The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมรายงานวิจัยหน้าเดียว 2564 บ้านสุไหงโก-ลก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by งานวิชาการ, 2022-05-21 06:43:22

รวมรายงานวิจัยหน้าเดียว 2564 บ้านสุไหงโก-ลก

รวมรายงานวิจัยหน้าเดียว 2564 บ้านสุไหงโก-ลก

วจิ ยั ในชน้ั เรยี น

การพฒั นาทักษะการอา นออกเสยี งทายคําในภาษาองั กฤษ
เรอ่ื ง การอา นออกเสยี งทา ยคําในภาษาองั กฤษ /p/t/b/d/s/g/
ของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปท ี่ 5 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก

ความเปน มาและความสําคัญ

จากการจดั การเรียนการสอนรายวชิ าภาษาองั กฤษเพ่ือการสอื่ สาร ภาคเรียนที่ 1 ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 5 ทกุ

ปก ารศกึ ษาทผ่ี านมา พบปญหานกั เรยี นขาดทกั ษะการอา นออกเสียงทายคํา /p/t/b/d/s/g/ในภาษาองั กฤษ ผูสอนไดว ิเคราะห

สภาพปญ หาจากการทดสอบการอาน การตอบคาํ ถาม พบวา ผเู รยี นขาดทักษะการอา นออกเสยี งทาย ซึง่ ทาํ ใหผูเรียนไมสามารถ
เขยี นตามคาํ บอก (Dictation) ไดอยา งถูกตอง ทาํ ใหค ะแนนในการทาํ กจิ กรรมการอา นและเขียนในทุกบทเรยี นไมเ ปน ไปตาม
เปาหมายของแบบประเมินทักษะการอา นและทักษะแหง ศตวรรษที่ 21 ครผู สู อนจงึ อยากแกไ ขปญหาการอานออกเสยี งทายใน
รายวิชาภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสารของนกั เรยี นระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 5 ดวยชุดเรือ่ งสัน้ ภาษาอังกฤษ

วัตถุประสงค ประโยชนท่ีคาดวาจะไดร ับ

เพื่อพฒั นาทักษะการอานออกเสียงทาย นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 5 มีทักษะการอาน

/p/t/b/d/s/g/ ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 5 ดวยชุด ออกเสียงทาย/p/t/b/d/s/g/ในรายวิชาภาษาองั กฤษเพือ่

เร่ืองสน้ั ภาษาองั กฤษ การสอ่ื สารที่สงู ข้นึ

วิธีการดาํ เนินการ ผลการวิจัย

1. วิเคราะหป ระเด็นปญหา โดยใชคะแนนผล ผลจากการจัดการเรยี นรเู พอื่ พฒั นาทักษะการอา น
สัมฤทธ์ดิ านการอานของนกั เรียนภาคเรยี นท่ี 1/2564 ออกเสยี งทา ยดว ยชุดเรอ่ื งส้ัน ทาํ ใหน ักเรยี นมีทักษะการอา น
ออกเสยี งทายทีส่ ูงขึ้น
2. ออกแบบการจดั การเรียนรแู ละปฏบิ ัตกิ าร
สอนดวยชดุ เรอ่ื งสั้นภาษาองั กฤษทา ยชั่วโมงเรียน รูปภาพการวจิ ยั

3. ออกแบบการจัดการเรยี นรูแ ละปฏิบัตกิ าร ผวู ิจัย
สอนดวยวิธกี ารสืบคนและสรุปขอ มูล
นางสาวอสั มีลา เปาะจิ
4. นําแผนไปใชป ฏบิ ัตกิ ารสอนโดยการให
นักเรยี นทําแบบทดสอบกอนเรยี น และหลงั เรยี น ตําแหนง ครอู ตั ราจา ง
โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก
5. นาํ คะแนนกอนเรียนและหลงั เรียนมา
เปรียบเทียบคําแนนพัฒนาการดานการอานออกเสียงทา ย
ของนกั เรยี นแตละคน

6. วิเคราะหแ ละสรุปขอ มลู เพื่อนําไปพัฒนาตอ
ไป

สํานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วจิ ยั ในชน้ั เรยี น

การเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าพระพทุ ธศาสนา หนว ยการเรียนรูที่ 6 เรื่อง
ความพรอ มเพรียง ระหวา งวิธกี ารสอนแบบบรรยายโดยไมใชส่ือการสอน

กบั วธิ กี ารสอนโดยการใชสอ่ื multimedia ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปท ี่ 5/4
ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2564

ความเปน มาและความสําคัญ

การเรยี นการสอนกลุมสาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมในโรงเรยี น สว นใหญจ ดั ผูเรียนเปนหอง แตละหอ งมี
ผเู รียนจํานวนมาก โดยใหผ ูเ รียนเรียนคละกนั ท้งั เกง และออ น และผเู รียนแตละคนมีความแตกตาง ความสามารถและ
ประสบการณ จึงทาํ ใหผ เู รยี นมีความรแู ละความเขา ใจ ในเรื่องทีเ่ รยี นแตกตา งกันซง่ึ จะเปนปญหาในการเรยี นรขู องนักเรยี น
การสอนในปจจุบันทนี่ ยิ มสอนกันมากทสี่ ดุ คือการสอบแบบบายยายและกาสอนแบบใชส ่อื Multimedia และวิธีการสอนดวย
การบรรยาย จากเหตผุ ลดงั กลา วผูว จิ ยั จึงมคี วามสนใจทจี่ ะทําวจิ ยั เร่อื งเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวชิ าพระพทุ ธ
ศาสนา หนวยการเรยี นรทู ่ี 6 เร่ือง ความพรอ มเพรียง ระหวา งวธิ ีการสอนแบบบรรยายกับวธิ กี ารสอนโดยการใชสอ่ื
multimedia ของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 5/4 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศกึ ษา 2564

วัตถุประสงค ประโยชนท ่คี าดวา จะไดร บั

เพ่อื เปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นในวิชาพระ 1. ไดท ราบถึงความแตกตา งของผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นระหวาง
พุทธศาสนาพระพทุ ธศาสนา หนวยการเรียนรทู ่ี 6 เรอื่ งความ สอนโดยวิธีการใชส่ือ multimedia กบั การสอนแบบบรรยาย
พรอ มเพรยี ง ระหวาวิธีการสอนโดยการใชส ือ่ Multimedia 2. สามารถนําวธิ ีการสอนทดี่ ีทส่ี ดุ ไปใชส อนนกั เรียนในเรอื่ งอน่ื ๆ
และวธิ กี ารสอนแบบบรรยาย และวชิ าอื่น ๆ ได

วธิ กี ารดาํ เนินการ ผลการวิจยั

1. นาํ นกั เรยี นกลมุ ตัวอยางทเี่ ลือกไว 8 คนมาสอ จากตัวเลขสถติ ขิ องผลการวจิ ยั ดงั กลา วแสดงใหเห็น
นดวยวธิ บี รรยายปากเปลา และเขยี นในกระดานดาํ เมือ่ วา การสอนดวยวธิ กี ารใชส่ือ Multimedia มผี ลสมั ฤทธิ์
เรยี นจบใน 5 ช่ัวโมง ครใู หนักเรียนทําแบบทดสอบแลว ทางการเรยี นสูงกวา การสอนแบบบรรยาย ซึง่ เปนตัวเลขที่เพิม่
บันทกึ คะแนนไว ขน้ึ ซึง่ สอดคลองกับสมมตฐิ านที่ตงั้ ไวในเบ้ืองตน

2. นาํ นกั เรียนกลมุ เดมิ มาทาํ การสอนแบบใชส อ่ื รปู ภาพการวจิ ัย
multimedia เปนเวลา 5 ชว่ั โมง เม่ือเรียนจบ ครูให
นกั เรียนทาํ แบบทดสอบแลว บันทกึ คะแนนไว

3. นําคะแนนของกลุมตวั อยางท่ีทําแบบทดสอบ ผูวจิ ยั
ทั้งสองครั้งมาเปรียบเทียบหาความแตกตางบนั ทกึ คะแนน นายเสถียร นาคชู
ไวแ ลวนาํ มาหาสถติ ทางการวจิ ัย ตําแหนง ครู โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลก

สํานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วิจัยในช้นั เรยี น

เร่อื ง “การสรางชดุ การสอนเพอ่ื พฒั นาการ กจิ กรรมเคล่อื นไหวรางกายแบบเคลอื่ นท่ี
นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 4 ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนบา นสุไหงโก-ลก

ความเปนมาและความสาํ คัญ
จากการจัดการเรียนการสอนพลศกึ ษาในโรงเรียน วิชาพลศกึ ษาเปน วชิ าทสี่ ําคัญในการพฒั นาดานรา งกาย จติ ใจ อารมณ
สงั คม และสตปิ ญ ญา โดยใชก จิ กรรมทางกายหรอื เกมกีฬาเปนสือ่ ใหนกั เรยี นไดเลนไดปฏิบัติเพื่อท่ีจะเกิดการพฒั นา
หลาย ๆ ดา นทักษะการเคลื่อนไหวพน้ื ฐาน เปนทักษะการเคลอ่ื นไหวรางกายทจี่ ําเปนสาํ หรับการดาํ เนินชวี ติ ของมนุษย ในการ
ปฏิบัตกิ ิจกรรมตา ง ๆ ไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ ทักษะการเคลอื่ นไหวพื้นฐาน จะนําไปสกู ารมีทกั ษะการเคลอ่ื นไหวท่ดี ขี องเด็ก และ
เปน สว นสาํ คัญของการประเมนิ ทักษะการเคลอ่ื นไหวท่สี มบรู ณ

วัตถปุ ระสงค ประโยชนท ีค่ าดวาจะไดรับ

1. เพอ่ื ศกึ ษาผลของการจัดกจิ กรรมเคลือ่ นไหวรา งกายแบบ 1. นักเรียนมีทกั ษะการเคลือ่ นไหวรา งกายแบบเคลือ่ นท่ี
เคลื่อนที่ โดยใชแนวคดิ การเตนเชิงสรางสรรคท ข่ี องนักเรยี นชน้ั ทําใหน กั เรยี นมีความคดิ สรางสรรคสูงขึน้ กวาเดมิ
ประถมศึกษาปที่ 4 2. นักเรยี นประถมศกึ ษาปท ี่ 4 ท่ีมีคุณภาพ และไดค า
2. เพอื่ พัฒนาทักษะในกจิ กรรมเคลื่อนไหวรางกายแบบเคล่ือนท่ี เกณฑมาตรฐานของโรงเรียน
ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 4
ผลการวิจัย
วิธีการดาํ เนนิ การ

