The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมรายงานวิจัยหน้าเดียว 2564 บ้านสุไหงโก-ลก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by งานวิชาการ, 2022-05-21 06:43:22

รวมรายงานวิจัยหน้าเดียว 2564 บ้านสุไหงโก-ลก

รวมรายงานวิจัยหน้าเดียว 2564 บ้านสุไหงโก-ลก

วิจัยในชัน้ เรยี น

แผนการจัดประสบการณเพอ่ื พัฒนาความเช่อื มั่นในตนเองของนกั เรียน
โดยใชกจิ กรรมเคลื่อนไหว ดว ยกระบวนการ PLC ของเดก็ ปฐมวยั
ช้ันอนบุ าลปท่ี 2/1 ปการศึกษา 2564 โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสําคญั

จากการจดั ประสบการณก ารเรยี นรู ภาคเรียนที่ 1 ระดับชน้ั อนุบาลปท ่ี 2/1 พบปญหานักเรียนไมม ีความเชื่อม่นั ในตนเอง ไมก ลาแสดงออก
ครูผสู อนไดว ิเคราะหส ภาพปญ หา พบวา นกั เรียนบางคนยงั ไมมนั่ ใจในตนเอง ไมกลา พูด กลา แสดงออกตามวยั ซ่ึงทาํ ใหผ ลการประเมินพฒั นาการดาน
อารมณ-จิตใจ ช้นั อนบุ าลปท่ี 2/1 ในภาคเรียนท่ี 1 ปการศกึ ษา 2564 ยงั ไมเปนไปตาม ลําดบั ข้นั ของพฒั นาการตามวยั ครผู สู อนจงึ รเิ ร่มิ พฒั นา
แผนการจัดประสบการณเ พ่อื พฒั นาความเชอ่ื มนั่ ในตนเองของนกั เรียน โดยใชกิจกรรมเคล่อื นไหว ดวยกระบวนการ PLC ของเดก็ ปฐมวยั ชัน้ อนุบาล
ปท่ี 2/1 ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนบา นสุไหงโก-ลก

วตั ถปุ ระสงค ประโยชนที่คาดวาจะไดร ับ

เพื่อพฒั นาความเชื่อมนั่ ในตนเองของนกั เรยี น โดยใชก ิจกรรมเคลือ่ นไหว นักเรียนชน้ั อนุบาลปท ่ี 2 ปการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบา นสุไหงโก-
ดว ยกระบวนการ PLC ของเดก็ ปฐมวยั ช้ันอนุบาลปท ี่ 2/1 ลก มีพฒั นาการดา นอารมณ-จติ ใจ ในระดับคาเปาหมายท่สี ถานศึกษากาํ หนด

วธิ กี ารดําเนนิ การ ผลการวจิ ยั

1. สรางทมี PLC กลมุ การศึกษาปฐมวัย นักเรียนมคี วามเชอื่ ม่นั ในตนเองเพม่ิ มากขนึ้
2. วิเคราะหประเด็นปญ หา โดยใชทมี PLC และต้ังประเด็น
ทา ทาย เพื่อทาํ ขอ ตกลงในการพฒั นางาน (PA) รูปภาพการวจิ ัย
3. ออกแบบการจดั ประสบการณการเรยี นรูและปฏิบตั ิการ
สอนกจิ กรรมเคลือ่ นไหว และจงั หวะ (ครใู ชเ ทคนิค/ส่ือ/กลยทุ ธ ผูวจิ ยั
ในการจัดประสบการณ)
4. เปดชัน้ เรยี น/สังเกตชน้ั เรียน/ถายทาํ คลปิ /แกปญ หาผูเรยี น นางสาวมลู ียานี เจะ ดอื เลาะ
และพฒั นานวัตกรรมดว ยกระบวนการ PLC
5. บันทึกหลงั สอน/สะทอ นคิด/ปรับปรงุ แกไ ข พัฒนานวตั ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก
กรรม
6. วัดและประเมินพัฒนาการเด็ก/วจิ ัยในชนั้ เรียน /เผยแพร
7. นักเรียนมีพัฒนาการดา นอารมณ- จิตใจ ท่ดี ขี ้นึ

สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วจิ ยั ในชนั้ เรียน

การแกป ญหานักเรยี นใหร ูจกั พยัญชนะไทยโดยวิธกี ารสอนแบบฝก ทักษะการใชภาพ

ความเปน มาและความสําคัญ

เดก็ ซึ่งเตบิ โตเปนทรัพยากรมนุษยท่มี ศี ักยภาพในการพฒั นาชาตไิ ดอ ยา งดีเย่ยี มนน้ั รากฐานที่สาํ คญั ประการหน่งึ ก็คอื การรจู ักพยญั ชนะ
ไทย พยญั ชนะไทยเปน เครื่องมอื ที่สาํ คญั พ้ืนฐานของการเรียนรูเพราะผูเรียนจะสามารถฟง พดู อา น เขียนไดอ ยางถูกตองน้นั จะตองรจู ักพยัญชนะ
ไทยและผา นกระบวนการฝกและการจดจาํ และกระบวนการคดิ จนเกดิ ความเขา ใจในดา นการฟง พูด อา น เขยี น เกิดการเรยี นรูใ นดา นการเรยี นการ
สอนและหากผูเรยี นเกิดประสบปญหาหรอื อุปสรรคในดา นทกั ษะการเรียนรูแลวยอ มตองมกี ารหาแนวทางหรอื เครอ่ื งมอื หรอื การใชน วตั กรรมตา งๆ
เขา มาชว ยเพอ่ื ใหสามารถพัฒนากระบวนการเรียนรไู ดต ามศักยภาพของแตละบุคคล

วตั ถุประสงค ปปรระะโโยยชชนทค่ี าดวา จจะะไไดดร ร บั บั

เพ่อื แกไ ขปญหาเด็กกลุม เปา หมาย 7 คนใหรูจ ักพยญั ชนะไทย บอกชือ่ นกั เรยี นชั้นอนบุ าลปที่ 2/2 กลุมเปา หมาย 7 คน สามารถออกเสยี ง
พยัญชนะไทยและออกเสียงพยัญชนะไทยได พยญั ชนะไทยได ชี้พยัญชนะไทยไดถ กู ตองทาํ ใหเ ด็กและผูปกครองมคี วามภาคภมู ิ
ใจในผลงานทําใหเ ดก็ มแี รงจูงใจทีจ่ ะพฒั นาการอา น การเขยี นไดด ยี ิง่ ขึ้น
วธิ กี ารดาํ เนนิ การ
ผลการวิจยั

1. สปั ดาหท่ี 19-22 ใหเ ด็กไดท ดสอบกอนเรยี นโดย เมือ่ เดก็ ชั้นอนุบาลปท ี่ 2/2 ไดฝ กตามข้ันตอนของชุดฝก ท่ีกาํ หนด
ใชแบบทดสอบกอ นเรยี น ใหแ ลว เด็กสามารถออกเสียงพยญั ชนะไทยและชีพ้ ยัญชนะไทยไดถ กู ตอ ง

2. สปั ดาหที่ 23-25 ครสู รางนวัตกรรมการสอนภาพ รปู ภาพการวจิ ัย
กบั พยัญชนะไทยเร่ิมฝก อา นพยัญชนะจากภาพ
ผูวิจยั
3. สปั ดาหท่ี 26 ครสู อนเพลงประกอบทาทางเกี่ยว
กับพยญั ชนะไทย นางสาวซบู ายดะห จาราแว

4. สปั ดาหท่ี 27-28 ใหเดก็ ใชแ บบทดสอบโยงเสน ตาํ แหนง ครู โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก
จับคูภาพกบั พยญั ชนะไทยโดยใชแบบทดสอบโยงเสนจับคู
ภาพกบั พยญั ชนะไทย

5. สัปดาหท ่ี 29 ใหเ ดก็ ไดทดสอบหลังเรียนโดยใช
แบบทดสอบหลังเรียน

สาํ นักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วิจยั ในชัน้ เรียน

การสง เสริมนิสยั รกั การอานในเดก็ ระดับช้ันอนุบาล 3
โดยใชกิจกรรมนิทานและบัตรคาํ พืน้ ฐานระดับปฐมวยั ของนักเรยี นชั้นอนุบาลปท ่ี 3/4

ปการศกึ ษา 2564 โรงเรียนบา นสุไหงโก-ลก

ความเปนมาและความสําคญั

การจดั การศึกษาในระดับปฐมวยั เปน การจัดการศึกษาโดยอาศัยแนวความคิดและการจัดการศึกษาทพ่ี ัฒนาใหเดก็ มพี ัฒนาการทางดานรางกาย อารมณ สังคม และ
สติปญญา อยางสัมพนั ธแ ละพฒั นาอยางตอเนอ่ื งไปพรอ มกนั ทุกดาน อนุบาลปท ่ี 3 การจัดการเรยี นการสอนในชน้ั เรยี นจงึ ตองเนน ความพรอมดา นการอาน เด็กแตละคนอาจ
มีปญหาท่ีแตกตางกนั ออกไป กิจกรรมการอา นเปนอกี หนง่ึ กิจกรรมท่คี รไู ดใ ชใ นการดําเนนิ การเรียนการสอนใหกบั ผเู รียนและจากการจดั กจิ กรรมน้ี ครผู สู อนพบวา ผูเรียนมี
ทกั ษะทางดา นการอานที่ยงั ตองปรับปรุง ซงึ่ ครูผสู อนไดเลงเหน็ วา หากมีการฝก ทักษะดานการอา นตามลําดับขนั้ ตอนอยางถกู วธิ ี จะชวยสง ผลใหนกั เรยี นมีการอานทีด่ ีข้ึน

วตั ถปุ ระสงค ประโยชนท่ีคาดวาจะไดร บั

เพอื่ ปลกู ฝง นสิ ยั รกั การอานหนงั สือสงเสริมพัฒนาการดานภาษาของเดก็ พฒั นาการ นกั เรยี นมนี สิ ยั รกั การอานหนังสอื มีพฒั นาการดานภาษาเพ่มิ มากขน้ึ
ดา นการอา นเพิม่ ขึน้

วิธกี ารดําเนินการ ผลการวจิ ยั

1. กลุมตังอยาง ไดแ ก นกั เรียนระดับชั้นอนบุ าล 3/4 จํานวน ภายหลงั การฝกทักษะการอา นออกเสยี งและการชตี้ ามตวั อักษรนอยไปจนถงึ การอาน
32 คน พยญั ชนะ ปรากฏวา นกั เรยี นอนบุ าล 3 จาํ นวน 32 คน มที ักษะในดานการอานทีด่ ขี น้ึ

2. วธิ ีการนาํ ไปใช ใชชว งฝกชวงตอนเย็นกอนนกั เรยี นเขานอน รูปภาพการวิจัย
วนั ละประมาณ 8 – 10 นาที ระยะเวลาในการดาํ เนนิ การ วนั ท่ี 1
พฤศจิกายน 2564 ถึง 28 กมุ ภาพันธ 2565 ใหน กั เรียนเปด ดหู นงั สือดู ผูวิจัย
ภาพและอกั ษรในแตล ะหนา /แตละคําในกิจกรรมของหนว ยการจัด
ประสบการณฝ ก อา นออกเสยี งตามแบบ นางสาวรงุ ฤทัย จริงจิตต

3. ขอมูลทีเ่ ก็บได ความสามารถในทกั ษะดานการอานวธิ กี ารท่ี ตาํ แหนง ครู โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก
ใช คือการสังเกต (คลปิ การอา นจากทางบาน)

4. เครือ่ งมือท่ีใช คอื บันทกึ ผลการอาน
5. วิธีการวเิ คราะหขอ มูล เปรยี บเทียบความสามารถในการอา น
กอนและหลังการฝก

สาํ นักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วิจยั ในชั้นเรยี น

แผนการจดั ประสบการณเ พื่อพัฒนากลา มเนื้อมดั เลก็
โดยใชกิจกรรมสรา งสรรค ดว ยกระบวนการ PLC ของเดก็ ปฐมวยั
ช้นั อนุบาลปที่ 2/3 ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสําคญั

จากการจดั ประสบการณการเรยี นรู ภาคเรยี นท่ี 1 ระดบั ช้ันอนบุ าลปท ี่ 2/3 พบปญหานกั เรียนมกี ลามเน้ือมดั เล็กท่ีไมแ ข็งแรง ครผู ูสอนได
วิเคราะหส ภาพปญหา พบวา นกั เรียนบางคนมีกลามเน้ือมดั เลก็ ไมแ ข็งแรง โดยสงั เกตจากการบังคับทศิ ทางของสี และดนิ สอ การนวดหรอื ปน ดนิ
นํา้ มนั หรอื แมแตการออกแรงในการเลนของเลน ตา ง ๆ ตามมุมประสบการณ ซึ่งทําใหผ ลการประเมินพัฒนาการดา นรางกายชนั้ อนบุ าลปท ่ี 2/3 ใน
ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศึกษา 2564 ยังไมเปน ไปตาม ลําดับขัน้ ของพฒั นาการตามวยั ครผู สู อนจึงรเิ ร่ิมพฒั นาแผนการจดั ประสบการณเ พือ่ พฒั นากลาม
เนอื้ มดั เลก็ โดยใชกิจกรรมสรางสรรค ดว ยกระบวนการ PLC ของเด็กปฐมวยั ชนั้ อนบุ าลปท่ี 2/3 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก

วตั ถุประสงค ประโยชนท ค่ี าดวา จะไดรบั

เพอ่ื พัฒนากลา มเนอ้ื มดั เลก็ โดยใชกจิ กรรมสรา งสรรค ดวย นกั เรียนชนั้ อนุบาลปท ี่ 2 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบา นสุไหงโก-
กระบวนการ PLC ของเด็กปฐมวัย ลก มพี ัฒนาการดา นรางกายในระดบั คา เปา หมายทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนด
ชั้นอนบุ าลปท ี่ 2/3
ผลการวิจัย
วิธกี ารดาํ เนนิ การ
นักเรยี นมีพฒั นากลามเน้อื มดั เลก็ ท่ีดขี ้ึน

1. สรางทมี PLC กลุม การศกึ ษาปฐมวัย รปู ภาพการวิจยั
2. วิเคราะหป ระเดน็ ปญหา โดยใชทีม PLC และตั้งประเด็นทาทาย
เพือ่ ทาํ ขอ ตกลงในการพฒั นางาน (PA) ผูวิจัย
3. ออกแบบการจัดประสบการณก ารเรยี นรแู ละปฏิบตั กิ ารสอน
กิจกรรมสรา งสรรค (ครูใชเทคนคิ /ส่ือ /กลยุทธในการจดั ประสบการณ) นางสาวแวไซฮานี นอรอเอ
4. เปดชน้ั เรยี น/สงั เกตชนั้ เรยี น/ถา ยทําคลิป/แกป ญ หาผูเรยี นและ
พฒั นานวัตกรรมดวยกระบวนการ PLC ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก
5. บันทกึ หลังสอน/สะทอ นคิด/ปรับปรุง แกไข พัฒนานวัตกรรม
6. วดั และประเมนิ พัฒนาการเด็ก/วจิ ยั ในชัน้ เรียน /เผยแพร
7. นกั เรียนมีพัฒนาการดานรา งกายทด่ี ีข้ึน

สาํ นักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วิจัยในช้นั เรยี น

การพัฒนาทักษะพ้ืนฐานทางคณติ ศาสตรส ําหรับเดก็ ปฐมวัย
ท่ไี ดร ับการจัดกจิ กรรมเกมการศกึ ษา

ช้นั อนุบาลปท ี่ 2 ปการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก

ความเปนมาและความสาํ คัญ

จากการจดั ประสบการณก ารเรยี นรู ภาคเรยี นท่ี 1 ระดับช้นั อนุบาลปท่ี 2 พบปญ หานักเรียนยงั ไมร จู กั คา ของตวั เลข 1-5ครผู ูสอนได
วเิ คราะหสภาพปญ หา พบวา นกั เรียนบางคนยงั ไมสามารถเรียงลําดบั จากจาํ นวนนอยไปหาจํานวนมาก เน่ืองจากยงั ไมร จู กั คา ของตวั เลข 1-5 ซง่ึ ทําให
ผลการประเมนิ พัฒนาการดา นสตปิ ญ ญาในดา นการเรียงลาํ ดบั ของนกั เรียนช้นั อนบุ าลปที่ 2 ในภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา 2564 ยังไมเ ปน ไป
ตามลําดับข้นั ของพัฒนาการตามวัย ครูผสู อนจึงมกี ารพฒั นาทักษะพ้นื ฐานทางคณติ ศาสตรส ําหรบั เดก็ ปฐมวัย ทีไ่ ดร บั การจดั กจิ กรรมเกมการศกึ ษาชนั้
อนบุ าลปท ี่ 2 ปการศึกษา 2564 โรงเรียนบานสุไหงโก-ลก

วัตถุประสงค ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

เพ่ือพัฒนาทักษะพน้ื ฐานทางคณติ ศาสตรสาํ หรับเด็กปฐมวัย ที่ได นกั เรียนชั้นอนุบาลปที่ 2 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบานสไุ หงโก-
รบั การจดั กิจกรรมเกมการศกึ ษาช้นั อนุบาลปท ่ี 2 ลก มพี ัฒนาการดา นสติปญ ญา ในระดบั คาเปาหมายท่สี ถานศกึ ษากาํ หนด

วธิ กี ารดาํ เนนิ การ ผลการวิจัย

1. ศกึ ษาเอกสาร ตํารา วเิ คราะหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั นกั เรียนมีทักษะพ้ืนฐานทางคณิตศาสตรม ากข้นึ
พทุ ธศกั ราช 2560เก่ยี วกบั ทกั ษะพนื้ ฐานดา นคณิตศาสตร
รูปภาพการวจิ ัย
2. วเิ คราะหเ นอ้ื หา จดุ ประสงคการเรียนรู วิเคราะหสาระการ
เรยี นรู ผูว ิจัย

3. สรา งแผนการจดั กจิ กรรมเกมการศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะ นางสาวอชิรญา ซาลี
พ้ืนฐานทางคณติ ศาสตร
ตาํ แหนง ครูผูส อน จชต.พนักงานราชการ
4. แผนการจัดประสบการณไปจัดกจิ กรรมการเรยี นรกู บั โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก
นักเรยี นชั้นอนบุ าลปที่ 2

5. บันทึกผลการเรียนรูของนักเรียนท่เี กดิ ขึน้ จากการจดั
กิจกรรมการเรยี นรู และสะทอนผลการเรยี นรู

6. วัดและประเมนิ พัฒนาการเดก็ /วจิ ยั ในชน้ั เรียน/เผยแพร
7. นกั เรียนมีพฒั นาการดานสตปิ ญ ญาเหมาะสม กับวัย

สํานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วิจัยในชั้นเรยี น

ผนการจดั ประสบการณเ พ่ือสงเสรมิ ความกลา แสดงออกของนักเรยี น โดยใชก จิ กรรมสรางสรรค
ดว ยกระบวนการ PLC ของเด็กปฐมวยั ช้ันอนุบาลปท ่ี 3/1

ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสาํ คญั
จากการจัดประสบการณก ารเรียนรู ภาคเรียนที่ 1 ระดับชนั้ อนบุ าลปที่ 3/1 พบปญ หานกั เรียนไมกลา แสดงออก ครูผูส อนไดว เิ คราะหส ภาพ
ปญ หา พบวา นกั เรยี นบางคนไมก ลา พูด ไมกลาแสดงออกในการนําเสนอผลงานของตนเองตามวัย ซงึ่ ทาํ ใหผ ลการประเมนิ พัฒนาการดา นอารมณ-
จิตใจ ชั้นอนุบาลปท ่ี 3/1 ในภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศึกษา 2564 ยงั ไมเปนไปตามลําดบั ขนั้ ของพัฒนาการตามวัย ครูผสู อนแกป ญ หาโดยการจัดทํา
แผนการจัดประสบการณเพอ่ื สงเสริมความกลาแสดงออกของนักเรยี น โดยใชกิจกรรมสรา งสรรค ดวยกระบวนการ PLC ของเด็กปฐมวยั ชั้นอนุบาลป
ที่ 3/1 ปการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก

วัตถุประสงค ประโยชนที่คาดวา จะไดร ับ

เพ่ือสงเสริมความกลา แสดงออกของนกั เรียน โดยใชก ิจกรรมสรา งสรรค นักเรยี นช้ันอนุบาลปท ่ี 3 ปการศึกษา 2564 โรงเรยี นบา นสุไหงโก-
ดวยกระบวนการ PLC ของเดก็ ปฐมวยั ชน้ั อนบุ าลปท่ี 3/1 ลก มีพฒั นาการดานอารมณ- จติ ใจ ในระดบั คาเปาหมายท่สี ถานศึกษากาํ หนด

