ประวัติศาสตร์
แผนการจัดการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
คำนำ
แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการ
เรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ในสาระวิชาประวัติศาสตร์ โดยมีการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ทั้งนี้คณะผู้จัดทำขอขอบคุณท่านอาจารย์พิชาต แก้วพวง อาจารย์ประจำ
วิชาการสร้างนวัตกรรม และวิธีวิทยาการสอนสังคมศึกษา ที่ได้ให้ความรู้
และคำปรึกษา คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้ฉบับน้ี
จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจ ในด้านแนวทางในการจัดการเรียนการสอน
และการจัดทำแผนการเรียนรู้
คณะผ้จู ัดทำ
สำรบัญ
แผนการจัดการเรยี นรู้ การเทียบศักราช 1
ม.1 30พฒั นาการของระบบการปกครองสมัยอยธุ ยาตอนกลาง
แผนการจัดการเรยี นรู้ 57พฒั นาการทางเศรษฐกจิ ของทวปี ยโุ รป
ม.2
แผนการจดั การเรียนรู้
ม.3
2
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1/2 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1
จำนวน 5 ช่ัวโมง
กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม จำนวน 20 นาที
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เวลา และการแบง่ ยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์
เร่ือง การเทียบศกั ราช เวลา 15.45 – 16.05 น.
สอนวันพธุ ท่ี 26 เมษายน พ.ศ. 2565 ช้ัน ม.1/88 โรงเรียนสอ่ื หลายเคอ่
ผสู้ อน นายไท คงคล้าย และคณะ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้
วิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์มาวิเคราะหเ์ หตกุ ารณต์ า่ งๆอย่างเปน็ ระบบ
ตวั ชีว้ ดั
ส 4.1 ม.1/2 เทียบศกั ราชตามระบบต่าง ๆ ทใ่ี ช้ศกึ ษาประวัตศิ าสตร์
สาระสำคญั
ศักราช คือ อายุของเวลาท่ีสามารถบอกได้ถึงยุคสมัยของเหตุการณ์ต่างๆ ได้อย่างชัดเจน ซ่ึงจำเป็น
อย่างยง่ิ ตอ่ การศกึ ษาประวัติศาสตร์ เพราะการนบั ศกั ราชจะทำใหส้ ามารถเข้าใจเหตกุ ารณ์ต่างๆ ได้ตรงกัน โดย
ศักราชที่ใช้อยู่ในประเทศไทยมีอยู่ 4 รูปแบบ ได้แก่ พุทธศักราช (พ.ศ.) จุลศักราช (จ.ศ.) มหาศักราช (ม.ศ.)
และรัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.) นอกจากนี้ยังมีศักราชที่เป็นศักราชแบบสากล ได้แก่ คริสต์ศักราช (ค.ศ.) และ
ฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.)
คำถามสำคัญ
1. ศกั ราชตา่ งๆ ทีใ่ ชใ้ นการศึกษาประวตั ิศาสตร์มที ม่ี าอยา่ งไร
2. การเทยี บศักราชมีหลกั การเทยี บอยา่ งไร และประโยชน์ตอ่ การศึกษาประวัตศิ าสตรอ์ ยา่ งไร
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธิบายทมี่ าของศกั ราชตา่ งๆ ท่ปี รากฏในเอกสารทางประวัติศาสตรไ์ ด้
2. เปรยี บเทียบระบบศักราชตา่ งๆ ที่มตี อ่ การศึกษาประวัติศาสตรไ์ ดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
3. ยกตวั อยา่ งการใชศ้ กั ราชตา่ งๆ ที่ปรากฏในเอกสารทางประวตั ิศาสตร์
4. ตระหนกั ถงึ ประโยชนข์ องการเทยี บศกั ราชตา่ งๆ ทป่ี รากฏในเอกสารทางประวัติศาสตร์
3
คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์และสมรรถนะสำคัญ สมรรถนะสำคัญ
1. ความสามารถในการสือ่ สาร
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 2. ความสามารถในการคดิ
1. มวี นิ ยั
2. ใฝเ่ รยี นรู้ 2.1 ทักษะการสำรวจคน้ หา
3. มุง่ มั่นในการทำงาน 2.2 ทกั ษะการวิเคราะห์
2.3 ทักษะการสรุปลงความเห็น
2.4 ทกั ษะการสรา้ งความรู้
3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
สาระการเรยี นรู้
1. ท่มี าของศักราชต่างๆ ในเอกสารทางประวตั ิศาสตร์
2. วธิ ีการเทียบศักราชตา่ งๆ
3. ตวั อย่างการใช้ศักราชต่างๆ ทีป่ รากฏในเอกสารทางประวัติศาสตร์
การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
การจดั การเรียนรู้โดยใช้รปู แบบการประสานห้าแนวคิดหรือโมเดลซปิ ปา : CIPPA Model
ขั้นที่ 1 ทบทวนความรูเ้ ดมิ
1. ครูให้นักเรียนจับกลุ่ม โดยแบ่งเป็นหมู่เรียน คือ D1 และ D2 แล้วให้แต่ละกลุ่มหมู่เรียนส่งตัวแทน
เปิดป้ายแสดงศักราชตามระบบต่างๆ กล่มุ ละ 2 ป้าย
4
2. ครูถามคำถามว่า “ศักราชท่ีกลุ่มของตนเองจับได้นั้นมีที่มาอย่างไร” แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม
ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับศักราชท่ีกลุ่มของตนเลือกได้ ว่ามีที่มาอย่างไร เพื่อเป็นการทบทวนความรู้เดิมของ
นักเรยี น โดยใช้เวลา 1 นาที
3. ครูสุ่มนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาเสนอผลการอภิปราย โดยครูและเพื่อนกลุ่มอื่นช่วยกันตรวจสอบ
ความถกู ต้อง
4. ครูสนทนาเชื่อมโยงเข้าสูบ่ ทเรียน เร่ือง การเปรยี บเทยี บศักราช ดงั น้ี
ถา้ นกั เรียนเจอหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ นักเรียนจะรูไ้ ด้อย่างไรว่าหลักฐานชน้ิ น้นั ท่พี บเจอ แลว้ มีการ
ระบุวา่ มีเหตุการณเ์ กดิ ในฮจิ เราะห์ 216 จะทราบไดอ้ ยา่ งไรว่าเหตุการณ์นั้นตรงกบั พุทธศกั ราชใด
ขัน้ ท่ี 2 แสวงหาความรใู้ หม่
5. นักเรียนร่วมกันศึกษาความรู้ เรื่อง การเปรียบเทียบศักราช จากหนังสือ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
และหนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-book) โดยใช้เวลา 1 นาที ในประเดน็ ทก่ี ำหนดให้ ดังนี้
4.1 การเปรียบเทียบศักราชระหวา่ ง ค.ศ. และ พ.ศ.
4.2 การเปรยี บเทยี บศกั ราชระหวา่ ง พ.ศ. และ ร.ศ.
