The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by boonyuen, 2021-04-05 06:42:06

ใบความรู้ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับง

ใบความรู้ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับง

บทที่1 ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกยี่ วกับงานช่าง‎
เคร่ืองมือ วสั ดุและอุปกรณ์งานชา่ ง
ความหมายของเครอื่ งมืองานช่าง

การทางานช่าง สิ่งที่สาคัญคือ เครื่องมือ เพราะเครื่องมือจะช่วยให้การทางานสะดวกและ
รวดเร็วขึ้น ซ่ึงเคร่ืองมือที่ใช้ในงานช่างต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นงานบารุงรักษา งานติดตั้ง งานซ่อมแซม/
ดดั แปลง หรอื งานผลติ สว่ นใหญ่จะใช้เคร่ืองมอื วัด ตดั ตอก เจาะ ไส ประกอบการเช่ือมประสาน

เครอ่ื งมืองานชา่ ง หมายถึง ส่ิงทใี่ ชใ้ นการซ่อม สร้าง และดดั แปลงเกย่ี วกับงานชา่ ง เช่น
การดัด การตอก การวัด การเจาะ การไส การตดิ ตั้ง
ประเภทของเคร่ืองมืองานช่าง

เครอ่ื งมือที่จาเป็นในงานชา่ งพื้นฐานท่ีทุกคนควรรูแ้ ละสามารถนาไปใช้ประกอบการ
ปฏิบตั ิงานซ่อมแซมเครื่องใชต้ ่างๆ ภายในบ้าน สามารถแยกออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ดังน้ี
เคร่ืองมือประเภทเจาะ มีดงั น้ี
สว่าน ใชส้ าหรับเจาะรูเพ่อื ใส่สกรูหรอื เดือย มดี งั น้ี
1.สว่านมือหรือสว่านเฟือง ใช้สาหรับเจาะรขู นาดเล็ก
2.สว่านไฟฟา้ เป็นเครือ่ งมือเจาะทนี่ ยิ มใช้กันมากในปัจจุบนั ใชเ้ จาะวสั ดุต่างๆ เชน่ คอนกรตี ปูน โลหะ
ไม้ และพลาสติก ใช้งานได้สะดวกและรวดเรว็ เพราะใชพ้ ลังงานไฟฟา้ ในการทางาน
3.สว่านขอ้ เสือ มีลกั ษณะเป็นรปู ตวั ยู มีคันหมุน ต้องใชร้ ่วมกับดอกสว่านท่ีมขี นาด ระหว่าง ¼ - 1 นิ้ว
มักใชใ้ นงานไม้

สวา่ นมอื หรือสว่านเฟอื ง

สวา่ นไฟฟ้า

สว่านข้อเสือ
ดอกสว่านมี 19 เบอร์ เร่ิมจากเบอรท์ ี่ 1-1.5-2-2.5-3 จนกระทัง้ ถึงเบอร์ที่ 10

ดอกสว่านมี 3 ชนิด
1. ดอกสว่านเจาะโลหะ
- ดอกสว่านแบบ HS High Speed ใช้สาหรบั เจาะวตั ถเุ ชน่ ไม้ พลาสติก
- ดอกสว่านแบบ HSS Hih Speed Steel ใช้สาหรบั เจาะเหล็กชนดิ ต่าง ๆ เช่น เหล็กแผ่น เหลก็ ออ่ น
เหลก็ เหนียว เหลก็ หล่อ มคี วามแข็งสูงมาก
2. ดอกสวา่ นเจาะปูน
3. ดอกสวา่ นเจาะไม้ ดอกสวา่ นทใ่ี ช้งานจะมหี ลายขนาด การนาไปใช้งานต้องคานึงถงึ ความเรว็ ท่จี ะใช้
เจาะรดู ้วย - ดอกสว่าน ขนาดเล็ก ใช้ความเรว็ ในการเจาะ สูง - ดอกสวา่ น ขนาดใหญ่ ใช้ความเรว็ ใน
การเจาะ ตา่
การใช้และบารงุ รักษา
1. ลับดอกสว่านใหค้ มอยเู่ สมอ โดยการใช้หนิ เจียร
2. ถอดดอกสวา่ นออก แล้วหมุนหัวจับดอกสวา่ นใหเ้ ข้าท่ี หลังการใชง้ านทุกครั้ง
3. ทาจารบีทเี่ ฟืองและหัวจบั ดอกสวา่ นเดือนละคร้ัง

