุนเวยี นอื่น
๙๐๗,๒๗๒ ๔๒๖,๓๘๘

รวมหนีส้ นิ หมนุ เวียน ๑๒,๙๗๒,๒๘๘ ๑๕,๑๔๙,๑๒๗

รวมหน้สี ิน ๑๒,๙๗๒,๒๘๘ ๑๕,๑๔๙,๑๒๗

ส่วนของทุน

ทนุ จดทะเบยี น ๒๐๐,๐๐๐ ๒๐๐,๐๐๐
รายได้สูงกวา่ คา่ ใชจ้ ่ายสะสม ๑,๐๐๙,๖๔๙,๙๖๘ ๙๐๖,๒๑๘,๐๙๗
ก �ำ ไรทีย่ งั ไมเ่ กิดข้ึนจริงจากการ วดั มูลคา่ เงนิ ลงทุนเผอื่ ขาย
รวมสว่ นของทุน ๑,๖๒๕,๕๓๕ ๑๓๓,๖๑๙

๑,๐๑๑,๔๗๕,๕๐๓ ๙๐๖,๕๕๑,๗๑๖

รวมหน้ีสนิ และสว่ นของทุน ๑,๐๒๔,๔๔๗,๗๙๑ ๙๒๑,๗๐๐,๘๔๓

หมายเหตุประกอบงบการเงินในหน้า ๗๔ ถึง ๘๕ เปน็ ส่วนหนง่ึ ของงบการเงินนี้
71

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ
งบแสดงรายได้และคา่ ใช้จา่ ย
ส�ำ หรับปสี ิ้นสดุ วนั ที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙

พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘
หมายเหต ุ บาท บาท

รายได ้

เงินจดั สรรจากงบประมาณแผน่ ดิน ๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐

รายรบั จากเงินบรจิ าค ๕,๙๓๑,๘๑๐ ๑๑๖,๙๐๒

ดอกเบี้ยรับ ๑๕,๘๓๒,๙๗๐ ๒๘,๐๗๖,๒๑๐

ก�ำ ไรที่เกดิ ขน้ึ จากการจ�ำ หน่ายเงินลงทุนเผอ่ื ขาย ๑,๒๘๙,๓๑๓ ๒,๕๔๔,๙๖๔

รายไดอ้ ื่น ๑๗๔,๘๔๗ ๑๕๓,๗๙๑

รวมรายได ้ ๓๒๓,๒๒๘,๙๔๐ ๓๓๐,๘๙๑,๘๖๗
คา่ ใช้จา่ ย

ค่าใชจ้ า่ ยบคุ ลากร ๔๔,๘๙๗,๒๖๓ ๓๓,๙๗๖,๓๖๐
๓๖,๒๑๑,๑๖๓ ๒๘,๑๓๑,๘๑๗
คา่ ตอบแทนบุคคลภายนอก
๑๒๑,๘๐๐ ๑๒๑,๙๔๘
ค่าธรรมเนยี มวิชาชีพ ๑๔,๘๐๒,๔๒๓ ๑๓,๖๐๗,๘๑๘
๕๑,๙๔๐,๗๖๔ ๑๕๙,๗๒๐,๖๐๙
คา่ ใช้จ่ายการเดนิ ทาง ๔,๕๓๒,๓๕๑
๕,๐๖๕,๗๖๒ ๑,๔๐๒,๑๘๘
คา่ วัสดสุ ้นิ เปลอื ง ๑,๖๘๔,๖๗๗ ๕,๒๔๒,๔๒๔
๔,๖๒๑,๖๔๓
คา่ เช่าอาคารและอุปกรณ์ ๓๐,๗๒๑
๔,๑๘๕ ๑,๙๙๐,๔๘๗
ค่าซอ่ มแซมและบำ�รงุ รักษาอุปกรณ์ ๒,๐๒๗,๓๙๓ ๘,๗๙๙,๒๐๘
๘,๘๐๐,๐๐๖
คา่ เสื่อมราคา ๗ ๓๒๐,๑๓๑
๒๕๓,๔๓๗ ๔๓,๗๔๕,๑๔๔
ค่าตดั จำ�หนา่ ย ๘ ๓๗,๓๖๑,๙๓๖ ๙๑,๙๗๔,๔๑๘
๑๐,๔๖๗,๗๒๑
ค่าสาธารณปู โภค ๔๓๓,๓๒๖
๒๔๖,๓๕๙ ๑,๓๓๓,๓๑๐
ค่ารับรอง ๑,๒๙๐,๕๓๗

คา่ ประกันภัย

ค่าประชาสัมพันธแ์ ละจดั นทิ รรศการ

เงินอดุ หนุน

คา่ ขนสง่

คา่ ใช้จา่ ยอนื่ ๆ

รวมคา่ ใชจ้ ่าย ๒๑๙,๗๙๗,๐๖๙ ๓๙๕,๓๖๒,๒๖๐

รายได้สูงกวา่ (ตำ�่ กว่า) คา่ ใชจ้ า่ ยสุทธสิ �ำ หรบั ปี ๑๐๓,๔๓๑,๘๗๑ (๖๔,๔๗๐,๓๙๓)

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ ในหนา้ ๗๔ ถึง ๘๕ เป็นสว่ นหน่งึ ของงบการเงนิ น ้ี

72

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ
งบแสดงการเปลย่ี นแปลงสว่ นของทนุ
ส�ำ หรบั ปสี ้นิ สุดวนั ที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙

ผลก�ำ ไร (ขาดทนุ )

ทย่ี งั ไมเ่ กดิ ขน้ึ

รายไดส้ งู กวา่ (ต�ำ่ กวา่ ) จากการวดั มลู คา่

ทนุ จดทะเบยี น คา่ ใชจ้ า่ ยสะสม เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย รวม

บาท บาท บาท บาท

ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ๒๐๐,๐๐๐ ๙๗๐,๖๘๘,๔๙๐ ๔๑๘,๙๔๐ ๙๗๑,๓๐๗,๔๓๐

การวดั มลู คา่ เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย - สทุ ธ ิ - - (๒๘๕,๓๒๑) (๒๘๕,๓๒๑)

รายไดต้ �ำ่ กวา่ คา่ ใชจ้ า่ ยสทุ ธสิ �ำ หรบั ป ี - (๖๔,๔๗๐,๓๙๓) - (๖๔,๔๗๐,๓๙๓)

ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ๒๐๐,๐๐๐ ๙๐๖,๒๑๘,๐๙๗ ๑๓๓,๖๑๙ ๙๐๖,๕๕๑,๗๑๖

ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ๒๐๐,๐๐๐ ๙๐๖,๒๑๘,๐๙๗ ๑๓๓,๖๑๙ ๙๐๖,๕๕๑,๗๑๖
การวดั มลู คา่ เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย - สทุ ธ ิ - - ๑,๔๙๑,๙๑๖ ๑,๔๙๑,๙๑๖
รายไดส้ งู กวา่ คา่ ใชจ้ า่ ยสทุ ธสิ �ำ หรบั ป ี -
๑๐๓,๔๓๑,๘๗๑ - ๑๐๓,๔๓๑,๘๗๑
ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๙
๒๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๙,๖๔๙,๙๖๘ ๑,๖๒๕,๕๓๕ ๑,๐๑๑,๔๗๕,๕๐๓

หมายเหตุประกอบงบการเงนิ ในหนา้ ๗๔ ถงึ ๘๕ เป็นสว่ นหนึง่ ของงบการเงนิ น้ ี
73

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

มลู นธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สำ�หรับปีสน้ิ สดุ วนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ.​๒๕๕๙