4.3 การเปรยี บเทยี บศักราชระหวา่ ง ม.ศ. และ พ.ศ.
4.4 การเปรียบเทียบศกั ราชระหว่าง จ.ศ. และ พ.ศ.
4.5 การเปรยี บเทยี บศกั ราชระหวา่ ง ฮ.ศ. และ พ.ศ.
ลงิ ก์ และ คิวอารโ์ คด้ e-book เร่ืองการเทยี บศักราช
ลิงก์ : https://anyflip.com/wtiuj/ovfz/
คิวอารโ์ ค้ด :
ขน้ั ท่ี 3 ศึกษาทำความเข้าใจขอ้ มูล/ความรใู้ หม่ และเช่ือมโยงความร้ใู หมก่ บั ความรูเ้ ดมิ
6. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำความรู้เดิมและความรู้ใหม่ที่ได้ศึกษาค้นคว้ามาเชื่อมโยงกันในการทำใบงาน
เรอ่ื งการเปรยี บเทยี บศกั ราชแบบตา่ งๆ ให้เวลา 1 นาทใี นการทำใบงาน
ลิงก์ และ ควิ อารโ์ ค้ด ใบงาน การเปรยี บเทยี บ ควิ อารโ์ ค้ด
ศกั ราชแบบต่างๆ
ลิงก์ :
https://www.liveworksheets.com/c?a=s&t=vkk4pav2j5h&sr=n
&ms=uz&l=he&i=ctsd&r=iv&db=6&f=dzd
dzcdf&cd=pycc9hdy5q8wlwrkzpnoy1ngnngknexg
5
7. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของผลงานในใบงานที่ได้รับมอบหมายไป หากมี
ข้อบกพรอ่ งใหช้ ว่ ยกันเติมเต็มคำตอบ หรอื แกไ้ ขใหส้ มบรู ณ์
ขน้ั ที่ 4 แลกเปลี่ยนความรู้ความเขา้ ใจกบั กลมุ่
8. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำความรู้ที่ได้จากการศึกษา และจากการทำใบงาน เรื่องการเปรียบเทียบ
ศกั ราชแบบตา่ งๆ มาเล่าให้เพอ่ื นภายในกลมุ่ ผลัดกันซกั ถามข้อสงสัยและอธิบายจนทุกคนมีความเข้าใจชัดเจน
ตรงกัน
9. นักเรียนช่วยกันตอบคำถามกระตุ้นความคิดโดยครูถามคำถามนักเรียนว่า “นักเรียนทราบได้
อย่างไรว่า พ.ศ. 2555 ตรงกับคริสต์ศักราช 2012” จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันหาคำตอบ แล้วยกมือตอบ
คำถาม
แนวคำตอบ
1. นำพ.ศ.ที่ได้ มา ลบ กับ 543 ( พ.ศ.2555-543=ค.ศ.2012)
หรือ
2. นำค.ศ.ท่ไี ด้ มา บวก กบั 543 (ค.ศ.2012+543=พ.ศ.2555)
10. ครคู ิดคำถามเพ่ิมเติม เพือ่ ใหน้ กั เรยี นฝึกในการคดิ เปรยี บเทยี บศกั ราช
6
ขั้นท่ี 5 สรปุ และจดั ระเบียบความรู้
11. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั สรุป เรอื่ งการเปรยี บเทยี บศักราชแบบต่างๆ ท่ไี ด้เรียนมา ใหเ้ วลา 1 นาที
12. นักเรียนช่วยกันตอบคำถามเพื่อสรุปความรู้ที่ได้รับ ทั้งความรู้เก่า และความรู้ใหม่ โดยครูถาม
คำถามแลว้ ใหน้ กั เรยี นยกมอื ตอบคำถาม ดังน้ี
12.1 ศักราชต่างๆ ทใ่ี ชใ้ นการศึกษาประวตั ศิ าสตร์มีท่มี าอยา่ งไร
แนวคำตอบ...........................................................................................................................
พทุ ธศกั ราช (พ.ศ.) - เรมิ่ นบั เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขนั ธ์ปรนิ ิพพาน เมอื่ วนั เพ็ญ เดือน 6 ปจี อ นยิ มใชใ้ นประเทศท่ีนับถือ
พทุ ธศาสนา
คริสต์ศักราช..(..ค....ศ.....)...-...เ.ร..ิ.่ม..น...ับ...ต..ั้ง..แ...ต..่.พ.....ศ......5...4..3....โ.ด...ย..น...ับ...ป..ีท...ี่พ...ร..ะเยซูคริสต์ประสูติ เป็น ค.ศ. 1 นิยมใช้ในประเทศที่นับถือ
ศาสนาคริสต์และใช้เป็นปอี ้างองิ สากล
มหาศักราช (ม.ศ.) - เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 621 พระเจ้ากนิษกะของอินเดียทรงตั้งขึ้น ใช้ในศิลาจารกึ และเอกสารประวัติศาสตร์
ของไทยบา้ ง แต่น้อยกวา่ จุลศกั ราช
ฮิจญ์เราะหฺศักราช (ฮ.ศ.) - เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 1164 เมื่อปีที่ท่านนบีมุฮัมมัดอพยพจากเมืองเมกกะ (มักกะหฺ) ไปยังเมืองเมดี
นา (มะดีนะหฺ) นิยมใช้ในประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม ชาวไทยมุสลิมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันใช้ฮิจญ์เราะหฺศักราชเพื่อ
ประกอบศาสนกจิ
จุลศกั ราช (จ.ศ.) - เรม่ิ ตั้งแต่ พ.ศ. 1181 โดยนับเอาวันท่ีพระพม่า นามว่า "บพุ โสระหัน" สึกออกมาเพ่อื ชิงราชบัลลังก์ เป็น
กษัตริย์พมา่ นิยมใช้ในเอกสารประวัตศิ าสตรข์ องไทยเรอ่ื ยมาจนถึงรตั นโกสินทร์
รตั นโกสนิ ทรศก (ร.ศ.) - เร่ิมใชใ้ นรัชกาลที่ 5 โดย "เร่ิมนบั " ตัง้ แต่ พ.ศ. 2324 อันเปน็ ปีที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า
จุฬาโลกทรงสรา้ งกรงุ เทพมหานคร (เลกิ ใชใ้ นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หวั )
12.2 การเทียบศกั ราชมีหลกั การเทยี บอยา่ งไร และประโยชนต์ ่อการศกึ ษาประวตั ิศาสตรอ์ ยา่ งไร
แนวคำตอบ................. ..........................................................................................................
