The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2557

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pidthong.pidthong, 2022-01-21 00:30:14

รายงานประจำปี 2557

รายงานประจำปี 2557

ขอใหป้ ระชาชนชาวไทยต้งั ใจใหเ้ ทยี่ งตรงแน่วแน่
ไมว่ ่าจะกระท�ำ การส่งิ ใด ให้ค ิดให้ด ี ใหร้ อบคอบและรอบด้าน
เพ่อื ให้ก ารกระทำ�นั้น บงั เกิดผลเปน็ ความสุขความเจรญิ ที่แท้จรงิ และยัง่ ยนื

ทัง้ แก่ตนเองและประเทศชาต.ิ

พระราชดำ�รสั พระราชทานแกป่ ระชาชนชาวไทยในโอกาสขึน้ ปีใหม่ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๘

ตราสญั ลกั ษณเ์ ฉลมิ พระเกยี รติ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร ีในโอกาสฉลองพระชนมายุ
๕ รอบ วนั ที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๘
อกั ษรพระนามาภิไธย ส.ธ. ภายในกรอบสพุ รรณเบญจเพชรรตั น์ อกั ษร ส. สีมว่ งชาดแก่ อักษร ธ. สีขาว
บนพืน้ สีม่วงครามอ่อน เปน็ สวี นั พระราชสมภพ ดวงเพชรรตั น์ ๕ ดวง หมายถงึ ทรงเจรญิ พระชนมายุ ๕ รอบ
อักษรนามาภิไธย ส.ธ. อยู่ภายใตพ้ ระชฎาพระกลบี ปักพระยกี่ า่ ทอง ไม่ประกอบพระกรรเจียกจร
เบ้อื งหลงั พระชฎามพี ระบวรเศวตฉตั ร (พระสัตตปฎลเศวตฉัตร) คือ ฉัตรขาว ๗ ชนั้ แต่ละช้ันมีระบาย
ขลิบทองแผ่ลวด ๓ ชั้น ชั้นล่างสุด ห้อยอุบะจำ�ปาทอง เป็นเคร่ืองประกอบพระราชอิสริยยศสมเด็จพระบรม
ราชกุมารี ท้ังสองข้างกรอบพระนามาภิไธยมีรูปเทพยดา พระกรหนึ่งประคองเชิญพระสัตตปฎลเศวตฉัตร
พระกรหน่ึงกระชับเถาว์บัวทองไว้ ขัดพระขรรค์ ทรงเศวตพัสตราภรณ์เขียนทอง เทพยดาข้างเลข ๖ (ด้านซ้าย)
ทรงพระชฎาเดินหน ปกั พระยกี่ ่าดอกไม้ทอง ทัดพระกรรเจียกจร และเทพยดาข้างเลข ๐ (ดา้ นขวา) ทรงพระชฎา
มหากฐิน (พระชฎาห้ายอด) ปักพระยี่ก่าดอกไม้ทอง ทัดพระกรรเจียกจร หมายถึง เทพยดาทรงมาบริรักษ์
เฉลมิ ฉลองในมหามงคลกาลนี้ ให้ทรงเจรญิ พระสิริสวัสดิ์ ภูลพิพฒั นพ์ ระเกียรติยศยงิ่ พ้นส่ิงสรรพทุกขโ์ รคันตราย
ท้ังปวง
เถาวบ์ ัวทอง หมายถึง ทรงเนาวนิเวศน์ นามวา่ “สระปทมุ ” ใตก้ รอบพระนามาภไิ ธย มีเลขมหามงคลว่า
ทรงพระเจรญิ พระชนมายุ ๖๐ พรรษา บนพืน้ สีหงสบาท (ส้มอ่อนหรือสีเทา้ หงส์) เป็นสีวันพฤหัสบดี ในคมั ภรี ์
พระไสยศาสตร์ วา่ เป็นมงคลอายุของวันพระราชสมภพ ถัดลงมา มเี ชิงลายถมสหี งชาด (ชมพู) เขยี นอักษรไทย
ยอดสที องว่า “ฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ” และ “๒ เมษายน ๒๕๕๘” บนห้องลาย พืน้ สขี าวถัดลงมา สะทอ้ นถึง
ทรงเชี่ยวชาญดา้ นอกั ษรโบราณและการโบราณคดที ้งั ปวง


ออกแบบโดย ส�ำ นกั ช่างสบิ หมู่ กรมศลิ ปากร กระทรวงวัฒนธรรม

“...ท่ีจะอายุ ๖๐ ไม่ปรารถนาให้สร้างอนุสรณ์ใดๆ แต่อยากให้ช่วยกัน
ปลกู ปา่ ปลูกตน้ ไม้ และชว่ ยผยู้ ากไร้ใหเ้ ขามีรายได้เพิม่ ขึ้น...”

พระราชดำ�รัสพระราชทานแกผ่ ู้ที่ได้ถวายงาน ในการเสด็จพระราชด�ำ เนนิ ทรงเยย่ี มโครงการส่วนพระองค์
ณ จงั หวัดน่าน เมือ่ เดอื นตลุ าคม ๒๕๕๖

สารบัญ ๕
๑๖
สรุปผบู้ รหิ าร
ความเป็นมา มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ ๑๙
และสถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปิดทองหลังพระฯ ๒๑
คณะกรรมการมลู นิธปิ ิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ ๒๓
หลกั การด�ำ เนนิ งานและแนวทางปฏิบัติงาน ๒๘
กรอบการด�ำ เนินงานตามมตคิ ณะกรรมการ ๗๐
สรุปการดำ�เนนิ งานปิดทองหลงั พระฯ ๘๘
งบการเงิน ปี ๒๕๕๗
แผนและงบประมาณประจ�ำ ปี ๒๕๕๘

๑ สรุปผ้บู ริหาร

มลู นิธิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ รว่ มกับหนว่ ยงานภาคี
เช่น สำ�นักงานปลดั ส�ำ นกั นายกรฐั มนตรี กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครอง
ท้องถิ่น ภาคประชาคม ภาคธุรกิจเอกชน สถาบันการศึกษา และสื่อมวลชน
ในการนอ้ มน�ำ แนวพระราชดำ�รแิ ปรสกู่ ารปฏิบตั ิ เพือ่ การพัฒนาทยี่ ่ังยนื ในพืน้ ที่
ตน้ แบบปิดทองหลงั พระฯ ๕ โครงการ ใน ๕ จงั หวัด คือ โครงการพัฒนาพ้นื ท่ี
ตน้ แบบบรู ณาการแกไ้ ขปญั หาและพฒั นาพนื้ ทจี่ งั หวดั นา่ น โครงการบรหิ ารจดั การ
น�้ำ อยา่ งยง่ั ยืนอ่างเกบ็ น้ำ�ห้วยคลา้ ยอนั เนื่องมาจากพระราชด�ำ ริ จงั หวดั อดุ รธานี
โครงการพัฒนาชนบทเชิงพ้ืนท่ีประยุกต์ตามพระราชดำ�ริบ้านโป่งลึก-
บางกลอย จังหวัดเพชรบุรี โครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือยอันเน่ือง
มาจากพระราชด�ำ ริ จังหวดั กาฬสินธ์ุ และโครงการพืน้ ท่ตี ้นแบบบรู ณาการแกไ้ ข
ปญั หาและพัฒนาพ้ืนท่ตี ำ�บลแกน่ มะกรูด อำ�เภอบ้านไร่ จงั หวัดอทุ ยั ธานี ตาม
แนวพระราชด�ำ ริ

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗ 5

มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

การด�ำ เนนิ งานในปี ๒๕๕๗ อันเป็นปที ี่ ๕ นบั แต่มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ
และสถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ
เร่ิมดำ�เนินงานพัฒนาเป็นต้นมา มีความต่อเน่ืองและก้าวหน้าเป็นอันมาก
สามารถสรา้ ง “ความอยรู่ อด” ให้กบั ประชาชนในพ้ืนท่เี ป้าหมายไดอ้ ยา่ งชัดเจน
ทุกพื้นท่ี โดยเฉพาะพื้นที่ซ่ึงประชาชนเคยอยู่อย่างอดอยาก ยากไร้ ไม่มีแม้แต่
อาหารเพยี งพอจะประทงั ชวี ติ การพฒั นาในชว่ งทผ่ี า่ นมา ท�ำ ใหม้ อี าหารเพยี งพอ
ต่อการบริโภค มีผลผลิตทางการเกษตรเหลือจากการบริโภคที่สามารถจำ�หน่าย
สร้างรายไดใ้ ห้เพิม่ ข้นึ ไดอ้ ย่างสม�ำ่ เสมอ
โครงการพัฒนาชนบทเชิงพ้ืนที่ประยุกต์ตามพระราชดำ�ริบ้านโป่งลึก-
บางกลอย จังหวัดเพชรบุรี และโครงการพื้นท่ีต้นแบบบูรณาการแก้ไขปัญหา
และพัฒนาพ้ืนที่ตำ�บลแก่นมะกรูด อำ�เภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี ตามแนว
พระราชดำ�ริ เป็นการพัฒนาที่ทำ�ให้ชาวปกากะญอที่อาศัยอยู่ในเขตอุทยาน
แห่งชาติท้ังสองจังหวัด ท้ังอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี และ
รอยต่อเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี มีระบบน้ำ�ท่ีได้รับ
การพฒั นาใหส้ ามารถท�ำ การเกษตร ทง้ั ปลกู ขา้ ว ปลกู พืชผกั สวนครัว พืชหลังนา
รวมทั้งพืชเศรษฐกิจ ทั้งไม้ผลระยะส้ันและระยะยาว ท่ีสามารถจำ�หน่ายเป็น
รายได้เกิดใหมไ่ ด้อยา่ งสม่ำ�เสมอ
โดยเฉพาะชาวปกากะญอในพ้ืนที่บ้านโป่งลึก-บางกลอย ซึ่งก่อนหน้าที่
ปิดทองหลังพระฯ จะเข้าไปดำ�เนินงานพัฒนาร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ต้อง
ดำ�รงชีพด้วยการรับจ้าง เพ่ือหาเงินมาซ้ือข้าว การพัฒนาระบบนำ้� ดิน และ

6 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗

มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

การทำ�เกษตร ทำ�ให้ปัจจุบันชาวบ้านได้ผลผลิตข้าวจากนาขั้นบันได ๑๕๘.๑๓
กิโลกรัมต่อไร่ และมีแนวโน้มท่ีจะได้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เม่ือดินมี
ความสมบรู ณ์มากขน้ึ
การพัฒนารูปแบบการเกษตรในสภาพพื้นท่ีลาดเอียง ทำ�ให้มีการปลูก
ไม้ผลทง้ั ทุเรียน เงาะ มงั คุด ลำ�ไย ลองกอง สม้ โอ มะขาม ละมุด ฯลฯ และ
ไมผ้ ลระยะสน้ั คอื กลว้ ยน�ำ้ วา้ ปแี รกมผี ลผลติ เกอื บ ๔๙,๐๐๐ หวี และยงั มอี าหาร
ประเภทเนื้อสัตว์ไว้บริโภคและจำ�หน่ายเป็นรายได้เพ่ิมข้ึนจากการเลี้ยงหมู
เป็ด และไก่
ขณะทชี่ าวปกากะญอในพน้ื ทโี่ ครงการพนื้ ทต่ี น้ แบบบรู ณาการแกไ้ ขปญั หา
และพัฒนาพ้ืนที่ตำ�บลแก่นมะกรูด อำ�เภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี ตามแนว
พระราชดำ�ริ ซึ่งเป็นการด�ำ เนนิ งานร่วมกนั ของมูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ จังหวดั
อุทัยธานี และสำ�นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ ๔ สาขานครสวรรค์ เพื่อให้
“คนกบั ปา่ ” อยรู่ ว่ มกนั ไดโ้ ดยไมเ่ บยี ดเบยี นกนั ชว่ ยกนั ดแู ล รกั ษา ฟน้ื ฟปู า่ ควบคู่
กับการแก้ปญั หาความยากจน พฒั นาคุณภาพชวี ิตของชมุ ชนท้องถนิ่ สร้างงาน
และอาชีพให้กับราษฎร การดำ�เนินงานในช่วงเวลาปีเศษ มีการสำ�รวจแนว
เขตท่ดี ินทรี่ าษฎรใช้ประโยชน์เป็นรายแปลงแลว้ เสรจ็ ๑,๐๘๗ แปลง ของราษฎร
๗๔๐ ราย พืน้ ท่ี ๑๔,๘๗๕ ไร่
การพัฒนาระบบนำ้� ด้วยการซ่อมแซมอ่างเก็บน้ำ�ห้วยแม่ดีน้อยอันเน่ือง
มาจากพระราชดำ�ริ ก่อสร้างฝายเพ่ือการเกษตรและฝายเพ่ือการอุปโภคบริโภค
โดยหลกั ประชาอาสา คอื ใชแ้ รงงานชาวบา้ น หนว่ ยราชการสนบั สนนุ วสั ดอุ ปุ กรณ์
เสรจ็ แลว้ ๕ ตัว พฒั นาดา้ นการเกษตรและส่งเสริมอาชีพ ดว้ ยการเสนอรูปแบบ
การเกษตรทางเลือก ๓ รูปแบบ ๑๐ ทางเลือก ให้เกษตรกรตัดสินใจเอง
ซงึ่ หลงั จากพจิ ารณารปู แบบการเกษตรทางเลอื กแลว้ เกษตรกรทสี่ มคั รใจเขา้ รว่ ม
โครงการฯ ตดั สนิ ใจปลกู พชื เมอื งหนาว เช่น สตรอวเ์ บอรร์ ี่ อโวคาโด ฯลฯ เริ่ม
ดว้ ยเกษตรกร ๑๘ คน กล้าสตรอว์เบอรร์ ่ี ๔๑,๐๐๐ กลา้ พ้นื ทีป่ ลูกรวม ๕ ไร่
ผลผลติ ทไ่ี ดใ้ นปแี รกได้รบั ความสนใจจากนักท่องเทยี่ วเป็นอย่างมาก ราคาขาย
หน้าบ้านอยู่ท่ีกิโลกรัมละ ๒๐๐ บาท และประมาณการว่าจะมีผลผลิตต่อไร่
อยูท่ ี่ ๑-๑.๘ ตัน
ในพื้นท่ีโครงการบริหารจัดการน้ำ�อย่างย่ังยืนอ่างเก็บน้ำ�ห้วยคล้าย
อันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ จังหวัดอุดรธานี และโครงการพัฒนาแก้มลิง
หนองเลิงเปือยอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ จังหวัดกาฬสินธุ์ สามารถก้าวผ่าน
ขั้นตอน “อยู่รอด” เข้าสู่ข้ันตอน “พอเพียง” แล้ว จากการที่สามารถสร้าง
รายได้เสริมและพัฒนาไปสู่การสร้างรายได้อ่ืนๆ ลดหนี้ได้ มีเงินออม และมี
กระบวนการมสี ่วนรว่ มของประชาชนทเี่ ขม้ แข็ง

