The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2564 ของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by boombim887, 2021-10-28 04:01:52

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2564 ของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2564 ของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3





สารจากผอู้ ำนวยการ

สำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 3

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3
(สสว.3) สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ

ความมั่นคงของมนุษย์ มีบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุน
และพัฒนางานวิชาการด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย
ให้สามารถก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรอบด้าน พร้อมทั้งบูรณาการ
งานด้านการพัฒนาสงั คมจากทุกภาคส่วนที่เกีย่ วขอ้ ง

รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2564 เป็นการรายงานผลการปฏิบัติงานตาม
ประเด็นยุทธศาสตร์และภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยมีแผนงาน/
โครงการ/กิจกรรมต่างๆ ภายใต้ยุทธศาสตร์ของ สสว.3 การจัดทำรายงานฯ เพื่อนำเสนอผลงานของ สสว.3
และเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน เครือข่าย และประชาชนทั่วไป
ทราบถึงภารกิจหน้าที่ของ สสว.3 และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการทำงานด้านการพัฒนาสังคม
ในพื้นท่ีตอ่ ไป

สุดท้ายนี้ ดิฉันต้องขอขอบคุณบุคลากรของ สสว.3 หน่วยงานทีม One Home รวมทั้งเครือข่าย
ของหน่วยงานกระทรวง พม. ที่ทุ่มเททั้งกำลังกาย กำลังใจ และกำลังความคิด ในการปฏิบัติหน้าท่ีเป็นอย่างดี
เพื่อช่วยเหลือประชาชนกลุ่มเป้าหมายในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้
งานราชการบรรลผุ ลสำเรจ็ เป็นอยา่ งดีย่ิง

(นางเบญจมาส แกน่ เมือง)
ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ 3



สารบัญ หน้า

สารจากผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 3 1
สารบญั 2
3
สว่ นที่ 1 ข้อมลู ทว่ั ไปของสำนักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 3 4
1.1 ประวตั ิความเปน็ มา 5
1.2 บทบาทอำนาจและหน้าที่ .6
1.3 โครงสรา้ ง .7
1.4 อตั รากำลัง .8
1.5 เขตพ้นื ทีร่ บั ผดิ ชอบ
1.6 ขอ้ มลู ประชากรและการปกครองสว่ นภูมภิ าคในเขตพื้นที่รบั ผิดชอบ 10
1.7 วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ ค่านิยม และยุทธศาสตร์ 10
1.8 ความเชือ่ มโยงยุทธศาสตร์ 11
14
สว่ นท่ี 2 รายงานผลการดำเนนิ งานตามภารกจิ หลัก .15
2.1 โครงการศนู ย์บริการวิชาการพัฒนาสังคมและจดั สวสั ดิการสงั คมในระดับพ้ืนท่ี 19
2.1.1 การพฒั นางานประจำส่งู านวิจยั (Routine to Research : R2R) 20
2.1.2 งานบริการทางวิชาการ
2.1.3 การจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) 21
2.1.4 กิจกรรมการบูรณาการสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแข็ง
2.1.5 การพฒั นาระบบขอ้ มูลเครอื ขา่ ยในเขตพน้ื ท่รี บั ผิดชอบ 22
2.1.6 โครงการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากรใหก้ บั บคุ ลากรในหนว่ ยงาน
ในกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์
2.2 โครงการเสริมสรา้ งทกั ษะภาษาเมยี นมาเบอ้ื งตน้ เพอ่ื การชว่ ยเหลอื และคมุ้ ครอง
ผูเ้ สียหายจากการค้ามนุษย์
2.3 โครงการวจิ ยั : รูปแบบทีเ่ หมาะสมของการจดั บริการทางสังคมสำหรบั
ผูส้ ูงอายทุ ่ีมภี าระเลี้ยงดคู รอบครวั : ศึกษาเฉพาะกรณใี นเขตกลุ่มจงั หวดั
ภาคกลางตอนลา่ ง



สารบัญ

หน้า

2.4 โครงการขับเคลอ่ื นการดำเนินงานแผนงานดา้ นสงั คมในระดบั พืน้ ที่ . 23
.2.4.1 การรายงานสถานการณท์ างสงั คมกล่มุ จังหวัด/ระดับภาค .23
2.4.2 การขับเคล่ือนการบรู ณาการแผนงานด้านสังคมกลุ่มจังหวดั ประจำปี 2564 27
2.4.3 การขับเคล่ือนศูนย์ขอ้ มลู ทางสังคมกลุ่มจังหวดั 32
2.4.4 การขับเคล่ือนมาตรฐาน และนเิ ทศตดิ ตามงาน 35
.37
. 2.4.5 กิจกรรมการวัดอุณภูมิทางสงั คม (พม. Poll) .41
2.5 สนบั สนนุ งานตรวจราชการ .41

2.5.1 สนับสนนุ งานตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสงั คม .48
และความมั่นคงของมนษุ ย์ 50
55
2.5.2 งานตรวจราชการรว่ มกับผตู้ รวจราชการสำนกั นายกรัฐมนตรี
2.6 การขับเคล่ือนการดำเนินงานทีม พม. จงั หวดั (One Home) ของกลุม่ จงั หวัด
2.7 รายงานผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณ ประจำปี 2564 (ณ วันที่ 30 กันยายน 2564)

สว่ นท่ี 3 รายงานผลการดำเนนิ งานตามภารกจิ พิเศษ 57
3.1 โครงการบูรณาการเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของกลุ่มเปราะบางรายครวั เรือน 60
3.2 กิจกรรมในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) .66
3.3 โครงการจดั ทำแผนปฏิบตั ิการเพื่อปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์จงั หวดั นครปฐม
เพื่อสร้างรายได้ ภายหลังสถานการณ์ โควดิ -19 ในจังหวัดนครปฐม .67
3.4 องค์กรแหง่ ความสุข 69
3.4 กจิ กรรมจติ อาสา

สว่ นที่ 4 ภาคผนวก



ส่วนท่ี 1
ข้อมูลท่ัวไปของ
สำนักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 3



1.1 ประวัตคิ วามเป็ นมา

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 หรือในชื่อย่อว่า “สสว.4”

เป็นหน่วยงานราชการส่วนกลางที่ตั้งอยู่ในภูมิภาค โดยจัดตั้งตามกฎกระทรวงบางส่วนราชการกรมพัฒนา
สงั คมและสวัสดิการ กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ พ.ศ. 2545 เทียบเทา่ กองหรือสำนัก
มีจำนวนทั้งสนิ้ 12 แห่ง กระจายอย่ทู ่ัวทุกภูมิภาคของประเทศ

ต่อมา ปี พ.ศ. 2558 มีพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2558
ให้สสว.ทั้ง 12 แห่ง ไปสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์แบ่งพื้นที่
รับผิดชอบคลอบคลุมตามยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศที่มีการบริหารจัดการเป็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด
18 กลุ่มจังหวัด โดย สสว.4 รับผิดชอบ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครปฐม ราชบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี
สมุทรสาคร สมทุ รสงคราม เพชรบรุ ี และจังหวดั ประจวบครี ีขันธ์ มอี ำนาจหน้าท่ี ดงั นี้

1. พัฒนางานด้านวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ให้สอดคล้อง
กับพ้ืนทแี่ ละกลุ่มเปา้ หมาย

2. ส่งเสริมและสนับสนนุ งานด้านวิชาการ องค์ความรู้ ข้อมลู สารสนเทศใหค้ ำปรึกษา แนะนำ
แก่หน่วยงานบริการทุกกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ให้บริการ ในความรับผิดชอบของกระทรวง รวมทั้งองค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ หน่วยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง องคก์ รภาคเอกชนและประชาชน

3. ศึกษา วิเคราะห์ สถานการณ์และสภาพแวดล้อมเพื่อคาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์
ทางสังคมและผลกระทบ รวมทัง้ ใหข้ อ้ เสนอแนะการพัฒนาสังคมและจดั ทำยทุ ธศาสตร์ในพื้นที่กลมุ่ จังหวดั

4. สนับสนุนการนิเทศงาน ติดตามประเมินผลการดำเนินงานเชิงวิชาการตามนโยบาย
และภารกจิ กระทรวงในพน้ื ทก่ี ลมุ่ จังหวัด

5. ปฏิบัติงานร่วมกันหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับ
มอบหมาย

เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2563 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ได้มีคำสง่ั
ท่ี 165/2563 เปลี่ยนชื่อสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 - 12 เป็นสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุน
วิชาการ 1 - 11 ซึ่งสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 เดิม ได้เปลี่ยนเป็น

1

1.2 บทบาทหน้าที่

กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงการพฒั นาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2563 สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 – 11
มหี น้าทแี่ ละอำนาจ ดงั ต่อไปนี้

1. พัฒนางานด้านวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ให้สอดคล้องกบั พื้นทแี่ ละกล่มุ เปา้ หมาย

2. ส่งเสริมและสนับสนุนงานดา้ นวิชาการ องค์ความรู้ ขอ้ มูลสารสนเทศและให้คำปรึกษา
แนะนำแก่หน่วยงานบริการทุกกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ให้บริการในความรับผิดชอบของกระทรวง
รวมทง้ั องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ หน่วยงานทเี่ กย่ี วข้อง องค์กรภาคเอกชนและประชาชน

3. ศึกษา วิเคราะห์ สถานการณ์และสภาพแวดล้อม เพื่อคาดการณ์แนวโน้ม
ของสถานการณ์ทางสังคมและผลกระทบ รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะการพัฒนาสังคมและการจัดทำ
ยุทธศาสตรใ์ นพน้ื ท่ีกลุ่มจงั หวัด

4. สนับสนนุ การนเิ ทศงาน ตดิ ตามประเมินผลการดำเนินงานเชิงวิชาการตามนโยบาย
และภารกิจของกระทรวง ในพนื้ ท่กี ลุ่มจงั หวดั

5. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
หรอื ทป่ี ลดั กระทรวงมอบหมาย