1. การสงั เคราะหเอกสาร จากการวิเคราะหข อ มูลทไี่ ดจากการจดั กิจกรรม
2. การสรางแบบทดสอบทกั ษะการเคลอ่ื นไหว เคลือ่ นไหวรา งกายแบบเคล่อื นท่ี พบวา หลังการทดลอง คา
3. ดําเนินการ เฉลย่ี คะแนนทักษะการเคลอ่ื นไหวรางกายแบบเคลอ่ื นท่ี
4. รวบรวมขอมลู ทาํ ใหน ักเรียนมีความคดิ สรางสรรคส งู ขึ้นกวา เดิม ซ่งึ แสดง
5. สรปุ ผล ถึงประสทิ ธภิ าพของการจดั กิจกรรมเคล่อื นไหวจนสง ผลให
ความสามารถปฏบิ ัตทิ ักษะการเตะลกู บอลของนกั เรยี นมคี า
รปู ภาพการวิจยั เฉลยี่ สูงท่ีสุด

ผูว ิจัย
นายอานูกัน เจะมะ
ตําแหนง ครู โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก

สาํ นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วจิ ัยในช้ันเรยี น

ผลการใชก ระดานแลกเปลยี่ นเรียนรู padlet ชว ยในการจดั การเรยี นการสอน
เร่ือง ลักษณะทางกายภาพในจังหวัด ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปท ี่ 4

ความเปนมาและความสําคญั

ในการจัดการเรียนการสอนในวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท่ผี า นมา พบวา นกั เรียนขาดความกลาในการแสดง
ความคดิ เห็นหรือการแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ ซง่ึ กนั และกัน ซง่ึ ในสถานการณป จจุบันที่มกี ารจัดการเรยี นการสอนในรปู แบบออ
นไลน ทาํ ใหน กั เรียนไมก ลาที่จะยกมอื เปดไมโครโฟนถาม ไมก ลาตอบหรือแสดงความคดิ เห็น จึงทําใหนักเรียนไมค อยมีสว นรว มกับ
กจิ กรรมในช้ันเรยี น ดังนนั้ ผูส อนจงึ เลือกใชกระดาน padlet เขามาชวยในการจดั การเรียนการสอน เพื่อใหน กั เรยี นสามารถ
เขา ไปแลกเปล่ยี นแสดงความคิดเหน็ ระหวา งนักเรยี นดวยกนั เอง ระหวา งนกั เรียนและผูสอน และกระตุนใหน ักเรียนมีสวนรวมใน
กิจกรรมการเรียนรู

วตั ถุประสงค ประโยชนทคี่ าดวาจะไดร ับ

เพ่อื ศกึ ษาผลการใชก ระดานแลกเปลีย่ นเรยี นรู padlet 1. นกั เรยี นมสี วนรวมในการแลกเปล่ยี นเรียนรูใ นชนั้ เรียนมากข้นึ
ชวยในการจัดการเรยี นการสอน เรอื่ ง ลกั ษณะทางกายภาพใน 2. นกั เรยี นมีผลการเรยี น เรือ่ ง ลักษณะทางกายภาพในจังหวดั
จังหวดั ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 4 ทีส่ งู ข้ึน

วธิ กี ารดาํ เนินการ ผลการวิจยั

1. ศึกษาประเด็นปญ หา ในจากการจดั การเรยี น ผลการใชก ระดานแลกเปล่ียนเรียนรู padlet ชวยในการจัดการเรยี น
การสอนในวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม การสอน เร่ือง ลักษณะทางกายภาพในจงั หวัด ของนกั เรยี นชั้นประถม
ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 4 ศกึ ษาปที่ 4 ทําใหน ักเรียนมีสว นรว มการแลกเปลีย่ นเรยี นรใู นช้ันเรียน
มากย่ิงขึ้น และผลการเรียนของนกั เรียนสงู ขน้ึ และผานเกฑณท ี่กาํ หนด
2. ศึกษาการใชแ อปพลเิ คชัน่ Palet และนาํ มา
ออกแบบกิจกรรมในการจดั การเรียนการสอน รปู ภาพการวจิ ัย

3. ดาํ เนินการสอนตามแผนการจดั การเรียนรู โดย
ใชกระดาน palet เรอ่ื ง ลักษณะทางกายภาพในจงั หวัด

4. บันทึกหลงั การสอน และวเิ คราะห สรปุ ผลการ
ใชก ระดานแลกเปลยี่ นเรยี นรู padlet ชวยในการจดั การ
เรยี นการสอน

ผูวจิ ยั

นางสาวนรู ซาฮดี า ยะโกะ

ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก

สํานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วจิ ัยในช้ันเรยี น

ผลการใชก ระดานแลกเปลยี่ นเรียนรู padlet ชว ยในการจดั การเรยี นการสอน
เร่ือง ลักษณะทางกายภาพในจังหวัด ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปท ี่ 4

ความเปนมาและความสําคญั

ในการจัดการเรียนการสอนในวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท่ผี า นมา พบวา นกั เรียนขาดความกลาในการแสดง
ความคดิ เห็นหรือการแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ ซง่ึ กนั และกัน ซง่ึ ในสถานการณป จจุบันที่มกี ารจัดการเรยี นการสอนในรปู แบบออ
นไลน ทาํ ใหน กั เรียนไมก ลาที่จะยกมอื เปดไมโครโฟนถาม ไมก ลาตอบหรือแสดงความคดิ เห็น จึงทําใหนักเรียนไมค อยมีสว นรว มกับ
กจิ กรรมในช้ันเรยี น ดังนนั้ ผูส อนจงึ เลือกใชกระดาน padlet เขามาชวยในการจดั การเรียนการสอน เพื่อใหน กั เรยี นสามารถ
เขา ไปแลกเปล่ยี นแสดงความคิดเหน็ ระหวา งนักเรยี นดวยกนั เอง ระหวา งนกั เรียนและผูสอน และกระตุนใหน ักเรียนมีสวนรวมใน
กิจกรรมการเรียนรู

วตั ถุประสงค ประโยชนทคี่ าดวาจะไดร ับ

เพ่อื ศกึ ษาผลการใชก ระดานแลกเปลีย่ นเรยี นรู padlet 1. นกั เรยี นมสี วนรวมในการแลกเปล่ยี นเรียนรูใ นชนั้ เรียนมากข้นึ
ชวยในการจัดการเรยี นการสอน เรอื่ ง ลกั ษณะทางกายภาพใน 2. นกั เรยี นมีผลการเรยี น เรือ่ ง ลักษณะทางกายภาพในจังหวดั
จังหวดั ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 4 ทีส่ งู ข้ึน

วธิ กี ารดาํ เนินการ ผลการวิจยั

1. ศึกษาประเด็นปญ หา ในจากการจดั การเรยี น ผลการใชก ระดานแลกเปล่ียนเรียนรู padlet ชวยในการจัดการเรยี น
การสอนในวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม การสอน เร่ือง ลักษณะทางกายภาพในจงั หวัด ของนกั เรยี นชั้นประถม
ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 4 ศกึ ษาปที่ 4 ทําใหน ักเรียนมีสว นรว มการแลกเปลีย่ นเรยี นรใู นช้ันเรียน
มากย่ิงขึ้น และผลการเรียนของนกั เรียนสงู ขน้ึ และผานเกฑณท ี่กาํ หนด
2. ศึกษาการใชแ อปพลเิ คชัน่ Palet และนาํ มา
ออกแบบกิจกรรมในการจดั การเรียนการสอน รปู ภาพการวจิ ัย

3. ดาํ เนินการสอนตามแผนการจดั การเรียนรู โดย
ใชกระดาน palet เรอ่ื ง ลักษณะทางกายภาพในจงั หวัด

4. บันทึกหลงั การสอน และวเิ คราะห สรปุ ผลการ
ใชก ระดานแลกเปลยี่ นเรยี นรู padlet ชวยในการจดั การ
เรยี นการสอน

ผูวจิ ยั

นางสาวนรู ซาฮดี า ยะโกะ

ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก

สํานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วิจัยในชน้ั เรยี น

การพฒั นาทกั ษะการคิดดว ยวธิ กี ารสืบคนและสรุปขอมลู
เร่อื ง การพัฒนาทักษะการอานโนตดนตรตี ะวนั ตกของ นักเรียนดวยแบบฝก

ทกั ษะของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที่ 4 ปการศกึ ษา 2564
โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสําคญั

การพัฒนาความสามารถในการปฏิบตั เิ คร่ืองดนตรีสากลนน้ั ผสู อนรายวชิาดนตรสี ากลไดมองเห็นถึง ความตัง้ ใจและใฝ
เรยี นรขู องนักเรียนในรายวชิ าดนตรี หนวยการเรียนรูเรื่องโนตสากล โดยอา งองิ จากผลสมั ฤทธิร ายวิชาทีน่ กั เรยี นมีผลการ เรยี นเกนิ
รอ ยละ 80 และกจิ กรรมของนักเรียนภายในชมรมดนตรี จากเหตุผลดังกลาว ในฐานะครผู สอู น รายวิชาดนตรีและครทู ่ีปรึกษา
ชมรมดนตรี จงึ มคี วามสนใจท่ีจะศึกษาคนควาหาวิธกี าร เพื่อใชในการพัฒนา ความสามารถในการปฏิบตั ิดนตรขี องผเู รยี นตอ ไป

วัตถุประสงค ประโยชนท ีค่ าดวาจะไดร บั
เพือ่ พฒั นาทกั ษะการอานโนตดนตรีตะวันตกของ นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปที่ 4มที ักษะในการ
นักเรียนดวยแบบฝก ทักษะ ปฏิบตตั ิดนตรสี ากลไดดขี นึ รวมถงึ สามารถทํา การแสดงดนตรี
สากลไดดขี ึ้น
วิธีการดําเนนิ การ
ผลการวิจัย

1.ครูสงั เกตพฤติกรรมการสอนของครูและพฤติกรรมการ นักเรยี นมีการพฒั นาทักษะไดเ ร็วขนึ อยา งเห็นไดด ี โดยอา งอิง
เรียนรขู องนกเั รยี นจากนน ั มาทา การจดบนั ทกึ สรุปประ ไดจากผลของแบบฝกหดั กอนใชแ บบบฝกและ หลงั จากการ
จ าสัปดาห สปั ดาหล ะ 1 ครัง ผานนการใชแบบฝก
2. แบบตารางดาํ เนินการสอนของครู 12ครงั = 1/สปั ดาห
3. แบบทดสอบแบบฝก อา นและปฏิบติัตามโนต สากล รปู ภาพการวิจยั
4. แบบตารางคะแนนในการ อานและปฏบิ ตัติ ามโนต
สากลของนกั เรียนแตละคน ผูวิจัย
5. ไดน ํา แบบฝก การอานโนต สากลและการ
ปฏิบตัิเครื่องดนตรีมาวเิคราะหผ ลการเรียนรู นายชวลิต แดงเพง็

ตําแหนง ครู โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก

สํานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วจิ ัยในชน้ั เรยี น

เรอ่ื ง แกปญหานกั เรยี นเขียนสะกดคาํ ไมถ กู ตอ ง
ของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที่ 5 ปการศกึ ษา 2564 โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสําคญั

จากการจดั การเรยี นการสอนรายวิชาภาษาไทย ภาคเรยี นที่ 1 ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 5 ทกุ ปการศึกษาที่ผานมา พบ
ปญหาเมือ่ ครใู หน กั เรยี นอานบทเรยี นหรือหนังสือนอกเวลา แลว กาํ หนดคาํ ใหนกั เรยี นเขยี นตามคําบอกจากคําที่ครูกาํ หนดข้ึน
นักเรียนจะไมสามารถเขียนคาํ ไดถูกตอง ตามมาตราตวั สะกดตา งๆ ครูผสู อยนจงึ าเกิดความคดิ ท่ีวาใหนักเรยี นคน หาคําศัพทท ี่
สะกดดวยมาตราตัวสะกดตา งๆจากหนงั สอื พิมพหรอื วารสารตางๆ และการฝกใหนักเรยี นไดเ ขียนสะกดคาํ บอ ยๆ จะชวยให
นักเรยี นเขียนสะกดคาํ ไดมากยิง่ ขนึ้

วตั ถปุ ระสงค ประโยชนท ่ีคาดวา จะไดร บั

การไดคนคาํ ศพั ทต ามทน่ี กั เรยี นสนใจ และฝกเขยี น 1.ผเู รยี นเขียนสะกดคําไดถ ูกตองมากข้นึ
บอ ยๆจะชวยทาํ ใหนักเรยี นเขียนสะกดคํา(คําศพั ท)ในมาตรา 2.ผูเรียนเขาใจและนาํ มาตราตวั สะกดตา งๆไปใชไ ดถกู ตอ ง
ตัวสะกดตา งๆไดถกู ตอ งมากย่ิงขึ้น
ผลการวจิ ัย
วธิ ีการดาํ เนนิ การ ผลจากการจดั การเรยี นรโู ดยใหนักเรยี นคน หาคาํ ศัพท
1. ทดสอบกอ นเรยี นโดยใหน ักเรียนคนควา หาคาํ ทีส่ ะกดดว ยมาตราตัวสะกดตา งๆจากหนงั สือพิมพห รือวารสาร
ศัพทจ ากหนงั สือพมิ พ วารสารตางๆทกุ มาตราตวั สะกด ตางๆ นกั เรยี นมีความเขาใจมากย่งิ ขึน้ มเี พยี ง 2 มาตราท่ียงั
2. ตรวจผลงานนกั เรยี น บนั ทกึ คะแนน โดยแบง เกิดความสับสน คือ แมก ก และแมกด
คะแนนเปน
รปู ภาพการวจิ ยั
- การเขียนตัวสะกดโดยใชมาตราตัวสะกด
- การเขยี นโดยใชตวั สะกดท่ีไมตรงตามมาตรา ผวู ิจัย
ตวั สะกด
3. บันทึกคะแนน นางสาวอังคณา เกดิ พมุ
4. เขยี นสะกดคําจากใบงาน
5. ตรวจผลงาน โดยใชเ กณฑเดียวกบั การตรวจ ตําแหนง ครู โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก
แบบทดสอบกอ นเรยี น
6. บนั ทกึ คะแนน
7. เปรยี บเทยี บคะแนนตามเกณฑที่กําหนด
8. สรุปผลการวิจยั

สํานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วิจยั ในชัน้ เรียน

เรอ่ื ง การเรียนรูใ นการประหยัดเงนิ
ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 5 ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนบา นสุไหงโก-ลก

ความเปน มาและความสําคัญ

จากการศึกษาหาขอมลู ของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 5 โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก ไดร ับคาขนมจากผูปกครองเพ่อื เปน
คาขนม และคาใชจ า ยสวนตัวอนื่ ๆ ในแตละวนั ไดมกี ารซือ้ ขนมทานเลน ซอื้ สงิ่ ของที่อยากได แตเวลาจา ยเงินมกั จะไมเ คยคดิ
พจิ ารณาและไมเคยนับเงินคงเหลอื หรอื เงนิ ทอนจากรานคา ครจู งึ สอบถามและแนะนําใหน กั เรียนรูจกั คณุ คา และวธิ กี ารใชจาย
เงินอยา งคุม คา และรูจ ักประหยดั อดออม

วตั ถปุ ระสงค ประโยชนท ีค่ าดวา จะไดร บั

1. เพอ่ื ใหนกั เรียนรจู กั คุณคาของเงนิ นกั เรยี นมพี ฤติกรรมในการใชจา ยเงินท่ดี ขี ึ้น และเห็น
2. เพ่อื ใหน กั เรยี นรูจกั ประหยัดและออมเงนิ ความสาํ คัญของการใชเงนิ และการออมเงนิ เพ่ิมมากข้นึ
3. เพ่ือใหน กั เรียนสามารถทาํ บญั ชีครัวเรอื นไดดว ยตนเอง

วิธีการดําเนนิ การ ผลการวิจยั
1. การเลานทิ าน และดูการตนู พรอมยกตัวอยา ง นักเรยี นมพี ฤตกิ รรมในการใชจายเงนิ ท่ีดีขนึ้ และ
เกย่ี วกับการใชเ งิน การประหยดั และออมเงนิ เห็นความสําคัญของการใชเงนิ เพม่ิ มากข้ึน ครแู ละผปู กครอง
2. ฝก ใหน กั เรยี นคดิ อยา งมีเหตผุ ลในการใชจาย รว มมอื กันอยางใกลชดิ และพรอ มปลูกฝง นักเรยี นใหเ ห็น
เงิน และเลอื กซอ้ื ของ ความสาํ คญั ของการใชเงินและการออม
3. ฝกใหนักเรยี น รจู กั ออมเงินทีเ่ หลอื ใชจ า ย
อยางระมดั ระวงั รูปภาพการวจิ ยั
4. ฝกใหน ักเรยี นทําบญั ชคี รวั เรอื น และรจู ักเกบ็
สะสมเงนิ เพ่ือใชในอนาคต ผูวิจยั

นางสาวรซู ลณี ี เซะนาราเซะ

ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลก

สาํ นกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วจิ ยั ในช้นั เรียน

การพฒั นาการอานออกเสยี งคาํ ศัพทภ าษาองั กฤษโดยใชช ดุ แบบฝก 13 ชุด
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสาํ คัญ

จากการจัดการเรยี นการสอนรายวิชาภาษาองั กฤษ ภาคเรียนท่ี2/2564 ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 5/2 พบปญ หา
นกั เรียนขาดทกั ษะการอา นออกเสียงรายวชิ า ภาษาอังกฤษ ผสู อนไดว ิเคราะหสภาพปญ หาจากการทดสอบการอา น ตรวจช้ินงาน
ใบงาน ตรวจขอ สอบ พบวา ผูเรยี นขาดทักษะสาํ คัญในเรื่องการอา นออกเสียง การอานออกเสยี งเปนทักษะพ้นื ฐานในการเรียน
ภาษาองั กฤษ ซงึ่ จะสง ผลใหนกั เรยี นมกี ารพฒั นาทักษะการเรียนในดา นอ่ืน ๆ ตามมา เพราะการอานที่ถูกตองจะทาํ ใหน ักเรียน
เขียนตวั สะกดไดถกู ตอง นอกจากน้กี ารอานออกเสยี งไดถกู ตอง จะทาํ ใหน กั เรียนมคี วามมนั่ ใจมากยง่ิ ข้นึ

วตั ถุประสงค ประโยชนท ีค่ าดวาจะไดร ับ
เพอ่ื พฒั นาและเพิ่มทกั ษะการอา นออกเสียงคาํ ศัพท
ภาษาอังกฤษโดยใชโ ดยใชชดุ แบบฝก 13 ชดุ นกั เรยี นมที ักษะการอา นออกเสยี งคาํ ศัพท ในรายวิชาภาษา
อังกฤษดีข้ึน และมีความม่นั ใจในการอานมากขนึ้ ทําใหผ ล
สมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าภาษาองั กฤษดขี น้ึ

วธิ กี ารดําเนินการ ผลการวิจัย

1. นกั เรยี นทําแบบทดสอบกอนเรียน ( Pretest ) ได ผลจากการจดั การเรยี นรูพบวา นักเรยี นมีทักษะการอา น
นักเรียนกลุมเปา หมายท่ที ําคะแนน แบบทดสอบต่ํากวา ออกเสยี งคาํ ศัพท ในรายวิชาภาษาองั กฤษดีขนึ้ และมีความ
รอยละ 20 จํานวน 10 คน มั่นใจในการอานมากขึน้ ทาํ ใหผ ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนดีขึ้น
2.สรา งและกาํ หนดรูปแบบการพฒั นาทกั ษะการอา น และ
แบบฝกหดั เพ่ือพัฒนาทักษะการอา นตามข้นั ตอน ตอไปนี้ รปู ภาพการวิจัย

2.1 แจงตารางเทียบพยญั ชนะและสระใหนกั เรียนศกึ ษา ผวู ิจัย
พรอ มท้งั อธิบายประกอบ
นางสาวฮายาตี อารง
2.2 ทบทวนความรูเก่ยี วกบั การออกเสยี งสระ 2
ประเภท คอื สระเด่ียวและสระผสม ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก

2.3 นกั เรียนทาํ แบบฝก ชดุ ท่ี 1-13 ทก่ี าํ หนดไวแ ละ3.
3.นักเรียนทาํ แบบทดสอบหลังเรยี น ( Posttest )

สํานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วจิ ยั ในชน้ั เรยี น

การทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรยี น
ตามแบบทดสอบของกระทรวงสาธารณสขุ
ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปท ี่ 5 ปการศึกษา 2564 โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสําคญั

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย เปนสงิ่ สําคัญอยางยง่ิ ในการจดั การเรยี นการสอนกลุม สาระการเรียนรสู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
เปน ดัชนีบงชีใ้ หทราบถึงพัฒนาการดานรา งกายของนกั เรียนวา มภี าวะดา นรางกายเปลยี่ นแปลงไปในทศิ ทางใด และสามารถนาํ
ขอ มูลของนกั เรียนมาปรับปรงุ แกไ ขขอ พบพรองแบบกลมุ และรายบุคคลได สามารถพัฒนาสงเสรมิ ความสามารถทางดา นกฬี า
หรอื สง เสรมิ การออกกาํ ลังกาย รวมทั้งพฒั นาทกั ษะในการดําเนนิ ชวี ิตประจําวนั ตลอดจนนํามาแกไข ปรับปรงุ เทคนิกการฝกซอม
กฬี า และจัดการเรียนการสอนกลมุ สาระการเรียนรสู ุขศึกษาและพลศกึ ษาใหมีประสิทธิภาพมากยงิ่ ขึน้

วตั ถุประสงค ประโยชนท ่ีคาดวาจะไดร ับ

เพื่อศึกษาขอ มลู ดานสมรรถภาพทางกายของนกั เรียน นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 5 มสี มรรถภาพทางกายทด่ี ี
นาํ มาเสรมิ สรา งใหร า งกายมสี มรรถภาพทางกายดขี ้ึนทุกดา น ผา นเกณฑการประเมินทกุ รายการ