วธิ กี ารดําเนินการ ผลการวิจัย

1. สรา งทีม PLC กลุมการศึกษาปฐมวัย นักเรียนมีความกลา แสดงออกเพม่ิ มากข้ึน
2. วิเคราะหประเดน็ ปญหา โดยใชทมี PLC และต้ังประเดน็ รปู ภาพการวิจยั
ทาทาย เพ่ือทําขอ ตกลงในการพัฒนางาน (PA)
3. ออกแบบการจัดประสบการณก ารเรยี นรแู ละปฏบิ ัตกิ าร ผวู จิ ัย
สอนกจิ กรรมสรา งสรรค (ครใู ชเ ทคนิค/สือ่ / กลยุทธในการจัด
ประสบการณ) นางสาววรรณชนก ชดู เทพ
4. เปด ช้นั เรยี น/สงั เกตช้นั เรียน/ถายทาํ คลิป/แกปญ หาผูเรียน
และพัฒนานวตั กรรมดว ยกระบวนการ PLC ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก
5. บนั ทกึ หลังสอน/สะทอนคดิ /ปรบั ปรุง แกไ ข พัฒนานวัต
กรรม
6. วดั และประเมนิ พัฒนาการเด็ก/วิจัย ในชั้นเรยี น/
เผยแพร
7. นกั เรยี นมีพัฒนาการดา นอารมณ- จิตใจ ทด่ี ีขึน้

สํานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วิจัยในชั้นเรยี น

การพัฒนาทกั ษะการคดิ ดวยวิธกี ารสบื คน และสรุปขอ มลู
เรื่อง วัสดุรอบตวั เรา ผานกระบวนการ PLC

ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 1 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสาํ คัญ

จากการจดั การเรยี นการสอนรายวิชาวทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี 1 ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 1 ทุกปการศกึ ษาที่ผา นมา
พบปญ หานักเรียนขาดทักษะการคดิ ผูส อนไดวิเคราะหสภาพปญหาจากการทดสอบการอาน การตอบคําถาม ตรวจแบบฝก หัด
ตรวจขอสอบ พบวา ผเู รียนขาดทักษะการคดิ ซึง่ ทาํ ใหผ ูเรยี นไมสามารถสรุปผลการทํากจิ กรรมในบทเรียนน้ัน ๆ ได ทําใหค ะแนน
ในการทาํ กจิ กรรมในทุกบทเรยี นไมเปนไปตามเปา หมายของแบบประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรและทกั ษะแหง
ศตวรรษท่ี 21 ครผู สู อนจึงอยากแกไ ขปญ หากการคดิ ในรายวิชาวทิ ยาศาสตรของนกั เรียนระดับชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 1 ดว ยวิธีการ
สบื คน และสรุปขอ มลู ผา นกระบวนการ PLC

วตั ถุประสงค ประโยชนท่คี าดวาจะไดรบั

เพอื่ พัฒนาทักษะการคดิ ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษา นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 1 มที กั ษะการคิด
ปท ี่ 1 ดว ยวิธีการสืบคนและสรุปขอ มูล เร่อื ง วัสดรุ อบตวั เรา ในรายวทิ ยาศาสตรทีส่ งู ขึ้น

วธิ กี ารดําเนนิ การ ผลการวิจยั

1. สรา งทมี PLC กลมุ สาระวิทยาศาสตรแลt ผลจากการจดั การเรยี นรดู ว ยวิธกี ารสบื คน และสรุป
เทคโนโลยี ขอ มูล โดยการสง คลปิ นําเสนอ เรอ่ื ง วสั ดุรอบตวั เรา
ทาํ ใหน กั เรยี นมที กั ษะการคดิ ทสี่ งู ขนึ้
2. วเิ คราะหประเดน็ ปญ หา โดยใชทมี PLC
กลุมสาระวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รปู ภาพการวิจยั

3. ออกแบบการจัดการเรยี นรูและปฏิบตั กิ ารสอน ผูวจิ ยั
ดว ยวธิ กี ารสืบคน และสรุปขอ มูล
นางสาวสตี ีโนรไอนี ญาตมิ ณี
4. เปด ชัน้ เรยี น สังเกตช้นั เรยี น แกไ ขปญหา
ผูเ รยี นและพัฒนานวัตกรรมดว ยกระบวนการ PLC ตาํ แหนง ครู โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก

5. บนั ทกึ หลังสอน สะทอ นคดิ ปรับปรุง แกไ ข
และพฒั นานวตั กรรม

6. ภาระงานที่สะทอ นทักษะการคดิ จาก
การสืบคน และสรุปขอ มูล

สาํ นกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วิจยั ในช้ันเรียน

เเรอื่ ง “การสรางชุดการสอนเพอ่ื พฒั นาการอานคํา – สะกดคาํ
นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบา นสุไหงโก-ลก

ความเปน มาและความสาํ คญั

การจัดการเรียนการสอนมีจดุ มุงหมายเพ่อื พัฒนาใหนกั เรยี นเกิดทกั ษะทง้ั 4 ดาน คือดา นการอาน การฟง การพูด
การเขียน โดยเฉพาะทกั ษะการอา น เปนทกั ษะท่ีมีความสาํ คัญ เพ่อื ใชใ นการสื่อสารและการเรยี นรใู นระดับสงู ขน้ึ ตอ ไป จากการ
ทดสอบนกั เรยี นชั้น ป. 1 ผลพบวาการอานคาํ – สะกดคําไมถ กู ตอง และอานผดิ เปน สวนมาก จงึ ควรหาทางพฒั นาใหนักเรยี น
สามารถอาน – สะกดคําใหด ีข้นึ ถูกตอ งตามลาํ ดบั

ขา พเจาในฐานะครูผสู อนจงึ สนใจทีจ่ ะสรา งแบบฝก การอา นคํา – สะกดคาํ ข้นึ เพ่ือนําไปใชพฒั นาความสามารถในการ
อานของนักเรียน

วัตถปุ ระสงค ประโยชนท ีค่ าดวาจะไดรบั

1.เพ่ือเปรียบเทยี บความสามารถในการอานคาํ – สะกดคํา 1.นักเรยี นมคี วามสามารถในการอานคาํ – สะกดคาํ ไดด ีขน้ึ
กอ นและหลงั เรยี น โดยใชแบบฝกการอา น 2.นักเรยี นอา นคาํ ในภาษาไทยไดถกู ตอ งมากขน้ึ
2.เพือ่ ใหน กั เรียนอา นคํา – สะกดคาํ ไดถ กู ตองชดั เจน 3.นกั เรยี นมแี นวทางเพือ่ พัฒนาทักษะกระบวนการอานภาษา
3.เพื่อศกึ ษาขอ มูลทกั ษะกระบวนการอาน ไทยในเรอื่ งอื่นๆ ได

วธิ กี ารดําเนนิ การ ผลการวจิ ยั

11. กลุมประชากรเปาหมายคอื   นกั เรียนชั้นป.1/2 จากการใหนกั เรยี นฝก อา นแบบทดสอบภาษาไทย
โรงเรียนบานสุไหงโก-ลก นกั เรียนสามารถอานคาํ และประโยคไดด ี มีผลสมั ฤทธิใ์ น
2. กลุม ตัวอยา ง: นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที่ ½ การอานสูงขึน้ อา นไดคลองแคลว มคี วามม่นั ใจในการ
จํานวน 2 คน โรงเรียนบานสุไหงโก-ลก ภาคเรยี นที่ 2 อา นสงผลใหนกั เรยี นอานไดถ ูกตองเกนิ เกณฑมาตรฐานท่ี
ปการศกึ ษา 2564 ซึง่ เปนนักเรียนที่ยงั ขาดทักษะการอาน ครูกาํ หนด
สะกดคาํ และ สะกดคํา และสมคั รใจเขา รว มการวจิ ัยครัง้ นี้

รปู ภาพการวจิ ัย

ผวู จิ ยั
นางอามทีเนา ะ สาแปอิง
ตาํ แหนง ครู โรงเรียนบา นสุไหงโก-ลก

สาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วิจยั ในชั้นเรียน

เร่อื ง “การพัฒนาทักษะการอา นสะกดคําและการจดจาํ คาํ ศพั ทภ าษาองั กฤษโดยใชบ ตั รคาํ รูปภาพ
(Flash card) ของนักเรยี น ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสาํ คัญ

ภาษาอังกฤษเปนภาษากลางภาษาหนึ่งทถ่ี ูกใชเพอ่ื การตดิ ตอสอื่ สารใหก ับประชาคมโลก ดังท่ีกฎบัตรสมาคมแหง
ประชาชาตเิ อเชียตะวนั ออกเฉียงใตไ ดกําหนดไวในขอที่ 34 ภาษาที่ใชท ํางานในอาเซยี น คอื ภาษาองั กฤษ “working language”
ดังนัน้ ในการเรียนรูภาษาอังกฤษจงึ มคี วามสาํ คัญในชีวติ ประจําวนั จากความสําคัญดังทไ่ี ดก ลาวมานี้ ผูวิจยั เห็นวาภาษาอังกฤษมีค
วามสําคัญ ควรไดรับการสงเสรมิ และ พฒั นาใหนกั เรยี นมีทกั ษะการใชภ าษาองั กฤษ โดยเฉพาะทกั ษะการอา น การเขา ใจ และ
ความสามารถในการจดจาํ ความหมายคําศัพทภาษาองั กฤษ ที่ผา นมาพบวามีนักเรยี นบางสว นยงั ขาดทักษะอาน และจดจําความ
หมายคาํ ศพั ทภ าษาองั กฤษ และมีความจําเปนที่ตอง ไดรบั การชวยเหลอื และเพิ่มเติมใหเ กดิ การพฒั นาทกั ษะอา น และจดจํา
ความหมายคําศพั ทภาษาอังกฤษของ นกั เรยี น และเพอ่ื ใหน ักเรียนสามารถพฒั นาทักษะอา น และจดจาํ ความหมายคําศพั ทภ าษา
อังกฤษ ไดอยางเตม็ ศักยภาพ

วัตถปุ ระสงค ประโยชนทีค่ าดวาจะไดร บั

เพื่อพฒั นาและเพมิ่ เตม็ ทักษะการอานสะกดคํา และ นักเรยี นมกี ารพฒั นาทกั ษะการอา นสะกดคาํ และจดจาํ ความ
จดจําความหมายคาํ ศพั ทภ าษาองั กฤษโดยใชบัตรคาํ รปู ภาพ หมายของคําศพั ทม ากข้ึน
(Flash card)

วิธกี ารดาํ เนินการ ผลการวิจัย

1. กลมุ ประชากรเปา หมายคือ  นักเรียนช้ันป.1/3 โรงเรยี น ผลจากการจัดการเรียนรูพบวานักเรยี นมที ักษะการอา นสะกด
บานสุไหงโก-ลก คําศพั ทและจดจาํ คําศัพทภ าษาอังกฤษมากยิง่ ข้นึ
2. กลมุ ตัวอยาง: นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 1/3 จํานวน
2 คน โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลกภาคเรียนท่ี 2 รูปภาพการวิจัย
ปการศกึ ษา 2564 ซงึ่ เปนนักเรียนทย่ี ังขาดทกั ษะการอาน
สะกดคํา และ จดจําความหมายคําศัพทาภาษาองั กฤษ และ
สมัครใจเขารวมการวิจยั คร้ังนี้

ผวู จิ ัย

นางซไู บดะ สะมะอุง

ตําแหนงครู โรงเรียนบา นสุไหงโก-ลก

สํานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วิจยั ในชั้นเรียน

เร่ืองการพฒั นาทักษะการแตง โจทยป ญหาการบวก การลบ โดยใชว ิธกี ารเลา
นทิ านของนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 1การศึกษา 2564
โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสําคญั

จากการจัดการเรียนการสอนรายวิชาคณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 1 ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 1 ทกุ ปก ารศกึ ษาที่ผา นมา
พบปญ หานักเรยี นสว นใหญมีผลสัมฤทธ์ิทางดานความสามารถการแตงโจทยป ญหาในเกณฑท น่ี อ ยกวาทักษะอ่ืนๆทั้งนี้เกดิ จาก
สาเหตสุ าํ คัญ คือ เรยี นไมร ูความหมายของประโยคสัญลักษณ วเิ คราะหไ มเ ปน ทาํ ใหก ารแตง โจทยป ญ หาไมถูกตอ ง ดังนัน้ ผูท าํ การ
วิจัยจึงหาวิธกี ารดําเนินการเพ่ือท่ีจะแกปญ หาและพัฒนาใหน กั เรยี นเกดิ ทกั ษะในดานการแตงโจทยป ญหาทางคณติ ศาสตรให
เขาใจมากย่งิ ขนึ้ ดงั นั้นในการพัฒนาครัง้ นจี้ ะใชกิจกรรมการเลานิทานควบคไู ปกบั การจดั กิจกรรมการเรยี น การสอน

วตั ถุประสงค ประโยชนท ่ีคาดวา จะไดรับ

เพือ่ พัฒนาทักษะการแตง โจทยป ญ หาเกยี่ วกบั การ นกั เรียนมพี ฒั นาการทักษะการแตงโจทยป ญหาการ
บวก การลบ ทไ่ี มถูกตองของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 1 บวกการลบเพ่มิ สงู ขึ้นตามลาํ ดบั จากการสอนโดยใชก จิ กรรม
โดยใชวิธีการเลา นทิ าน การเลานทิ าน

วิธีการดําเนนิ การ ผลการวิจัย

1. ศกึ ษาสภาพปญ หาที่พบประเมนิ ความสามารถ กิจกรรมการเรยี นการสอนพฒั นาทกั ษะการแตง
ในการแตง โจทยป ญหาการบวก การลบของผูเ รยี น โจทยปญหาการบวก การลบโดยใชก ิจกรรมการเลา นิทาน
ทําใหผ ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนสงู ข้นึ
-นักเรยี นยงั ขาดทักษะการแตง โจทยป ญหาการ
บวก การลบ ที่ถกู ตอ ง รปู ภาพการวจิ ยั

2. หาวธิ กี ารแตงโจทยป ญ หาการบวก การลบ ผวู จิ ัย
-การสอนโดยการใชน ิทาน เพ่อื พฒั นาทักษะการ
แตงโจทยปญ หาการบวก การลบ นายณัฐพัฒน พาณิชพัฒนกลุ
3. สรางเครอื่ งมอื
4. จัดกิจกรรมการเรียนรู ตําแหนง ครู โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก
5. วเิ คราะห ขอ มูลเปรยี บเทียบผลการประเมิน
กอ น-หลังดาํ เนนิ การวจิ ัย
6.สรุปอภปิ รายผลการวิจัยและรายงาน

สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ

วจิ ัยในชน้ั เรียน

เร่อื ง “การแกปญหานกั เรียนไมเ ก็บอุปกรณในการจดั การเรยี นการสอนใหเปน ระเบยี บ”
ช้นั ประถมศึกษาปที่ 1 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสาํ คัญ

จากการจดั การเรยี นการสอนรายวชิ าเทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ภาคเรียนที่ 1 ระดบั ช้ันประถมศึกษาปท่ี 1 ทกุ
ปการศกึ ษาวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) นักเรยี นสวนใหญจ ะตอ งใชเ วลาในการเรียนออนไลน เม่อื หมดเวลาแลวนักเรียน
สวนใหญมักจะไมเ กบ็ อุปกรณในการจดั การเรียนการสอน ประกอบกับนักเรียนเรียนอยทู ่ีบา น เม่อื ถึงเวลาเรยี นจะตอ งเตรยี ม
อปุ กรณใ นการจดั การเรียนการสอน เชน จัดโตะสาํ หรับเรยี นออนไลนแ ละอปุ กรณตา งๆ ในการเตรียมตัวเรียนออนไลน ดงั น้นั ครู
ผูสอน 
มคี วามคิดเหน็ วา นักเรยี นทเี่ รยี นวิชาเทคโนโลยี(วทิ ยาการคํานวณ) ควรจะมคี วามรับผิดชอบตอ ตนเองในการเก็บอุปกรณใหเ ขาที่
หลงั ท่เี รยี นออนไลนเสรจ็ เม่อื หมดคาบเรียบแลวจงึ ไดด ําเนนิ การแกป ญหาดงั กลา ว

วัตถุประสงค ประโยชนท ค่ี าดวาจะไดร บั

เพือ่ แกปญหานกั เรียนท่ไี มเ กบ็ อปุ กรณในการจดั การ นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 1มีความรบั ผิดชอบและมรี ะเบยี บ
เรียนการสอนใหเปนระเบยี บ มากขึน้

วิธกี ารดาํ เนนิ การ ผลการวิจยั

1. กลมุ ประชากรเปาหมายคือ  นกั เรยี นช้ันป.1/6 ผลจากการจัดการเรยี นรูพบวานกั เรียนมคี วามรับผิดชอบดขี น้ึ
ท่เี รยี นวชิ าเทคโนโลยี(วทิ ยาการคาํ นวณ) และใหความรวมมอื ในการเกบ็ อุปกรณใ หเ ขาทเี่ ปนระเบยี บ
จาํ นวน 17 คน เรียบรอ ยดี
2. เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชในการเก็บรวบรวมขอ มลู คือ
แบบสอบถามปลายเปด รูปภาพการวจิ ยั
3. การเก็บรวบรวมขอ มูลจากแบบสอบถามนักเรียนซง่ึ เกบ็
รวบรวมขอ มลู ระหวา งวนั ท่ี 1 พฤศจิกายน 2564 ถึง ผวู จิ ยั
ธันวาคม 2564
4. การวเิ คราะหข อมูล จากคา รอยละ นางสาวปารณี า มะมิง

ตําแหนงครผู ูส อนจชต. โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก

สํานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วจิ ัยในชัน้ เรียน

เรอ่ื ง การศกึ ษาผลการนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชในการพฒั นาพฤติกรรม
การอา นของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 1/2 โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสาํ คญั
ปการศึกษา 2564 ขาพเจาไดร ับมอบหมายใหท าํ หนาทีค่ รูประจาํ ชัน้ ปญ หาท่ีพบคือนกั เรยี นในชน้ั ท่ดี แู ล สว นใหญมี
พฤตกิ รรมการเลน มากเกนิ ไป ขาดความสนใจตั้งใจเรยี น ขาดความขยนั อานหนังสือ ทําใหพ ฒั นาการดา นการอา นทาํ ไดไมด ีเทาที่
ควร มกี ารเลน รุนแรงในบางครงั้ การรังแกกนั และทําใหเพอื่ นหรอื ผอู ่นื เดือดรอน ซ่ึงเปนปญ หาที่อาจนําไปสูความรุนแรงได
ขาพเจาเห็นถึงความจาํ เปนทต่ี อ งหาแนวทางในการแกไ ขปญหา เพือ่ ใหน ักเรียนมพี ฤติกรรมทเ่ี หมาะสม เกดิ การเรยี นรไู ดเ ตม็
ศักยภาพ ขา พเจา จึงไดนอมนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาเปน เครอื่ งมอื ในการกระตุนใหนกั เรียนเกดิ ความตระหนัก นาํ
ไปใชใ นชวี ิตประจําวนั เพ่อื ใหเกดิ การปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมไปในทางทเี่ หมาะสม ไดแ ก การอา นหนงั สอื การอยรู วมกัน ในสังคม ที่
สงผลตอ การเรยี นรทู ี่มีประสิทธภิ าพมากข้ึน

วัตถปุ ระสงค ประโยชนท ่คี าดวาจะไดร ับ
การนาํ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาจดั การ
1.เพ่อื ใหนักเรยี นรจู ักการนําหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เรียนรูใหก บั นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี 1/2 ชวยใหน กั เรยี น
เพยี งไปปรบั ใชในชวี ิตประจาํ วนั มคี วามรคู วามเขาใจสามารถนาํ หลักคิดพอเพียงไปใชใหเกิด
2. เพอื่ พัฒนาพฤติกรรมการอา นหนงั สือ ของนกั เรยี น ประโยชนต อตนเองไดด ีผโลดกยเาฉรพวาจิ ะัยอยางย่ิงประโยชนดานการ
ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี1/2 อา นหนังสอื

