บทท่ี 1
บทนา
ความสาคญั ของการวิจัย
การท่องเท่ียวเป็นอุตสาหกรรมท่ีมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศ เพราะการท่องเที่ยวสามารถนารายได้เข้าสู่ประเทศมหาศาล อีกทั้งแนวโน้มจะทวี
ความสาคัญมากข้ึนในอนาคต หลังจากสถานการณ์โรคระบาดไวรัสโคโรรานาคล่ีคลาย ผู้วิจัยคาดว่า
การท่องเที่ยวจะกลายเปน็ ท่ไี ดร้ ับความสนใจจากทั่วโลก โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ซ่ึงประเทศไทยเป็นหนึ่งประเทศที่มีนักท่องเที่ยวหลั่งไหลเข้ามาเป็นประเทศต้น ๆ โดยประเทศไทย
เป็นประเทศทีม่ วี ัฒนธรรมของตนเองท่ีชัดเจนจงึ ทาให้เปน็ ทน่ี ิยมของนกั ทอ่ งเทีย่ วชาวตา่ งชาติ
จุดเร่ิมต้นของงานวิจัยเร่ิมจาก ผู้วิจัยเป็นผู้สอนการสอนวิชาภาษาจีนเพ่ือการท่องเที่ยว
นอกจากการเรียนการสอนในชั้นเรียน ผู้วิจัยได้เข้าร่วมอบรมด้านภาษาจีนเพ่ือการท่องเที่ยวท่ีภาครัฐ
เปน็ ผจู้ ดั อยบู่ ่อยคร้งั ในการสอนและการอบรมทกุ ครง้ั ผวู้ ิจัยพบว่า ผเู้ รยี นยงั มปี ญั หาดา้ นการออกเสียง
และการพูด แต่ท้ังนี้ปัญหาท่ีกล่าวมานั้นก็กลายเป็นประเด็นรองเม่ือเทียบกับคู่มือ / เอกสารท่ีผู้สอน
นาไปเรยี นและอบรมกลับไมต่ อบโจทย์ความต้องการของผู้เรียนเนื่องจากคู่มือ / เอกสารภาษาจีนเพ่ือ
การท่องเที่ยวที่มขี ายทัว่ ไปในร้านหนงั สอื เนอื้ หาเป็นเนื้อหาที่ไม่ตอบโจทย์การเรียนการสอนภาษาจีน
เพื่อการท่องเท่ียวในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เช่น ไม่มีคาศัพท์เก่ียวกับสถานท่ีในจังหวัดสุราษฎร์
บทสนทนาเป็นสถานท่ีท่องเที่ยวในจังหวัดอื่น ๆ รวมถึงบทสนทนาเหล่าน้ันเป็นประโยคที่ยาวเกินไป
ยากที่จะท่องจา และรูปประโยคท่ีไม่ทันสมัย ไม่ทันต่อยุคการเรียนในศตวรรษที่ 21 ไม่มีการนาเสนอ
ผลิตภัณฑ์ท้องถ่ินในจังหวัดสุราษฏร์ธานี เป็นต้น ทาให้คู่มือ / เอกสารเหล่านั้นไม่ตอบโจทย์และ
ตอบสนองความตอ้ งการของการผเู้ รียนในจังหวดั สรุ าษฎร์ธานี
งานวิจัยช้ินนี้มุ่งเสนอ ความต้องการด้านภาษาจีนเพ่ือการท่องเที่ยวของผู้เรียน เพ่ือนามา
พัฒนาคู่มือ / เอกสารภาษาจีนเพ่ือการท่องเท่ียวที่เหมาะสมและสามารถใช้ในในการเรียนการสอน
และการประกอบอาชีพได้จริง งานวจิ ยั ชิน้ นีย้ ังมุ่งประสานศาสตร์ทางด้านภาษาและการท่องเที่ยวโดย
เชอ่ื มโยงเข้ากับชมุ ชนชนและท้องถนิ่ เพ่ือการพฒั นาทักษะของผู้เรียนภาษาจีนในท้องถิน่ อีกด้วย
1
จากเหตุผลด้านต้นทาให้ผู้วิจัยได้เล็งเห็นถึงปัญหาจึงมีความสนใจที่จะสอบถามถึง ความ
ต้องการของผู้เรียนเป็นปฐมบทเพ่ือนาข้อมูลมาเป็นพื้นฐานในการผลิตคู่มือ / เอกสารภาษาจีนเพื่อ
การท่องเที่ยวสาหรับผู้เรยี นและผู้ทสี่ นใจในการเรยี นภาษาจนี เพ่ือการท่องเที่ยวในอนาคต
วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ยั
1. เพอ่ื ศกึ ษาความต้องการดา้ นภาษาจนี เพ่อื การท่องเท่ยี วของนักศึกษาสาขาวชิ า
ภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี
2. เพ่อื เพอื่ ศกึ ษาความต้องการดา้ นภาษาจีนเพื่อการท่องเทยี่ วของผูป้ ระกอบการใน
จงั หวัดสุราษฎร์ธานี
3. เพอื่ นาข้อมูลท่ไี ดร้ ับมาวเิ คราะห์และเสนอแนวทางการปรับปรุงการเขยี นในการ
เขียนคู่มือ / เอกสารภาษาจีนเพื่อการท่องเท่ียวสาหรับนักศึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการ
ทอ่ งเทย่ี ว
ขอบเขตการวิจัย
1.ขอบเขตด้านเนอื้ หา
ผู้วจิ ัยได้ขอบเขตเนื้อหาด้านความต้องการของผเู้ รยี นภาษาจนี ดงั น้ี
1) ขอบเขตเนอื้ หาของนักศึกษามหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎร์ธานี แบ่งได้ดงั นี้
ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 ทกั ษะการส่ือสารทต่ี อ้ งการเกี่ยวกับภาษาจนี เพอื่ การท่องเที่ยว
ตอนท่ี 3 ความต้องการด้านหัวข้อบทเรียนภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษา
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี
ตอนที่ 4 ความต้องการด้านเนื้อหาประโยคและวลีเกี่ยวกับภาษาจีนเพื่อการท่องเท่ียว
ของนักศกึ ษามหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี
ตอนที่ 5 ความต้องการด้านรูปแบบและลักษณะการเรียนภาษาจีนเพื่อการท่องเท่ียวที่มีผล
ตอ่ ความเขา้ ใจในการเรียนการสอนภาษาจีนของนักศึกษามหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี
2
2) ขอบเขตเนอื้ หาของผปู้ ระกอบการในจงั หวัดสุราษฎร์ธานี แบง่ ไดด้ ังนี้
ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 ทกั ษะการสื่อสารท่ตี อ้ งการเก่ียวกับภาษาจีนเพื่อการท่องเทยี่ ว
ตอนท่ี 3 ความตอ้ งการดา้ นหวั ขอ้ บทเรยี นภาษาจนี เพอ่ื การทอ่ งเท่ียวของผูป้ ระกอบการ
ตอนที่ 4 ความต้องการด้านเนื้อหาประโยคและวลีเก่ียวกับภาษาจีนเพื่อการท่องเท่ียว
ผ้ปู ระกอบการ
ตอนที่ 5 ความต้องการด้านรูปแบบและลักษณะการเรียนภาษาจีนเพ่ือการท่องเที่ยวท่ีมีผล
ตอ่ ความเขา้ ใจในการเรียนการสอนภาษาจนี ของผ้ปู ระกอบการ
3) สรปุ และอภิปราย
2.ขอบเขตด้านประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง
ผ้วู ิจัยประชากรท่ีใช้ในการวจิ ยั คร้ังน้ีคือ แบง่ เป็น 3 กลุ่มดังน้ี
1) นักศึกษามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี สาขาวิชาภาษาจนี จานวน 140 คน
2) หน่วยงานให้บริการทางด้านข้อมูล เอกสาร และอานวยความสะดวกในการท่องเที่ยว
จานวน 50 คน
3) สถานประกอบการที่ให้บริการรูปแบบของธุรกิจ ได้แก่ ธนาคาร โรงแรม สนามบิน บริษัททัวร์
จานวน 40 คน
3.ขอบเขตดา้ นพ้นื ที่
การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาเฉพาะความต้องการของผู้เรียนภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวเพ่ือการ
พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนภาษาจีนในจังหวัดสุราษฏร์ธานี โดย ขอบเขตด้านพื้นที่ผู้วิจัยใช้
วิธีการเลือกแบบเจาะจง ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี โรงแรม สนามบิน หน่วยงาน
ใหบ้ รกิ ารขอ้ มูลภาษาจนี ท่ีอยใู่ นจงั หวัดสุราษฏรธ์ านีเทา่ น้ัน
4. ขอบเขตด้านเวลา
การวิจยั ครงั้ น้ีดาเนนิ การระหวา่ ง วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 ธนั วาคม 2564
3
วธิ กี ารดาเนนิ การวิจยั
งานวิจัยเร่ือง“การศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการด้านภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวของ
ผู้เรียนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี” ซึ่งใช้การวิจัยแบบ Survey โดยเก็บข้อมูลผ่าน การศึกษาเอกสาร
การรวบรวมข้อมูลภาคสนาม และการทาแบบสอบถาม มุ่งสืบค้นข้อมูลจากทั้งข้อมูลปฐมภูมิและ
ข้อมูลทุตยิ ภมู ิ โดยลงพื้นที่เกบ็ ขอ้ มูลจากกล่มุ เป้าหมายคือผเู้ รียนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้แก่ อาเภอ
เมือง อาเภอเกาะสมุย และอาเภอเกาะพะงัน โดยผู้วิจัยมงุ่ เก็บ 1. ความต้องการด้านทักษะการส่ือสาร
ท่ีต้องการเกี่ยวกับภาษาจีนเพ่ือการท่องเที่ยว 2. ความต้องการด้านหัวข้อบทเรียนภาษาจีนเพื่อการ
ท่องเท่ียว 3.ความต้องการด้านเน้ือหาประโยคและวลีเกี่ยวกับภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว 4 . ความ
ต้องการด้านรูปแบบและลักษณะการเรียนภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวท่ีมีผลต่อความเข้าใจในการเรียนการ
สอนภาษาจนี โดนผูว้ ิจัยนาผลการวิจัยไปพัฒนาคู่มือ / เอกสารการเรียนภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวที่
เหมาะสาหรบั ผ้เู รียนในจังหวดั สุราษฎรธ์ านี
1 วิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูล
งานวิจยั ครงั้ นศี้ ึกษาคน้ คว้างข้อมลู จากแหล่งข้อมูลหลกั 3 ส่วน ทงั้ การศกึ ษาค้นคว้าจากเอกสารและ
งานวิจยั การทาแบบสอบถามและการศกึ ษารวมรวมข้อมูลจากภาคสนาม โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้