4. เลอื กดอกสวา่ นให้มีฟันเลอี้ ยและคมจิกทีเ่ หมาะสมกับงาน
5. เลอื กความเร็วรอบใหเ้ หมาะสมกบั ชนิดของวสั ดุ และขนาดของรูท่ีจะเจาะ
6. ไม่ควรใชม้ อื ดึงเศษโลหะในขณะทาการเจาะ
7. ถ้าสวา่ นตดิ ขดั กบั รเู จาะควรปิดสวทิ ส์ทันที
8. กอ่ นเจาะควรตอกเหลก็ นาศูนยต์ ามตาแหนง่ ตอ้ งการเจาะเสียก่อน
9. จบั ช้ินงานใหแ้ น่น
10.ควรให้คมตัดทั้งสองเรม่ิ ตดั เจาะในตาแหนง่ ท่ีถูกต้อง
เคร่ืองมือประเภทไสตกแต่ง
เคร่อื งมอื ประเภทไสและตกแตง่ มีดังนี้
1.กบไสไม้ ใชส้ าหรับปาดผิวไม้ออกเพอ่ื ใหเ้ รยี บร้อยและไล่ระดับ มีดงั น้ี
1.1กบลา้ งส้ัน มคี วามยาว 6-8 น้ิว ใช้ไสไมท้ ี่มีขรุขระ แอ่น บดิ งอ ซ่งึ กบชนิดอน่ื ไม่สามารถไสได้ ใบกบ
ทามมุ กับตวั กบ 45 องศา
1.2กบล้างยาว มีลักษณะคล้ายกบลา้ งส้นั มีความยาว 16-18 นวิ้ ใช้ล้างแนวไมใ้ ห้ตรงใช้ไสไมก้ ่อนเพราะ
ตดิ ล้างกนั
1.3กบขูดหรือกบแต่ง ใช้แต่งไมโ้ ค้งเพ่ือผิวเรียบซง่ึ กบธรรมดาไม่อาจแต่งได้

กบลา้ งยาว

กบขดู
การใชก้ บไสไม้

1.ใช้มือสองข้างจับกบให้แน่น ดนั กบด้วยอุง้ มือทั้งสองไปขา้ งหน้า
2.ใชผ้ ้าขีร้ ิว้ ประคองตวั กบใหต้ รง ใหต้ ัวกบเลอ่ื นไปบนผิวไม้อย่างสมา่ เสมอ อย่าให้กบเอยี งหรือตะแคง

3.ขณะทีไ่ สกบให้โน้มตวั ตามกบไปด้วย แลว้ ค่อยๆ ก้าวเทา้ ไปขา้ งหน้าเพื่อให้น้าหนักตวั ช่วยออกแรงไส
ไปดว้ ย
สิ่งท่ีใช้แทนกบไสไมห่ ากไม่มี
1. ใชส้ ว่ิ แทนกบไสไม้

การบารงุ รักษา
1.หลงั การใชง้ านตอ้ งทาความสะอาดและชโลมน้ามนั บางๆ บนสว่ นทเี่ ปน็ โลหะ
2.ควรสารวจความคมของใบกบก่อนใชง้ านทกุ คร้งั
3.ตะไบ