วิธกี ารดาํ เนนิ การ ผลการวิจยั
1. เตรยี มความพรอ มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท ี่ 5 จากการเกบ็ ขอ มูลนกั เรียน นาํ มาวิเคราะห และสรปุ ผลตาม
2. สํารวจขอ มูลนักเรยี น อาย/ุ นาํ หนกั /สวนสงู ระดับเกณฑม าตรฐาน 4 ดาน พบวาสมรรถภาพของนกั เรียน
3. เตรยี มอปุ กรณการทดสอบ อยใู นเกณฑดี รอยละ 60.47 / ปรบั ปรุง รอ ยละ 39.53

- แบบบนั ทกึ /เบาะ/ลวู ิ่งทางเรียบ/นากิ าจับเวลา รปู ภาพการวิจัย
4. ทดสอบสมรรถภาพทางกาย 4 รายการ
ผูวจิ ยั
4.1 น่ังงอตวั ไปขา งหนา
4.2 ลกุ -นั่ง 60 วนิ าที นายอนุรกั ษ ชูจนั ทร
4.3 ดนั พนื้ 30 วนิ าที
4.4 วิง่ ระยะไกล 1,200 เมตร ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก
5. ประเมินการทดสอบตามเกณฑมาตรฐาน
6. สรุปผลการทดสอบ แนะนาํ การเสริมสรา ง
สมรรถภาพสาํ หรับนกั เรียนทีไ่ มผ านเกณฑก ารทดสอบ

สํานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วจิ ัยในช้ันเรียน

การพฒั นาทักษะการคดิ วเิ คราะหการแกโจทยปญ หาคณติ ศาสตร
โดยการจดั กิจกรรมแบบ Active Learning
เรื่อง บญั ญัตไิ ตรยางศ

ของนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 5 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก

ความเปน มาและความสาํ คญั

จากการจดั การเรยี นการสอนในรายวิชาคณติ ศาสตร ซึ่งเปนวิชาทเ่ี นนใหผูเรยี นรจู ักการคดิ วเิ คราะห แกไ ขปญหา
อยา งมเี หตุผล แตก ารคดิ วเิ คราะหจะตอ งมาจากการอาน การทาํ ความเขา ใจคาํ หรือภาษา ซึง่ พบวา ผูเ รยี นขาดทกั ษะการคิด
วเิ คราะห ไมส ามารถบอกไดว าโจทยข อนม้ี ีวธิ หี าคําตอบอยา งไร โจทยก ําหนดอะไรมาใหบ าง และสงิ่ ท่โี จทยตองการรูคืออะไร
ปญ หาดังกลาวเกดิ จากผูเรียนไมไดค นพบองคค วามรดู ว ยตนเอง เมือ่ พบสถานการณต า ง ๆ ในโจทยปญหาจงึ ไมสามารถนําไป
ประยกุ ตใ ชไ ดอ ยา งถกู ตอ ง ดงั น้นั เพอื่ ใหผ ูเ รียนเกดิ การพฒั นาทักษะการคิดวิเคราะหการแกโจทยป ญหาคณิตศาสตร ครูจึงจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Active Learning ใหกับนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที่ 5

วัตถปุ ระสงค ประโยชนท ีค่ าดวา จะไดรับ
เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดวเิ คราะหการแกโ จทยป ญ หา นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ทจ่ี ดั การเรียนการสอน
คณิตศาสตร โดยการจดั กิจกรรมแบบ Active Learning โดยการจัดกิจกรรมแบบ Active Learning มีทักษะการคิด
เรื่องบญั ญตั ิไตรยางศ ของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 5 วิเคราะหก ารแกโ จทยป ญ หา เร่อื งบัญญตั ไิ ตรยางศสูงขน้ึ

วิธกี ารดําเนินการ ผลการวิจยั

1. ศึกษาสภาพปญหาและวิเคราะหประเดน็ ผลจากการจัดการเรยี นรเู พื่อพัฒนาทักษะการคดิ วเิ คราะห
ปญ หาจากการจดั การเรยี นการสอนวชิ าคณติ ศาสตร การแกโจทยป ญหา โดยการจัดกจิ กรรมแบบ Active Learning
ชั้นประถมศึกษาปท ่ี 5 เร่อื งบญั ญัตไิ ตรยางศ ทําใหนกั เรยี นมีทักษะการคิดทีส่ ูงขน้ึ

2. ออกแบบการจดั การเรียนรูโ ดยการจัด รูปภาพการวจิ ัย
กิจกรรมแบบ Active Learning และสรางแบบทดสอบ
วัดความสามารถในการแกโจทยปญ หากอนเรียน ผูวิจัย

3. นักเรยี นทําแบบทดสอบวดั ความสามารถ นางสาวณฐั นันท พฒุ ยืน
ในการแกโ จทยป ญหากอ นเรียน
ตาํ แหนง ครู โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก
4. ดําเนนิ การจดั การเรยี นการสอนโดยการจดั
กจิ กรรมแบบ Active Learning เรื่องบัญญัตไิ ตรยางศ

5. นกั เรยี นทําแบบทดสอบวดั ความสามารถ
ในการแกโจทยปญ หาหลังเรยี น

6. บนั ทึกหลงั สอน สะทอนคิด ปรบั ปรุง แกไข
และสรปุ ขอมลู

สาํ นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วจิ ัยในช้นั เรียน

การอานโนต ดนตรีสากล
ของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 5 ปการศกึ ษา 2564

โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสําคัญ

จากการสอนและการสังเกตผูเรียนในระดับชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 5 นกั เรียนสว นใหญทราบโนตทางดนตรใี นรปู
แบบของ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที ซึ่งเปน รูปแบบของการอา นในโนต ดนตรไี ทย จงึ ทาํ ใหนักเรยี นไมเหน็ ความสาํ คญั ของ
การอานโนตดนตรสี ากล ทาํ ใหน ักเรยี นไมสามารถอา นโนตดนตรสี ากลได สง ผลตอ การเรยี นและการปฏิบัติเครอื่ งดนตรี
จากทีก่ ลาวมาขา งตน ผวู ิจัยไดเ ลง็ เหน็ ถงึ ความสาํ คัญขององคประกอบของดนตรี เรอื่ ง การอา นโนต ดนตรสี ากล ซง่ึ เปน
ทักษะพ้นื ฐานสาํ คัญทสี่ งผลใหน ักเรียนในระดบั ช้ันประถมศกึ ษาท่ี 5 สามารถนําไปพัฒนาตอยอดความรูสูภ าคการปฏิบตั ิ
ได

วตั ถุประสงค ประโยชนที่คาดวา จะไดร บั

เพอื่ พัฒนาทักษะการอา นโนต ดนตรสี ากลของนกั เรยี น นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 5 มที ักษะการอานโนต
ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ 5 ดนตรสี ากลทสี่ ูงขนึ้

วธิ กี ารดาํ เนนิ การ ผลการวจิ ยั

1. เตรยี มความพรอมนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาป ผลจากการจัดการเรียนรูพบวานักเรียนมีทกั ษะการอาน
ท่ี 5 โนต ดนตรีสากลดีขึ้น ทําใหผ ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นดขี ึน้

2. ผูสอนไดทาํ การทบทวนโดยการเจาะลึกราย รูปภาพการวิจัย
ละเอียดและทาํ การสาธติ การอา นใหนักเรียนฟง
ผวู ิจยั
4. ผูสอนเปด ภาพใหนักเรยี นดูและอธบิ าย
ลักษณะการอานท่ีถูกตอ ง นายวรวรรณ คงชดู วง

4. ทําการทดสอบ ตําแหนง ครู โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก
5. ประเมินการทดสอบตามเกณฑมาตรฐาน
6. สรุปผลการทดสอบ

สาํ นกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วิจยั ในชนั้ เรียน

การพฒั นาทักษะการคิดดว ยวิธกี ารตอบคําถามและสรปุ ขอ มูล
เรอื่ ง สขุ บญั ญตั แิ หง ชาติ ผา นกระบวนการ PLC

ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปท ี่ 5 ปการศกึ ษา 2564 โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสําคญั

จากการจัดการเรียนการสอนรายวชิ าสขุ ศึกษา ภาคเรยี นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 ทุกปการศึกษาท่ผี านมา พบ
ปญ หานกั เรยี นขาดทักษะการคดิ ผูส อนไดว เิ คราะหส ภาพปญ หาจากการทดสอบการอา น การตอบคําถาม ตรวจแบบฝก หดั ตรวจ
ขอสอบ พบวา ผูเรยี นขาดทกั ษะการคดิ ซงึ่ ทําใหผ เู รียนไมส ามารถสรปุ ผลการทาํ กจิ กรรมในบทเรยี นนนั้ ๆ ได ทาํ ใหคะแนนใน
การทํากิจกรรมในทกุ บทเรยี นไมเปนไปตามเปาหมายของแบบประเมนิ ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ครผู สู อนจึงอยากแกไขปญ หาการ
คิดในกลมุ สาระสุขศึกษาและพลศกึ ษาของนักเรยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ 5 ดว ยวธิ กี ารสืบคนและสรปุ ขอมลู ผา น
กระบวนการ PLC

วัตถปุ ระสงค ประโยชนท ี่คาดวา จะไดรบั

เพ่อื พัฒนาทกั ษะการคิดของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษา นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 5 มีทกั ษะการคดิ
ปท่ี 5 ดว ยวธิ ีการตอบคาํ ถามและสรุปขอ มลู เร่อื ง สขุ บญั ญัติ ในกลุมสาระสุขศกึ ษาและพลศึกษาทส่ี ูงขนึ้
แหงชาติ

วธิ ีการดําเนนิ การ ผลการวจิ ัย

1. สรางทมี PLC กลุมสาระสุขศกึ ษาและ ผลจากการจัดการเรยี นรูดวยวธิ ีการตอบคําถามและ
พลศกึ ษา สรุปขอมูล โดยการสงแผนผังความคิด(Mind map) เรอ่ื ง สขุ
บัญญตั แิ หง ชาติ ทาํ ใหน กั เรียนมที ักษะการคิดทีส่ ูงข้ึน
2. วิเคราะหป ระเด็นปญ หา โดยใชท มี PLC
กลุม สาระสุขศกึ ษาและพลศึกษา รปู ภาพการวจิ ัย
3. ออกแบบการจัดการเรยี นรแู ละปฏิบัติการสอน
ดวยวธิ ีการตอบคาํ ถามและสรปุ ขอ มลู ผวู ิจยั
4. เปดช้นั เรยี น สงั เกตชั้นเรียน แกไขปญหา
ผเู รยี นและพัฒนานวตั กรรมดวยกระบวนการ PLC นางสาวซูลนตี า ดือเลาะ
5. บนั ทึกหลงั สอน สะทอ นคิด ปรบั ปรุง แกไ ข ตาํ แหนง ครูผสู อน โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลก
และพัฒนานวัตกรรม
6. ภาระงานทสี่ ะทอนทักษะการคิดจาก
การตอบคาํ ถามและสรุปขอมลู