1.1 การศกึ ษาวเิ คราะห์เอกสาร (Document Analysis) ม่งุ ศกึ ษาค้นคว้า แนวคิด
รวมถงึ ทฤษฎีที่เกยี่ วขอ้ ง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประกอบการวิจัย ได้แก่ แนวคิดด้านการเรียนการ
สอน แนวคิดด้านความต้องการ แนวคดิ เร่อื งการจดั การเรียนการสอน รวมถึงงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
1.2 ศกึ ษาและรวบรวมข้อมูลภาคสนาม (Field Study) โดนแบ่งออกเป็น
การสัมภาษณ์เจาะลึก(In-depthInterview)การสัมภาษณ์และการพูดคุยอย่างไม่เป็นทางการ
(interview)การเกบ็ ข้อมลู โดยใช้แนวคาถามประกอบการสัมภาษณ์ การสังเกตท้ังแบบมีส่วนร่วมและ
ไมม่ ีส่วนร่วม (Observation) ทั้งนี้เน่ืองจากสถานการณ์โควิด-19 ทาให้ผู้วิจัยไม่สามารถลงพ้ืนที่ได้ใน
ส่วนของอาเภอเกาะพะงัน ผู้วิจัยจึงทาการปรับรูปแบบการสัมภาษณ์เชิงเจาะลึก เป็นการทา
แบบสอบถาม (Survey ) ซ่ึงเป็นแบบสอบถามเก่ียวกับข้อมูลเบ้ืองต้นของผู้เรียนรวมถึงความต้องการ
ด้านภาษาจนี เพือ่ การท่องเท่ียวในด้านตา่ ง ๆ โดยผ่านโปรแกรม Google Form
4
2 ขอบเขตของการวจิ ัย จานวนประชากร ประชาการกลุ่มตัวอยา่ ง
2.1ขอบเขตดา้ นประชากร 140 115
ประชากร
50 42
นักศกึ ษาสาขาวิชาภาษาจนี
มหาวทิ ยาลัยภาชภัฎสรุ าษฎร์ธานี 40 26
หน่วยงานให้บรกิ ารทางด้านข้อมูล 205 183
เอกสารและอานวยความสะดวกในการ
ทอ่ งเทีย่ ว
สถานประกอบการที่ให้บริการรปู แบบ
ของธุรกจิ
รวม
2.2 ขอบเขตด้านพ้นื ท่วี ิจยั
ผู้วิจัยเลือกพื้นทีการวิจัยครั้งน้ี แบ่งเป็น 3 อาเภอในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้แก่ อาเภอ
เมือง อาเภอเกาะสมุย และอาเภอเกาะพะงันเท่านั้น สาเหตุที่ผู้วิจัยเลือกพื้นที่ในการวิจัยครั้งน้ี
เนอื่ งจาก 3 อาเภอทก่ี ล่าวมาขา้ งต้นนน้ั เป็นศนู ย์รวมของนกั ท่องเทย่ี วชาวจนี
กล่าวโดยสรุป งานวิจัยชิ้นนี้เริ่มต้นลงพื้นที่เก็บข้อมูลจากผู้เรียนในอาเภอเมือง หลังจาก
นน้ั กระจายเครอื ขา่ ยไปยงั อาเภอ อาเภอเกาะสมุย และอาเภอเกาะพะงนั ตามลาดับ
2.3 ขอบเขตดา้ นเนื้อหา
ผวู้ ิจัยมุ่งดาเนินการศึกษาประเด็นเนือ้ หาดา้ นตา่ ง ๆ อาทเิ ช่น สภาพและปญั หา รวมถงึ
ความต้องการด้านภาษาจนี เพ่ือการท่องเทยี่ วของผู้เรียนในจังหวดั สุราษฎรธ์ านีโดยสามารถแบ่งขอบเขต
เน้อื หาอยา่ งละเอียดไดด้ งั นี้
1) ศึกษาสภาพและข้อมูลท่ัวไปของนักศึกษาและผู้ประกอบการท่ีใช้ภาษาจีน ทั้งใน
แง่ อายุ อายุการทางาน ประวัติการทางาน รวมไปถึง รวมไปถึงรูปแบบการเรียนการสอนภาษาจีน
เพ่ือการทอ่ งเทีย่ วของผเู้ รยี นในจงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี
2) ศึกษาความต้องการด้านภาษาจีนเพ่ือการท่องเที่ยวของผู้เรียน ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบ
การเรยี นการสอน เน้อื หาท่ีผ้เู รียนตอ้ งการนาไปใชใ้ นสัมมาอาชีพ
3) วิเคราะห์ทักษะท่ีจาเป็นต่อผู้เรียนในจังหวัดสุราษฎร์ธานีความต้องการของผู้เรียน
พร้อมท้ังวิเคราะห์เนื้อหาและวงคาศัพท์เพ่ือพัฒนาตาราภาษาจีนเพื่อการท่องเท่ียวรวมถึงศึกษา
แนวทางและรปู แบบการเรียนการสอนภาษาจนี เพอ่ื การท่องเท่ียวแก่ผู้เรยี นในจังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี
5
การสร้างเครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ยั
การสรา้ งเครอ่ื งมือทีใ่ ชใ้ นกาวิจัยครง้ั น้เี ป็นแบบสอบถาม มขี นั้ ตอนลากับดงั ต่อไปน้ี
1 ศกึ ษาค้นคว้าเอกสารตารา บทความวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ งเพ่อื นามาสร้างแบบสอบถาม
2 สร้างแบบสอบถามให้มีเน้ือหาสาระใหค้ รอบคลุมวตั ถุประสงค์การวิจัย โดย
เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยในคร้ังนี้เป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) โดยผู้วิจัยได้แบ่งแบบสอบถาม
ออกเป็น 3 ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี
ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลเบ้ืองต้น ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบตรวจสอบ
รายการ Check-listประกอบดว้ ย เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส อาชพี
ตอนที่ 2 แบบสอบถามเก่ียวกับความต้องการภาษาจีนเพ่ือการท่องเท่ียวในจังหวัด
สรุ าษฎรธ์ านแี บบสอบถามเปน็ แบบ check-list โดยมเี นอ้ื หาประกอบด้วย
3 ผู้วิจัยได้ทาการทดสอบค่าความสอดคล้องระหว่างคาถามกับวัตถุประสงค์ (IOC) กับ
ผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 3 ท่าน หลังจากนั้นทาการแปลแบบสอบถามจากภาษาไทยเป็นภาษาจีน ท้ังน้ี
ผู้วจิ ัยได้ทาการเกบ็ ข้อมูล ณ การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทยจังหวัดสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยราชภัฎ
สุราษฎร์ธานี เกาะสมยุ เกาะพะงัน และสถานประกอบการอื่น ๆ เช่นโรงแรม ที่พักต่าง ๆ ซึ่งการเก็บ
ข้อมูลใช้เวลา 3 เดือน ตั้งแต่เดือน เมษายนถึงเดือนมิถุนายน 2563 โดยแบบสอบถามที่ทาการ
สอบถามมีจานวนท้งั หมด 230 ชุด
4 ปรับปรุงแก้ไขตามที่ได้รับคาแนะนาจากอาจารย์ที่ปรึกษาสารนิพนธ์และผู้เชี่ยวชาญ
เพื่อใหแ้ บบสอบถามมคี วามสมบูรณม์ ากยง่ิ ข้นึ
5 นาแบบสอบถามทีป่ รบั ปรงุ แกไ้ ขไปทดลองใช้โดยกาหนดเกณฑท์ ีร่ ะดับความเช่ือมน่ั ยไม่ต่า
กวา่ 0.5 โดยวิธหี าคา่ สมั ประสทิ ธิแอลฟ่าของครอนบัค 0≤α≤1
6
กรอบแนวคิด ความตอ้ งการด้านภาษาจนี เพือ่ การทอ่ งเทีย่ ว
ของผ้ปู ระกอบการในจงั หวัดสุราษฎร์ธานี
ความตอ้ งการดา้ นภาษาจีนเพอื่ การทอ่ งเที่ยว
ของนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี แบง่ ได้ดงั นี้
แบ่งไดด้ ังน้ี - ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
- ทักษะการส่ือสารท่ีต้องการเกี่ยวกับภาษาจีน
-ขอ้ มูลท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม เพ่ือการทอ่ งเทยี่ ว
- ทกั ษะการสือ่ สารทต่ี อ้ งการเกย่ี วกบั ภาษาจนี
เพอ่ื การท่องเทีย่ ว - ความต้องการด้านหัวข้อบทเรียนภาษาจีนเพ่ือ
การทอ่ งเที่ยวของผ้ปู ระกอบการ
- ความต้องการด้านหัวข้อบทเรียนภาษาจีน
เพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษามหาวิทยาลัย - ความต้องการด้านเนื้อหาประโยคและวลี
ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี เ ก่ี ย ว กั บ ภ า ษ า จี น เ พื่ อ ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว
ผปู้ ระกอบการ
- ความต้องการด้านเนื้อหาประโยคและวลี
เ ก่ี ย ว กั บ ภ า ษ า จี น เ พ่ื อ ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ข อ ง - ความต้องการด้านรูปแบบและลักษณะการ
นักศกึ ษามหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี เรียนภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวที่มีผลต่อความ
เ ข้ า ใ จ ใ น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ภ า ษ า จี น ข อ ง
- ความต้องการด้านรูปแบบและลักษณะการ ผู้ประกอบการ
เรียนภาษาจีนเพ่ือการท่องเท่ียวที่มีผลต่อ
ความเข้าใจในการเรียนการสอนภาษาจีนของ
นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี
ตาราเรยี นภาษาจนี เพือ่ การท่องเท่ยี ว
7
การเกบ็ ข้อมูล
การวจิ ัยครงั้ น้ีใชข้ ้อมูลปฐมภูมิ Primary data โดยได้จากการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
1 นกั ศกึ ษามหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี สาขาวิชาภาษาจีน จานวน 115 คน
2 หนว่ ยงานให้บริการทางด้านข้อมูล เอกสาร และอานวยความสะดวกในการท่องเท่ยี ว
จานวน 50 คน
3 สถานประกอบการทใี่ หบ้ ริการรูปแบบของธรุ กจิ ไดแ้ ก่ ธนาคาร โรงแรม สนามบนิ บรษิ ัท
ทวั ร์ จานวน 40 คน รวมจานวน 205 คน โดยการคานวณหาขนาดกลุ่มตวั อย่างที่เหมาะสม Yamane
โดยการสุม่ ตัวอยา่ งแบบสะดวกและทาการเก็บข้อมูลจากจานวน 183 คน คดิ เป็นร้อยละ 89.27 จาก