เป็นเครื่องมือที่ทาหน้าที่ปรับผิวช้ินงานให้เรียบหรือตกแต่งช้ินงานให้มีขนาดตามต้องการ ตะไบ
ทาจากเหล็กผสมคาร์บอน ส่วนตะไบที่ต้องการความคงทนสูงทาด้วยเหล็กกล้า รูปร่างของตะไบ
นอกจากถูกกาหนดโดยลายตัดขวาง ความถ่ี และความลึกของร่องตัด ยังมีผลต่อขนาดของฟันอีกด้วย
คือ ตะไบหยาบจะมีฟันลึกและห่างใช้สาหรับงานปาด ส่วนตะไบละเอียดจะมีฟันตัดตื้นและถี่ เหมาะ
สาหรับงานตกแตง่ ขน้ั สุดทา้ ย ตะไบมีหลายแบบ ดงั น้ี ตะไบแบน ตะไบท้องปลิง ตะไบสามเหล่ียม ตะไป
กลม ส่วนตะไบท่ใี ช้ในงานไม้ เรียกวา่ บุง้

ตะไบแบน ใชก้ ับโลหะทีเ่ ป็นรูปทรงแนงนอนหรือแนวตง้ั

ตะไบทอ้ งปลงิ ใช้กบั โลหะท่ีมรี ูปทรงเปน็ วงรี

ตะไบสามเหล่ียม ใชก้ ับโลหะที่เปน็ รปู สามเหลี่ยม

ตะไบกลม ใช้กบั โลหะท่ีมีรปู ทรงเป็นวงกลม
ขนาดของตะไบ มี 4 ขนาด
1. หยาบมาก
2. หยาบปลานกลาง
3. ละเอยี ดมาก
4. ละเอียดปลานกลาง
วธิ ใี ช้ตะใบ
1.การใช้ตะไบต้องตรวจสอบชิ้นงานใหย้ ดึ ตดิ กับปากกาใหแ้ นน่
2.มือซ้ายจับท่ีปลายตะไบ สว่ นมือขวาจับท่ีด้ามตะไบ
3.วางตะไบใหส้ ัมผสั กบั ผิวช้ินงานแลว้ ดนั ไปข้างหน้า เมือ่ สิ้นสดุ ชิน้ งานให้ดงึ กลบั ท้งั นจ้ี ะตอ้ งถูไปมาให้
หน้าตะไบสัมผสั กับชน้ิ งานตลอด
4.การใช้ตะไบควรเลือกตะไบใหเ้ หมาะสมกับลักษณะงาน
5.การตะไบทุกครง้ั จะตอ้ งดันตะไบไปขา้ งหนา้ แลว้ ดงึ กลบั ไมค่ วรถูตะไบไปมาอยา่ งรวดเรว็
6.ก่อนใช้ตะไบและกบทุกคร้ัง ควรตรวจสอบสภาพใหพ้ ร้อมใช้งาน เพ่ือความปลอดภยั ตอ่ ตนเองและ
ผู้อื่น
การจดั เก็บบารุงรักษา
1. ตรวจดูความเรยี บรอ้ ยของใบกบก่อนเก็บเขา้ ที่

2. ทาความสะอาดตวั กบโดยใช้แปรงปัดเศษไม้ออก
3. ชโลมน้ามนั ใบกบก่อนเกบ็ เขา้ ท่ีเกบ็
4. ทาความสะอาดตะไบโดยใชแ้ ปรงทองเหลืองปัดเศษโลหะออก
5. ไม่ควรวางตะไบทับกนั เพราะจะทาให้คมตะไบสกึ หรอได้ง่าย
เครื่องมอื ประเภทจบั ยึด