หลักการเทยี บศกั ราช
ประโยชน์ การนับศักราชที่แตกต่างกัน จะทำให้เกิดความสับสนและไม่ชัดเจนในการศึกษา เรื่องราว
ประวัติศาสตร์ ดั้งนั้น การเปรียบเทียบศักราชให้เป็นแบบเดียวกัน จะช่วยให้ สามารถศึกษาเรื่องราว
ทางประวัติศาสตร์ได้เข้าใจมากขึ้น รวมทั้งทำให้ทราบว่าในช่วง ศักราช หรือช่วงเวลาเดียวกันในแตล่ ะ
ภาคของโลก เกดิ เหตุการณ์ สำคญั ๆ ทาง ประวตั ศิ าสตร์ อะไรบ้าง
7
ขน้ั ท่ี 6 ปฏิบตั ิและ/หรอื แสดงผลงาน
13. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานที่สรุป เรื่องการเปรียบเทียบศักราชแบบต่างๆ โดยมีครูและ
เพ่อื นกล่มุ อืน่ รว่ มกันตรวจสอบความถูกต้องและให้ขอ้ เสนอแนะ
14. ครูสรุปรวบยอดอีกครงั้ ในเรอ่ื ง การเปรียบเทยี บศกั ราชแบบต่างๆ
15. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด โดยครูถามคำถามนักเรียนว่า “ถ้าเปรียบเทียบศักราช
ผิดพลาด จะส่งผลต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างไร” จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันหาคำตอบ แล้วยกมือตอบ
คำถาม แนวคำตอบ
ไม่สามารถทำให้ทราบไดว้ ่า เหตกุ ารณท์ ี่ศึกษาน้นั เกิดขึ้นเม่ือใด เม่ือนำมา
เรียบเรยี งตามวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์กจ็ ะทำให้ไมม่ าสามารถเรียบเรียง
เหตุการณ์ได้ เพราะไมท่ ราบว่าเหตกุ ารณ์ใดเกดิ ก่อนหลังกนั แน่
ข้นั ที่ 7 ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้
16. ครูให้นักเรียนนำความรู้เกี่ยวกับการเปรียบเทียบศักราชแบบต่างๆ ไปประยุกต์ใช้ในการศึกษา
เร่ืองราวทางประวตั ิศาสตร์ของไทย หรอื ของประเทศเพ่อื นบา้ นในกลมุ่ อาเซยี นต่อไป
17. ครใู หน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียน (google form) จำนวน 5 ข้อ เวลา 5 นาที
ลงิ กแ์ บบทดสอบหลังเรียน : ควิ อารโ์ คด้ แบบทดสอบหลังเรยี น
https://forms.gle/Uo39mKCjWv3LM3vGA
8
สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้
สอ่ื การเรียนรู้
1. เกมเปิดป้าย
2. หนังสอื เรียนประวัติศาสตร์ ม.1
แหลง่ การเรยี นรู้
1. หนังสอื ค้นควา้ เพิ่มเติม (หนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส)์
2. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
รายการวดั วธิ ีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
และประเมิน
1. อธิบายที่มาของศักราชต่างๆ ที่ปรากฏใน 1. สังเกตพฤติกรรม 1. แบบประเมิน 1. แบบประเมินได้ระดับ
เอกสารทางประวตั ิศาสตรไ์ ด้ การเรียนรู้ พฤตกิ รรม คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
2. เปรียบเทียบระบบศักราชต่างๆ ที่มีต่อ 2. ตรวจใบงาน การเรียนรู้ 2. ใบงานได้ 3-5 คะแนน
การศกึ ษาประวัติศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง 3. ทดสอบ 2. ใบงานเรื่องการ ผา่ นเกณฑ์
3. ยกตัวอย่างการใช้ศักราชต่างๆ ที่ปรากฏใน เปรียบเทียบศักราช 3. แบบทดสอบได้ 60%
เอกสารทางประวตั ศิ าสตร์ แบบตา่ งๆ ผ่านเกณฑ์
4. ตระหนักถึงประโยชน์ของการเทียบศักราช 3. แบบทดสอบ
ตา่ งๆ ท่ปี รากฏในเอกสารทางประวัติศาสตร์
9
บนั ทึกหลังการเรยี นรู้
1. ผลลพั ธ์การเรยี นรู้
จากการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การเทียบศักราช ผลปรากฏว่านักเรียนสามารถอธิบายที่มาของศักราช
ต่างๆ ที่ปรากฏในเอกสารทางประวัติศาสตร์ได้ สามารถเปรียบเทียบระบบศักราชต่างๆ ที่มีต่อการศึกษา
ประวัติศาสตร์ได้อยา่ งถกู ต้อง และยกตัวอยา่ งการใช้ศักราชต่างๆ ทป่ี รากฏในเอกสารทางประวัตศิ าสตร์ พร้อม
ทั้งยังตระหนักถึงประโยชน์ของการเทียบศักราชต่างๆ ที่ปรากฏในเอกสารทางประวัติศาสตร์ ตรงตาม
จุดประสงค์ทีก่ ำหนดไว้ นกั เรยี นส่วนใหญม่ ีความตงั้ ใจเรียน ต้ังใจทำกจิ กรรม มีความใฝศ่ ึกษาค้นคว้าเป็นอย่าง
ดี มีส่วนร่วมในช้ันเรียน เขา้ เรียนครบและตรงเวลา
2. ปญั หาและอปุ สรรค
เนอ่ื งดว้ ยสถานการณ์โควิด 19 ทำใหก้ ารเรียนการสอนมีการปรับเปล่ยี นเป็นการจัดการเรียนการสอน
แบบออนไลน์ นักเรียนจึงอาจมีอุปสรรคในการติดตอ่ พูดคุยส่ือสาร กับสมาชิกในกลุ่ม เพราะในการสอนมีการ
แบง่ กลุม่ ออกเป็นกลุ่มหมู่เรียน กลมุ่ มีสมาชิกค่อนขา้ งมาก เม่ือถงึ เวลาทำใบงานหรือแลกเปล่ียนความรู้ภายใน
กลุ่มจึงมีความยากลำบาก และเมื่อถึงเวลาที่มีการพูดคุยกันในกลุ่มก็ไม่สามารถรู้ได้ว่านักเรียนคนใด ได้ฟัง
เพอื่ นหรือไม่
3. แนวทางการแก้ไขและข้อเสนอแนะ
ในการแบ่งกลุ่มทำงานหรือสืบค้นข้อมูล ครูควรมีการให้แบ่งกลุ่มที่เล็กลง และอาจจะให้แบ่งกลุ่ม
กนั เอง เพื่อให้ง่ายต่อการตดิ ต่อพูดคุยสอื่ สาร กับสมาชกิ ในกลุม่ และครคู วรให้นกั เรียนเปิดกลอ้ งในขณะทำการ
เรียนการสอน เพื่อดูความสนใจ หรือพฤติกรรมระหว่างเรียน หรืออาจจะให้มีการเปิดกล้องเป็นระยะๆ พร้อม
ตอบคำถาม เพอ่ื ดูวา่ นกั เรียนมกี ารตั้งใจเรยี น ไมม่ กี ารเถลไถลไปท่ีอนื่ ในเวลาเรียน
ลงชื่อ ................................................................... ผสู้ อน
(นายไท คงคล้าย)
ลงชอ่ื ................................................................... ผสู้ อน
(นายอนวุ ฒั น์ ไกรกลู )
ลงชอ่ื ................................................................... ผสู้ อน
(นายนฤดล แผว้ พลสง)
(.........../..................../.................)