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗ 7

มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

การรวมกลุ่มของชาวบ้านโคกล่ามและบ้านแสงอร่าม จัดต้ังเป็นกองทุน
ต่างๆ ท่ชี าวบา้ นร่วมคิด ร่วมทำ� และบรหิ ารจัดการกันเอง นอกจากจะทำ�ให้
ชุมชนเข้มแข็ง สามัคคีและรู้จักแบ่งปันแล้ว ยังทำ�ให้ได้ผลผลิตเพ่ิมมากขึ้น
เช่น การบริหารจัดการน้ำ�ร่วมกันของ ๕ กลุ่ม คือ กลุ่มแนวท่อห้วยคำ�เข
กลมุ่ แนวทอ่ หว้ ยอา่ ง กลมุ่ แนวทอ่ หว้ ยขเี้ กยี กลมุ่ แนวทอ่ หว้ ยคลา้ ย กลมุ่ ฝายพวง
ทำ�ใหผ้ ลผลติ ข้าวต่อไร่เพ่ิมขึน้ เป็น ๔๓๗ กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ จากเดิม ๓๓๕ กโิ ลกรมั
ต่อไร่ โดยมีเป้าหมายให้สามารถเพิ่มผลผลิตข้าวได้เป็น ๖๐๐ กิโลกรัมต่อไร่
รวมท้ังจะพฒั นาและเพิม่ ศกั ยภาพการผลติ ขา้ วอนิ ทรียแ์ บบครบวงจร
การปลกู พืชหลงั นา ในปี ๒๕๕๗ นอกจากช่วยลดรายจ่ายค่าอาหารแลว้
ชาวบ้านยังมรี ายได้จากการจ�ำ หนา่ ยพืชหลงั นา หลงั หกั ตน้ ทุน ๑๖๐,๒๔๙ บาท
เฉลย่ี ๓,๐๐๙ บาทตอ่ ไร่ มกี ารแปรรปู หมเู หมยซาน ทไี่ ดร้ บั การสนบั สนนุ ใหเ้ ลยี้ ง
เปน็ หมหู นั ไสก้ รอกอสี าน แหนม ไปจ�ำ หนา่ ยเปน็ รายไดเ้ สรมิ มกี ารจดั ตงั้ กองทนุ
โรงสขี า้ ว ซง่ึ ระดมทนุ โดยการขายหนุ้ ใหแ้ ก่สมาชิกในหมบู่ า้ น ปัจจุบันมีสมาชิก
๘๓ คน
นอกจากน้ี ยงั มโี ครงการความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานและสถาบนั การศกึ ษา
อกี มากมาย เชน่ รว่ มกบั โครงการฟารม์ ตวั อยา่ งฯ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี
และสำ�นักงานพัฒนาที่ดินอุดรธานี ปรับปรุงบำ�รุงดิน สำ�นักงานเกษตรจังหวัด
ถา่ ยทอดความรใู้ นการท�ำ เชอ้ื ราไตรโคเดอรม์ า วทิ ยาลยั สารพดั ชา่ ง แผนกอาหาร
และขนม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี สาขาเทคโนโลยีอาหาร ถ่ายทอด
การแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ และบรรจภุ ณั ฑท์ ส่ี วยงามเพอ่ื สรา้ งมลู คา่ เพม่ิ มหาวทิ ยาลยั
ราชภฏั อุดรธานี สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์ ถา่ ยทอดความรู้การตรวจวเิ คราะหด์ นิ
เปน็ ตน้
ในพน้ื ทโ่ี ครงการพฒั นาแกม้ ลงิ หนองเลงิ เปอื ยอนั เนอื่ งมาจากพระราชด�ำ ริ
จังหวัดกาฬสินธ์ุ ความร่วมมือระหว่างปิดทองหลังพระฯ กับกองทัพบก
เพื่อจัดหาแหล่งน้ำ�เพิ่มเติมในพื้นที่ท่ีมีศักยภาพเป็นแก้มลิง ซึ่งดำ�เนินการ
แลว้ เสรจ็ เมือ่ วนั ที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗
ผลการด�ำ เนนิ งานท�ำ ใหเ้ กดิ พน้ื ทถ่ี มดนิ และพน้ื ทร่ี บั น�ำ้ ในอ�ำ เภอกมลาไสย
๘ หมู่บา้ น ในตำ�บลโพนงาม ๑,๐๑๑ ครวั เรอื น และอ�ำ เภอร่องคำ� ๙ หมบู่ ้าน
๗๗๕ ครัวเรือน ในต�ำ บลสามคั คี ๓ หมูบ่ า้ น ๑๙๙ ครวั เรือน ในต�ำ บลเหลา่ อ้อย
๖ หมู่บ้าน ๖๓๕ ครัวเรือน ในตำ�บลร่องคำ� และสร้างครัวเรือนต้นแบบ ๔
ต�ำ บล ๕๓๒ ครวั เรือน
การพัฒนาระบบนำ้� มีการกระจายนำ้�โดยสถานีสูบนำ้�ด้วยพลังไฟฟ้า
๓ สถานี ครอบคลุมพน้ื ที่การเกษตร ๕,๙๓๘ ไร่ ๒ งาน ๕๐ ตารางวา ของ
ชาวบา้ น ๕๓๐ ราย ดนิ จากการขุดลอกหนองเลงิ เปือยมกี ารน�ำ ไปถมในแปลงนา

8 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗

มูลนิธิปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

ของชาวบา้ นรอบหนองเลงิ เปือย ๑,๗๒๕ ไร่ และจะท�ำ การขุดลอกแกม้ ลงิ หนอง
เลิงเปอื ยฯ เพมิ่ อกี ประมาณ ๑๔๐ ไร่ หลงั ส้ินสุดฤดูการเกบ็ เกย่ี วเดือนมกราคม
ด้านเกษตร มีการส่งเสริมการปลูกผักในโรงเรือน มีกองทุนกล้วย
กองทุนโรงงานหลวง ส่งเสริมการปลูกพืชเพ่ือส่งผลผลิตให้กับโรงงานหลวง
อาหารสำ�เร็จรูปที่ ๓ (เต่างอย) เช่น มะเขือเทศ หม่อน เสาวรส ฝรัง่ สีชมพู
กระเจ๊ียบแดง มะม่วงแก้ว ปัจจุบันมีชาวบ้านสมัครใจปลูกมะเขือเทศแล้ว
๔๒ ราย พนื้ ที่ ๖๐ ไร่ สง่ เสรมิ การท�ำ ขา้ วอนิ ทรีย์ การปลกู พืชหลังนาปี เชน่
ถ่ัวลิสง ฟักทอง ข้าวโพดหวาน มะเขือ ถั่วฝักยาว พริกหัวเรือ มะละกอ
ผกั บ้งุ จีน ตะไคร้
ส่งเสริมอาชีพประมง เล้ียงปลา และเลี้ยงกบ เป็นแหล่งอาหารและ
รายได้ ในรูปแบบกองทุน เช่นเดียวกับการเลี้ยงหมูหลุม การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
ไก่ไข่ และเป็ด กองทุนโค-กระบือ กองทุนหญ้าแพงโกล่า เพื่ออัดฟ่อนขาย
เป็นอาหารสตั ว์
ในพ้ืนที่โครงการพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบบูรณาการแก้ไขปัญหาและพัฒนา
พ้ืนที่จังหวัดน่าน ซึ่งมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ปฏิบัติการในพื้นท่ีมากว่า ๕ ปี
นับตั้งแต่เดือนมิถุนายน ๒๕๕๒ ปรากฏผลการพัฒนาท่ีทำ�ให้ชาวบ้านในพื้นที่
ต้นแบบ ๒๑ หมู่บ้าน ๓ อำ�เภอ พ้นจากระยะ “อยู่รอด” “พอเพียง” และกำ�ลงั
ก้าวเข้าสู่ “ความย่ังยืน” โดยจังหวัดน่านได้กำ�หนดนโยบายท่ีจะขยายผล

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗ 9

มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

การดำ�เนินงานตามแนวทางของปิดทองหลังพระฯ ออกไปอย่างกว้างขวางทั่ว
ทั้งจังหวัด ซึ่งมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ จะเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ในกระบวน
การเขา้ ใจ เข้าถงึ แกท่ ีมปฏบิ ัติงานระดับจังหวดั และอำ�เภอ
การพฒั นาระบบน�้ำ ในปี ๒๕๕๗ สามารถด�ำ เนนิ การไดค้ รบตามเปา้ หมาย
พ้นื ทีร่ ับนำ�้ ๑,๑๗๐ ไร่ มีผไู้ ด้รบั ประโยชน์ ๒๑๔ ราย ใน ๑๐ หม่บู า้ น ๓ อ�ำ เภอ
ประกอบด้วยการสรา้ งฝายเกษตร ๙ ตวั ซ่อมแซมฝายเดมิ ๑ ตัว บอ่ พวงสนั เขา
พร้อมระบบกาลกั น�้ำ ๘ บอ่ ระบบสง่ น้�ำ รวมระยะทาง ๓,๕๑๐ เมตร ซอ่ มแซม
ระบบเก็บกักนำ้� (บ่อพวงและถังเก็บนำ้�) และท่อส่งนำ้� ๒ หมู่บ้าน ระยะทาง
๒๐๐ เมตร ในเวลา ๕ ปี ทำ�ให้เกิดพื้นที่รับนำ้�ที่สามารถทำ�การเกษตรได้
รวม ๑๐,๒๘๒ ไร่ ใน ๓ อำ�เภอ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๔.๖ ของพนื้ ท่ีทำ�กนิ ทัง้ หมด
ยังมีการพัฒนาระบบน้ำ�ในพื้นที่บ้านก่ิวจันทร์และบ้านบวกหญ้า
ตำ�บลขุนน่าน อำ�เภอเฉลิมพระเกียรติ ที่เพิ่งเข้าร่วมโครงการในปี ๒๕๕๗
ประกอบด้วย การก่อสร้างฝายเกษตร ๑๒ ตัว บ่อพวงสันเขา ๑๑ บ่อ และ
ท่อสง่ น�ำ้ ๑๕,๙๒๐ เมตร อยรู่ ะหว่างการดำ�เนินการ
การขุดนาข้ันบันได จนถึงปัจจุบันดำ�เนินการได้รวม ๔,๓๒๙ ไร่
นอกจากนี้ ยังมีการส่งเสริมการปลูกพืชหลังนาและพืชผักสวนครัวท่ีมีตลาด
รองรับ ในพ้ืนท่ี ๒๐ หม่บู ้าน ๓ อ�ำ เภอ มีเกษตรกรเข้าร่วม ๑๐๑ ราย พืชสง่ เสรมิ
๓ ชนดิ ได้แก่ พรกิ ซุปเปอรฮ์ อท ตะไคร้ ข่าขาว ท่มี ตี ลาดรองรบั สรา้ งรายได้
ให้เกษตรกรในปีที่ผ่านมา ๓๔๔,๙๗๓ บาท หรือเฉล่ียรายละ ๓,๔๑๕ บาท
คิดเป็นร้อยละ ๓.๗ ของรายได้เฉล่ียต่อครัวเรือน การดำ�เนินงานของกองทุน
ตา่ งๆ ทช่ี าวบา้ นบรหิ ารจดั การเอง ๑๐ กองทนุ มเี งนิ ในกองทนุ ณ เดอื นกนั ยายน
๒๕๕๗ รวม ๑,๘๓๖,๓๒๘ บาท
สนับสนุนองค์ความรู้ให้พ้ืนที่ขยายผลในจังหวัด รวม ๑๑๒ หมู่บ้าน
ด้วย ๓ โครงการ คอื
๑. โครงการต่อยอดการพัฒนาแก้ปัญหาชุมชนกับจังหวัด คณะสงฆ์
องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น อทุ ยานแห่งชาติ หนว่ ยจัดการตน้ น�ำ้ ป่าไม้ จงั หวดั
นา่ น ในยทุ ธศาสตรจ์ งั หวดั “สรา้ งเมอื งนา่ นนา่ อยู่ คปู่ า่ ตน้ น้ำ�” ราษฎร-์ รฐั -เอกชน
๓ ประสานการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริ พื้นท่ีเปา้ หมาย ๓๖ หมู่บ้าน
๒. โครงการขยายแนวคิดปิดทองหลังพระฯ โดยภาคประชาคมน่านฯ
๑๒ โครงการ ๕๔ หมู่บา้ น
๓. วาระนา่ น “สร้างเมอื งนา่ นนา่ อย่คู ู่ปา่ ต้นนำ้� ภายใต้โครงการ ๑ อำ�เภอ
๑ ลุ่มนำ้� ๑ ธนาคารต้นไม”้ เปา้ หมาย ๓๕ หมู่บ้าน ควบค่กู บั การสรา้ งความรู้
ความชำ�นาญ ความคิด และทักษะใหม่ๆ ให้เกษตรกร เพ่ือให้ได้ผลผลิตสูง
ลดต้นทุน รวมท้ังบูรณาการแผนงบประมาณกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และการพฒั นาดา้ นคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม ซงึ่ จะเปน็ แนวทางการพฒั นาในพน้ื ที่
อ่นื ตอ่ ไป

10 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗

มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

สารประธานกรรมการ
มลู นธิ ิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ

การด�ำ เนนิ งานของมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ ไดก้ า้ วเขา้ สปู่ ที ่ี ๖ แลว้ โดย
มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ได้นำ�แนวพระราชดำ�ริมาแก้ไขปัญหาความเหล่ือมล้ำ�
ปัญหาความยากจนของประชาชนในชนบทผ่านพ้ืนที่ต้นแบบปิดทองหลังพระฯ
๕ พ้ืนท่ี และพื้นที่ขยายผลที่กระจายอยู่ท่ัวทุกภาคของประเทศ ผลจากการ
ดำ�เนินงานได้พิสูจน์ให้เห็นว่าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำ�มา
ปรบั ใช้แกไ้ ขปัญหาใหก้ ับประชาชนไดจ้ ริง ทำ�ให้ประชาชนมีคณุ ภาพชีวติ ท่ีดขี ้นึ
และมีโอกาสในการได้รับความรู้เพื่อนำ�มาพัฒนาคุณภาพชีวิตและชุมชนของตน
ได้ต่อไป
การทำ�งานของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ จึงยังคงมุ่งมั่นในการนำ�แนว
พระราชดำ�ริโดยเฉพาะหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้เพ่ือพัฒนา
คุณภาพชีวิตของประชาชน ให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง และพึ่งพาตนเองได้
ดังท่ีเห็นได้จากผลการดำ�เนินงานของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ในปี ๒๕๕๗
ท่ีมีความก้าวหน้าเพิ่มข้ึนอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างย่ิงการได้เข้าไปช่วยเหลือ
รัฐบาลในฐานะเป็นหน่วยงานให้คำ�ปรึกษาหลักในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
การบูรณาการขับเคล่ือนการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใน
ภาคการเกษตรและชนบทของการพฒั นาประเทศในชว่ งระหวา่ งปี ๒๕๕๗–๒๕๖๐
ในนามมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ ผมจงึ ขอเปน็ ก�ำ ลงั ใจใหท้ กุ ทา่ น ทกุ หนว่ ย
งาน ที่ร่วมกันสนับสนุนการทำ�งานของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ มีกำ�ลังใจ
ในการทำ�งาน ก้าวผ่านปัญหาต่างๆ ไปได้ด้วยดี เพื่อนำ�ความอยู่ดีมีสุขมาสู่
ประชาชน และเป็นการสืบสานแนวพระราชดำ�ริตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ที่ทรงอตุ สาหะทรงงานเพ่อื ประโยชน์
สุขของชาวไทยมาเป็นเวลานานจนถงึ ปจั จุบนั

(ศาสตราจารย์เกยี รติคุณ นายแพทยเ์ กษม วัฒนชัย)
ประธานกรรมการมลู นธิ ิปดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗ 11

มูลนิธิปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

สารประธานกรรมการ
สถาบันสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรม
ปดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ

มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ และสถาบันฯ ซึ่งเป็นหน่วยงานปฏิบัติให้แก่
มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ได้นำ�แนวพระราชดำ�ริแปรสู่การปฏิบัติเพ่ือสร้าง
การพัฒนาท่ีม่ันคงและย่ังยืนให้แก่ชุมชนต่างๆ มาตั้งแต่จัดตั้งสถาบันส่งเสริม
และพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ในปี ๒๕๕๓ จนถึงปัจจุบันเป็นระยะ
เวลา ๕ ปี สถาบนั ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระฯ ไดส้ ร้างพื้นท่ี
ตน้ แบบบรู ณาการแกไ้ ขปัญหาและพัฒนาพืน้ ท่ใี นพ้นื ท่ี ๕ จังหวัด ได้แก่ จงั หวดั
น่าน จังหวัดอุดรธานี จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดอุทัยธานี และจังหวัดกาฬสินธ์ุ
รวมทั้งขยายการดำ�เนินงานไปสู่ระบบราชการ ในการนำ�ปรัชญาและวิธีการ
ของปดิ ทองหลงั พระฯ ไปด�ำ เนนิ การในพนื้ ทข่ี ยายผล ๑๐ จงั หวดั ตามแผนพฒั นา
ชนบทเชิงพื้นท่ีประยุกต์ตามพระราชดำ�ริ ซ่ึงบรรจุเป็นแผนบริหารราชการ
แผน่ ดนิ ปี ๒๕๕๕-๒๕๕๘ และด�ำ เนนิ การโดย ๔ หนว่ ยงานหลกั ไดแ้ ก่ สำ�นกั งาน
ปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับเจตนารมณ์
ของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ในอนั ทจี่ ะสง่ เสรมิ การพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริ
อย่างกวา้ งขวางจนเปน็ แนวทางหลกั ของประเทศ
สำ�หรับในปี ๒๕๕๗ การด�ำ เนินงานของปดิ ทองหลังพระฯ ได้ดำ�เนินการ
ต่อเนื่องและก้าวหน้ามากขึ้นเป็นลำ�ดับ ดังที่ท่านจะได้รับทราบจากรายงาน
ฉบับนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการปิดทองหลังพระฯ จังหวัดกาฬสินธ์ุ
ทีป่ ิดทองหลงั พระฯ รว่ มกับหน่วยงานภาคี ๗ หน่วยงานและประชาชนในพ้ืนท่ี
๒ อ�ำ เภอ ๕๓ หม่บู ้าน วางแผนและพัฒนาพื้นทีแ่ ก้มลงิ หนองเลิงเปอื ยอันเนอ่ื ง
มาจากพระราชด�ำ รริ ว่ มกนั อยา่ งเปน็ ระบบ และโครงการปดิ ทองหลงั พระฯ จงั หวดั
อุทัยธานี ท่ีร่วมกับหน่วยงานภาคีต่างๆ โดยเฉพาะองค์การบริหารส่วนจังหวัด
อุทัยธานี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และประชาชนในพ้ืนท่ีอำ�เภอบ้านไร่
วางแผนและพัฒนาการบริหารจัดการระบบนำ้�และการส่งเสริมอาชีพด้าน
การเกษตรกรรมเพ่ือสร้างรายได้ให้แก่ประชาชน โดยการส่งเสริมการปลูกพืช
ระยะสนั้ และระยะยาว เป็นต้น นอกจากน้ปี ิดทองหลังพระฯ ยังใหค้ วามส�ำ คัญ
กบั การพฒั นาบคุ ลากรในทุกระดบั เพอ่ื สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ โดยการร่วมมอื
กับที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย มูลนิธิรากแก้ว และส่ือมวลชนจัดทำ�

12 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗

มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

โครงการและกิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีประสบการณ์ทำ�งาน
เพอื่ แกไ้ ขปญั หาชุมชนและพฒั นาพ้ืนท่ีตามแนวพระราชด�ำ ริ
ความก้าวหน้าดังกล่าว ทำ�ให้รัฐบาลรับเอารูปแบบการดำ�เนินงานของ
มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ มาเป็นแบบอย่างในการการขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร์
การบูรณาการขับเคลื่อนการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใน
ภาคการเกษตรและชนบทของการพฒั นาประเทศ ในชว่ งระหวา่ งปี ๒๕๕๗-๒๕๖๐
ซึ่งมีพื้นที่เป้าหมายจำ�นวน ๑๘,๕๙๔ หมู่บ้านหรือประมาณร้อยละ ๒๕ ของ
หมู่บา้ นท้ังหมดของประเทศ
การทำ�งานของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ได้รับความร่วมมือด้วยดี
จากภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ท้องที่
สื่อมวลชน และชุมชน ซ่ึงมีแนวทางร่วมกันในการนำ�แนวพระราชดำ�ริไป
แก้ไขปัญหาและความต้องการของประชาชน และประชาชนยอมรับว่าแนวทาง
พระราชดำ�ริสามารถช่วยแก้ปัญหาและความต้องการของประชาชนได้จริง
ผมจึงขอขอบคุณมา ณ ทีน่ ้ี และหวงั ว่าจะได้สรา้ งความมั่นคงและย่งั ยืนใหแ้ ก่
ประเทศชาติต่อไป

(หม่อมราชวงศด์ ศิ นดั ดา ดิศกุล)
ประธานกรรมการสถาบันสง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมปดิ ทองหลงั พระ

สบื สานแนวพระราชดำ�ริ

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗ 13

มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

สารปลดั ส�ำ นักนายกรัฐมนตรี

ส�ำ นกั งานปลดั ส�ำ นกั นายกรัฐมนตรี เป็นหนว่ ยงานท่จี ดั ตั้งมลู นธิ ิปดิ ทอง
หลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ และสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม
ปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ เพื่อให้รับผิดชอบภารกิจด้าน
การจัดการความรู้ และการส่งเสริมการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริออกไปสู่
ชุมชนอย่างเปน็ ระบบกวา้ งขวาง เพ่อื ใหแ้ นวพระราชดำ�รเิ ปน็ แนวทางการพฒั นา
หลักของประเทศ
การดำ�เนินงานของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ในปี ๒๕๕๗ ได้ร่วมกับ
หนว่ ยราชการ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ตา่ งๆ และชมุ ชนในหลายพนื้ ที่ พฒั นา
พื้นท่ีชนบท ตลอดจนมีการนำ�กระบวนการพัฒนาตามแนวทางหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้พัฒนาชุมชนในต้นแบบโครงการปิดทอง
หลงั พระฯ ท้งั ๕ พน้ื ที่ ได้แก่
๑. โครงการพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบบูรณาการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพ้ืนที่
จังหวดั น่าน
๒. โครงการบริหารจดั การนำ�้ อยา่ งยงั่ ยืนอา่ งเก็บน้ำ�ห้วยคล้าย อันเนือ่ ง
มาจากพระราชด�ำ ริ จงั หวัดอดุ รธานี
๓. โครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือย อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ
จังหวดั กาฬสินธุ์
๔. แผนพัฒนาชนบทเชิงพ้ืนท่ีประยุกต์ตามพระราชดำ�ริ บ้านโป่งลึก
บ้านบางกลอย ตำ�บลหว้ ยแมเ่ พรยี ง อำ�เภอแก่งกระจาน จงั หวดั เพชรบุรี
๕. โครงการพ้ืนท่ีต้นแบบบูรณาการแก้ไขปัญหาพัฒนาพ้ืนที่ ตำ�บล
แกน่ มะกรดู อ�ำ เภอบา้ นไร่ จงั หวดั อทุ ัยธานี ตามแนวพระราชด�ำ ริ

จะมีการนำ�รูปแบบการดำ�เนินงานของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ มาเพ่ิม
ประสทิ ธภิ าพในการขบั เคลอ่ื นแผนยทุ ธศาสตรก์ ารบรู ณาการขบั เคลอื่ นการพฒั นา
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรและชนบทของการพัฒนา
ประเทศ ในชว่ งระหวา่ งปี ๒๕๕๗-๒๕๖๐ ซึ่งมพี ื้นทเ่ี ป้าหมาย จ�ำ นวน ๑๘,๕๙๔
หมูบ่ ้าน หรือประมาณรอ้ ยละ ๒๕ ของหมู่บ้านทั้งหมดของประเทศ ใน ๔ กลุ่ม
คอื พน้ื ที่หมู่บ้านรอบศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ
๖ แห่ง หมู่บ้านนำ�ร่องของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ หมู่บ้านนำ�ร่องในโครงการ

14 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗

มูลนิธิปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

บูรณาการจังหวัดเพ่ือแก้ปัญหาความยากจนและโครงการบำ�บัดทุกข์บำ�รุงสุข
แบบ ABC (Area Based Collaborative Research) หม่บู ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง
ของกรมการพัฒนาชุมชนและหมู่บ้านที่รับประโยชน์จากโครงการแหล่งนำ้�
ขนาดเล็กอันเนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ ริ เป็นต้น
การดำ�เนินงานของมูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ ในปี ๒๕๕๗ และในอนาคต
จึงเน้นการถ่ายทอดตัวอย่างการดำ�เนินงานของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ไปสู่
ประชาชน หมบู่ า้ นและชุมชนต่างๆ ทัว่ ประเทศ ซึ่งสอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์
สำ�คัญของการจัดต้ังมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ และสถาบันส่งเสริมและพัฒนา
กจิ กรรมปดิ ทองหลังพระฯ
ผมขอขอบพระคณุ ทกุ หนว่ ยงาน ทน่ี �ำ แนวทางของมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ
ไปแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน เพ่ือความอยู่ดีมีสุขของประชาชน สำ�นักงาน
ปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรีมีความพร้อมและยินดีที่จะสนับสนุนงานสืบสาน
แนวพระราชดำ�รอิ ยา่ งเตม็ ก�ำ ลงั ความสามารถ

(หมอ่ มหลวงปนดั ดา ดิศกลุ )
ปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗ 15

มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

๒ ความเปน็ มา
มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
และสถาบันสง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระ
สืบสานแนวพระราชดำ�ริ

     มติคณะรัฐมนตรีในการประชุมเม่ือวันท่ี ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๒
เห็นชอบใหส้ ำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรฐั มนตรี ด�ำ เนนิ การจดั ตั้ง “มูลนิธปิ ิดทอง
หลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ” และ “สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม
ปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ” มีการจดทะเบียนจัดต้ังมูลนิธิ
ปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ เมื่อวันท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๕๓

พันธกิจ

จัดการความรู้และส่งเสริมการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริของพระบาท
สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ และพระบรมวงศา
นวุ งศ์ โดยเช่ือมโยงองคค์ วามร้แู ละบูรณาการความรว่ มมอื กับหน่วยงานสบื สาน
แนวพระราชดำ�รติ ่างๆ ภาครัฐ เอกชน วชิ าการ ทอ้ งถ่ิน ชมุ ชน และประชา
สังคม เพือ่ ให้เกดิ การแก้ไขปัญหาและพฒั นา จนเป็นแนวทางหลักในการพฒั นา
ประเทศอย่างเป็นระบบและยัง่ ยืน

16 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗

มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

วตั ถปุ ระสงค์

๑. จัดตั้งและสนับสนุนการดำ�เนินงานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนา
กจิ กรรมปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ ซง่ึ เป็นหน่วยปฏบิ ัตขิ องมูลนธิ ิ
ให้ดำ�เนินการได้อย่างมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับเจตนารมณ์แห่ง
การจัดตัง้
๒. ให้สถาบัน โดยมีมูลนิธิสนับสนุนให้ทุนดำ�เนินงาน มีวัตถุประสงค์
ดังน้ี
๒.๑) สนับสนุนส่งเสริมและให้ความช่วยเหลือในการแก้ไข
ปัญหาและการพัฒนาแก่องค์กร ชุมชน ประชาสังคม
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรภาครัฐ องค์กร
ทางสังคม สถาบันวิชาการ ภาคธุรกิจในการดำ�เนินงาน
ท่ีสอดคล้องกับมิติการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริ เพื่อให้
ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีข้ึน รวมถึงส่งผลต่อ
การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
๒.๒) สนบั สนนุ การจดั การความรตู้ ามแนวพระราชด�ำ ริ โดยประสาน
ความร่วมมือกับศูนย์ศึกษาการพัฒนาโครงการส่วนพระองค์
โครงการตามพระราชประสงค์ โครงการหลวง โครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ องค์กร ชุมชน ประชาสังคม
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาครัฐ องค์กรทาง
สังคม  สถาบันวิชาการ ภาคธุรกิจ เพื่อให้เกิดคลังความรู้
การยกระดับความรู้ การต่อยอดชุดความรู้ใหม่ การพัฒนา
หลักสูตรการศึกษาในและนอกระบบ ตลอดจนการขยายผล
เช่อื มโยงสกู่ ารนำ�ไปปฏบิ ัติอย่างกวา้ งขวาง
๒.๓) สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การบรู ณาการ ภารกจิ และกจิ กรรมของสถาบนั
กบั แผนชมุ ชน แผนองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ แผนพฒั นา
จงั หวดั แผนหนว่ ยงานภาครฐั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และนโยบายรฐั บาล
๒.๔)  สนับสนุน ส่งเสริม แนะนำ� และช่วยเหลือ องค์กร ชุมชน
ประชาสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรภาครัฐ
องค์กรทางสงั คม สถาบันวชิ าการภาคธรุ กิจ เพือ่ ใหน้ อ้ มน�ำ
แนวพระราชดำ�ริไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์และเป็นแนวทาง
หลกั ในการพฒั นาทกุ ระดับของประเทศ

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗ 17

มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

๒.๕) สร้างการรับรู้ ความเข้าใจ และความร่วมมือดำ�เนิน
การตามแนวพระราชด�ำ ริอย่างต่อเนื่อง
๓. เพอ่ื สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ การศกึ ษา และทศั นศกึ ษาทเ่ี กยี่ วกบั การน�ำ
แนวพระราชด�ำ ริไปประยุกต์ใช้และขยายผลสชู่ มุ ชน
๔. เพื่อส่งเสรมิ การประสานการดำ�เนินงานรว่ มกับองค์กรชุมชน ประชา
สังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรภาครัฐ องค์กรทางสังคม สถาบัน
วิชาการ ภาคธรุ กจิ เพื่อกิจกรรมพฒั นาและกิจกรรมสาธารณประโยชน์
๕. ไม่ด�ำ เนินการเกยี่ วข้องกบั การเมอื งแตป่ ระการใด

ผลผลติ จากการด�ำ เนนิ งาน

๑. เกิดแนวทางทหี่ ลากหลายในการแกไ้ ขปัญหาและพฒั นาประเทศตาม
ภูมิสงั คมอยา่ งยัง่ ยนื ตามแนวพระราชด�ำ ริ
๒. เกิดการมสี ว่ นร่วมจากภาคที ุกภาคส่วนในการพัฒนายุทธศาสตรช์ าติ
และยทุ ธศาสตร์สาขาตามแนวพระราชด�ำ ริ
๓. เกิดการรบั รู้ เขา้ ใจ และความรว่ มมือสนับสนุนจากภาครฐั วชิ าการ
เอกชน ท้องถ่นิ ชุมชน ประชาสงั คม และนานาชาติ ในการร่วมสร้างภมู ิคมุ้ กัน
และร่วมแกไ้ ขปญั หาพื้นฐานท่สี ำ�คัญของประเทศตามแนวพระราชดำ�ริ

18 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗

มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

๓ คณะกรรมการ
มูลนิธิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ

ในการประชุมคณะผู้ก่อตั้งมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ เม่ือวันที่
๕ มกราคม ๒๕๕๓ ได้มีการพิจารณาผดู้ ำ�รงตำ�แหนง่ กรรมการมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สาน
แนวพระราชด�ำ ริ ซึ่งทปี่ ระชมุ มีมตเิ หน็ ชอบให้ต้งั กรรมการมูลนิธิปดิ ทองหลังพระฯ ดงั มรี ายนาม
ของกรรมการ ดังน้ี

ศ.เกยี รตคิ ุณ นพ.เกษม วฒั นชัย
องคมนตรี

ประธานกรรมการ

ดร.สเุ มธ ตันตเิ วชกุล ดร.จิรายุ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ทา่ นผู้หญงิ บุตรี วีระไวทยะ ทา่ นผหู้ ญงิ จรุงจติ ต์ ทีขะระ
เลขาธกิ ารมูลนธิ ชิ ยั พัฒนา ผู้อ�ำ นวยการสำ�นกั งานทรพั ยส์ นิ รองราชเลขาธิการ รองราชเลขาธกิ ารในพระองค์
กรรมการ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ นี าถ
กรรมการ ส่วนพระมหากษัตรยิ ์ กรรมการ
กรรมการ

นายจตุรงค์ ปญั ญาดลิ ก หมอ่ มราชวงศด์ ศิ นดั ดา ดศิ กุล ดร.วริ ไท สนั ตปิ ระภพ
กรรมการ เลขาธิการมูลนิธิแมฟ่ ้าหลวง กรรมการและเหรญั ญกิ

ในพระบรมราชปู ถัมภ์
กรรมการและเลขาธกิ าร

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗ 19

มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

คณะกรรมการ
สถาบันส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมปดิ ทองหลังพระ
สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ

ในการประชมุ คณะกรรมการมลู นธิ ิปิดทองหลังพระฯ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๓ เมอ่ื วันท่ี ๑๕ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๓
และคร้ังที่ ๒/๒๕๕๓ เมื่อวันท่ี ๘ เมษายน ๒๕๕๓ ได้มีการพิจารณาแต่งต้ังกรรมการสถาบันส่งเสริมและ
พัฒนากิจกรรมปดิ ทองหลงั พระฯ จำ�นวน ๑๖ คน และคณะกรรมการมูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ ไดม้ ีมตเิ ม่ือวนั ที่ ๓๐
พฤษภาคม ๒๕๕๔ เหน็ ชอบใหแ้ ตง่ ต้งั กรรมการสถาบันฯ เพ่ิมอกี จ�ำ นวน ๒ คน ดงั มรี ายนามคณะกรรมการฯ ดงั นี้

๑. หม่อมราชวงศด์ ศิ นัดดา ดศิ กลุ ประธานกรรมการ
๒. ทา่ นผู้หญงิ บุตรี วีระไวทยะ รองประธานกรรมการ
๓. นายสุเมธ ตันตเิ วชกลุ กรรมการ
๔. นายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา กรรมการ
๕. ท่านผู้หญิงจรงุ จติ ต์ ทีขะระ กรรมการ
๖. นายวิรไท สันติประภพ กรรมการ
๗. ปลดั ส�ำ นักนายกรฐั มนตรี กรรมการ
๘. ปลดั กระทรวงมหาดไทย กรรมการ
๙. ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรรมการ
๑๐. ปลดั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม กรรมการ
๑๑. ประธานคณะกรรมการสถาบันพฒั นาองคก์ รชมุ ชน (องคก์ ารมหาชน) กรรมการ
๑๒. เลขาธกิ ารคณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงานโครงการ
อันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำ ริ (กปร.) กรรมการ
๑๓. ผูบ้ ญั ชาการทหารบก กรรมการ
๑๔. นายกสมาคมองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัดแหง่ ประเทศไทย กรรมการ
๑๕. นายกสมาคมสนั นิบาตเทศบาลแหง่ ประเทศไทย กรรมการ
๑๖. นายกสมาคมองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำ�บลแห่งประเทศไทย กรรมการ
๑๗. นายกสมาคมก�ำ นัน ผูใ้ หญบ่ า้ นแหง่ ประเทศไทย กรรมการ
๑๘. ผู้อำ�นวยการสถาบันสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมปิดทองหลังพระ กรรมการ
สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ

20 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗

มลู นธิ ิปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

๔ หลักการดำ�เนินงานและแนวทางปฏิบัติงาน

มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ มหี ลกั ในการด�ำ เนนิ งาน
และแนวทางการปฏิบัติงาน โดยการน้อมนำ�เอาองค์ความรู้ของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยหู่ วั มาปฏบิ ตั ิ ยดึ หลักการทรงงานของพระองค์ท่าน ดงั น้ี

๑. หลกั การองค์ความรู้ ๖ มิติ

คอื มติ ดิ า้ นน�้ำ ดา้ นดนิ ดา้ นเกษตร ดา้ นพลงั งานทดแทน ดา้ นปา่ และ
ด้านส่ิงแวดล้อม โดยปรับให้สอดรับเป็นไปตามสภาพของภูมิสังคมและพื้นที่
ท่มี ปี ญั หาความยากจน เช่ือมโยงความรู้ไปสกู่ ารแกไ้ ขปญั หาและสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ
การพัฒนาให้เป็นไปไดอ้ ยา่ งยั่งยนื

๒. หลักการพัฒนา “เข้าใจ เขา้ ถงึ พฒั นา”

ต้องมีการทำ�ความเข้าใจในชุมชน เข้าใจในสภาพพ้ืนท่ีและภูมิสังคม
การเข้าถึงข้อมูล การเก็บข้อมูลท่ีเป็นจริงและนำ�ข้อมูลมาวิเคราะห์ แล้วจึงเร่ิม
การพัฒนาโดยการนำ�องค์ความรู้ให้ชาวบ้านลงมือทำ�ด้วยตนเอง ปิดทองหลัง
พระฯ เป็นผเู้ ช่อื มความรจู้ ากหน่วยงานที่มอี งค์ความรู้ จากครภู มู ิปญั ญา ไปให้
กับชาวบา้ น

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗ 21

มูลนิธิปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

๓. หลกั การทรงงานและหลกั การโครงการ ๒๓ ขอ้

หลักการโครงการ หลกั การทรงงาน

๑. ระเบดิ จากภายใน ๑. จะทำ�อะไรต้องศกึ ษาข้อมูลใหเ้ ป็นระบบ
๒. ทำ�งานแบบองค์รวม
๒. แกป้ ัญหาจากจดุ เลก็ ๓. ไม่ตดิ ต�ำ รา
๔. ประหยัด
๓. ทำ�ตามลำ�ดับขนั้ ๕. ทำ�ให้ง่าย
๖. การมสี ว่ นรว่ ม
๔. ภมู ิสังคม ๗. ต้องยึดประโยชนส์ ว่ นรวม
๘. ใชธ้ รรมชาติช่วยธรรมชาติ
๕. บรกิ ารทจี่ ุดเดยี ว ๙. ปลูกปา่ ในใจคน

๖. ใช้อธรรมปราบอธรรม

๗. การพง่ึ ตนเอง

๘. พออยู่พอกนิ

๙. ความซ่ือสัตย์สุจรติ จรงิ ใจตอ่ กนั

๑๐. ขาดทนุ คอื กำ�ไร

๑๑. เศรษฐกิจพอเพียง

๑ ๒. ท�ำ งานอยา่ งมีความสขุ

๑๓. ความเพียร

๑๔. รู้ รกั สามคั คี

22 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗

มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

๕ กรอบการด�ำ เนินงานตามมติคณะกรรมการ

คณะกรรมการมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ได้วางกรอบการดำ�เนินงานของ
สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปดิ ทองหลงั พระฯ ไว้ดงั นี้
๑. นำ�เสนอแผนด�ำ เนินงาน ให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายรัฐบาลในการแกไ้ ข
ปญั หาความยากจน การส่งผลผลิต จำ�แนกกลมุ่ เป้าหมายเปน็ ๒ ระดับ ระดับ
ศูนย์ศึกษาการพัฒนา โครงการส่วนพระองค์ โครงการตามพระราชประสงค์
โครงการหลวง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ และระดับองค์กรชุมชน
ประชาสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาครัฐ องค์กรทางสังคม
สถาบันวชิ าการ ภาคธุรกิจ
๒. แผนงบประมาณจะจ�ำ แนกเปน็ ๓ ระดบั คอื ระดบั แผนงาน ระดบั โครงการ
และระดับกิจกรรม โดยระดบั แผนงานจะสอดคล้องกบั ผลผลิตท่ีก�ำ หนดไว้
๓. จำ�แนกแผนงานออกเปน็ ๔ แผนงาน คือ
๓.๑ งานจัดการความรู้ ประกอบดว้ ย การรวบรวมองคค์ วามรู้ตาม
แนวพระราชดำ�ริเป็นคลังความรู้ การนำ�องค์ความรู้จากโครงการพระราชดำ�ริ
ไปชว่ ยแกไ้ ขปญั หาใหช้ าวบา้ น การจดั ท�ำ คมู่ อื ขน้ั ตอนการพฒั นาและการบรหิ าร
โครงการ การติดตามประเมินผล เพื่อเป็นตัวอย่างสำ�หรับโครงการขยายผล
ในพื้นที่อื่นๆ การจัดทำ�ความรู้พร้อมใช้ท่ีประชาชนสามารถนำ�ไปปรับใช้กับ
ภูมิสังคมได้ การเชื่อมโยงองค์ความรู้โดยการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง
ชาวบ้าน ผู้นำ�ชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้เช่ียวชาญ การเชื่อมความรู้
จากสถาบันการศึกษาสู่ชุมชน โดยมีความร่วมมือในรูปแบบต่างๆ กับสถาบัน
อดุ มศกึ ษา

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗ 23

มูลนิธิปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

๓.๒ งานส่งเสริมการพัฒนา ประกอบด้วย โครงการส่งเสริมการ
บรู ณาการระดบั พน้ื ที่ และโครงการพฒั นาระบบความรว่ มมอื ภาคเี ครอื ขา่ ยสบื สาน
แนวพระราชด�ำ ริ มงุ่ สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื กบั ภาคพี ฒั นาทกุ ภาคสว่ น ในการแกไ้ ข
ปัญหาความยากจน ฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยต้องนำ�ไปสู่
การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื ตามแนวพระราชด�ำ ริ สนบั สนนุ ใหช้ มุ ชน ทอ้ งถนิ่ รว่ มเปน็ กลไก
ขับเคลื่อนหลัก และเป็นเจ้าของการพัฒนา ท้ังนี้การพัฒนาน้ันต้องสอดคล้อง
กับภูมิสังคมและสามารถวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม ส่งเสริมความร่วมมือ
กบั ภาคพี ัฒนา ทั้งหน่วยงานพ้ืนท่ี หน่วยงานภารกจิ หน่วยงานนโยบาย และ
ท้องถ่ิน ชุมชน องค์กรทางสังคม เพ่ือให้มีโครงการต้นแบบการพัฒนาอย่าง
เหมาะสม และสนับสนุนให้มีโครงการขยายผลในระดับจังหวัด โดยมีแนวทาง
หลักคือ ควรเป็นพื้นท่ีท่ีมีการต่อยอดโครงการท่ีชุมชนได้ดำ�เนินการตามแนว
พระราชดำ�ริอยู่แล้ว หรือชุมชนมีความเข้มแข็งและต้องการดำ�เนินการ
ตามแนวพระราชด�ำ ริ และควรกระจายตวั ตามภูมภิ าคตา่ งๆ ไมซ่ ำ้�พ้ืนทเ่ี ดิม
๓.๓ งานสอ่ื สารและภาคสี มั พนั ธ์ ประกอบดว้ ย โครงการสง่ เสรมิ การ
รับรู้และเข้าใจแนวพระราชดำ�ริของประชาชน สื่อมวลชน ส่งเสริมการส่ือสาร
เพอื่ การรบั รเู้ ขา้ ใจ การปรับทัศนคติ ทั้งในระดบั ส่วนกลาง ระดบั จังหวดั และ
ชุมชน ตลอดจนบทบาทในการเช่ือมโยงสื่อมวลชนเรียนรู้ชนบท นำ�สื่อมวลชน
ลงพื้นท่ีต้นแบบและพื้นที่ขยายผลปิดทองหลังพระฯ การเผยแพร่กิจกรรมของ
มูลนิธปิ ิดทองหลังพระฯ ให้เปน็ ท่รี บั รู้ของสาธารณชน
๓.๔ งานบรหิ ารจดั การส�ำ นกั งาน ประกอบดว้ ย การตดิ ตามสนบั สนนุ
งานฝ่ายต่างๆและงานโครงการอย่างต่อเน่ือง การบริหารการเงิน ควบคมุ ดูแล
คา่ ใชจ้ ่าย จดั ทำ�งบการเงินประจ�ำ ปี การบริหารสำ�นักงาน อ�ำ นวยความสะดวก
ตอ่ การท�ำ งาน การติดตามประเมนิ ผลโดยการพฒั นาระบบสารสนเทศ การจดั
ประชุมคณะกรรมการ และคณะอนกุ รรมการ งานธรุ การต่างๆ คณะกรรมการ
สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
เหน็ ชอบกับการท�ำ ยุทธศาสตรก์ ารดำ�เนินงาน ดงั น้ี

24 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗

มลู นธิ ิปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

วสิ ยั ทศั น์

เป็นองค์กรขบั เคลื่อนการพฒั นาประเทศ โดยขยายผลแนวพระราชดำ�ริใหเ้ กดิ ประโยชน์แก่
ประชาชนอยา่ งกว้างขวาง

กลยุทธ์หลัก

“เชือ่ มโยง และ ร่วมเรยี นร”ู้ (Link & Learn)

ยทุ ธศาสตร์

๑ ๒ ๓ ๔ ๕

สง่ เสรมิ ให้เกิด พฒั นาโครงการ สรา้ งภาคี ส่ือสารกบั ภาคี พฒั นาระบบ
การพัฒนาเชิงพ้ืนท่ี ขยายผล แนวรว่ ม พฒั นาและ บริหารจัดการ
(Extension สาธารณชน
แบบบูรณาการ project) องคก์ ร
(Area based

project)

ประเด็นยทุ ธศาสตร์

๑. สร้างพื้นที่ต้นแบบ ๑. ชุมชนได้ความรู้ท่ี ๑. เพิ่มหน่วยงาน ๑. ใหส้ าธารณชนรับรู้ ๑. พฒั นากระบวนการ
การบรู ณาการเชอ่ื มโยง สามารถน�ำ ไปประยกุ ต์ องค์กรที่จะเป็นแนว ว่าแนวพระราชดำ�ริ หลักเพ่ือรองรับการ
ความรู้มาใช้แก้ปัญหา ใช้ไดเ้ รว็ ร่วมเชิงยทุ ธศาสตร์กบั สามารถแกป้ ญั หาและ ทำ�งานทั้ง ๔ ด้านให้
ไดจ้ รงิ ๒. ชุมชนสามารถ สถาบนั ฯ พัฒนาชีวิตความเป็น รวดเร็ว ถกู ต้อง
๒. มีระบบการบริหาร แบง่ ปัน แลกเปล่ยี น ๒. มีโครงการความ อยู่ไดจ้ ริง ๒. พัฒนาระบบสาร
การพัฒนาโดยความ เรยี นรู้ การแกไ้ ขปญั หา ร่วมมือกับหน่วยงาน ๒. ใหภ้ าครี บั รู้ เขา้ ใจ สนเทศและฐานขอ้ มูล
รว่ มมือหลายฝ่าย และพัฒนารว่ มกับ ภาคี แ ล ะ ข ย า ย ผ ล สู่ ก า ร พัฒนาทักษะบุคลากร
ชมุ ชนอ่นื ปฏิบัตจิ รงิ ในการท�ำ งาน
๓. เกิด อปท.นำ�รอ่ ง
ท่ีมคี วามพร้อมในการ
ขยายผลความสำ�เรจ็

คา่ นิยมร่วม (shared value)

๑) ศรัทธาในแนวพระราชดำ�ริ
๒) เชอื่ ในพลังของการเรียนรู้
๓) ขับเคลื่อนดว้ ยความร่วมมอื ของทอ้ งถน่ิ /ชมุ ชน
๔) ประชาชนต้องได้รับประโยชน์จากการดำ�เนินงานขององค์กร

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗ 25

มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

โครงสรา้ งของสถาบนั

ในการประชุมคณะกรรมการมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๓
วันที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๓ เห็นควรให้แบ่งกลุ่มภารกิจการทำ�งานของสถาบัน
สง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมปดิ ทองหลังพระฯ ออกเป็นดังนี้
• ภารกิจหลัก คอื กลุม่ ภารกจิ จดั การความรู้
กบั กลุ่มภารกิจสง่ เสริมการพฒั นา
• ภารกิจสนับสนุน คอื กล่มุ ภารกจิ ส่ือสารสาธารณะ
กับงานบรหิ ารสำ�นกั งาน
• ส�ำ นักผู้อ�ำ นวยการ ด�ำ เนินงานด้านยุทธศาสตรค์ ู่ขนานไป
กับคณะกรรมการและหรอื อนกุ รรมการ
• สำ�หรับกล่มุ ภารกจิ ภาคเี ครือขา่ ยน้ัน ด้วยเหตุทเ่ี ปน็ งานส�ำ คญั
จึงเหน็ ควรให้กระจายอย่ใู นทุกกลุ่มภารกิจ
ไม่ต้องตงั้ เป็นกลุ่มภารกิจเฉพาะ
ในการประชุมคณะกรรมการมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ครั้งท่ี ๓/๒๕๕๓
วันท่ี ๒ มิถุนายน ๒๕๕๓ เห็นชอบโครงสร้างสถาบันฯ ซ่ึงประกอบด้วย
คณะกรรมการสถาบันฯ คณะที่ปรึกษาด้านองค์ความรู้ ผ้อู ำ�นวยการสถาบันฯ
รองผอู้ �ำ นวยการสถาบนั ฯ ๑ ต�ำ แหนง่ ส�ำ นกั ผอู้ �ำ นวยการ และกลุ่มภารกจิ ๒ กลุ่ม
ไดแ้ ก่ กลุ่มภารกิจทปี่ ระกอบดว้ ยฝา่ ยจดั การความรแู้ ละฝ่ายส่งเสรมิ การพัฒนา
และกลมุ่ ภารกิจที่ ๒ ที่ประกอบด้วยฝ่ายสอ่ื สารสาธารณะ

26 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗

มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

โครงสร้างสถาบนั สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรม
ปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ

กรรมการสถาบนั ฯ

อนุกรรมการบูรณาการ อนุกรรมการธรุ กจิ เพ่ือสงั คม

คณะทีป่ รกึ ษาองคค์ วามรู้ ผูอ้ �ำ นวยการ ทุนเศรษฐกจิ พอเพียง
สำ�นกั ผ้อู �ำ นวยการ รองผูอ้ �ำ นวยการ

ฝา่ ยจัดการความรู้ ฝ่ายส่งเสริมการพัฒนา ฝ่ายส่ือสารสาธารณะ ฝ่ายบริหารสำ�นกั งาน

พน้ื ที่ด�ำ เนนิ การ

พืน้ ทีต่ ้นแบบ พ้ืนที่ตน้ แบบขยายผลความรว่ มมอื

นา่ น • การพัฒนาแบบองค์รวมเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน อุทัยธานี • การพัฒนาคุณภาพชีวิต  ควบคู่กับลดการบุกรุกป่า
และฟนื้ ฟูทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม เพอื่ สรา้ งแนวกนั ชน (Buffer zone) เขตรกั ษาพนั ธสุ์ ตั วป์ า่
ห้วยขาแขง้
• การบริหารจัดการแหล่งน้ำ�อันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ
อดุ รธานี ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ • การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคุณภาพชีวิตของ
(Fully use) เพชรบุรี ชาวบา้ นในพ้นื ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติ

กาฬสินธ์ุ • ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร นำ้ � ท้ั ง ร ะ บ บ โ ด ย ป ร ะ ยุ ก ต์ แ น ว
พระราชดำ�ริ “แก้มลิง” ควบคู่กับการพัฒนาจิตใจคน
รองรับกิจกรรมต่อเนื่องด้านเศรษฐกิจ สังคม และ
ส่งิ แวดลอ้ ม

พนื้ ทีห่ มบู่ า้ นขยายผล

นา่ น เชยี งใหม่ เชยี งราย เลย สิงห์บรุ ี เพชรบรุ ี ตราด ยะลา พิษณุโลก ประจวบคีรขี นั ธ์

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗ 27

มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

๖ สรุปการดำ�เนนิ งานปดิ ทองหลงั พระฯ

มลู นธิ ิปดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ รว่ มกบั หนว่ ยงานภาคี
เช่น ส�ำ นักงานปลดั ส�ำ นกั นายกรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม องค์กรปกครอง
ทอ้ งถิ่น ภาคประชาคม ภาคธุรกจิ เอกชน สถาบนั การศึกษา และสอ่ื มวลชน ใน
การน้อมนำ�แนวพระราชดำ�ริแปรสู่การปฏิบัติ เพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน ในพ้ืนท่ี
ตน้ แบบปดิ ทองหลังพระฯ ๕ จังหวดั

28 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗

มูลนธิ ิปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

การดำ�เนินงานในปี ๒๕๕๗ อนั เป็นปที ่ี ๕ นบั แตม่ ลู นธิ ิปดิ ทองหลังพระฯ
เรมิ่ ด�ำ เนนิ งานพฒั นาเปน็ ตน้ มา มคี วามตอ่ เนอ่ื งและกา้ วหนา้ เปน็ อนั มาก สามารถ
สรา้ ง “ความอยรู่ อด” ใหก้ บั ประชาชนในพนื้ ทเ่ี ปา้ หมายไดอ้ ยา่ งชดั เจน บางพนื้ ท่ี
ก้าวพ้นจากความยากลำ�บาก เข้าสู่ “ความพอเพยี ง” และ “ความย่งั ยนื ” ดว้ ย
การมีอาหารเพียงพอ สามารถสร้างรายได้เสริมและพัฒนาไปสู่การสร้างรายได้
อื่นๆ ลดหน้ีได้ มีเงินออม มีผลผลิตที่สร้างรายได้ให้เพ่ิมข้ึนอย่างสมำ่�เสมอ
และเกิดกระบวนการมีสว่ นร่วมจากประชาชนในพืน้ ท่ี ปรากฏผลการด�ำ เนนิ งาน
ในแต่ละพื้นที่ ดังนี้

โครงการพฒั นาพนื้ ท่ีต้นแบบบรู ณาการแกไ้ ขปัญหาและพฒั นาพ้ืนท่ี
จังหวดั น่าน

การด�ำ เนนิ โครงการพฒั นาพน้ื ทต่ี น้ แบบบรู ณาการแกไ้ ขปญั หาและพฒั นา
พ้นื ท่จี ังหวดั น่าน ซ่งึ มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำ�ริ ปฏบิ ัตกิ าร
ในพ้ืนที่มากว่า ๕ ปี นับตั้งแต่เดือนมิถุนายน ๒๕๕๒ ปรากฏผลการพัฒนา
ท่ีท�ำ ให้ชาวบ้านในพน้ื ที่ตน้ แบบ ๒๑ หมบู่ า้ น ๓ อ�ำ เภอ พ้นจากระยะ “อยรู่ อด”
“พอเพียง” และกำ�ลังก้าวเข้าสู่ “ความยั่งยืน” และจังหวัดน่านได้กำ�หนด
เป็นนโยบายที่จะขยายผลการดำ�เนินงานตามแนวทางของปิดทองหลังพระฯ
ออกไปอย่างกว้างขวางทั่วทั้งจังหวัด โดยมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ถ่ายทอด
ความร้ใู นกระบวนการเขา้ ใจ เข้าถงึ แก่ทมี ปฏบิ ัตงิ านระดบั จงั หวดั และอ�ำ เภอ

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗ 29

มลู นิธิปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

ผลการดำ�เนินงานปี ๒๕๕๗

คณะกรรมการสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ
มีการอนุมตั แิ ผนปฏบิ ตั กิ ารและงบประมาณดำ�เนินการปี ๒๕๕๗ ในกรอบวงเงนิ
๗,๘๒๗,๑๘๙ บาท ผลการด�ำ เนนิ งาน มกี ารใชง้ บประมาณรวมทง้ั สนิ้ ๕,๐๑๘,๘๐๕
บาท จำ�แนกเป็นการพฒั นาในมิติต่างๆ ไดด้ งั น้ี

มติ ิน้ำ�

เปา้ หมายพนื้ ทร่ี บั น�้ำ ๑,๑๗๐ ไร่ ผรู้ บั ประโยชน์ ๒๑๔ ราย ใน ๑๐ หมบู่ า้ น
๓ อำ�เภอ ใช้งบประมาณ ๒,๒๒๘,๔๗๙ บาท เปน็ การพฒั นาในพนื้ ท่ตี น้ แบบเดิม
วงเงิน ๗๐๓,๔๕๙ บาท ประกอบดว้ ย การสร้างฝายเกษตร ๙ ตวั ซอ่ มแซม
ฝายเดมิ ๑ ตัว บ่อพวงสันเขาพร้อมระบบกาลกั น้�ำ ๘ บ่อ ทำ�ระบบสง่ น�ำ้ รวม
ระยะทาง ๓,๕๑๐ เมตร ซ่อมแซมระบบเก็บกกั น�ำ้ (บ่อพวงและถังเก็บน้ำ�) และ
ทอ่ ส่งนำ้� ๒ หมบู่ า้ น ระยะทาง ๒๐๐ เมตร การพฒั นาระบบน�้ำ สามารถดำ�เนิน
การไดค้ รบตามเปา้ หมายพนื้ ทรี่ บั น�ำ้ ๑,๑๗๐ ไร่ เมอื่ รวมกบั การด�ำ เนนิ งานตง้ั แต่
ปี ๒๕๕๒ ทำ�ใหม้ พี ืน้ ท่ีรบั น้ำ�รวม ๑๐,๒๘๒ ไร่ ครอบคลุมพน้ื ที่เปา้ หมายท้ังหมด
ใน ๓ อ�ำ เภอ คดิ เป็นร้อยละ ๒๔.๖ ของพ้ืนทีท่ ำ�กิน

30 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗

มลู นธิ ิปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาระบบนำ้�ในพื้นท่ีบ้านก่ิวจันทร์ และบ้าน
บวกหญ้า ตำ�บลขุนน่าน อำ�เภอเฉลิมพระเกียรติ ท่ีเพ่ิงเข้าร่วมโครงการใน
ปี ๒๕๕๗ ด้วยงบประมาณรวม ๑,๕๒๕,๐๒๐ บาท ประกอบด้วย ระบบน้ำ�
สร้างฝายเกษตรรวม ๑๒ ตัว บอ่ พวงสนั เขา ๑๑ บ่อและทอ่ ส่งน้ำ� ๑๕,๙๒๐ เมตร
ยังไมเ่ สร็จสมบรู ณ์ดี


มิตดิ ิน

ขดุ นาใหม่ ๒๐ ไร่ ตามความตอ้ งการของเจา้ ของแปลง ๑๐ ราย ใน ๕
หมบู่ า้ น ๒ อ�ำ เภอ ซงึ่ ลงทนุ คา่ น�ำ้ มนั รถขดุ รวมทงั้ แรงงานเอง สถานพี ฒั นาทด่ี นิ
สนับสนุนสารปรับปรุงดินโดโลไมท์ และปรับปรุงดินนาขุดใหม่โดยใช้โดโลไมท์
หวา่ นเมลด็ ปอเทอื ง และปยุ๋ อินทรียช์ ีวภาพ ใช้งบประมาณรวม ๒๒,๒๔๖ บาท
(เปน็ คา่ ขนสง่ และคา่ อาหาร) เมอ่ื รวมกบั ผลการด�ำ เนนิ งานทผี่ า่ นมา ท�ำ ใหม้ พี น้ื ที่
ขดุ นาทั้งหมด ๔,๓๒๙ ไร่

มติ ิเกษตร

ใช้งบประมาณดำ�เนินการรวม ๖๗๒,๔๙๖.๕๐ บาท เป็นการส่งเสริม
การปลกู พืชหลังนาและพืชผักสวนครวั ในพื้นท่ี ๕๗ ไร่ ๘๗ ตารางวา ครอบคลุม
๒๐ หมู่บา้ นใน ๓ อ�ำ เภอ ดว้ ยงบประมาณ ๑๑๒,๕๓๑.๕๐ บาท มีเกษตรกร
เขา้ ร่วม ๑๐๑ ราย พืชส่งเสรมิ ๓ ชนิด ไดแ้ ก่ พรกิ ซุปเปอรฮ์ อท ตะไคร้ ข่าขาว
ที่มีตลาดรองรับ โดยมูลนิธิฯ สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ และวัสดุอุปกรณ์ เช่น
ถาดหลมุ วสั ดเุ พาะ อุปกรณ์ระบบน้�ำ ปยุ๋ และสารชวี ภณั ฑ์ รวมทั้งปรับปรุงแปลง
เกษตรกรตน้ แบบ สามารถสร้างรายไดใ้ ห้กบั เกษตรกร ๓๔๔,๙๗๓ บาท เฉล่ีย
รายละ ๓,๔๑๕ บาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓.๗ ของรายไดเ้ ฉลย่ี /ครวั เรอื นในพน้ื ทต่ี น้ แบบ

พน้ื ท่ี พรกิ ซปุ เปอร์ฮอท ข่าขาว ตะไคร้
ผลผลิต
สองแคว พ้นื ทป่ี ลกู ผปู้ ลกู ผลผลิต รายได้ พ้นื ที่ปลูก ผู้ปลูก ผลผลติ พ้ืนท่ปี ลกู ผปู้ ลูก (กก.) รายได้
ท่าวงั ผา (ไร)่ (ราย) (กก.) (บาท) (ไร่) (ราย) (กก.) (ไร่) (ราย) ๕๐๔ (บาท)
เฉลิมพระเกียรติ ๒,๐๑๖
๒๑-๑-๑๕ ๒๕ ๘,๓๕๓ ๓๒๕,๔๐๓ ๗ ๘ ๑๐ ๑๙ -
- -
๕ ๑๑ - - - - - -- -
๕๐๔
๓-๐-๒๕ ๙ ๗๐๐ ๑๗,๕๕๔ - - - ๓-๓-๔๗ ๒๙ ๒,๐๑๖

รวม ๒๙-๑-๔๐ ๔๕ ๙,๐๕๓ ๓๔๒,๙๕๗ ๗ ๘ ๑๓-๓-๔๗ ๔๘
รวมพืน้ ทสี่ ่งเสริม ๕๗-๐-๘๗ ไร่ สร้างรายได้ ๓๔๔,๙๗๓ บาท

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗ 31

มูลนธิ ิปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

สง่ เสรมิ แปลงเพาะอ�ำ เภอปวั ใหเ้ ปน็ ศนู ยเ์ รยี นรดู้ า้ นเกษตรและแปลงสาธติ
ใช้งบประมาณด�ำ เนนิ การรวม ๕๕๑,๑๐๔ บาท มพี ืชสง่ เสรมิ จำ�นวน ๕๑ ชนิด
ผลผลิตรวม ๑๒,๗๓๖ กิโลกรมั จัดการผลผลิตดว้ ยการน�ำ ไปขายในพื้นที่ ส่งขาย
ให้โครงการปิดทองหลังพระฯ เก็บไว้บริโภคและแจกจ่าย สร้างรายได้รวม
๑๘๖,๙๓๑ บาท
ผลการดำ�เนินงานกองทุนต่างๆ ใช้งบประมาณในการติดตามกองทุน
ตา่ งๆ ๘,๘๖๑ บาท มกี องทนุ ดา้ นการผลติ ทชี่ าวบา้ นบรหิ ารจดั การเอง ๑๐ กองทนุ
ไดแ้ ก่ กองทุนกลุม่ ผใู้ ชน้ ้ำ� กองทนุ ปุย๋ กองทนุ เมลด็ พนั ธพ์ุ ชื กองทนุ อาหารสัตว์
กองทุนยาและเวชภัณฑ์สตั ว์ กองทนุ แปรรปู มะแขวน่ กองทุนโรงสีขา้ ว กองทนุ
สกุ ร และกองทุนเครอ่ื งบดขา้ วโพด มเี งินในกองทนุ ณ เดือนกนั ยายน ๒๕๕๗
รวม ๑,๘๓๖,๕๔๒ บาท

กองทนุ อำ�เภอทา่ วงั ผา อ�ำ เภอสองแคว อำ�เภอเฉลิมพระเกยี รติ
กองทนุ ป๋ยุ ๓๕,๕๖๑ ๕๖๔,๙๑๘ ๔๒,๑๙๕
กองทนุ เมล็ดพนั ธ์ุ ๙๖๐,๗๕๐ x
กองทนุ อาหารสัตว์ ๘,๒๕๐ ๙,๓๖๔ x
กองทนุ ยาและเวชภณั ฑ์สัตว์ ๖,๔๐๐ ๒,๗๘๕ x
กองทนุ แปรรปู น�ำ้ พริกมะแขว่น x ๑๑๔,๔๗๖ x
กองทนุ โรงสีขา้ ว ๒๐,๘๒๘ ๓,๐๐๐ ๑๙,๕๐๐
กองทุนสุกร ๑๑,๖๒๕ ๙,๑๗๖ x
กองทนุ เครอ่ื งบดข้าวโพด x ๑๒,๕๐๐
x
กองทนุ กลมุ่ ผู้ใชน้ ำ้� ๒๑๔ ก�ำ ลงั ด�ำ เนนิ การ x
ยงั ไมม่ เี งนิ ในกองทนุ
กองทนุ แหย่ง ๑๕,๐๐๐ x
รวมเป็นเงนิ ๑,๐๕๘,๖๒๘ x ๗๔,๑๙๕
๗๐๓,๗๑๙

32 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗

มูลนธิ ิปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

การสนบั สนุนองคค์ วามรใู้ ห้พ้ืนท่ีขยายผลในจังหวัด รวม ๑๑๒ หม่บู า้ น
ดังนี้
- โครงการต่อยอดการพัฒนาแก้ปัญหาชุมชนกับจังหวัด คณะสงฆ์
องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ อทุ ยานแห่งชาติ หนว่ ยจัดการตน้ น�ำ้ ป่าไม้ จังหวัด
นา่ น ในยทุ ธศาสตรจ์ งั หวดั “สรา้ งเมอื งนา่ นนา่ อยู่ คปู่ า่ ตน้ น�ำ้ ” ราษฎร-์ รฐั -เอกชน
๓ ประสานการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริ พน้ื ท่ีเป้าหมาย ๓๖ หม่บู า้ น จดั ท�ำ
แผนพัฒนาและด�ำ เนินงานแล้ว ๕ หม่บู า้ น อยรู่ ะหว่างการท�ำ กระบวนการเข้าใจ
เข้าถงึ ๓๑ หมูบ่ ้าน ใชง้ บประมาณรวม ๑,๗๗๕,๒๐๐ บาท
- โครงการขยายแนวคดิ ปดิ ทองหลงั พระฯ โดยภาคประชาคมนา่ นฯ ๑๒
โครงการ เป้าหมาย ๓๖ หม่บู ้าน จ�ำ นวนเงนิ ๑๘,๐๐๐,๐๐๐ บาท มีงบประมาณ
เหลอื นำ�มาด�ำ เนินงานเพ่ิมอกี ๑๘ หมูบ่ า้ น รวมทง้ั หมด ๕๔ หมบู่ ้าน กำ�ลงั ทำ�
กระบวนการเข้าใจ เข้าถงึ ๑๐ หมู่บา้ น ใชง้ บประมาณรวม ๘,๙๗๓,๓๓๖ บาท
- วาระนา่ น “สรา้ งเมอื งนา่ นนา่ อยคู่ ปู่ า่ ตน้ น�ำ้ ภายใตโ้ ครงการ ๑ อ�ำ เภอ
๑ ลมุ่ นำ�้ ๑ ธนาคารต้นไม”้ เปา้ หมาย ๓๕ หมบู่ า้ น รว่ มจดั ทำ�กระบวนการเข้าใจ
เข้าถึง จัดทำ�แผนพัฒนาและดำ�เนินงานแล้ว ๓ หมู่บ้าน รอดำ�เนินการ ๓๒
หม่บู า้ น