2

1.3 โครงสรา้ ง

ณ เดอื นตลุ าคม 2564

3

1.4 อัตรากำลัง

ประเภท จำนวน (คน)

ขา้ ราชการ 12
พนักงานราชการ 5
ลูกจา้ งประจำ 0
พนักงานจ้างเหมา 4
21
รวมทัง้ สิ้น
ข้อมูล ณ เดือนตลุ าคม 2564
0% 19%
24% 57%

ข้าราชการ พนักงานราชการ ลกู จา้ งประจา พนกั งานจ้างเหมา

4

5

1.5 เขตพ้นื ที่รบั ผิดชอบ

Website ขอ้ มูล
ตดิ ตอ่ หน่วยงานใน
เขตพ้ืนทร่ี ับผิดชอบ

สสว.3

จงั หวัด จำนวนประชากร รวม
ชาย หญิง

นครปฐม 441,884 478,845 920,729

ราชบุรี 422,831 446,482 869,313

กาญจนบรุ ี 447,983 443,993 891,976

สุพรรณบรุ ี 91,825 100,227 192,052

สมทุ รสาคร 282,723 303,476 586,199

สมุทรสงคราม 91,825 100,227 192,052

เพชรบรุ ี 232,915 249,278 482,193

ประจวบคีรีขันธ์ 272,849 277,829 550,678

ท่ีมา: กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

6

การปกครองส่วนภมู ิภาค 1.6 ขอ้ มูลประชากรและการปกครองส่วนภมู ภิ าคในเขตพื้นท่รี บั ผดิ ชอบ

ขนาดพ้ืนที่ อำเภอ ตำบล หมบู่ ้าน

2,168.33 7 106 930
5,196.42
19,483.15 10 104 977
5,358.00
13 98 959
872.34
416.71 10 110 1,008
6,225.14
6,367.62 3 40 303

3 36 284

8 93 698

8 48 437

ข้อมูล ณ เดือนธนั วาคม 2563

1.7 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม และยทุ ธศาสตร์

วิสยั ทศั น์
เป็นหน่วยงานวิชาการที่ขบั เคลือ่ นงานพฒั นาสังคมในพ้ืนทภี่ าคกลางตอนลา่ งร่วมกับภาคเี ครอื ขา่ ย

พนั ธกิจ

1. บรู ณาการงานพัฒนาสังคมเพือ่ การมีส่วนรว่ มจากทุกภาคสว่ น
2. ศกึ ษาวิจัยและพฒั นางานวิชาการดา้ นการพฒั นาสังคม
3. ส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการพัฒนาสังคมเพื่อความสามารถในการตอบสนอง

ต่อการเปลี่ยนแปลง
4. ตดิ ตาม ประเมินผล และพัฒนาขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายทส่ี อดคล้องกับบรบิ ทพนื้ ท่ี
5. พัฒนาสกู่ ารเป็นองค์กรแห่งการเรยี นรู้

ค่านิยม

รวมพลัง สรา้ งสรรค์ความรูส้ ู่การพฒั นาสงั คม

ยุทธศาสตร์

1. สนับสนุนหนว่ ยงาน พม. ในการขบั เคลื่อนการนำนโยบายไปปฏบิ ตั ไิ ด้อยา่ งสอดคล้อง
กับบริบททางสังคม

2. ส่งเสรมิ และพัฒนาองค์ความร้ดู า้ นการพฒั นาสงั คมที่สามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง
3. พัฒนางานวชิ าการดา้ นการพฒั นาสงั คม ซ่ึงนำไปสู่องค์กรและสังคมแหง่ การเรียนรู้
4. พัฒนาระบบนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

7

วสิ ัยทัศน์ : ประเทศมีความมั่นคง มงั่ คง่ั ยั่งยนื เป็นปร

ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาและ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ก

(พ.ศ. 2560-2579) เสริมสร้างศกั ยภาพมนุษย์ ทางสงั คม

แผนพฒั นาเศรษฐกจิ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 เสริมสร้างและ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 ก
และสังคมแห่งชาติ พัฒนาศกั ยภาพมนษุ ย์ เหล่อื มลำ้ ในสงั คม
ฉบับที่ 12

วิสัยทศั น์ พม. สร้าง

ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 พัฒนาศกั ยภาพ ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 ส

ยทุ ธศาสตร์ พม. 20 ปี คน ครอบครวั ชุมชนใหม้ คี วาม หลกั ประกันทางส

(พ.ศ. 2561-2580) เข้มแขง็ และสรา้ งระบบท่เี อื้อตอ่ ครอบคลมุ และเห

การพัฒนาคนให้มีคุณภาพชวี ติ ที่ดี กลุม่ เป้าหมาย

วสิ ัยทศั น์ สสว.3 เปน็ หนว่ ยงานวิชาการท่ีขบั เคล่อื นงานพัฒนาสังคม ใน

ยุทธศาสตร์ท่ี 1 สนับสนนุ ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ส

หน่วยงาน พม. ในการขับเคลอื่ น และพัฒนาองค์ค

ยุทธศาสตร์ สสว.3 การนำนโยบายไปปฏบิ ัติได้อยา่ ง การพัฒนาสังคมท

สอดคลอ้ งกบั บริบททางสังคม ตอบสนองต่อการ

เปลี่ยนแปลง

8

ระเทศท่ีพฒั นาแล้วด้วยการพัฒนาตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

การสร้างโอกาสและความเสมอภาค ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การปรับสมดลุ
และการพฒั นาระบบบริหาร
จัดการภาครฐั 1.8 ความเช่อื มโยงยทุ ธศาสตร์

การสร้างความเปน็ ธรรมและลดความ ยทุ ศาสตร์ที่ 6 การบริหาร
ม จดั การในภาครฐั การปอ้ งกัน

การทุจรติ ประพฤติมชิ อบ
และธรรมาภิบาลในสังคมไทย

งสงั คมดี คนมคี ุณภาพ

สรา้ ง ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ส่งเสริม ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 ยกระดับ
สงั คมท่ี ภาคเี ครอื ข่ายอยา่ งเปน็ องค์กรสกู่ ารเปน็ ผู้นำทางสังคม
หมาะสมกบั ระบบสู่การเป็นหนุ้ ส่วน

ทางสังคม

นพ้นื ทภี่ าคกลางตอนล่างร่วมกับภาคเี ครอื ขา่ ย

สง่ เสรมิ ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 พฒั นา ยทุ ธศาสตร์ 4 พัฒนาระบบ
ความรดู้ ้าน ระบบนิเทศ ตดิ ตาม นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลสู่
ที่สามารถ และประเมนิ ผลสู่ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
ร ขอ้ เสนอแนะเชิง
นโยบาย

ส่วนท่ี 2
รายงานผลการดำเนนิ งาน

ตามภารกิจหลัก

2.1 โครงการศนู ย์บริการวชิ าการพฒั นาสงั คมและจดั สวสั ดกิ ารสังคมในระดบั พน้ื ท่ี

วัตถปุ ระสงค์
เพื่อบริการงานวิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ โดยการเพ่ิม

ศักยภาพบคุ ลากร ข้อมูลสารสนเทศ และองคค์ วามรดู้ ้านการพฒั นาสังคมและจัดสวัสดิการสงั คม รวมทั้งเป็นหนว่ ย
เคลื่อนทีท่ างวชิ าการเชิงรุกแก่หนว่ ยงานบริการทกุ กลุ่มเป้าหมายในความรับผิดชอบของกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมัน่ คงของมนุษย์ อาสาสมคั รและภาคีเครอื ข่ายทเี่ ก่ียวข้อง
ผลการดำเนินงาน

กิจกรรมภายใต้โครงการศูนย์บริการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคมในระดับพื้นท่ี ประกอบด้วย
6 กจิ กรรม ดังนี้

2.1.1 การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) “การสร้าง LINE
Official Account ใหก้ ับ สำนักงานพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษยจ์ ังหวัดในเขต
พ้นื ท่รี บั ผดิ ชอบ 8 จังหวัด”

สำนกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 3 ได้ดำเนินกิจกรรม
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to research : R2R) โดยการ
สร้างบัญชี LINE Official Account ให้กับสำนักงานพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 8 จังหวัด ได้แก่
จังหวัดนครปฐม กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบรุ ี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม
เพชรบุรี และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพื่อพัฒนาการให้บริการเชิงรุก
ในการเข้าถึงผู้รับบริการ การให้ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงาน และการให้
บรกิ ารต่างๆ ได้อยา่ งสะดวกและรวดเร็ว

10

2.1.2 งานบริการทางวชิ าการ

2.1.2.1 กิจกรรมการขับเคลื่อนงานวิชาการเชิงรุกในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อบริการให้ความรู้
ด้านการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคมแก่ภาคีเครือข่าย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์
หนว่ ยงาน สสว.3 ใหเ้ ปน็ ที่รู้จักของประชาชนในเขตพื้นที่รบั ผดิ ชอบของ สสว.3 โดยมกี จิ กรรมต่างๆ ดังน้ี

1) โครงการจังหวัดนครปฐมพบประชาชน หน่วยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้กับ
ประชาชน จำนวน 2 คร้งั รายละเอยี ด ดังนี้

1.1 วันท่ี 29 ตุลาคม 2563 ณ วัดสวา่ งอารมณ์ อำเภอนครชยั ศรี จังหวดั นครปฐม
1.2 วันท่ี 24 พฤศจิกายน 2563 ณ วดั พะเนียงแตก อำเภอเมืองนครปฐม จังหวดั นครปฐม
2) งานตลาดนัดความสุขชุมชน ครั้งที่ 5 บางสะพานสร้างสุข คุณธรรมนำไทยเข้มแข็ง
วันที่ 28 พฤศจกิ ายน 2563 ณ ทวี่ า่ การอำเภอบางสะพาน อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์
3) การบูรณาการการสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง ประจำปี
2564 วนั ท่ี 4 มีนาคม 2564 ณ องค์การบริหารส่วนตำบลบอ่ พลอย อำเภอ
บอ่ พลอย จงั หวดั กาญจนบรุ ี
4) บริการงานวิชาการผ่านช่องทางอื่นๆ จัดทำคู่มือต่างๆ
เพอ่ื พฒั นาทกั ษะในการทำงานด้านการพัฒนาสงั คมและจัดสวัสดกิ ารสังคม ดังนี้
4.1 ค่มู อื วิธีการจัดทำ LINE Official Account
4.2 คูม่ อื การตัดต่อวดี ีโออย่างง่าย ดว้ ยKINEMASTER
4.3 คมู่ อื ทักษะการคิดเชงิ บวกและสรา้ งสรรค์