กลุ่มตวั อยา่ งทง้ั หมด
การจัดกระทาขอ้ มลู และการวิเคราะหข์ อ้ มลู
1 การรวบรวมข้อมูล
1.1 นาแบบสอบถามทไี่ ด้รบั มากลบั มาตรวจสอบจานวนของแบบสอบถามว่าครบหรอื ไม่
1.2 ทาการตรวจสอบความถกู ตอ้ งสมบรู ณข์ องแบบสอบถามก่อนนาไปวิเคราะห์ข้อมูล
1.3 นาข้อมลู ทงั้ หมดมาจัดระบบขอ้ มูลโดยการบันทกึ ลงในโปรแกรมสาเร็จรปู
2 การวเิ คราะห์ข้อมลู
2.1 การวเิ คราะห์ข้อมลู ปัจจยั ส่วนบคุ คล ซง่ึ ประกอบดว้ ย เพศ อายุ ระดับการศึกษา
สถานภาพการสมรส และอาชีพ โดยใชก้ ารแจกแจงความถ่ีและคา่ ร้อยละ
2.2 การวิเคราะห์ข้อมลู ความต้องการภาษาจีนการท่องเที่ยวในจงั หวดั สุราษฎรธ์ านโี ดย
ใช้วิธกี ารแจกแจงความถ่แี ละค่ารอ้ ยละ
2.3 วเิ คราะห์บทสัมภาษณค์ วามตอ้ งการภาษาจนี เพ่ือการทอ่ งเทยี่ วในจังหวดั สุราษฎรธ์ านี
โดยใชว้ ธิ กี ารพรรณนาความ
2.4 เก่ยี วกับจริยธรรมการวจิ ยั วิจัยคร้งั นไี้ ด้รบั การอนญุ าตให้สมั ภาษณ์ ทดสอบวจิ ยั
และเปิดเผยรายนามและข้อมุลการวจิ ัยจากกลมุ่ ประชากรทุกข้นั ตอนแล้ว
8
บทที่ 2
เอกสารและงานที่เก่ียวขอ้ ง
ในการศึกษาวจิ ยั เร่อื ง การศึกษาความต้องการภาษาจีนเพ่ือการทอ่ งเทยี่ วเพ่ือพฒั นารูปแบบ
การเรียนการสอนภาษาจนี ในจงั หวดั สรุ าษฏรธ์ านี ผูว้ ิจยั ไดศ้ ึกษาคน้ คว้า รวบรวมแนวคดิ ทฤษฎี และ
ผลงานวจิ ยั ทเี่ กีย่ วข้องเพื่อเป็นแนวทางในการวิจัย โดยจัดเรยี งลาดบั เนอื้ หา ดงั น้ี
1. แนวคดิ ทฤษฎเี กี่ยวกบั ความต้องการ
2. แนวคดิ ความต้องการของบุคคล
3. แนวคดิ ทฤษฎีเก่ียวกับรปู แบบการเรยี นการสอนภาษาจีน
4. ยทุ ธศาสตรส์ ง่ เสริมการเรยี นการสอนภาษาจนี
5. งานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วขอ้ ง
9
1. แนวคดิ ทฤษฎคี วามตอ้ งการ
ความต้องการของมนษุ ย์เป็นเคร่ืองกระตนุ้ และแรงผลักดันให้มนุษยแ์ สดงพฤติกรรมอยา่ ง
ใดอย่างหนึ่งออกมา เพ่ือที่จะกระทาหรือปฏิบัติงานให้สาเร็จบนพ้ืนฐานความเช่ือหรือสมมุติฐาน โดย
ตงั้ อยบู่ นหลักพฤตกิ รรมวิทยาและจิตวทิ ยาทีว่ ่าด้วย “สัตวแ์ ละมนุษย์ล้วนมีความต้องการ” ท้ังนี้ผู้วิจัย
ไดศ้ ึกษาทฤษฎีความต้องการของมนุษย์ทเ่ี ปน็ ท่ยี อมรบั โดยท่วั ไป ได้แก่
วิจิตร อาวกุล (2540, น.7) ได้ให้ความหมายของคาว่า ความต้องการว่า ความต้องการ
หมายถึง สภาวะที่บุคคลยังขาดสิ่งใดสิ่งหน่ึงและต้องการท่ีจะมี หรือครอบครอง หรือการกระทาการ
สิ่งใดส่ิงหน่ึงเพื่อให้ได้มาซ่ึงสิ่งเหล่าน้ัน การที่บุคคลใดบุคคลหน่ึงขวนขวายเพื่อให้ได้มาซ่ึงในส่ิงท่ีตน
ขาดน้ัน ความต้องการจะเป็นแรงผลักดันให้บุคคลมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมภายในของ
ตนเองอยา่ งไม่หยุดย้งั ด้วยการเรียนรู้ศึกษาจากวชิ าการประสบการณจ์ นกวา่ จะไดใ้ นสง่ิ ที่ตนตอ้ งการ
วรากร ตระกูลสฤษด์ิ (2544, น.9) ได้ให้ความหมายของ “ความต้องการ” ว่า เป็นส่ิงท่ี
ส่ิงมีชีวิตส่ิงมีชีวิตน้ันจาเป็นต่อการดารงชีพ ซ่ึงขาดส่ิงมีชีวิตจะขาดส่ิงเหล่าน้ันเสียมิได้ ผลจาการ
การศึกษาหลายชิ้นแสดงให้เห็นว่า ทุกกิริยา ท่าทาง หรืออากับกิริยาท่ีมนุษย์แสดงออกมาในรูป
พฤตกิ รรมนั้นเกิดจากแรงผลักดันของความต้องการเป็นสาคัญ ทั้งน้ีความต้องการออาจเกิดข้ึนได้จาก
การเรียนรู้ท่ีเกิดข้ึนมาภายหลัง และจากสิ่งท่ีเกิดขึ้นเองโดยไม่ต้องเรียนรู้ที่ ซ่ึงทั้งสองเป็นความ
ต้องการทางชวี วิทยาทอี่ าจจะเปน็ สิ่งทแ่ี สดงออกมาให้เห็นหรืออาจจะสงิ่ ท่ซี ่อนอย่ภู ายใน
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ (2550, น.168) ได้ให้ความหมายของ “ความต้องการ” ว่า ความต้องการ
คือสภาวะที่สิ่งมีชีวิต หรือมนุษย์ขาดความสมดุล ขาดส่ิงบางอย่างและต้องการได้รับสิ่งนั้น เช่น ขาด
อาหารทาให้รู้สึกหิว ก็ต้องการอาหารรับประทาน หรือเกิดความรู้สึกเหน่ือย เพลีย เน่ืองจากพักผ่อน
ไม่เพียงพอ ก็ต้องการพักผ่อน หรือไม่มีเงินก็ต้องการเงินสาหรับการใช้จ่าย ไม่ได้รับการยอมรับ ไม่ได้
รับการยกย่อง ไม่มีช่ือเสียง ไม่มีเกียนติยศ ก็ต้องการการยอมรับการยกย่อง ต้องการมีช่ือเสียง
ต้องการมีเกียรติยศ เป็นต้น ซ่ึงความต้องการเหล่าน้ันอาจสรุปได้ว่าเป็นความต้องการทั้งทางร่างกาย
และความตอ้ งการทางด้านจติ ใจ
มณฑิรา อาวกุล (2553, น.8) ได้ให้ความหมายของความต้องการ หมายถึง ความต้องการ
อยากได้ หรือประสงค์อยากได้ และแสวงหาเพ่อื ตอบสนองความตอ้ งการนั้น ๆ
สริญญา แพทย์พิทักษ์ (25553, น. 21 ) กล่าวว่า มนุษย์มีความต้องการและมีความหวังใน
การใช้เหตุผลของตนเอง และใช้ความพยายามของตนเพ่ือปฏิบัติงานในองค์การให้เกิดประโยชน์มาก
10
สุด ดังนั้นมนุษย์จึงต้องมีมโนทัศน์ที่กว้างไกลในการวางแผนพัฒนา ทั้งนี้ความต้องการของมนุษย์
ประกอบดว้ ย การตัง้ เป้าหมาย วจิ ยั และแก้ปญั หา และนาผลไปปฏิบตั ิ เพื่อให้ไดใ้ นส่งิ ท่ตี นต้องการ
ศรีชล ฉายาพงศ์ (2553, น. 10) กล่าวว่า ความต้องการหมายถึง ความต้องการของมนุษย์ที่
แสดงออกมาในรปู แบบพฤตกิ รรมอย่างใดอย่าง ซ่ึงสิ่งที่แสดงออกมาน้ันเป็นธรรมชาติของมนุษย์ และ
เม่ือมนุษย์มีความต้องการที่จะได้รับการยกย่องนับถือทาให้ผู้อ่ืนเห็นความสาคัญของตน หรือเมื่อ
ต้องการประสบความสาเร็จในหน้าที่การงาน มีความเจริญก้าวหน้า มนุษย์ย่อมมีความปรารถนาที่จะ
พัฒนาตนเองเพื่อเพ่ิมพูนความรู้ ทักษะ และความสามารถทาให้ตนเองมีศักยภาพ สามารถปฏิบัติ
ภารกจิ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ
จากการศึกษาความมาย “ความต้องการ” ผู้วิจัยสรุปได้ว่า ความต้องการหมายถึง ความ
ปรารถนาของมนุษย์อยากได้หรอื อยากมใี นบางสิ่งบางอย่าง ซ่ึงความต้องการน้ันจะแตกต่างกันไปตาม
ปัจจัยและสถานการณ์ นอกจากนั้นความต้องการอาจเกิดข้ึนได้จากแรงผลักดันให้บุคคลมีการ
ปรบั ปรุงหรือเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมภายในของตนเองดว้ ยการเรียนรู้ ศึกษาจากประสบการณ์ จนกว่า
จะไดใ้ นสง่ิ ท่ีตนปรารถนา
2. ความตอ้ งการของบคุ คล
มาสโลว์ (Maslow ,1954) กล่าวถึงความต้องการของบุคคลซ่ึงจัดเป็นลาดับข้ันตอนได้ 5
ข้นั ตอน ดังนี้
1 ความต้องการทางกายภาพ (physiological Needs) ได้แก่ อาหาร น้าด่ืมความต้องการที่
อยอู่ าศัย ความต้องการทางเพศ และความต้องการอ่นื ๆ ของรา่ งกาย
2 ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs) ได้แก่ ความต้องการีความมั่นคง
และการป้องกันภัยอันตรายจากสงิ่ รอบตวั และจากการทารา้ ยจติ ใจ
3 ความตอ้ งการที่จะผูกพันในสงั คม (Social Needs) ได้แก่ ความรัก ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่ง
ของสงั คม การไดร้ ับการยอมรับและมิตรภาพ
4 ความต้องการท่ีจะมีฐานะเด่นและได้รับการยกย่องจากสังคม (Esteem Needs) ได้แก่
การเคารพนับถือตัวเอง การเป็นตัวเของตัวเองและการประสบความสาเร็จ การมีฐานะในวงสั งคม
การได้รับการยอมรับจากคนอ่ืนและการได้รบั ความสนใจจากผอู้ ื่น
11
5 ความต้องการบรรลุศักยภาพสูงสุดแห่งตน (Self-actualization Needs) ได้แก่
แรงผลักดันที่ทาให้ตนเป็นในสิ่งที่จนเป็นได้ดีท่ีสุด ซ่ึงเป็นการเจริญเติบโต การได้ใช้ศักยภาพของจน
อย่างเต็มท่ี และความปรารถนา
(McClelland, 1961) ไดก้ ลา่ วถงึ ความตอ้ งการซึง่ มีอยู่ 3 ประการ ไดแ้ ก่
1 ความต้องการที่จะประสบความสาเร็จ (Achievement) หมายถึงพลังผลักดันท่ีต้องการ
แสดงออกถึงความดีเด่น ความต้องการที่จะทาอะไรซักอย่างให้สาเร็จได้ดีกว่าคนอ่ืน หรือดีกว่า
มาตรฐานทว่ั ไป ความมุ่งมานะพยายามต่อสู่ฝ่าฟันเพื่อความสาเร็จ คนท่ีมีความต้องการเช่นน้ี เป็นคน
ทปี่ รารถนาจะทาอะไรให้ไดด้ ีกวา่ คนอื่น เป็นคนท่ถี อื วา่ งานเป็นเรอื่ งท่ที ้าทาย และเป็นคนที่รับผิดชอบ
ตอ่ ความสาเรจ็ หรือความลม้ เหลวต่อการทางานของตน
2 ความต้องการท่ีจะมีอานาจ (Power) หมายถึง ความต้องการท่ีจะมีอิทธิพลและเข้าไป
ควบคมุ กากบั คนอืน่ ให้กระทาตามทตี่ นต้องการ คนพวกนี้ชอบทาตัวเป็นคนคุมเกม ชอบมีอานาจ ชอบ