๑ ขอ้ มลู ทั่วไป

มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ (“มลู นธิ ”ิ ) ไดจ้ ดทะเบยี นจดั ตง้ั มลู นธิ ติ ามประมวลกฎหมายแพง่
และพาณชิ ยต์ อ่ นายทะเบยี นมลู นธิ กิ รงุ เทพมหานคร เลขทะเบยี นล�ำ ดบั ท่ี กท ๑๙๑๙ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๐ มกราคม
พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยมที อ่ี ยทู่ ไ่ี ดจ้ ดทะเบยี นดงั น้ี

สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี ทำ�เนียบรัฐบาล เลขท่ี ๑ ถนนนครปฐม แขวงจิตรลดา เขตดุสิต
กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐

มลู นธิ เิ ปน็ องคก์ ารหรอื สถานสาธารณกศุ ล โดยมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการด�ำ เนนิ งาน ดงั น้ี

๑) ให้จัดต้ังและสนับสนุนการดำ�เนินงานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ
สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ ซง่ึ เปน็ หนว่ ยปฏบิ ตั ขิ องมลู นธิ ิ ใหด้ �ำ เนนิ การไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลประสทิ ธภิ าพ
สอดคลอ้ งกบั เจตนารมณแ์ หง่ การจดั ตง้ั

๒) ใหส้ ถาบนั โดยมมี ลู นธิ ิ สนบั สนนุ ใหท้ นุ ด�ำ เนนิ งาน มวี ตั ถปุ ระสงค์ ดงั น้ี

ก) สนับสนุนส่งเสริมและให้ความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาแก่องค์กรชุมชน
ประชาสงั คม องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ องคก์ รภาครฐั องคก์ รทางสงั คม สถาบนั วชิ าการ
ภาคธรุ กจิ ในการด�ำ เนนิ งานทส่ี อดคลอ้ งกบั มติ กิ ารพฒั นาตามแนวพระราชด�ำ ริ เพอ่ื ใหป้ ระชาชน
มชี วี ติ ความเปน็ อยทู่ ด่ี ขี น้ึ รวมถงึ สง่ ผลตอ่ การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

ข) สนับสนุนการจัดการความรู้ตามแนวพระราชดำ�ริโดยประสานความร่วมมือกับศูนย์ศึกษา
การพฒั นา โครงการสว่ นพระองค์ โครงการตามพระราชประสงค์ โครงการหลวง โครงการ
อันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ องค์กรชุมชน ประชาสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
องคก์ รภาครฐั องคก์ รทางสงั คม สถาบนั วชิ าการ ภาคธรุ กจิ เพอ่ื ใหเ้ กดิ คลงั ความรู้ การยกระดบั
ความรู้ การตอ่ ยอดชมุ ความรใู้ หม่ การพฒั นาหลกั สตู รการศกึ ษาในและนอกระบบ ตลอดจน
การขยายผลเชอ่ื มโยงสกู่ ารน�ำ ไปปฏบิ ตั อิ ยา่ งกวา้ งขวาง

74

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ส�ำ หรับปีส้ินสุดวันท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒​ ๕๕๙

๑ ข้อมูลทวั่ ไป (ต่อ)

มลู นธิ เิ ปน็ องคก์ ารหรอื สถานสาธารณกศุ ล โดยมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการด�ำ เนนิ งาน ดงั น้ี (ตอ่ )

๒) ใหส้ ถาบนั โดยมมี ลู นธิ สิ นบั สนนุ ใหท้ นุ ด�ำ เนนิ งาน มวี ตั ถปุ ระสงค์ ดงั น้ี (ตอ่ )

ค) สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การบรู ณาการ ภารกจิ และกจิ กรรมของสถาบนั กบั แผนชมุ ชน แผนองคก์ รปกครอง
สว่ นทอ้ งถน่ิ แผนพฒั นาจงั หวดั แผนหนว่ ยงานภาครฐั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และนโยบายรฐั บาล

ง) สนับสนุน ส่งเสริม แนะนำ� และช่วยเหลือ องค์กรชุมชน ประชาสังคม องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่นิ องค์กรภาครัฐ องค์กรทางสังคม สถาบันวิชาการ ภาคธุรกิจ เพ่อื ให้น้อมนำ�
แนวพระราชดำ�ริไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์และเป็นแนวทางหลักในการพัฒนาทุกระดับ
ของประเทศ

จ) สรา้ งการรบั รู้ ความเขา้ ใจ และความรว่ มมอื ด�ำ เนนิ การตามแนวพระราชด�ำ ริ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

๓) เพอ่ื สนับสนนุ และสง่ เสริมการศึกษา และทศั นศกึ ษาทเ่ี ก่ยี วกบั การน�ำ แนวพระราชดำ�ริไปประยุกต์ใช้
และขยายผลสชู่ มุ ชน

๔) เพอ่ื สง่ เสรมิ การประสานการด�ำ เนนิ งานรว่ มกบั องคก์ รชมุ ชน ประชาสงั คม องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ
องค์กรภาครัฐ องค์กรทางสังคม สถาบันวิชาการ ภาคธุรกิจ เพ่ือกิจกรรมพัฒนาและกิจกรรม
สาธารณประโยชน์

๕) ไมด่ �ำ เนนิ การเกย่ี วขอ้ งกบั การเมอื งแตป่ ระการใด

งบการเงนิ นไ้ี ดร้ บั อนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการมลู นธิ เิ มอ่ื วนั ท่ี ๑๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

75

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

มูลนิธิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สำ�หรบั ปสี น้ิ สุดวันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ.​๒๕๕๙

๒ นโยบายการบญั ชี

นโยบายการบญั ชที ส่ี �ำ คญั ซง่ึ ใชใ้ นการจดั ท�ำ งบการเงนิ มดี งั ตอ่ ไปน้ี

๒.๑ เกณฑก์ ารจดั ท�ำ งบการเงนิ
งบการเงนิ นจ้ี ดั ท�ำ ขน้ึ ภายใตม้ าตรฐานการรายงานทางการเงนิ ส�ำ หรบั กจิ การทไ่ี มม่ สี ว่ นไดเ้ สยี สาธารณะ
ทอ่ี อกโดยสภาวชิ าชพี บญั ชี
งบการเงินได้จัดทำ�ข้ึนโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของงบการเงิน
ยกเวน้ เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขายทแ่ี สดงมลู คา่ ตามมลู คา่ ยตุ ธิ รรม
งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษจัดทำ�ข้ึนจากงบการเงินตามกฎหมายท่ีเป็นภาษาไทย ในกรณีท่ีมี
เน้ือความขัดแย้งกันหรือมีการตีความในสองภาษาแตกต่างกัน ให้ใช้งบการเงินตามกฎหมาย
ฉบบั ภาษาไทยเปน็ หลกั

๒.๒ เงนิ สดและรายการเทยี บเทา่ เงนิ สด

เงนิ สด หมายรวมถงึ เงนิ สดในมอื และเงนิ ฝากธนาคารทกุ ประเภท และบตั รเงนิ ฝากทอ่ี อกโดยธนาคาร
พาณชิ ยแ์ ละสถาบนั การเงนิ อน่ื แตไ่ มร่ วมเงนิ ฝากธนาคารประเภททต่ี อ้ งจา่ ยคนื เมอ่ื สน้ิ ระยะเวลาทก่ี �ำ หนด
(เงินฝากประจำ�) และเงินฝากธนาคารท่มี ีข้อจำ�กัดในการเบิกถอน รายการเทียบเท่าเงินสดรวมถึง
เงนิ ลงทนุ ระยะสน้ั อน่ื ทม่ี สี ภาพคลอ่ งสงู ซง่ึ มอี ายไุ มเ่ กนิ สามเดอื นนบั จากวนั ทไ่ี ดม้ า