เพื่อการทำงานด้านสังคม
4.4 คู่มือการใชง้ าน Google Application

เพอ่ื การทำงาน Online

Download คมู่ ือ ทนี่ ่ี

11

ห้องสมดุ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ TPSO3

Website
ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ TPSO3

แผ่นพับสำนักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 3 ประจำปี 2564

แผน่ พับสสว. 3

12

ศนู ยข์ ้อมูลข่าวสารเกยี่ วกับโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

Website ศูนยข์ ้อมลู ขา่ วสารฯ

13

2.1.3 การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)

เพือ่ จดั การความรู้ โดยเนน้ กระบวนการสรา้ ง ประมวล เผยแพร่ และสารสนเทศด้านดิจทิ ัล เกี่ยวกับ
ความรู้ที่สำคัญโดยมุ่งค้นหาชุดความรูใ้ นการปฏิบัติงาน หรือการรวบรวมองค์ความรู้ หรือการแบ่งปันแลกเปล่ยี น
เรียนรู้ เพอื่ ใหก้ ลมุ่ เป้าหมายของ สสว.1-11 มีความรู้ใหมห่ รือนำแนวปฏิบตั ิทด่ี ไี ปปรับใช้ประโยชนใ์ หเ้ กดิ คุณค่า

1) กิจกรรมการจัดทำแผนการจัดการความรู้ของ
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
(สป.พม.)

เพื่อให้หน่วยงานมีแผนการจัดการความรู้ สป.พม.
ประจำปีงบประมาณ 2564 และเผยแพร่องค์ความรู้ ผ่านช่องทาง
เว็ปไซต์กระทรวงฯ โดยเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการ
ความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ (Knowledge Management
Implementation) ระหวา่ งวันท่ี 17 -18 ธันวาคม 2563 ณ หอ้ งประชุม
ปกรณ์อังสุสิงห์ ชั้น 2 กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ เพื่อระดม
ความคิดเห็น อภิปราย และจัดทำแผนการจัดการความรู้ สป.พม.
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2) กิจกรรมการจัดทำแผนการจัดการความรู้ ในเขตพื้นที่ของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุน
วชิ าการ 3 โดยการรวบรวมขอ้ มลู และจดั ทำการจดั การความรู้ จำนวน 5 เรื่อง ดงั น้ี

1. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานของ สสว. เรื่อง “การจัดทำคู่มือ LINE Official Account
โดย สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 3”

2. ความรู้เกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชน หรือคนพิการ หรือผู้สูงอายุ หรือสตรีและ
ครอบครัว หรือผู้ดอ้ ยโอกาสในสงั คมในระดับพื้นที่ เรื่อง “สร้างเยาวชน สร้างอนาคต” กองทุนสวัสดกิ ารชุมชน
ตำบลบางหลวง อำเภอบางเลน จงั หวดั นครปฐม”

3. ความรูต้ อบประเด็นยทุ ธศาสตร์ สป.พม. เร่อื ง “การบนั ทกึ ขอ้ มูลสมดุ พกครอบครัวด้วยระบบ Online”
4. ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ภัยพิบัติระดับพื้นท่ี เรื่อง ““นครปฐมโมเดล” ต้นแบบ
Community Isolation Complex”
5. ความรู้เกี่ยวกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย เรื่อง “โครงการเสริมสร้างสวัสดิการสังคม
ปงี บประมาณ 2564”

Website KM

14

2.1.4 กจิ กรรมการบูรณาการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็ง

เพ่อื การแก้ไขปัญหาคุณภาพชีวิตผู้ประสบปญั หาทางสังคม และพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนใหเ้ ขม้ แข็ง
ตามบรบิ ทของพื้นที่ ภายใต้การมีส่วนร่วมของชมุ ชน จำนวน 8 พื้นท่ี ประกอบดว้ ยกจิ กรรมต่าง ๆ ดงั น้ี

จงั หวัดสพุ รรณบุรี
1. วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564 ประชุมบูรณาการสร้างเสริม
ชุมชนเข้มแข็ง ร่วมกับหน่วยงานทีม One Home จังหวัดสุพรรณบุรี
และนายกองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อสุพรรณ
2. วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 ประชุมเพื่อขับเคลื่อนการ
ดำเนินงานร่วมกับทีม One Home จังหวัดสุพรรณบุรี ชี้แจงแนวทาง
และร่วมกำหนดพืน้ ที่ ตำบลบ่อสพุ รรณ อำเภอสองพน่ี ้อง
3. วันที่ 5 มีนาคม 2564 ประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์
ขอ้ มลู กล่มุ เปา้ หมาย ตำบลบอ่ สพุ รรณ อำเภอสองพ่ีน้อง จงั หวดั สพุ รรณบุรี
4. วันท่ี 9 มนี าคม 2564 คำส่ังแต่งตั้งคณะทำงาน
สรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แข็ง จงั หวดั สุพรรณบุรี พ้นื ทีต่ ำบลบอ่ สพุ รรณ
อำเภอสองพีน่ ้อง จงั หวัดสพุ รรณบุรี
5. วันท่ี 30 มนี าคม 2564 ประชมุ คณะทำงานสร้างเสรมิ ชุมชนเขม้ แข็ง
ตำบลบอ่ สุพรรณ อำเภอสองพนี่ อ้ ง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี คร้ังท่ี 1/2564
6. วันที่ 24 กนั ยายน 2564 ประชมุ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียน
การดำเนินงานการบรู ณาการสรา้ งเสริมชมุ ชนเข้มแข็ง ปีงบประมาณ 2564 รว่ มกับจังหวัดสพุ รรณบุรี

จงั หวัดกาญจนบรุ ี
1. วนั ท่ี 8 กุมภาพันธ์ 2564 ประชมุ เพอ่ื ขบั เคลอื่ นการดำเนินงาน
ร่วมกับทีม One Home กาญจนบุรี ชี้แจงแนวทางและร่วมกำหนดพ้ืนทีต่ ำบล
บอ่ พลอย อำเภอบ่อพลอย จงั หวดั กาญจนบรุ ี
2. วันที่ 4 มีนาคม 2564 ประชุมการบูรณาการสร้างเสริมชุมชน
เข้มแข็ง ประจำปี 2564 ณ องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อพลอย อำเภอบ่อพลอย
จงั หวดั กาญจนบุรี
3. วันที่ 29 มีนาคม 2564 แต่งตั้งคณะทำงานสร้างเสริมชุมชน
เขม้ แขง็ เทศบาลตำบลบอ่ พลอย อำเภอบอ่ พลอย จังหวดั กาญจนบรุ ี
4. วนั ท่ี 23 กันยายน 2564 ประชมุ เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรูแ้ ละถอดบทเรยี น
การดำเนินงานการบรู ณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปีงบประมาณ 2564
ร่วมกับจังหวดั กาญจนบุรี

15

จังหวดั นครปฐม
1. วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2564 ประชุมเพื่อขับเคลือ่ นการดำเนินงานร่วมกับทมี One Home จังหวัด
นครปฐม ชี้แจงแนวทางและร่วมกำหนดพื้นที่ ตำบลดอนยายหอม
อำเภอเมืองนครปฐม จังหวดั นครปฐม
2. วนั ท่ี 8 มนี าคม 2564 แต่งต้ังคณะทำงานสร้างเสริม
ชุมชนเข้มแข็งเทศบาลตำบลดอนยายหอม อำเภอเมืองนครปฐม
จังหวดั นครปฐม
3. วันที่ 30 มีนาคม 2564 ประชุมคณะทำงาน
สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งเทศบาลตำบลดอนยายหอม อำเภอเมือง
นครปฐม จงั หวัดนครปฐม ครั้งที่ 1/2564

4. วันที่ 17 กันยายน 2564 ประชุมเพื่อแลกเปลี่ยน
เรียนรู้และถอดบทเรียนการดำเนินงานการบูรณาการสร้างเสริม
ชมุ ชนเขม้ แข็ง ปีงบประมาณ 2564 ร่วมกบั จังหวัดนครปฐม

จงั หวดั ราชบรุ ี
1. วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2564 ประชุมเพื่อขับเคลื่อน
การดำเนินงานร่วมกับทีม One Home จังหวัดราชบุรี ชี้แจง
แนวทางและรว่ มกำหนดพ้นื ท่ี ตำบลบ้านบงึ อำเภอบา้ นคา จงั หวัด
ราชบรุ ี
2. วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564 ประชุมชี้แจงแนวทาง
การขับเคลื่อนงานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ณ องค์การบริหาร
ส่วนตำบลบ้านบึง อำเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี และจัดทำร่าง
คำสั่งแตง่ ตงั้ คณะทำงานสรา้ งเสริมชุมชนเข้มแข็งตำบลบ้านบึง อำเภอ
บา้ นคา จังหวดั ราชบรุ ี
3. วันที่ 24 - 25 มีนาคม 2564 ประชุมซักซ้อมและ
วิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเป้าหมายและวางแนวทางการช่วยเหลือ
ร่วมกับคณะทำงานเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง ณ องค์การบริหาร
สว่ นตำบลบ้านบงึ อำเภอบ้านคา จังหวดั ราชบรุ ี
4. วนั ที่ 20 กันยายน 2564 ประชุมเพื่อแลกเปล่ียนเรยี นรูแ้ ละ
ถอดบทเรยี นการดำเนนิ งานการบูรณาการสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง ปีงบประมาณ
2564 รว่ มกบั จังหวดั ราชบรุ ี