ความรว่ มมือกบั ภาคี และภาคสว่ นตา่ งๆ

- ความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานราชการ เชน่ สถานพี ฒั นาทด่ี นิ จงั หวดั นา่ น
สนบั สนนุ เมลด็ พนั ธปุ์ อเทอื ง และโดโลไมท์ ปรบั ปรงุ ดนิ ส�ำ นกั งานปศสุ ตั วจ์ งั หวดั
สนับสนุนวัคซีนสัตว์ สำ�นักงานพลังงานจังหวัด สนับสนุนองค์ความรู้การทำ�
บ่อแก๊สชีวภาพ โครงการสถานีพัฒนาการเกษตรท่ีสูงตามพระราชดำ�ริฯ บ้าน
สบขนุ่ อ�ำ เภอทา่ วงั ผา รว่ มพฒั นาระบบน�้ำ สถานพี ฒั นาเกษตรทสี่ งู ตามพระราช
ดำ�ริฯ บ้านสะจุก-สะเกี้ยง อำ�เภอเฉลิมพระเกียรติ ส่งเสริมองค์ความรู้การ
ปลกู พชื หลงั นาใหช้ าวบา้ นในพน้ื ทโ่ี ซนบา้ นบน ต�ำ บลขนุ นา่ น หนว่ ยจดั การตน้ น�ำ้
มีด หน่วยจัดการต้นนำ้�แก่น หน่วยจัดการต้นนำ้�สามสบ ร่วมถ่ายทอดองค์
ความรู้การสำ�รวจพ้ืนที่รับน้ำ� ในพ้ืนท่ีขยายผล และหน่วยป้องกันรักษาป่า
กรมป่าไม้ สนับสนุนข้อมูลด้านป่าไม้ และแผนที่มาตราส่วน ๑:๔,๐๐๐ และ
ระบบฐานขอ้ มลู GIS
- ความร่วมมือกับภาคธุรกิจเพ่ือสังคม ในปี ๒๕๕๗ มีหน่วยงาน
ภาคธรุ กจิ เอกชน ๓ หนว่ ยงานใหค้ วามสนใจกจิ กรรมการพฒั นาและรว่ มตอ่ ยอด
ระบบนำ้�ที่โครงการฯ ส่งเสริมพัฒนาแล้วในพื้นที่ รวมมูลค่าการสนับสนุน
๒๗๙,๗๖๐ บาท เช่น สโมสรโรตารี สนับสนุนพริกซุปเปอร์ฮอท เป็ดพันธ์ุไข่

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗ 33

มลู นิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

๑๖๐ ตัว และอาหารเป็ด โครงการธรรมชาติปลอดภัย สนับสนุนเป็ดเทศ
๒๐๐ ตัว และสมาคมการคา้ เมลด็ พันธ์แุ ห่งประเทศไทย สนบั สนุนเมลด็ พนั ธุพ์ ชื
ผัก ๑๗ ชนดิ
ผลจากความร่วมมือกับภาคีต่างๆ ทำ�ให้มีการส่งเสริมความรู้ ความ
ชำ�นาญ และทักษะใหม่ๆ ให้เกษตรกรในพ้ืนที่และหน่วยงานราชการ เพื่อนำ�
ความรใู้ หมไ่ ปประยกุ ต์ใชใ้ นการเพ่ิมผลผลติ ดังนี้
- ความรู้ในการปลูกข้าวโพดหลังนา ท่ีเน้นการปรับสูตรปุ๋ย ช่วงเวลา
การให้ปุ๋ย และระยะห่างในการหยอดเมล็ด ทำ�ให้ใช้พ้ืนท่ีน้อยแต่ได้ผลผลิตสูง
คอื ไมต่ �ำ่ ๑,๕๐๐-๑,๙๐๐ กโิ ลกรมั /ไร่ ซง่ึ วธิ เี ดมิ ทชี่ าวบา้ นปลกู จะได้ ๗๖๐ กโิ ลกรมั /
ไร่ ประหยัดตน้ ทนุ กวา่ ปลกู บนพื้นที่ไร่ และเปน็ ข้าวโพดปลอดสารพษิ ไมท่ �ำ ลาย
สุขภาพและรักษาระบบนิเวศลดการถางไร่
- ความรใู้ นการปลกู ขา้ วตน้ เดยี วเปน็ องคค์ วามรใู้ หมท่ ไ่ี ดร้ บั จากอาจารย์
เชาวว์ ศั หนทู อง จดุ เดน่ คอื ลดตน้ ทนุ การผลติ เพราะพนั ธข์ุ า้ ว ๑ เมลด็ สามารถ
แตกกอได้ ๑๙-๒๑ ตน้ จากปกติประมาณ ๑๒ ตน้ ท�ำ ให้ ๑ ไรใ่ ช้เมลด็ พนั ธุ์
เพยี ง ๓๐๐ กรัม จากปกตทิ ี่ตอ้ งใช้ถึง ๑๐ กโิ ลกรมั และใช้ปุ๋ยอินทรยี ท์ ี่ชาวบา้ น
หาได้ในทอ้ งถ่นิ
- ความรใู้ นการปลกู ขา้ วก�่ำ พนั ธลุ์ มื ผวั เปน็ พนั ธขุ์ า้ วทตี่ ลาดตอ้ งการและ
ราคาดี สามารถสง่ ออกตลาดตา่ งประเทศได้ โดยพ่อค้า คือ นายมงคล ศรยี งค์
น�ำ พนั ธม์ุ าใหช้ าวบา้ นทดลองปลกู เพราะเหมาะกบั สภาพภมู ปิ ระเทศในพนื้ ทนี่ า่ น
ซึง่ ปลูกไดด้ บี นพ้นื ท่ไี ร่

34 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗

มูลนธิ ปิ ิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

- ความรใู้ นการคดั เมล็ดพันธขุ์ า้ ว ในพ้ืนท่ตี ้นแบบ ๒ อ�ำ เภอ (สองแคว
และทา่ วงั ผา) จากศูนย์การเรยี นรู้โจโ้ ก้ ใช้งบประมาณ ๑๒,๘๐๘ บาท
- ความรใู้ นการปลูกพรกิ ซุปเปอร์ฮอท ซ่ึงมอี งคค์ วามรูด้ ้านวิธีการปลกู
และการบริหารจัดการให้เชื่อมโยงกับตลาด โดยพ่อค้าจากภายนอกเข้ามาดูแล
คุณภาพผลผลิต ต้ังแต่การจัดหาเมล็ดพันธุ์ การเตรียมวัสดุเพาะ การปลูก
การดแู ลรักษาระหวา่ งพรกิ เจริญเติบโต และการรบั ซ้ือไปสง่ ตลาด
- ความรู้ในการทำ�บ่อพวง โดยใช้สารโพลีเมอร์มาเป็นส่วนผสมกับปูน
และดนิ เพอ่ื ฉาบผวิ บอ่ เพมิ่ ความยดื หยนุ่ และยดึ เกาะเมด็ ดนิ เปน็ นวตั กรรมใหม่
จากบรษิ ทั Keen contractor นำ�มาทดแทนการใชผ้ ้าพลาสตกิ ปบู อ่ อยู่ระหวา่ ง
การทดลองท่บี ้านห้วยธนู อำ�เภอท่าวังผา
- จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครูภูมิปัญญาด้านการจัดการนำ้�ชุมชน
ตามแนวพระราชดำ�ริ และจัดการอบรมนักพัฒนาภาคสนามให้เจ้าหน้าที่
โครงการฯ ในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ
- การบูรณาการแผนงบประมาณกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ใช้งบประมาณ ๙๐,๙๖๕ บาท ในการจัดประชุมร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่น
และประชุมทำ�ความเขา้ ใจกับชาวบา้ นในพน้ื ท่ีตน้ แบบ ๓ อำ�เภอ ผลปรากฏว่า
อบต.ขุนน่าน นำ�โครงการก่อสร้างน้ำ�อุปโภคบ้านก่ิวจันทร์ บรรจุในแผนงบ
ประมาณปี ๒๕๕๘ งบประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ บาท เทศบาลตำ�บลยอด อำ�เภอ
สองแคว น�ำ ปญั หาและความตอ้ งการของชาวบา้ นยอด บา้ นผาหลกั บา้ นน�ำ้ เกาะ
บรรจุอยู่ในแผนพัฒนาตำ�บลยอด ประจำ�ปี ๒๕๕๗-๒๕๕๙ โดยกิจกรรมท่ี
ด�ำ เนนิ การแล้วในปี ๒๕๕๗ จำ�นวน ๔ โครงการ งบประมาณ ๔๙๗,๔๐๐ บาท
คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒.๘๒ ของยอดประมาณการงบประมาณเทศบาล ในปี ๒๕๕๗
(งบประมาณรวมทง้ั หมด ๑๗,๖๕๐,๐๐๐ บาท) ดังน้ี

ท่ี โครงการ หมทู่ ี่ งบประมาณ (บาท)

๑ โครงการก่อสรา้ งดาดล�ำ เหมอื งคอนกรีต คสล. เส้นกลางสดุ เหมือง ๑ ๒๔๔,๔๐๐
(เหมอื งลอย) (บา้ นน�้ำ เกาะ)

๒ โครงการกอ่ สรา้ งฝาย คสล. น�ำ้ บอนเพอ่ื การอปุ โภคบริโภค (บ้านผาหลกั ) ๓ ๑๕๓,๐๐๐

๓ โครงการกอ่ สรา้ งร้านค้าชมุ ชนต�ำ บลยอด (บ้านผาหลัก) ๓ ๙๕,๐๐๐

๔ สนบั สนุน หิน ทราย ในการซ่อมแซมคลองสง่ น�ำ้ หว้ ยยอด จำ�นวน ๕ ควิ (บา้ นยอด) ๒ ๕,๐๐๐

รวม ๔๙๗,๔๐๐

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗ 35

มลู นธิ ิปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

- ความสามารถในการเชอื่ มโยงเครือข่าย
บ้านผาหลัก ตำ�บลยอด อำ�เภอสองแคว สามารถเช่ือมโยงการทำ�งาน
กับสำ�นักงานกองทุนสนบั สนนุ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) ได้รับงบประมาณ
ในการดำ�เนินงาน โครงการรว่ มสร้างชมุ ชนใหน้ ่าอยู่ เกษตรอินทรีย์บ้านผาหลัก
จำ�นวน ๑๓๔,๐๐๐ บาท โดยมีโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพต�ำ บล เปน็ หนว่ ยงาน
สนบั สนุนองค์ความรกู้ ารทำ�กิจกรรม
- การพัฒนาด้านคุณธรรมและจรยิ ธรรม ใชง้ บประมาณรวม ๘๔,๐๖๔
บาท จัดทำ�โครงการพระธรรมจาริกเพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนา สร้างศรัทธา
และให้ความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนในเรื่องความซ่ือสัตย์ การพึ่งตนเอง
ความขยัน รักธรรมชาติ โดยอาศัยพระธรรมจาริกและพระสงฆ์ที่จำ�พรรษา
ในพื้นที่ ครอบคลุม ๖ หมู่บ้านในตำ�บลขุนน่านที่มีอาศรมพระธรรมจาริก คือ
บ้านเปียงกอ่ บ้านห้วยฟอง บา้ นน�้ำ ช้าง บ้านเปยี งซอ้ บ้านกิ่วจนั ทร์ และบ้าน
น้�ำ รี สว่ นพ้นื ที่อ�ำ เภอท่าวังผาและอำ�เภอสองแควมกี ิจกรรมทกุ วนั พระอยู่แลว้

ทศิ ทางการด�ำ เนินงาน ปี ๒๕๕๘

เน้นส่งเสริมองค์ความรู้ และเชื่อมโยงด้านการตลาด เพ่ือต่อยอดจาก
การพฒั นาระบบน�ำ้ ปี ๒๕๕๒ โดยมแี นวทาง คอื จดั ท�ำ เปน็ ศนู ยเ์ รยี นรแู้ ลกเปลย่ี น
เน่ืองจากทผี่ า่ นมา มีคณะมาเย่ยี มชมพื้นทีด่ ำ�เนินการโครงการฯ รวม ๖๑ คณะ
จ�ำ นวน ๓,๐๕๙ คน เฉลย่ี เดอื นละ ๖ คณะ รวมทงั้ เปน็ ศนู ยถ์ า่ ยทอดประสบการณ์
ให้นักศึกษาฝึกงานจากมหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปางศึกษา เรียนรู้งานด้าน
การพัฒนาชมุ ชน
ด้านการพฒั นา ในมติ เิ กษตร จะส่งเสริมองค์ความร้เู พ่ือเพิ่มผลผลติ ข้าว
โดยมเี ปา้ หมายไม่ตำ่�กว่า ๗๐๐ กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ในพ้นื ทอ่ี �ำ เภอทา่ วังผา และอ�ำ เภอ
สองแคว และไม่ตำ่�กว่า ๕๐๐ กิโลกรัมต่อไร่ ในพื้นที่ตำ�บลขุนน่าน ส่งเสริม
การปลกู พชื หลงั นา พืชเศรษฐกิจ ด้วยวธิ ีการผลติ ทีป่ ลอดสารพษิ เพ่ือลดตน้ ทุน
การผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต โดยชาวบ้านเป็นผู้ลงทุนและโครงการฯ
จดั หาตลาด พชื ทสี่ ง่ เสริมจำ�นวน ได้แก่ พริก ทบั ทมิ พรกิ ไทย ขา้ วโพดฝักอ่อน
กระเจ๊ียบแดง และถวั่ ฝกั ยาว เป็นตน้ ซ่งึ เป็นพชื ทม่ี ตี ลาดรองรบั แล้ว และเพิ่ม
มูลค่าผลผลิตทางการเกษตรให้ตรงกับความต้องการของตลาด เช่น ข้าวกำ่�
พันธล์ุ ืมผวั พริกซปุ เปอร์ฮอท เพ่อื เพ่มิ รายไดใ้ ห้เกษตรกรในพนื้ ท่ตี ้นแบบ โดย
เนน้ ตลาดกลมุ่ สนิ คา้ สขุ ภาพระดบั จงั หวัดและระดบั ประเทศ
มิติพลังงานและสิ่งแวดล้อม จะมีการริเริ่มพัฒนามิติพลังงาน ได้แก่
บอ่ แกส๊ ชีวภาพ และพลงั งานแสงอาทติ ย์ และสง่ เสริมการพฒั นามิติสิง่ แวดลอ้ ม
เชน่ การจดั การขยะชุมชน

36 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗

มูลนธิ ปิ ิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

นอกจากนี้ ยังจะมีการส่งเสริมให้มีแหล่งรวบรวมและกระจายผลผลิต
ทางการเกษตร ทั้งระดับชมุ ชนและระดับจังหวัด เพือ่ ให้มีสินค้าทางการเกษตร
ส่งถึงตลาดและผู้บริโภค โดยมีเป้าหมายมีผลผลิตส่งวันละ ๑ คันรถปิกอัพ
ส่งเสริมการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร และการทำ�วิสาหกิจชุมชน
ท่ีชาวบ้านมีส่วนร่วมถือหุ้นบริหารจัดการเอง ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
ในพ้ืนท่ีที่มีศักยภาพ เช่น ตำ�บลขุนน่าน ส่งเสริมการพัฒนาคนและจิตใจของ
คนในชมุ ชน พัฒนาความเขม้ แขง็ ของกองทุนต่างๆ ในชุมชน ใหม้ กี ารบรหิ าร
จดั การท่ีโปรง่ ใส ทว่ั ถึงและเป็นธรรม มกี ิจกรรมอยา่ งต่อเนอ่ื ง จัดท�ำ ระบบขอ้ มลู
ผู้รับประโยชน์รายแปลง และการสำ�รวจข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม
เพอ่ื เปรยี บเทยี บผลการเปลยี่ นแปลงจากการพฒั นา และขบั เคลอ่ื นงานพน้ื ทขี่ ยาย
ผลโครงการขยายแนวคิดปิดทองหลงั พระฯ โดยภาคประชาคม จงั หวัดนา่ น
ในปี ๒๕๕๗ จังหวัดน่าน ยังมีการประชุมหารือทุกภาคส่วนในพื้นท่ี
และจดั ท�ำ แผนซอ่ มแซม ปรบั ปรงุ เสรมิ ฝาย อา่ งเกบ็ น�้ำ ตามยทุ ธศาสตรข์ บั เคลอ่ื น
การพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในภาคการเกษตรและชนบท โดย
การประชมุ ทมี ปฏบิ ตั ิการระดบั อ�ำ เภอ เม่อื วนั อังคารที่ ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗
ประกอบด้วย นายอำ�เภอ ปลัดอำ�เภอผู้รับผิดชอบ ช่างองค์กรปกครองส่วน