สาํ นกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วิจัยในชน้ั เรียน

การพัฒนาชุดฝกทักษะ รายวชิ าเพิ่มเติมคอมพวิ เตอร
เร่อื ง การสรางงานเเอกสารโดยใชโ ปรแกรมไมโครซอฟทเวริ ด 2016
ของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 5 ปการศกึ ษา 2564 โรงเรียนบานสุไหงโก-ลก

ความเปน มาและความสาํ คัญ

จากการจัดการเรียนการสอนรายวิชาคอมพวิ เตอร ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 5 พบปญ หานกั เรยี นขาดทกั ษะ
กระบวนการคิด การจัดการ การเผชญิ สถานการณ และประยุกตใชค วามรูเพือ่ ใชป อ งกนั และแกไ ขปญ หา
การออกแบบ ตลอดจนการใฝรอู ยา งตอเน่ือง ผสู อนไดวเิ คราะหส ภาพปญหา ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีสงเสรมิ ใหผ ูเรยี น
พัฒนาความคดิ ทง้ั ความคิดเปน เหตเุ ปนผล คิดสรา งสรา งสรรค คดิ วิเคราะหว ิจารณ มที กั ษะที่สาํ คัญทั้งทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตรและทักษะในศตวรรษท่ี 21 ในการคนควา และสรางองคค วามรดู ว ยกระบวนการสืบเสาะหาความรู สามารถแกป ญ หา
อยางเปน ระบบ สามารถตัดสินใจโดยใชขอมลู หลากหลายและประจกั ษพ ยานทต่ี รวจสอบได

วัตถปุ ระสงค ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรบั

เพอื่ พฒั นาและหาประสทิ ธิภาพของชุดฝกทกั ษะ นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 1 มีทกั ษะการคิด
รายวชิ าเพมิ่ เติม คอมพวิ เตอร เรือ่ ง การสรา งงานเอกสารโดย ในรายวทิ ยาศาสตรทสี่ งู ข้นึ
ใชไ มโครซอฟเวิรด ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 5

วธิ ีการดาํ เนินการ ผลการวจิ ัย

1. สรางทีม PLC กลมุ สาระวทิ ยาศาสตรแลt ผลจากการจดั การเรยี นรดู วยวธิ กี ารสบื คนและสรปุ
เทคโนโลยี ขอ มลู โดยการสง ช้ินงานนําเสนอ เรือ่ งการสรา งงานเอกสาร
โดยใชไมโครซอฟเวิรด ทาํ ใหน ักเรยี นมที กั ษะการคดิ ทสี่ งู ขนึ้
2. วเิ คราะหป ระเด็นปญ หา โดยใชทีม PLC
กลุม สาระวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รปู ภาพการวิจัย

3. ออกแบบการจดั การเรยี นรูแ ละปฏบิ ตั กิ ารสอน ผวู ิจัย
ดว ยวธิ กี ารสืบคน และสรปุ ขอ มลู
นางลกั ษมี สาและ
4. เปดชนั้ เรียน สังเกตชน้ั เรียน แกไ ขปญ หา
ผูเรียนและพัฒนานวตั กรรมดวยกระบวนการ PLC ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลก

5. บันทึกหลงั สอน สะทอนคิด ปรบั ปรุง แกไข
และพฒั นานวัตกรรม

6. ภาระงานทส่ี ะทอนทกั ษะการคดิ จาก
การสบื คนและสรปุ ขอมลู

สํานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วจิ ัยในชั้นเรียน

เรอื่ ง การแกปญ หาการเขยี นคาํ ภาษาไทยไมถ ูกตอ ง
ของนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 5/2 โดยใชแบบฝกหดั เขยี นไทย

ความเปน มาและความสําคัญ

วชิ าภาษาไทยเปนวชิ าท่ีสาํ คญั และเปน พื้นฐานของการเรียนในทกุ วิชา เดก็ นกั เรยี นควรจะมีทกั ษะในการอานและการ
เขยี นไดถ กู ตองในกลมุ ภาษาไทย พบวา จากผลสัมฤทธิ์ของเด็กนักเรยี นทเ่ี รียนมาในระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๕/๒ มีเด็กนักเรียน
ทเี่ ขยี นคําในภาษาไทยไมถ ูกตอง จงึ เปน ปญหาท่ตี องแกไ ขและพฒั นาเดก็ ที่มปี ญ หาใหดีขึน้

ฉะนั้นครผู สู อนจึงตอ งมีการคดิ วธิ กี ารทีจ่ ะแกไ ขปญหาน้ี โดยการนาํ แบบฝก เขียนไทยมาใหนักเรียนไดฝก ทําเพ่ือจะได
เขียนภาษาไทยไดถกู ตอ งและมีผลสัมฤทธิ์ของนกั เรยี นในช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๕/๒ ใหมีเกณฑท ดี่ ขี ึน้

วัตถุประสงค ประโยชนท ค่ี าดวาจะไดรบั

เพื่อแกป ญ หาการเขียนภาษาไทยไมถ กู ตองของ นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๕/๒ จาํ นวน ๑๐ คน เขียนคาํ
นักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๕/๒ โดยใชแบบฝก หดั เขยี นไทย ภาษาไทยไดด ีขน้ึ

วิธีการดําเนนิ การ ผลการวจิ ยั

1. ทดสอบความสามารถในการเขียนคําภาษาไทย นกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปที่ ๕/๒ จาํ นวน ๑๐ คน
กอ นการฝกและสรุปผล มีความสามารถในการเขยี นคาํ ภาษาไทยดีข้นึ

2. ฝก เขียนคาํ ประกอบภาพและเขยี นคาํ ในมาตรา รปู ภาพการวิจยั
แม ก. กา และมาตราตัวสะกดทัง้ ๘ มาตรา ไดแก
ผวู ิจัย
- แม กก
- แม กง นางสาวนัฐกานต หมานจันทร
- แม กด
- แม กน ตําแหนง ครู โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก
- แม กม
- แม เกย
- แมเกอว

3. ทดสอบความสามารถในการเขียนคําในมาตราแม
ก.กา และมาตราตวั สะกดทงั้ ๘ มาตรา

4. สรปุ ผล
5. สรุปรายงานวจิ ยั

สํานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วจิ ัยในชัน้ เรยี น

การพฒั นาสมาธิในการเรียนโดยใชช ุดกิจกรรมการสรางสมาธิ
ของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 5/3 โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสําคัญ

จากสภาพการเรียนการสอนออนไลน จรงิ พบวา ยังมีนักเรียนทข่ี าดสมาธใิ นการเรยี น คอื ชอบคุย ปดกลองอุปกรณ
การเรยี น เหมอลอย และเปดไมโคโฟนโดยไมใ ชเ หตุ จาํ นวน 3 คน ซงึ่ เปนปญ หาในหลาย ๆ ดา น ท้ังตอนกั เรยี น ครู และ
เพอื่ นในหองเรียนออนไลน นอกจากนี้ ยังทําใหก ารเรียนการสอนตองสะดุดชา ไป เนื่องจากตอ งคอยอธบิ ายซาํ้ อยูตลอดเวลา
ผูว จิ ยั ในฐานะเปน ครูทป่ี รึกษา เปน ผูท่ีมคี วามใกลช ดิ และอยกู บั นกั เรียนในช้นั เรยี นมากกวาผูอื่น ประกอบกับผวู ิจยั มีความมงุ ม่ัน
ทจี่ ะใหน ักเรียนทกุ คนมคี วามเสมอภาค ในการไดรับองคความรแู ละประสบการณใ นการเรยี นรู จงึ ไดมกี ารสรางชุดกิจกรรม
สรางสมาธิขนึ้ มา โดยหวงั เปน อยางย่ิงวา จะสามารถทําใหนักเรยี นมีสมาธิในการเรยี นดขี ้นึ และเมอื่ มีสมาธิท่ดี ีแลว
กระบวนการรับรขู องนักเรยี นจะดีข้นึ ดว ย ซง่ึ จะนําไปสูการเกิดการเรียนรอู ยา งแทจ รงิ และน่ันถอื วาเปนการบม เพาะตนกลา ท่ี
จะเจริญเปน ตน ไมใหญ ใหความรมรนื่ ในอนาคตตอ ไป

วัตถุประสงค ประโยชนทีค่ าดวาจะไดรบั

เพื่อพัฒนาสมาธใิ นการเรียนของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษา ทาํ ใหน กั เรียนมีสมาธใิ นการเรยี นดขี ึน้ ตงั้ ใจเรียนมากข้นึ
ปท่ี 5/3 และเพอ่ื สรา งชดุ กจิ กรรมสรา งสมาธิ ทาํ ใหไ ดช ดุ กจิ กรรมสรางสมาธิ

วธิ กี ารดาํ เนินการ ผลการวจิ ยั

1.ชุดกิจกรรมสรางสมาธิ ประกอบดว ยบทเพลง การ การวจิ ัยในครงั้ นี้ ไมไดผล จงึ ตองวจิ ยั อีกคร้ัง
ตบมือเปน จังหวะ รูปภาพการวจิ ัย

2. บทเพลงประจําหอ ง ผูวิจยั ไดแ ตงข้นึ เพอ่ื ใหน กั เรยี น ผวู จิ ยั
รสู กึ วาเปน กลมุ เดียวกนั เสริมสรา งความสามคั คีแกกนั
นางสาวพนั ทิพา ทบั ทอง
3. หลงั จากสรางชดุ กิจกรรมสรา งสมาธิ และไดให
เพ่ือนครรู วมกันแสดงความคดิ เห็น วิเคราะหถ ึงความเปน ตําแหนง ครู โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก
ไปไดใ นการนําไปใช และวิจารณผ ลท่ตี ามมา ผวู ิจยั ไดมี
การปรบั เปลย่ี นบางสวน เพอื่ ใหช ุดกิจกรรมสรา งสมาธิ
สามารถนาํ ไปใชไ ดจริง
4.เปน ขั้นตอนทนี่ ํามาใชจรงิ โดยผูวจิ ยั ไดวางแผนวา
จะทดลองเนขปอ งนักเรยี น เวลา 4 สัปดาห โดยแตล ะ
สัปดาหจ ะมกี ารสงั เกตพฤตกิ รรม

สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วิจัยในชนั้ เรียน

การพัฒนาทกั ษะการคิดวเิ คราะหโดยใชเทคนคิ การเรยี นแบบสบื เสาะ
หาความรู 5 ขนั้ ตอน (5E) ในรูปแบบออนไลน
เรือ่ ง วัฏจักร

ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 5 ปการศึกษา 2564 โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก

ความเปน มาและความสําคญั

จากการจัดการเรียนการสอนรายวิชาวทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ 1 ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 5 ทุกปการศึกษาท่ผี านมา
พบปญหานักเรยี นขาดทักษะการคดิ ผสู อนไดว เิ คราะหสภาพปญหาจากการตอบคาํ ถาม ตรวจแบบฝก หดั ตรวจขอ สอบ พบวา
ผเู รยี นขาดทกั ษะการคิด ซึ่งทาํ ใหผูเรียนไมสามารถสรุปผลการทํากจิ กรรมในบทเรยี นน้ันๆ ได ทําใหค ะแนนในการทํากิจกรรมใน
ทุกบทเรยี นไมเปน ไปตามเปาหมายของแบบประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ ละทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ครูผูส อนจึง
อยากแกไ ขปญ หากการคิดในรายวชิ าวิทยาศาสตรข องนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ดว ยวธิ ีเทคนคิ การสอนแบบสบื เสาะ
หาความรู 5 ขัน้ (5E) ผานกระบวนการ PLC