มศี ักดิ์ศรีมากกวา่ ท่จี ะใหค้ วามสาคญั ต่อการทางานทด่ี ี และชอบทางานในลกั ษณะที่แขง่ ขนั กับคนอืน่
3 ความต้องการท่ีจะผูกพัน (Affiliation) หมายถึง ความต้องการที่จะให้คนอื่นชอบและเป็น
มิตรด้วย คนพวกนี้ตอ้ งการบรรยากาศการทางานแบบต่างฝ่ายตา่ งเข้าใจและร่วมมือกันทางาน
(Alderfer ,1972) แบ่งความต้องการของมนษุ ยอ์ อกเปน็ 3 ประการ ดงั น้ี
1 ความตอ้ งการในการอยู่รอด (Existence Needs) เป็นความต้องการของบุคคลในระดับต่า
ที่สุดที่ต้องการการตอบสนองทางกาย เช่น ต้องการอาหาร เส้ือผ้า ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค เพื่อให้
ดารงชีวิตอย่ไู ด้
2 ความต้องการด้านความสัมพันธ์ (Relatedness Needs) เป็นนความต้องการของบุคคลท่ี
จะมีมิตรไมตรี และความสมั พนั ธท์ ่ดี ีกับบุคคลท่อี ยู่แวดล้อม
3 ความต้องการความเจริญก้าวหน้า (Growth Needs) เป็นความต้องการสูงสุดของบุคคล
ได้แก่ การตอ้ งการได้รับการยอมรับยกย่อง และต้องการความสาเรจ็ ในชีวติ
จากแนวคิดความต้องการของบุคคล ผู้วิจัยสรุปได้ว่า ความต้องการของมนุษย์น้ันมีความ
หลากหลาย ท้ังน้ีขน้ึ อยกู่ บั ปจั จยั และพ้ืนฐานของความต้องการแต่ละบุคคล ดังน้ันความต้องการจึงทา
ให้เกิดแรงผลักดัน หรือความพยายามที่จะขวนขวายที่จะตอบสนองความต้องการของตนให้ได้ ซ่ึง
แรงผลักดัน หรือความพยายามน้ันทาให้มนุษย์เกิดการพัฒนาตนเองให้มีทักษะท่ีดีข้ึน หรือปรับปรุง
พฤตกิ รรมใหด้ ีขึน้ เพอื่ จะไดส้ ่ิงทปี่ รารถนามาครอบครอง ผู้วิจัยมีความเห็นสอดคล้องกับกับทฤษฏีของ
12
มาสโลว์ (Maslow ,1954) ท่ีว่าด้วยมนุษย์เรานอกจากมีความต้องการปัจจัยพ้ืนฐานแล้ว ยังต้องการ
ความผูกพันในสังคม ความต้องการด้านความปลอดภัย ความต้องการด้านการยอมรับนับถือ และ
ความต้องการบรรลศุ กั ยภาพสูงสุดแหง่ ตน
3 แนวคิดทฤษฏีเกยี่ วกับรูปการเรียนการสอนภาษา
1.3 ความหมายของทฤษฎีการสอน
จากการศึกษาดา้ นความหมายของทฤษฎีการสอน พบว่ามผี ู้ให้คานิยาม “ทฤษฎีการสอน” ไว้
หลากหลายมิติ ทั้งนี้สามารถสรุปได้ว่า ทฤษฎีการสอน (Teaching Theory) หมายถึง แนวทางการ
จัดการเรียนการสอนที่ชัดเจน มีลักษณะของการแนะนา กาหนดและเป็นการกล่าวในลักษณะท่ีเป็น
รูปธรรม อาจจะอยู่ในรูปแบบ ข้อความรู้ที่พรรณนา อธิบายทางการสอนที่ได้รับการพิสูจน์ ทดสอบ
และการยอมรับว่าเชื่อถือได้ ซึ่งนักจิตวิทยาหรือนักการศึกษาอาจพัฒนาหรือแปลงมาจากทฤษฎีการ
เรียนรู้ เพื่อนาไปใช้เปน็ หลกั ในการเรียนการสอนใหเ้ ป็นไปตามจุดมุ่งหมายท่ีกาหนดไว้
กล่าวสรุปคือ ทฤษฎีการสอน (Teaching Theory) เป็นหน่ึงในกระบวนการท่ีจะทาให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ตามความหมายของการศึกษาคือการส่งเสริมให้บุคคลเจริญเติบโตและมีความเจริญงอก
งามทางกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาและพฒั นาขนึ้ ไปสคู่ วามเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
3.2 แนวคิดพน้ื ฐานในการจัดการเรียนการสอน
จากการศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ดา้ นแนวคิดพ้ืนฐานในการจดั การเรียนการสอน ผวู้ ิจยั
สรุปได้ 5 ประการ ดงั นัน้
1) บรรยากาศ สิง่ แวดลอ้ ม เป็นองค์ประกอบสาคัญอย่างหนึ่งท่ีผู้สอนควรพัฒนาและจัดอย่าง
เหมาะสม เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความศรัทธา ซึ่งถือว่าเป็นจุดเร่ิมต้นที่ดีอย่างหนึ่งของการเรียนการสอน
อยา่ งเปน็ ระบบ
2) การเรียนรู้ของผู้เรียนเกิดขึ้นได้ทุกแห่ง ทุกเวลา ต่อเนื่องยาวนานตลอดชีวิต การสอนใน
ยุคปัจจุบันจะต้องเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนรักท่ีเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เป็นการเรียนรู้ด้วย
ตนเอง ไม่ใช่การเรียนรู้แบบมีผู้สอน ผู้สอนช่วยได้เพียงช่วงหนึ่งของชีวิต ที่เหลือผู้เรียนจะต้องเรียนรู้
ด้วยตนเอง
13
3) การเรียนรู้ทดี่ จี ะเกดิ การปฏบิ ัตจิ รงิ ดว้ ยการลงมอื ทาของผูเ้ รียน กล่าวคตือผู้เรียนควรจะมี
โอกาสสัมผัสของจริง สถานการณ์จาลอง การได้ทดลองทา การได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ
จะทาให้ผู้เรียนได้รู้วิธีการอยู่ร่วมกันในสังคม และการแก้ปัญหาของชีวิตได้อย่างมีสติ นอกจากน้ี
ผ้เู รียนควรจะเรียนตามความต้องการและให้โอกาสให้ผู้เรียนได้ร่วมในการวางแผนและการดาเนินงาน
จึงจะทาให้ผู้เรยี นได้พัฒนาศักยภาพของตนเองไดอ้ ยา่ งเต็มท่ี โดยมผี ู้สอนเป็นผู้แนะนา
4) ภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือภูมิปัญญาชาวบ้านในชนบทที่มีอย่างมากมายหลายสาขา มีค่าบ่ง
บอกถึงความเจริญและความเป็นมาของแต่ละพื้นที่ การจัดกิจกรรมตามหลักสูตรท้องถิ่นจะนาเอา
ทรัพยากรอันมคี ่าของท้องถน่ิ มาร่วมประยุกต์และบูรณาการเขา้ กบั การเรียนการสอน
5) การเรยี นรู้ของผูเ้ รียนไม่ไดอ้ ยู่ทกี่ ารสอนและระยะเวลาที่ยาวนาน แต่แก่นแท้ของการเรียน
รู้อยูท่ ่กี ารเรียนรู้ของผ้เู รยี นเปน็ สาคญั การจดั การเรียนการสอนควรเป็นกระบวนการท่ีจัดให้ผู้เรียนได้
รู้จกั วิธกี ารเรยี นรู้ วิธีการแสดวงหาความร้ดู ้วยตนเอง โดยใชเ้ ทคโนโลยที ีห่ ลากหลาย
3.3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน
อษุ ณยี ์ โพธิสขุ (2540, น.40) กลา่ วถงึ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่ยดึ ผเู้ รียนเป็น
ศนู ย์กลางวา่ เปน็ กลยุทธ์ในการสอนรูปแบบใหมเ่ พอ่ื เน้นผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ มีหลักการสอนดังนี้
1) มกี จิ กรรมหลากหลายทีต่ อบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ การสอนต้องตอบสนอง
วธิ กี ารทางานของสมองทแี่ ตกต่างกนั ลกั ษณะของจติ วทิ ยาทีแ่ ตกตา่ งกัน
2) การสอนที่เน้นการเรียนรู้ท่ีพัฒนาทักษะการคิดระดับสูง เช่น การคิดอย่างมีการวิเคราะห์
โดยใช้หลกั และเหตผุ ล ตรรกะ การแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์
3) ผู้เรียนต้องมีส่วนร่วมในการเรียนรุ้ของตนเอง ผู้เรียนควรมีสิทธ์ิในการกาหนดทิศทางใน
การเรียนรู้ หรือเสนอสง่ิ ท่ีอยากเรยี นรู้
4) การพัฒนาหลักสูตร การวางแผน การสอน และการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่
สอดคลอ้ งกนั
5) ผู้เรยี นตอ้ งมสี ่วนร่วมกบั สังคม และสังคมต้องมีสว่ นร่วมในการจดั การเรียนการสอน
6) เน้นการสอนรปู แบบการเรียนรู้โดยจติ ใต้สานึก
7) การสอนแบบการบรู ณาการวิชาตา่ ง ๆ เขา้ ด้วยกัน
8) การสอนไม่จาเปน็ ต้องจากดั เพียงในชน้ั เรยี น
14
ทิศนา แขมมณี (2540, น. 5) ให้แนวคิดว่า การสอนแบบเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ หมายถึง
การเรียนการสอนโดยให้ผู้เรยี นมสี ่วนร่วมในการเรียนรู้ กับปรัชญาและเน้ือหาเบื้องต้นของการจัดการ
เรียนการสอนท่ีกล่าวถึง พัฒนาการทั้งส่ีด้านของผู้เรียนได้แก่ 1 ด้านร่างกาย 2 ด้านอารมณ์ 3 ด้าน
สงั คมและ 4 ดา้ นสติปัญญา จึงสามารถทาให้ผ้เู รียนเกิดการเรยี นรู้ได้ดี
วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2543, น.9) กล่าวว่า การจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
คือ วิธีการสาคัญที่สามารถสร้างและพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดคุณลักษณะท่ีต้องการในยุคโลกาภิวัตน์
เนื่องจากเป็นการจัดการเรียนการสอนที่ให้ความสาคัญแก่ผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักตนเองมาก
ยงิ่ ขนึ้
ประเวศ วะสี (2543, น. 1) กล่าวว่า การเรียนรู้ท่ียึดผู้เรียนเป็นสาคัญที่สุด หมายถึง การ
เรียนรู้ในประสบการณ์จริง สถานการณ์ของแต่ละคนไม่เหมือนกัน จึงต้องเอาผู้เรียนแต่ละคนเป็นตัว
ตงั้ ผสู้ อนจดั ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนจากประสบการณ์ กิจกรรมและการทางาน อันนาไปสู่การพัฒนาผู้เรียน
ในทุก ๆ ดา้ น ท้งั ทางกาย ทางจิตอารมณ์ ทางสังคม และทางสตปิ ัญญา