๒.๓ เงนิ ลงทนุ ชว่ั คราว

เงนิ ลงทนุ ชว่ั คราว หมายรวมถงึ

เงนิ ฝากประจ�ำ
เงินฝากประจำ�ท่เี ป็นเงินลงทุนช่วั คราวคือ เงินฝากประจำ�ท่มี ีอายุต้งั แต่วันฝากจนถึงวันครบกำ�หนด
อยรู่ ะหวา่ ง ๓ ถงึ ๑๒ เดอื น และเงนิ ฝากประจ�ำ ทม่ี อี ายตุ ง้ั แตว่ นั ฝากจนถงึ วนั ครบก�ำ หนดมากกวา่
๑๒ เดอื น แตจ่ ะครบก�ำ หนดในอกี ๑๒ เดอื นขา้ งหนา้ ส�ำ หรบั เงนิ ฝากประจ�ำ ทจ่ี ะครบก�ำ หนดมากกวา่
๑๒ เดอื น ณ วนั สน้ิ งวดจะแสดงเปน็ เงนิ ลงทนุ ระยะยาว

เงนิ ฝากประจ�ำ วดั มลู คา่ ดว้ ยวธิ รี าคาทนุ

76

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

มลู นธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
สำ�หรับปีสิน้ สดุ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒​ ๕๕๙

๒ นโยบายการบัญชี (ตอ่ )

๒.๓ เงนิ ลงทนุ ชว่ั คราว (ตอ่ )

เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย

เงินลงทุนเผ่ือขาย คือ เงินลงทุนท่ีจะถือไว้โดยไม่ระบุช่วงเวลาและอาจขายเพ่ือเสริมสภาพคล่อง
หรือเม่อื อัตราผลตอบแทนเปล่ยี นแปลง โดยได้แสดงไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน ซ่งึ ฝ่ายบริหารแสดง
เจตจ�ำ นงทจ่ี ะถอื ไวใ้ นชว่ งเวลานอ้ ยกวา่ ๑๒ เดอื นนบั แตว่ นั ทใ่ี นงบแสดงฐานะการเงนิ เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย
แสดงในงบแสดงฐานะการเงินด้วยมูลค่ายุติธรรม รายการกำ�ไรและขาดทุนท่ยี ังไม่เกิดข้นึ จริงของ
เงินลงทุนเผ่ือขายรับรู้ในส่วนของทุน จนกระท่ังมูลนิธิจำ�หน่ายเงินลงทุนดังกล่าว จึงบันทึก
การเปลย่ี นแปลงมลู คา่ นน้ั ในงบแสดงรายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ า่ ย

๒.๔ เงนิ ส�ำ รองจา่ ย

เงินสำ�รองจ่ายเป็นเงินทดรองจ่ายให้แก่พนักงานและหน่วยงานต่างๆ เพ่อื ใช้สำ�หรับการดำ�เนินงาน
ในกจิ กรรมตา่ งๆ ของมลู นธิ ิ ซง่ึ รบั รเู้ รม่ิ แรกดว้ ยมลู คา่ ตามจ�ำ นวนเงนิ ทดรองทจ่ี า่ ยจรงิ และจะวดั มลู คา่
ตอ่ มาดว้ ยจ�ำ นวนเงนิ ทเ่ี หลอื หลงั หกั คา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ ในระหวา่ งงวด

๒.๕ อปุ กรณ์

อปุ กรณแ์ สดงดว้ ยราคาทนุ หกั ดว้ ยคา่ เสอ่ื มราคาสะสม และคา่ เผอ่ื การลดลงของมลู คา่ (ถา้ ม)ี

ราคาทนุ ของอปุ กรณ์ รวมถงึ ราคาซอ้ื อากรขาเขา้ ภาษซี อ้ื ทเ่ี รยี กคนื ไมไ่ ด้ (หลงั หกั สว่ นลดการคา้
และจำ�นวนท่ีได้รับคืนจากผู้ขาย) และต้นทุนทางตรงอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการจัดหาสินทรัพย์
เพ่ือให้สินทรัพย์น้ันอยู่ในสถานท่ีและสภาพท่ีพร้อมจะใช้งานได้ตามความประสงค์ของฝ่ายบริหาร
รวมท้งั ต้นทุนท่ปี ระมาณท่ดี ีท่สี ุดสำ�หรับการร้อื การขนย้าย และการบูรณะสถานท่ตี ้งั ของสินทรัพย์
ซง่ึ เปน็ ภาระผกู พนั ของกจิ การทเ่ี กดิ ขน้ึ เมอ่ื กจิ การไดส้ นิ ทรพั ยน์ น้ั มาหรอื เปน็ ผลจากการใชส้ นิ ทรพั ยน์ น้ั
ในชว่ งเวลาหนง่ึ

77

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

มลู นิธปิ ดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สำ�หรบั ปีส้นิ สุดวนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ.​๒๕๕๙

๒ นโยบายการบัญชี (ต่อ)

๒.๕ อปุ กรณ์ (ตอ่ )

มูลนิธิจะรับรู้ต้นทุนในการเปล่ียนแทนส่วนประกอบของสินทรัพย์เป็นส่วนหน่ึงของมูลค่าตามบัญชี
ของสินทรัพย์ท่เี ก่ยี วข้องเม่อื ต้นทุนน้นั เกิดข้นึ และคาดว่าจะให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตแก่
มลู นธิ ิ และจะตดั มลู คา่ ตามบญั ชขี องสว่ นประกอบทถ่ี กู เปลย่ี นแทนออกจากรายการสนิ ทรพั ย์ ส�ำ หรบั
ค่าซ่อมแซมและบำ�รุงรักษาอ่ืนๆ มูลนิธิจะรับรู้ต้นทุนดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายในงบแสดงรายได้และ
คา่ ใชจ้ า่ ยเมอ่ื เกดิ ขน้ึ

ค่าเส่ือมราคาคำ�นวณโดยใช้วิธีเส้นตรง เพ่ือลดราคาตามบัญชีของสินทรัพย์แต่ละชนิดตลอดอายุ
การใหป้ ระโยชนท์ ป่ี ระมาณการไวข้ องสนิ ทรพั ย์ ดงั ตอ่ ไปน:้ี

เครอ่ื งตกแตง่ และตดิ ตง้ั ๕ ปี
ยานพาหนะ ๕ ปี
เครอ่ื งจกั ร ๑๐ ปี
อปุ กรณส์ �ำ นกั งาน ๓ - ๕ ปี

มูลนิธิมีการทบทวนมูลค่าคงเหลือ อายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ และวิธีการคิดค่าเส่อื มราคา
อยา่ งสม�ำ่ เสมอ

รายการกำ�ไรและขาดทุนจากการจำ�หน่ายคำ�นวณโดยเปรียบเทียบจากส่งิ ตอบแทนท่ไี ด้รับกับราคา
ตามบญั ชี และจะรวมไวใ้ นงบแสดงรายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ า่ ย

ในกรณีท่มี ีข้อบ่งช้วี ่า อุปกรณ์มีมูลค่าลดลงอย่างถาวรและราคาตามบัญชีสูงกว่าราคาขายหักต้นทุน
ในการขาย ราคาตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับราคาขายหักต้นทุนในการขายทันที และจะรับรู้
ผลขาดทนุ จากการลดมลู คา่ ของอปุ กรณใ์ นงบแสดงรายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ า่ ย

78

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

มลู นิธิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
สำ�หรับปีสิน้ สุดวนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ​๒๕๕๙

๒ นโยบายการบัญชี (ตอ่ )

๒.๖ สนิ ทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตน

สนิ ทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตน ไดแ้ ก่ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์

สิทธิการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยท่ีซ้ือมามีลักษณะเฉพาะบันทึกเป็นสินทรัพย์โดยคำ�นวณ
จากต้นทุนในการได้มาและการดำ�เนินการให้โปรแกรมคอมพิวเตอร์น้ันสามารถนำ�มาใช้งานได้
ตามประสงค์ โดยจะตดั จ�ำ หนา่ ยตลอดอายปุ ระมาณการใหป้ ระโยชนภ์ ายในระยะเวลาไมเ่ กนิ ๓ - ๕ ปี