10
ใบงาน การเทียบศักราชแบบตา่ งๆ
กลุ่ม D1 หวั หน้ากลมุ่ เดอื นเพญ็ พลอาจ
11
ใบงาน การเทยี บศักราชแบบตา่ งๆ
กลุ่ม D2 หวั หน้ากลมุ่ เนตมิ า แก้วลกู
12
แบบทดสอบหลงั เรยี น เร่ืองทีม่ า เเละการเทียบศกั ราช
ใหน้ ักเรียนตอบคำถามตอ่ ไปนี้ ( 5 ขอ้ เวลา 5 นาที)
(google form)
13
14
แบบประเมินพฤติกรรมการเรยี นรู้
คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แล้วขดี ✓ ลงในชอ่ งท่ีตรงกับรายการ
ประเมินแลว้ สรปุ ผล
รายการประเมนิ สรุปผล
ท่ี ชอ่ื -สกุล ความ ความ การตอบ การแสดง รวม ผา่ น ไม่
กระตอื รอื รน้ สนใจ คำถาม ความ (20) ผา่ น
ในการ /การมี คดิ เหน็
(5) เรยี น ปฏิสัมพนั ธ์ (5)
(5) (5)
1 นางสาวเบญจวรรณ หยวกแฟง 5 5 4 5 19
2 นายธีรวฒุ ิ แสนปาง 5 5 4 5 19
3 นางสาวจริ ากร ยี่สุน่ หอม 5 5 5 5 20
4 นางสาวชอ่ ผกา พลิ ึกเรือง 5 5 4 5 19
5 นางสาวอมุ าภรณ์ จตรุ งั 5 5 5 5 20
6 นางสาวพรสวรรค์ มาลาหอม 5 5 4 5 19
7 นางสาวอภิญญา ชาวกณั หา 5 5 4 5 19
8 นายเจนณรงค์ วาสทอง 5 5 4 5 19
9 นางสาวพรนัชชา วทิ ยาดี 5 5 4 5 19
10 นายศรนั ย์ ทองภู่ 5 5 4 5 19
11 นางสาวขวัญธิดา พิมศรโี คตร 5 5 4 5 19
12 นายธนวฒั น์ ละครลำ้ 5 5 4 5 19
13 นางสาวตรี ณา กรีมหา 5 5 5 5 20
14 นางสาวนรศิ รา รอดครา้ ม 5 5 4 5 19
15 นางสาวธญั ญาภรณ์ แจม่ กระจา่ ง 5 5 4 5 19
16 นายดษุ ฎี มนตรวี ัน 5 5 4 5 19
17 นางสาวกนกวรรณ สีลาโพธิ์ 5 5 4 5 19
18 นางสาวจิราวรรณ คีรมี า 5 5 4 5 19
19 นางสาวชนกิ านต์ อกั ษรไทย 5 5 4 5 19
20 นางสาวนารรี ัตน์ จันทะพินจิ 5 5 4 5 19
15
รายการประเมิน สรปุ ผล
ที่ ชื่อ-สกุล ความ ความ การตอบ การแสดง รวม ผา่ น ไม่
กระตือรอื รน้ สนใจ คำถาม ความ (20) ผ่าน
21 นายธณยศ สงนอก ในการ /การมี คิดเหน็
22 นายกรกช จอ้ ยชะรัด (5) เรียน ปฏิสมั พนั ธ์ (5)
23 นางสาวถริ ดา สาระวารี (5) (5)
24 นายหัสวรรษ บญุ จีน
25 นางสาวพัทธนนั ท์ บุญกอ 5 5 4 5 19
26 นางสาววรศิ รา ศรีงาม
27 นางสาวตุลยดา เคลือบขุนทด 5 5 4 5 19
28 นางสาวพมิ ลวรรณ ยม้ิ เจรญิ
29 นางสาววตากานต์ อยปู่ ระเสรฐิ 5 5 5 5 20
30 นางสาวอัจฉรา พลอยไธสง
31 นางสาวเดอื นเพ็ญ พลอาจ 5 5 4 5 19
32 นางสาวจริ าพร เอีย้ งโสนก
33 นางสาวนงพลอย ตนัยธญั 5 5 4 5 19
34 นางสาวรศั ม์ิประภา เกษร
35 นายธนกร แก่นการ 5 5 4 5 19
36 นายจตุรงค์ กา้ นขาว
37 นางสาวอภิญญา ทองหลาง 5 5 4 5 19
38 นางสาวปภสั สร จลุ วงษ์
39 นางสาวจินดารตั น์ มโี พธ์ิ 5 5 4 5 19
40 นายวีรพัฒน์ ศาสนาอภชิ าติ
41 นางสาวพรนภา จนั ทร์ทองสุข 5 5 4 5 19
42 นางสาวจิราวรรณ พนั ธย์ าง
43 นางสาวกลุ ธิดา กล่ินอบเชย 5 5 5 5 20
44 นางสาวปาณสิ รา เอ่ียมสะอาด
5 5 5 5 20
5 5 5 5 20
5 5 4 5 19
5 5 4 5 19
5 5 4 5 19
5 5 4 5 19
5 5 4 5 19
5 5 4 5 19
5 5 4 5 19
5 5 4 5 19
5 5 4 5 19
5 5 5 5 20
5 5 4 5 19
5 5 4 5 19
16
รายการประเมนิ สรุปผล
ที่ ช่อื -สกุล ความ ความ การตอบ การแสดง รวม ผา่ น ไม่
กระตือรือร้น สนใจ คำถาม ความ (20) ผา่ น
45 นายวรากรณ์ แจม่ สวา่ ง ในการ /การมี คิดเหน็
46 นายปิยบุตร ใจหนกั แน่น (5) เรียน ปฏสิ ัมพนั ธ์ (5)
47 นายธนพฒั น์ ยาศรี (5) (5)
48 นางสาวอรณุ วรรณ ทองดี
49 นางสาวสุภวรรณ แสวงผล 5 5 5 5 20
50 นายเทยี นชัย ไตรนุช
51 นางสาวคีตาวัน แสนโสม 5 5 4 5 19
52 นายจกั รพันธ์ มีอิสระ
53 นายบญุ ฤทธ์ิ หลวงประสาร 5 5 4 5 19
54 นางสาววรศิ รา รัตนวมิ ล
55 นางสาวสิริพร สวุ รรณสะอาด 5 5 4 5 19
56 นายตรัยรตั น์ บุญพา
57 นายศุภกติ ติ์ ลือธิสาร 5 5 4 5 19
58 นางสาวชนิสรา พรหมมา
59 นางสาวเบญจมาภรณ์ ศิรริ กั ษ์ 5 5 4 5 19
60 นางสาวพรชิตา ขาวน้อย
61 นางสาวฐติ มิ า ภริ มย์ไตรภักด์ิ 5 5 4 5 19
62 นายณพล แซ่ล้ี
63 นางสาวนภายุ ผู้สมบรู ณ์วฒั นา 5 5 4 5 19
64 นายนพรตั น์ ทาทอง
65 นายเขตสยาม อยู่พร้อม 5 5 4 5 19
66 นางสาววราภา คมุ้ แกว้
67 นางสาวเนติมา แกว้ ลกู 5 5 4 5 19