โกวิท ประวาลพฤกษ์ (2543, น.4) กล่าวว่า กระบวนการจัดการเรียนการสอนท้ังหลายท่ี
สาคัญที่สุดคือต้องให้ผู้เรียนตัดสินใจเอง ผู้เรียนจะต้องกาหนดเอง ตัดสินใจเองว่าเขาจะไปทางไหน
อย่างไร เพราะฉะนัน้ ตรงนี้จงึ เป็นที่มาของการเรียนรู้ที่เรียกว่า ผู้เรียนเป็นจุดศูนย์กลาง กระบงนการ
ทัง้ หลายทีส่ าคัญทสี่ ุด คอื ผู้สอนตอ้ งรูจ้ ัดการจัดเงื่อนไข ดงั นี้
1 จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดย
คานงึ ถงึ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล
2 ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มา
ใชเ้ พ่อื ป้องกันและแกไ้ ขปัญหา
3 จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ประสบการณ์จริง ฝึการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รัก
การอ่าน และเกดิ การใฝ่รูอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง
4 การจัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน
รวมท้ังปลูกฝังคณุ ธรรม
5 สง่ เสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอานวย
ความสะดวกเพท่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้รวมทั้งสามารถใช้วิจัยเป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการเรยี นรู้ และการจดั การเรยี นร้ใู หเ้ กดิ ไดท้ ุกเวลาและทกุ สถานท่ี
15
3.4 วิธกี ารสอน
จากการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัย ผู้วิจยั สรุปได้วา่ วิธีสอน คือ การดาเนนิ ให้ผ้เู รยี นเกิดการ
เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ด้วยวิธีการต่างๆที่แตกต่างไปตามองค์ประกอบ และข้ันตอนสาคัญอันเป็น
ลักษณะเฉพาะหรือลกั ษณะเด่นท่ขี าดไม่ได้ของวิธนี ้นั ๆ มีวธิ กี ารสอนที่สาคัญไดแ้ ก่
1) วิธีสอนโดยใช้การบรรยาย คอื กระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ตามวัตถุประสงค์ท่ีกาหนด โดยการเตรียมเน้ือหาสาระแล้วบรรยายคือพูด บอก เล่าอธิบายเนื้อหา
สาระหรือสิ่งที่ต้องการสอนแก่ผู้เรียน และประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง
วัตถุประสงค์ของวิธีน้ีเป็นวิธีการท่ีมุ่งช่วยให้ผู้เรียนจานวนมากได้ เรียนรู้เน้ือหาหรือข้อความรู้จานวน
มากพรอ้ มๆ กันในเวลาท่จี ากดั
2) วิธีการสอนแบบสถานการณ์จาลอง ซื้อการเรียนการสอนที่อาศัยสถานการณ์ที่สร้างขึ้น
จากเนื้อหาในบทเรียนจากจาลองสถานการณ์ท่ีเป็นผู้มาใช้ในช้ันเรียน โดยจัดให้สอดคล้องกับ
จุดประสงค์ของการเรียนในแต่ละคาบ จุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยมีโอกาสเข้าไปอยู่ใน
สถานการณ์ใกลเ้ คียงกับประสบการณจ์ รงิ
3) การสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ เป็นการสอนท่ีเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้
ความรู้สึกและเข้าใจคนอื่นโดยการให้นักเรียนแสดงบทบาทของคนอื่นท่ีไม่ใช่ตนเอง จุดมุ่งหมาย
เพื่อให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในบทเรียนด้วยตนเองอย่างลึกซ้ึงและมีโอกาสแสดงออกอย่างอิสระและมี
เปา้ หมาย
4) วิธีการสอนการคิดแบบหมวก 6 ใบ เป็นวิธีการสอนที่กาหนดบทบาทสถานการณ์คล้าย
กับบทบาทสมมุติเพ่ือให้บุคคลได้แสดงความคิดเห็นเป็นเรื่องๆ หรือมีหกด้าน ได้แก่ ด้านข้อเท็จจริง
ด้านอารมณ์รุนแรง ด้านความเศร้า ด้านความร่าเริงแจ่มใส ด้านสร้างสรรค์ และด้านรู้สึกสงบ
จดุ มุ่งหมายเพื่อให้ผเู้ รยี นได้ฝกึ การคิดหลายๆด้าน ใหค้ รอบคลุมเรอื่ งที่ประเดน็ ท่ปี ฏิบตั แิ ก้ปัญหา
5) วิธีการสอนแบบสหวิทยาการ เป็นการสอนท่ีเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ร่วมมือกันค้นคว้า
หรือศกึ ษาสง่ิ ทีส่ นใจ นกั เรียนกับครจู ะต้องรว่ มมอื กันเพอื่ ให้เกดิ การเรียนรู้ นักเรียนอาจเป็นกลุ่มเล็กๆ
หรือศึกษาเปน็ รายบุคคลก็ได้เพือ่ ให้เกดิ การเชือ่ มโยงหลายรายวิชาเข้าด้วยกัน ไม่ใช่แต่ด้านเน้ือหาวิชา
เขา้ ด้วยกนั แต่ยังเก่ียวข้องกับวิธีสอนของครูอีกด้วยถ้าครูสอนแยกเป็นนายวิชาจะทาให้การเรียนการ
สอนไม่ต่อเนื่อง จุดมุ่งหมายเพ่ือเปิดโอกาสให้ครูได้สอน โดยเน้นถึงศูนย์กลาง โดยครูต้องสนใจว่า
เด็กแสดงความเป็นตัวของตนเอง และแสดงต่อผู้อ่ืนอย่างไรบ้าง รวมท้ัง ต้องสนใจว่าเด็กได้เรียนรู้
16
อะไรบ้าง ดังน้ัน รูปแบบการสอนเชิง สหวิทยาการ จึงต้องการผสมผสานระหว่างวิธีการเรียนการสอน
กบั แนวคิดทางจติ วิทยาเข้าด้วยกัน
6) วิธีสอนแบบบทเรียนโปรแกรม แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนโปรแกรมหรือ
บทเรยี นสาเร็จรูป เปน็ กระบวนการจัดการเรียนรทู้ ี่มีการสร้างบทเรยี นโปรแกรมหรือบทเรียนสาเร็จรูป
ไว้ล่วงหน้าท่ีจะให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง จะเรียนรู้ได้เร็วหรือช้าตามความสามารถของแต่ละบุคคล
วัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสามารถ ความถนัด ความต้องการและความสนใจเป็น
รายบคุ คล รวมถึงสนองตอบความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลและความสนใจเป็นรายบุคคล
7) วิธีการสอนแบบกรณีศึกษา เป็นการจัดการเรียนรู้โดยกรณีศึกษา คือกระบวนการเรียนรู้
ท่ีให้ผูเ้ รียนไดศ้ กึ ษาเรียนรู้กรณหี รอื เรอ่ื งราวต่างๆ ซึง่ อาจจะเป็นเร่ืองจริงหรือสมมติข้ึน จากความเป็น
จรงิ โดยมีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู นามาวิเคราะห์ อภิปราย แลกเปลี่ยนข้อมูล วัตถุประสงค์เพ่ือฝึกให้
ผู้เรียนเผชิญหรือแก้ปัญหาโดยไม่ต้องรอให้เกิดปัญหาจริงและสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
และเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการแสวงหาความรู้ด้วยวิธีต่างๆอย่างหลากหลายแล้วนา
ข้อมูลมาวิเคราะห์ อภิปราย แลกเปล่ยี นเรียนรู้ ทาใหผ้ เู้ รยี นมมี ุมมองกว้างข้นึ
4 ยุทธศาสตรส์ ง่ เสรมิ การเรยี นการสอนภาษาจีน
แผนยุทธศาสตร์ที่สาคัญที่ใช้ในการผลักดันการเรียนการสอนในช่วงหลายปีท่ีผ่านมานั้นก็คือ
แผนยุทธศาสตร์ส่งเสรมการเรียนการสอนภาษาจีนเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ
(พ.ศ. 2549-2553) ซ่ึงถือว่าเป็นแผนยุทธศาสตร์ท่ีครอบคลุมการเรียนการสอนภาษาจีนทุกระดับ
ตั้งแต่ประถมศึกษาถึงอุดมศึกษา โดยมีเป้าหมายหลัก ๆ 3 ประการคือ 1 นักเรียนและนักศึกษาใน
ระบบโรงเรียนทุกคนต้องได้เรียนภาษาจีนและผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามสัดส่วน 2 นักเรียนที่มี
ความสามารถพิเศษทางภาษาจีนจะต้องได้รับการพัฒนาให้มีความเชี่ยวชาญในทางวิชาชีพเฉพาะทาง
และ3 ประชากรวัยแรงงานจะต้องได้เรียนภาษาจีนและสามารถใช้ส่ือสารในการประกอบอาชีพได้
หลังจากท่ีกาหนดเป้าหมายชัดเจนก็ได้จัดทาแผนยุทธศาสตร์การเรียนการสอนภาษาจีนโดยมี
กระทรวงศึกษาธิการมีหน้าที่จัดทาเพ่ือเสนอต่อคณะรัฐมนตรี ซึ่งในแผนแผนยุทธศาสตร์ส่งเสรมการ
เรียนการสอนภาษาจีนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ (พ.ศ. 2549-2553) มี
รายละเอยี ดและสาระสาคัญดงั น้ี
17
4.1 ยทุ ธศาสตรส์ ง่ เสรมิ การเรยี นการสอนภาษาจีน
แผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนสามารถแบ่งเป็น 5 ยุทธศาสตร์โดย
สาระสาคัญของยุทธศาสตรซ์ ่งึ สรุปโดยอุทัยวรรณ เฉลิมชัย (2550) มดี งั นี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 รณรงค์และส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการการเรียนรู้ภาษาจีนอย่าง
กว้างขวาง โดยจัดทาแผนยุทธศาสตรร์ ะยะเรง่ ด่วน และระยะปานกลางเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน
ภาษาจีนให้เป็นระบบ พร้อมทั้งส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายหลัก คือ นักเรียน นักศึกษา และผู้อยู่ในวัย