16

จงั หวดั เพชรบรุ ี
1. วนั ท่ี 17 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ประชมุ เพื่อขบั เคล่อื น
การดำเนนิ งานรว่ มกับทมี One Home จงั หวดั เพชรบุรี ช้ีแจง
แนวทางและร่วมกำหนดพนื้ ท่ี ตำบลปา่ เดง็ อำเภอแกง่ กระจาน
จงั หวัดเพชรบรุ ี
2. วนั ที่ 11 มนี าคม 2564 ประชมุ เพื่อขับเคลื่อน
ภารกิจการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในพื้นท่ีตำบลป่าเด็ง จงั หวดั
เพชรบุรี
3. วันท่ี 24 มีนาคม 2564 คำสั่งแต่งต้ังคณะทำงาน
สรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แข็งตำบลปา่ เด็ง อำเภอแกง่ กระจาน จงั หวดั
เพชรบรุ ี

4. วนั ที่ 17 กันยายน 2564 ประชมุ เพ่ือแลกเปล่ียน
เรียนรแู้ ละถอดบทเรียนการดำเนินงานการบรู ณาการสร้างเสรมิ
ชุมชนเข้มแข็ง ปงี บประมาณ 2564 รว่ มกับจังหวดั เพชรบุรี

จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์
1. วันที่ 18 กมุ ภาพันธ์ 2564 ประชมุ เพื่อขับเคลอ่ื น
การดำเนินงานร่วมกบั ทีม One Home จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์
ช้แี จงแนวทางและร่วมกำหนดพ้ืนท่ี ตำบลหนองตาแต้ม อำเภอ
ปราณบรุ ี จังหวดั ประจวบครี ีขันธ์
2. วันที่ 26 สงิ หาคม 2564 ประชุมแลกเปลีย่ น
เรียนร้แู ละรวบรวมขอ้ มลู เพื่อสรุปผลการดำเนนิ งานการบรู ณาการ
สรา้ งเสริมชุมชนเข้มแขง็ จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ ผ่านระบบประชมุ
ทางไกลออนไลน์ Zoom Meeting
3. วนั ที่ 24 กันยายน 2564 ประชมุ เพื่อแลกเปลย่ี น
เรียนรู้และถอดบทเรยี นการดำเนินงานการ
บูรณาการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเข้มแขง็ ปงี บประมาณ 2564
รว่ มกบั จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์

17

จังหวดั สมุทรสงคราม
1. วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564 ประชุมเพื่อขับเคลื่อน
การดำเนินงานร่วมกับทีม One Home จังหวัดสมุทรสงคราม
ชี้แจงแนวทางและร่วมกำหนดพื้นท่ี ตำบลจอมปลวก อำเภอ
บางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม
2. วันที่ 24 มีนาคม 2564 คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน
สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งตำบลจอมปลวก อำเภอบางคนที
จงั หวดั สมทุ รสงคราม
3. วันที่ 30 มีนาคม 2564 ประชุมคณะทำงาน
สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งตำบลจอมปลวก อำเภอบางคนที
จงั หวัดสมุทรสงคราม ครง้ั ท่ี 1/2564
4. วันที่ 20 กันยายน 2564 ประชุมเพื่อแลกเปลี่ยน
เรียนรู้และถอดบทเรียนการดำเนินงานการบูรณาการ
สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ปีงบประมาณ 2564 ร่วมกับจังหวัด
สมทุ รสงคราม
5. วนั ท่ี 25 กนั ยายน 2564 ประชุมเพ่อื แลกเปล่ียนเรียนรู้และถอดบทเรยี นการดำเนนิ งาน
การบรู ณาการสร้างเสริมชุมชนเขม้ แขง็ ปงี บประมาณ 2564 รว่ มกับจงั หวดั สมทุ รสงคราม

จังหวัดสมุทรสาคร
1. วันที่ 3 มีนาคม 2564 ประชุมเพื่อขับเคลื่อน
การดำเนนิ งานรว่ มกบั ทมี One Home จงั หวดั สมุทรสาคร ชี้แจง
แนวทางและร่วมกำหนดพื้นท่ี ตำบลตลาดกระทุ่มแบน อำเภอ
กระท่มุ แบน จังหวดั สมทุ รสาคร
2. วันที่ 25 สิงหาคม 2564 ประชุมแลกเปลี่ยน
เรียนรู้และรวบรวมข้อมูลเพื่อสรุปผลการดำเนินงานการบูรณาการ
สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง จังหวัดสมุทรสาคร ผ่านระบบประชุม
ทางไกลออนไลน์ Zoom Meeting

18

2.1.5 การพฒั นาระบบขอ้ มลู เครอื ข่ายในเขตพื้นที่รบั ผดิ ชอบ

เพื่อเป็นฐานข้อมูลเครือข่ายให้ผู้ปฏิบัติงาน หรือองค์กร ภาคีเครือข่ายที่ดำเนินงานด้านการพัฒนา
สังคมและการจัดสวัสดิการสังคม ให้สามารถนำข้อมูลเครือข่ายฯ ไปใช้ประโยชน์ โดยทางสำนักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 3 ได้ดำเนินการรวบรวมข้อมูลเครือข่ายด้านการพัฒนาสังคม จำนวน 15 แหล่งข้อมูล
พร้อมจัดทำระบบข้อมูลเครือข่ายด้านการพัฒนาสังคม และประชาสัมพันธ์เผยแพร่ระบบประมวลผลข้อมูล
เครือข่ายด้านการพัฒนาสังคมในระดับพื้นที่ ด้วยโปรแกรม Data Studio รูปแบบการแสดงผล Dashboard
ผ่าน 3 ชอ่ งทาง ดังน้ี

1. ช่องทาง Website ของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 (http://tpso4.m-society.go.th
/asc/index.php/th/)

2. ช่องทาง Line Official Account : TPSO3-Nakhonpathom
3. ช่องทาง Facebook สสว.3 จังหวัดนครปฐมhttps://www.facebook.com/Tpso3Nakhon Pathom/)

19

2.1.6 โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้กับบุคลากรในหน่วยงานในกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมัน่ คงของมนษุ ย์

เพื่อให้บุคลากรหน่วยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อาสาสมัครและ
ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในพื้นที่รับผิดชอบได้รับความรู้ทักษะข้อมูลสารสนเท ศและแนวทางการพัฒนาสังคม
การจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ เพื่อพัฒนาการจัดบริการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม
และนำความร้ไู ปประยุกตใ์ ช้ในการปฏิบัตงิ าน โดยดำเนินการจดั อบรม จำนวน 3 หลักสูตร ดงั นี้

1. หลักสูตรการสรา้ งทกั ษะการคดิ เชิงบวกและสร้างสรรค์เพ่ือการทำงานดา้ นสังคม”
2. หลักสตู รการตัดต่อ VDO อย่างง่ายดว้ ย KINEMASTER
3. หลักสตู รการใช้ Google Application เพ่ือการทำงาน Online

สมัครอบรมหลกั สูตรตา่ งๆ ท่นี ่ี

20

2.2 โครงการเสรมิ สร้างทักษะภาษาเมียนมาเบอ้ื งตน้ เพื่อการช่วยเหลือและคมุ้ ครองผูเ้ สียหาย
จากการค้ามนุษย์

เพื่อให้เจ้าหน้าที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และทีมสหวิชาชีพในจังหวัด
นครปฐมที่ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ มีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ภาษาเมียนมา
และสามารถสื่อสารภาษาเมียนมาในเบื้องต้นเพื่อการทำงานด้านการชว่ ยเหลือและคุ้มครองผเู้ สยี หายจากการค้ามนุษย์

กลุ่มการวิจัยและการพัฒนาระบบเครือข่าย
ได้ดำเนินโครงการเสริมสร้างทักษะภาษาเมียนมา
เบื้องต้น เพื่อการช่วยเหลือและคุ้มครองผู้เสียหายจาก
การค้ามนุษย์ ระหว่างวันที่ 9 -13 พฤศจิกายน 2563
โดยมี นายสมพงค์ สระแก้ว ผู้อำนวยการเครือข่าย
ส่งเสริมสุขภาพชีวิตแรงงาน (LPN) พร้อมด้วย
นายสมัคร ทัพธานี Mr.Ptiphan Pongpanit และ
Mr.Kyaw Thet Oo จากเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพชีวิต
แรงงาน (LPN) เป็นวิทยากรบรรยาย ผู้เข้าร่วมโครงการ
ได้แก่ เจ้าหน้าที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ และทีมสหวิชาชีพในจังหวัด
นครปฐมที่ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม
การค้ามนุษย์ จำนวน 20 คน

21

2.3 โครงการวิจัยรูปแบบท่ีเหมาะสมของการจัดบรกิ ารทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
ทีม่ ีภาระเลี้ยงดูครอบครัว : ศกึ ษาเฉพาะกรณีในเขตกลุ่มจงั หวดั ภาคกลางตอนล่าง

(ระยะเวลาดำเนินโครงการ ตั้งแต่ เดอื นมถิ นุ ายน 2564 – เดอื นมีนาคม 2565)
วัตถปุ ระสงค์

1. เพื่อศึกษาข้อมูลสถานการณ์ปัจจุบันและปัญหาในการดำรงชีวิต และความต้องการบริการ
ทางสังคมของผ้สู ูงอายุที่มภี าระเล้ียงดูครอบครวั

2. เพ่อื ศึกษารปู แบบท่ีเหมาะสมของการจัดบริการทางสังคมสำหรับผู้สงู อายทุ ่มี ภี าระเล้ียงดูครอบครัว
ผลการดำเนินงาน

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 จัดประชุมเพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการวิจัย
แก่หน่วยงานในพื้นที่และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการวิจัยและร่วมวางแผนดำเนินงานวิจัย (ประชุมผ่านระบบ
Zoom Meeting) ระหว่างวันที่ 20 – 26 สิงหาคม 2564 ณ ห้องประชุมสำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 3
และอยู่ระหว่างดำเนินการขอรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนษุ ย์ของมหาวิทยาลัยราชมงคลธญั บุรี