68 นายศภุ ฤกษ์ กล่นิ หอม
5 5 4 5 19
5 5 4 5 19
5 5 4 5 19
5 5 5 5 20
5 5 5 5 20
5 5 4 5 19
5 5 4 5 19
5 5 5 5 20
5 5 4 5 19
5 5 5 5 20
5 5 4 5 19
5 5 4 5 19
5 5 5 5 20
5 5 5 5 20
17
รายการประเมนิ สรปุ ผล
ท่ี ชอื่ -สกุล ความ ความ การตอบ การแสดง รวม ผ่าน ไม่
กระตอื รอื รน้ สนใจ คำถาม ความ (20) ผา่ น
69 นางสาวคฑาทอง คงทอง ในการ /การมี คดิ เหน็
70 นายมานะชัย เภาเจรญิ (5) เรยี น ปฏสิ มั พนั ธ์ (5)
71 นายเอกอนนั ต์ ทัพปริ า (5) (5)
72 นางสาวปยิ นันท์ รู้รอบดี
73 นางสาววนิดา ฉีดเนยี ม 5 5 4 5 19
74 นางสาวบษุ กร แซ่ลม้ิ
75 นางสาววราภรณ์ คงทอง 5 5 4 5 19
76 นางสาวปน่ิ มกุ เรอื งรัมย์
5 5 4 5 19
5 5 4 5 19
5 5 4 5 19
5 5 4 5 19
5 5 4 5 19
5 5 4 5 19
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
16-20 คะแนน ระดับ 4 = ดมี าก
13-15 คะแนน ระดับ 3 = ดี
10-12 คะแนน ระดับ 2 = พอใช้
ตำ่ กวา่ 10 คะแนน ระดบั 1 = ควรปรับปรุง
สรุปผลการประเมิน
ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง
เกณฑก์ ารตดั สนิ ใจ
ผ่าน ไมผ่ ่าน
ลงช่อื ................................................................... ผู้ประเมนิ
(นายไท คงคลา้ ย)
(.........../..................../.................)
)
18
)
ภาคผนวก
19
ใบงาน
การเปรยี บเทียบศกั ราชแบบต่างๆ
คำชแี้ จง ใหน้ ักเรียนตอบคำถามตอ่ ไปนี้
1. นกั เรียนที่เข้าเรยี นชั้น ม. 1 ปี พ.ศ. 2555 จะต้องมอี ายุครบ 13 ปี ดังน้ันนักเรยี นท่ีจะเขา้ เรียนได้จะตอ้ งเกิด
ใน พ.ศ. ใด และตรงกับ ค.ศ. ใด
ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ขุนเดชเข้าทำงานเป็นเจ้าหน้าที่อนุรักษ์โบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยเมื่อ 20 เมษายน ร.ศ.
127 แสดงว่า ขุนเดชทำงานเปน็ เจา้ หน้าท่ีอนรุ กั ษ์โบราณสถานในอทุ ยานประวตั ิศาสตร์สุโขทัยในปี พ.ศ. ใด
ตอบ .....................................................................................................................................................................
3. “ศุภมัศดุ จุลศักราช 1236 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจฬุ าลงกรณ์ เป็นพระเจ้าแผ่นดินในรชั กาล ท่ี
5 ทรงพระราชดำริว่าไดท้ รงประกาศตั้งเคาน์ซลิ ลอร์ออฟสเตด ทีป่ รึกษาราชการแผน่ ดนิ ไวแ้ ต่วนั ศุกร์ เดือนหก
แรมแปดค่ำ ปจี อศก เพื่อจะไดช้ ว่ ยคิดราชการแผ่นดิน” พระราชบญั ญตั ิดงั กล่าวประกาศใน พ.ศ. ใด
ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ถ้านักเรียนนบั ถอื ศาสนาอิสลาม แล้วสำนักจุฬาราชมนตรปี ระกาศวนั ออกบวชของชาวมสุ ลิม ใหต้ รงกบั วันท่ี
30 สิงหาคม พ.ศ. 2555 จะตรงกบั ฮจิ เราะหศ์ กั ราชใด
ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. “๑๒๐๕ ศก ปีมะแม พ่อขุนรามคำแหงหาใครใจในใจ แลใส่ลายสอื ไทยนี้” แสดงใหเ้ ห็นวา่ พอ่ ขนุ รามคำแหง
มหาราชทรงประดษิ ฐอ์ ักษรไทยขน้ึ ใน พ.ศ. ใด และตรงกบั จ.ศ. ใด
ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
20
ใบงาน
การเปรยี บเทียบศักราชแบบตา่ งๆ
คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามตอ่ ไปนี้
1. นกั เรียนที่เข้าเรียนช้นั ม. 1 ปี พ.ศ. 2555 จะต้องมีอายุครบ 13 ปี ดงั นน้ั นกั เรยี นทจ่ี ะเขา้ เรียนไดจ้ ะตอ้ งเกดิ
ใน พ.ศ. ใด และตรงกับ ค.ศ. ใด
ตอบ ………………………………………………………. …1 ………….….…2…55…5…………………….….…2…54…2………………. …. 1…9…99……………
2. ขนุ เดชเข้าทำงานเปน็ เจา้ หน้าทอ่ี นุรักษ์โบราณสถานในอทุ ยานประวัตศิ าสตร์สุโขทยั เมือ่ 20 เมษายน ร.ศ.
127 แสดงวา่ ขุนเดชทำงานเป็นเจา้ หน้าทอ่ี นุรกั ษ์โบราณสถานในอุทยานประวตั ิศาสตร์สโุ ขทยั ในปี พ.ศ. ใด
ตอบ .................................2.4..5..2................................................................................................................................