เครื่องมอื ประเภทจับยึด มีดังนี้
1.คมี เปน็ เครื่องจับยึดชิ้นงานให้ตดิ กนั หรือดึงช้นิ งาน นอกจากนน้ั ยังใชจ้ บั บีบ ดดั ตัด คีมจะมีด้าม
โลหะติดกบั ปากคมี ถ้าใช้ในงานไฟฟ้าจะมฉี นวนห้มุ ด้ามคมี ทัง้ สองข้างอีกครงั้ คมี ทีน่ ิยมใช้มดี ังนี้
1.1.คีมปากกลม ใช้สาหรับบดิ หรือม้วนโลหะ
1.2.คีมปากเรียว ใชส้ าหรบั จบั ชน้ิ งานชนิ้ เลก็ ๆ หรอื ตะปสู ้ัน
1.3.คมี ปากแบน ใช้สาหรบั จบั โลหะแบนหรอื สายไฟ
1.4.คมี ตดั ใช้สาหรับตัดลวดหรือโลหะเนอ้ื ออ่ น
1.5.คมี รวม ใช้จบั ตัด มว้ นโลหะ
1.6.คีมปากเลื่อน ใชจ้ ับนอตโดยสามารถเลือ่ นความกวา้ งของคีมได้
1.7.คมี ปากนกแกว้ ใช้สาหรับถอนตะปู ตดั หวั ตะปู ตดั ลวดและโลหะเนอ้ื แขง็
1.8.คมี ลอ็ ก ใช้จบั นอตหรือชิ้นงานเพื่อป้องกนั การหมุนหรือเล่ือนโดยปากปรบั ขยายให้กวา้ งไดแ้ ละล็อก
ให้แน่น
1.9คีมปากฉนวน ใชส้ าหรบั งานไฟฟ้า โดยเฉพาะการปอกสายไฟฟ้า

คีมปากกลม

คมี ปากเรียว
คมี ปากแบน

คีมตัด
คมี รวม
คีมปากเล่ือน

คีมปากนกแก้ว
คีมล็อก

คีมปากฉนวน
การบารุงรักษา
1.ใช้คีมให้ถูกประเภทกบั งาน
2.ไม่ควรบีบคีมแรงเกินไปเพราะจะทาให้คีมหัก
3.ไม่ควรใชค้ ้อนทบุ คมี แทนการตัด
4.ไมใ่ ชค้ มี แทนค้อนหรือเคร่ืองมืออ่นื ๆ
5.เชด็ ทาความสะอาด หยดน้ามนั ทีจ่ ุดหมนุ แล้วชโลมนา้ มันหลังการใช้งาน
เครื่องมือสาหรับขนั และไข
เครื่องมือสาหรบั ขนั และไข มีดงั นี้
1.ประแจ เป็นเครื่องมือในการขันหวั สกรูหรือนอต ประแจมีหลายแบบ ขึน้ อยู่กับลักษณะงานที่ใช้ เชน่
1.1 ประแจปากตาย ใชข้ นั คลาย ในท่โี ล่งๆ กวา้ งๆ และข้อจากัด จะจับน็อตล่นื ได้งา่ ย ซ๋งึ ประแจแหวน
โอกาสล่ืนไดน้ ้อยกว่า เรมิ่ จากเบอร์ท่ี 6 - 32
1.2 ประแจขอมา้ ใชใ้ นงานขันทอ่ โลหะ หรือขอ้ ต่อที่มผี ิวกลม ไม่เหมาะสาหรบั ใช้ขันน็อต เพราะจะทา
ให้หัวนอ็ ตเสียหาย
1.3 ประแจแหวน ใช้ขนั หรอื คลายเข้าในที่เป็นซอกหรอื หลุม แตล่ กึ ไม่มาก เรมิ่ จากเบอร์ท่ี 6 - 32
1.4 ประแจบลอ็ ก ใช้แทนขัน หรอื คลาย หรือจับน็อต
1.5 ประแจเลือ่ น ใช้ขันเกลียว นอ๊ ต หรือ ยดึ อุปกรณต์ ่างๆ มลี กั ษณะเป็นด้ามยาวสว่ นหวั มรี ูปทรงพอดี
กับอปุ กรณ์ เพื่อใช้สาหรับล็อกอุปกรณ์เช่น น๊อต