วัตถปุ ระสงค ประโยชนท ีค่ าดวา จะไดร บั

เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการคิดวิเคราะห โดยใชเทคนคิ การเรียน นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 5 มีทักษะการคดิ
แบบสบื เสาะหาความรู 5 ขน้ั ตอน (5E) รูปแบบออนไลน ในรายวิทยาศาสตรท ี่สงู ข้นึ

วธิ กี ารดาํ เนนิ การ ผลการวจิ ัย

1. สรา งทีม PLC กลมุ สาระวิทยาศาสตรแ ลt ผลจากการจัดการเรียนรดู ว ยวธิ กี ารสบื คน และสรุป
เทคโนโลยี ขอ มลู โดยการสงคลปิ นาํ เสนอ เรอ่ื ง ยวุ วารี บา นนร้ี กั ษน า้ํ
ทําใหนักเรยี นมีทกั ษะการคิดท่สี ูงข้ึน
2. วเิ คราะหป ระเดน็ ปญหา โดยใชท มี PLC
กลมุ สาระวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รปู ภาพการวิจยั

3. ออกแบบการจดั การเรยี นรแู ละปฏิบัติการสอน ผวู จิ ัย
ดวยวิธีการสืบคน และสรปุ ขอ มูล
นางสาวสนุ ษิ า บุญชมุ
4. เปด ชั้นเรียน สังเกตชั้นเรยี น แกไขปญหา
ผเู รียนและพฒั นานวตั กรรมดว ยกระบวนการ PLC ตาํ แหนง ครู โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก

5. บันทึกหลังสอน สะทอนคิด ปรับปรงุ แกไข
และพัฒนานวตั กรรม

6. ภาระงานท่ีสะทอนทกั ษะการคิดจาก
การสืบคนและสรุปขอมลู

สํานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วิจยั ในช้นั เรียน

การพัฒนาทักษะการอานโดยใชชดุ พัฒนาทักษะเพ่อื การอา นคลอง เขยี นคลอง

ของนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 6 ปการศกึ ษา 2564 โรงเรียนบานสุไหงโก-ลก

ความเปนมาและความสาํ คญั

การอานมคี วามสาํ คัญตอชวี ิตมนุษยใ นสงั คมปจ จุบนั เปน อยา งมาก ถือเปนพื้นฐานของการศึกษาคน ควาในทุกวิชา ถา
ทักษะการอานยังบกพรอ งจะทําใหท กั ษะดา นการเขยี น การพดู การเขียนไดรบั ผลกระทบไปดว ย ผวู ิจยั ไดรบั มอบหมายใหส อนใน
รายวชิ าภาษาไทย ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 พบวา มนี ักเรยี นจํานวนหนงึ่ ท่ียังอานและเขยี นไมค ลอง จากปญ หาและสาเหตดุ ัง
กลา วจงึ มีแนวคดิ ทจี่ ะพฒั นานักเรยี นกลมุ ดังกลาว ใหส ามารถอานคลองและเขยี นคลอง เพ่อื เปนการแกไขปญหาดงั กลา ว

วตั ถปุ ระสงค ประโยชนท่ีคาดวา จะไดรบั

เพือ่ พฒั นาทักษะการอา นไมค ลอง เขยี นไมคลองของนกั เรียน นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 นักเรยี นมีการพัฒนา
ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 6 ในดา นการอา น เขยี นดีขนึ้ ตามศักยภาพ

วิธีการดําเนนิ การ ผลการวจิ ัย

321... คดั กรองนกั เรยี นท่อี าน เขียนไมคลอง จาํ นวน 2 คน ผลจากการจัดการเรยี นรทู าํ ใหน ักเรยี นมีทักษะ
3. จนัดัก.ทเรํายี ชนดุ ฝพกฒั กานราอทา กั นษใะนเเพวล่อื ากวาา รงอาเชนน คพลกัอ กงลเาขงียวนนั คลหอลงงั การอา น การเขยี นทีส่ ูงข้นึ

เลกิ เรียน รูปภาพการวิจยั

4. นกั เรียนทดสอบการอานหลังเรยี นเปน รายบคุ คล ผูว ิจัย

5. ครแู นะนาํ การอานเพม่ิ เตมิ สําหรับนกั เรียนทีย่ ังอา น นางยุภาพร สังขวารี

เขียนไมคลอง ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลก

สาํ นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วจิ ัยในชน้ั เรียน

เรื่อง เจตคตติ อ วชิ าคณิตศาสตรข องนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 6
ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสาํ คญั

เจตคติตอ วิชามีบทบาทสําคญั ในอนั ท่จี ะชวยสงเสริมการเรียนรู กลา วคอื นักเรียนจะสามารถเรียนรวู ชิ าใด ๆ ไดดขี น้ึ หาก
นกั เรยี นมีเจตคติท่ดี ตี อวชิ านนั้ ๆ ดงั นั้นนักเรยี นมเี จตคติทไ่ี มด ีตอวชิ าใด ยอ มทาํ ใหการเรยี นวชิ านน้ั ไมป ระสบผลสําเร็จเทา ที่ควร
จากการจัดการเรยี นการสอนรายวชิ าคณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 1 ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 6 พบกวา นกั เรียนที่มีเจตคติทไ่ี มดีตอ
วิชาคณติ ศาสตรก ็จะทาํ ใหการเรยี นคณิตศาสตรไมประสบผลสาํ เรจ็ ตามไปดวย ครผู สู อนจงึ เหน็ ควรศกึ ษาเจตคตทิ ่นี กั เรยี นมีตอ
วิชาคณิตศาสตรเ พื่อนําไปใชพัฒนาการเรยี นการสอนตอไป

วัตถปุ ระสงค ประโยชนท ค่ี าดวาจะไดร ับ
เพอื่ ศกึ ษาเจตคตติ อวิชาคณติ ศาสตรของนักเรียน ครทู ราบเจตคตทิ นี่ ักเรียนมีตอวิชาคณติ ศาสตรแ ละนําผล
ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 มาพัฒนาการจดั การเรียนการสอนในปการศกึ ษาตอ ไป

วธิ กี ารดาํ เนินการ ผลการวจิ ัย

1. ศึกษาสภาพปญ หาท่เี กดิ ข้นึ กบั นกั เรียน ผลจากการสอบถามขอมูล พบวา นกั เรยี มีเจตคติตอวชิ า
2. ศึกษาเอกสารทเ่ี กีย่ วกบั เจตคตติ อ วชิ าคณิตศาสตร คณติ ศาสตรอ ยใู นระดบั หน่งึ และทราบวา เนื้อหาวิชาใดทน่ี ักเรยี น
3. ดําเนนิ การจัดทาํ เครอ่ื งมอื แบบวดั เจตคตติ อวิชา ชอบและคิดวาเปน ประโยชนก บั นักเรียนมากทีส่ ุด
คณิตศาสตร
4. รวบรวมและวิเคราะหขอมูล รปู ภาพการวจิ ยั
5. สรุปผลการวจิ ยั

ผวู จิ ัย

นางสาวสุนิสา แกว สกุ ใส

ตาํ แหนง ครู โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก

สํานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วิจัยในช้นั เรยี น

การพัฒนาทักษะการคดิ ดวยวธิ ีการสืบคนและสรปุ ขอ มลู
เรอ่ื ง การเรยี นการสอนโดยใช LINE ในวชิ าพลศึกษา ป.6
ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที่ 6 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสําคญั

หนึ่งในมาตรการเพอื่ การควบคุมการแพรก ระจายเชอื้ COVID-19 ภายใตส ถานการณภ าวะฉุกเฉนิ ดาน สาธารณสขุ น้ัน
ไดแ ก วิธีการเวน ระยะหา งทางสงั คม (Social Distancing) เปนการเวนระยะหา งในการทาํ กจิ กรรมตางๆ ระหวา งบคุ คล ทําให
เกิดกระแสของการปรับเปลี่ยนวิถชี ีวติ การทาํ งานและการศึกษา จาํ นวน มาก โดยในสวนของการศึกษามกี ารปรับเปน รปู แบบการ
สอนออนไลน100% เพ่อื ใหนกั เรียน นิสติ นกั ศึกษาได เรียนรดู ว ย ตนเองอยา งตอเน่อื งผา นโปรแกรมชว ยสอนตา งๆทค่ี รผู ูสอน
กําหนด เชน Zoom WebX Meet Facebook Line Youtube เปน ตน

วัตถปุ ระสงค ประโยชนท ีค่ าดวาจะไดรบั
เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาพลศกึ ษา
สําหรับนกั เรียน โดยใช LINE ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการ นักเรียนทไ่ี ดร ับการจดั กจิ กรรมการเรียนรโู ดยใชระบบ
สอน จัดการเรียนการสอนออนไลน โดยใช LINE

วิธกี ารดําเนินการ ผลการวิจัย
นักเรยี นที่ไดรบั การจดั กิจกรรมการเรยี นรโู ดยใช
1. สรา งการเรยี นรเู ปน หอ งเรียน ระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน และสามารถวดั ผล
2. วิเคราะหป ระเดน็ ปญ หา โดยสํารวจอปุ กรณการ สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพลศึกษาได
เรยี น
3. ออกแบบการจดั การเรยี นรแู ละปฏิบตั กิ ารสอน รปู ภาพการวจิ ยั
4. เปด ชน้ั เรียน เปนหอ งๆ เชน ป.6/1 – ป.6/6
5. ปรับปรุง แกไ ขและพัฒนานวัตกรรมการเรยี น
การสอน ส่ือตา งๆ
6. ติดตามการเขา เรียนและการสงงาน

ผวู ิจัย

นายปริญญา จุยทอง

ตําแหนง ครู โรงเรียนบานสุไหงโก-ลก

สาํ นักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วิจัยในชั้นเรยี น

การพัฒนาทกั ษะการอานออกเสยี งทา ยคําในภาษาอังกฤษ

เร่ือง การอา นออกเสียงทา ยคาํ ในการอานและพดู ภาษาองั กฤษ g/j/s/v/x/z/ch/sh
ของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 6 ปการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสําคญั

จากการจดั การเรยี นการสอนในรายวชิ าภาษาองั กฤษเพือ่ การสอ่ื สาร ภาคเรียนท่ี 1 ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ซึ่งใน

ปก ารศกึ ษาท่ผี านมา พบปญหานักเรยี นขาดทักษะการออกเสียงทา ยคําท่ถี กู ตอง g/j/s/v/x/z/ch/sh ทงั้ ในการอานและการ