22

2.4 โครงการขบั เคลือ่ นการดำเนินงานแผนงานดา้ นสังคมในระดบั พืน้ ท่ี

2.4.1 การรายงานสถานการณท์ างสงั คมกล่มุ จงั หวัด/ระดบั ภาค เมยี กรงุ เ
เมยี อา่ ว
วัตถุประสงค์
เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ทางสังคม และจัดทำรายงาน

สถานการณ์ทางสังคมระดับกลุ่มจังหวัด ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.3 พร้อมท้ัง
เผยแพร่รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัดให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
นำไปใชป้ ระโยชน์

ผลการดำเนนิ งาน

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3
ดำเนินการจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคม ประจำปี
2564 โดยแบ่งเป็น สถานการณ์ทางสังคมเชิงกลุ่มเป้าหมาย
สถานการณ์ทางสังคมเชิงประเด็น และการวิเคราะห์และ
จัดลำดับความรุนแรงของสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด
จากการวิเคราะห์สถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด พบว่า
สถานการณ์ทางสังคมที่สำคัญ คือ สังคมผู้สูงอายุ
กลุ่มเปราะบาง (คนยากจน) และความรุนแรงในครอบครัว

สถานการณ์สังคมผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบ สสว.3 จากข้อมูลสถิติย้อนหลัง 10 ปี พบว่า

ทุกจังหวัดมีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นทุกปี ทำให้ส่งผลกระทบต่อมิติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาวะพึ่งพิง การมีงานทำ

และรายได้ การเข้าไม่ถึงสิทธิ สวัสดิการ การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างครอบครัว ล้วนส่งผลกระทบต่อผู้สูงอายุ

ในทุกมิติ ประกอบกับเงื่อนไขเชิงกายภาพ การเปลี่ยนแปลงเชิงสังคม (Social) เทคโนโลยีใหม่ๆ (Technology)

ระบบเศรษฐกจิ (Economy) สิ่งแวดลอ้ ม (Environment) สรุปได้ว่าการดูแลและแก้ไขปัญหาผู้สูงอายุควรจะมอง

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในหลายมิติของผู้สูงอายุ ซึ่งแต่ละพื้นที่มีบริบทต่างๆ ของผู้สูงอายุที่ต่างกัน มีความต้องการ

ต่างกัน สภาพปัญหาย่อมแตกต่างกัน ดังนั้น แสดงแนวโน้มจำนวนผ้สู งู อายุ จำแนกรายจังหวัด

การพัฒนา และการแก้ปัญหาผู้สูงอายุควรคำนึงถึง นครปฐม ราชบรุ ี กาญจนบุรี
สภาพแวดล้อมและความเป็นปัจเจกบุคคลร่วมด้วย สุพรรณบุรี สมทุ รสาคร สมทุ รสงคราม

เนื่องจากวัยสูงอายุนั้นจะยากต่อการเปลี่ยนแปลง เพชรบุรี ประจวบคีรขี ันธ์
ด้านทางความคิด ทัศนคติ และการปรับตัวให้ทนั ต่อ 200,000

สถานการณ์การเปลีย่ นแปลงในปัจจุบัน และในอนาคต 100,000

0
2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563

23

กลุ่มเปราะบาง (คนยากจน) จากข้อมูลของระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบชี้เป้า

หรือ TPMAP ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ สสว.3 คือ ผู้ที่มีคุณภาพชีวิตต่ำกว่าเกณฑ์ที่ดีในมิติต่างๆ 5 ด้าน

ประกอบด้วย ด้านสุขภาพ ด้านความเป็นอยู่ ด้านการศึกษา ด้านรายได้ และด้านการเข้าถึงบริการภาครัฐ พบว่า

มีจำนวนคนเปราะบางเป้าหมาย รอ้ ยละ 21.72

ของจำนวนประชากรกลุ่มจังหวัดทั้งหมด

โ ด ย ส ่ ว น ใ ห ญ ่ ต ก เ ก ณ ฑ ์ ใ น ม ิ ต ิ ด้ า น ร า ย ไ ด้

รองลงมาด้านการศึกษา ด้านที่อยู่อาศัย

ด้านสุขภาพ และด้านการเข้าถึงบริการภาครัฐ

โดยจากการถอดบทเรียนหน่วยงานในเขตพืน้ ที่

รับผิดชอบ สสว.3 ในขับเคลื่อนการดำเนินงาน

โครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต

กลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน เพื่อขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างยั่งยืนด้วยหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง ด้วยระบบ TPMAP พบว่าการถ่ายทอดและการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่ MOU ให้ร่วม

ขับเคลื่อนการดำเนินงาน 12 กระทรวงในระยะเรม่ิ แรก ยงั ไม่เกดิ การบรู ณาการการทำงานรว่ มกันอย่างคลอบคลุม

ทุกมิติเป็นรูปธรรม ซึ่งอาจส่งผลต่อการ สดั ส่วนคนเปราะบางจาก TPMAP ทีต่ กเกณฑ์ 5 มติ ิ

วิเคราะห์ข้อมูลประเด็น และช่องว่างของ

กลุ่มเปราะบางต่อการแก้ไขปัญหาและ

การพัฒนาที่ยั่งยืน ระหว่างภาคีเครือข่าย

ตามเป้าหมายของโครงการในการแก้ไข

ปญั หาความยากจนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

ทมี่ า: ระบบบริหารจัดการขอ้ มลู การพฒั นาคนแบบชี้เป้า TPMAP Logbook

สถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัวในเขตพื้นที่รับผิดชอบ สสว.3 จากการให้บริการ

ผา่ นศนู ยช์ ว่ ยเหลอื ทางสงั คม 1300 ซ่ึงสว่ นใหญเ่ ป็นการกระทำดา้ นร่างกาย และมสี าเหตุมาจากเมาสรุ า/ยาเสพติด

การนอกใจ/หึงหวง ปัญหาสุขภาพกายและจิต ปัญหาทางเศรษฐกิจ อาจทำให้เกิดภาวะเครียด อันนำไปสู่

การกระทำความรนุ แรงแกบ่ ุคคลใกล้ตวั แสดงแนวโน้มเหตกุ ารณ์ความรุนแรงในครอบครัวกลมุ่ จังหวัด

หรือคนในครอบครัวจำเป็น 300
[การกระทำความรุนแรง 200
ท่ีต้ อ ง แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ในครอบครวั มแี นวโน้มเพิ่ม 100 2563
สงู ขนึ้ อยา่ งต่อเน่ืองทกุ ปี ] 0 2562
ความรุนแรงจากรากเหง้า 2561
ของปัญหา นั้นคือ สถาบัน 2560
2559
ครอบครวั ให้เขม้ แข็งมากขึน้

ทมี่ า ศูนยป์ ฏบิ ัติการเพื่อป้องกนั การกระทำความรนุ แรงในครอบครวั

24

ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย

● ระบบการดแู ลผสู้ ูงอายุ พรอ้ มรบั การเปลีย่ นแปลงสู่อนาคต ควรใหค้ วามสำคญั ต่อการปรับตัวของ
ผู้สูงอายุให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง การสร้างภูมิคุ้มกันผู้สูงอายุทุกมิติ มิใช่ทำแบบแยกส่วน เช่น การฝึกอาชีพ
จะต้องคำนึงถึงปัจจัยความพร้อมด้านสุขภาวะด้วย และมาตรการในการดูแลผู้สูงอายุให้เหมาะสมกับการ
เปลี่ยนแปลงในปัจจุบันและอนาคต รวมถึง
การพฒั นานวัตกรรมทางเทคโนโลยเี พื่อตอบสนอง
ความต้องการของผู้สูงอายุในภาวะพึ่งพิง หรือ
เจ็บป่วยเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นการกำหนดนโยบาย
ซึ่งจำเป็นอย่างมากที่ต้องคำนึงถึงการสร้าง
ภูมิคุ้มกัน ผู้สูงอายุ พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
สู่อนาคตในทุกมิติ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม
เศรษฐกิจ เพื่อป้องกันผลกระทบด้านอื่นๆ ที่อาจ
เกดิ ขน้ึ

● กลไกบรู ณาแผนงานกับการพัฒนา
คุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง (คนยากจน) การบูรณาการแผนงานนับเป็นกลไกสำคัญในการดำเนินงานให้บรรลุ
เปา้ หมายตามท่ีกล่าวข้างต้นเป็นการส่งเสริมธรรมาภิบาล ภาครัฐ ประหยัดทรัพยากร การใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าและ
เกิดประโยชน์มากที่สุดเน้นการดำเนินการแบบบรู ณาการ
กับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม
และประชาชนที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล
และภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เพื่อให้ความช่วยเหลือ
กล่มุ เปราะบาง ลดความเหล่อื มลำ้ และพัฒนาคนทกุ ช่วงวัย
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยไม่ทิ้งใคร
ไว้ข้างหลัง มีความสำคัญต่อการบรรลุการพัฒนาที่ยั่งยืน
SDGs เป้าหมายที่ 1-3 การขจัดความยากจน ยุตคิ วามหิวโหย
และสร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริม
สวัสดิภาพสำหรับทุกคนในทกุ วัย

● สังคมดี เริ่มต้นที่ครอบครัว สร้างหลัก
ประกันความมั่นคงของครอบครัวต่อการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
สสว.3 สถานการณ์ความรุนแรง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่องทุกปี อาจต้องให้ความสำคัญกับนโยบายส่งเสริม
ความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัวอย่างเร่งด่วน ในการจัดหาทรัพยากรและส่งเสริมสร้างความรู้ ทักษะสำหรับ
ครอบครัวที่จำเป็น ควบคู่ไปกับการแก้ไขปัญหาคุณภาพชีวิต พร้อมทั้งพิจารณายกระดับศูนย์พัฒนาครอบครัว
ในชุมชนให้เป็นรูปธรรม เสริมสร้างหลักประกันความมั่นคงของครอบครัวทุกมิติ ครอบคลุมตามความต้องการ/
บริบทของพื้นท่ี โดยตอ้ งมีการตดิ ตามการดำเนนิ งานในพื้นท่ีอย่างต่อเน่ือง และผลกั ดันให้เป็นนโยบายลำดับแรกๆ
ในการพัฒนางานดา้ นสังคม