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗ 37

มลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

ท้องถ่ิน ครูภูมิปัญญา (แก่เหมืองแก่ฝาย) เจ้าหน้าที่โครงการชลประทาน
จังหวัดน่าน มูลนิธิฮักเมืองน่าน เครือข่ายคนน่านจัดการตนเอง มูลนิธิแม่ฟ้า
หลวงฯ มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระฯ เพอื่ นำ�เสนอผลการสำ�รวจสภาพปัญหาของฝาย
อ่างเก็บนำ้� คลองส่งนำ้� และการส่งนำ้�ด้วยระบบท่อ เพ่ือให้ที่ประชุมพิจารณา
กลน่ั กรองแนวทางการซอ่ มแซมหรอื ปรับปรุง รวมทง้ั การจดั ล�ำ ดบั ความเรง่ ดว่ น
ของโครงการท่ีจะซ่อมแซมหรอื ปรบั ปรงุ
ทงั้ น้ี จงั หวดั นา่ นไดข้ ออนมุ ตั ใิ นหลกั การใหก้ ระทรวงมหาดไทยสนบั สนนุ
งบประมาณคา่ วสั ดุ อปุ กรณใ์ นการซอ่ มแซม ปรบั ปรงุ เสรมิ ฝาย อ่างเก็บน�้ำ และ
การสง่ น�ำ้ ดว้ ยระบบทอ่ ซงึ่ กระทรวงมหาดไทยน�ำ เสนอรายละเอยี ดในการประชมุ
คณะกรรมการสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ครั้งท่ี
๕/๒๕๕๗ เมือ่ วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ซ่ึงทป่ี ระชมุ มมี ตอิ นุมัตโิ ครงการ
ซ่อมแซม ปรับปรงุ เสริมฝาย อ่างเกบ็ น้ำ� การส่งน้�ำ ดว้ ยระบบท่อในจังหวัดนา่ น
ตามยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภาค
การเกษตรและชนบท ตามที่กระทรวงมหาดไทยเสนอ สำ�หรับดำ�เนินโครงการ
ที่มีความพร้อมและสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ในวงเงิน ๒๐๐ ล้านบาท ขณะท่ี
สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ
จะสนับสนุนงบประมาณ เป็นคา่ วัสดุ อุปกรณ์การซ่อมแซม ปรบั ปรงุ เสริมฝาย
อ่างเกบ็ นำ้� และการสง่ น�้ำ ดว้ ยระบบทอ่ ท้ังน้ี จงั หวดั น่านไดพ้ จิ ารณากลัน่ กรอง
โครงการท่ีประชาชนในพื้นท่ีจัดทำ�บนพ้ืนฐานของการ “ร่วมคิด ร่วมวางแผน
ร่วมลงมือปฏิบัติ” โดยโครงการที่ได้รับการอนุมัติ จังหวัดน่านจะดำ�เนินการให้
แลว้ เสร็จ ภายใน ๑๒๐ วัน (เดือนธันวาคม ๒๕๕๗ - มนี าคม ๒๕๕๘)

38 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗

มูลนธิ ปิ ิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

โครงการบริหารจัดการน้�ำ อยา่ งยงั่ ยนื อ่างเก็บน�ำ้ หว้ ยคล้าย
อนั เนื่องมาจากพระราชดำ�ริ จงั หวดั อดุ รธานี

โครงการบรหิ ารจดั การน�ำ้ อยา่ งยง่ั ยนื อา่ งเกบ็ น�ำ้ หว้ ยคลา้ ยอนั เนอ่ื งมาจาก
พระราชดำ�ริ บ้านโคกล่ามและบ้านแสงอร่าม ตำ�บลกุดหมากไฟ อำ�เภอ
หนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี เร่ิมดำ�เนินการเม่ือปี ๒๕๕๔ จนถึงปัจจุบัน
มคี รวั เรือนท่เี ขา้ ร่วมโครงการรวม ๒๓๘ ครวั เรือน เพ่มิ ขน้ึ จากปี ๒๕๕๖ จำ�นวน
๔๐ ครวั เรือน

ผลการด�ำ เนินงาน ปี ๒๕๕๗

มติ นิ �้ำ

ในช่วง ๒ ปีแรก ปิดทองหลังพระฯ เข้ามาดำ�เนินการพัฒนาระบบน้ำ�
ดว้ ยการเสรมิ Spillway ท�ำ ให้เพม่ิ ความจกุ กั เกบ็ น้�ำ ของอา่ งห้วยคลา้ ยฯ จากเดมิ
๖๙๒,๕๐๐ ลกู บาศก์เมตร เปน็ ๗๒๒,๕๐๐ ลกู บาศก์เมตร และวางแนวท่อสง่ น�ำ้
จากอ่างเก็บน้ำ�หว้ ยคลา้ ยฯ เขา้ สู่พนื้ ท่รี ับน�้ำ ๑,๒๙๗ ไร่ ๑๓๙ แปลง ๑๒๙ ราย
ความยาวท่อส่งน้ำ�รวม ๖,๒๙๐ เมตร รวมทั้งมีการบูรณาการร่วมกับองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี สนับสนุนเครื่องจักร องค์การบริหารส่วนตำ�บลกุด
หมากไฟสนับสนุนค่าน้ำ�มันในการขุดลอกและทำ�คันคู ทำ�ให้บ่อพวง ๓ บ่อ
จุนำ้�ได้ ๑๐๐,๐๐๐ ลบ.ม. จากทก่ี อ่ นหน้านี้ใชง้ านไม่ได้ เนื่องจากพื้นนำ้�ต่�ำ กว่า
ระดบั แปลงนาของชาวบ้าน

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗ 39

มลู นิธปิ ดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

ท้ังนี้ การพัฒนามิติน้ำ�ในปี ๒๕๕๗ ไม่มีการต่อแนวท่อใหม่ แต่มีการ
ส�ำ รวจหว้ ยอา่ ง เพื่อหาแหลง่ เกบ็ น�ำ้ เสริมปรมิ าณน้ำ�ในอ่างห้วยคลา้ ยฯ พรอ้ มทงั้
เน้นการบริหารจดั การน�ำ้ โดยให้กรรมการระบบน้ำ�ท้ัง ๕ โซน ไดแ้ ก่ ห้วยคำ�เข
ห้วยอ่าง ห้วยข้ีเกยี ห้วยคล้าย และกลุ่มอ่างพวง ดแู ลรบั ผดิ ชอบการจดั รอบเวร
ส่งน้ำ� รักษากฎระเบียบการใช้นำ้� และการเก็บเงินเข้ากองทุนสำ�หรับซ่อมแซม
ระบบนำ้� โดยเม่ือมีท่อชำ�รุดเสียหาย กรรมการและเจ้าของแปลงจะช่วยกัน
ซอ่ มแซมเอง โดยใช้คา่ วสั ดุอุปกรณข์ องกองทุน


มติ เิ กษตร มกี ารพัฒนาดว้ ย ๕ โครงการ คือ

- โครงการเพิ่มผลผลิตข้าว เป้าหมายโครงการ คือ ช่วยให้ชาวบ้าน
มีขา้ วพอกนิ กลา่ วคอื มผี ลผลติ ขา้ ว ๖๐๐ กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อเปรยี บเทียบจาก
ปี ๒๕๕๓ ซึ่งมผี ลผลติ ขา้ วเพยี ง ๓๓๕ กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ เพม่ิ เป็น ๔๓๗ กโิ ลกรมั
ต่อไร่ ในปี ๒๕๕๖
ในปี ๒๕๕๗ มีการตรวจดินของเกษตรกรที่ร่วมโครงการผู้ปลูกข้าว
ปลอดภยั รวมท้ังมโี ครงการพัฒนาและเพมิ่ ศกั ยภาพในการผลิตขา้ วอินทรยี แ์ บบ
ครบวงจร ปที ่ี ๒ โดยการสนบั สนนุ เมลด็ พนั ธข์ุ า้ วจากศนู ยเ์ มลด็ พนั ธขุ์ า้ วอดุ รธานี
และเวทีถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าว ๒ คร้ัง จากสำ�นักงานเกษตรอำ�เภอ
ศูนย์วิจัยและศนู ยเ์ มลด็ พนั ธข์ุ า้ ว

40 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗

มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

- โครงการปรับปรุงบำ�รุงดิน เป็นความร่วมมือกับโครงการฟาร์ม
ตัวอย่างฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี และสำ�นักงานพัฒนาที่ดินอุดรธานี
ในการปรบั ปรงุ บ�ำ รุงดิน โดยการใช้ โสน ปอเทอื ง โดโลไมท์ ป๋ยุ พืชสด รวมทง้ั
ตรวจวิเคราะห์ดินเพ่ือหาปริมาณธาตุอาหารในดินและให้คำ�แนะนำ�ในการใช้ปุ๋ย
ปรับปรงุ บำ�รุงดนิ
ขณะท่ีสำ�นักงานเกษตรจังหวัด ถ่ายทอดความรู้ในการทำ�เช้ือรา
ไตรโคเดอรม์ า เพอ่ื น�ำ มาปรบั ใช้ ท�ำ เอง และเจา้ หนา้ ทฝี่ า่ ยสง่ เสรมิ ฯ ท�ำ การสาธติ
และถ่ายทอดการทำ�ปุ๋ยหมักพร้อมใช้ ให้กับเกษตรกรในแปลงตัวอย่าง เมื่อใช้
ไดผ้ ล สามารถขยายผลไปในแปลงอนื่ ๆ ได้
- โครงการปลูกพชื หลงั นา ในปี ๒๕๕๗ มเี กษตรกรผู้เขา้ ร่วม ๔๑ ราย
พ้ืนท่ี ๕๓.๒๕ ไร่ สามารถช่วยลดรายจ่ายค่าอาหารและปรับปรุงบำ�รุงดิน
โดยมีรายได้จากพืชหลังนา หลังหักต้นทุนทั้งหมด ๑๖๐,๒๔๙ บาท เฉล่ีย
๓,๐๐๙ บาทตอ่ ไร่ เปรียบเทยี บกบั ปี ๒๕๕๕ มีเกษตรกรปลกู พชื หลงั นา ๔๕ ราย
พ้ืนที่ ๓๕ ไร่ รายได้ ๑๗๓,๑๕๐ บาท เฉลี่ย ๔,๘๔๓ บาทตอ่ ไร่ และปี ๒๕๕๖
มเี กษตรกรปลูกพชื หลังนา ๔๓ ราย พืน้ ที่ ๗๗.๒ ไร่ มรี ายได้ ๒๑๕,๐๑๔ บาท
เฉลย่ี ๒,๒๗๔ บาทต่อไร่
- โครงการเลี้ยงหมูเหมยซาน ปี ๒๕๕๗ เร่ิมมีกลุ่มการแปรรูป
หมูเหมยซาน ทำ�เป็นหมูหัน ไส้กรอกอีสาน แหนม นำ�ไปขายท่ีตลาดร่มเขียว
เป็นการสร้างรายได้เสริมเพิ่มจากการเลี้ยงหมูเหมยซาน เพื่อเป็นอาหารและ
ลดรายจา่ ย

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗ 41

มูลนิธิปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

- กองทุนโรงสขี า้ ว มีการจัดซอ้ื ที่ดนิ ราคา ๒๐๐,๐๐๐ บาท ในปี ๒๕๕๗
เพอื่ สรา้ งโรงสี โดยการสนบั สนนุ เงนิ จากกองทนุ ศกึ ษาดงู าน อ�ำ เภอและเทศบาล
สนบั สนุน ไม้ สงั กะสแี ละคา่ ใช้จ่ายในการต่อระบบไฟ โดยใช้แรงงานชาวบ้าน
รวมทั้งสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ สนับสนุน อิฐ
หิน ปนู ทราย และเคร่อื งสขี า้ วแบบ ๓ ลกู หิน มลู นิธิพระดาบส สนบั สนนุ เคร่อื ง
สีข้าวขนาดเล็ก ปัจจุบันเร่ิมดำ�เนินการสีข้าวแล้ว และมีการบริหารจัดการ
โดยคณะกรรมการกองทุน รวมทั้งมีการระดมทุนโดยการขายหุ้นให้แก่สมาชิก
ในหมู่บา้ น ปจั จุบนั มสี มาชกิ ๘๓ คน
นอกจากน้ี ยังร่วมกับสถาบันการศกึ ษา โดยวิทยาลัยสารพัดช่าง แผนก
อาหารและขนม ถ่ายทอดการแปรรูปผลติ ภัณฑ์จากหมู เช่น แหนมหมู ไส้กรอก
ไสอ้ ่วั และสาคไู ส้หมู สูตรมาตรฐาน การตวง การแพก็ ผลิตภัณฑ์ เพอื่ ใหเ้ ป็น
เอกลักษณข์ องพ้นื ท่ี
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุดรธานี สาขาเทคโนโลยอี าหาร ถ่ายทอดความรใู้ น
การแปรรปู กลว้ ยฉาบ กลว้ ยอบเนย และฟกั ทองฉาบใหก้ บั กลมุ่ แมบ่ า้ นการตลาด
เพ่ือเพ่ิมความรู้และการทำ�สูตรผสมท่ีได้มาตรฐาน รสชาติคงที่และเหมือนเดิม
รวมท้ังถ่ายทอดความรู้การบรรจุภัณฑ์ท่ีสวยงามเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม ความรู้ใน
การคำ�นวณ ตน้ ทุนผลติ ภณั ฑ์ เพ่ือก�ำ หนดราคาสินคา้
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ถ่ายทอดความรู้
การตรวจวิเคราะห์ดินใหก้ บั อาสาพัฒนา (อสพ.) ๓ ราย จนสามารถน�ำ ความรู้
ที่ได้รับจากการเรียนรู้มาใช้ในพื้นท่ี โดยเก็บตัวอย่างดินของเกษตรกรในพื้นที่
ท่ีต้องการตรวจ เพื่อทราบค่าของดินในแปลงของตนเองได้ทันที ไม่ต้องรอ
หน่วยงานมาเก็บดินไปตรวจ ซงึ่ จะทราบผลได้ชา้ ไม่ทันฤดูเพาะปลกู

42 รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗

มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

โครงการพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ประยกุ ต์ตามพระราชด�ำ รบิ า้ นโป่งลกึ -บางกลอย
จงั หวดั เพชรบุรี

ปิดทองหลังพระฯ เข้าดำ�เนินงานในพ้ืนที่บ้านโป่งลึกและบ้านบางกลอย
ตำ�บลหว้ ยแม่เพรียง อ�ำ เภอแก่งกระจาน จงั หวดั เพชรบุรี ซง่ึ ราษฎรเกือบท้งั หมด
เป็นชาวปกากะญอ ที่อาศัยอยู่กลางป่าแก่งกระจานด้วยความยากลำ�บากเม่ือปี
๒๕๕๔ ตอ่ มาในปี ๒๕๕๕ มีการบูรณาการงบประมาณของหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้อง
มาช่วยสนับสนุนกิจกรรม ภายใต้ชื่อแผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นท่ีประยุกต์ตาม
พระราชด�ำ ริ ทำ�การพฒั นาระบบน�้ำ และเกษตร จนถึงปัจจุบัน มคี วามก้าวหนา้
ในการด�ำ เนนิ งานมาโดยลำ�ดบั มคี รวั เรอื นทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการแลว้ ๑๒๓ ครวั เรอื น
(เป็นราษฎรบา้ นโป่งลกึ ๖๓ ครัวเรอื น บ้านบางกลอย ๖๐ ครวั เรอื น) จากจ�ำ นวน
ครอบครัวอยใู่ นพ้นื ทที่ ัง้ หมด ๑๘๑ ครอบครวั คิดเป็นร้อยละ ๖๗.๙๕ เพิ่มข้นึ
จากปี ๒๕๕๖ ถงึ ๓๗ ครวั เรือน

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗ 43

มูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

ผลการพัฒนา ปี ๒๕๕๗

การพัฒนาในปี ๒๕๕๗ ส่งผลให้ชาวปกากะญอในพื้นที่ มีผลผลิตที่
สามารถสร้างรายได้ให้เพ่ิมขึ้นได้อย่างสมำ่�เสมอ ทำ�ให้ประชากรในหมู่บ้าน
รอดพ้นจากความอดอยาก สามารถ “อย่รู อด” ได้ ด้วยการพัฒนาในมิติต่างๆ
ดังน้ี