วธิ กี ารดําเนนิ การ ผลการวจิ ัย
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สามารถชว ยใหนักเรยี น
1. ประเมินพฤตกิ รรมการอานหนังสือกอนการวจิ ยั ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 1/2 พัฒนาพฤติกรรมการอานหนังสอื ได
2. จัดกิจกรรมการเรียนรู ใหน ักเรียนเขา ใจและเขาถงึ หลัก ดีมากขน้ึ เนอ่ื งจากการนําหลกั คิดของความพอเพียง มี
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอพยี ง เหตุผล ไปปรับลดพฤติกรรมที่ไมเหมาะสม
3. ดาํ เนนิ การพฒั นาพฤตกิ รรมดว ยกจิ กรรม 3 หว ง 2
เงอ่ื นไข กบั การนําไปใชใ นชีวติ ประจําวนั และเก็บรวบรวม รปู ภาพการวจิ ัย
ขอ มลู
4. ประเมินพฤตกิ รรมหลังการวจิ ยั และวเิ คราะหข อมูล ผูวิจยั
เปรยี บเทียบผลการประเมินกอน-หลงั ดาํ เนนิ การวิจัย
6. สรุปอภปิ รายผลการวจิ ัย นางอรพนิ พนั ธโภชน

ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก

สาํ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ

วิจยั ในช้นั เรยี น

เรอ่ื ง การวเิ คราะหการแกโจทยปญ หาคณติ ศาสตรก ารบวก การลบ

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ 1 ปก ารศึกษา 2564
โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสําคัญ

ตามธรรมชาตขิ องวชิ าคณิตศาสตร เปนวชิ าท่ีเนน ใหผูเ รียนรูจ ักการคดิ วิเคราะห แกไขปญหาอยา งมเี หตุผล แตการคดิ
วเิ คราะหจะตองมาจากการอาน ความเขาใจในคําหรือภาษาแตจากการสอนพบวานักเรียนไมส ามารถวเิ คราะหและแกไขปญ หา
โจทยได เน่ืองจากไมเขาใจในความหมายของคําในประโยค สาเหตนุ ีจ้ งึ เปน ท่ีมาของการทําวจิ ยั เพื่อเปนการชวยเหลือใหน กั เรียน มี
ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวิชาคณติ ศาสตรใ หด ีข้นึ

วตั ถปุ ระสงค ประโยชนทคี่ าดวาจะไดรับ

1. เพอื่ ใหนักเรยี นสามารถวิเคราะหโ จทยป ญ หาได 1. ไดห ลกั ในการคิดวเิ คราะหโ จทยปญหาอยางงา ยๆ
2. เพื่อใหน กั เรียนสามารถเขยี นประโยคสญั ลกั ษณและหาคํา 2. ไดแ นวทางในการฝกใหน กั เรยี นรจู กั คดิ วเิ คราะหโ จทยป ญหา
ตอบไดถ ูกตอ ง
ผลการวิจัย
วธิ กี ารดาํ เนินการ
นักเรียนเขา ใจความหมายของคําในทางคณติ ศาสตรม ากขึน้
- นกั เรียนทาํ แบบทดสอบกอ นเรยี นโจทยป ญ หาการบวก นาํ ไปสูการวเิ คราะหโ จทย และแกโ จทยป ญ หาไดด ีข้ึน
การลบ
- ทําการทดลองสอนโดยใชแ บบฝก อยางงายๆ การสนทนา รูปภาพการวจิ ัย
เก่ยี วกบั เร่อื งราวของนกั เรียน และใชแ บบฝก ชว ยในการ
วิเคราะหโจทยก ารบวก การลบ เม่อื จบหวั ขอ นั้นๆ แลวจึง
จะมีการทาํ แบบฝกหัดทดสอบ ทําเชนนีจ้ นครบทุกหัวขอ
- ทาํ การทดสอบอกี ครั้ง โดยใหนักเรยี นทาํ แบบทดสอบหลัง
เรียน โดยทีข่ อสอบจะมีการปรับปรงุ บางขอจากขอสอบ
กอนเรยี น เพือ่ ใหส อดคลอ งกบั พฒั นาการของผเู รียน

ผวู ิจยั

นางสาวสากนี ะ สาเหมา

ตาํ แหนงครู โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก

สาํ นกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วิจัยในช้นั เรยี น

เรื่อง การพฒั นาแบบฝก ทกั ษะการอานและการเขยี นคําทป่ี ระสมสระเสียงยาว
กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2564
โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก

ความเปน มาและความสาํ คัญ

ปจ จบุ นั การเรยี นการสอนในกลมุ สาระการการเรยี นรูภาษาไทย ในระดบั ชั้นประถมศึกษาปท ี่ 1 ประสบปญ หาในเรอื่ งการ
อานและการเขียนคําที่ประสมสระเสียงยาว เนื่องจากการใชภาษาไทยเปน ภาษาทส่ี อง และนักเรียนจะใชภาษาไทยเฉพาะ
เวลาทตี่ อ งการส่อื สารกับครเู ทา นัน้ อีกทั้งยงั ไมม ีความม่ันใจในการออกเสียง ออกเสียงผดิ เพ้ียน และการเขยี นคาํ ทีป่ ระสม
สระเสียงยาวได ซึง่ ปญ หาเหลา นเี้ ปน อุปสรรคตอ การจดั การเรยี นการสอนในกลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย และกลมุ สาระ
การเรยี นรอู ืน่ ๆ อกี ดว ย

วัตถปุ ระสงค ประโยชนทคี่ าดวาจะไดร บั

เพื่อพฒั นาทกั ษะการอา น และการเขียนคาํ ท่ี นักเรียนมกี ารพัฒนาทกั ษะการอา นและการเขยี นคําที่
ประสมสระเสียงยาวใหมากข้ึน ประสมสระเสียงยาว มากขึ้น

วิธกี ารดําเนนิ การ ผลการวิจยั

1. กลมุ ประชากรเปาหมายคือ  นักเรยี นช้ันป.1/4 ผลจากการจัดการเรยี นรูพบวา นักเรียนมีทกั ษะการอาน
โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก และการเขียนคําท่ปี ระสมสระเสียงยาวไดม ากย่งิ ขึ้น
2. กลมุ ตวั อยาง: นักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที่ 1/4
จํานวน 2 คน โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลกภาคเรยี นที่ 2 รูปภาพการวิจยั
ปก ารศึกษา 2564 ซงึ่ เปน นกั เรยี นท่ียังขาดทักษะการ
อานการเขยี นคําพืน้ ฐานไดเขา รว มการวิจัยครัง้ น้ี

ผูวิจยั
นางราตรี สาสธุ รรม
ตาํ แหนงครู โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก

สํานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วจิ ัยในชนั้ เรียน

การพฒั นาทกั ษะการอา นสะกดคาํ
ของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที่ 1/6
ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสาํ คญั

จากการจัดการเรยี นการสอนรายวชิ าภาษาไทย ภาคเรยี นท่ี 1 ระดับชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 1/6 ทุกปการศกึ ษาท่ผี านมา พบ
ปญหานักเรยี นจะอา นแบบจําคาํ เม่อื เจอคําใหมใ นรูปแบบเดียวกนั นกั เรียนไมส ามารถอานคาํ ไดถ ูกตองและแมน ยํา อา นสะกดคาํ
ไดไมถกู ตอ ง สาเหตุ ดังกลาวทําใหน ักเรียนเกิดความเบ่อื หนา ยตอการเรยี นวิชาภาษาไทยในระดับช้นั ของตนเองและระดบั ช้ันทสี่ งู
ขน้ึ จึงทาํ ใหม กี ารจัดทําวิจยั ในช้นั เรียนเรอื่ งการสงเสรมิ การอา น สะกดคําของนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 1/6 ขน้ึ

วัตถปุ ระสงค ประโยชนทคี่ าดวา จะไดรบั

1.เพอื่ เปรยี บเทยี บความสามารถในการอานคํา – สะกดคํา 1.นกั เรียนมีความสามารถในการอา นคาํ – สะกดคาํ ไดดีขนึ้
กอนและหลังเรียน โดยใชแบบฝก การอาน 2.นักเรียนอานคาํ ในภาษาไทยไดถ ูกตอ งมากข้นึ
2.เพ่อื ใหนักเรยี นอา นคํา – สะกดคาํ ไดถ กู ตองชดั เจน 3.นกั เรยี นมแี นวทางเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการอานภาษา
3.เพื่อศกึ ษาขอ มลู ทกั ษะกระบวนการอา น ไทยในเรอ่ื งอน่ื ๆ ได

วธิ กี ารดําเนนิ การ รูปภาพการวจิ ยั

1. ศกึ ษาสภาพปญ หาและวเิ คราะหแนวทางการแกป ญหา
2. เลือกกลุมเปา หมายนกั เรยี นชน้ั ป.1/6 จาํ นวน 40 คน
3. ทดสอบความสามารถในการอา นสะกดคํา
4. เกบ็ รวบรวมขอ มูล
5. สรุปและวเิ คราะหผ ลการวจิ ัย

ผลการวิจยั

จากการใหนกั เรยี นฝกอานแบบทดสอบภาษาไทย ผวู ิจยั
นกั เรยี นสามารถอานคาํ และประโยคไดด ี มผี ลสัมฤทธ์ใิ นการ
อานสงู ข้นึ อานไดค ลอ งแคลว มคี วามมัน่ ใจในการอา นสง นางสาวอาซมี ะ สแี ป
ผลใหน กั เรียนอานไดถกู ตองเกนิ เกณฑมาตรฐานทีค่ รกู าํ หนด
ตําแหนง ครู โรงเรียนบานสุไหงโก-ลก

สาํ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วจิ ัยในช้นั เรียน

เรื่อง “การสงเสริมทักษะการอานสะกดคาํ ของนักเรียน ชนั้ ประถมศึกษาปที่ 1”
ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสําคัญ

ภาษาไทยเปน ภาษาประจําชาติไทยที่จาํ เปน ในการสอื่ สารของมนุษย การส่อื สารของมนษุ ยใ ชทักษะท่ีสาํ คญั หลายทกั ษะ เชน ฟง
พดู อา น เขียน แตในปจ จุบนั วชิ าภาษาไทย จะประสบกบั ปญ หานกั เรียนขาดทกั ษะการอาน ซ่งึ เปนทักษะท่มี ีความสาํ คญั และไมไดรบั
การสง เสริมอยา งตอ เนอ่ื ง นักเรยี นไมสามารถอานคาํ ไดถ กู ตองและแมนยํา จากการสังเกตของครูผสู อนวิชาภาษาไทยในระดับชน้ั ประถม
ศกึ ษาปที่ 1/5 นกั เรยี นบางสวนยังอานสะกดคําไดไ มถ กู ตอ ง สาเหตุดังกลา วทําใหนกั เรยี นเกิดความเบ่ือหนายตอการเรยี นวิชาภาษาไทยใน
ระดบั ช้ันของตนเองและระดบั ช้นั ทสี่ งู ขึ้น จึงทําใหมีการจดั ทําวิจัยในช้นั เรยี น เร่ือง การสงเสริมการอานสะกดคําของนักเรยี นชนั้ ประถม
ศึกษาปท ่ี 1/5 ขึ้น

วัตถุประสงค ประโยชนท ีค่ าดวาจะไดรบั

เพ่ือสงเสริมทักษะการอานสะกดคําใหไ ดมากข้นึ นักเรียนอานสะกดคาํ ไดถ กู ตอ ง

วิธกี ารดําเนนิ การ ผลการวิจยั

1. กลมุ ประชากรเปาหมายคือ  นกั เรยี นชัน้ ป.1/5 โรงเรียนบานสุ ผลจากการจัดการเรยี นรูพ บวา นกั เรียนมีพัฒนาดา นการอาน
ไหงโก-ลก สะกดคําเพมิ่ ขน้ึ จากเดมิ
2. กลุมตวั อยาง: นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 1/5 จํานวน 10
คน โรงเรียนบานสุไหงโก-ลก ภาคเรียนที่ 2 รปู ภาพการวิจัย
ปการศึกษา 2564 ซึ่งเปนนกั เรียนท่ียังขาดทกั ษะการอานสะกด
คาํ

ผูวิจยั
นางสาวนูตรนี า นอ
ตําแหนง ครู โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก

สํานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วจิ ัยในชั้นเรียน

เร่ือง “การพฒั นากจิ กรรมการเรียนการสอน วิชาประวตั ศิ าสตร
โดยใชป ญหาเปน ฐานช้ันประถมศกึ ษาปที่ 4” ปก ารศกึ ษา 2564

โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสาํ คญั

ประวตั ศิ าสตรเปนวชิ าหนึ่งท่ีมีบทบาทในการปลกู ฝงความมีคุณธรรม จริยธรรมและเพือ่ พฒั นาความคดิ วเิ คราะห
เร่ืองราวในอดีตเพื่อนํา มาใชในปจจบุ ัน และเพ่อื อนาคตทดี่ ีงาม วเิ คราะหผ ลกระทบทเ่ี กิดข้ึนเขาใจความเปนมาของชาติ
ไทยวัฒนธรรม ภูมปิ ญญาไทย รกั ภูมิใจและธาํ รงความเปน ไทย(กระทรวงศึกษาธิการดงั น้นั การสรา งพน้ื ฐานทด่ี ีเหลาน้ใี ห
กับนักเรยี นเปนความจํา เปนอยางยิ่งทจี่ ะพฒั นาเยาวชนและประเทศชาตแิ ละการจดั การเรยี นรูโดยใชป ญ หาเปน ฐานเปน
วิธกี ารหนง่ึ ทผ่ี ูสอนสามารถจัดการเรียนรูใหส อดคลองกบั ชีวติ จรงิ หรือสาระท่กี าํ หนดขน้ึ (กระทรวงศึกษาธกิ าร

วัตถุประสงค ประโยชนทีค่ าดวาจะไดร บั

เพ่อื พฒั นากจิ กรรมการเรยี นการสอนวชิ าประวัตศิ าสต นกั เรยี นสนใจการเรียนวชิ าประวตั ศิ าสตรมากข้ึน
รโดยใชป ญ หาเปนฐาน
ผลการวจิ ยั
วิธกี ารดาํ เนนิ การ
ผลจากการจัดการเรียนรูพบวา นักเรียนมีพัฒนากจิ กรรม
1.กลมุ ประชากรเปา หมายคือ  นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษา การเรียนการสอน สะกดคําเพม่ิ ข้นึ จากเดมิ
โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก
2. กลมุ ตวั อยา ง: นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 4/5 รูปภาพการวิจัย
จํานวน 39 คน โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก ภาคเรยี นท่ี 2
ปก ารศกึ ษา 2564 ซงึ่ เปน นักเรียนท่ขี าดพฒั นากิจกรรม
การเรียนการสอนวชิ าประวัติศาสตรโดยใชป ญ หาเปน
ฐาน

ผวู จิ ัย

นายบญุ ชวย ทองบุญ

ตาํ แหนงครู โรงเรียนบา นสุไหงโก-ลก

สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ

วิจัยในชั้นเรียน

การแกไขปญหาผเู รียนทเี่ คลื่อนไหวรา งกายไมต รงจังหวะ
ของนักเรยี น ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 1/1 ปการศกึ ษา 2564

โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสาํ คญั

นาฏศลิ ปไ ทยแสดงถงึ ความเปน เอกลักษณป ระจาํ ชาติ แสดงใหเ ห็นถงึ อารยธรรมความเปนไทย ความเจริญรงุ เรอื งทางดา นศิลป
วฒั นธรรม ซ่งึ เกดิ มาจากสาเหตุแนวคดิ ตา งๆ เชน ความรสู กึ กระทบกระเทอื นตาม อารมณ ไมว าจะเปนอารมณแหงความสุข หรอื อารมณ
ของความทกุ ขซ่ึงจะสะทอนออกมาเปน ทา ทางธรรมชาติ และประดษิ ฐม าเปนลีลาการฟอนราํ หรือเกดิ จากลทั ธคิ วามเชอ่ื ในการนบั ถือสงิ่
ศกั ด์ิสทิ ธ เทพเจา โดยการบูชา ดว ยการขับรอ ง ฟอนราํ ใหเ กดิ ความพึงพอใจ กอ นจะนํามาปรบั ปรงุ ใหเ ปน แบบแผนและเอกลกั ษณข อง
ไทย ซง่ึ ไดม ี การแสดงกันอยา งแพรหลายในปจจุบนั (จนิ ตนา สายทองคาํ .2558 :09) เพ่อื ใหเ กดิ ความสวยงามผูแ สดงควรมี องคประกอบ
ในการแสดง เชน การแสดงไดพ รอมเพรียงหรอื ถูกตอ งตามจงั หวะ ดงั น้นั รฐั บาลจงึ เล็งเห็นความสาํ คัญใหเ ดก็ ไทยฝกปฏิบัตินาฏศิลปเ พ่อื
รักษา ขนบธรรมเนียม ประเพณีความเปนไทยมาจนถึงปจ จุบัน

ประโยชนที่คาดวา จะไดร บั

วัตถปุ ระสงค 1. ทราบสาเหตทุ ่ีผเู รยี นไมสามารถเคล่ือนไหวรางกายใหต รง
จังหวะได
1. เพ่ือศึกษาสาเหตทุ ผ่ี ูเ รยี นไมส ามารถปฏิบัติทา ทางการ
เคลอ่ื นไหวรางกายไดต รงจังหวะ 2. ทราบแนวทางการแกไขปญหาท่ผี ูเรยี นไมส ามารถ
เคลื่อนไหวรา งกายใหตรงจังหวะไดโดยการ สอนแบบเพ่อื น
2. เพอ่ื ศึกษาการแกไ ขปญ หาทผ่ี เู รยี นไมสามารถปฏบิ ัตทิ า ทาง ชว ยเพือ่ น
การเคล่ือนไหวรา งกายไดตรงจงั หวะ โดยใช การสอนแบบ
เพือ่ นชว ยเพอื่ น

วธิ กี ารดําเนนิ การ รปู ภาพการวิจัย

1.กลุมประชากรเปา หมายคอื   นกั เรยี นช้ัน ประถมศึกษา
ปท ี่ 1 โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก

2. กลมุ ตัวอยาง: นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 1/1
จํานวน 39 คน โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก
ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2564

ผลการวิจยั ผวู จิ ัย

ผลจากการจดั การเรียนรพู บวา นักเรยี นมีการพัฒนาการ นางสาวสุนารยี  กาญจนะ
เคลื่อนไหวใหล งจงั หวะมากขึน้
ตําแหนง ครู โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลก

สาํ นักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วิจัยในช้นั เรียน

เร่อื ง การแกปญ หาความวนุ วายของนักเรยี นท่มี ีความเรว็ ในการทํางานตางกนั
ในวชิ าประวตั ศิ าสตร ปการศึกษา 2564 โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก

ความเปนมาและความสาํ คญั

จากการท่ผี ทู ําวจิ ยั เปน ครปู ระจาํ ชน้ั ของนกั เรยี นประถมศึกษาปท ่ี 1 / 2 ไดร บั มอบหมายใหส อนวชิ า
ประวตั ศิ าสตรของชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 1 ไดส อนมาเปนระยะเวลาประมาณ 2 ภาคเรียนของปการศึกษา 2564 แลวน้นั
พบวานักเรยี นในสายชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 1 มศี กั ยภาพในการทาํ งานท่ีแตกตา งกนั สงผลใหน ักเรียนกลมุ ทท่ี าํ งานสําเรจ็
กอนเวลา ทาํ ลายสมาธนิ กั เรียนกลุม ที่ยังทํางานไมสําเรจ็ กอใหเ กิดปญ หาความวุนวายใน หอ งเรียน จึงทําใหมีการจัดทํา
วจิ ยั ในชน้ั เรียน เรอ่ื ง การแกปญหาความวุน วายของนักเรยี นที่มีความเรว็ ในการทํางานตางกัน ในวิชาประวัตศิ าสตร
ปการศึกษา 2564 โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลก ข้นึ

วัตถปุ ระสงค ประโยชนท ่ีคาดวา จะไดร บั

1. เพื่อแกปญ หาความวุน วายของนกั เรยี นท่ีมคี วามเร็ว 1. นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที่ 1 มีความสําเรจ็ ในการทาํ
ในการทาํ งานตางกัน ในสายชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 งานเรว็ ขึน้
2. เพอ่ื พฒั นาวธิ ีการซอสามสาย ในการแกปญหาความ 2. นักเรยี นมคี วามสขุ ในการทาํ งาน
วุนวายของนักเรียนทม่ี ีความเรว็ ในการทาํ งานตา งกนั 3. นกั เรยี นไดฝ กทกั ษะนอกเหนือจากวิชาทเี่ รียนหลังทํางาน
ที่ไดร บั มอบหมายสําเรจ็