3. “ศุภมัศดุ จุลศักราช 1236 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจฬุ าลงกรณ์ เป็นพระเจา้ แผ่นดนิ ในรชั กาล ที่
5 ทรงพระราชดำริวา่ ไดท้ รงประกาศตง้ั เคานซ์ ลิ ลอร์ออฟสเตด ท่ีปรึกษาราชการแผน่ ดนิ ไวแ้ ตว่ ันศุกร์ เดือนหก
แรมแปดค่ำ ปีจอศก เพอ่ื จะไดช้ ่วยคดิ ราชการแผ่นดิน” พระราชบญั ญัติดังกล่าวประกาศใน พ.ศ. ใด
ตอบ ……………………….….…2…41…7…………………………………………………………………………………………………………………
4. ถา้ นักเรียนนับถือศาสนาอสิ ลาม แลว้ สำนกั จุฬาราชมนตรปี ระกาศวนั ออกบวชของชาวมุสลมิ ให้ตรงกบั วนั ท่ี
30 สิงหาคม พ.ศ. 2555 จะตรงกบั ฮจิ เราะหศ์ ักราชใด
ตอบ ………………………. …. …14…33……………………………………………………………………………………………………………………
5. “๑๒๐๕ ศก ปีมะแม พอ่ ขนุ รามคำแหงหาใครใจในใจ แลใสล่ ายสือไทยน้ี” แสดงให้เหน็ ว่าพอ่ ขุนรามคำแหง
มหาราชทรงประดิษฐอ์ กั ษรไทยขน้ึ ใน พ.ศ. ใด และตรงกบั จ.ศ. ใด
ตอบ ………………………. …. …18…26……แล…………………. …. 6…4…5 ……………………………………………………………………………………
21
ส่อื การสอน
22
23
24
25
26
27
28
29
บรรยากาศในช้นั เรียน
31
แผนการจดั การเรียนรู้
กล่มุ สาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ืองอาณาจักรอยธุ ยา จำนวน 5 ช่ัวโมง
เร่อื งท่ี 2 พฒั นาการของระบบการปกครองสมยั อยุธยาตอนกลาง จำนวน 20 นาที
สอนวนั อังคารที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2565 ช้ัน ม.2/1 เวลา 15.01 – 15.21 น.
ผูส้ อน นายวรากรณ์ แจม่ สว่าง และคณะ โรงเรยี นวชิรราษฎร์บารุงวิทยานุสรณ์
___________________________________________________________________________
มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชวี้ ดั
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาตจิ ากอดีตจนถงึ ปัจจบุ นั ในด้านความสัมพนั ธ์และการ
เปลย่ี นแปลงของเหตกุ ารณอ์ ยา่ งต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบทีเ่ กิดข้ึน
ตัวชี้วัด
ส 4.2 ม.1/2 วิเคราะหป์ ัจจัยที่ส่งผลต่อความม่ันคงและความเจริญรงุ่ เรอื งของอาณาจักรอยธุ ยา
มโนทัศน์สำคญั /สาระสำคัญ
อาณาจักรอยธุ ยาสามารถดำรงอยู่ได้อยา่ งต่อเน่ืองกนั มาถึง 417 ปี และมีพฒั นาการดา้ นการเมืองการ
ปกครอง โดยมีโครงทางสร้างสงั คมของสมยั อยธุ ยาตอนกลางซงึ่ มรี ะบบจตสุ ดมภ์ ท่ที ำให้อยธุ ยามีความ
เจรญิ รงุ่ เรืองมากย่งิ ขึน้ ตามลำดับ
คำถามสำคัญ
1. ระบบการปกครองสง่ ผลอยา่ งไรต่อการพัฒนาการด้านสงั คมของอยุธยาตอนกลาง
2. เหตใุ ดในสมัยอยธุ ยาตอนกลางจึงมคี วามเจริญรุ่งเรือง
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธบิ ายลกั ษณะทางสงั คมของอาณาจักรอยธุ ยาได้
2. วเิ คราะห์ปัจจยั ด้านสงั คมท่ีสง่ ผลตอ่ ความม่ันคงและความเจริญรุง่ เรอื งของอาณาจกั รอยธุ ยา
3. วเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งทางสงั คมในสมัยอยธุ ยาได้
32
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคแ์ ละสมรรถนะสำคญั สมรรถนะสำคัญ
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร
2. ความสามารถในการคิด
1.รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. มีวนิ ัย 2.1 ทักษะการคดิ วเิ คราะห์
3. ใฝ่เรยี นรู้ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. มุ่งม่นั ในการทำงาน 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
5. รักความเปน็ ไทย 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
สาระการเรียนรู้
1. พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาในดา้ นสังคม
2. ปัจจัยท่สี ่งเสรมิ ความเจรญิ รงุ่ เรอื งอาณาจักรอยธุ ยา
3. ปจั จยั ทีส่ ง่ เสรมิ ระบบจตุสดมภ์ในสมัยอยธุ ยาตอนกลาง
การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (การเรยี นรู้โดยใชเ้ กมเป็นฐาน (Game-based Learning)
ข้ันที่ 1 การนำเขา้ สู่เกม
1. ครกู ล่าวทกั ทายนักเรยี นและแนะนำตวั กบั นกั เรยี น
2. ครูแนะนำบทเรยี นท่จี ะทำการสอน และใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั เลน่ เกมเปิดแผน่ ภาพเพื่อเป็นการกระตุ้นความสนใจ
3. ครูสนทนาเช่ือมโยงเขา้ สบู่ ทเรียน เรอ่ื ง พัฒนาการของระบบการปกครองสมัยอยธุ ยาตอนกลาง
ดงั นี้
“ภาพแรกเป็นวัดพระศรสี รรพเพชญน์ ะครับ แต่เดิมเปน็ วังหลวงในสมยั พระรามาธบิ ดที ี่ 1 และในสมัย
พระบรมไตรโลกนาถยกให้เป็นวดั ประจำพระราชวัง ในภาพท่ี 2 เป็นพระปรางคว์ ัดไชยวัฒนารามสร้างในสมยั
พระเจ้าประสาททอง ไดร้ ับอิทธิพลจากนครวัด จำลองลงมาสะท้อนเรือ่ งจักรวาลทนิ และจักรพรรดริ าช”
“จากทนี่ ักเรียนไดเ้ ล่นเกมเปิดแผน่ ภาพไปนะครับ มนี ักเรยี นพอจะทราบไหมวา่ วันนีค้ รจู ะมาสอนพวก
เราเร่ืองอะไร”
33
“ครบั วนั นคี้ รจู ะมาสอนเรื่องพัฒนาการของระบบการปกครองสมัยอยุธยาตอนกลางนะครบั และ
วันน้ีครูกม็ เี กมในใหน้ ักเรยี นไดเ้ ลน่ กัน ให้หยิบสมารท์ โฟนขึ้นมาครบั แล้วคน้ ในGoogle ว่า Kahoot”
ขนั้ ท่ี 2 การอธิบายเกม
4. ครูอธิบายวิธกี ารเข้าใชง้ านเว็บไซต์ Kahoot พรอ้ มทัง้ อธบิ ายกตกิ าการเลน่
4.1 เขา้ ไปท่ีหน้าเว็บไซต์ kahoot
4.2 ใส่หมายเลข PIN ท่ีไดจ้ ากครู (แสดงบนหน้าจอ) เสร็จแลว้ กดปมุ่ Enter
4.3 ใส่ชื่อสำหรับเล่นเกมส์ แล้วกด OK, go!