ประแจปากตาย

ประแจแหวน
ประแจเลื่อน
ประแจขอมา้

ประแจบลอ็ ก
การบารุงรกั ษา
1.ไม่ใชป้ ระแจตอกหรือตีแทนคอ้ น
2.ทาความสะอาดหลังเลิกใชง้ าน
3.หลกี เลี่ยงการใชป้ ระแจทม่ี ีขนาดใหญ่กว่าสกรหู รือนอต

2.ไขควง เป็นเครื่องมือทใ่ี ช้ในการขนั หรือคายตระปูเกลยี ว ไขควงแตล่ ะชนิดมีลักษณะคล้ายๆกนั คือ มี
สว่ นท่ีเปน็ ดา้ มจับทาด้วยไมห้ รอื พลาสติก สว่ นท่เี ปน็ ไขควงจะเป็นเหล็กกลมหรอื ส่ีเหล่ียม ไขควงแบ่ง
ออกได้ดังนี้
2.1.ไขควงแบน เปน็ ไขควงทใ่ี ช้สาหรบั ขนั สกรูที่มชี ่องผ่าตลอด
2.2.ไขควงแฉก มลี กั ษณะเหมือนไขควงแบน ตา่ งกันตรงปลายไขควงจะเป็นส่ีแฉกใช้ขันสกรทู ีม่ ชี ่องผ่าส่ี
แฉก
2.3.ไขควงบล็อก มลี กั ษณะเหมอื นไขควงแบน ต่างกนั ตรงปลายไขควงจะเปน็ หวั เหลย่ี มใช้สาหรับนอต
หัวเหลยี่ ม

ไขควงแบน

ไขควงแฉก

ไขควงบล็อก
การบารงุ รักษา

1.ใช้ไขควงใหเ้ หมาะสมกับกับลักษณะงานและรอ่ งของนอตสกรู
2.หลงั ใชง้ านเชด็ ทาความสะอาด แลว้ เก็บใสก่ ล่องเคร่ืองมือ
เครื่องมอื สาหรบั ตอก
เครือ่ งมอื สาหรับตอก มีดังนี้
1.ค้อน เป็นเคร่ืองมือสาหรับตอก มีหลายชนิด เช่น ค้อนหัวกลม คอ้ นหวั ยาง ค้อนหวั หงอน คอ้ นไม้

คอ้ นหงอน

ค้อนหัวกลม

ค้อนยาง
การใช้ค้อน

1.กอ่ นใช้ควรตรวจหัวคอ้ นกับด้ามจับว่าสวมกนั แนน่ หรือไม่
2.ใช้มือข้างท่ถี นัดจบั ค้อน นว้ิ กอ้ ยอยู่หา่ งประมารณ 2.5 เซนตเิ มตร
3.วางหน้าค้อนลงบนหัวตะปูหรือชน้ิ งานทจี่ ะตอก ตามองทชี่ ิน้ งาน

4.หากมกี ารตอกตะปู ให้ตอกเบาๆ ให้ตะปูเกาะเน้ือไม้กอ่ น
5.ยกคอ้ นสงู ประมาณระดบั ไหล่ ดา้ มคอ้ นอยใู่ นแนวดง่ิ
6.ตอกลงใหห้ น้าค้อนสัมผสั กับชิ้นงานเพ่อื ให้ได้มุมฉาก
7.ในการตอกตะปตู ้องใหน้ า้ หนักของค้อนเฉลย่ี ลงบนหัวตะปูเท่าๆกัน มิฉะน้ันจะทาใหต้ ะปงู อได้
8.ขณะตอกตามมองไปทีต่ าแหนง่ ทีต่ อก