มิตนิ ้ำ�

ก่อสร้างฝายเกษตรห้วยโป่งลึกแล้วเสร็จ สามารถกักเก็บนำ้�ได้ตั้งแต่
เดือนมถิ นุ ายน ๒๕๕๗ เปน็ ต้นมา และส่งนำ้�ดว้ ยระบบทอ่ PVC ขนาด ๖ น้ิว
ลอดใตส้ นั ฝาย ลดขนาด ๔ น้วิ เป็นแนวท่อสง่ น้ำ�เขา้ สระเกบ็ น้ำ�ท่ีบา้ นบางกลอย
ซงึ่ ชาวบา้ นและ อสพ.ร่วมกันเดินสำ�รวจแนวทอ่ แลว้ คาดว่าจะสามารถวางแนว
ท่อไดใ้ นเดือนมกราคม ๒๕๕๘
ฝายห้วยโป่งลึก มีระดบั ความสงู ๒๔๐ เมตร หนา้ ฝายสงู ๗.๕ เมตร
ความลาดเอยี งหน้าฝาย ๘ เมตร หลังฝายสูง ๗.๕ เมตร ความลาดเอยี งหลัง
ฝาย ๑๖ เมตร Spillway สูง ๕.๕ เมตร จากพ้ืนฝาย กวา้ ง ๖ เมตร ยาว ๖๐
เมตร สนั ฝายกวา้ ง ๑๐ เมตร ยาว ๓๘ เมตร สว่ นสระเก็บน�ำ้ ความจุ ๑,๘๐๐
ลูกบาศกเ์ มตร ทีบ่ า้ นบางกลอย อย่ทู ี่ระดบั ความสูง ๑๘๕ เมตร ห่างจากฝาย
๔.๐๘ กโิ ลเมตร ความต่างระดบั ๕๕ เมตร

44 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗

มลู นธิ ิปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

ข้อมูลฝายห้วยโป่งลึกนี้ อสพ.ใช้ GPS จับพิกัดระดับความสูงต่าง
ของพน้ื ที่ สงั เกตภมู ปิ ระเทศทจ่ี ะไมเ่ ปน็ อปุ สรรคตอ่ การวางแนวทอ่ สง่ น้ำ� โดยเปดิ
track ตลอดแนว และปรับค่าแนวท่อใน Program Excel แสดงผลเป็น
กราฟให้ง่ายต่อการวางแนวท่อจริง โดยเส้นกราฟจะแสดงจุดสูงที่สุดเพ่ือใส่
แอรว์ าลว์ และจดุ ต�่ำ ทสี่ ดุ เพอ่ื ใสท่ ร่ี ะบายตะกอน ซงึ่ เปน็ การประยกุ ตป์ ระสบการณ์
ในการสำ�รวจแนวท่อฝายบางยายโปง ระยะทาง ๑๔ กิโลเมตร ร่วมกับ
โครงการชลประทานเพชรบรุ ี และกรมการทหารช่าง เมือ่ เดือนธันวาคม ๒๕๕๕-
มกราคม ๒๕๕๖
นอกจากน้ี ยงั สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารสบู น�ำ้ ดว้ ยพลงั งานแสงอาทติ ย์ (Solar Cell)
ซึ่งจะเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้าขนาด ๑๕,๓๖๐ วัตต์
หรือ ๑๕ กโิ ลวัตต์ ผา่ นตัวอุปกรณ์ตดั ต่อ (เบรกเกอร์) ส่งไปยังตวั ชุดควบคุม
การทำ�งานเครื่องสูบนำ้�ขนาด ๑๕,๐๐๐ วัตต์ ติดตั้งไว้ทั้งที่บ้านบางกลอย
และบ้านโป่งลึก สามารถสูบน้ำ�ได้เครื่องละ ๒๕๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ทำ�ให้
มีน้ำ�ในสระเก็บน้ำ�ท้ังสองหมู่บ้านรวมกัน ๕๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน แล้วจึง
กระจายนำ�้ ส่แู ปลงเกษตรของชาวบ้าน
ระบบสูบน้ำ�ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ ท่ีผ่านมามักพบปัญหาเร่ือง
หวั กะโหลกเครือ่ งสบู น�ำ้ ดดู ทรายในแม่น�ำ้ เพชรบรุ ีขน้ึ มาด้วย และมที รายตกคา้ ง
ในจุดท่ีแนวท่อส่งน้ำ�ต่ำ�ท่ีสุดหรือตกท้องช้าง ทำ�ให้น้ำ�ไม่ไหลเข้าสระเก็บนำ้�
มีการแก้ไขปัญหาด้วยการทำ�ฐานรองเครื่องสูบนำ้�และหัวกะโหลกติดกัน
ให้สูงกว่าเดิมประมาณ ๕๐ เซนติเมตร หรือทำ�เป็นบ่อครอบเครื่องสูบนำ้�
เพือ่ ป้องกนั ทรายกบั เศษวัสดุ

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗ 45

มลู นิธิปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

นอกจากนี้ การเสริมประสิทธิภาพระบบกักเก็บน้ำ�และกระจายน้ำ�สู่
แปลงเกษตรชาวบ้าน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการเชื่อมโยงการทำ�งาน
ของมูลนิธิรากแก้ว ได้ศึกษาพ้ืนที่ต้ังแต่ช่วงปี ๒๕๕๖ แล้วเสนอโครงการเสริม
ประสิทธิภาพแหล่งกักเก็บน้ำ� เพ่ือให้มีปริมาณน้ำ�อุปโภคบริโภคและการเกษตร
เพยี งพอส�ำ หรบั โครงการฯ ในระยะยาว การค�ำ นวณปรมิ าณการใชน้ �ำ้ ทเ่ี หมาะสม
ด้านเกษตร ปศุสัตว์ อุปโภค เพื่อสร้างความสมดุลน้ำ� ด้วยการพัฒนาด้าน
เกษตรท่ีเหมาะสมกับปริมาณนำ้� การบริหารจัดการนำ้�โดยชุมชน รวมทั้งอยู่
ระหว่างการทดลองระบบตะบันนำ้�และเคร่ืองสูบนำ้�ให้สามารถขึ้นที่สูงได้โดย
ไม่เสียคา่ น�้ำ มนั
รวมทั้ง มีการพัฒนาและปรับปรุงแผนท่ีการจัดการนำ้�ทั้งระบบ ได้แก่
ฝายเกษตรห้วยโป่งลึก แนวท่อส่งนำ้�จากฝายไปยังสระเก็บน้ำ� ระบบส่งน้ำ�
ที่กระจายสู่แปลงเกษตร เพื่อวางแผนเพ่ิมระบบนำ้�ทุกกลุ่มเป้าหมายและ
สอดคลอ้ งกบั สมดุลน้ำ� เช่น การเพ่ิมสระพักนำ�้ ขนาดเลก็ รวม ๕ บอ่ ในพื้นที่
บา้ นบางกลอย ๓ บอ่ บ้านโปง่ ลกึ ๒ บอ่ และบ่อดกั ตะกอนขนาดเล็กตามแปลง
ชาวบ้าน ให้รองรับปริมาณนำ้�ได้เพิ่มมากขึ้น จากการที่ระบบโซลาร์เซลล์จะมี
ประสทิ ธภิ าพการทำ�งานสงู ในช่วงฤดแู ลง้

46 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗

มลู นธิ ิปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

มติ ิเกษตร

มีการส่งเสริมการปลูกข้าวไร่ โดยปัจจุบันมีผู้ปลูกข้าวไร่ ๖๑ ราย
(ทั้งแบบข้ันบันได และแบบดั้งเดิม) พ้ืนท่ี ๑๒๔ ไร่ โดยการประยุกต์ใช้องค์
ความรู้ในการปลูกข้าวไร่ข้ันบันได จากครูภูมิปัญญา ๔ คณะที่เข้ามาส่งเสริม
เม่อื ปี ๒๕๕๖ ใหม้ กี ระบวนการและข้ันตอน ดังน้ี
เตรียมพ้ืนที่ก่อนการปลูกข้าว ประมาณปลายเดือนเมษายน เร่ิมหว่าน
เมลด็ ปอเทอื งเพื่อการปรับปรุงบ�ำ รุงดนิ ประมาณ ๔๕ วนั แลว้ ตัดต้นปอเทอื ง
ไถกลบทิง้ ไว้ ๗ วนั เพ่อื ให้ย่อยสลาย ตรวจดนิ กอ่ นการปรบั ปรุงดินทกุ ครัง้ เพอ่ื
ใสป่ ยุ๋ ทเี่ หมาะสมกบั ชนดิ พชื และชว่ งเวลาการเจรญิ เตบิ โต คดั เมลด็ พนั ธ์ุ เพอื่ แยก
ขา้ วพันธ์ุปนออก เพือ่ ใหไ้ ดผ้ ลผลติ เต็มท่ี
เตรียมเมล็ดพันธ์ุก่อนปลูก ด้วยการนำ�เมล็ดพันธ์ุท่ีคัดแล้วมาแช่น้ำ�
คดั เมล็ดพันธลุ์ อยน้ำ�ที่ไม่สมบูรณ์ ลบี ออก หยอดเมลด็ พนั ธหุ์ ลุมละ ๓-๕ เมล็ด
เพื่อไม่ให้ต้นข้าวเบียดกัน จนต้นตรงกลางอ่อนแอไม่ออกรวง เกิดโรคแมลง
หนอน งา่ ย เป็นตน้ โดยมรี ะยะปลูกทีเ่ หมาะสม คอื ห่างกนั หลมุ ละ ๒๐-๓๐ ซม.
แล้วห่มดิน โดยนำ�ฟางมาคลุมหน้าดิน เพื่อเก็บรักษาความชื้นในดิน หลังจาก
หยอดเมลด็ ขา้ วแล้ว
ดูแลตน้ ข้าว และใสป่ ุย๋ ๓ ระยะ คอื ระยะ ๓๐ วัน เพือ่ บ�ำ รงุ ตน้ ระยะ
๖๐ วนั เพอื่ บำ�รุงตน้ เรง่ การเจริญเติบโต และระยะ ๙๐ วนั เพอ่ื เตรียมตัวตง้ั
ท้อง ออกรวง การฉีดพน่ สมุนไพรไลแ่ มลงและก�ำ จดั ศัตรพู ชื เนน้ ใช้พชื สมนุ ไพร
ทห่ี าได้ในพนื้ ท่ี เช่น เมล็ดสะเดาบด ยาสูบ รากหางไหล ฝักคนู หวั กลอย พริก
ต้นสาบเสือ บอระเพ็ด ตะไคร้ ผกากรอง มะรมุ เปน็ ต้น ในอตั ราสว่ นนำ้�หมัก

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗ 47

มูลนธิ ิปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

สารควบคุมแมลง พด.๗ จำ�นวน ๗ ช้อนโต๊ะ ผสมนำ้� ๒๐ ลิตร ฉีดพ่นให้
ทั่วแปลง เน้นบริเวณที่มีแมลงศัตรูพืชรบกวน ฉีดทุก ๓-๕ วัน และต่อเน่ือง
อย่างน้อย ๓ คร้ัง ข้ึนอยู่กับการระบาดของหนอนและเพล้ีย ควรเก็บเกี่ยวใน
ระยะที่รวงขา้ วมสี เี หลอื งพลับพลงึ ใบธง และรวงข้าวยังไม่แหง้ ถ้าเกบ็ เกีย่ วชา้
เกนิ ไปจะทำ�ให้เมล็ดหลดุ ร่วงและหักได้งา่ ย
ทงั้ น้ี ทมี พน้ื ทตี่ งั้ เปา้ หมายการพฒั นาผลผลติ ขา้ วไรข่ น้ั บนั ได ในปี ๒๕๕๗
ให้เป็น ๓๐๐-๓๕๐ กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ เพ่มิ จากเดิม ๑๖๐ กโิ ลกรัมต่อไร่
รวมถึงมกี ารพัฒนารูปแบบการเกษตรในสภาพพ้นื ท่ลี าดเอยี ง มีผู้รับกล้า
ไม้ผลที่ได้รับการสนับสนุนจากสำ�นักงานเกษตรอำ�เภอแก่งกระจาน ๗๕ ราย
ทงั้ ทุเรียน เงาะ มงั คดุ ล�ำ ไย ลองกอง ส้มโอ มะขาม ละมุด ฯลฯ เพอ่ื ปลูกแซม
ตน้ กลว้ ยบรเิ วณคันนา และบริเวณท่ไี มไ่ ด้เปดิ เปน็ นาข้ันบันได
ขณะที่การส่งเสรมิ การเลี้ยงสัตว์ มีชาวบ้านได้รับการสนับสนุนสตั ว์เลยี้ ง
เป็น หมู ๒๔ ราย เปด็ ๒๐ ราย ไก่ ๒๐ ราย โดยก่อนสนับสนนุ มีการตรวจ
ความพร้อมด้านคอก สถานที่เลี้ยง อาหาร และเตรียมอาสาพฒั นาใหม้ ีความรู้
ในการดแู ลสขุ ภาพสตั วเ์ ลยี้ ง การเลยี้ งหมจู ะท�ำ ในรปู แบบกองทนุ เมอ่ื ออกลกู แลว้
ชาวบา้ นจะนำ�ลูกหมู ๒ ตวั คืนใหก้ ับกองทนุ เพือ่ นำ�ไปให้ชาวบ้านรายอน่ื เลีย้ ง
ต่อไป ส่วนเป็ดและไก่เร่ิมออกไข่แล้ว ซึ่งต่อไปอาสาพัฒนาจะเก็บข้อมูล
การลดรายจา่ ยครัวเรือนจากการน�ำ ไปบริโภค

48 รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๕๗

มลู นิธิปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

นอกจากน้ี สถานีพัฒนาท่ีดินเพชรบุรี ยังเข้ามาถ่ายทอดความรู้การทำ�
ปยุ๋ หมกั แกช่ าวบา้ นใหส้ ามารถท�ำ ปยุ๋ ใชเ้ องไดใ้ นชว่ งการปลกู พชื หลงั นา ปี ๒๕๕๗
ซ่ึงจะสนับสนุนมูลไก่จำ�นวน ๒,๐๐๐ กระสอบๆ ละ ๓๐ กิโลกรัม รวมเป็น
๖๐,๐๐๐ กโิ ลกรมั ท้งั นี้ ทมี ปฏบิ ตั ิการพื้นท่มี ีแผนทจ่ี ะปรับปรุงดนิ ใหม่ท้งั ระบบ
โดยเรมิ่ นำ�ร่องในพน้ื ทที่ ม่ี ีการท�ำ เกษตรอยแู่ ลว้ ประมาณ ๓๐๐ ไร่ ด้วยการใชป้ ยุ๋
รองพนื้ ๒,๐๐๐ กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ปยุ๋ ทใี่ ชม้ าจากปยุ๋ พืชสด เชน่ ปอเทือง และปยุ๋
หมักเศษวัชพืช คิดเป็นปุ๋ยหมักที่จะต้องทำ�เพิ่มประมาณ ๑๕๐,๐๐๐ กิโลกรัม
ใช้ควบคู่กับการใช้ปูนโดโลไมท์ และเน่ืองจากบ้านโป่งลึก-บางกลอย มีหญ้า
จำ�นวนมาก สามารถน�ำ มาเปน็ วตั ถุดบิ หมักผสมกบั มลู สัตว์ได้

ทศิ ทางการด�ำ เนนิ งาน ปี ๒๕๕๘

มกี ารเตรยี มความพรอ้ มดา้ นการตลาด ส�ำ หรบั ผลผลติ ของชาวบา้ นทเี่ ขา้
ร่วมโครงการแล้ว โดยประสานกับตลาดกลางหนองบ้วยท่ายาง และตลาด
บา้ นลาด ซ่ึงทัง้ สองแหง่ แจง้ วา่ รับผลผลติ ไดท้ ้ังหมด แตต่ ้องมีการประมาณการ
ผลผลติ ตา่ งๆ คอื ฟักทอง พริก แฟง ขา้ วโพดเลยี้ งสัตว์ของเกษตรกรแต่ละราย
วา่ มีปริมาณเทา่ ใดก่อนล่วงหนา้
ขณะที่ในปี ๒๕๕๗ มีผลผลิตกล้วยนำ้�ว้า (ท่ายาง) ที่ได้จากการ
เพาะเล้ียงเนื้อเยอ่ื ท่โี ครงการเขา้ ไปสง่ เสรมิ อยู่ ๓ ชว่ ง คอื ชว่ งท่ี ๑ กลางเดือน
ตุลาคม จำ�นวน ๑๒,๒๕๐ หวี ชว่ งที่ ๒ เดือนพฤศจิกายน จ�ำ นวน ๒๔,๕๐๐ หวี
และชว่ งท่ี ๓ เดอื นธนั วาคม จ�ำ นวน ๑๒,๒๕๐ หวี นำ�ส่งขายท่ตี ลาดไท ราคาเฉล่ยี
หวลี ะ ๒๐ บาท

รายงานประจำ�ปี ๒๕๕๗ 49

มูลนธิ ิปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ


Click to View FlipBook Version