แรงงานสามารถใชภ้ าษาจนี เพ่ือการสื่อสารไดอ้ ย่างถกู ต้องและเหมาะสมกับกาลเทศะ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 จดั ทามาตรฐานหลักสูตรและทางการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในแต่ละ
ระดับประเภทของการศึกษา เพื่อให้สถานศึกษาแต่ละประเภท แต่ละระดับ ปรับใช้ให้สอดคล้องกับ
ความต้องการ ตั้งแตร่ ะดับมัธยมศึกษาตอนปลายถึงระดับอุดมศึกษา รวมทั้งกาหนดนโยบายเร่ืองการ
ใชอ้ ักษรจนี ต่อยอ่ ในหลกั สตู ร
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาส่ือสารการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยให้มี
คุณภาพและมีมาตรฐานเป็นท่ียอมรับ โดยทาความร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการของจีน จัดทา
หนังสือเรียนที่สอดคล้องกับหลักสูตรไทย พร้อมท้ังจัดหาส่ือการเรียนภาษาจีนที่มีคุณภาพและ
สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานหลกั สูตร และส่งเสริมสนับสนุนให้สานักพิมพ์ในประเทศไทยผลิตหนังสือเรียน
และสือ่ ความรู้เอง หรือผลติ หนังสอื รว่ มกบั สานักพมิ พใ์ นสาธารณรัฐจนี
ยุทธศาสตร์ที่ 4 วางระบบพัฒนาครูสอนภาษาจีนในระยะส้ันและระยะยาวให้ได้มาตรฐาน
โดยเร่ิมจากการสารวจสภาพปัจจุบันและข้อมูลเกี่ยวกับครูรวมถึงความต้องการของครูที่ต้องการ
พัฒนาในระดับต่างๆ พร้อมท้ังจัดทาฐานข้อมูลเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาครูเข้าสู่เกณฑ์
มาตรฐาน และระยะต่อมาจะกาหนดมาตรฐานครูโดยเทียบเคียงและปรับใช้ระบบการอบรมและการ
ทดสอบมาจรฐานการสอน (Jiaoshi Ge Zhengshu) ซึ่งเป็นมาตรฐานครูสอนภาษาจีนของ
สาธารณรัฐประชาชนจีน ท่ีสอนภาษาจีนให้แก่ชาวต่างประเทศ กาหนดระดับความรู้ขั้นต่าของ
ครูผูส้ อนภาษาจนี โดยใช้ HSK (Hanyu Shuiping Kaoshi) ไม่ต่ากว่าระดับ 5 สาหรับครูท่ีสอนระดับ
ประถมศึกษา รวมทั้งพัฒนาครูประจาการผู้สอนภาษาจีนอย่างสม่าเสมอ เช่น การสนับสนุน
ทุนการศึกษาต่อสาหรับครูไทยที่มีผลการศึกษาดีเด่น รวมท้ังส่งเสริมการผลิตและสร้างแรงจูงใจแก่
บคุ ลากรรุน่ ใหม่
18
ยุทธศาสตร์ท่ี 5 ส่งเสริมความร่วมมือและสร้างเครือข่ายเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน
ภาษาจีนในประเทศไทย โดยการทา mapping โรงเรียนที่สอนภาษาจีนในประเทศไทยเพ่ือกาหนด
พ้ืนที่ท่ีควรให้การสนับสนุนและส่งเสริมเป็นกรณีพิเศษ สร้างเครือข่ายที่เข้มแข็งระหว่างสถานศึกษา
กับสถานศึกษาในระดับต่างๆ เช่น ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา เพื่อ
ชว่ ยเหลอื และพ่ึงพากันและกันในเรื่องครูผู้สอน หลักสูตร สื่อการเรียนการสอน การประเมินผล ฯลฯ
และร่วมมือกับสถานอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจาประเทศไทย เพื่อแสวงหาความ
รว่ มมอื ในการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจนี ในประเทศไทย
4.2 ยุทธศาสตรก์ ารดาเดนิ งาน
จากยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนทาให้ภาษาจีนในประเทศไทยพัฒนาไป
อย่างรวดเรว็ ทาใหส้ ถานศึกษาท่ีเปิดสอนภาษาจีนเจออุปสรรค์ด้านการเรียนการสอนเป็นอย่างมากไม่
ว่าจะเป็น จานวนครูผู้สอน การจัดการเรียนการสอน รวมไปถึงคุณภาพของครูผู้สอน จากปัญหา
อุปสรรคทาให้กระทรวงศึกษาธิการกาหนดยุทธศาสตร์การดาเนินงานด้านการสอนภาษาจีนเพ่ือเพ่ิม
ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
โดยกระทรวงศกึ ษาธิการไดว้ างยทุ ธศาสตร์แผนการดาเนินงานไวด้ งั นี้
ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการให้มปี ระสทิ ธภิ าพ
ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การปรับปรุงและพฒั นาระบบการเรียนการสอนใหม้ คี ณุ ภาพ
ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การจดั ระบบการสนับสนนุ วชิ าการใหไ้ ด้มาตรฐาน
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การส่งเสริมระบบการศึกษาตามอัธยาศัย
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การพัฒนาการเรียนรทู้ ม่ี ีความสารมารถทางภาษาจีนให้เชยี่ วชาญใน
วิชาชีพเฉพาะ
19
4.2.1 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการใหป้ ระสิทธภิ าพ
ระบบการบรหิ ารจดั การ
คณะกรรการ ศนู ย์สง่ เสริมการสอน ความร่วมมือในและ ระบบนิเทศกากบั
ภาษาจนี ระหวา่ งประเทศ ตดิ ตาม
ภาพที่ 1 ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การใหป้ ระสิทธิภาพ
แผนยุทธศาสตร์การดาเนินงานท่ี 1 ด้านระบบการจัดการและบริหารสามารถแบ่งได้เป็น 4
ด้านซึ่งมกี ระบวนการดาเดนิ งานดงั น้ี
4.2.1.1 แต่งตัง้ คณะกรรมการระดบั ชาตแิ ละคณะอนุกรรมการเฉพาะเร่อื ง
เพ่อื ส่งเสรมิ การเรียนการสอนภาษาจนี ประกอบดว้ ยผู้แทนจากภาครัฐ ภาคเอกชน และผเู้ ช่ยี วชาญ
ด้านภาษาจนี ในสดั สว่ นท่เี หมาะสม เพ่ือทาหน้าท่สี ง่ เสริม สนบั สนนุ และประสานงานการจัดการเรยี น
การสอนภาษาจนี ในประเทศไทย
4.2.1.2 จัดตั้งศูนย์ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนระดับชาติ และระดับถูมิ
ภาคเพ่อทาหน้าท่เี ปน็ ศนู ย์กลางในการประสานงานดา้ นการเรยี นการสอนภาษาจีน
4.2.1.3 พัฒนาความร่วมมือกับประเทศจีนและองค์กร มูลนิธิตลอดจน
หน่วยงานภาคเอกชนในประเทศไทย เพ่ือพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาจนี ใหเ้ ป็นระบบ
4.2.1.4 จัดระบบการนิเทศ กากับและติดตามผลการดาเนินงานการจัดการ
เรยี นภาษาจนี ท้ังระบบอย่างอย่างตอ่ เนือ่ ง โดยเช่อื มโยงการพฒั นาภาษาจนี ทกุ ระดบั เข้าดว้ ยกนั
จากแผนยุทธศาสตร์การดาเนินงานที่ 1 พบว่าสาระสาคัญหลักเพ่ือแต่งคณะกรรมการเพ่ือ
ทาหน้าที่ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อประสานงานการจัดการเรียนการสอนพร้อมทั้งจัดต้ังศูนย์ส่งเสริมการ
เรียนการสอนภาษาจีนเพ่ือเป็นศูนย์กลางในการดาเนินงาน ท้ายสุดกากับและติดตามผลการ
ดาเนินงานการเรยี นการสอนภาษาจนี ทงั้ ระบบ
20
4.1.2 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 การปรบั ปรุงและพัฒนาระบบการเรียนการสอนใหม้ ีคณุ ภาพ
ระบบการเรียนการสอนทม่ี ี
คณุ ภาพ
หลกั สตู รท่ไี ดม้ าตรฐาน ครูท่มี คี ณุ ภาพ สื่อทหี่ ลากหลาย
ทนุ ศึกษาต่อ การสนับสนุน/เสริมความ
พร้อมสถานศึกษา
ภาพท่ี 2 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การปรบั ปรงุ และพฒั นาระบบการเรยี นการสอนใหม้ คี ณุ ภาพ
แผนยุทธศาสตร์การดาเนินงานท่ี 2 ดา้ นการปรับปรุงและพัฒนาระบบการเรียนการสอนให้มี
คณุ ภาพสามารถแบง่ ออกเปน็ 5 ด้านดงั นี้
4.1.2.1 เร่งจัดทาหลักสูตรแต่ละระดับการศึกษาให้ได้มาตรฐานและเป็น
แนวต่อเน่อื งกนั ทง้ั ระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน อาชีวศึกษา อุดมศึกษา และหลักสูตรเฉพาะสาหรับการ
ประกอบอาชพี ตลอดจนกาหนดระบบการเทยี บโอนผลการเรยี นรู้ข้ามหลกั สูตร
4.1.2.2 ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนภาษจีนทีมี
คุณภาพและเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย ตลอดจนส่งเสริมและเผยแพร่รูปแบบการเรียนการ
สอนท่ปี ระสบผลดี
4.1.2.3 ส่งเสริมและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ทั้งส่ือสิ่งพิมพ์ และสื่อ
เทคโนโลยีให้มีคุณภาพและทันสมัย เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนและการเรียนรู้ด้วย
ตนเองโดยรว่ มมือกับสาธารณรัฐประชาชนจีนและหน่วยงานภาคเอกชน
4.1.2.4 ส่งเสริมการผลิตและจัดหาครูสอนภาษาจีน ท้ังครุไทยและครูชาว
จีนท่ีมีคุณภาพและปริมาณเพียงพอต่อความต้องการของสถานศึกษาทุกระดับ โดยการสนับสนุน
21
ทุนการศึกษาและทุนอบรมให้แก่ครูใหม่และครูประจาการ จากหน่วยงานทั้งในประเทศและ
สาธารณรัฐประชาชนจนี
4.1.2.5 สง่ เสริมความพร้อมและสร้างความเข้มแข็งให้สถานศึกษาทุกระดับ
และทกุ ประเภทโดยเฉพาะสถานศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย อาชีวศึกษา อุดมศึกษา การศึกษานอก