การบารุงรกั ษา
1.เลอื กชนดิ ของค้อนใหเ้ หมาะกบั งาน
2.เม่ือใช้งานเสร็จควรเชด็ ทาความสะอาด แล้วทาน้ามนั ที่หัวคอ้ นเพ่ือป้องกันสนมิ

เครอื่ งมือสาหรบั ตดั และผ่า
เครื่องมอื สาหรบั ตดั และผ่า มีดังน้ี
1. มีด มหี ลายชนดิ มีดท่ีใช้ในงานช่างพื้นฐานทั่วๆไป มักมักจะเปน็ มดี ที่ใชง้ านได้อเนกประสงค์ สว่ นใหญ่
ใช้ในการผ่า สบั ไม้

มดี
การใชม้ ดี
1.จบั ตรงดา้ มมีดโดยใช้มือท่ีถนัด
2.ใชม้ ืออีกข้างจับวัสดทุ ่ีจะผ่า
การบารงุ รักษา
1.ควรลับมดี ใหค้ มอยู่เสมอ
2.หลังการใช้งานควรใชน้ ้ามันเพอ่ื ป้องการสนิม
3.เกบ็ ในฝกั หรือเสยี บไวเ้ ปน็ ที่ใหเ้ รียบรอ้ ย
2) เลื่อย
มชี อื่ เรียกตามลกั ษณะการใชง้ านและลักษณะรปู ร่าง ในการชา่ งพ้นื ฐานจะกลา่ วถึงเลื่อยที่ใช้กันท่วั ๆไป
ประกอบไปด้วย 2 ส่วน คอื ส่วนทเ่ี ป็นใบเล่อื ยซงึ่ ทาดว้ ยเหลก็ บาง มีฟนั คลา้ ยกบั ส่วิ เล็กๆเรียงกันตลอด
ความยาว และส่วนทเ่ี ป็นด้ามมอื ทาจากไมห้ รือพลาสตกิ เลอื่ ยท่นี ิยมใช้กันแพร่หลาย มีดงั นี้

2.1 เลื่อยลันดา แบ่งออกเป็น 2 ชนดิ คอื
2.1.1. เล่ือยลนั ดาชนิดตดั ใช้ตดั ขวางเสย้ี นไม้ ปลายของฟันจะแหลม เวลาตัดตอ้ งทแยงใบเล่อื ยทามุม
กับชิ้นงานประมาณ 15 – 30 องศา
2.1.2. เลอื่ ยลันดาชนดิ โกรก ใช้สาหรบั เลือ่ ยหรอื ผ่าตามเสีย้ นไม้

เลื่อยลันดา
การใชเ้ ล่อื ยลนั ดาชนิดตัด

1.ขีดเสน้ แนวท่ีจะตัดโดยใชฉ้ าก
2.ยดึ ไมต้ ิดกับแม่แรงหรือโต๊ะรองเลือ่ ย
3.วางฟันเลอื่ ยลงชนิดกับเสน้ บนส่วนที่จะตัดท้งิ แลว้ ชักเลื่อยขึน้ ก่อน โดยวางน้วิ หัวแมม่ ือนาแนวการ
เลื่อย
4.เล้ือยสั่นๆ หลายๆ คร้ัง จนแน่ใจว่าใบเล่ือยจมลงไปในเนื้อไม่พอสมควร จงึ เอาฉากเหลก็ มาทดสอบ
5.เล่อื ยยาวๆอย่างติดต่อกันอย่างสมา่ เสมอ โดยเอยี งฟนั เล่ือยทามุมประมาณ 15-30 องศากับไม้หรอื
ช้นิ งาน
6.กอ่ นไม้จะขาดต้องเล่ือยสน่ั ๆ ใชม้ อื ซ้ายจบั ส่วนทต่ี ดั ทิ้งเพ่ือกนั มิให้เกดิ การชกี ของไม้ขึ้น
การใชเ้ ล่อื ยลันดาชนดิ โกรก
1.กะขนาดทจ่ี ะโกรกและขดี เส้นไว้เปน็ แนวยาวตลอกระยะท่ตี อ้ งการ
2.ยดื ไมบ้ นแม่แรงหรือโต๊ะรองเลื่อย
3.เร่มิ ต้นโกรกโดยใช้วิธีการเดียวกนั กับเลือ่ ยตดั ไมโ้ ดยใช้เล่ือยลัดดาชนิดตัด แต่ตา่ งกันที่ใหเ้ อยี งใบเล่ือน
ทามมุ ประมาณ 60 องศากบั ไม้
4.เลื่อยตอ่ ไปโดยชกั สนั่ ๆ ใชม้ ือจับส่วนทีต่ ัดท้งิ เพ่ือป้องกันมิให้เกิดการชีกขาดของไม้
2.2.เล่อื ยฉลุ เปน็ เล่ือยขนาดเลก็ รปู ร่างของโครงเล่ือยเป็นตวั อยู่ ทาด้วยโลหะ ใบเล่ือยเลก็ ใช้ในงานฉลุ
ลวดลายหรือเลอ่ื ยสิ่งของเล็กๆ