ต้นทุนท่ีใช้ในการพัฒนาและบำ�รุงรักษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายเม่ือเกิดข้ึน
ต้นทุนโดยตรงในการจัดทำ�โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีมูลนิธิเป็นผู้ดูแลและมีลักษณะเฉพาะเจาะจง
ซ่ึงอาจให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจท่ีมากกว่าต้นทุนเป็นเวลาเกินกว่าหน่ึงปีจึงจะบันทึกเป็นสินทรัพย์
ไม่มีตัวตน ต้นทุนโดยตรงรวมถึงต้นทุนพนักงานท่ีทำ�งานในทีมพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์และ
คา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี กย่ี วขอ้ งในจ�ำ นวนเงนิ ทเ่ี หมาะสม

๒.๗ ประมาณการหนส้ี นิ

มูลนิธิจะบันทึกประมาณการหน้ีสินซ่ึงเป็นภาระผูกพันในปัจจุบันตามกฎหมายหรือตามข้อตกลง
ทจ่ี ดั ท�ำ ไว้ อนั เปน็ ผลสบื เนอ่ื งมาจากเหตกุ ารณใ์ นอดตี ซง่ึ การช�ำ ระภาระผกู พนั นน้ั มคี วามเปน็ ไปได้
ค่อนข้างแน่ว่าจะส่งผลให้มูลนิธิต้องสูญเสียทรัพยากรออกไป และตามประมาณการท่นี ่าเช่อื ถือของ
จ�ำ นวนทต่ี อ้ งจา่ ย

๒.๘ การรบั รรู้ ายได้

เงินจัดสรรจากงบประมาณแผ่นดิน รายรับจากเงินบริจาค และรายได้ดอกเบ้ียรับรู้เป็นรายได้
ตามเกณฑค์ งคา้ ง

79

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

มูลนิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
สำ�หรบั ปีสิน้ สุดวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ.​๒๕๕๙

๓ เงนิ สดและรายการเทยี บเท่าเงินสด

พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘
บาท บาท

เงนิ สดในมอื ๒๙๐,๙๐๔ ๒๑๖,๔๙๒

เงนิ ฝากธนาคารประเภทจา่ ยคนื เมอ่ื ทวงถาม ๓๑,๐๐๙,๔๕๑ ๒๘,๘๗๕,๙๙๙

๓๑,๓๐๐,๓๕๕ ๒๙,๐๙๒,๔๙๑

เงนิ ฝากธนาคารประเภทจา่ ยคนื เมอ่ื ทวงถามมอี ตั ราดอกเบย้ี ถวั เฉลย่ี อยทู่ ร่ี อ้ ยละ ๐.๕๐ ตอ่ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๘:
รอ้ ยละ ๐.๔๐ - ๐.๙๐ ตอ่ ป)ี

๔ เงินลงทุนชวั่ คราว

เงนิ ลงทนุ ชว่ั คราวมรี ายละเอยี ดดงั น้ี

พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘
บาท บาท

เงนิ ฝากประจ�ำ กบั ธนาคาร ๘๐๙,๑๘๙,๔๘๘ ๗๕๓,๙๖๘,๔๗๘

เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย ๑๖๘,๐๘๖,๐๖๘ ๑๑๙,๘๔๐,๗๓๘

รวม ๙๗๗,๒๗๕,๕๕๖ ๘๗๓,๘๐๙,๒๑๖

ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เงินฝากประจำ�กับธนาคารท่ีจะครบกำ�หนดภายใน ๑๒ เดือน
มอี ตั ราดอกเบย้ี ระหวา่ งรอ้ ยละ ๑.๖๐ - ๒.๐๐ ตอ่ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๘: รอ้ ยละ ๒.๐๐ - ๓.๔๐ ตอ่ ป)ี

80

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
ส�ำ หรับปสี นิ้ สุดวนั ที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒​ ๕๕๙

๔ เงนิ ลงทนุ ชว่ั คราว (ตอ่ )

เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขายเปน็ เงนิ ลงทนุ ในกองทนุ เปดิ ธนชาตบรหิ ารเงนิ มลู นธิ วิ ดั มลู คา่ ยตุ ธิ รรมของเงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย
โดยใชร้ าคาปดิ ของราคาหนว่ ยลงทนุ ของกองทนุ ดงั กลา่ ว ณ วนั สน้ิ ปี ซง่ึ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย
บาท

ส�ำ หรบั ปสี น้ิ สดุ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ๑๑๙,๘๔๐,๗๓๘
ราคาตามบญั ชตี น้ งวด - สทุ ธ ิ ๒๔๕,๔๖๔,๑๐๐
(๑๙๘,๘๔๔,๓๐๕)
เพม่ิ ขน้ึ ระหวา่ งป ี
๑,๖๒๕,๕๓๕
ลดลงระหวา่ งป ี ๑๖๘,๐๘๖,๐๖๘

การปรบั มลู คา่ ยตุ ธิ รรมของเงนิ ลงทนุ

ราคาตามบญั ชปี ลายงวด - สทุ ธ ิ

๕ ลูกหนอี้ น่ื

พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘
บาท บาท

๑,๕๔๐,๒๘๒ ๑,๒๙๖,๗๒๙
๑๐,๐๐๐ ๖๕๒,๑๐๐
ดอกเบย้ี คา้ งรบั
๑,๕๕๐,๒๘๒ ๑,๙๔๘,๘๒๙
อน่ื ๆ



81

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ บาท บาท

มลู นธิ ิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ ๓๖๒,๓๒๐ ๑,๔๙๕,๕๔๑
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ
ส�ำ หรับปีส้นิ สดุ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ.​๒๕๕๙ ๑๐๐,๐๐๐ -

๖ เงนิ สำ�รองจ่าย ๗๑๖,๑๖๕ ๔๔๒,๔๘๕

๒๔๘,๑๗๕ -

๔๖,๔๙๔ ๗๘๓,๒๐๒
เงนิ ส�ำ รองจา่ ยแกพ่ นกั งาน
เงนิ ส�ำ รองจา่ ยแกม่ ลู นธิ ริ ากแกว้ ๓๖๙,๔๐๑ -
เงนิ ส�ำ รองจา่ ยโครงการในพน้ื ทจ่ี งั หวดั กาฬสนิ ธ ์ุ
เงนิ ส�ำ รองจา่ ยโครงการในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ขอนแกน่ ๒๓๙,๑๐๐ ๖๔,๗๐๘
เงนิ ส�ำ รองจา่ ยโครงการในพน้ื ทจ่ี งั หวดั นา่ น
เงนิ ส�ำ รองจา่ ยโครงการในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ชายแดนใต ้ - ๓๓๖,๐๐๐
เงนิ ส�ำ รองจา่ ยโครงการในพน้ื ทจ่ี งั หวดั อดุ รธาน ี
เงนิ ส�ำ รองจา่ ยโครงการในพน้ื ทจ่ี งั หวดั อทุ ยั ธาน ี ๒,๐๘๑,๖๕๕ ๓,๑๒๑,๙๓๖


82

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

มลู นิธิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
สำ�หรบั ปสี ิน้ สุดวนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ​๒๕๕๙

๗ อปุ กรณ์ - สทุ ธิ

เครอ่ื งตกแตง่ อปุ กรณ์

และตดิ ตง้ั ยานพาหนะ เครอ่ื งจกั ร ส�ำ นกั งาน รวม

บาท บาท บาท บาท บาท

ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

ราคาทนุ ๑๑,๕๙๓,๓๑๘ ๑๒,๘๕๗,๓๖๐ ๖๒๕,๓๐๙ ๘,๗๑๑,๓๓๕ ๓๓,๗๘๗,๓๒๒

หกั คา่ เสอ่ื มราคาสะสม (๙,๕๕๗,๔๙๒) (๗,๗๓๗,๑๒๗) (๑๔๑,๐๘๖) (๖,๓๕๑,๕๖๑) (๒๓,๗๘๗,๒๖๖)