25

ข้อเสนอแนะเชงิ ปฏบิ ตั ิ

● ส่งเสริมบทบาทของครอบครัว ชุมชน เครือข่ายทางสังคม เพื่อสร้างระบบดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
โดยผลักดัน อปท. ให้เข้ามามีส่วนร่วมมากที่สุด ที่ศูนย์กลางประสานงานหน่วยงาน อพม. รพสต. ศพค. ในการ
พัฒนาผู้สูงอายุทุกมิติ ทั้งสุขภาพ ความรู้ เทคโนโลยี ให้สามารถเข้าถึงบริการต่างๆ และสามารถปรับตัวต่อ
การเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้ ซึ่งอาจต้องทำเป็นโครงการร่วมกันในชุมชนกับหน่วยงานบทบาทสำคัญ หรือผู้นำ
ในชุมชน เช่น กำนนั ผใู้ หญบ่ า้ น เปน็ ตน้

● กลไกการส่งเสริมการทำงานร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย/MOU ตามโครงการบูรณาการ
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนในระดับจังหวัด โดยกลไกศูนย์อำนวยการขจัดความยากจน
และพัฒนาชนบทตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัด (ศจพ.จ.) ในระยะเริ่มแรกอาจจะมีข้อจำกัดในการ
ดำเนินงานร่วมกัน ซึ่งอาจต้องปรับหมายของแต่ละหน่วยงานให้มีความสอดคล้องกัน และจัดกลุ่มการให้
ความช่วยเหลือตามความต้องการของครัวเรือนให้มีความชัดเจนตามภารกิจของหน่วยงานภาคีเครือข่าย
เช่น การซอ่ มแซมบา้ นและการฝกึ อาชพี ตอ้ งมหี นว่ ยไหนบา้ ง เป็นต้น อาจจะทำในลกั ษณะเดยี วกบั การ Matching
อพม. ไปสู่การ Matching หน่วยงานให้ความช่วยเหลือตามปัญหา โดยประชุมหารือ ทำข้อตกลงร่วมกัน
ในการแกไ้ ขปัญหาสงั คมตามเป้าหมายและภารกิจของหนว่ ยงาน เพอ่ื เชอ่ื มโยงบรู ณาการทำงานภายใต้กลไก ศจพ.จังหวดั

● การดำเนินงานหรือกิจกรรมโครงการเกี่ยวกับครอบครัว ควรเน้นการส่งเสริมทักษะการใช้ชีวิต
และบทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการเป็นสมาชิกในครอบครัว หรือการส่งเสริมบทบาทของสมาชิกในครอบครัว
การเสริมสร้างความเข้มแข็งในครอบครัว โดยใช้ตัวชี้วัดความสุขในครอบครัวเป็นกลไกในการดำเนินงาน
นอกจากนี้ควรยกระดับการส่งเสริมการสร้างสัมพันธภาพของครอบครัว และชุมชน ในการเฝ้าระวังปัญหา
ความรุนแรง โดยส่งเสรมิ บทบาทชุมชนต่อการเฝ้าระวังและแจง้ เหตุที่อาจเกิดขึน้ ควรมหี ลกั สูตรโดยเฉพาะสำหรับ
การให้ความรู้เรื่องความรุนแรงในครอบครัว ประเภทของความรุนแรง การแจ้งเหตุ เป็นต้น และผลักดันให้ชุมชน
เกิดความตระหนัก เหน็ ความสำคัญของปัญหาร่วมกัน

เลม่ รายงานสถานการณ์ฯ
ในเขตพน้ื ท่ี สสว.3

26

2.4.2 การขับเคลือ่ นการบรู ณาการแผนงานด้านสังคมกลุ่มจงั หวดั ประจำปี 2564

วัตถปุ ระสงค์
เพื่อจัดทำแผนงาน/โครงการบูรณาการดา้ นสงั คมระดบั กลุ่มจังหวัดในเขตพน้ื ท่รี บั ผิดชอบ

ผลการดำเนนิ งาน
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3

ดำเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการบูรณาการแผนงาน
ด้านสังคมกลุ่มจังหวัด ประจำปี พ.ศ. 2564 ร่วมกับ
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 8 จังหวัด
ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.3 โดยมีการระดม
ความคิดเห็นและนำเสนอประเด็นด้านสังคมในพื้นที่
กลุ่มจังหวัด โดยผศ.ดร. พจนา สีมันตร คณะเกษตร
กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสาตร์ วิทยาเขต
กำแพงแสน เป็นวิทยากร ในวันที่ 11 มิถุนายน 2564
ผ่านระบบประชุมทางไกลออนไลน์ Zoom Metting
ณ ห้องประชุม สสว.3 ซึ่งมีข้อเสนอแนะในการดำเนินการ
โดยเน้นประเด็นการเพิ่มรายได้ให้กับประชาชน
ก ล ุ ่ ม เ ป ร า ะ บ า ง ท ี ่ ต ก เ ก ณ ฑ ์ ร า ย ไ ด้ จ า ก ข ้ อ ม ู ล ค ร ั ว เ ร ื อ น
เปราะบางใน TPMAP เพื่อให้สอดคล้องกับประเด็น
ยุทธศาสตร์มิติด้านคุณภาพชีวิตที่ดีในแผนยุทธศาสตร์
ของกล่มุ จงั หวัด

27

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 ได้ร่วมประชุม นำเสนอประเด็นด้านสังคม และเสนอ
โครงการกับหน่วยงานตา่ งๆ ตามรายละเอียด ดังนี้

1. จงั หวัดนครปฐม สำนกั งานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ 3 ได้เสนอโครงการเพื่อของบประมาณ
ในแผนพัฒนาจังหวัดนครปฐม (พ.ศ. 2566–2570) ฉบับทบทวน โดยได้เสนอ “โครงการยกระดับคุณภาพชีวิต
ของประชาชนกลุ่มเปราะบางที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019” เพื่อบรรจุในแผนพัฒนาจังหวัด 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) และสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3
ได้ร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีของจังหวัด ปีงบประมาณ 2566
(คำของบประมาณ) เพื่อให้การจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ 2566
เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและสอดคล้องกับแนวทาง หลักเกณฑ์ และวิธีการของแผนพัฒนาจังหวัด
และกล่มุ จงั หวดั พ.ศ. 2566-2570 จำนวน 2 ครั้ง ดังนี้

1.1. ในวันท่ี 16 กันยายน 2564 อาจารย์ชาญชัย
ดอี ่วม และทีมคณะวิทยากรประจำกลุ่ม จากบริษทั ทีซิส
คอนเซาท์ จำกัด นำร่างแผนพัฒนาจังหวัด 5 ปี
(พ.ศ. 2566 - 2570) ของจงั หวัดนครปฐม เพอ่ื พิจารณา
ทบทวนแผนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
และชี้แจงแนวทางการจัดทำงบประมาณและปฏิทิน
งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ซึ่งตามปฏิทินกำหนดให้การจัดทำแผนพัฒนาพื้นที่ (Area)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผ่านระบบ Zoom
Meeting ณ ห้องประชมุ สำนักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุน
วิชาการ 3

1.2 ในวันที่ 22 กันยายน 2564 ทีมคณะ
วิทยากรจากบริษัท ทีซิส คอนเซาท์ จำกัด ให้หน่วยงาน
นำเสนอโครงการที่ได้เสนอตามแผนปฏิบัติราชการ
ประจำปีของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ 2566
ในประเด็นการพัฒนาที่ 2 และ 3 และได้ให้ข้อแนะนำ
เพื่อแก้ไขโครงการที่นำเสนอให้ครบถ้วนสมบูรณ์
ณ ห้องประชุมชาลีมงคลอาสน์ ชั้น 3 ศาลากลางจังหวัด
นครปฐม

28

2. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 ได้ดำเนินการจัดโครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธ์ิ
แผนปฏิบัติราชการประจำปีกลุ่มจงั หวัดภาคกลางตอนล่าง 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2565 และกำหนด
ทิศทางการทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 พ.ศ. 2566-2567 ผ่านระบบเว็ปเอ็กซ์ (WebEx)
จำนวน 2 ครงั้ ดงั น้ี

2.1 ในวันที่ 14 กรกฎาคม 2564 ในการระดม
ความคิดเห็นจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis)
ได้ร่วมนำเสนอประเด็นปัญหาการว่างงานของประชาชน
เนื่องจากผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และได้เสนอประเด็นการพัฒนา
โดยการฝึกอาชีพให้กับประชาชนในพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคกลาง
ตอนล่าง 1

2.2 ในวันท่ี 29 กรกฎาคม 2564 วัตถปุ ระสงค์
ของการประชุมฯ เพื่อกำหนดทิศทางในการจัดทำแผนพัฒนา
กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 (พ.ศ. 2566-2570) ให้สอดคล้อง
กับแผนทุกระดับ และความต้องการของประชาชน สสว.3
ได้นำเสนอให้บรรจุประเด็นด้านการพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ในแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 (พ.ศ. 2566-2570)
โดยให้เนน้ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย เพ่อื ให้รองรบั กับอัตรา
การว่างงานที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นจากสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 และไดน้ ำเสนอ“โครงการ
ยกระดับคุณภาพชีวิตของมารดาเลี้ยงเดี่ยวในพื้นที่กลุ่มจังหวัด
ภาคกลางตอนล่าง 1” ซึ่งเป็นโครงการพัฒนาศักยภาพและ
ยกระดับคุณภาพชีวิตของสตรีที่เป็นผู้ว่างงาน รายได้น้อย หรือมี
รายได้ไม่ม่ันคง ใหส้ ามารถพ่ึงตนเองได้อย่างยั่งยืน ซ่งึ สอดคล้องกับ
ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาค
ทางสังคม แผนแม่บทยุทธศาสตร์ชาติการพัฒนาศักยภาพคน
ตลอดชีวิต และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
ดา้ นการสร้างความเป็นธรรมและลดความเหล่ือมล้ำในสงั คม