เลอ่ื ยฉลุ
การใชเ้ ลอ่ื ยฉลุ

1.ใส่ใบเลื่อยเขา้ กบั โครงเล่ือย โดยใหฟ้ ันเลื่อยหันออกด้านหน้าและคมของใบเลื่อยพงุ่ ลงข้างลา่ ง
2.ปรบั สกรูใหใ้ บเลือ่ ยตึงพอสมควร
3.ขณะเลื่อยช้ินงานควรบังคับโครงเล่ือยใบเล่ือยให้ตรงและเคลอ่ื นไหวไปอย่างช้าๆ
การบารุงรักษา
1.ระวงั อยา่ ใหส้ กรูจบั ใบเลอ่ื ยหลดุ หาย
2.ทาความสะอาดและทาน้ามันทกุ ครง้ั หลงั การใชง้ าน
2.3.เล่ือยตัดเหล็ก
โครงเล่อื ยเหลก็ มีรปู ร่างลักษณะท่ีแตกต่างกนั แลว้ แตบ่ ริษัทผผู้ ลติ แต่ชว่ งทใ่ี ส่ใบเลือ่ ยจะมีระยะห่าง
เท่ากัน มีรูและสลักสาหรบั ยดึ ให้ใบเลือ่ ยตึงและปรับระยะไดต้ ามขนาดความยาวของใบเล่อื ย

เล่อื ยตัดเหลก็
การใช้เล่ือยตัดเหล็ก
1.ใส่ใบเลือ่ ยเขา้ กับโครงเล่ือย ขนั ยึดใหแ้ นน่ ดว้ ยนอต
2.ปรบั ใบเล่อื ยใหต้ ั้งพอสมควร อย่าตงึ มากเกนิ ไป เพราะใบเลื่อยจะหกั ได้
การบารุงรักษา
1.หลงั จากการใช้งานให้คลายใบเล่ือยออกเลก็ น้อย เพื่อยดื อายุใบเลื่อยใหใ้ ชง้ านไดย้ าวนานขนึ้
2.ใชแ้ ปรงปัดทาความสะอาดทุกสว่ น ทาด้วยนา้ มัน แลว้ เก็บไว้ในท่เี ก็บหลังการใชง้ าน
เครอ่ื งมือสาหรับวัด
เคร่อื งสาหรับวัด มีดังน้ี
1. ไมบ้ รรทดั ใชส้ าหรับวัดระยะสัน้ ๆ และขีดเส้น

ไม้บรรทัด
การบารงุ รกั ษา
1.ทาความสะอาดหลงั เลกิ ใช้งาน
2.เก็บรกั ษาให้เรียบรอ้ ย
2. ตลบั เมตร