4.4 อ่านคำถามและคำตอบบนหน้าจอผสู้ อน และเลือกคำตอบที่ถูกต้องบนหน้าจอของตวั เอง โดย
สังเกตสแี ละสญั ลกั ษณ์ ของคำตอบ
ขัน้ ที่ 3 การเรียนรู้ผ่านเกม
5. ครใู หน้ ักเรียนร่วมกันเลน่ เกม Kahoot เพ่ือตรวจเช็กความรู้ความเข้าใจของตวั ผู้เรียน
6. ครูสรุปคะแนนของนักเรียน
34
ข้นั ท่ี 4 การอภิปรายเกม
7. ครอู ธิบายเร่ืองปัจจัยท่ีมผี ลตอ่ ความเจรญิ ของอาณาจกั รอยธุ ยาในดา้ นการปกครอง
8. ครนู ำผงั ความคดิ ทเ่ี กยี่ วข้องกบั อาณาจกั รอยุธยา
8.1 อธิบายผงั หวั เมืองสำคัญในสมยั อยุธยาตอนกลาง
9. ครูชวนนกั เรียนคิดเรอื่ งระบบภายในสงั คมอาณาจักรอยุธยา
9.1 อธิบายเรอ่ื งระบบศกั ดินาและระบบไพรท่ าส
9.2 อธบิ ายผงั ระบบจตสุ ดมภใ์ นสมยั อยุธยาตอนกลาง
12
35
ขั้นท่ี 5 การสรปุ และประเมินผล
10. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปบทเรียน
10.1 ระบบการปกครองสง่ ผลอย่างไรต่อการพัฒนาการด้านสังคมของอยุธยาตอนกลาง
10.2 เหตุใดในสมยั อยธุ ยาตอนกลางจึงมคี วามเจรญิ รุ่งเรอื ง
11. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนได้คดิ วพิ ากษบ์ รบิ ทของคนในอาณาจกั รอยุธยา
ครถู ามนักเรียน
1. ระบบการปกครองสง่ ผลอยา่ งไรต่อการพฒั นาการด้านสังคมของอยุธยาตอนกลาง
2. เหตใุ ดในสมัยอยุธยาตอนกลางจึงมคี วามเจริญรุง่ เรือง
“ครับ วันนี้นักเรียนพอทราบเรื่องราวการปกครองในสมัยอยุธยาตอนกลางไปแล้วนะครับ วันนี้ครูก็จบการ
เรยี นการสอนวิชาประวิตศิ าสตร์ไว้เพียงเท่านี้ แลว้ เราพบกันใหม่ในสัปดาห์หน้านะครับ อย่าลืมกลับไปทบทวน
เนื้อหาและอ่านหนังสือกันมาด้วยนะครับ และครูก็จะมีเกมสนุกๆ มาทดสอบความรู้กันอีกนะครับสวัสดี
ครบั ”
ส่อื และแหล่งการเรียนรู้
1. หนังสอื เรียนประวัตศิ าสตร์ ม.2
2. Power Point เรอื่ งพัฒนาการทางประวัติศาสตร์สมยั อยุธยา ตอนกลาง
3. สือ่ การสอนออนไลน์ (รูปแบบเกมKahoot)
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
รายการวัด วธิ ีการวัดผล เครอื่ งมือวดั เกณฑก์ ารประเมิน
และประเมนิ
1. อธบิ ายลักษณะทางสงั คม 1. ตรวจผลงานของ 1. แบบบนั ทึกการ 1. ผลการตรวจผลงาน ผ่าน
ของอาณาจักรอยุธยาได้ นักเรียน ประเมินผลงานนักเรียน รอ้ ยละ 60
2. วิเคราะหป์ ัจจัยด้านสังคม 2. ประเมินการ 2. แบบประเมนิ การ 2. ผลการนำเสนอผลงาน
ท่สี ่งผลตอ่ ความม่ันคงและ นำเสนอผลงาน นำเสนอผลงาน ผ่านร้อยละ 60
ความเจรญิ รงุ่ เรอื งของ 3. สังเกตพฤติกรรม 3. แบบสังเกต 3. ผลการสงั เกตพฤติกรรม
อาณาจักร การทำงานรายบคุ คล พฤติกรรมการทำงาน การทำงานรายบุคคล ผา่ น
อยุธยา 4. สังเกตพฤติกรรม รายบคุ คล รอ้ ยละ 60
3. วเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งทาง การทำงานรายกลุ่ม 4. แบบสงั เกต 4. ผลการสังเกตพฤตกิ รรม
สงั คมในสมัยอยธุ ยาได้ พฤติกรรมการทำงาน การทำงานรายกลุ่ม
รายกลุม่ ผ่านร้อยละ 60
36
บนั ทกึ หลังการเรียนรู้
1. ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้
1.1 ผเู้ รยี นมคี วามสนใจ มีสว่ นร่วมในการเรยี นให้ความร่วมมือเปน็ อยา่ งดี
2. ปัญหาและอุปสรรค
2.1 ขั้นการเล่นเกมของครูไม่อารมณร์ ว่ มในการถามคำถาม
2.2 เน้อื หาบางสว่ นมคี วามซับซ้อนและความใจไดย้ าก
3. แนวทางการแกไ้ ขและข้อเสนอแนะ
3.1 ปรบั แกเ้ น้อื หาให้มีความซับ และแบง่ เน้ือหาบางส่วนไวส้ อนคาบต่อไป
3.2 ควรจดั ทำสรปุ ใบความรู้เพือ่ ให้นกั เรยี นได้กลับทบทวน
3.3 ครคู วรปรบั นำ้ เสียงขณะนำนกั เรียนเล่นเกม ควรมีอารมณ์รว่ มและใช้นำ้ เสยี งท่ชี วนให้สนกุ สนาน
ลงชอื่ ................................................................... ผสู้ อน
(นายวรากรณ์ แจ่มสวา่ ง)
ลงชือ่ ................................................................... ผสู้ อน
(นายปยิ บุตร ใจหนักแน่น)
ลงชอ่ื ................................................................... ผสู้ อน
(นายบญุ ฤทธิ์ หลวงประสาร)
37
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนในชั้นเรยี นรายบคุ คล D1
รายการประเมนิ สรุปผล
ท่ี ชอ่ื -สกุล การ ความ การตอบ ความคิด ผ่าน ไม่
1 นางสาวเบญจวรรณ หยวกแฟง ทำงาน กระตอื รอื คำถาม ริเริ่ม รวม
(3) สร้างสรรค์ (12) ผา่ น
ร่วมกนั ร้น
(3) (3) (3)