โรงเรยี นและโรงเรียนเอกชน เพอื่ ใหม้ ีความพรอ้ มต่อการจดั การเรียนการสอนอย่างมีคณุ ภาพ
จากยุทธศาสตรก์ ารดาเนนิ งานท่ี 2 มสี าระหลักในการปรับปรงุ และพัฒนาระบบการเรียนการ
สอนให้มีคุณภาพโดยเน้น 4 ประการคือ 1 ด้านการส่งเสริมและเร่งพัฒนาหลักสูตรพร้อมท้ังส่ือการ
เรยี นการสอนเพื่อใชใ้ นการเรยี นภาษาจนี 2 ส่งเสรมิ และสร้างความเข็มแขง็ ทางการวจิ ยั เพ่ือนามาปรับ
รูปแบบการเรียนการอสอนภาษาจีน 3 ส่งเสริมและจัดหาทุนาหรับครูสอนภาษาจีน และ 4 ส่งเสริม
และสรา้ งความพรอ้ มให้ทุกสถานการศกึ ษาไดจ้ ดั การเรียนการสอนภาษาจีนอย่างมคี ณุ ภาพ
4.1.3 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การจัดระบบสนับสนุนวชิ าการใหไ้ ด้มาตรฐาน
ระบบสนบั สนุนวิชาการ
ศนู ยส์ ่งเสริมการเรยี นร้ภู าษาจนี คลงั หลกั สตู รและศนู ยส์ ่ือ ระบบพฒั นาวิชาชพี ครู
เวทวี ิชาการ โรงเรียนพี่-โรงเรียนน้อง เครอื ขา่ ยครูสอนภาษาจนี
ภาพท่ี 3 ยทุ ธศาสตรก์ ารดาเนนิ งานที่ 3 การจัดระบบสนับสนุนวชิ าการให้ได้มาตรฐาน
4.1.3.1 พฒั นาและสง่ เสรมิ สถานศึกษาของรฐั หรือเอกชนท่ีมีความพร้อมให้
เป็นศูนย์ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนในพ้ืนท่ี โดยเริ่มในระดับจังหวัดและขยายต่อไปในระดับ
เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา
4.1.3.2 สนับสนุนกิจกรรมและการดาเนินงานของเครือข่ายของครูสอน
ภาษาจนี ให้มสี ่วนร่วมในการพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาจนี ในพืน้ ที่
22
4.1.3.3 จัดให้มีคลังหลักสูตรและศูนย์สื่อการเรียนรู้ภาษาจีนในลักษณะ
ออนไลน์ เพ่ือให้บริการในเรื่องหลักสูตร ส่ือ แบบเรียน คู่มือครู แนวทางการจัดการเรียนการสอน
ภาษาจีน เครื่องมือวัดประเมินผลและบริการให้คาปรึกษาแนะนา โดยเช่ือมโยงกับศูนย์ส่งเสริมการ
เรยี นรภู้ าษาจนี และเครอื ข่ายครสู อนภาษาจีน
4.1.3.4 สนับสนุนการจัดกิจกรรมพัฒนาความสัมพันธ์เพ่ือการเรียนรู้ทาง
ภาษาและวัฒนธรรมจีนท้งั ในระดับประเทศและระหวา่ งประเทศ
4.1.3.5 จัดเวทวี ชิ าการสาหรับการแลกเปล่ียนความรู้ การพัฒนาทักษะทาง
ภาษาและการต่อยอดองคค์ วามรู้ดา้ นการเรยี นการสอนภาษาจนี
4.1.3.6 จัดระบบการพัฒนาครูสอนภาษาจีน ทั้งครูไทยและครูชาวจีน
เพื่อให้มีศักยภาพเพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพ โดยการกาหนดมาตรฐานครูสอน
ภาษาจนี ท้งั ดา้ นภาษา และการเรยี นการสอน ดาเนินการประเมินศักยภาพตามเกณฑ์ และเร่งพัฒนา
ตอ่ ยอดเพ่ือยกระดับครูตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยใช้ การวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) ซึ่งต้องไม่ต่า
กว่าระดบั 5 สาหรับครทู ่ีสอนระดับประถมศกึ ษาและระดับ 6 สาหรับครทู สี่ อนระดับมัธยมศึกษา ด้วย
ความรว่ มมือจากสาธารณรัฐประชาชนจีน สถาบนั อดุ มศกึ ษา และมูลนธิ ติ า่ ง ๆ
จากยุทธศาสตร์การดาเนินงานท่ี 3 พบว่าสาระหลักคือการจัดระบบส่งเสริมสนับสนุน
ทางด้านวิชาการให้ได้มาตรฐาน และสนับสนุนกิจกรรมการดาเนินงานและการพัฒนาความสัมพันธ์
ระหว่างเครอื ขา่ ยของครู เพ่อื การเรียนรทู้ างภาษาและวัฒนธรรม พร้อมท้ังจัดระบบการพัฒนาครูสอน
ภาษาจีนเพื่อใหม้ ศี กั ยภาพเพยี งพอต่อการจัดกาเรยี นการสอนทีม่ คี ุณภาพ
4.1.4 ยทุ ธศาสตร์การดาเนนิ งานท่ี 4 การสง่ เสรมิ ระบบการเรียนตามอัธยาศัย
ระบบการศกึ ษาตามอัธยาศยั
รายการวทิ ยุ/โทรทศั น์/ สื่อ e-learning กิจกรรมการมสี ว่ นร่วมของ
พิมพเ์ พื่อการเรยี นการสอน ผปู้ กครองและชุมชน
ภาพท่ี 4 ยุทธศาสตร์การดาเนนิ งานท่ี 4 การส่งเสรมิ ระบบการเรียนตามอัธยาศยั
23
4.1.4.1 จัดให้มีรายการวิทยุ โทรทัศน์ และสิ่งพิมพ์สาธารณะ เพ่ือส่งเสริม
กาเรียนรูภ้ าษาจีน
4.1.4.2 พัฒนาการเรียนรู้ภาษจีนในรูปแบบ E-LEARNING ด้วยการ
สนบั สนนุ จากหน่วยงานภาคเอกชนและประเทศจีน
4.1.4.3 ส่งเสริมและพัฒนาการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ภาษาจีนของ
สอ่ื มวลชน ประชาชนกลุ่มอาชพี ต่าง ๆ
ยุทธศาสตร์การดาเนินงานท่ี 5 มีสาระสาคัญคือพัฒนาระบบการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
โดยมกี ารจัดรายการวทิ ยุและพฒั นาการเรยี นในรปู แบบ e-learning พรอ้ มท้ังพัฒนาประชากรในกลุ่ม
อาชีพตา่ ง ๆ ใหม้ สี ว่ นรว่ มในการเรยี นการสอนภาษาจนี
4.1.5 ยุทธศาสตร์การดาเนินงานที่ 5 การพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถทาง
ภาษาจีนให้เชย่ี วชาญในวิชาชพี เฉพาะ
การพัฒนาผเู้ รียนใหเ้ ชย่ี วชาญใน
วชิ าชพี เฉพาะ
ทุนการศกึ ษาต่อ
ภาพท่ี 5 ยทุ ธศาสตรก์ ารดาเนนิ งานท่ี 5การพัฒนาผู้เรียนทีม่ ีความสามารถทาง
ภาษาจนี ให้เชยี่ วชาญในวชิ าชพี เฉพาะ
4.1.5.1 ประสานสานักงาน ก.พ. ขอความร่วมมือจัดสรรทุนการศึกษาเพ่ือ
พฒั นาผเู้ รยี นท่ีมคี วามสามารถทางภาษาจีนใหม้ ีความสามารถเฉพาะทางในสาขาวิชาชพี ตา่ ง ๆ
24
4 งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
ผู้วิจัยศึกษาค้นคว้างานวิจัย พบว่า มีงานวิจัยท่ีศึกษาเก่ียวกับความต้องการด้านการเรียน
ภาษาจนี มากมาย เช่น
ปรชี ญา แสงสวุ รรณ (2550 ) ได้ทาการศึกษา พฤติกรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ในการเลือกเรียนภาษาต่างประเทศ พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกเรียนภาษาต่างประเทศมาก
ท่ีสุดคือ ประสิทธิภาพของอาจารย์ รองลงมาคือ สามารถนาไปใช้ได้ในชีวิตประจาวัน ส่วนในด้าน
ทกั ษะท่ตี อ้ งการจากผทู้ ี่เลือกเรยี นภาษาตา่ งประเทศ คอื ทกั ษะการพูด
ระพี สิทธิไชยากุล และคณะ (2551) ได้ทาวิจัยเรื่อง การศึกษาความต้องการการศึกษาต่อ
สาขาวิชาภาษาจีน คณะศิลปะศาสตรป์ ระยกุ ต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมลคลธญั บรุ ี พบว่า ผู้เรียน
มีความต้องการที่จะเรียนรู้และมีความเข้าใจในภาษาจีนมากขึ้นส่วนใหญ่ต้องการให้เสนอข้อมูล
การศึกษา ต่อสาขาวิชาภาษาจีนโดยการแนะแนวจากสถานศึกษาของผู้เรียน และหากมีการเปิดสอน
หลักสูตรภาษาจีน ก็ต้องการเข้าศึกษาในสาขาวิชาภาษาจีน โดยผู้เรียนมีความหวังว่าจะนาความรู้ไป
ประกอบอาชพี ในอนาคต
Peng Litting (2556) ได้ทาการศึกษา เร่ือง ปัจจัยท่ีส่งผลต่อแรงจูงใจในการเรียนวิชา
ภาษาจีนของนิสติ มหาวทิ ยาลัยสยาม จากผลการวิจัยทาให้ทราบถึงแรงจูงใจในการเรียนการสอนของ
นสิ ติ มหาวทิ ยาลยั สยาม ทั้งนี้เพื่อนาผลมารวิจัยมาพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะทางด้าน
ภาษาจีนสามารถนาผลประโยชน์ที่ได้ อีกท้ังได้นาผลการวิจัยไปปรับปรุงแนวทางการเรียนการสอน
ภาษาจีนในชั้นเรียนให้มีประสิทธิภพมากย่ิงข้ึนปนัดดา เลาหะโชติ, ไพลิน มุนินทรวัฒน ได้
ทาการศกึ ษา เรื่อง การศกึ ษาความตอ้ งการจาเปน็ ในการจดั การเรยี นการสอนของนักศึกษาในรายวิชา
การแปลภาษาจีนกรณีศึกษา นักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ซ่ึงทากาเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามการวิเคราะห์ข้อมูลนามาใช้เปรียบเทียบจุดประสงค์ของผุ้เรียน
ความต้องการ ความจาเป็น และความเข้าใจในจุดประสงค์และเนื้อหารายวิชาการแปลของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โดยผลการศึกษาพบว่า ความต้องการของผู้เรียนแตกต่าง
จากข้อสันนิษฐานของผู้สอน ด้วยเหตุนี้การปรับแต่งหลักสูตรตามผลสารวจความต้องการจาเป็นที่
แทจ้ ริงของผเู้ รยี นจงึ เปน็ ข้ันตอนสาคญั ในการออกแบบหลักสตู ร
จากการศึกษางานวิจัยที่เก่ียวข้อง ผู้วิจัยพบว่า งานวิจัยส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยเชิงสารวจ ซ่ึง
สารวจพฤติกรรมการเรียน สารวจปัจจัย รวมถึงการตัดสินใจในการเรียนภาษาจีนซ่ึงงานวิจัยเหล่าน้ี
25
ไม่ได้นาผลการวิจัยมาพัฒนาต่อในรูปแบบการจัดการเรียนการสอน อีกท้ังผู้วิจัยยังพบว่า ยังไม่มี
งานวิจัยที่ทาการศึกษาเกี่ยวกับความต้องการการเรียนภาษาจีนเพ่ือการท่องเท่ียวในจังหวัด