29

3. กลุ่มจงั หวดั ภาคกลางตอนลา่ ง 2

ได้ดำเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำ
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2 พ.ศ. 2560-2570
เพื่อจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2
พ.ศ. 2560-2570 และแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2566 ผ่านระบบ Zoom Meeting ระหว่างวันที่ 20 - 21
สงิ หาคม 2564 โดยสสว.3 ไดเ้ สนอ “โครงการยกระดับคุณภาพ
ชีวิตของประชาชนกลุม่ เปราะบางในพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคกลาง
ตอนล่าง 2” เพื่อขอรับจัดสรรงบประมาณจากกลุ่มจังหวัดภาค
กลางตอนล่าง 2 และได้ร่วมให้ความคิดเห็นในการจัดทำ
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2 พ.ศ. 2566–2570
โดยเสนอประเด็นด้านสังคมในการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ
ของประชาชน การสร้างงาน สร้างอาชีพ และรายได้ ให้กับ
ประชาชนกลุ่มเปราะบาง

30

4. แผนพัฒนาภาค
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3
เข้าร่วมประชุมชี้แจงการจัดทำข้อเสนอแผนงานโครงการท่ี
สนับสนุนการขับเคลื่อนการพัฒนาภาค ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2566-2570 ในวันที่ 2 กันยายน 2564 ผ่านระบบ Zoom
Meeting เพอื่ รบั ทราบร่างกรอบแผนพฒั นาภาค พ.ศ. 2566-2570
ร่างหลักเกณฑ์การจัดทำแผนปฏิบัติการภาค พ.ศ. 2566-2570
และปฏิทินการดำเนินงานภายใต้กลไก ก.บ.ภ. ในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564-2565

ส ำ น ั ก ง า น ส ่ ง เ ส ร ิ ม แ ล ะ ส น ั บ ส นุ น
วิชาการ 3 ร่วมประชุมกับสำนักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 1 และ 7 เพื่อจัดทำข้อเสนอ
โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการภาค ประจำปี
งบประมาณ 2566 ในวันที่ 8 กันยายน 2564
และวนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2564 ผา่ นระบบ Zoom Meeting

31

2.4.3 การขับเคล่ือนศนู ย์ขอ้ มลู ทางสังคมกลมุ่ จงั หวดั

วตั ถุประสงค์
เพอ่ื เปน็ แหล่งที่รวบรวบข้อมลู นำเข้าและจดั เกบ็ ข้อมูลด้านสงั คมทั้งจากระบบสารสนเทศด้านสังคม

ของ พม. ข้อมลู ด้านสงั คมจากหนว่ ยงานแวดลอ้ มกระบวนงาน และข้อมลู ท่บี ่งช้ีถงึ สถานการณท์ างสงั คมทม่ี ีตัวชี้วัด
เป็นทส่ี ากล
ผลการดำเนินงาน

ส ำ น ั ก ง า น ส ่ ง เ ส ร ิ ม แ ล ะ ส น ั บ ส นุ น
วิชาการ 3 ดำเนินการจัดเก็บ รวบรวม และเผยแพร่
ข้อมูล ด้านสังคมทางเว็บไซด์ของ สสว.3 เพื่อให้
ได้ข้อมูลที่ทันต่อสถานการณ์ ครอบคลุมทั้งข้อมูล
เชิงกลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลเชิงประเด็น สถิติการ
ให้บริการ รวมทั้งสถานการณ์ทางสังคมอื่นๆ
ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
สามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ประกอบในการ
วางแผนงาน/โครงการทีส่ อดคล้องกับบริบทของพื้นท่ี และได้จัดทำคู่มือศนู ย์ข้อมลู ทางสังคมกลุ่มจังหวัด พร้อมท้ัง
ประชาสัมพันธ์แนะนำคู่มือฯ และจัดส่งคู่มือการใช้งานศูนย์ข้อมูลทางสังคมกลุ่มจังหวัด ในการประชุมโครงการ
ขับเคลื่อนบูรณาการโครงการด้านสังคมในระดับพื้นที่ให้กับหน่วยงานในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 8 จังหวัด
(ท่ีมา : https://sites.google.com/view/policy-tpso3/)

32

Website ศนู ย์ขอ้ มลู ทางสงั คมฯ
ค่มู ือศนู ย์ข้อมูลทางสังคมฯ

33

สำนกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 3 ได้ดำเนนิ การจดั ประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการให้ความรู้เกี่ยวกับ
Google Site และ Google DataStudio เพื่อให้หน่วยงานในพื้นที่รับผิดชอบ 48 หน่วยงาน ได้รับการพัฒนา
ทักษะด้านดิจิทัล เพื่อนำไปออกแบบและพัฒนาในการจัดทำศูนย์ข้อมูลทางสังคมให้กับหน่วยงาน
ในพน้ื ท่ีต่อไป ในวันท่ี 16 สิงหาคม 2564 ผา่ นระบบประชุมทางไกลออนไลน์ (Zoom Meeting) โดยมี รศ.ดร.เอกนฤน
บางท่าไม้ ผู้อำนวยการศูนย์นวัตกรรมการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นวิทยากร มีผู้เข้าร่วมประชุม
54 Zoom Accounts โดยมเี นอื้ หาสรปุ ดงั ตอ่ ไปนี้

1. หลักการออกแบบเว็บไซต์ (Web Design)
เพื่อให้เว็บไซต์มีรูปแบบที่เข้าใจง่ายไม่ซับซ้อน และมี
ความสวยงาม และควรออกแบบให้เป็นรูปแบบเดียวกัน
(Theme)

2. Google Site เป็นบริการสร้างเว็บไซต์
โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สามารถนำไปต่อยอดการทำเว็บไซต์
หน่วยงานเพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมให้ประชาชน
ท่ีเข้าถงึ การใช้บริการ

3. Google Data Studio เป็นเครื่องมือ
ในการนำเสนอข้อมูล และการวิเคราะห์ ในรูปแบบกราฟ
แท่ง แผนภูมิ กราฟเส้น และอื่นๆ และยังสามารถนำมา
ปรับใช้ในการนำเสนอข้อมูลในศูนย์ข้อมูลทางสังคม
ให้เกิดความน่าสนใจและความสวยงาม

ผลจากการจัดประชุมฯ พบว่า บุคลากร
ของหน่วยงานในเขตพื้นที่รับผิดชอบนำความรู้และทักษะด้านดิจิทัลที่ได้รับจากการประชุมฯ ไปปรับใช้ในการ
จดั ทำศูนย์ขอ้ มลู ทางสงั คม และการปฏบิ ัตงิ านดา้ นอ่ืนๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง ให้มีความสวยงาม และทันสมัย

34

2.4.4 การขบั เคลอื่ นมาตรฐาน และนิเทศติดตามงาน

วัตถุประสงค์
เพื่อขับเคลื่อนการปฏิบัติงานด้านสังคมให้มี

มาตรฐานและมีประสทิ ธภิ าพ
ผลการดำเนนิ งาน

1. ประชุมขับเคลื่อนมาตรฐานและการนิเทศ
ตดิ ตามงานตามนโยบายและภารกจิ ของกระทรวง ประจำปี 2564
ร่วมกับหน่วยงานทีม One Home 8 จังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ
สสว.3 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการติดตามการ
ประเมินผลโครงการ และการเตรียมความพร้อมก่อนลงพื้นที่
ติดตามประเมินผลโครงการ วันที่ 1 มิถุนายน 2564 ผ่านระบบ
Zoom Cloud Meeting โดยมีผศ.ดร.สายสุดา เตียเจริญ
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร และนายไชยยศ
ไพวิทยศิริธรรม คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
เป็นวิทยากร ณ ห้องประชุมสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุน
วชิ าการ 3

2. ประชมุ โครงการขบั เคลื่อนบูรณาการ
โครงการด้านสังคมในระดับพื้นที่ ร่วมกับหน่วยงาน
ทีม One Home 8 จงั หวดั โดยมปี ระเด็นการนเิ ทศงานฯ
4 ประเด็น ดงั นี้

1) ศนู ย์ชว่ ยเหลอื ทางสังคม 1300
2) โครงการบูรณาการเพ่ือพัฒนาคุณภาพ
ชวี ติ กลุ่มเปราะบางรายครัวเรอื น
3) การขับเคลื่อนทีม พม. จังหวัด ภายใต้
แนวคดิ บา้ นเดยี วกัน (One Home)
4) แผนพัฒนาจงั หวดั /กล่มุ จังหวัด

35

3. รายงานการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล ตามนโยบายและภารกิจ กระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนษุ ย์ในพน้ื ท่ีกลุ่มจงั หวัด ประจำปี พ.ศ. 2564 (เขตพ้ืนที่รบั ผดิ ชอบ สสว.3)

เลม่ รายงานการนิเทศฯ

36

2.4.5 กจิ กรรมการวดั อณุ ภมู ทิ างสังคม (พม. Poll)

วตั ถุประสงค์
เพื่อสำรวจความคิดเห็น และนำข้อมูลไปใช้ในการคาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์ทางสังคม

ให้สอดคล้องกบั พื้นทีก่ ลุม่ จังหวัด

ผลการดำเนนิ งาน
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

รว่ มกับศนู ย์สำรวจความคิดเหน็ “นิด้าโพล” สำรวจความคิดเห็นประเด็นด้านสงั คม จำนวน 2 ครัง้ ดงั น้ี
1. กิจกรรมวัดอุณหภูมิทางสังคม (พม. Poll) ครั้งที่ 1

ในประเด็น “Gen Z มีอะไร จะบอกต่อสังคมไทย” โดยกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร คือ กลุ่มเด็กและเยาวชนไทย อายุ 12 – 23 ปี ณ จังหวัด
กาญจนบุรี และจังหวัดเพชรบุรี จังหวัดละ 200 ชุด รวมทั้งสิ้น 400 ชุด
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติ และเผยแพร่ผลการสำรวจข้อมลู ครั้งท่ี 1
โดยประเดน็ ท่ีสำคญั ดังน้ี