วธิ กี ารดําเนินการ ผลการวิจยั

1. ครสู รา งขอตกลงในการทํางานในวิชา นกั เรยี นทท่ี ํางานสําเรจ็ ชา มรี ะดับความเร็วในการทาํ งาน
ประวตั ิศาสตรก บั นักเรยี น ช้ันประถมศึกษาปท ่ี 1 เพ่มิ ขน้ึ และ นกั เรยี นท่ีทํางานเสรจ็ เร็วมงี านทาํ จึงลด
2. ครใู ชว ิธีการซอสามสายกับนกั เรียนท่ีทาํ งานสาํ เรจ็ ปญหาความวนุ วายในหองเรียน และมคี วามเร็วใน
กอนเวลา โดยครูใหส ิทธ์กิ บั นักเรียนเลือกทาํ กจิ กรรม การทํางานดีขน้ึ เปน ทนี่ า พอใจ
ท่ีนักเรยี นชอบ 1 แบบ จากกิจกรรมท่ีกาํ หนดให 3
แบบ รปู ภาพการวิจยั
3. ครบู ันทึกจาํ นวนนกั เรียนทท่ี ํางานสาํ เรจ็ ในแบบ
บนั ทกึ ความสําเร็จของงานกอนเวลา โดยใชร ะยะ
เวลาในการสงั เกตประมาณ 7 คร้ัง

ผวู ิจัย
นายมารูวนั บนิ เจะอุเซง็
ตาํ แหนง ครผู ูสอน โรงเรียนบานสุไหงโก-ลก

สาํ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ

วจิ ยั ในชนั้ เรยี น

การพฒั นาทักษะการเรยี นรโู ดยการปฏิบัติจริง
เรือ่ ง สรางสรรคงานเปเปอร

ของนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 2 ปการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสําคัญ

จากการจัดการเรยี นการสอนรายวิชาการงานอาชพี ระดับชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 2 ทุกปก ารศึกษาที่ผานมา พบปญ หา
นกั เรยี นบางสวนขาดทกั ษะการฟง การคิด สมาธิ ผสู อนไดว เิ คราะหส ภาพปญหาจากการจดั กิจกรรมกระบวนการเรยี นการสอน
การตอบคาํ ถาม ตรวจภาระงาน ตรวจแบบทดสอบ พบวา ผเู รยี นขาดทักษะการฟง สมาธิ ซึง่ ทําใหผเู รยี นไมสามารถปฏบิ ตั ติ าม
ไดเลยในทนั ที สรุปผลการทํากจิ กรรมในบทเรยี นนั้น ๆ สาํ หรับนกั เรียนบางสวน ทาํ ใหใ นการทํากจิ กรรมในทุกกจิ กรรมไมเปน ไป
ตามเปาหมายของแบบประเมนิ ทักษะการเรยี นรกู ระบวนการพัฒนาการเรียนรโู ดยการปฏิบตั จิ รงิ ครูผสู อนจึงอยากแกไ ขปญ หาก
การคดิ ในรายวิชาการงานอาชพี ระดับชั้นประถมศึกษาปท ่ี 2 ดว ยวิธกี ารสอนการพฒั นาทกั ษะโดยการปฏิบัติจริง

วัตถปุ ระสงค ประโยชนทค่ี าดวา จะไดรบั

เพ่ือพฒั นาทักษะการเรียนรูท ่ีเกดิ ขึ้น ใหม ีคึ วามคงทน นักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 2 มที ักษะการฟง ทกั ษะ
ถาวร การคดิ ของนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 2 ดว ยวิธีการ การคิด มสี มาธใิ นการเรียนรูท่สี งู ขนึ้
เรยี นรูโดยการปฏบิ ัติ เรอ่ื ง สรางสรรคง านเปเปอร

วิธีการดําเนนิ การ ผลการวจิ ัย
1. ครูวเิ คราะหป ญหานักเรียนช้นั ประถมศึกษา ผลจากการจัดการเรียนรูดว ยวิธกี ารพัฒนาทักษะการ
ปท ี่ 2 เรยี นรูดวยวิธกี ารเรยี นรโู ดยการปฏบิ ัตโิ ดยการสงคลปิ นํา
2. ออกแบบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู เสนอหรือชืน้ งานตา งๆ เรอื่ ง สรา งสรรคง านเปเปอร
3. ครแู ละออกแบบการจดั การเรียนรแู ละ ทําใหน ักเรยี นมที ักษะการฟง การคิด และมสี มาธทิ ีส่ ูงขนึ้
ปฏบิ ัติการสอนดวยวิธกี ารพฒั นาทกั ษะการเรยี นรูใหม ีค
วามคงทน ดว ยวธิ กี ารเรียนรโู ดยการปฏบิ ัติ รูปภาพการวิจัย
4. ครูตรวจบันทึกหลงั สอน สะทอนคิด ปรบั ปรงุ
แกไขและพัฒนานวัตกรรม ผูวิจยั
5. ครูประเมนิ ผล และสรุปผลการใชก ารจัด
กจิ กรรมการเรยี นการสอนดว ยวธิ กี ารพัฒนาทักษะการ นางสาวกฤตญิ าดา พรหมแกว
เรียนรูใ หม คี วามคงทน ดวยวิธกี ารเรยี นรโู ดยการปฏิบตั ิ
ตําแหนง ครผู ูส อน โรงเรียนบา นสุไหงโก-ลก

สํานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วิจยั ในชั้นเรยี น

การใชผงั มโนทัศนส รปุ เนอ้ื หาสําคัญ
มีผลตอผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาวิทยาศาสตร
ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 2 ปการศกึ ษา 2564 โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสาํ คัญ

จากการจดั การเรยี นการสอนรายวชิ าวิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี 2 ระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 ปก ารศกึ ษาท่ีผา นมา
พบวา นักเรยี นไมส ามารถทาํ แบบฝก หัด และแบบทดสอบยอ ยไดผ า นเกฑที่กาํ หนด ซง่ึ เน้อื หาเนนความจาํ ความเขา ใจ ครูผูสอนจงึ
ตอ งการแกป ญ หาท่ีนกั เรียนไมส ามารถจดจําเน้ือหาและไมสามารถสรปุ เนือ้ หาสําคญั ไดอ ยางเปนลําดับข้ันตอนได ดว ยวธิ กี าร
สรปุ เน่อื หาโดยใชผ ังมโนทศั น เพอ่ื สรุปเน้ือหาตามความเขาใจของผเู รยี น ใหเกิดความรู ความเขา ใจมากข้ึน สง ผลใหผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรยี นเพิ่มขึ้น

วัตถุประสงค ประโยชนท คี่ าดวา จะไดร ับ
เพื่อศกึ ษาผลของการใชผงั มโนทัศนสรุปเน้อื หา นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที่ 2 มีผลสมั ฤทธิ์
สาํ คญั ท่มี ีผลตอ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวิชาวทิ ยาศาสตร ทางการเรยี นในรายวิทยาศาสตรท ี่สงู ขึน้
ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 2

วิธกี ารดําเนินการ ผลการวจิ ยั

1. ใหนกั เรยี นทําแบบทดสอบกอ นเรยี น ผลจากการจดั การเรยี นรดู ว ยวิธีการสบื คน ขอ มูลและ
2. ครดู ําเนนิ การสอน โดยใหน ักเรยี นรว มกนั สืบ สรุปเนื้อหาโยการใชผ ังมโนทศั น ชวยใหนกั เรยี นเขาใชภาพร
คน ขอ มูล และสรุปเนอ้ื หาสําคัญโดยใชผังมโนทัศน สมของเน้อื หาไดม ากข้ึน และมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นเพิ่ม
3. เมอ่ื ส้นิ สุดการสอน ใหน กั เรียนทํา ขน้ึ
แบบทดสอบอีกครั้ง
4. นาํ ผลคะแนนท่ีไดม าหาคะแนนเฉล่ยี เพื่อทํา รูปภาพการวิจยั
การเปรยี บเทยี บ
5. บนั ทกึ หลงั สอน สะทอนคดิ ปรับปรงุ แกไข ผวู จิ ยั
และพฒั นานวตั กรรม
6. นําเสนอภาระงานท่ีสะทอ นทกั ษะการคิดจาก นางสปุ ระวีณ สุวรรณมณี
โดยการใชผ งั มโนทัศน
พนกั งานราชการโรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก

สาํ นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วิจัยในชน้ั เรียน

การพฒั นาและเสริมทกั ษะการเขียนสะกดคําในภาษาไทย ตามมาตรา
ตวั สะกด ของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๒ หอง ๒ โรงเรยี นบา นสุไหงโก-

ลก โดยใชชดุ การสอนเสรมิ ทักษะ

ความเปน มาและความสําคญั

เนือ่ งจากธรรมชาตขิ องภาษาไทย ท่มี ีพยัญชนะ ๔๔ ตัว แตมีเสียงเพียง ๒๑ เสยี ง ทําใหค าํ ในภาษาไทยมเี สยี งพองกัน แต
มีความหมายตางกันเปน จาํ นวนมาก ซ่งึ ถา จาํ หลกั เกณฑใ นการเขียนไมได กม็ กั จะเขียนสะกดคาํ ผดิ ใชค ําผดิ รวมท้งั การสื่อสาร ที่
ไมเ ขาใจกนั ผูว จิ ัยจึงมีความเห็นวา ควรพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอนภาษาไทย โดยเฉพาะทักษะการเขียน ตลอดจนพัฒนา
ทางดา นสอื่ การเรียนการสอนควบคูไปดว ย เพราะการฝกทกั ษะทางการเขยี นสะกดคํานั้น จะอาศยั เฉพาะแบบเรยี น และ
แบบฝกหัดอยางเดยี วคงไมเ พยี งพอ ผูวจิ ัย ในฐานะครูผูสอนภาษาไทย ในระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๒ หอง ๒ จงึ ไดทดลองศกึ ษา
วจิ ยั พฒั นาชุดการสอนเสรมิ ทกั ษะ เรอ่ื ง “การเขยี นสะกดคําภาษาไทยตามมาตราตวั สะกด”

วัตถปุ ระสงค ประโยชนท่ีคาดวา จะไดรับ

เพอื่ พฒั นาชุดการสอนเสรมิ ทกั ษะ เร่อื ง การเขียน นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปท่ี ๒ หอง ๒ มที ักษะการ
สะกดคาํ ภาษาไทยตามมาตราตัวสะกด เขียนสะกดคาํ ภาษาไทย สูงข้นึ รอยละ ๘๐

วธิ กี ารดาํ เนนิ การ ผลการวจิ ยั

1. สรา งทีม PLC กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๒ หอง ๒ ปก ารศึกษา
2. วิเคราะหป ระเด็นปญหา โดยใชท ีม PLC และ ๒๕๖๔ มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนรายวชิ าภาษาไทย สงู ขึน้ ใน
ต้งั ประเดน็ ทา ทายในขอ ตกลงการพัฒนางาน (PA) ระดบั คาเปาหมายท่กี าํ หนดไว รอยละ ๘๐
3. ออกแบบการจดั การเรยี นรู และปฏิบตั ิการ
สอนโดยใชก ระบวนการ Active Learning รูปภาพการวจิ ัย
4. เปด ชน้ั เรียน สงั เกตชน้ั เรยี น แกไ ขปญ หา
ผเู รยี นและพัฒนานวัตกรรมดว ยกระบวนการ PLC ผูวิจยั
5. บนั ทกึ หลงั สอน สะทอ นคิด ปรบั ปรุง แกไข
และพัฒนานวตั กรรม นายสุขสนั ต ยบุ ลชิต
6. วดั และประเมนิ ผลลพั ธผเู รยี น วจิ ยั ในชัน้ เรยี น
เพอ่ื ดทู กั ษะ และสมรรถนะทสี่ าํ คญั ของผเู รียนที่เกดิ ข้นึ ตําแหนง ครู โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก

สาํ นกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วจิ ัยในชั้นเรียน

เรอ่ื ง การพฒั นาการแตงโจทยปญหาการคณู
ทางคณิตศาสตรของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที่ 2/1

ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสําคัญ

จากการจัดการเรียนการสอนรายวิชาคณติ ศาสตร ภาคเรยี นที่ 2 ปการศกึ ษา 2564 ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที่ 2/1
ทุกปการศกึ ษาท่ผี า นมา พบปญหานักเรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิทางดานความสามารถในการแตง โจทยป ญ หาการคูณตาํ่ กวา ทักษะอนื่ ๆ
และนักเรยี นไมส ามารถแตง โจทยป ญหาการคณู ได ดังนนั้ ขา พเจา จงึ หาวิธกี ารดาํ เนินการ เพ่อื แกป ญหาและพัฒนาใหนกั เรยี น
เกิดทักษะในดานการแตง โจทยป ญหาการคูณทางคณิตศาสตรใ หสูงข้นึ

วัตถุประสงค ประโยชนท ี่คาดวา จะไดรับ

เพอื่ พฒั นาทกั ษะการแตง โจทยปญ หาการคณู ของ นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปท ี่ 2/1 มีทกั ษะการแตง
นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 2/1 ดว ยวธิ กี ารใชแ บบฝกทักษะ โจทยป ญ หาการคูณในรายวชิ าคณิตศาสตรสงู ขึ้น
การแตง โจทยปญหาการคณู

วิธีการดําเนินการ ผลการวิจยั

1. ครูวเิ คราะหปญ หาของนักเรยี นช้ันประถม ผลจากการจัดการเรยี นรดู วยวธิ ีการแตง โจทยปญ หาการ
ศึกษาปท ่ี 2/1 คูณทางคณิตศาสตรท ําใหนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 2/1 มี
ทกั ษะการแตง โจทยปญหาสงู ข้ึน
2. ครอู อกแบบการจัดการเรียนรดู ว ยวธิ กี ารสอน
ทีห่ ลากหลาย รปู ภาพการวิจยั

3. ครูและนักเรยี นรวมกันแตง โจทยปญหา ผวู ิจยั
ทางการคูณอยา งงา ย และใหน ักเรียนทาํ แบบฝกทักษะ
การแตงโจทยป ญ หาการคณู นางศิรารตั น ชจู ันทร

4. ครูตรวจและบนั ทึกผลหลงั สอน สะทอนคดิ ตําแหนง ครู โรงเรียนบานสุไหงโก-ลก
ปรับปรงุ แกไข และพฒั นานวตั กรรมทีใ่ ชในการจัดการ
เรยี นรู

5. ครูประเมินผล และสรปุ ผลการใชแ บบฝก
ทกั ษะการแตง โจทยป ญ หาการคณู

สํานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ

วจิ ยั ในชนั้ เรยี น

การพัฒนาทักษะการอา นออกเสียงรายวชิ าภาษาไทย ดวยกระบวนการ PLC
นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 2

เร่ือง อา นคําในชีวติ ประจําวันตามหลกั ภาษา และการใชภาษาไทย
ของนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 2/3 ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสาํ คัญ

จากการจัดการเรยี นการสอนรายวชิ าภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที่ 2 ทุกปการศกึ ษาทผี่ านมา พบ
ปญหานกั เรียนขาดทกั ษะการอานคลอง เขียนคลอง ผสู อนไดวเิ คราะหสภาพปญหาจากการทดสอบการอาน การตอบคาํ ถาม
ตรวจแบบฝกหดั ตรวจขอ สอบ พบวา ผูเรียนขาดทักษะการอานคลอง เขยี นคลอ ง ซึ่งทําใหผเู รยี นไมส ามารถทาํ กิจกรรมใน
บทเรียนนนั้ ๆ ได ทําใหคะแนนในการทาํ กิจกรรมในทกุ บทเรยี นไมเปน ไปตามเปา หมายของแบบประเมนิ ทกั ษะการอา นและ
ทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 ครผู สู อนจึงอยากแกไ ขปญ หากการอานในรายวิชาภาษาไทยของนักเรียนระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 2/3
ดว ยวิธกี ารอานคํา เขียนคําในชวี ติ ประจาํ วนั ตามหลักภาษาและการใชภาษาไทย และสรปุ ขอมูล ผา นกระบวนการ PLC

วตั ถปุ ระสงค ประโยชนท คี่ าดวาจะไดร บั
เพอื่ พัฒนาทกั ษะการอานออกเสยี งของนกั เรยี นชัน้ นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 2/3 มที ักษะการอา น
ประถมศึกษาปท ่ี 2/3 ดว ยวธิ ีการอานคาํ เขียนคาํ ในชวี ิตประจาํ ในรายภาษาไทยทีส่ งู ขน้ึ
วันตามหลกั ภาษาและการใชภ าษาไทยและสรุปขอ มูล เร่อื ง
การอานออกเสยี ง ผลการวจิ ัย
ผลจากการจัดการเรยี นรดู ว ยวธิ กี ารสบื คนและสรุป
วธิ ีการดาํ เนนิ การ ขอมูล โดยการสง คลปิ นาํ เสนอ เรือ่ ง การอา นออกเสยี งคาํ ใน
ชีวิตประจําวนั ทาํ ใหน ักเรียนมีทกั ษะการอา นทสี่ งู ขนึ้
1. สรางทีม PLC กลมุ สาระภาษาไทย
2. วเิ คราะหป ระเด็นปญ หา โดยใชท ีม PLC รูปภาพการวจิ ัย
กลุม สาระภาษาไทย
3. ออกแบบการจัดการเรยี นรูและปฏบิ ตั ิการสอน ผูวิจัย
ดวยวิธีการฝกอานคาํ ในชีวิตประจาํ วนั ตามหลกั ภาษาและ
การใชภ าษาไทย นางธนพร คงคุณ
4. เปด ชน้ั เรยี น สงั เกตชนั้ เรยี น แกไขปญ หา
ผเู รยี นและพฒั นานวตั กรรมดวยกระบวนการ PLC ตําแหนง ครู โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก
5. บนั ทกึ หลังสอน สะทอ นคิด ปรับปรงุ แกไ ข
และพฒั นานวัตกรรม
6. ภาระงานทส่ี ะทอ นทักษะการอานออกเสยี ง

สาํ นกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วิจยั ในชนั้ เรียน

การพัฒนาทกั ษะการอา นออกเสียงในภาษาองั กฤษ Word Family (an/et)
เร่อื ง การอานออกเสียง Word Family (an/et) ในภาษาองั กฤษ

ของนกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 2 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสําคญั

จากการจดั การเรียนการสอนรายวิชาภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สาร ภาคเรยี นท่ี 1 ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 2 ทกุ ปก ารศกึ ษา
ทีผ่ านมาพบปญหานกั เรียนขาดทักษะการอานออกเสียง Word family (at/et) ในภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สารผสู อนไดวเิ คราะห
สภาพปญหา จากการทดสอบการอา น การตอบคาํ ถาม พบวา ผเู รยี นมคี วามสับสนระหวา ง การออกเสียงเสยี ง /a/ กบั เสียง /e/
ทาํ ใหค ะแนนการสอบแตล ะบทเรยี นไมเ ปน ไปตามเปาหมายของแบบประเมนิ ทกั ษะการอานและทักษะแหง ศตวรรษที่2 ครูผสู อน
จงึ อยากแกไขปญหาการอา นออกเสียง Word family ในรายวิชาภาษาองั กฤษเพื่อการส่อื สารของนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 2
ดว ยชุดแบบฝกอาน Word family (at/et)

วตั ถุประสงค ประโยชนทค่ี าดวา จะไดร ับ
นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปท ่ี 2 มที กั ษะการอาน
เพอื่ พัฒนาทักษะการอา นออกเสยี ง Word family (at/et) ออกเสียง Word family (at/et) ในรายวิชาภาษาอังกฤษเพอ่ื
ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปท ี2่ ดว ยชดุ แบบฝกอา น Word การสอ่ื สาร
family (at/et)
ผลการวจิ ัย
วธิ ีการดาํ เนนิ การ ผลจากการจัดการเรียนรูเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการอาน
ออกเสยี งดว ยชดุ แบบฝก อาน Word family (at/et) ทําให
1. วเิ คราะหป ระเด็นปญ หา โดยใชค ะแนนผลสัมฤทธิ์ นักเรยี นมที ักษะการอา นเสยี ง /a/ และ /e/ ไดถกู ตองยิ่งข้ึน
ดานการอา นของนกั เรยี นภาคเรียนท่ี 1/2564
รปู ภาพการวิจยั
2. ออกแบบการจดั การเรียนรูและปฏบิ ัติการสอนดว ย
ชุดแบบฝก อา น Word family (at/et) ผูว ิจยั

3. ออกแบบการจัดการเรียนรแู ละปฏิบัติการดว ยวิธีการ นางสาวอุไรวรรณ แทนแกว
สืบคน และสรปุ ขอ มลู
ตําแหนง ครอู ตั ราจาง โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลก
4. นาํ แผนไปใชปฏบิ ัตกิ ารสอนโดยการใหนักเรยี นทํา
แบบทดสอบกอนเรยี นและหลงั เรียน

5. นําคะแนนกอ นเรยี นและหลังเรียนมาเปรียบเทียบ
คะแนนการพัฒนาการดานการอานออกเสียง
Word family ของนกั เรยี นแตละคน
6. วเิ คราะหแ ละสรปุ ขอ มลู เพือ่ นาํ ไปพัฒนาตอ ไป