ราคาตามบญั ชี - สทุ ธ ิ ๒,๐๓๕,๘๒๖ ๕,๑๒๐,๒๓๓ ๔๘๔,๒๒๓ ๒,๓๕๙,๗๗๔ ๑๐,๐๐๐,๐๕๖



ส�ำ หรบั ปสี น้ิ สดุ

วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๙

ราคาตามบญั ชตี น้ ปี - สทุ ธ ิ ๒,๐๓๕,๘๒๖ ๕,๑๒๐,๒๓๓ ๔๘๔,๒๒๓ ๒,๓๕๙,๗๗๔ ๑๐,๐๐๐,๐๕๖

ซอ้ื สนิ ทรพั ย ์ - ๗๗,๙๕๐ ๔๖๘,๒๘๕ ๒,๐๒๓,๗๖๙ ๒,๕๗๐,๐๐๔

จ�ำ หนา่ ยสนิ ทรพั ย์ - สทุ ธ ิ - - - (๔,๑๔๘) (๔,๑๔๘)

คา่ เสอ่ื มราคา (๘๓๔,๕๕๔) (๒,๔๐๐,๖๖๓) (๙๘,๖๕๒) (๑,๒๘๗,๗๗๕) (๔,๖๒๑,๖๔๔)

ราคาตามบญั ชปี ลายปี - สทุ ธ ิ ๑,๒๐๑,๒๗๒ ๒,๗๙๗,๕๒๐ ๘๕๓,๘๕๖ ๓,๐๙๑,๖๒๐ ๗,๙๔๔,๒๖๘



ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๙

ราคาทนุ ๑๑,๕๙๓,๓๑๘ ๑๒,๙๓๕,๓๑๐ ๑,๐๙๓,๕๙๔ ๑๐,๕๐๘,๔๕๔ ๓๖,๑๓๐,๖๗๖

หกั คา่ เสอ่ื มราคาสะสม (๑๐,๓๙๒,๐๔๖) (๑๐,๑๓๗,๗๙๐) (๒๓๙,๗๓๘) (๗,๔๑๖,๘๓๔) (๒๘,๑๘๖,๔๐๘)

ราคาตามบญั ชี - สทุ ธ ิ ๑,๒๐๑,๒๗๒ ๒,๗๙๗,๕๒๐ ๘๕๓,๘๕๖ ๓,๐๙๑,๖๒๐ ๗,๙๔๔,๒๖๘

83

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙ บาท
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ
๑๗๔,๙๐๐
มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ (๑๗๐,๗๑๒)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สำ�หรบั ปีสน้ิ สุดวันท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ.​๒๕๕๙ ๔,๑๘๘

๘ สินทรพั ยไ์ ม่มตี ัวตน - สทุ ธิ ๔,๑๘๘
(๔,๑๘๕)

ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ๓
ราคาทนุ
หกั คา่ ตดั จ�ำ หนา่ ยสะสม ๑๗๔,๙๐๐
ราคาตามบญั ชี - สทุ ธ ิ (๑๗๔,๘๙๗)

ส�ำ หรบั ปสี น้ิ สดุ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ๓
ราคาตามบญั ชตี น้ ปี - สทุ ธ ิ
คา่ ตดั จ�ำ หนา่ ย
ราคาตามบญั ชปี ลายปี - สทุ ธ ิ

ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๙
ราคาทนุ
หกั คา่ ตดั จ�ำ หนา่ ยสะสม
ราคาตามบญั ชี - สทุ ธ ิ

84

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
สำ�หรบั ปีสน้ิ สดุ วนั ที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒​ ๕๕๙

๙ ภาระผกู พนั

มูลนิธิได้ทำ�สัญญาเช่าอาคาร ยานพาหนะและอุปกรณ์ สัญญาน้ถี ือเป็นสัญญาเช่าดำ�เนินงานท่ยี กเลิกไม่ได้
ยอดรวมของจ�ำ นวนเงนิ ขน้ั ต�ำ่ ทต่ี อ้ งจา่ ยในอนาคตตามสญั ญาเชา่ ด�ำ เนนิ งานทไ่ี มส่ ามารถยกเลกิ ไดม้ ดี งั น้ี

พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๘
บาท บาท

ภายใน ๑ ป ี ๕,๖๒๔,๐๒๐ ๒,๖๒๔,๕๐๕

เกนิ กวา่ ๑ ปี แตไ่ มเ่ กนิ ๕ ป ี ๘,๓๒๕,๐๖๙ ๔๖๒,๐๐๐

๑๓,๙๔๙,๐๘๙ ๓,๐๘๖,๕๐๕

85

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

แผนปฏิบตั ิงานและแผนการใชจ้ ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
ของมูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ

แผนงาน งบประมาณ
หนว่ ย บาท

๑. การพฒั นาพน้ื ที่ตน้ แบบ และสนับสนนุ การขับเคลือ่ นยุทธศาสตรก์ ารบรู ณาการการขบั เคลอื่ นการพฒั นาตาม
การพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริอย่างเป็นระบบกวา้ งขวาง จนกระท่ังเปน็ แนวทางการพัฒนาหลักของประเทศ

๑.๑ เพมิ่ ประสิทธิภาพการพฒั นาในพื้นทีต่ ้นแบบเดมิ ๕ จงั หวดั ๕๐,๕๐๐,๐๐๐

๑) สง่ เสริมประสทิ ธิภาพโครงสร้างพื้นฐานธรรมชาติ ๘๑ หมบู่ ้าน

ดา้ นการผลติ เชน่ การปรับปรงุ แหลง่ น้ำ�และดนิ

๒) สง่ เสรมิ การบริหารจดั การงานพัฒนาท่ีชมุ ชน

บริหารจัดการไดด้ ว้ ยตนเองในลกั ษณะการสมทบกองทนุ

เพื่อเชือ่ มโยงการตลาด

๓) ส่งเสริมการผลิต แปรรูป และการตลาดแบบกล่มุ
ธุรกจิ (Cluster) เช่น การพัฒนาผลผลิตทางการเกษตร

การทอ่ งเท่ียวในลกั ษณะ Social Enterprise
๔) ส่งเสรมิ นวตั กรรมด้านการพฒั นาทส่ี อดคล้องกบั

สภาพพืน้ ท่ี เชน่ เคร่ืองจักรกลทางการเกษตร
๕) การสนับสนนุ การปฏิบัติงานของส�ำ นักงาน

โครงการฯ ในพ้นื ทต่ี น้ แบบ

๑.๒ พัฒนาพื้นท่ตี น้ แบบแหง่ ใหม่ ๑) หมบู่ า้ นใน ๖๗,๐๐๐,๐๐๐
๑)  การคดั เลือกพน้ื ท่ตี น้ แบบในการแก้ไขปัญหา จังหวัดชายแดน

ความยากจน ภาคใต้

๒) การนำ�ความรจู้ ากมหาวิทยาลยั ตง้ั แตก่ ารผลิต ๒) หมู่บา้ นในต�ำ บล

การแปรรปู และการตลาด ลงไปปฏิบัตกิ ารจรงิ ในพ้นื ท่ี ทุ่งโปง่ อ�ำ เภอ
๓) การพฒั นาหลักสูตร “เกษตรยคุ ใหม่” และการ อบุ ลรตั น์ จงั หวัด

เตรียมความพร้อมเกษตรกร ขอนแก่น

๔) การเตรียมการเพอื่ ขยายผลสู่พนื้ ทจ่ี ังหวัด

ชายแดนภาคใต้และขอนแก่น
๕) การสนับสนุนการปฏิบตั ิงานของส�ำ นักงาน

โครงการฯ ในพน้ื ทต่ี น้ แบบ

86

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

กลมุ่ เป้าหมาย วัตถปุ ระสงค์ ผลผลติ

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อสบื สานแนวพระราชดำ�ริ ดา้ นการจดั การความรู้ และด้านการส่งเสรมิ
ซ่งึ สอดรบั กบั นโยบายของรฐั บาล