2 2 2 28
2 นายธีรวฒุ ิ แสนปาง 2 1 1 26
3 นางสาวจริ ากร ยส่ี ุ่นหอม 2 2 2 28
4 นางสาวช่อผกา พิลกึ เรือง 2 2 2 39
5 นางสาวอุมาภรณ์ จตุรงั 2 3 3 3 11
6 นางสาวพรสวรรค์ มาลาหอม 2 1 1 2 6
7 นางสาวอภญิ ญา ชาวกณั หา 2 2 2 2 8
8 นายเจนณรงค์ วาสทอง 2 1 1 26
9 นางสาวพรนชั ชา วทิ ยาดี 3 3 3 3 12
10 นายศรันย์ ทองภู่ 3 3 3 3 12
11 นางสาวขวญั ธิดา พมิ ศรโี คตร 2 2 2 2 8
12 นายธนวัฒน์ ละครล้ำ 2 1 1 26
13 นางสาวตีรณา กรีมหา 2 2 2 28
14 นางสาวนริศรา รอดคร้าม 2 2 2 28
15 นางสาวธัญญาภรณ์ แจม่ กระจ่าง 3 2 2 3 10
16 นายดษุ ฎี มนตรีวนั 3 2 2 3 10
17 นางสาวกนกวรรณ สลี าโพธิ์ 3 2 2 3 10
18 นางสาวจิราวรรณ คีรมี า 2 2 3 29
19 นางสาวชนกิ านต์ อักษรไทย 3 3 3 3 12
20 นางสาวนารรี ตั น์ จันทะพินจิ 2 2 2 2 8
21 นายธณยศ สงนอก 3 2 2 3 10
38
22 นายกรกช จ้อยชะรดั 3 3 3 3 12
23 นางสาวถิรดา สาระวารี 2 2 3 3 10
24 นายหสั วรรษ บญุ จีน 3 3 3 3 12
25 นางสาวพทั ธนันท์ บญุ กอ 2 2 2 3 11
26 นางสาววรศิ รา ศรงี าม 3 3 3 3 12
27 นางสาวตุลยดา เคลือบขุนทด 2 2 2 2 8
28 นางสาวพมิ ลวรรณ ยม้ิ เจรญิ 2 2 2 2 8
29 นางสาววตากานต์ อยปู่ ระเสริฐ 2 2 2 39
30 นางสาวอัจฉรา พลอยไธสง 2 2 2 39
31 นางสาวเดือนเพ็ญ พลอาจ 2 2 2 28
32 นางสาวจิราพร เอ้ียงโสนก 2 2 2 28
33 นางสาวนงพลอย ตนัยธัญ 2 2 2 28
34 นางสาวรศั ม์ิประภา เกษร 2 3 2 29
35 นายธนกร แก่นการ 2 1 1 26
36 นายจตรุ งค์ กา้ นขาว 1 1 1 25
37 นางสาวอภิญญา ทองหลาง 22 2 28
เกณฑก์ ารประเมนิ
9-12 คะแนน ระดับ 3 = ดี
5-8 คะแนน ระดบั 2 = พอใช้
0-5 คะแนน ระดบั 1 = ควรปรบั ปรุง
สรปุ ผลการประเมนิ
ดี พอใช้ ปรบั ปรุง
เกณฑ์การตัดสนิ ใจ
ผ่าน ไมผ่ า่ น
หมายเหตุ: เกณฑเ์ ป็นไปตามท่ีโรงเรียนกำหนด
ลงช่อื …………………………………………………………………………….ผู้ประเมนิ
39
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นในช้นั เรยี นรายบคุ คล D2
รายการประเมนิ สรปุ ผล
ช่อื -สกุล การ ความ การตอบ ความคดิ ผ่าน ไม่
ท่ี ทำงาน กระตอื รือ คำถาม ริเร่มิ รวม
ผา่ น
(3) สร้างสรรค์ (12)
ร่วมกัน รน้
(3) (3) (3)
1 นางสาวปภสั สร จลุ วงษ์ 1 2 3 28
2 นางสาวจนิ ดารตั น์ มโี พธิ์ 2 2 2 28
3 นายวรี พฒั น์ ศาสนาอภชิ าติ 3 3 3 3 12
4 นางสาวพรนภา จนั ทร์ทองสุข 2 3 2 2 10
5 นางสาวจริ าวรรณ พันธย์ าง 33 3 2 10
6 นางสาวกลุ ธดิ า กล่นิ อบเชย 3 2 2 2 10
7 นางสาวปาณสิ รา เอี่ยมสะอาด 2 2 2 3 10
8 นายไท คงคล้าย 3 3 3 3 12
9 นายอนุวฒั น์ ไกรกูล 3 3 3 2 11
10 นายธนพัฒน์ ยาศรี 3 3 3 3 12
11 นางสาวอรณุ วรรณ ทองดี 2 1 1 26
12 นางสาวสภุ วรรณ แสวงผล 3 3 3 3 12
13 นายเทยี นชัย ไตรนุช 2 3 3 3 11
14 นางสาวคีตาวนั แสนโสม 3 3 3 3 12
15 นายจักรพันธ์ มีอิสระ 2 2 3 3 10
16 นายนฤดล แผว้ พลสง 3 3 3 3 12
17 นางสาววรศิ รา รตั นวิมล 2 2 2 28
18 นางสาวสริ พิ ร สุวรรณสะอาด 2 2 2 2 8
19 นายตรัยรตั น์ บญุ พา 2 2 1 27
20 นายศุภกิตติ์ ลือธสิ าร 2 3 3 2 10
21 นางสาวชนสิ รา พรหมมา 3 3 3 3 12
22 นางสาวเบญจมาภรณ์ ศิรริ กั ษ์ 3 3 3 3 12
40
23 นางสาวพรชติ า ขาวนอ้ ย 2 2 2 28
24 นางสาวฐิติมา ภริ มยไ์ ตรภักด์ิ 2 1 1 2 6
25 นายณพล แซ่ลี้ 2 3 3 3 11
26 นางสาวนภายุ ผ้สู มบรู ณ์วัฒนา 2 2 1 27
27 นายนพรตั น์ ทาทอง 2 1 2 27
28 นายเขตสยาม อยู่พร้อม 2 2 2 39
29 นางสาววราภา คุม้ แกว้ 3 3 3 3 12
30 นางสาวเนตมิ า แกว้ ลกู 3 3 3 3 12
31 นายศุภฤกษ์ กลน่ิ หอม 3 3 3 3 12
32 นางสาวคฑาทอง คงทอง 2 2 2 28
33 นายมานะชยั เภาเจรญิ 2 2 3 29
35 นายเอกอนันต์ ทัพปิรา 2 2 3 29
36 นางสาวปยิ นนั ท์ ร้รู อบดี 2 2 2 28
37 นางสาววนดิ า ฉดี เนยี ม 2 2 3 3 10
38 นางสาวบษุ กร แซ่ลม้ิ 3 3 3 3 12
39 นางสาววราภรณ์ คงทอง 3 3 3 3 12
40 นางสาวปนิ่ มกุ เรอื งรัมย์ 2 2 2 28
เกณฑ์การประเมิน
9-12 คะแนน ระดับ 3 = ดี
5-8 คะแนน ระดับ 2 = พอใช้
0-5 คะแนน ระดับ 1 = ควรปรบั ปรงุ
สรุปผลการประเมนิ
ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
เกณฑ์การตดั สนิ ใจ
ผ่าน ไมผ่ ่าน
หมายเหตุ: เกณฑ์เป็นไปตามที่โรงเรยี นกำหนด
ลงชื่อ…………………………………………………………………………….ผู้ประเมนิ
41
ภาคผนวก
42
43
44
45
46
47