สาํ นักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ

วจิ ัยในชน้ั เรยี น

การพฒั นาทักษะการคดิ ทางวิทยาการคํานวณ เรอื่ ง การเขียนโปรแกรมทม่ี ี
เงื่อนไขโดยใชบัตรคาํ ส่ัง โดยใชบ ทเรยี นเกมออนไลน Wordwall

ของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสําคญั

ในปจจบุ ันเทคโนโลยีไดกา วหนาไปอยางรวดเร็วรวมท้งั เทคโนโลยที เี่ กี่ยวขอ งกบั การจดั การเรียนการสอน ซึ่งมีผูคิดคน
และผลิตเคร่อื งมือตางๆมากมายใหค รไู ดเลือกใชใ นการจดั การเรียนการสอน ที่มีความหลากหลายและนาสนใจ นาํ มาใชใ นการ
แกปญหาดา นทักษะการคิดแกป ญหา จากการจัดการเรียนการสอนรายวชิ าเทคโนโลยวี ิทยาการคาํ นวณท่ีผานมา พบปญ หา
นักเรียนขาดทักษะการคิดแกปญหา ทําใหค ะแนนในการทาํ กจิ กรรมในทุกบทเรียนไมเปน ไปตามเปา หมายของแบบประเมนิ
ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรและทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 ครูผสู อนจงึ คดิ นาํ เคร่ืองมอื บทเรียนเกมออนไลน Wordwall
เรื่องการเขยี นโปรแกรมที่มีเงอ่ื นไขโดยใชบ ตั รคาํ สัง่ มาใชในการแกปญหาดังกลาว

วตั ถปุ ระสงค ประโยชนท ค่ี าดวาจะไดร บั

เพ่อื พฒั นาทักษะการคดิ ของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษา นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 2 มีทกั ษะการคิด
ปที่ 2 เรือ่ ง การเขยี นโปรแกรมทีม่ ีเง่อื นไขโดยใชบตั รคาํ ส่ัง โดย เรือ่ ง การเขยี นโปรแกรมทมี่ เี ง่อื นไขโดยใชบัตรคําสงั่ ทส่ี งู ขึน้
ใชบ ทเรียนเกมออนไลน Wordwall
ผลการวจิ ัย
วธิ กี ารดาํ เนินการ ผลจากการจัดการเรียนรกู ารพฒั นาทักษะการคิด
ทางวิทยาการคาํ นวณ เร่ือง การเขียนโปรแกรมที่มเี ง่อื นไข
1. ศึกษาขอมูล เนื้อหาและออกแบบเรื่องการ โดยใชบตั รคําส่งั โดยใชบ ทเรยี นเกมออนไลน Wordwall
เขียนโปรแกรมท่ีมีเง่ือนไขโดยใชบัตรคาํ สั่ง ทําใหน กั เรยี นพฒั นาทกั ษะการคิดทส่ี งู ขน้ึ

2. กําหนดแบบแผนการทดลอง รปู ภาพการวิจยั
3. กําหนดกลมุ ประชากรและกลุมตวั อยาง
4. สรางเครอื่ งม่ือท่ใี ช คือ บทเรียนเกมออน ผูวจิ ยั
ไลนจาก Wordwsll เรอ่ื ง การเขียนโปรแกรมทม่ี ีเงอ่ื นไข
โดยใชบตั รคาํ ส่ัง นางสิรมิ นต แดงเพง็
5. ดําเนนิ การทดลองและเกบ็ รวบรวมขอมูล
6. วเิ คราะหขอ มลู จากการเกบ็ ขอมลู ตําแหนง ครู โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก

สาํ นกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วิจัยในช้ันเรียน

เร่ือง การพฒั นาทกั ษะการอานออกเสียงคําศัพทภ าษาองั กฤษโดยใชเ กม
ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 2 ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก

ความเปน มาและความสําคญั
จากการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ ภาคเรียนท่ี 2 ระดับชนั้ ประถมศึกษาปที่ 2 ทกุ ปก ารศึกษาท่ีผา นมา
จากการศึกษาสภาพปญ หาการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปท ่ี 2/5 โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก อําเภอ
สไุ หงโก-ลก จังหวัดนราธวิ าส พบวานักเรยี นไมส ามารถอานคาํ ศพั ทภ าษาองั กฤษได คนท่อี านไดก ็มีจํานวนนอยมาก จงึ เปน
ปญ หาสงผลใหน ักเรยี นมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นภาษาอังกฤษตาํ่ ดวยเหตุน้ี ผูวิจัยจงึ สรา งแบบฝก ทกั ษะการอา นออกเสียงคําศพั ท
ภาษาอังกฤษเพือ่ ใชในการสอนเพอื่ พัฒนาการอา นออกเสยี งคําศัพทภ าษาอังกฤษ ซึง่ จะทําใหผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นสงู ขน้ึ และ
เพอ่ื เปนแนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรูภาษาองั กฤษใหม ีประสทิ ธิภาพตอ ไป

วัตถุประสงค ประโยชนทีค่ าดวา จะไดร บั

เพ่อื แกไ ขและพัฒนาศักยภาพการอานออกเสียงคําศัพทภ าษา จะชวยใหทราบถึงการพัฒนาศักยภาพการเรียนรูข องนักเรียน
องั กฤษของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที่ 2/5 และเปนแนวทางสําหรับครูผูสอนในการใชเกมเพอ่ื พัฒนา
ทกั ษะในดา นอืน่ ๆ ของนักเรียนตอ ไป

วธิ กี ารดําเนนิ การ ผลการวจิ ัย

1. สรา งทีม PLC กลุมสาระภาษาองั กฤษ ผลจากการจัดการเรยี นรูการอา นคาํ ศัพทภ าษา
2. วิเคราะหประเด็นปญ หา โดยใชท ีม PLC องั กฤษโดยใชเกม ทาํ ใหน กั เรยี นมีการพฒั นาดา นการอาน
กลุมสาระภาษาอังกฤษ คาํ ศัพทภาษาอังกฤษดีข้ึนษะการคดิ ท่สี ูงขน้ึ
3. ออกแบบการจัดการเรยี นรูและปฏิบัติการสอน
ดวยการใชเกม รปู ภาพการวจิ ัย
4. เปด ชั้นเรยี น สงั เกตชนั้ เรียน แกไ ขปญ หา
ผูเรยี นและพฒั นานวัตกรรมดวยกระบวนการ PLC ผวู ิจยั
5. บันทกึ หลงั สอน สะทอ นคดิ ปรบั ปรงุ แกไ ข
และพฒั นานวตั กรรม นางสาวมาสือนะ อาแซ
6. ภาระงานทสี่ ะทอ นทกั ษะการอานคําศพั ท
ตาํ แหนง ครู โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก

สาํ นักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ

วิจยั ในชน้ั เรยี น

เรือ่ ง การศกึ ษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ าคณิตศาสตร เร่อื งโจทยปญหาคณิตศาสตร
โดยการใชแบบฝก ทักษะคณติ ศาสตร ของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปท่ี 2/6
ปก ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก

ความเปน มาและความสําคัญ

จากการจดั การเรียนการสอนรายวชิ าคณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2564 ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 2/6 ทกุ
ปก ารศึกษาทผ่ี า นมา พบปญหานกั เรยี นมีผลสัมฤทธิ์ดา นการตีความของโจทยป ญหาทางคณติ ศาสตรต่าํ กวาทกั ษะอื่น ๆ เม่อื มีการ
พลกิ แพลงโจทยปญหาทแ่ี ตกตา งออกไปนกั เรยี นไมสามารถวิเคราะหโ จทยปญ หาดว ยตวั เองไดเทา ท่คี วร ดงั นนั้ ขาพเจาจงึ หาวะิ ีการ
ดําเนนิ การ เพอ่ื แกป ญ หาและพฒั นาใหนักเรียนเกดิ ทักษะในการวิเคราะหแ ละตคี วามโจทยปญหาทางคณติ ศาสตรใหสงู ขน้ึ

วัตถุประสงค ประโยชนทค่ี าดวาจะไดรับ

เพ่อื พฒั นาทักษะการคดิ วิเคราะหแ ละการตีความ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 2/6 มีทักษะการคดิ
โจทยป ญหาทางคณิตศาสตรของนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ วิเคราะหและการตีความโจทยป ญหาสงู ขึ้น
2/6

วธิ กี ารดาํ เนินการ ผลการวิจยั
1. ตรวจสอบผลการทาํ ขอสอบในปลายภาคเรยี น ผลจากการจัดการเรียนรูดว ยวิธีการใชแ บบฝก หัด
ที่ 1 ปการศกึ ษา 2564 โจทยคณิตศาสตรทําใหนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที่ 2/6 มี
2. สอบถามขอ มูลนกั เรยี นถึงสาเหตทุ ท่ี าํ ขอสอบโจทย ทกั ษะการวิเคราะหแ ละการตีความโจทยปญหาสูงขน้ึ
ปญ หาไมไ ด เม่อื สอบถามพบวา นกั เรยี นวเิ คราะหโ จทยปญ หา
ไมออก และไมร วู า จะเขยี นอยางไร รูปภาพการวจิ ยั
3. ออกแบบการจัดการเรยี นรใู หนักเรียนวิเคราะห
โจทยป ญ หาและมแี บบฝก ใหฝกทาํ ผวู ิจัย
4. บันทึกผลการเรียนรขู องของผูเรยี น แลวแจงใหผ ู
เรียนท่ีไมผา นเกณฑทราบเพื่อไดรับการพัฒนาจนกวา ผูเรียน นางสาวสริ วิ นนั ท สทิ ธกิ ัน
จะผานเกณฑทีก่ ําหนด
5. สอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนและผู ตําแหนง ครผู ชู วย โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก
ปกครองในการจัดการเรียนการสอนเพอื่ นาํ มาปรับปรุงแกไข
ใหดีข้นึ กวา เดมิ

สาํ นักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วิจัยในชัน้ เรยี น

เรอื่ ง การอา นของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที่ 2
ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก

ความเปน มาและความสาํ คญั

การอา นภาษาไทยเปน ทักษะพน้ื ฐานทส่ี าํ คญั ของผเู รยี น ผูเรียนจะมีสัมฤทธิผลทางการเรียนไดก ็ตอ เมื่อไดพัฒนาทกั ษะท้ัง 4
ควบคูไปดว ยกนั จากการสงั เกตเหตุผลทีน่ ักเรียนไมป ระสบความสําเร็จในการเรยี นภาษาไทย เนือ่ งจากผูเ รียนละเลย ไม
ตระหนกั ถึงความสําคญั ในการอา นครูผูส อนจงึ ควรหากลวธิ ที ําใหเด็กหันกลับมาสนใจทักษะการอานเพิ่มมากข้นึ ดงั น้นั ผวู จิ ัย จึง
เห็นควรนําเรือ่ งการอา นมาทาํ วิจยั

วตั ถปุ ระสงค ประโยชนท ่คี าดวาจะไดรบั
นักเรยี นสามารถพฒั นาดา นการอานสะกดคาํ รจู ักสระและ
ใหผูเ รยี นตระหนกั ถงึ ความสาํ คญั เลง็ เหน็ ถงึ ประโยชน ตวั พยญั ชนะไดด ขี นึ้ และสามารถนาํ ไปใชใ นชวี ติ ประจาํ วันได
และมีเจตคติทด่ี ตี อ การอา น สามารถนาํ ไปใชไดจริงในชวี ิต
ประจาํ วันและสอดแทรกนสิ ยั รกั การอา นในกิจกรรมท่จี ัดข้นึ ผลการวิจัย

วิธีการดําเนนิ การ

1. สรา งทีม PLC กลมุ สาระภาษาไทย นักเรียนมเี จตคติทดี่ ีตอ การอา นและมคี วามพยายามท่ีจะฝก
2. วิเคราะหประเด็นปญหา โดยใชท มี PLC อา นดวยตนเองมากขึน้ และในขณะท่เี รยี นนักเรียนสามารถ
กลมุ สาระภาษาไทย อา นไดบา งตามศกั ยภาพของตนเอ’
3. ออกแบบการจดั การเรียนรแู ละจดั เตรียมเอกสาร
รูปภาพการวจิ ยั
แบบฝก ทักษะการอาน
4. ทดสอบทกั ษะการอา นตรวจสอบความกา วหนา และ

พัฒนาการทักษะการอานจากแบบฝก ทักษะการอาน

5. เปด ช้ันเรยี น สงั เกตชนั้ เรียน แกไ ขปญหา
ผเู รยี นและพัฒนานวตั กรรมดว ยกระบวนการ PLC

6. บันทกึ หลังสอน สะทอนคิด ปรับปรงุ แกไขและ
พฒั นานวัตกรรม

ผูวจิ ยั

นางสาวซฮู ัยดา บาดง

ตําแหนง ครู โรงเรียนบานสุไหงโก-ลก

สํานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วิจยั ในชน้ั เรียน

การพฒั นาทักษะการคดิ ดวยวธิ ีสบื คนลงมือปฏิบตั ิ
เรื่อง หนาที่ของหนู ผา นกระบวนการ PLC

ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก

ความเปนมาและความสําคญั

จากการจัดการเรยี นการสอนรายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาคเรยี นที่ 1 ระดับช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 2 ทุก
ปการศึกษาทีผ่ านมา พบปญหานักเรยี นขาดความรบั ผิดในการทํางาน ผูสอนไดว เิ คราะหส ภาพปญหาจากการเรยี นของนกั เรยี นใน
การตอบคําถาม การสง งานของนกั เรียน พบวา ผูเ รียนขาดความรบั ผดิ ชอบในการทํางาน การสง งานลา ชา และขาดสง งาน ซึง่
ทําใหผ ูเ รยี นไมส ามารถสรปุ ผลการทํากจิ กรรมในบทเรยี นนนั้ ๆ ได ทาํ ใหคะแนนในการทํากจิ กรรมในทุกบทเรยี นไมเปน ไปตาม
เปาหมายของแบบประเมินทกั ษะกระบวนการเรียนการสอนแหง ศตวรรษที่ 21 ครูผูส อนจึงอยากแกไขปญ หากการคิดในรายวชิ า
สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรมของนกั เรียนระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 2 ดว ยวิธกี ารสืบคนลงมอื ปฏบิ ัติและสรปุ ขอ มลู ผาน
กระบวนการ PLC

วตั ถปุ ระสงค ประโยชนทคี่ าดวาจะไดรับ
เพอ่ื พัฒนาทักษะการปลูกจติ สํานกึ ของนักเรียนช้ัน นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 2 มีทักษะการคิด
ประถมศกึ ษาปที่ 2 ดว ยวธิ ีการสืบคนลงมือปฏิบัติและสรปุ ในรายสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท่สี งู ขน้ึ
ขอมลู เรือ่ ง หนา ทีข่ องหนู
ผลการวจิ ยั
วธิ ีการดําเนินการ ผลจากการจดั การเรียนรูดวยวิธีการสืบคน ลงมือ
ปฏิบัตแิ ละสรุปขอมูล โดยการสง คลิปนาํ เสนอ เรอ่ื ง หนาท่ี
1. สรา งทีม PLC กลุมสาระสงั คมศกึ ษา ศาสนา ของหนู ทําใหนักเรยี นมีทกั ษะการคดิ ท่ีสงู ขึน้
และวฒั นธรรม
รปู ภาพการวจิ ัย
2. วเิ คราะหประเดน็ ปญ หา โดยใชท มี PLC
กลุมสาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ผูวจิ ัย

3. ออกแบบการจัดการเรยี นรแู ละปฏิบัตกิ ารสอน นางสาววาฐนิ ี ยูโซะ
ดว ยวธิ ีลงมอื ปฏบิ ตั ิและสรุปขอ มูล
ตาํ แหนง ครผู ูสอน โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก
4. เปดชัน้ เรยี น สงั เกตช้ันเรียน แกไ ขปญหา
ผเู รียนและพัฒนานวตั กรรมดว ยกระบวนการ PLC

5. บนั ทึกหลงั สอน สะทอ นความคิด ปรับปรุง
แกไ ขและพัฒนานวตั กรรม

6. ภาระงานท่ีสะทอนทักษะการคดิ จาก
การลงมอื ปฏบิ ตั ิและสรปุ ขอ มูล

สาํ นกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วจิ ัยในช้นั เรียน

การพัฒนาทกั ษะการออกเสียงโฟนิกส (Phonics)
ของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 2 ปการศึกษา 2564 โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก

ความเปนมาและความสาํ คญั

จากการจดั การเรียนการสอนรายวชิ าภาษาองั กฤษ ภาคเรยี นท่ี 1 ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที่ 2 ทกุ ปก ารศึกษาท่ี
ผา นมา พบปญหานักเรียนไมส ามารถอานคําศพั ทพ้ืนฐานงายๆได จงึ สง ผลตอ ทกั ษะอ่ืนๆ เชน ทกั ษะการเขียน ทกั ษะการ
พดู และทักษะการฟง ดว ยเหตนุ ้ี ขา พเจา จงึ เลือกท่จี ะพฒั นาทักษะการอานของนักเรยี นโดยใชก ารสอนการสะกดคาํ
แบบโฟนิกส ซงึ่ การเรยี นการสอนแบบ Phonics ถอื ไดวา เปนการเรยี นภาษาองั กฤษอีกวธิ ีหนึ่งทง่ี ายสําหรับผเู รียน
Phonics เปนวธิ กี ารเรียนอา นเขียนและออกเสยี งภาษาองั กฤษโดยใชหลักการถอดรหัสเสียงและการผสมเสยี งตัวอกั ษร a
ถงึ z ท้งั 26 ตัว เพราะฉะน้นั นักเรยี นตองเขา ใจเสยี งของตัวอักษรตา งๆ และออกเสียงเหลา นนั้ ไดอ ยางถกู ตอ ง จงึ จะ
สามารถผสมเสยี งไดอ อกมาเปนคําได

วัตถุประสงค ประโยชนท่คี าดวาจะไดรบั

เพ่อื พฒั นาทักษะการอานของนักเรยี นชัน้ ประถม นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 2 สามารถอา นคาํ ศัพท
ศกึ ษาปที่ 2 โดยการอานสะกดคําแบบโฟนิกส (Phonics) พน้ื ฐานไดด ีขึน้

วธิ กี ารดาํ เนินการ ผลการวจิ ยั

1. สรางทีม PLC กลุมสาระภาษาอังก ผลจากการจัดการเรียนรูทักษะการอา น โดยใช
2. วิเคราะหประเด็นปญ หา โดยใชทมี PLC วธิ กี ารอานสะกดคาํ แบบโฟนกิ ส สง ผลใหน ักเรยี นสามารถ
กลมุ สาระภาษาองั กฤษ อานคาํ ศพั ทพ ืน้ ฐานไดดีขึน้
3. ออกแบบชุดฝกการอานคาํ ศพั ท
4. เปด ช้ันเรียน สงั เกตช้ันเรียน แกไ ขปญหา รปู ภาพการวิจัย
ผูเรยี นและพัฒนานวตั กรรมดว ยกระบวนการ PLC
5. บนั ทกึ หลังสอน สะทอนคดิ ปรบั ปรงุ แกไข ผูวิจยั
และพฒั นานวตั กรรม
6. ภาระงานท่ีสะทอ นทักษะการอานของนักเรยี น นายฟาอซิ บอื เฮง

ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก

สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ

วจิ ยั ในชน้ั เรยี น

การพัฒนาทกั ษะการคิดดว ยวธิ กี ารคิดสรา งสรรค
เร่ือง สรางสรรคง านประดิษฐ

ของนกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 3 ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสาํ คัญ

จากการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการงานอาชพี ภาคเรยี นที่ 1 ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 3 ทกุ ปก ารศกึ ษาท่ผี านมา
พบปญหานกั เรียนขาดทกั ษะการคดิ สรา งสรรค ผูส อนไดวเิ คราะหจากชิน้ งานท่สี ง พบวา ผูเรียนขาดทกั ษะการคดิ สรางสรรค ซ่ึง
ทําใหผ เู รยี นไมส ามารถคิดชนิ้ งานประดิษฐจากกระดาษหรือวัสดุเหลอื ใชได ทําใหค ะแนนในการสงช้นิ งานไมเ ปน ไปตามเปา หมาย
ของแบบประเมินช้ินงานของวชิ าการงานอาชพี และทักษะแหง ศตวรรษท่ี 21 ครผู ูส อนจงึ อยากแกไขปญ หากการคิดสรา งสรรคใน
รายวชิ าการงานอาชีพของนกั เรยี นระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 3 ดว ยวธิ ีการคดิ สรา งสรรค เรอื่ งสรา งสรรคงานประดษิ ฐ