ครวั เรอื น/ชมุ ชน ในพน้ื ทต่ี น้ แบบ ๑) เพอ่ื ให้พน้ื ท่ีตน้ แบบมรี ปู แบบ ๑) เกดิ กิจกรรมการพฒั นาใน

๕ จงั หวัด ไดแ้ ก่ จงั หวดั น่าน การพฒั นาท่ีหลากหลายตาม ระดับครัวเรอื นและระดบั ชมุ ชน

จงั หวดั อุดรธานี จงั หวัดเพชรบรุ ี ลักษณะภมู ิสังคม เป็นตัวอย่าง เพอื่ เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ให้

จังหวดั อุทัยธานี ในการขยายผล ก้าวไปส่ชู ุมชน กับประชาชนในพ้นื ที่

และจังหวัดกาฬสินธุ์ พอเพียง และพ่ึงพาตนเองไดอ้ ยา่ ง ๒) เกิดรูปแบบการพฒั นาที่

ย่ังยืน เหมาะสมกบั สภาพพื้นท่ี สง่ ผล

๒) เพอื่ ให้ครวั เรือนในพ้นื ท่ี ใหป้ ระชาชนอยู่รอด มกี าร

เปา้ หมายมีแหลง่ อาหารบริโภค รวมกลุ่มของหมู่บา้ นในระดับ

มีความเขม้ แข็ง โดยการรวมกลุ่ม พอเพียง และสามารถพง่ึ พา

ในหมบู่ ้าน ลักษณะวสิ าหกิจชุมชน ตนเองได้อยา่ งยง่ั ยืนทัง้ ดา้ น

เศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอ้ ม

และมคี วามสขุ เพ่ิมข้ึน

๑) ครวั เรือน/ชมุ ชน ในพน้ื ท่ีจังหวัด ๑) เพือ่ ใชค้ วามรจู้ ากมหาวทิ ยาลัย ๑) เกดิ พืน้ ท่ตี ้นแบบแห่งใหม่ใน
ชายแดนภาคใต้ ในพื้นทม่ี าแก้ไขปัญหาและพฒั นา จงั หวัดชายแดนภาคใต้
๒) ครัวเรอื น/ชมุ ชนในตำ�บลทุง่ โป่ง ตามความต้องการที่แท้จรงิ ของ ๒) เกดิ การนำ�ความรูใ้ นดา้ นการ
อำ�เภออบุ ลรัตน์ จงั หวดั ขอนแกน่ ประชาชนในพ้นื ท่ี ผลิต การแปรรปู และการตลาด
๒) เพื่อค้นหารูปแบบการพฒั นาท่ี ลงไปปฏิบัติการจริงในพ้นื ที่
เหมาะสมใหป้ ระชาชนสามารถอยู่ ดว้ ยการนำ�ความรู้จาก
รอดระดับครวั เรอื น กา้ วสู่ชุมชน มหาวทิ ยาลยั มาปฏิบัตกิ ารจริง
พอเพียง และพึ่งพาตัวเอง ในพนื้ ที่
ไดอ้ ย่างยั่งยืน
๓) เพื่อเปน็ แนวทางนำ�ไปสู่การ
ขยายผลของพนื้ ท่ีภาคใต้

87

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

แผนปฏบิ ัตงิ านและแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณรายจ่ายประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
ของมูลนิธปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ (ต่อ)

แผนงาน งบประมาณ
หน่วย บาท

๑.๓ สนับสนนุ องค์ความรู้กระบวนการเข้าใจ เขา้ ถึง พฒั นา หม่บู ้านเปา้ หมาย ๓๒,๕๐๐,๐๐๐
๑) การสนบั สนุนความรกู้ ระบวนการเข้าใจ เขา้ ถึง ตามยทุ ธศาสตร์
พัฒนา ในการสง่ เสรมิ การขับเคลื่อนการพฒั นาตามปรัชญา ในพน้ื ทต่ี น้ แบบ
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งภาคการเกษตรและชนบท ปดิ ทองหลังพระ
๒) การร่วมเปน็ คณะกรรมการระดบั จงั หวัด อำ�เภอ ๗ จังหวัด
และปฏบิ ัติงานร่วมกนั ในพ้ืนทเี่ ป้าหมาย

๓) การสนับสนุนคณะทำ�งานระดับอำ�เภอ
ในการจัดเก็บขอ้ มลู และรว่ มเวทีเรยี นรู้
๔) การร่วมทบทวนการจดั ทำ�แผนงานโครงการ
ใหส้ อดคล้องตามกรอบแนวคิดตามยุทธศาสตรฯ์

รวมงบประมาณ ๑๕๐,๐๐๐,๐๐๐

๒. การจดั ตง้ั สถาบนั อบรม (Training) เพอ่ื เตรยี มบคุ ลากรท�ำ งานพฒั นาทางเลอื ก โดยมเี นอ้ื หาหลกั สตู รครอบคลมุ

๒.๑ พัฒนาชดุ ความรแู้ ละกระบวนการเรยี นรู้การบรหิ าร ๓ หลักสูตร ๑๕,๐๐๐,๐๐๐

จดั การนำ�้ ชุมชนตามแนวพระราชด�ำ ริ
๑) สำ�รวจ ค้นหา ผูน้ ำ�ชมุ ชน /เกษตรกรท่ีมี

ประสบการณ์ ความรูจ้ ากการปฏิบตั ิจริง

๒)  การศึกษาดูงานดา้ นการบรหิ ารจดั การนำ�้ ชมุ ชน

๓)  จดั กิจกรรมแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ระหว่างผนู้ ำ�ชมุ ชน

และเกษตรกรที่มปี ระสบการณ์จากการปฏิบตั จิ ริง

๔)  การวางแผนและฝึกปฏิบตั จิ ริงในพ้นื ที่ โดยมที มี

เจา้ หน้าที่ตดิ ตามสนบั สนนุ ใหค้ ำ�แนะน�ำ

๕)  ถอดบทเรยี น ปจั จยั ความส�ำ เร็จ ปัญหาอุปสรรค

และแนวทางแก้ไข

๖) สรุปชดุ ความรู้ น�ำ เสนอผลการดำ�เนินงาน

และประเมินผล

88

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

กลมุ่ เปา้ หมาย วตั ถปุ ระสงค์ ผลผลติ

๑) คณะกรรมการระดบั จงั หวัด เพอื่ สนบั สนนุ องค์ความรู้ ๑) เกดิ การสนบั สนุนการทำ�งาน
๒) คณะกรรมการระดบั อ�ำ เภอ กระบวนการเขา้ ใจ เข้าถึง พัฒนา ของคณะกรรมการระดับจังหวัด/
๓) คณะทำ�งานระดับตำ�บล ตามคมู่ ือการขับเคล่อื นการพฒั นา ระดบั อ�ำ เภอ คณะท�ำ งานระดบั
๔) คณะท�ำ งานระดบั หมู่บา้ น ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ต�ำ บล/หมู่บา้ น ในการขบั เคลอ่ื น
ในภาคการเกษตรและชนบท การพฒั นาตามคมู่ อื ฯ
และด้านความมน่ั คง ๒) เกดิ แผนพัฒนาตามปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ในภาคการเกษตรและชนบท
และดา้ นความมน่ั คงในหม่บู า้ น
เป้าหมายตามแผนยทุ ธศาสตรฯ์

ความตอ้ งการของประเทศและภมู สิ งั คม ความช�ำ นาญของบคุ ลากร เทคนคิ การประสานความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงาน

ผู้นำ�ชุมชนและเกษตรกรในพ้นื ที่ ๑) เพอ่ื พฒั นากระบวนการเรยี นรู้ ๑) ไดห้ ลักสตู รการบริหารจัดการ

ที่มีแหลง่ น้ำ�ขนาดเลก็ หรอื มรี ะบบ ดา้ นการบรหิ ารจัดการน�้ำ ชุมชน น�้ำ ชุมชนตามแนวพระราชด�ำ ริ

นำ้�ชุมชนท่ใี ชไ้ ดไ้ ม่เต็มประสทิ ธภิ าพ ตามแนวพระราชด�ำ ริ ๒) ได้แผนปฏิบัตกิ ารบริหาร

โดยการฝึกปฏิบตั ิใหเ้ กดิ ผล จดั การน�ำ้ ชุมชน ทีน่ ำ�ไปปฏิบัติ

แกไ้ ขปญั หาของชุมชนไดจ้ รงิ ไดจ้ ริง

๒) เพอ่ื ถอดบทเรยี นสร้างความรู้ ๓) มวี ทิ ยากรมีความเช่ยี วชาญ

ใหมจ่ ากการประยกุ ตใ์ ช้ ดา้ นการบรหิ ารจดั การนำ้�

ของเกษตรกร ๔) เครอื ขา่ ยความรว่ มมือกบั

๓) เพอื่ พัฒนาใหผ้ ู้นำ�ชมุ ชน/ ทุกภาคสว่ นด้านการพฒั นา

เกษตรกร มีทกั ษะความสามารถ

ในการเป็นวทิ ยากร

89

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

แผนปฏิบตั ิงานและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณรายจา่ ยประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
ของมูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ (ต่อ)

แผนงาน หน่วย งบประมาณ
๓ หลักสตู ร บาท
๒.๒ พฒั นาชดุ ความรู้ของเกษตรกรยุคใหม่ และเตรียม
ความพร้อม ๑๕,๐๐๐,๐๐๐

๒.๓ การสรา้ งเครอื ขา่ ยการเรยี นรูข้ องเกษตรกรที่นำ�ความรู้ ๒๐ คน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐
จากสถาบนั อบรมไปประยกุ ตใ์ ช้ และสามารถถา่ ยทอด ๖ มติ คิ วามรู้ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐
ให้แก่ผู้อ่นื ได้

๒.๔ ถอดบทเรยี นและสร้างความรู้ใหม่ด้านการพฒั นา
จากประสบการณ์การปฏิบตั ิจรงิ

รวมงบประมาณ ๓ งาน ๕๐,๐๐๐,๐๐๐
๕ ครั้ง
๓.  การสง่ เสรมิ การรับร้แู ละเขา้ ใจแนวพระราชดำ�ริ ๑๒ ครง้ั ๖,๐๐๐,๐๐๐
แผนงานเผยแพร่ ๑ ครง้ั ๗,๐๐๐,๐๐๐
๑. นทิ รรศการ ๓ งาน ๑ ครงั้ ๔,๐๐๐,๐๐๐
๒. กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ ๑ ครัง้ ๒,๐๐๐,๐๐๐
๓. จดหมายขา่ ว ๓๑ ตอน
๔. แถลงข่าวประจ�ำ ปี ๒๕๖๐ ๑ ครงั้ ๕๐๐,๐๐๐
๕. สมุดบนั ทกึ ปดิ ทอง ๕๐๐,๐๐๐
๖. รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙ ๙,๐๐๐,๐๐๐
๗. รายการทีวี ๓ รายการ ๕๐๐,๐๐๐
๘. ของทร่ี ะลึกเนอื่ งในโอกาสสำ�คัญ เช่น วนั ข้ึนปใี หม่

90

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

กล่มุ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ผลผลติ
๑) เกษตรกรในหม่บู ้านตน้ แบบ
๒) อาสาสมัครพฒั นาหมบู่ า้ น เพ่อื พัฒนาความรู้ ทกั ษะ ดา้ นการ ๑) ได้หลักสตู รพัฒนา
๓) เยาวชนในสถาบันการศึกษา เพม่ิ ประสิทธภิ าพการผลิต ความเชยี่ วชาญในการเกษตร
และทจี่ บการศกึ ษาแลว้ และการเปน็ ผ้ปู ระกอบการ แบบผสมผสานของเกษตรกร
ให้เกษตรกร และการเป็นผู้ประกอบการ
เกษตรกรในหมู่บา้ นตน้ แบบ ๒) ไดว้ ทิ ยากรต้นแบบของชุมชน
เพ่ือขยายผลความรตู้ าม
หมู่บา้ นในพ้นื ทต่ี น้ แบบ แนวพระราชดำ�ริ โดยเครือข่าย ได้เครอื ข่ายวทิ ยากรตน้ แบบ
วทิ ยากรตน้ แบบ ท่ีมคี วามเชย่ี วชาญในงานพัฒนา
๖ มติ ิ จำ�นวน ๒๐ คน
๑) เพื่อประเมินผลการพัฒนาพืน้ ที่
ตน้ แบบ ๑) ไดช้ ุดความรู้การพัฒนา
๒) เพอ่ื ถอดบทเรยี นและสร้าง ๖ มิติ และชุดความรู้
ความรู้ใหม่จากการปฏบิ ัติจริง กระบวนการพัฒนา
ของชมุ ชน ๒) ไดข้ ้อเสนอแนะ และแนวทาง
ในการปรบั ปรุงการพฒั นาให้
ชมุ ชนสามารถพึง่ พาตนเองได้

ประชาชนท่ัวไป หนว่ ยงานสบื สาน ๑) กลุม่ เปา้ หมายเกดิ การรับรู้ ๑) มีการรบั รู้ เรยี นรูเ้ พม่ิ ขึน้
แนวพระราชดำ�ริ ภาครัฐ เอกชน กจิ กรรมการพัฒนาตาม มคี วามตระหนกั ถงึ ความส�ำ คัญ
องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น แนวพระราชดำ�ริ ในการพฒั นาตนเอง
สถาบันการศึกษา สื่อมวลชน ๒) กลุ่มเป้าหมายเกดิ ความศรัทธา ๒) เกดิ การพัฒนาตาม
ภาคเอกชน ในแนวทางแก้ไขปญั หาและพฒั นา แนวทางปิดทองหลงั พระฯ
ตามแนวพระราชดำ�ริ เพ่มิ ขน้ึ ทัว่ ประเทศ

91

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

แผนปฏิบัตงิ านและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณรายจา่ ยประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
ของมูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ (ต่อ)

แผนงาน งบประมาณ
หน่วย บาท

แผนงานการสร้างความมสี ่วนร่วม ๑ ครั้ง ๕,๐๐๐,๐๐๐
๙. ตลาดนัดความดี ๑ ครั้ง ๑,๐๐๐,๐๐๐
๑๐. Social Media ๖ ครง้ั ๒,๐๐๐,๐๐๐
๑๑. ส่ือมวลชนสว่ นกลางศึกษาดงู านพ้ืนที่ตน้ แบบ ๒ ครง้ั ๒,๐๐๐,๐๐๐
๑๒. กจิ กรรมร่วมกบั สือ่ มวลชน ๑ ครั้ง ๕๐๐,๐๐๐
๑๓. พัฒนาศักยภาพบุคลากรดา้ นการสือ่ สารสาธารณะ ๔๐,๐๐๐,๐๐๐
รวมงบประมาณ