พดู ภาษาองั กฤษ ผูส อนไดวิเคราะหป ญ หาจาการทดสอบการอานและการพูด จึงพบวาผเู รยี นสวนมากขาดทักษะการออกเสยี ง
ลงทายหรือออกเสียงทายคาํ ไดไ มถ ูกตอง ทงั้ นจ้ี ึงมผี ลตอการเรียนรภู าษาองั กฤษของผเู รยี นและทําใหผ ูเ รยี นไมส ามารถสื่อสารหรือ
ทําใหผูฟ งเขาใจไดอยา งไมถูกตอง ครผู ูสอนจึงทาํ ไดคิดคนการแกป ญ หาการออกเสยี งทายคาํ ในวชิ าภาษาอังกฤษการส่อื สารของ
นักเรียนระดบั ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยชุดออกเสียง Jolly Phonics เพื่อเปน การพัฒนาการออกเสยี งทา ยคาํ ใหถูกตองมากยิ่ง
ขน้ึ

วตั ถุประสงค ประโยชนท่ีคาดวา จะไดร ับ
นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที่ 6 มีทกั ษะการอานและการพดู
เพอื่ พัฒนาการออกเสยี งทายคาํ g/j/s/v/x/z/ch/sh ของ
ออกเสยี งทายคาํ g/j/s/v/x/z/ch/sh ในรายวชิ าภาษา
นกั เรียนระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 6 ดว ยชุดออกเสียง Jolly
Phonics องั กฤษ เพื่อการสอื่ สารทถ่ี ูกตอ งและชัดเจนมากยิง่ ข้นึ

วธิ ีการดาํ เนนิ การ ผลการวจิ ัย
1. วเิ คราะหประเด็นปญ หา โดยใชคะแนนผล ผลจากการจดั การเรยี นรูเ พือ่ พฒั นาทกั ษะการอานและการ
สัมฤทธิด์ า นการอา นและการพูดของนักเรียน ในภาคเรียน พูดออกเสยี งทายคําดวยชุด Jolly Phonics ทาํ ใหน กั เรียนมี
กอ นหนาที่ผานมา การพฒั นาทกั ษะการอานและพดู เสียงทายคาํ ทถี่ กู ตองและ
2. ออกแบบการจดั การเรยี นรูและปฏิบตั กิ ารสอน ชดั เจนขน้ึ ไดอ ยา งนา พึงพอใจ
ดว ยชดุ jolly phonics ใหสอดคลองกบั เรอ่ื งทที่ าํ การวิจัย
3. ออกแบบการจัดการเรยี นรูใหเ หมาะสมกับ รูปภาพการวจิ ัย
เร่อื งท่ีตองการวิเคราะห
4. ทําการทดสอบกอนและหลังเรียน ผวู จิ ยั
5. นาํ คะแนนกอนและหลังเรยี นมาเปรียบเทียบ
พัฒนาการดานการอา นและพูดออกเสยี งทา ยคาํ นายวฒั นา ซาระคาน
6. วเิ คราะห บนั ทึก และสรุปขอมูล
ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นบานสไุ หงโก-ลก

สํานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



วิจัยในชน้ั เรียน

การพัฒนากิจกรรมการเรยี นการสอน เรอื่ ง การแยกตวั ประกอบโดยใช
แผนภาพ ของนกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 6/2 ปก ารศึกษา 2564

ความเปน มาและความสาํ คญั

จากการจัดการเรยี นการสอนวิชาคณิตศาสตรช ้ันประถมศกึ ษาปที่ 6 หนว ยการเรยี นรทู ี่ 1 ในสาระเร่อื งการแยก
ตวั ประกอบของจาํ นวนนบั พบวาผูเ รยี นยังสบั สนในการแยกตวั ประกอบวา มีรูปแบบเปนอยางไร และเขียนในรูปแบบใดจงึ จะถกู
ตอ งตามหลักการ โดยสวนใหญน ักเรยี นจะเขยี นในรูปการคูณของจํานวนนับ แตสําหรบั การแยกตวั ประกอบท่ีถกู ตองคือการเขยี น
จาํ นวนนับในรูปการคณู ของจาํ นวนเฉพาะ และสิ่งทส่ี าํ คญั ทส่ี ุด ถานักเรยี นแยกตัวประกอบไมถกู ตองจะทาํ ใหน ักเรียนหา ห.ร.ม.
และ ค.ร.น. ของจํานวนนับไมไ ด ดังน้ันผสู อนจึงสรา งองคค วามรูเ รื่องการแยกตวั ประกอบโดยการใชแ ผนภาพในการเรียนรู

วัตถุประสงค ประโยชนท ่ีคาดวาจะไดร บั

เพอื่ สรา งองคค วามรูเร่อื งการแยกตวั ประกอบใหกบั นกั เรียนชน้ั ผเู รียนมีองคความรเู รือ่ งการแยกตวั ประกอบทีถ่ กู ตอ งตาม
ประถมศกึ ษาปท ่ี 6/2 ปก ารศึกษา 2564 หลักการ

วิธีการดําเนนิ การ ผลการวจิ ัย

1. ผสู อนทบทวนความรเู รอ่ื งจาํ นวนเฉพาะวามี 1.ผเู รียนมอี งคค วามรูเรื่องการแยกตัวประกอบโดยอาศยั
ลกั ษณะเปนอยา งไร ประสบการณเ ดมิ เชือ่ ยโยงกับประสบการณใหม
2.ผเู รียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสงู ขึน้
2. ออกแบบการจัดการเรียนรูแ ละปฏบิ ตั ิการสอน
แบบแผนภาพ ใหส อดคลอ งกับเรื่องทีท่ าํ การวิจยั รปู ภาพการวจิ ยั

3. ออกแบบการจดั การเรยี นรูใหเ หมาะสมกบั ผูว ิจยั
เร่อื งที่ตอ งการวเิ คราะห
นายนรู เดน สาเมาะ
4. ทําการทดสอบกอ นและหลังเรียน
5. นําคะแนนกอนและหลังเรยี นมาเปรยี บเทียบ ตาํ แหนง ครู โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก
6. วิเคราะห บันทึก และสรปุ ขอ มูล

สํานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ

วิจยั ในช้ันเรยี น

เร่ือง การแกป ญหานักเรียนอานไมอ อกเขยี นไมคลอ งวิชาภาษาองั กฤษ

ของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 6 ปก ารศึกษา 2564 โรงเรียนบานสุไหงโก-ลก

ความเปน มาและความสาํ คญั

จากการสํารวจในการเรยี นการสอนกลมุ สาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ระดบั ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 6
ปก ารศึกษา 2564 ปรากฏวามนี กั เรยี นจํานวน 28 คน ยงั อา นเขยี นภาษาองั กฤษไมค ลอ ง เพือ่ ชว ยเหลอื และ
พฒั นานักเรยี นกลมุ นใี้ หเ ปน คนดี เกง และสามารถดาํ รงชีวิตใหอยูในสงั คมอยางมีความสขุ จงึ ไดจัดกจิ กรรมสอน
ซอ มเสริมภาษาการอา นออกเสียง การเขียนภาษาอังกฤษมากข้นึ

วัตถุประสงค ประโยชนทีค่ าดวา จะไดร บั

เพอื่ ซอ มเสรมิ นกั เรียนท่อี า นหนังสอื ภาษาองั กฤษไมอ อก นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 มีทกั ษะการอา น
เขยี นไมคลอ ง เขียนภาษาอังกฤษคลองขนึ้

วิธีการดําเนินการ ผลการวิจยั

ดําเนินการโดยฝกใหน ักเรียนอานคาํ ท่ี นักเรยี นท่อี านภาษาอังกฤษไมออก เขยี นไม
นกั เรยี นมีประสบการณห รือคําท่ีนักเรียนมักคุน คลอ งมที กั ษะในการอาน เขยี นภาษาองั กฤษไดถ กู ตอ ง
โดยเร่ิมจากคาํ งา ยๆ ไปสคู าํ ทีฝ่ กอานยากตามลาํ ดับ
ไป โดยใหน ักเรียนฝกอานบอ ยๆ มคี รูคอยใหค วาม รปู ภาพการวิจัย
ชวยเหลอื ดูแลอยา งใกลชดิ ฝกโดยใชต ารางการฝก
จนกระทงั่ นกั เรยี นสามารถอา นขอ ความ หรอื ผูวจิ ัย
นทิ านไดว ธิ กี ารนจ้ี ะชว ยใหน กั เรียนฝก อา นไดดีข้นึ
นางสาวนพรรณพ แจง สวาง

ตําแหนง ครู โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก

สํานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วจิ ัยในช้ันเรียน

การศกึ ษาพฤตกิ รรมของนกั เรียนในเร่ืองการไมส งงาน/การบาน
ในชวงการเรียนแบบออนไลน

ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท ่ี 6/1 ปก ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนบา นสุไหงโก-ลก

ความเปนมาและความสาํ คญั

ปจจบุ ันจากการสอบถามครผู สู อนในรายวิชาตางๆของนักเรียนในระดับชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ 6 พบวา นกั เรยี นสว นใหญ
มกั จะสง งาน / การบานไมตรงเวลาท่ีครผู ูสอนกําหนด หรือบางคนกไ็ มส งงาน / หรือการบานเลย ซึ่งทาํ ใหครผู ูสอนไมส ามารถวัด
ความรู หรือติดตามความกาวหนาของนกั เรียนได ซง่ึ ในบางรายวชิ าอาจมีผลตอคะแนนเก็บของนักเรียนดวย ดงั นั้นผูวิจยั ซงึ่ ใน
ฐานะทเ่ี ปน ท้งั ครผู ูสอนและครูประจําชัน้ เหน็ ความสําคญั ของปญหาดังกลาว จึงได ทาํ การวิจยั เพื่อศกึ ษาพฤตกิ รรมของนกั เรยี นใน
ระดับชั้นประถมศึกษาปท ี่ 6/1 เพ่อื นํามาเปนขอ มูลในการแกปญ หาของนักเรยี นในเรื่องการไมส ง งาน / การบานตอไป

วัตถุประสงค ประโยชนที่คาดวา จะไดรับ
1.เพอ่ื ศึกษาสาเหตขุ องการไมสง งาน / การบาน ของนกั เรียนช้นั 1.ทราบถึงพฤติกรรมและสาเหตุของการไมส ง งาน / การบา น
ประถมปท ี่ 6/1 ของนกั เรียน
2.เพือ่ รวบรวมขอ มลู สําหรบั การแกปญหาการไมส งงาน / การบาน 2.ไดแ นวทางในการแกป ญหาการเรียนการสอน
ของนักเรียน
ผลการวจิ ยั
วธิ กี ารดาํ เนนิ การ ผลการประเมินแบบสอบถามของนักเรยี นในเร่อื งการไมส งงาน
/ การบาน เกย่ี วกบั การหาสาเหตุทไ่ี มสงงาน การบานของ
จดั ทําแบบสอบถามเพือ่ ศกึ ษาพฤติกรรมชอง นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 6 /1 เนื่องจากการบานมาก
นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปท ่ี 6/1 ในเร่ืองการไมส ง งาน / เกนิ ไป แบบฝกหดั ยากทําไมไ ด ไมนา สนใจ และมเี วลานอย
การบาน เพ่ือนําผลจากการวจิ ัยมาเก็บเปนขอ มูลเพ่ือนําไป
แกไ ขปญหาในการไมส งงาน / การบา น แกปญหาการเรยี น รปู ภาพการวิจยั
การสอน รวมทงั้ เพอ่ื ใหน กั เรียนเห็นความสาํ คญั ของการสง
งาน / การบาน