วัตถุประสงค ประโยชนท ่คี าดวาจะไดร บั

เพื่อพัฒนาทกั ษะการคดิ สรา งสรรคของนักเรียนชัน้ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 3 มที กั ษะการคดิ
ประถมศกึ ษาปท ี่ 3 ดว ยวิธีการคิดสรา งสรรค เรอื่ ง สรางสรรค สรา งสรรคชน้ิ งานประดิษฐใ นรายวิชาการงานอาชีพท่ี
งานประดิษฐ สรา งสรรคข้นึ

วิธกี ารดาํ เนนิ การ ผลการวิจยั

1. ต้งั ประเดน็ เกย่ี วกบั ความรขู องงานประดษิ ฐ ผลจากการจัดการเรียนรดู วยวธิ ีการคดิ สรางสรรค โดย
2. วิเคราะหประเด็นปญ หาวัสดทุ ่สี ามารถทําเปน การเปดยทู ูปใหน กั เรียนไดประดษิ ฐช้นิ งาน เรือ่ ง สรา งสรรคงาน
ช้นิ งานประดษิ ฐ เชน กระดาษ ขวดนํา ประดษิ ฐ ทาํ ใหน ักเรยี นมีทักษะการคิดทีส่ ูงขึ้น
3. ออกแบบการจดั การเรยี นรแู ละปฏิบตั ิการสอน
ดว ยวธิ กี ารสบื คน ขอ มูลในยทู ูป รปู ภาพการวจิ ัย
4. สรุปวัสดทุ ่ีสามารถนํามาใชงานประดิษฐ ให
นักเรียนลงมอื ประดษิ ฐดวยตวั เอง ผูวจิ ยั
5. บนั ทึกหลังสอน สะทอนคดิ ปรับปรุง แกไ ข
และพัฒนานวตั กรรม นางมายลี า สหู ลง
6. ภาระงานทีส่ ะทอนทักษะการคดิ สรา งสรรค
จากงานประดิษฐ ตาํ แหนง ครูผูสอน(จชต.) โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก

สาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วจิ ัยในช้ันเรยี น

เรอื่ ง การพฒั นาทักษะการอา นออกเสียงคาํ ศพั ทภ าษาอังกฤษโดยใช picture cards
ของนกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 3 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสาํ คัญ

จากการจัดการเรียนการสอนรายวชิ าภาษาอังกฤษ ภาคเรียนที่ 2 ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 3 ทกุ ปก ารศึกษาท่ผี า นมา
พบปญ หานกั เรียนขาดทักษะในการอา นคาํ ศัพทภาษาองั กฤษ คนทอ่ี า นไดมีจํานวนนอ ยมาก จึงเปน ปญหาในการจดั การเรียนการ
สอนวชิ าภาษาองั กฤษ สง ผลใหน ักเรียนมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวชิ าภาษาองั กฤษตํ่า ดวยเหตุนผี้ ูวจิ ยั จงึ สรา งแบบฝกทกั ษะการ
อานออกเสียงคําศัพทภ าษาองั กฤษออกเปน หมวดหมใู ชในการจดั การเรยี นการสอนเพอ่ื พฒั นาการอา นออกเสียงคาํ ศัพทภ าษา
อังกฤษของนักเรียน ซ่ึงผูว ิจยั คาดวา จะสง ผลใหผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนสงู ขน้ี และเพือ่ เปน แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู
ภาษาองั กฤษใหม ปี ระสิทธภิ าพตอ ไป

วตั ถปุ ระสงค ประโยชนท ่ีคาดวาจะไดร ับ

เพอ่ื แกไ ขและพฒั นาศกั ยภาพการอานออกเสียงคาํ นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 3 มกี ารพฒั นาทกั ษะการ
ศพั ทภ าษาองั กฤษของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 3 อา นคําศัพทภ าษาอังกฤษทสี่ ูงข้นึ

วิธกี ารดาํ เนินการ ผลการวจิ ยั

1. สรางทมี PLC กลุม สาระภาษาองั กฤษ ผลจากการจดั การเรยี นรูดวยวิธกี ารอานคําศัพท
2. วิเคราะหประเด็นปญหา โดยใชทีม PLC ภาษาองั กฤษโดยใช picture cards เปนหมวดหมู ทําให
กลมุ สาระภาษาอังกฤษ นักเรยี นมีการพัฒนาดานการอา นที่ดีขึน้
3. ออกแบบการจดั การเรียนรแู ละปฏบิ ัตกิ ารสอน
ดว ยวิธกี ารอานคําศัพทจ าก picture cards ท่เี ปน หมวด รูปภาพการวจิ ัย
หมู
4. เปดช้นั เรยี น สังเกตชั้นเรยี น แกไขปญ หา ผวู จิ ยั
ผูเ รยี นและพฒั นานวัตกรรมดว ยกระบวนการ PLC
5. บนั ทึกหลงั สอน สะทอ นคดิ ปรับปรงุ แกไข นางนวลศิริ บญุ มาลี
และพฒั นานวัตกรรม
6. ภาระงานท่สี ะทอ นทกั ษะการอา นคาํ ศัพท ตําแหนง ครู โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก
ภาษาอังกฤษ

สาํ นกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วจิ ัยในชัน้ เรยี น

การสง เสริมการอา นและการเขยี นคํา
ของนักเรียนระดับชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 3/2 ในสถานการณโ ควิด-19

ความเปนมาและความสาํ คญั

ในปจ จุบันวชิ าภาษาไทย จะประสบกบั ปญหานกั เรยี นขาดทักษะการอา นและการเขียนคาํ ซึ่งเปนทักษะที่มคี วามสําคัญ และ
ไมไดรับการสง เสริมอยางตอ เนื่อง นักเรยี นไมส ามารถอานและเขยี นคําไดถกู ตองและแมนยํา จากการสังเกตของครูผูส อนวชิ า
ภาษาไทยในระดับช้ันประถมศึกษาปท ่ี 3/2 นกั เรยี นบางสวนยงั อานและคาํ ไดไมถ ูกตอง สาเหตดุ ังกลา วทาํ ใหน กั เรียนเกดิ ความ
เบ่ือหนา ยตอการเรียนวชิ าภาษาไทยในระดบั ชั้นของตนเองและระดับชน้ั ทีส่ งู ขึน้ จงึ ทําใหม กี ารจดั ทาํ วิจัยในช้นั เรียน เรือ่ ง การ
สงเสริมการอา นและเขียนคาํ ของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี 3/2 ข้นึ

วตั ถปุ ระสงค ประโยชนท ี่คาดวา จะไดรับ
เพอ่ื สงเสริมทักษะการอานและเขียนคาํ ใหไดถูก
ตอ งมากข้นึ นักเรยี นมีผลสัมฤทธ์ิทางการอา นและการเขยี นคาํ สงู ขึน้
สามารถนาํ ไปใชใ นชวี ิตประจาํ วนั ในเร่ืองการอา นและเขยี น
วิธีการดาํ เนินการ ได
- ศึกษาสภาพปญหา และวิเคราะหแ นวทางแกป ญ หา
- กลุมเปาหมายนกั เรียนชั้น ป. 3/2 จาํ นวน 44 คน ผลการวิจยั
- ทดสอบความสามารถในการเขยี นและอา นสะกดคํา
- วัดความสามารถในการอา นสะกดคําเปน ระยะๆ นักเรียนสามารถอานคาํ พ้นื ฐาน เขียนตามคาํ บอก และ
- เก็บขอ มูล สามารถแตง ประโยคงา ยๆ ได
- สรุปวเิ คราะหผ ลการวจิ ัย
- จัดทํารูปเลม รูปภาพการวจิ ยั

ผูวิจยั

นางทสั ณี แกว เมฆ

ตาํ แหนง ครโู รงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก

สาํ นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วิจัยในช้ันเรียน

การพัฒนาทกั ษะการคดิ คํานวณของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 3
โดยการจดั กิจกรรมแบบ Active Learning รวมกบั การใชเ กม

ความเปนมาและความสาํ คญั

จากการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาคณติ ศาสตรในปท ผ่ี านมา และจากผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR)
ดา นความสามารถในการคิดคาํ นวณ พบวา ผลการประเมนิ ต่าํ กวาคา เปาหมายทส่ี ถานศึกษากาํ หนด ทําใหเ หน็ สภาพปญหาของ
ผูเรยี นท่ขี าดทักษะการคิดคาํ นวณ ไมเ ขา ใจถึงกระบวนคดิ คํานวณทางคณติ ศาสตร ซง่ึ แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเดิม
ยังไมสงผลใหผ ูเ รยี นเกดิ การเรียนรูเทา ทค่ี วร เน่ืองจากบริบทของสิ่งแวดลอม การเขา ถึงสื่อ/เทคโนโลยีของผูเรียนคอ นขางไมค รอบ
คลมุ หรอื ผูเ รียนมีเจตคติท่ไี มด ตี อการเรียนวชิ าคณติ ศาสตร ทาํ ใหเกดิ ความรูสึกไมอ ยากเรียน จงึ สง ผลใหก ารจัดการเรยี นรตู อ ผู
เรียนยงั ไมเ ปน ไปตามเปาหมาย ดงั น้นั เพื่อใหเ กิดการพฒั นาทักษะการคดิ คาํ นวณที่ดขี ้ึน ครูจงึ จัดกิจกรรมการเรียนรแู บบ Active
Learning รวมกบั การใชเ กม ใหกับนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 3

วตั ถปุ ระสงค ประโยชนท่ีคาดวาจะไดร ับ
นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 3 มีเจตคติที่ดตี อการ
เพ่ือพฒั นาทกั ษะการคดิ คาํ นวณของนักเรยี น เรยี นวชิ าคณติ ศาสตร และมที ักษะการคดิ คาํ นวณท่สี ูงข้ึน
ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 3
ผลการวิจัย
วธิ ีการดําเนินการ จากการวจิ ยั พบวา นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ 3
ขนั้ ท่ี 1 เตรียม : ประเมินความสามารถการคดิ คํานวณของ มคี วามสามารถในการคดิ คาํ นวณสูงขึ้น
ผเู รียน เพือ่ ใหท ราบถึงระดับความสามารถในการคดิ คาํ นวณ
ของนักเรียนรายบคุ คล รปู ภาพการวจิ ยั
ขัน้ ท่ี 2 พรอ ม : จัดกลมุ นกั เรียนตามความสามารถในการ
คิดคํานวณ โดยแบงเปน กลมุ เกง กลุม ปานกลาง และกลมุ ผวู จิ ยั
ออ น
ขน้ั ที่ 3 ปฏิบตั ิ : พัฒนากิจกรรมการเรียนรทู หี่ ลากหลาย นางสาวตอยบี ะห ยามา
โดยใชรูปแบบการจดั การเรยี นรแู บบ Active Learning
เพอื่ ฝกทกั ษะการคดิ คํานวณทางคณติ ศาสตรผา นการเลน ตาํ แหนง ครู โรงเรียนบานสุไหงโก-ลก
เกม โดยจัดกิจกรรมในรายวิชาคณติ ศาสตรท กุ คาบ คาบละ
10 นาที กอนเขาสูบทเรียน โดยใหนกั เรียนไดฝก คิด พรอ ม
อธบิ ายหลักการคิดของตนเองใหครแู ละเพื่อน ๆ เขา ใจ
ขน้ั ที่ 4 ติดตาม : ในทุกเดือน จะตองมกี ารประเมินการคดิ
คาํ นวณของผูเรียน เพ่อื ตดิ ตามความกา วหนาของผูเรยี น
และประเมินความพงึ พอใจของผูเรยี นตอการจดั กจิ กรรม
การเรียนรู

สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วจิ ัยในชนั้ เรยี น

การพัฒนาทักษะการคิดดว ยวิธีการสืบคน และสรปุ ขอมูล
เร่อื ง การสบื คน ขอมูล โดยใชโปรแกรมสําหรับการสบื คนขอ มลู
ของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 3 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสําคัญ

จากการจดั การเรียนการสอนรายวชิ าวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี 2 ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 3 ทกุ
ปการศกึ ษาท่ผี า นมา พบปญ หานกั เรียนขาดทักษะการสืบคน ขอมลู ผูสอนไดวเิ คราะหสภาพการสบื คนขอ มลู ทน่ี กั เรียนไดสง ยงั ผู
สอน พบวา ผเู รยี นขาดทักษะการสบื คน ซึง่ ทําใหผ ูเ รียนไมส ามารถสืบคนขอ มลู ใหตรงประเด็นในการทํากิจกรรมในบทเรียนได
ทาํ ใหคะแนนในการทาํ กจิ กรรมในบทเรียนไมเ ปนไปตามเปา หมายของแบบประเมินทกั ษะกระบวนการ และทักษะแหงศตวรรษที่
21 ครูผูสอนจงึ อยากแกไขปญ หาทักษะการสืบคน ในกิจกรรมรายวิชาวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยขี องนกั เรยี นระดับช้นั ประถม
ศกึ ษาปท ี่ 3 ดว ยวิธกี ารสบื คน และสรุปขอ มลู การใชโ ปรแกรมการสบื คนขอ มลู

วัตถุประสงค ประโยชนท ่ีคาดวา จะไดรบั

เพ่อื พฒั นาทกั ษะการสิบคนขอ มลู ของนักเรียนช้นั นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี 3 มีทักษะการสบื
ประถมศกึ ษาปท ี่ 3 โดยใชโปรแกรมสาํ หรับการสืบคนขอมลู คนขอ มลู โดยใชโ ปรแกรมสาํ เร็จรปู ที่สงู ขึ้น

วธิ กี ารดําเนนิ การ ผลการวจิ ยั

1. สรา งกลุม การเรียนรุใ นหอ งเรียนของนกั เรยี น นกั เรยี นไดร บั การจัดกจิ กรรมการเรียนรู โดยใชร ะบบ
2. วเิ คราะหประเดน็ ปญหา โดยการสํารวจ การจัดการเรียนการสอนออนไลน โดยวิธีการสบื คน ขอ มูล
อปุ กรณการเรียนของนกั เรียน และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สงู ขน้ึ
3. ออกแบบการจดั การเรยี นรูและปฏบิ ตั ิการสอน
4. เปดช้นั เรียน สงั เกตชั้นเรยี น แกไขปญ หา รูปภาพการวจิ ยั
ผูเรยี น
5. บันทกึ หลังสอน สะทอ นคิด ปรับปรงุ แกไ ขและ ผวู จิ ัย
พฒั นาวิธีการสอน
6. ภาระงานทีส่ ะทอนทกั ษะการคิดจาก นางสาวนารี สุกใส
การสบื คน และสรุปขอ มลู
ตาํ แหนง ครู โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก

โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก สํานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วจิ ัยในชน้ั เรียน

การพัฒนาการจาํ คําศพั ทแบบถาวร
เร่ือง เกมเพ่อื พัฒนาการจาํ คําศัพทแบบถาวร
ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 3 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสาํ คญั

จากการจดั การเรียนการสอนรายวิชาภาษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื ภาคเรยี นที่ 1 ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ 3 ทกุ
ปก ารศึกษาทผ่ี านมา พบปญ หานักเรยี นไมสามารถจาํ คาํ ศพั ทไดอ ยางถาวร ผสู อนไดว เิ คราะหพฤตกิ รรมการเรยี นการสอนทผี่ าน
มา พบวา ผสู อนขาดการนําคําศพั ทดังกลา วมาปรับใชใ นเนอ้ื หาตางๆใหห ลากหลาย ซงึ่ ทําใหผูเรียนไมสามารถจําคาํ ศพั ทอยา ง
ถาวรได ทาํ ใหก ารสอนในเนือ้ หาที่ตอ ยอดในขั้นถัดไปไมเปน ไปตามเปา หมาย ทําใหต อ งนักเรียนไมสามารถเรียนรเู น้อื หาในขัน้ ถดั
ไปได ครูผูส อนจึงอยากแกไขปญหากการจําคําศพั ทในรายวิชาภาษาอังกฤษเพอื่ การสอ่ื สารของนกั เรยี นระดับชั้นประถมศกึ ษาปท่ี

3 ดว ยวิธกี ารใชเกม เรอ่ื ง เกมเพอ่ื พฒั นาการจําคาํ ศพั ทแ บบถาวร

วตั ถปุ ระสงค ประโยชนท ่คี าดวาจะไดร ับ

เพอ่ื พัฒนาการจาํ คําศพั ทข องนกั เรียนชน้ั ประถม นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี 3 สามารถจําคําศพั ทท ี่
ศึกษาปท ี่ 3 ดว ยวิธีการใชเ กม เร่ือง เกมเพื่อพฒั นาการจําคํา ควรรูไ ดอยางถาวรมากย่งิ ขึ้น
ศัพทแ บบถาวร

วิธกี ารดาํ เนินการ ผลการวจิ ยั

1. ศึกษาเกมออนไลนท่เี ลน งา ยและนา สนใจ ผลจากการจดั การเรียนรดู วยวธิ ีการใชเกมเพอื่
2. วิเคราะหเ กมตา งๆทเี่ หมาะกับกลมุ เปาหมาย พฒั นาการจาํ ศพั ทแ บบถาวร ทาํ ใหน กั เรียนมกี ารจาํ คาํ ศัพทไ ดดี
3. ออกแบบเกมตามเนื้อทีก่ ําหนด ข้ึน
4. ทดลองการใชเ กมท่ีไดสรางกับกลุมเปาหมาย
5. บนั ทึกหลงั สอน สะทอนคดิ ปรบั ปรงุ แกไข รปู ภาพการวิจยั
และพัฒนานวตั กรรม
6. ทดสอบการจาํ คาํ ศัพทของกลมุ เปา หมาย ผวู จิ ยั
หลังจากใชนวัตกรรมแลว 2 สปั ดาห
7. สรปุ ผล นางสาวอันฐิกา เจะ ดาโอะ

ตาํ แหนง ครผู ูสอน โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก

สํานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วิจยั ในช้นั เรียน

การพัฒนาทักษะการคิดดว ยวิธกี ารคดิ สรางสรรค
เร่อื ง การพัฒนาความสามารถในการแกโ จทยป ญหาคณิตศาสตร

โดยการใชช ดุ แบบฝกเสริมทักษะการแกโ จทยป ญ หา
ของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 3 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบา นสุไหงโก-ลก

ความเปน มาและความสําคญั

จากการจัดการเรยี นการสอนรายวิชาคณิตศาสตร ภาคเรียนท่ี 1 ระดับช้ันประถมศึกษาปท ่ี 3 ทกุ ปก ารศกึ ษาทผี่ า นมา พบปญหา
นกั เรียนขาดทกั ษะการคดิ ผูส อนไดว เิ คราะหสภาพปญ หาจากการทดสอบการอา น การตอบคาํ ถาม ตรวจแบบฝก หัด ตรวจ
ขอ สอบ พบวา ผูเรียนขาดทักษะการคิด ซงึ่ ทาํ ใหผเู รียนไมสามารถสรปุ ผลการทํากจิ กรรมในบทเรยี นนนั้ ๆ ได ทาํ ใหคะแนนใน
การทาํ กิจกรรมในทุกบทเรยี นไมเ ปน ไปตามเปาหมายของแบบประเมินทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตรและทกั ษะแหงศตวรรษ
ท่ี 21 ครูผูสอนจงึ อยากแกไขปญหากการคิดและพัฒนาความสามารถในการแกโจทยปญ หาคณิตศาสตรของนักเรียนระดบั ช้นั
ประถมศึกษาปที่ 3 ดวยวธิ ีการใชชดุ แบบฝก เสรมิ ทกั ษะการแกโจทยปญ หา

วัตถปุ ระสงค ประโยชนท ค่ี าดวา จะไดร ับ

เพ่อื พัฒนาทกั ษะของนกั เรียนในการแกโจทยป ญ หา มีทักษะการคดิ ในรายคณติ ศาสตรทีส่ ูงข้นึ และมี
คณติ ศาสตร ทักษะในการแกโจทยป ญ หาคณิตศาสตร