๔.  การสอ่ื สารสาธารณะ และภาคสี ัมพันธ์ ๒๔ ครั้ง ๗,๐๐๐,๐๐๐
แผนงานเผยแพร่ ๒๕๐ ครง้ั ๔,๐๐๐,๐๐๐
๑. หนงั สือพมิ พป์ ิดทองหลงั พระฯ ๕ ครง้ั ๑,๐๐๐,๐๐๐
๒. งานประชาสัมพนั ธ์ผา่ นส่อื มวลชนในพนื้ ท่ี
๓. เอกสารประชาสัมพันธ์พ้ืนที่ ๕ คร้ัง ๕,๐๐๐,๐๐๐
แผนงานการสร้างความมสี ่วนรว่ ม ๕ คร้ัง ๖,๐๐๐,๐๐๐
๔. นทิ รรศการ ๑ คร้งั ๕๐๐,๐๐๐
๕. งานมหกรรมแลกเปลย่ี นเรียนรูใ้ นพ้ืนทีต่ น้ แบบ ๑ คร้ัง ๒,๐๐๐,๐๐๐
๖. พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการสือ่ สารสาธารณะ ๑ ครง้ั ๔,๕๐๐,๐๐๐
๗. สือ่ มวลชนศึกษาดงู านของสือ่ มวลชน
๘. การประเมนิ ผลการประชาสมั พนั ธ์

รวมงบประมาณ ๓๐,๐๐๐,๐๐๐

92

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

กลมุ่ เปา้ หมาย วตั ถปุ ระสงค์ ผลผลติ

๓) กลมุ่ เปา้ หมายน�ำ กิจกรรม
และองค์ความรปู้ ดิ ทองหลงั พระฯ
ไปปรบั ใช้พฒั นาต่อยอด

ประชาชนในพน้ื ท่ีต้นแบบ ๑) เพอื่ ประชาสมั พันธผ์ ลสำ�เร็จ/ ๑) ผลส�ำ เร็จ/กิจกรรมทเ่ี กิดข้ึน
และพื้นทโี่ ดยรอบ เยาวชน
สื่อมวลชน ประชาชนท่วั ไป กิจกรรมท่ีเกดิ ข้ึนจากพฒั นาตาม จากการพฒั นาตามแนว

แนวทางพระราชดำ�ริ พระราชดำ�ริเป็นทรี่ จู้ ัก

๒) เพอื่ ส่งเสริมและสนับสนนุ ให้ ๒) ประชาชนในพืน้ ที่เป้าหมาย

ประชาชนในพ้นื ท่ตี น้ แบบและพนื้ ท่ี เกิดความต่นื ตวั และมสี ่วนร่วม

โดยรอบมีส่วนร่วมในการพัฒนา กจิ กรรมตา่ งๆ ร่วมกบั โครงการ

ชุมชนร่วมกับโครงการ ๓) พื้นท่ตี ้นแบบเปน็ แหลง่ เรียนรู้

๓) เพอ่ื สร้างความเช่ือมั่น ศรัทธา ศึกษา ฝึกปฏิบตั ิแกผ่ ทู้ ่ปี ระสงค์จะ

ในการพฒั นาชุมชนตามแนว พฒั นาชมุ ชนตามแนวพระราชด�ำ ริ

พระราชด�ำ ริ สามารถแกไ้ ขปญั หา ๔) เกิดการขยายผลโครงการ

ของชมุ ชนได้ ในพืน้ ทใี่ กล้เคยี ง

93

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

แผนปฏิบัตงิ านและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
ของมลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ (ตอ่ )

แผนงาน งบประมาณ
หน่วย บาท

๕. การบริหารจดั การ ๑๒ เดอื น ๒๔,๓๖๔,๐๐๐
๕.๑ คา่ ใชจ้ ่ายบุคลากร เงนิ เดอื น คา่ จ้าง ค่าตอบแทน ๑๒ เดอื น
ค่าบริการวชิ าชีพ และการพัฒนาบคุ ลากร ๕,๓๓๖,๐๐๐
๕.๒ ค่าใชจ้ า่ ยสำ�นักงาน คา่ ครภุ ณั ฑ์ ค่าวสั ดอุ ุปกรณ์ ๒ ครง้ั
คา่ ซ่อมแซมบำ�รงุ รักษา ค่าระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ ๓๐๐,๐๐๐
ค่าสาธารณูปโภค (นำ้� ไฟ โทรศัพท)์ ค่าวัสดสุ ิ้นเปลอื ง (ส�ำ หรับกจิ กรรม
๕.๓ การจัดประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการเพอื่ ท�ำ แผนบรหิ าร ตามขอ้ ๕.๓-๕.๗)
ความเสยี่ งในการบรหิ ารงาน และการจดั ท�ำ ระบบตรวจสอบ
และควบคุมภายใน
๕.๔ การท�ำ ตวั ชี้วดั ผลการปฏบิ ตั งิ านของสถาบันฯ
๕.๕ การวัดพึงพอใจตอ่ การดำ�เนินงานของสถาบนั ฯ
(ท�ำ เปรียบเทียบทกุ ปี ดแู บบสำ�รวจปีท่แี ลว้ )
๕.๖ การพัฒนาบุคลากรของสถาบันใหม้ ีความรู้
ความเชย่ี วชาญทส่ี ามารถปฏิบตั ิภารกิจของสถาบันฯ
อยา่ งได้ผลดี

๕.๗ การปรบั ปรงุ กระบวนงานของสถาบนั ฯ
ใหม้ ีประสทิ ธิภาพ และนำ�ไปสู่ผลลพั ธ์ของงานที่มีคุณภาพ

รวมงบประมาณ ๓๐,๐๐๐,๐๐๐
รวม ๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐

หมายเหตุ: การใช้จา่ ยงบประมาณทง้ั ๕ แผนงานดังกลา่ ว สถาบนั ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมปิดทองหลังพระฯ

จะได้ดำ�เนนิ การใช้จ่ายทุกรายการถัวจ่ายกนั ได้ และให้เปน็ ไปตามระเบียบสถาบันส่งเสริม

และพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ว่าด้วยการบรหิ ารการเงนิ ทรพั ย์สิน และพสั ดุ พ.ศ.๒๕๕๓

94

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๙
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

กลุ่มเปา้ หมาย วตั ถุประสงค์ ผลผลติ

พนักงาน ลูกจ้าง กรรมการ ๑) เพ่ือเปน็ ค่าตอบแทนการปฏิบัติ ๑) บคุ ลากรมขี วัญกำ�ลังใจ
ที่ปรึกษา ภาคเี ครอื ขา่ ย ผใู้ ชบ้ ริการ งานของมลู นิธฯิ /สถาบันฯ ในการปฏบิ ัตงิ าน
ส�ำ นักงาน ประชาชนท่ัวไป ๒) เพื่อเพ่ิมศกั ยภาพบุคลากรให้ ๒) บคุ ลากรมีการพัฒนา
หนว่ ยงานทต่ี ิดต่อประสานงาน สอดคลอ้ งกบั การพัฒนาองค์กร ศกั ยภาพ
๓) เพ่อื เกดิ ความคล่องตัว รวดเรว็ ๓) มีแผนบริหารความเสย่ี ง
ในการปฏบิ ัตงิ าน และการควบคมุ ภายใน เปน็
๔) เพ่อื ปรบั ปรุงระบบส่ือสารให้มี เครื่องปอ้ งกนั และแกไ้ ขความ
ความทนั สมยั และมปี ระสิทธภิ าพ เสีย่ งท่เี กดิ ขนึ้
ย่ิงข้ึน ๔) มีระบบและวสั ดุอปุ กรณท์ ี่
๕) เพ่ือสนบั สนนุ ภารกิจการ พรอ้ มสนับสนุนตอ่ การใชง้ าน
ดำ�เนินงานของมลู นธิ ิฯ/สถาบนั ฯ ๕) มรี ะบบเครอ่ื งมอื และระบบ
สื่อสารในการปฏิบตั งิ าน
ในการสอ่ื สารท้ังภายในองคก์ ร
และภายนอกองค์กร
ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
๖) หน่วยงานท่ีเกีย่ วข้อง/บุคคล
ทว่ั ไปได้รับการบรกิ ารทีด่ ี

95




Click to View FlipBook Version