ผูว จิ ัย

นางสาวรมู ซี ะร ยะยือริ

ตาํ แหนง พนักงานราชการ โรงเรียนบานสไุ หงโก-ลก

สํานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ

วจิ ยั ในช้ันเรียน

การพฒั นาทกั ษะการเขยี นสะกดคํา
ของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปท ่ี 6 ปการศกึ ษา 2564 โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสาํ คญั

ภาษาไทยเปนภาษาประจาํ ชาติไทยที่จาํ เปน ในการสอื่ สารของมนษุ ย การสื่อสารของมนษุ ยใชท กั ษะ ทีส่ าํ คัญหลาย
ทักษะ เชน การฟง การพดู การอา นและการเขียน ซ่งึ ผเู รยี นจะตองไดรบั การฝก ฝน เพือ่ ใหใชภ าษาไทยในการสอื่ สารไดอ ยางถกู
ตอ ง โดยเฉพาะการเขยี นสะกดคาํ ซ่งึ เปนสว นหนึ่งในการใชภ าษาไทย จากการสอนวิชาภาษาไทยชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ โรงเรียน
บา นสุไหงโก - ลก พบวา นักเรียนมปี ญหา เร่ือง การเขยี นสะกดคําผดิ เมื่อครูใหน กั เรยี นเขยี นตามคาํ บอก หรอื เขยี นตอบคาํ ถาม
นักเรียนจะไมส ามารถเขียนคําไดถ กู ตอง และมักเขยี นผดิ บอย ๆ ดัง้ น้ัน การฝก ใหน ักเรยี นไดเ ขยี นสะกดคาํ จะชวยใหน ักเรยี นเขียน
สะกดคําไดถ กู ตอ งมากยง่ิ ข้นึ จึงตอ งพัฒนาสง เสริมทกั ษะดา นการเขยี นสะกดคาํ ใหน กั เรียน

วัตถปุ ระสงค ประโยชนท่ีคาดวา จะไดร บั

เพอื่ พัฒนาทกั ษะการเขียนสะกดคําของนกั เรยี นช้นั 1. นักเรยี นเกดิ การพฒั นาทกั ษะการเขียนสะกดคํา
ประถมศึกษาปท ่ี 6 โดยใชแ บบฝก การเขียนสะกดคาํ 2. นักเรียนสามารถนาํ ไปเขียนในรูปแบบการเขยี นที่

วธิ ดี าํ เนนิ การวจิ ัย หลากหลายมากขึน้

ผลการวจิ ัย

1. ศกึ ษาสภาพปญหาและวิเคราะหห าแนวทางใน นักเรียนพัฒนาการดานทกั ษะการเขยี น สามารถ
การแกป ญ หา เขียนคาํ ไดถูกตอ ง และนําไปปรบั ใชในชีวิตประจาํ วนั ได

2. เขียนโครงรางงานวจิ ยั ในช้ันเรียน รูปภาพการวจิ ยั
3. ออกแบบเครอื่ งมอื ที่ใชใ นงานวจิ ยั
4. นกั เรียนทาํ แบบทดสอบกอ นเรยี น
5. นกั เรียนเขยี นตามคําบอกครั้งที่ 1 - 3
6. นกั เรียนทาํ แบบทดสอบหลังเรียน
7. สรุปผลการวจิ ยั

ผวู จิ ยั

นางสาวศริ ิวรรณ มาลยารมย

ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก

สํานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร

วจิ ยั ในช้นั เรียน

เรื่อง การแกปญหาการสรปุ เรื่องราวสาํ คญั โดยใชบทกลอน/บทเพลง
และแผนผงั ความคิด ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 6
ปการศึกษา 2564 โรงเรยี นบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปน มาและความสาํ คัญ

ดว ยสาระการเรยี นรูสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ในสาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม ซงึ่ ตองเรยี นรเู ก่ยี ว
กับประวัติความสาํ คญั ของศาสดาของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถือและศาสนาอนื ๆ ซง่ึ เปน เร่ืองราวทีน่ กั เรียนจะตอง
จดจําเพอื่ สามารถสรุปประวตั คิ วามเปน มาของศาสนาในศาสนาตางๆ ได จากการสงั เกต สอบถาม พบกวา นักเรยี นไมสามารถท่ี
จะสรปุ เนอ้ื หาเรื่องราวประวัติของศาสดาในศาสนาตา ง ๆ จึงมีแนวคดิ ทีน่ าํ การจัดการเรยี นรูใ นรูปแบบของบทกลอนหรือบทเพลง
เพอื่ ท่ีนกั เรยี นสามารถจดจาํ และสรุปเร่อื งราวประวัติของศาสดาโดยเฉพาะศาสดาในศาสนาทต่ี นนับถือออกมาในรูปแบบของ
แผนผงั ความคิดเพือ่ ใหเกดิ ความเขา ใจในความเปน มาของศาสนาและเกดิ ความศรทั ธายดึ ถือปฏิบตั ติ ามหลักธรรมของศาสดา

วตั ถุประสงค ประโยชนทีค่ าดวาจะไดรบั
เพอื่ แกไ ขปญ หาการสรุปเน้อื หาความรปู ระวัตศิ าสดา นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 6 สามารถสรุปเนือ้ หา
ในพระพทุ ธศาสนาและศาสนาอน่ื ในนกั เรยี นชัน้ ประถม เรอื่ งราวประวตั ิศาสดาในพระพุทธศาสนาและศาสนาอืน่ ได
ศึกษาปท ่ี 6
ผลการวจิ ยั
วธิ ีการดาํ เนินการ

1. ศกึ ษาสภาพปญ หาทีเ่ กดิ ข้ึนกับนักเรยี น ผลจากจัดการเรยี นรูนักเรียนสามารถเรียงลําดบั เหตกุ ารณ
2. ศกึ ษาเอกสารทเี่ ก่ียวและจดั หารปู แบบเน้ือหา สําคญั และเร่ืองราวทเ่ี กดิ ขึ้นตามประวัตขิ องศาสดาในพระพุทธ
ศาสนาและศาสนาอน่ื ไดในรปู แบบแผนผังความคิด
ในการจดั การเรียนการสอน
3. ดําเนินการจัดออกแบบการนําเอกสารเน้อื หา รูปภาพการวิจัย

ท่ไี ดศ ึกษามาปรับใช
4. นําเอกสารเนอ้ื หาที่ไดศ ึกษามาใหน ักเรียนไดเรียนรู

และสรุปเหตกุ ารณสาํ คญั ในรปู แบบแผนผังความคิด
5. สรุปผลการวิจยั

ผูวจิ ัย

นางสาววันวสิ า ถนอมพร

ตาํ แหนง ครู โรงเรยี นบานสุไหงโก-ลก

สํานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาสเขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ

วิจยั ในช้นั เรียน

การพฒั นาทกั ษะการคดิ ดวยวิธกี ารสบื คน และสรุปขอ มลู
เร่อื ง การศกึ ษาพฤติกรรมของนกั เรียน ในเร่ืองการไมสงงาน/การบา น
ของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 6/6 ปการศึกษา 2564 โรงเรียนบา นสไุ หงโก-ลก

ความเปนมาและความสําคัญ

ปจ จบุ นั จากการสอบถามครผู ูสอนในวชิ าตา งๆในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 พบวา นักเรยี นสวนใหญม ักจะไมส งงาน/
การบา นไมต รงเวลาท่คี รผู สู อนกาํ หนดหรือบางคนก็ไมสง งานหรอื การบานเลย ซงึ่ ทําใหครผู สู อนไมสามารถวดั ความรูห รอื ตดิ ตาม
ความกา วหนาของนักเรียนได ซึ่งในบางรายวชิ าอาจมีผลตอคะแนนเก็บของคะแนนดวยดังน้นั ผวู จิ ยั ซึ่งในฐานะท่ีเปน ทงั้ ครผู สู อน
และครปู ระจาํ วชิ าเหน็ ความสําคญั ของปญ หาดงั กลา ว จงึ ไดทําการวิจัยเพื่อศกึ ษาพฤติกรรมของนักเรยี นระดับช้ันประถมศกึ ษาปท ี่
6/6 เพือ่ นํามาเปน ขอ มูลในการแกป ญหาของนักเรยี นในเรื่องการไมส ง งาน/การบา นตอไป

วตั ถุประสงค ประโยชนที่คาดวา จะไดรับ
1. เพื่อศกึ ษาสาเหตขุ องการไมสงงาน/การบา น ของนกั เรียน 1. ทราบถงึ พฤตกิ รรมและสาเหตุของการไมสงงาน/การบาน
ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 6/6 ของนกั เรยี น
2. เพือ่ รวบรวมขอมลู สําหรบั การแกป ญหาการไมส ง งาน/ 2. ไดแนวทางในการแกป ญ หาการเรียนการสอน
การบา นของนกั เรียน
ผลการวิจยั
วธิ กี ารดําเนนิ การ จากการศึกษาและวเิ คราะหแ บบสอบถามเพือ่ ศึกษา
พฤติกรรมของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 6/6ในเรอื่ งการไม
1. วเิ คราะหขอมูลพน้ื ฐานของผูเรยี น สง งาน/การบา น แสดงใหเห็นวาสาเหตุของการไมส งงาน/
2 วิเคราะหสาเหตขุ องการไมส งงาน/การบา นของนกั เรียน การบา น ลาํ ดบั ท่ี 1 คือ การใหก ารบา นมากเกินไปและ
3. ข้ันออกแบบ สรางแบบสอบถามเพื่อวัดพฤตกิ รรมของ แบบฝกหัดยากทาํ ไมได
นักเรยี นเพ่ือหาสาเหตขุ องการไมสงงาน/การบา นของ
นักเรียนในระดบั ชน้ั ป.6/6 จาํ นวน 15 ขอ รปู ภาพการวจิ ัย
4. นาํ แบบสอบถามเพ่อื ศึกษาพฤตกิ รรมในเรือ่ งการไมสง
งาน/การบานของนกั เรียนชัน้ ป.6/6 เพ่ือหาสาเหตขุ อง ผูวิจัย
การไมสง งานและทาํ การบนั ทึกคะแนน
5. ดําเนนิ การหาคา รอ ยละของแตล ะขอสาเหตุ นางสาวทพิ วรรณ หนูสงวน
6. วิเคราะหผลคะแนนที่ไดจากการทาํ แบบสอบถามเพื่อ
ศกึ ษาพฤตกิ รรม ตําแหนง ครูผสู อน โรงเรยี นบา นสุไหงโก-ลก

สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธวิ าสเขต 2 กระทรวงศกึ ษาธิการ


Click to View FlipBook Version