วธิ กี ารดาํ เนินการ ผลการวจิ ัย

1. ศกึ ษาสภาพปญ หาและวเิ คราะหปญ หา ผลจากการพฒั นาความสามารถในการแกโ จทยป ญ หา
2. ออกแบบและสรางแบบทดสอบสอบและแบบฝก ทกั ษะ คณิตศาสตร โดยการใชช ดุ แบบฝกเสริมทกั ษะการแกโ จทย
ทจี่ ะใชในงานวจิ ยั ปญ หาทําใหนักเรียนมีทกั ษะการคดิ ทส่ี งู ข้ึน
3. นกั เรียนทาํ แบบทดสอบวดั ความสามารถในการแก
โจทยป ญ หากอ นเรยี น รูปภาพการวจิ ัย
4. ตรวจแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกโจทย
ปญ หากอ นเรยี น ดําเนินการสอนนักเรียนโดยใชแ บบฝก ผูวจิ ัย
เสริมทักษะการแกโ จทยปญหา
5. นกั เรยี นทาํ แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก นางสาวจฑุ ารัตน เวทมาหะ
โจทยป ญหากอนเรียน
6. เก็บรวบรวมขอ มูลและวิเคราะหขอมลู สรปุ และ ตาํ แหนง ครผู ูสอน (จชต.) โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก
อภิปรายผล

สํานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วจิ ัยในช้นั เรียน

เรอ่ื ง “การแกป ญ หานักเรยี นไมเ กบ็ อปุ กรณในการจดั การเรียนการสอนใหเปน ระเบียบ”
ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปท ี่ 3 ปการศกึ ษา 2564 โรงเรียนบานสุไหงโก-ลก

ความเปนมาและความสําคัญ

จากการจัดการเรยี นการสอนรายวิชา สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภาคเรียนท่ี 1 ระดับช้นั ประถมศึกษาปท่ี 3 ทุกป
การศกึ ษาวิชา สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม นักเรียนสวนใหญจ ะตอ งใชเวลาในการเรียนออนไลน เมือ่ หมดเวลาแลว
นักเรยี นสว นใหญมกั จะไมเ กบ็ อปุ กรณในการจดั การเรียนการสอน ประกอบกับนักเรยี นเรียนอยูที่บา น เมือ่ ถงึ เวลาเรยี นจะ
ตองเตรียมอปุ กรณใ นการจัดการเรียนการสอน เชน จัดโตะ สําหรับเรยี นออนไลนแ ละอปุ กรณตา งๆ ในการเตรยี มตวั เรียนออนไลน
ดงั น้ัน ครูผสู อน มีความคิดเหน็ วานกั เรยี นท่ีเรยี นวชิ า สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ควรจะมคี วามรับผดิ ชอบตอตนเองใน
การเก็บอุปกรณใ หเขาที่หลังทีเ่ รียนออนไลนเสรจ็ เมื่อหมดคาบเรยี บแลวจงึ ไดดาํ เนนิ การแกปญหาดงั กลาว

วตั ถุประสงค ประโยชนท ่คี าดวาจะไดรบั

เพือ่ แกป ญหานักเรียนทไี่ มเ กบ็ อุปกรณในการจดั การเรยี น นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 3 มคี วามรบั ผิดชอบและ
การสอนใหเ ปนระเบยี บ มีระเบยี บมากขึ้น

วธิ ีการดาํ เนนิ การ ผลการวจิ ัย

1. กลมุ ประชากรเปา หมายคอื นกั เรยี นชั้นประถมศึกษา ผลจากการจัดการเรียนรูพบวา นกั เรียนมคี วามรบั ผดิ ชอบดี
ปท ี่ 3 ท่ีเรยี นวชิ า สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ข้นึ และใหค วามรวมมอื ในการเก็บอปุ กรณใ หเ ขา ทเี่ ปน
2. เคร่อื งมือทีใ่ ชใ นการเกบ็ รวบรวมขอ มลู คือ ระเบียบเรยี บรอยดี
แบบสอบถามปลายเปด
3. การเก็บรวบรวมขอมลู จากแบบสอบถามนกั เรยี นซ่ึงเก็บ รูปภาพการวจิ ัย
รวบรวมขอ มูลระหวา งวนั ที่ 1 พฤศจกิ ายน 2564 ถงึ
ธนั วาคม 2564 ผูว จิ ยั
4. การวิเคราะหข อมูล จากคารอ ยละ
นางสาวนาทฤดี ขุนชุม

ตาํ แหนง ครูผูส อน โรงเรียนบา นสุไหงโก-ลก

สาํ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ

วิจยั ในชน้ั เรียน

การเสริมสรางทกั ษะความคิดสรางสรรคท างวทิ ยาศาสตร
ผานการประกวดสิ่งประดษิ ฐทางวทิ ยาศาสตร เรื่อง แมเ หล็กมหศั จรรย ของนกั เรียน

ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 3

ความเปนมาและความสาํ คัญ

ความคิดสรางสรรคมีความจําเปนมากตอ คนในศตวรรษท่ี 21 ที่ทกุ คนตองใหค วามสําคญั นอกจากเนน การเรียนรูตลอดชวี ิต (วจิ ารณ พานิช.
2555:19) ความคิดสรางสรรค มลี ักษณะการคิดกวางไกล หลากหลาย แปลกใหม และริเร่ิม อาจเกิดจากการผสมผสาน บรู ณาการ หรอื เชอ่ื มโยงระหวางความ
คิดเดมิ ใหไดแ นวคดิ ใหม จนเกิดส่งิ ประดษิ ฐ (Torrance. 1974) ตองอาศัยความอตุ สาหะ บากบ่นั ขยันหมน่ั เพยี ร จึงจะมลี กั ษณะของความคิดสรางสรรค (ฆนัท
ธาตุทอง. 2554:54) การพฒั นาความคดิ ดา นน้ี สามารถใชรปู แบบการเรียนรทู ่เี หมาะสมในการฝกกระบวนการเรียนรใู หนักเรยี นเกิดการแสดงออกของความคิด
สรางสรรค และสามารถสงเสรมิ ใหเกดิ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนใหสูงควบคไู ปดวย (ทิศนา แขมมณี. 2555:40)

จากเหตุผลดังกลา ว ผูวจิ ยั จึงไดจ ัดทาํ กิจกรรมการเรยี นรู เพ่อื เสรมิ สรา งทักษะความคดิ สรางสรรคท างวทิ ยาศาสตร ผา นการประกวดส่งิ
ประดษิ ฐท างวทิ ยาศาสตร เรอื่ ง แมเหล็กมหัศจรรย ของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 3 โดยกจิ กรรมการเรียนรนู เ้ี ชอื่ มโยงเนอ้ื หาวิชาวิทยาศาสตร เรอ่ื ง แรงและ
การเคลื่อนที่ ผานกิจกรรมทห่ี ลากหลาย จนเกดิ ความคิดสรา งสรรคใ นการออกแบบและประดิษฐส ิ่งประดิษฐจากแมเหลก็ ได

วัตถุประสงค ประโยชนทค่ี าดวาจะไดรบั
1. นกั เรียนไดส ่งิ ประดิษฐจากแมเ หล็กทีม่ คี วามหลากหลาย
1. นกั เรยี นเกดิ ความคดิ สรางสรรคใ นการออกแบบและประดษิ ฐ แปลกใหม
สง่ิ ประดษิ ฐจากแมเ หล็กได 2. นักเรียนไดพ ัฒนาทักษะความคิดสรา งสรรคทางวทิ ยาศาสตร

2. เสริมสรางทักษะความคดิ สรา งสรรคท างวทิ ยาศาสตรของ
นักเรียนได

วธิ ีการดาํ เนินการ ผลการวจิ ัย

1. ศกึ ษาสภาพปญ หาและวิเคราะหประเดน็ ปญหาจากการจัดการ จากการจัดทํากิจกรรมการเรยี นรู เพอื่ เสริมสรางทักษะความคิดสรางสรรค
เรียนการสอนวชิ าวทิ ยาศาสตร ชน้ั ประถมศึกษาปที่ 3 ทางวิทยาศาสตร ผานการประกวดส่งิ ประดิษฐท างวิทยาศาสตร เรือ่ ง แมเหลก็
2. ออกแบบการจดั การเรียนรูโดยการจัดกิจกรรมแบบ Active มหศั จรรย ของนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 3 โดยกิจกรรมการเรยี นรนู ้เี ช่ือม
Learning ทม่ี คี วามหลากหลาย โยงเน้ือหาวิชาวิทยาศาสตร เร่อื ง แรงและการเคลื่อนที่ ผานกิจกรรมท่ี
3. จดั ทําแบบวดั ความคดิ สรา งสรรคเ พื่อใชใ นการทดสอบกอ นและ หลากหลาย จนเกิดความคิดสรางสรรคใ นการออกแบบและประดิษฐส ง่ิ
หลังเรียน ประดิษฐจากแมเหลก็ พบวานกั เรยี นมแี รงจงู ใจในการเรยี นรแู ละสามารถออก
4. นักเรยี นทาํ แบบทดสอบวดั ความคิดสรางสรรคกอนเรยี น แบบสิ่งประดษิ ฐจากแมเ หล็กทม่ี ีความหลากหลาย แปลกใหม นํามาใชไ ดจรงิ
ทําใหเกดิ เปน กระบวนการคิดสรา งสรรคข ้นึ ในตวั นกั เรยี น

5. ดําเนนิ การจัดการเรียนการสอนโดยการจัดกจิ กรรมแบบ รปู ภาพการวิจัย
Active Learning เร่อื ง แรงและการเคล่ือนที่ เร่ืองยอย แรงไม
สมั ผัส
6. จดั กจิ กรรมการประกวดส่ิงประดษิ ฐทางวิทยาศาสตร เรื่อง
แมเ หลก็ มหศั จรรย จุดประกายความคิดสรางสรรคของนกั เรยี น
5. นกั เรยี นทําแบบทดสอบวัดความคดิ สรางสรรคห ลังเรยี น
7. บนั ทึกหลงั สอน สะทอนคดิ ปรบั ปรุง แกไขและสรปุ ขอ มูล ผูวิจัย

นางสาวอัญชลี อุดมศลิ ป
ตาํ แหนง ครู โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก

สาํ นักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วจิ ยั ในช้นั เรยี น

การพฒั นาทกั ษะการคิดดวยวิธีการสบื คนและสรปุ ขอ มูล
เร่ือง พัฒนาการของอาณาจักรสโุ ขทัย ตามแนวทางความฉลาดทางสขุ ภาวะของ

นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 3/6 ปก ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนบานสุไหงโก-ลก

ความเปนมาและความสาํ คัญ

จากการจดั การเรยี นการสอนรายวชิ าประวัตศิ าสตร ภาคเรียนท่ี 1 ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 3 /6 พบปญหานกั เรยี น
สวนใหญไมส ามารถสรุปองคความรทู างประวตั ิศาสตร เร่อื ง พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทยั ไดอ ยา งถูกตอง สงั เขปไดจ ากการ
ตอบคําถามและสรุปใจความของเรอื่ ง อาณาจักรสโุ ขทัยไดอยางถกู ตอ ง อกี ท้งั ยงั มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรยี นอยใู นระดบั ตํา
สะทอ นใหเหน็ วานักเรียนมที ักษะการสรุปองคค วามรูในระดับตํา สาเหตมุ าจากวิชาประวตั ิศาสตรเปนวิชาทีศ่ กึ ษาเรื่องราวในอดีต
ครูผูสอนสว นใหญจงึ มักจะใชว ิธกี ารสอนแบบบรรยาย ทาํ ใหน กั เรียนเกดิ ความเบอื่ หนาย มองไมเห็นภาพรวมของเหตุการณท าง
ประวตั ิศาสตร ทาํ ใหนักเรียนไมส ามารถสรุปองคค วามรไู ดถกู ตอ ง และจดจําไดแ มน ยํา ครูผสู อนจึงไดศกึ ษาแนวทางการใช
กจิ กรรมการเรยี นการสอนท่ีจะสามารถดึงดดู ความสนใจของผูเ รยี น จนสง ผลใหเกดิ การพฒั นาทกั ษะการสรปุ องคความรไู ดด ียิ่งขึ้น

วัตถปุ ระสงค ประโยชนท ่ีคาดวา จะไดรับ
เพือ่ พัฒนาทกั ษะการการสรปุ องคความรขู องนักเรียน นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 3/6 มีทกั ษะการสรุป
ชย้ั ประถมศึกษาปที่ 3/6 เร่อื ง พฒั นาการของอาณาจักร องคความรูในรายวชิ าประวัตศิ าสตรท่ีสงู ขึ้น
สโุ ขทัย
ผลการวิจัย
วิธกี ารดําเนนิ การ ผลจากการจัดการเรยี นรูดว ยวธิ กี ารสรปุ องคความรู
เร่อื ง พฒั นาการของอาณาจกั รสโุ ขทยั ทําใหนักเรียนมที กั ษะ
1.วเิ คราะหผลสมฤั ทธทิ์ างการเรยี นกอนและหลงั การสรุปองคค วามรูทีด่ ยี ่งิ ขึ้น
เรียนของวิชาประวัติศาสตร
รปู ภาพการวจิ ัย
2.วเิ คราะหคะแนนใบงานทีไ่ ดป ระเมินนกั เรียน
3.วเิ คราะหแบบสอบถามความเหน็ หลังจากท่ี
นักเรียนไดเรยี น

4.บนั ทกึ หลังสอน สะทอนคิด ปรบั ปรุง แกไ ขและ
พัฒนานวตั กรรม

ผวู จิ ัย

นายรอยือมี เจะดอเลาะ

ตาํ แหนง ครูผูสอนศาสนาอิสลาม
โรงเรียนบา นสุไหงโก-ลก

สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วจิ ัยในชัน้ เรยี น

การศกึ ษาพฤตกิ รรมเรือ่ งการไมสงงาน

รายวิชาสุขศกึ ษาของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 3/4 โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก

ความเปน มาและความสําคญั
จากการที่ผสู อนไดส อนในรายวชิ าสขุ ศกึ ษา ในรปู แบบออนไลนข องนักเรยี นในระดับช้นั 3/4 ปก ารศกึ ษา 2564 พบวา
นกั เรียนสวนใหญม ักจะสง งาน ไมต รงเวลาทีค่ รผู ูสอนกําหนด หรือบางคนกไ็ มสงงาน / หรือการบานเลย ซ่ึงทําใหครผู สู อนไม
สามารถวัดความรู หรือตดิ ตามความกาวหนา ของนกั เรียนได ดงั นน้ั ผูว จิ ัยซ่ึงในฐานะทเ่ี ปน ทง้ั ครผู สู อนประจาํ วิชาสุขศกึ ษาเห็น
ความสําคญั ของปญ หาดังกลาว จงึ ได ทําการวจิ ัยเพ่ือศกึ ษาพฤติกรรมของนักเรียนในระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ 3/4 เพือ่ นาํ มาเปน
ขอ มูลในการแกป ญหาของนกั เรียนในเรอ่ื งการไมส งงานตอ ไป

วตั ถปุ ระสงค 1. เพื่อศกึ ษาสาเหตขุ องการไมสง งาน รายวชิ าสุขศกึ ษาของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 3/4
วิธกี ารดําเนินการ 2. เพอ่ื รวบรวมขอ มูลสาํ หรบั การแกป ญ หาการไมส ง งาน รายวชิ าสุขศกึ ษาของนักเรยี น

ผลการวจิ ยั

1.ขัน้ วิเคราะห ( Analysis) จากการศกึ ษาและวิเคราะหแบบสอบถามเพ่อื ศึกษา
1.1 วเิ คราะหข อ มลู พน้ื ฐานของผูเรียน พฤตกิ รรมการไมส งงานในการเรยี นออนไลน รายวิชาสขุ ศกึ ษาตาม
1.2 วิเคราะหส าเหตุ กาํ หนดของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 3/4 โรงเรยี นบานสุไห
งโก-ลก แสดงใหเ หน็ วา สาเหตุของการไมส ง งาน รายวชิ า
2. ขั้นออกแบบ (Design) สขุ ศึกษาตามกาํ หนด ลาํ ดบั ท่ี 1 คอื แบบฝกหัดยากทําไมไ ด ตอง
สรา งแบบสอบถาม รอใหผปู กครองชว ยแนะนํา นกั เรยี นเลือก 25 คน คดิ เปนรอ ยละ
60.98 อันดับที่ 2 ครูอธิบายเร็วเกนิ ไป นกั เรียนเลอื ก 10 คน
3. ข้ันดาํ เนินการ คิดเปน รอยละ 24.39 อันดบั ที่ 3 เวลานอย นกั เรียนเลอื ก 6 คน
3.1 นําแบบสอบถามเพอ่ื ศกึ ษาพฤติกรรมการไมสงงาน คดิ เปนรอยละ 14.63 โดยคิดจากนกั เรียน 41 คน
3.2 ดําเนนิ การหาคารอยละของแตละขอ สาเหตุ

4. ขั้นวิเคราะหขอ มลู
4.1 วิเคราะหข อ มูล
4.2 สถิติทใ่ี ชในการวเิ คราะหข อ มลู

ประโยชนทค่ี าดวา จะไดร บั รปู ภาพการวจิ ยั
นักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที่ 3/6 มที กั ษะการ
สรปุ องคค วามรใู นรายวิชาประวตั ิศาสตรท่สี ูงขน้ึ

ผวู จิ ยั นายสุชาติ มาสินธุ
ตําแหนง ครู โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก

สํานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วิจัยในช้นั เรยี น

การพัฒนาทักษะการอา นคาํ ทใี่ ชมาตราตวั สะกดไมตรงตามมาตราดว ยชดุ แบบฝกทักษะ
การอา นสะกดคํา รายวชิ าภาษาไทย นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ 3 ปก ารศึกษา 2564

โรงเรยี นบานสุไหงโก - ลก

ความเปนมาและความสําคญั

จากการจัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาไทย ภาคเรียนท่ี 1/2564 ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 3 ดว ยระบบออนไลน
พบวา นักเรียนประสบปญหาดานการอา นคาํ ที่ใชตัวสะกดไมต รงตามมาตรา ผูสอนไดว เิ คราะหส ภาพปญหาจากการทดสอบการอา น
ในคาบเรียน พบวา ผูเรียนขาดทักษะสําคัญในเร่ืองการอา นสะกดคาํ ที่ใชต ัวสะกดไมต รงตามมาตรา ทาํ ใหน ักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิต์ ัว
ช้วี ดั ดา นการอา นลดลง ครผู ูสอนจึงพัฒนาแบบฝกทกั ษะการอานสะกดคาํ เพ่ือแกไขปญ หาการอานสําหรบั นกั เรียนระดบั ชนั้ ประถม
ศกึ ษาปท่ี 3 ผานกระบวนการ PLC กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย

วตั ถุประสงค นกั เรยี นสามารถอานคําที่มีตวั สะกดไมตรงตามมาตรานะระดับชน้ั ของตนเองได

วิธกี ารดําเนินการ ประโยชนท ี่คาดวาจะไดร ับ
-
นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 3 มที ักษะการอาน
1. ศกึ ษาสภาพปญ หา และวเิ คราะหแนวทางแก สะกดคําท่ีมีมาตราตวั สะกดไมตรงตามมาตราในระดบั ชนั้
ปญ หา ตนเองไดด ขี น้ึ

2. กลมุ เปา หมาย นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปท ่ี 3 ผลการวจิ ัย
จาํ นวน 3 หอ งคอื ป.3/4 ป.3/5 และป.3/6
ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปที่ 3 มที ักษะการอา นสะกดคาํ ที่
จาํ นวน 126 คน ใชตวั สะกดไมตรงตามมาตรา และมีผลผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
รายวชิ าภาษาไทยสูงขนึ้ จากระดบั คา เปา ประสงคท ส่ี ถานศกึ ษา
3. ทดสอบความสามารถในการอา นและเขยี น กาํ หนดไวท ี่ รอยละ 70 เพิม่ ขน้ึ รอยละ 75
สะกดคําของนักเรียน

4. วดั ความสามารถในการอานสะกดคําเปน
ระยะๆ

5. สรุปและอภปิ รายผลการวิจัย

รูปภาพการวิจยั ผูวจิ ัย
นางสาวกนกวรรณ จนิ ดามณี
ตาํ แหนง ครู โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก

สํานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วิจยั ในช้ันเรียน แผนการสอน

การพัฒนาการเรียนรูฐ้ านสมรรถนะทางเทคโนโลยดี ว้ ยกระบวนการชมุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี ส่ือประกอบการสอน
หนว่ ยการเรยี นรู้ รเู้ ทา่ ทนั เทคโนโลยี เรือ่ ง อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจข่าว
รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาระเทคโนโลยี (วทิ ยาการคํานวณ) แบบฝกึ ท้ายบท
ของผูเ้ รยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4/6

ความเป็นมาและความสําคัญ

สมรรถนะทางเทคโนโลยี เปน็ สิ่งสําคัญสําหรบั การดํารงชวี ติ จากความสสําคญั ของสมรรถนะทางเทคโนโลยีประกอบกับสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ
และการเผชิญหนา้ กับปั ญหาในศตวรรษที่ 21 ช่วยส่งเสริมการ โรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ทีไ่ มส่ ามารถจัดการเรยี นการสอนในรูปแบบปกตทิ ีโ่ รงเรียนได้
พัฒนาการจัดการเรยี นรู้ให้สอดคล้องกบั ความเปลีย่ นแปลงของ ผศู้ ึกษาจึงตอ้ งมีการปรับรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้จาก Onsite เปน็ Online ผา่ นแอ
ยุคสมยั ปพลเิ คชนั LINE

แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 5 ด้าน เรยี กโดยยอ่ วา่ ICA 1-5 ไดอ้ อกแบบและพัฒนากจิ กรรมการเรยี นรทู้ เี่ น้นสมรรถนะดา้ นเทคโนโลยีดาํ เนนิ การจดั
กจิ กรรมตามรูปแบบสืบเสาะหาความรู้ทไี่ ดอ้ อกแบบไว้เพื่อให้ ผู้เรยี นได้พัฒนาสมรรถนะเตม็
ICA1 การเขา้ ถงึ ประเมิน และจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ ตามศักยภาพสร้างและหรอื พัฒนาแผนการจดั การเรียนรผู้ ่านการขับเคลอื่ นดว้ ยกระบวนการ
ICA2 การแชร์ข้อมลู และการสื่อสาร ชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพเปิดหอ้ งเรยี นใหส้ มาชกิ สาระเทคโนโลยแี ละผูเ้ ชยี่ วชาญจากมหา
ICA3 การดัดแปลงและผลิตสารสนเทศและดิจิทัลคอนเทนต์ ลัยราชภัฏยะลาเพื่อรว่ มสังเกตการณต์ ามกระบวนการชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ICA4 การแกไ้ ขปั ญหาในบริบทโลกดจิ ิทลั และการคิดเชิงคาํ นวณ
ICA5 การใช้ ICT อยา่ งเหมาะสม

วัตถุประสงค์ ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รบั

เพื่อพัฒนาสรรถนะทางเทคโนโลยีของผู้เรยี น ผเู้ รียนไดร้ บั การพัฒนาสมรรถนะทางเทคโนโลยตี ามที่
1. สมรรถะการเข้าถึง การประเมิน กําหนดในหนว่ ยการเรียนรู้ คุณภาพการจดั การเรยี นรูส้ ูงข้นึ
และการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ และเปน็ แบบอย่างทีด่ ี
2. สมรรถนะการใช้ ICT อยา่ งเหมาะสม
ผลการศึกษา
(ตระหนกั และทักษะดา้ นความม่ันคง ความปลอดภยั
และความเสี่ยงบนโลกออนไลน)์ 1. ผู้เรียนร้อยละ 100 มีสมรรถนะการใช้ ICT อยา่ งเหมาะสม
โดยการสืบค้นขอ้ มูลจากแหลง่ ข้อมลู และประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถือ
วิธกี ารดําเนนิ การ ของข้อมูล

2. ผเู้ รยี นร้อยละ 100 ได้รบั การพัฒนาสมรรถนะการเขา้ ถึง
การประเมนิ และการจัดการขอ้ มลู และสารสนเทศโดยการทาํ
แบบฝกึ กิจกรรม

ภาพการดําเนินการ

ทมี่ า : เอกสารประกอบการอบรมโครงการเพิ่มศักยภาพครูให้มีสมรรถนะ
ของครูยคุ ใหม่ สําหรบั การเรยี นรู้ศตวรรณที่ 21

ผ้ศู ึกษา ครปู ริชญา มาสินธ์ุ

ครู โรงเรียนบ้านสุไหงโก-ลก

วจิ ัยในช้นั เรยี น

เร่ือง การใชสื่อออนไลนเ พื่อพฒั นาการวาดภาพและความคดิ สรา งสรรค
ของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี 4 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสาํ คัญ

จากการจัดการเรยี นการสอนรายวชิ าทศั นศิลป ภาคเรียนท่ี 1 ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที่ 4 ทุกปก ารศกึ ษาที่ผา นมา
พบปญ หานกั เรยี นขาดทกั ษะการวาดภาพระบายสีและความคิดสรา งสรรค ผูสอนไดว เิ คราะหส ภาพปญ หาจากการทดสอบ
การวาดภาพระบายสี การสงชน้ิ งานการวาดภาพ การจัดองคประกอบของภาพ พบวา ผูเ รยี นขาดทกั ษะพื้นฐานการวาดภาพและ
ความคิดสรา งสรรคย ังไมด ีเทา ท่คี วร จึงควรหาทางพัฒนาใหนักเรียนสามารถวาดภาพไดชดั เจน และถา ยทอดความคิดสรางสรรค
ที่ดขี ้นึ ครูผสู อนจึงสนใจอยากแกไ ขปญ หาการวาดภาพและความคิดสรางสรรคร ายวชิ าทศั นศิลปของนกั เรียนระดบั ช้นั ประถม
ศึกษาปท ่ี 4 ดวยวิธกี าร การใชส ื่อออนไลนเพือ่ พัฒนาการวาดภาพและความคิดสรา งสรรค

วตั ถุประสงค ประโยชนทค่ี าดวาจะไดร บั

เพอ่ื พัฒนาสอ่ื การเรียนรูท ีน่ า สนใจ และพัฒนาทกั ษะการวาด นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 สามารถวาดภาพ
ภาพและความคิดสรางสรรคของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 ระบายสีและมีความคิดสรา งสรรคเ พ่ือพฒั นาทักษะการวาด
โดยการเรยี นออนไลนผานเวป็ ไซตแ ละแอปพลิเคชนั ตางๆ ภาพในการเรียนวชิ าทศั นศิลป

วธิ ีการดําเนิน ผลการวิจัย
การ ผลจากการจดั การเรยี นรดู ว ยวิธกี ารใชส อื่ ออน
ไลนเพอื่ พฒั นาการวาดภาพและความคดิ สรา งสรรค ทําให
1. วิเคราะหม าตรฐาน ตัวชว้ี ดั ชนั้ ป.4 นักเรยี นมที กั ษะการวาดภาพที่ดีขน้ึ และมผี ลสมั ฤทธิ์ท่สี ูงข้นึ
กลุมสาระการเรยี นรูศลิ ปะ (ทัศนศลิ ป)
รปู ภาพการวิจยั
2. ศกึ ษาการใชง านของโปรแกรมเวป็ ไซตและแอป
พลเิ คชันตา งๆ ทจี่ ะสอนออนไลน ผูวิจัย

3. ออกแบบการจดั การเรียนรูและปฏิบตั ิการสอน นางสาวซารฟี ะห เจะมะ
ดว ยเวป็ ไซต Canva โดยบันทึกเปน ไฟลร ูปภาพทําเปน
อลั บ้มั เพ่ือสะดวกตอ นกั เรยี นมาเรยี นยอ นหลงั ได บันทึกใน ตําแหนง ครู โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก
โนตของกลมุ ไลนช้นั เรียนและทดสอบผา น google ฟอรม

4. เปดชนั้ เรยี นเปดปฏบิ ัตกิ ารสอนดว ยเว็ปไซต
Canva เปดยูทูปเพ่ือพฒั นาทกั ษะการวาดภาพ สงลิงกแบบ
ทดสอบและรปู ภาพส่ือ สังเกตชนั้ เรยี น แกไขปญ หา ผู
เรียน

5. บนั ทึกหลงั สอน สะทอนคดิ ปรับปรงุ แกไขและ
พัฒนานวตั กรรม และสรปุ ขอมูล

สาํ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วจิ ัยในช้นั เรียน

การพฒั นาทกั ษะการคิดคาํ นวณ โดยใชท ฤษฎีสมองเปน ฐาน
เร่ือง การบวกทศนยิ ม

ของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 4 ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสําคัญ

จากการจัดการเรยี นการสอนรายวิชาคณิตศาสตร ภาคเรียนท่ี 2 ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 4 ทุกปการศกึ ษาท่ีผา นมา
พบปญหานกั เรยี นขาดทักษะการคดิ คาํ นวณ ผสู อนไดว ิเคราะหส ภาพปญหาจากการทดสอบ การตอบคาํ ถาม ตรวจแบบฝก หัด
ตรวจขอสอบ พบวา ผูเรยี นขาดทักษะการคิดคํานวณ โดยเฉพาะในเรือ่ งการบวกทศนิยม ซึง่ เปน เรื่องทน่ี กั เรยี นจะตอ งนาํ ความรู
ไปใชใ นการเรียนระดับท่ีสงู ขึ้นตอ ไป ประกอบกับทฤษฎีสมองเปน ฐานเปนการจดั การเรยี นรูเปนการจดั การเรยี นรเู พื่อพฒั นา
กระบวนการคดิ ชวยเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการจดจาํ เน้อื หา การมสี มาธใิ นการทาํ งานและเกิดการเรียนรูจากการกระทาํ ดวยตนเอง
ซ่ึงเปน พนื้ ฐานสาํ คญั ของการเรียนรู ดงั น้นั ครผู สู อนจงึ ไดพ ัฒนาทกั ษะการคิดคํานวณโดยใชทฤษฎีสมองเปนฐาน เร่อื งการบวก
ทศนิยม ของนักเรียนระดบั ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4

วัตถุประสงค ประโยชนท ่ีคาดวาจะไดรบั
เพ่ือพัฒนาทกั ษะการคิดคาํ นวณโดยใชทฤษฎีสมอง นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 4 ทีจ่ ดั การเรยี น
เปน ฐาน เรอื่ งการบวกทศนิยม ของนกั เรยี นระดับชนั้ ประถม การสอนโดยใชท ฤษฎีสมองเปน ฐานมที กั ษะการคดิ คํานวณ
ศึกษาปที่ 4 เร่อื งการบวกทศนยิ มท่ีสงู ขนึ้

วธิ กี ารดําเนนิ การ ผลการวจิ ยั

1. วเิ คราะหป ระเดน็ ปญ หา จากการจัดการเรียน ผลจากการจัดการเรยี นรเู พ่ือพัฒนาทักษะการคดิ
การสอนในสาระการเรยี นรคู ณิตสาสตร ช้นั ประถมศึกษา คํานวณโดยใชท ฤษฎสี มองเปนฐาน เรอื่ งการบวกทศนิยม
ปท ่ี 4 ทําใหน ักเรยี นมีทักษะการคิดทีส่ งู ข้นึ

2. ออกแบบการจดั การเรยี นรแู ละปฏบิ ัตกิ ารสอน รปู ภาพการวิจัย
โดยใชท ฤษฎสี มองเปน ฐาน เร่อื งการบวกทศนิยม
ผวู จิ ัย
3. นําแผนการสอนและรปู แบบการจัดการเรยี น
การสอนมา PLC กบั กลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร นางสาวดารนิ ชณิ นะพงศ

4. ดําเนนิ การจัดการเรยี นการสอนโดยใชทฤษฎี ตาํ แหนง ครู โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก
สมองเปน ฐาน เรอ่ื งการบวกทศนิยม

5. บนั ทึกหลงั สอน สะทอนคิด ปรับปรงุ แกไ ข
พฒั นานวัตกรรม และสรปุ ขอมลู

สํานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ

วิจยั ในชน้ั เรยี น

การพฒั นาทกั ษะการคิดดวยวธิ ีการสืบคน และสรปุ ขอ มลู
เร่ือง ดวงจนั ทรของเรา ผานกระบวนการ PLC

ใชก ารจัดการเรียนการสอนโดย JOOK Model+5Es
ของนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๔ ปก ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสําคญั

ในยคุ ปจจุบันทกั ษะการคิดอยา งมวี ิจารณญาณเปนทกั ษะสําคญั สําหรบั การดาํ รงชวี ติ ขิงพลเมอื งยุคใหม จากการจดั การ
เรียนการสอนรายวชิ าวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 พบวานักเรยี นยงั ขาดทกั ษะการคดิ อยางมีวจิ ารณญาณ
เพื่อสง เสรมิ ใหน ักเรยี นมีการคิดโดยใชเหตุผลทห่ี ลากหลาย เหมาะสมกบั สถานการณ มีการคดิ อยางเปนระบบ วเิ คราะห และ
ประเมินหลักฐานและขอคิดเหน็ ดวยมมุ มองทีห่ ลากหลาย สงั เคราะห แปลความหมาย และจัดทาํ ขอ สรปุ สะทอ นความคิดอยางมี
วิจารณญาณโดยใช ประสบการณและกระบวนการเรยี นรู ผูวจิ ยั จงึ ไดจ ดั การเรียนการสอน เร่ือง ดวงจันทรข องเรา ผาน
กระบวนการ PLC ใชการจดั การเรยี นการสอนโดย JOOK Model+5Es เพือ่ พฒั นาทกั ษะการคดิ อยางมวี ิจารณญาณของ
นักเรยี นและเรียนรกู ารสืบคน ขอมลู การนําขอ มูลจากแหลง เรียนรูต างๆมา สรางองคค วามรไู ดด ว ยตนเอง

วตั ถุประสงค ประโยชนท่ีคาดวาจะไดร บั

เพือ่ พัฒนาทักษะการคิดของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี 4 นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 4 มที กั ษะการคดิ อยา งมี
ดวยวธิ ีการสืบคน และสรปุ ขอ มลู เร่อื ง ดวงจันทรของเรา วิจารณญาณ ในรายวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีสูงข้นึ

วธิ กี ารดาํ เนินการ ผลการวิจยั

1. สรางทมี PLC กลุมสาระวทิ ยาศาสตรแ ลt ผลจากการจัดการเรยี นรดู วยวธิ กี ารสบื คน และสรุป
เทคโนโลยี ขอ มูล โดยการสงคลิปนาํ เสนอแบบจําลองการขึน้ และตกของ
ดวงจนั ทร และการสบื คน ขอมลู นาํ เสนอขอ มูลผาน Padlet
2. วิเคราะหประเดน็ ปญหา โดยใชทีม PLC ทาํ ใหนกั เรยี นมที ักษะการคิดที่สูงขึน้
กลมุ สาระวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
รปู ภาพการวจิ ัย
3. ออกแบบการจดั การเรยี นรแู ละปฏบิ ัติการสอน
ดวยวธิ ีการสบื คน และสรุปขอมลู ผวู ิจยั

4. เปด ชน้ั เรยี น สงั เกตช้นั เรียน แกไขปญ หา นางณฐั วรรณ เพช็ รนิล
ผูเ รยี นและพฒั นานวตั กรรมดว ยกระบวนการ PLC
ตาํ แหนง ครู วิทยฐานะชาํ นาญการพิเศษ โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก
5. บนั ทกึ หลังสอน สะทอนคิด ปรบั ปรงุ แกไ ข
และพัฒนานวัตกรรม

6. ภาระงานที่สะทอนทกั ษะการคิดจาก
การสบื คน และสรุปขอมูล

สํานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วจิ ยั ในชันเรียน

การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ เรอื่ ง รูปส่ีเหล่ยี มมุมฉาก
โดยใชเ้ กมออนไลน์ ของนักเรยี นชนั้ ประถมศึ กษาปีท่ี 4

โรงเรยี นบา้ นสไุ หงโก-ลก

ความเป็นมาและความสํ าคัญ

จากการจดั การเรียนการสอนในปก ารศึกษาทีผ่ านมา เนื้อหาคณติ ศาสตรเ รอ่ื ง รปู สี่เหลีย่ มมมุ ฉาก เปนเร่ืองที่เปนปญหา
สําหรับนกั เรียน เนอ่ื งจากเปน เร่ืองทนี่ ักเรยี นจะตองคํานวณหาคําตอบตามสตู ร ซ่งึ นกั เรียนมกั จะจาํ สูตรไมได หรอื สับสนการใชส ูตร
สงผลใหน กั เรยี นมีผลสมั ฤทธ์ติ ํา่ ในปก ารศึกษาน้ี การจดั การเรยี นการสอนเปน รปู แบบออนไลน ผูวิจัยจงึ หาวิธที จ่ี ะกระตุน
ความสนใจของนักเรียนและทําใหผลสัมฤทธข์ิ องนกั เรยี นผา นเกณฑท่ีกาํ หนด ผูวจิ ัยจงึ ใชเ กมออนไลน สําหรบั ใหนักเรียนไดฝกฝน
ทบทวนบทเรยี น และเปน แรงจงู ใจใหน กั เรยี นเกิดความสนใจในการเรียนและหาคาํ ตอบ

วตั ถุประสงค์ ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รบั

เพอ่ื พฒั นาผลสมั ฤทธ์ิ เรอ่ื ง รูปสเ่ี หล่ียมมุมฉาก 1. นกั เรียนสามารถใชส ูตรในการหาคําตอบ เรอ่ื ง
ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 4 โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก รปู ส่เี หล่ียมมมุ ฉาก ไดถ ูกตอ ง
โดยใชเกมออนไลน ใหผ า นเกณฑรอยละ 60
2. นักเรียนมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น เรือ่ ง
วธิ กี ารดาํ เนินการ รปู ส่ีเหลี่ยมมุมฉากผา นเกณฑท ี่กาํ หนด
1. ผูวจิ ยั ชแ้ี จงวตั ถปุ ระสงคแ ละแนวทาง
การปฏบิ ตั กิ ารเรยี นรู เรื่อง รูปสเี่ หลย่ี มมุมฉาก ผลการวิจัย
2. ผูวิจยั ดําเนินการสอนตามแผนการเรียนรู ผลจากการใชเ กมออนไลน เพอ่ื พฒั นาผลสมั ฤทธ์ิ
ใชเ วลา 6 ชั่วโมง เรื่อง รปู ส่ีเหลีย่ มมุมฉาก ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที่ 4
3. ผวู จิ ยั ทําการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น สงผลใหนกั เรยี นมผี ลสัมฤทธผ์ิ านเกณฑร อ ยละ 60 ตามที่
เรอื่ ง รูปส่ีเหล่ียมมุมฉาก ใชเวลาในการทดสอบ 1 ช่ัวโมง กําหนดไว
4. ผูวจิ ยั วิเคราะหค ะแนนของนกั เรยี นจากการทาํ
แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เรื่อง รูปสเ่ี หล่ียม รู ปภาพการวิจยั
มุมฉากของนกั เรียน และสรปุ ผลการวิจยั

ผวู้ ิจัย

นางสาวอจั ฉราพรรณ ศรจี รสั กลุ
ตาํ แหน่ ง ครู โรงเรยี นบ้านสไุ หงโก-ลก

สํานั กงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วิจัยในช้นั เรยี น

การพฒั นาทกั ษะการเขียนคาํ ภาษาไทยไมถูกตอ ง
ขของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปท4ี่ /3 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบานสุไห

งโก-ลก

ความเปน มาและความสําคญั

จากการจัดการเรยี นการสอนรายวชิ าวชิ าภาษาไทยเปนวชิ าทส่ี ําคญั และเปน พืน้ ฐานของการเรยี น
ในทุกวิชา เดก็ นกั เรยี นควรจะมีทกั ษะในการอานและการเขยี นไดถูกตอ งในกลมุ ภาษาไทย พบวาจากผล
สัมฤทธขิ์ องเดก็ นักเรียนท่เี รียนมาในระดับช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 4/3 มเี ดก็ นักเรียนทเ่ี ขียนคําในภาษาไทย
ไมถ กู ตองจํานวน 5 คน จงึ เปนปญ หาทต่ี องแกไ ขและพฒั นาเดก็ ท่มี ปี ญ หาใหดีข้ึน

วตั ถุประสงค ประโยชนท คี่ าดวา จะไดร บั
เพ่ือแกป ญ หาการเขียนภาษาไทยไมถูกตองของนกั เรียน นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 4/3 จาํ นวน 5 คน เขียน
ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 4/3 โดยใชแ บบฝกหดั เขียนไทย คาํ ภาษาไทยไดด ขี ึน้

วธิ กี ารดาํ เนนิ การ ผลการวิจัย

1. ทดสอบความสามารถในการเขยี นภาษา นักเรยี นสามารถเขียนไดแ ละมคี วามเขาใจใน
ไทยกอนการฝก และสรปุ ผล มาตราตัวสะกดและสามารถเขยี นไดถ ูกตอง

2. ฝกเขยี นคําประกอบภาพและเขียนคําใน รูปภาพการวิจัย
มาตราแม ก.กา , แม กก , แม กด และ
แม กน ผูว ิจัย

3. ทดสอบความสามารถในการเขียนคาํ ทม่ี ี นางฉวีวรรณ แดงดี
ตวั สะกดในมาตราแม กก , แม กด , แม
กบ , แม กน หลงั ฝกและสรุปผล ตําแหนง ครผู ูชว ย โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก

4. ทดสอบความสามารถในการเขียนภาษา
ไทย หลงั การฝกและสรุปผล

5. สรปุ รายงานวจิ ยั

สํานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร


Click to View FlipBook Version