1.1 เป้าหมายในชีวิตของเด็กและเยาวชน อันดับ 1 คือ
การเรียนจบมีงานทำ รองลงมา คือ การประสบความสำเร็จและมี
ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และอันดับที่ 3 คือ การมีครอบครัว
ที่สมบูรณ์

1.2 ความกังวลต่อสังคมไทย อันดับ 1 คือ ปัญหา
ทางเศรษฐกจิ ของประเทศ รองลงมา คือ ปัญหาความขัดแย้งทางการเมอื ง และอนั ดบั 3 คือ ปญั หาคุณภาพการศึกษา

1.3 ต้องการให้คนไทยพัฒนาเรื่องใด อันดับ 1 คือ ความมี
ระเบียบวินัย/เคารพกฎหมาย รองลงมา คือ ความซื่อสัตย์สุจริต
และอันดบั 3 คือ ความมีจิตสำนกึ ต่อสาธารณะ/การรับผดิ ชอบต่อสังคม

1.4 สิ่งที่เด็กและเยาวชนอยากเห็นประเทศไทยในอีก 10 ปี
ข้างหน้า อันดับ 1 คือ ต้องการเห็นเศรษฐกิจดีขึ้น รองลงมา คือ
ไม่มีการทุจริตคอร์รัปชัน และอันดับที่ 3 คือ ระบบการศึกษาที่ตอบ
โจทยค์ วามตอ้ งการของชีวติ แตล่ ะคน

1.5 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการพัฒนาเยาวชนในอนาคต
ส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาและส่งเสริมเรื่อง สิทธิ หน้าที่
และเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของเด็กและเยาวชน รองลงมา
คือ การพัฒนาระบบการศึกษาให้มีความเท่าเทียมและทันสมัยมาก
ยิง่ ขน้ึ และการสง่ เสริมเรอื่ งความเทา่ เทียมกนั ในสงั คม ตามลำดับ

37

กิจกรรมวัดอุณหภมู ทิ างสงั คม (พม. Poll) ครั้งที่ 1 ในประเดน็
“Gen Z มีอะไร จะบอกต่อสังคมไทย”

ภาพรวมของ สสว. 3

ภาพรวมของประเทศ

Infographic
และบทความฯ

ครัง้ ที่ 1

38

2. กิจกรรมวัดอุณหภูมิทางสังคม (พม. Poll) ครั้งที่ 2 ในประเด็น “60+ ฝ่าวิกฤติ COVID-19
สู่วิถีถัดไป Next Normal” ทำการสำรวจระหว่างเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม 2564 จากกลุ่มผู้สูงอายุ อายุ 60 ปี ขึ้นไป
ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดราชบุรี รวมขนาดตัวอย่างทั้งสิ้น จำนวน 400 หน่วยตัวอย่าง จากการ
สำรวจความคิดเห็นของผู้สูงอายทุ ี่มีต่อสถานการณ์และผลกระทบของการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) และความต้องการของผู้สูงอายุใน 5 มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพกาย-จิต เศรษฐกิจ สังคม
สิง่ แวดลอ้ ม และเทคโนโลยี มีประเด็นสำคัญดงั น้ี

2.1 ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีการใช้อุปกรณ์สื่อสารในชีวิต
ประจำวันมากขึ้น เกนิ กว่ารอ้ ยละ 80 โดยอปุ กรณส์ อ่ื สารที่ใช้มากที่สุดคือ
มือถือแบบสมาร์ทโฟน เกินกว่าร้อยละ 55 รองลงมาคือ มือถือแบบไม่ใช่
สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต (ไอแพด โน้ต) และคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ โน๊ตบุ๊ก/
แล็ปท็อป โดยส่วนใหญ่การใช้อุปกรณ์สื่อสารในช่วงการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นั้นใช้แอปพลิเคชั่น
มากที่สุด 3 ลำดับแรกคือ เฟสบุ๊ก กูเกิ้ล และการสั่งซื้อสินค้าการบริการ
ออนไลน์

2.2 ผลกระทบที่ผู้สงู อายุได้รับในช่วงสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 3 มากที่สุดคือ
ผู้สูงอายุเกิดความเครียด วิตกกังวล รองลงมาคือ การออกไปพบปะ
สังสรรค์ ทำกิจกรรมนอกบ้าน ลดน้อยลง และรายได้ลดลง มภี าระค่าใชจ้ า่ ย หนส้ี นิ มากขนึ้

2.3 ผู้สูงอายุมีความวิตกกังวลในช่วงสถานการณ์ดังกล่าวฯ 3 อันแรก พบว่า อันดับ 1 คือ
เกิดความเครียดและกังวลว่าจะติดเชื้อ อันดับ 2 การทำมาหาเลี้ยงชีพ การประกอบอาชีพ อันดับ 3 ชีวิตความเป็นอยู่
ของตนเองและบคุ คลในครอบครวั

2.4 เรื่องของการได้รับการช่วยเหลือตามมาตรการ
เยียวยา/กระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลในช่วงสถานการณ์ดังกล่าวฯ
ผสู้ ูงอายุสว่ นใหญ่เกินกวา่ ร้อยละ 95 ได้รบั การช่วยเหลือฯ จากรฐั บาล
มากที่สุด 3 ลำดับแรก ในเรื่องโครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
คนละครึง่ และเราชนะ

2.5 การรับมือกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของผู้สูงอายุ 3 ลำดับแรก คือ
ปฏิบัติตนตามนโยบายมาตรการการควบคุมของรัฐ รองลงมา คือ
ฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อฯ และใช้สมุนไพรทางเลือกมากขึ้น เช่น
ฟา้ ทะลายโจร กระชาย เป็นต้น

39

2.6 ผู้สูงอายุต้องการให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) มีมาตรการ
ช่วยเหลือเยียวยาหรือฟื้นฟูมากที่สุด คือ อันดับ 1 สามารถติดต่อขอรับความช่วยเหลือได้อย่างสะดวก รวดเร็ว
ทันเวลา อันดับ 2 อำนวยความสะดวกในการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเข้าถึงการดูแล
สขุ ภาพ การรักษาพยาบาล และบริการทางสงั คมอน่ื ๆ อนั ดบั 3 มชี อ่ งทางใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู ข่าวสารทจ่ี ำเป็นต่อการ
ดำรงชวี ิต และมีความน่าเช่อื ถือ

2.7 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมที่จะช่วยให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น คือ ควรเพิ่มสิทธิและสวัสดิการ
ของผสู้ งู อายุ เชน่ การเพิ่มเบี้ยยงั ชพี รายเดือนให้แกผ่ สู้ งู อายุมากทส่ี ดุ รองลงมาคอื ควรสง่ เสรมิ การประกอบอาชีพ
เพื่อสร้างรายได้ให้กับผู้สูงอายุและควรจัดสรรวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีประสิทธิภาพ
เพียงพอต่อความต้องการ

กจิ กรรมวัดอุณหภมู ทิ างสังคม (พม. Poll) คร้งั ท่ี 2 ในประเดน็

“60+ ฝ่าวิกฤติ COVID-19 สวู่ ถิ ถี ัดไป Next Normal”

ภาพรวมของ สสว. 3

Infographic ภาพรวมของประเทศ
และบทความฯ คร้งั ที่ 2
40

2.5 สนับสนุนงานตรวจราชการ

2.5.1 สนบั สนุนงานตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์

กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์มีคำสั่งมอบหมายใหผ้ ู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริม
และสนับสนุนวิชาการ 1-11 ปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ช่วยผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนษุ ย์ มีหน้าท่ี ดังน้ี

1) สนับสนุนการตรวจราชการ การติดตามประเมินผล การดำเนินงานตามนโยบายและภารกิจ
ของกระทรวง ในพืน้ ทก่ี ลมุ่ จงั หวดั

2) ปฏิบัติงานร่วมหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้ตรวจราชการ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์

ในเขตพื้นทร่ี บั ผดิ ชอบของ สสว.3 ประกอบด้วยเขตตรวจราชการตา่ งๆ ดงั นี้
เขตตรวจราชการท่ี 2 : จังหวดั นครปฐม
เขตตรวจราชการท่ี 3 : จงั หวัดกาญจนบรุ ี ราชบรุ ี และจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
เขตตรวจราชการที่ 4 : จงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบรุ ี สมทุ รสงคราม และจังหวัดสมทุ รสาคร

การตรวจราชการ 3 รอบ ประกอบด้วย

ตรวจราชการ รอบที่ 1 (Agenda Review)

ผตู้ รวจราชการกระทรวง พม. ในเขตพืน้ ท่รี ับผิดชอบ
ตามคำสั่งกระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์

ที่ 21/2564 มอบหมายให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ รบั ผิดชอบเขตตรวจราชการ ดังนี้

เขตตรวจราชการท่ี 2 และ 3 นายธนสุนทร สวา่ งสาลี
เขตตรวจราชการท่ี 4 นายชูรินทร์ ขวญั ทอง
วัตถุประสงค์
เพื่อการชี้แจงแผนการตรวจราชการ ประเด็น เครื่องมือ
และการรายงานผลการตรวจราชการ รวมถงึ การทำ ความเข้าใจเกย่ี วกับนโยบายแกห่ นว่ ยรบั ตรวจ เป็นการส่อื สาร
นโยบายไปสูห่ น่วยงานและเจา้ หน้าที่ผรู้ ับผดิ ชอบในการนำนโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ัติ
ผลการดำเนินงาน
การประชุมการตรวจราชการ รอบที่ 1 ตามแผนการตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2564 ประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
(Zoom Cloud Meeting) ณ ห้องประชุมสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 เพื่อชี้แจงกรอบแนวทาง
การตรวจราชการกระทรวง พม. ตามแผนการตรวจราชการ และชี้แจงกรอบแนวทางการขบั เคล่ือนทีม พม. จังหวดั ภายใต้
แนวคิดบา้ นเดยี วกนั (One Home)

41


Click to View FlipBook Version