ใช้สาหรบั วัดระยะมีลกั ษณะเป็นตลับสี่เหลย่ี มขนาดพอจบั มือ ตัวตลับทาดว้ ยโลหะหรอื
พลาสติก ส่วนแถบวกั ทาด้วยเหล็กบางเคลือบสี ปลายแถบวัดจะมีขอเก่ียวเล็กๆ ติดอยู่

ตลบั เมตร
การใชต้ ลับเมตร
1.ใช้มือจับปลายเทปแลว้ ตึงออกจากตลบั
2.ใชข้ อปลายเทปเก่ยี วหัวไมท้ ่ีตรงและไดฉ้ าก

3.ทาเครอ่ื งหมายตามระยะท่ีตอ้ งการ
การบารุงรกั ษา
1.ระวังรักษาขอเกีย่ วปลายเทปไมใ่ หห้ ัก
2.เมื่อจะปล่อยเส้นเทปกลบั มเี่ ดมิ ต้องค่อยๆผอ่ น ถ้าปล่อยให้กลับเร็วเกินไปปลายของเก่ียวอาจชารุด
เสียหายได้
3.ทาความสะอาดหลังเลกิ ใชง้ านแล้วเกบ็ ใหเ้ ป็นระเบียบ
3.ฉาก

เปน็ เครอื่ งมือวัดละเอียดท่ีใชท้ างตรงหรือต้ังได้ฉากของงาน รวมทัง้ วัดมุมต่างๆ ฉากมี 2
ชนิด คอื
1.ฉากตาย ยดึ ติดกันตายตัวใชว้ ัดมุม 90 องศา และ 45 องศา
2.ฉากเปน็ ใชว้ ัดมมุ ตา่ งๆ สามารถถอดแยกออกจากกนั ได้

ฉากตาย 90 องศา

ฉากเปน็
การใช้ฉาก
ใช้มอื จับท่ดี า้ มมือหนง่ึ สว่ นอกี มือหน่ึงใช้จบั ชิ้นงานใหอ้ ยู่น่งิ และวางฉากลงบนช้นิ งาน โดย

ใหข้ อบแนบสนทิ กับผิวงานด้านเรยี บ แลว้ วดั ระยะฉากหรือขีดเสน้ บนชนิ้ งานตามจุดทตี่ ้องการบนใบฉาก
การบารงุ รักษา

1.หลังการใช้งานต้องทาความสะอาด
2.ไมใ่ ช้ดา้ มฉากเคาะหรือตอกแทนค้อน
3.ระมัดระวงั อยา่ ให้ฉากตกลงพน้ื เพราะจะทาใหเ้ คลื่อนที่ได้
5. ขอขดี ไม้

ใช้ขดี ทาแนวเพ่ือเลือ่ ย ผ่า หรือทารูเดือย ลักษณะของขอขดี ไม้ประกอบด้วยส่วนหัวและ
สว่ นแขน ซง่ึ ยดึ ตดิ กันดว้ ยสลักหรอื ล่มิ ปลายแขนข้างหน่งึ จะมเี ข็มเหล็กปลายแหลมติดอยู่ สาหรับขดี ให้
เป็นรอย

ขอขีดไม้
การใชข้ อขีดไม้

คลายสักหรอื ลิ่มออก แลว้ วดั ระยะหา่ งจากปลายเข็มกับด้ายให้ไดข้ นาดตามแบบทกี่ าหนด
แลว้ ลอ็ กใหแ้ นน่ จับขอขีดด้านทมี่ ีเข็มให้แนบสนิทกบั ไม้ กดดันไปข้างหน้าใหป้ ลายเข็มขีดผิวไมต้ ลอด
แนวท่ีตอ้ งการ

การบารุงรักษา
หลกั ใช้งานใหเ้ ชด็ ทาความสะอาด ทานา้ มันสว่ นที่เป็นโลหะ แลว้ เก็บให้เรียบร้อย


Click to View FlipBook Version