สุราษฏรธ์ านี จึงทาใหผ้ ู้วจิ ัยสนใจและนามากาหนดเปน็ หัวข้องานวจิ ัยในครง้ั นี้
26
บทที่3
วธิ กี ารดาเนนิ งานวจิ ยั
การศึกษาความตอ้ งการภาษาจีนเพื่อท่องเที่ยวเพื่อพฒั นารูปแบบการเรียนการสอนภาษาจนี
ในจงั หวดั สุราษฎรธ์ านี ท้ังน้ีผู้วจิ ัยแบ่งวธิ กี ารดาเนนิ งานวิจัยดังตอ่ ไปน้ี
1. ประชาการและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
2. ขอบเขตการวิจัย
3. เคร่ืองมือการวจิ ัย
4. การเก็บข้อมูล
5. การวเิ คราะห์ข้อมูล
27
1. การกาหนดประชากรและการเลอื กกลุ่มตัวอย่าง
1.1 นกั ศึกษามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุราษฎรธ์ านี สาขาวชิ าภาษาจนี จานวน 100 คน
1.2. หน่วยงานใหบ้ รกิ ารทางดา้ นข้อมูล เอกสาร และอานวยความสะดวกในการทอ่ งเทยี่ ว
จานวน 50 คน
1.3 สถานประกอบการที่ใหบ้ รกิ ารรปู แบบของธุรกิจ ได้แก่ ธนาคาร โรงแรม สนามบิน
บริษทั ทัวรจ์ านวน 40 คน
ผู้วิจัยจึงใช้การคานวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยคานวณขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากรโดยใช้
สูตรYamane (ธานนิ ทร์ ศิลป์จารุ . 2548.48)
2
โดยกาหนดให้ แทนค่าสตู รได้ดังน้ี
2
2
2
ผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างประมาณ 157 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างประชากรแบบเจาะจง ซึ่ง
เกนิ จากกลุ่มประชากรตามสตู รของYamane ทั้งนี้ผู้วิจัยสามารถรวบรวมได้จานวน 183 คน ซึ่งเกิน
จานวนประชาการทกี่ าหนดไว้
28
ประชากร จานวนประชากร ประชาการกลุ่มตัวอย่าง
นกั ศึกษาสาขาวิชาภาษาจนี 115 115
มหาวทิ ยาลัยราชภฎั สรุ าษฎรธ์ านี
หนว่ ยงานให้บรกิ ารทางดา้ นข้อมลู 50 42
เอกสารและอานวยความสะดวกใน
การท่องเทีย่ ว 40 26
สถานประกอบการทีใ่ หบ้ ริการ 205 183
รปู แบบของธรุ กิจ
รวม
2. ขอบเขตการวจิ ัย
2.1 ขอบเขตดา้ นเนื้อหา
1) ขอบเขตเนื้อหาของนกั ศกึ ษามหาวิทยาลยั ราชภัฏสุราษฎรธ์ านี แบ่งไดด้ ังนี้
ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 ทักษะการส่ือสารท่ีตอ้ งการเกย่ี วกับภาษาจนี เพ่ือการท่องเทยี่ ว
ตอนท่ี 3 ความต้องการด้านหัวข้อบทเรียนภาษาจีนเพ่ือการท่องเที่ยวของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธ์ านี
ตอนท่ี 4 ความต้องการด้านเนื้อหาประโยคและวลีเกี่ยวกับภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว
ของนักศกึ ษามหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี
ตอนที่ 5 ความต้องการด้านรูปแบบและลักษณะการเรียนภาษาจีนเพ่ือการท่องเที่ยวท่ีมีผล
ตอ่ ความเข้าใจในการเรียนการสอนภาษาจีนของนักศึกษามหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี
2) ขอบเขตเน้ือหาของผปู้ ระกอบการในจงั หวัดสุราษฎร์ธานี แบง่ ได้ดงั นี้
ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 ทักษะการสื่อสารทีต่ อ้ งการเกี่ยวกับภาษาจนี เพอ่ื การท่องเที่ยว
ตอนที่ 3 ความตอ้ งการด้านหวั ข้อบทเรยี นภาษาจนี เพอ่ื การท่องเท่ยี วของผปู้ ระกอบการ
ตอนที่ 4 ความต้องการด้านเน้ือหาประโยคและวลีเก่ียวกับภาษาจีนเพื่อการท่องเท่ียว
ผ้ปู ระกอบการ
ตอนที่ 5 ความต้องการด้านรูปแบบและลักษณะการเรียนภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวท่ีมีผล
ตอ่ ความเขา้ ใจในการเรียนการสอนภาษาจนี ของผู้ประกอบการ
29
2.2 ขอบเขตดา้ นประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
ผู้วิจยั ประชากรทใ่ี ช้ในการวจิ ยั ครัง้ น้คี ือ แบง่ เป็น 3 กลมุ่ ดังนี้
1. นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี สาขาวชิ าภาษาจีน จานวน 115 คน
2. หน่วยงานให้บริการทางด้านข้อมูล เอกสาร และอานวยความสะดวกในการท่องเท่ียว
จานวน 50 คน
3. สถานประกอบการท่ีให้บริการรูปแบบของธุรกิจ ได้แก่ ธนาคาร โรงแรม สนามบิน บริษัททัวร์
จานวน 40 คน
ทงั้ นสี้ ามารถสรปุ ได้ดงั น้ี
ประชากร จานวนประชากร ประชาการกลุ่มตัวอย่าง
นักศกึ ษาสาขาวชิ าภาษาจนี 115 115
มหาวิทยาลยั ราชภัฎสรุ าษฎรธ์ านี
หนว่ ยงานใหบ้ รกิ ารทางด้านข้อมูล 50 42
เอกสารและอานวยความสะดวกใน
การท่องเท่ียว
สถานประกอบการท่ใี หบ้ ริการ 40 26
รปู แบบของธุรกจิ
รวม 205 183
2.3 ขอบเขตด้านพนื้ ท่ี
การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาเฉพาะความต้องการของผู้เรียนภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวเพื่อการ
พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนภาษาจีนในจังหวัดสุราษฏร์ธานี โดย ขอบเขตด้านพ้ืนที่ผู้วิจัยใช้
วิธีการเลือกแบบเจาะจง ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี โรงแรม สนามบิน หน่วยงาน
ใหบ้ ริการขอ้ มลู ภาษาจนี ทอ่ี ยูใ่ นจงั หวัดสุราษฏรธ์ านีเท่านนั้
30
2.4 ขอบเขตด้านเวลา
การวิจยั ครงั้ นดี้ าเนนิ การระหวา่ ง วันท่ี 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 ธนั วาคม 2564
2.5 วธิ ีการดาเนินการวิจัย
งานวิจัยเร่ือง“การศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการด้านภาษาจีนเพื่อการท่องเท่ียวของ
ผู้เรียนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี” ซึ่งใช้การวิจัยแบบ Survey โดยเก็บข้อมูลผ่าน การศึกษาเอกสาร
การรวบรวมข้อมูลภาคสนาม และการทาแบบสอบถาม มุ่งสืบค้นข้อมูลจากทั้งข้อมูลปฐมภูมิและ
ข้อมูลทุตยิ ภูมิ โดยลงพื้นทเ่ี กบ็ ขอ้ มูลจากกล่มุ เปา้ หมายคือผู้เรียนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้แก่ อาเภอ
เมอื ง อาเภอเกาะสมยุ และอาเภอเกาะพะงัน โดยผู้วิจยั มงุ่ เก็บ 1. ความต้องการด้านทักษะการส่ือสาร
ท่ีต้องการเกี่ยวกับภาษาจีนเพ่ือการท่องเที่ยว 2. ความต้องการด้านหัวข้อบทเรียนภาษาจีนเพื่อการ
ท่องเท่ียว 3.ความต้องการด้านเน้ือหาประโยคและวลีเกี่ยวกับภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว 4 . ความ
ต้องการด้านรูปแบบและลักษณะการเรียนภาษาจีนเพ่ือการท่องเที่ยวที่มีผลต่อความเข้าใจในการเรียนการ
สอนภาษาจนี โดนผู้วิจัยนาผลการวิจัยไปพัฒนาคู่มือ / เอกสารการเรียนภาษาจีนเพ่ือการท่องเที่ยวท่ี
เหมาะสาหรบั ผู้เรียนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี
2.5.1 วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
งานวจิ ัยครั้งน้ศี ึกษาคน้ ควา้ งขอ้ มลู จากแหล่งข้อมูลหลัก 3 ส่วน ท้ังการศึกษาค้นคว้า
จากเอกสารและงานวิจัย การทาแบบสอบถามและการศึกษารวมรวมข้อมูลจากภาคสนาม โดยมี
รายละเอยี ดดังนี้
1) การศึกษาวิเคราะห์เอกสาร (Document Analysis) มุ่งศึกษาค้นคว้า แนวคิด
รวมถงึ ทฤษฎีที่เกย่ี วข้อง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประกอบการวิจัย ได้แก่ แนวคิดด้านการเรียนการ
สอน แนวคดิ ดา้ นความตอ้ งการ แนวคิดเรอ่ื งการจัดการเรียนการสอน รวมถึงงานวิจัยทเี่ ก่ยี วข้อง
2) การทาแบบสอบถาม (Survey ) ซึ่งเป็นแบบสอบถามเก่ียวกับข้อมูลเบ้ืองต้นของ
ผู้เรียน รวมถึงความต้องการด้านภาษาจีนเพ่ือการท่องเท่ียว ผู้วิจัยเลือกพื้นทีการแจกแบบสอบถาม
วิจัยคร้ังน้ี แบ่งเป็น 4 ส่วน ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี อาเภอเมือง อาเภอเกาะสมุย
และอาเภอเกาะพะงันเท่าน้ัน กล่าวโดยสรุปงานวิจัยช้ินน้ีเร่ิมต้นลงพ้ืนที่เก็บข้อมูลจากผู้เรียน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี อาเภอเมือง หลังจาก อาเภอเกาะสมุย และอาเภอเกาะพะงัน
ตามลาดับ
3) ผู้วิจัยมุ่งดาเนินวิเคราะห์ประเด็นเน้ือหาด้านต่าง ๆ อาทิเช่น สภาพและความ
ต้องการด้านภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวของผู้เรียนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยสามารถแบ่งขอบเขต
เนื้อหาอย่างละเอียดไดด้ งั นี้
31
4.1) วเิ คราะห์สภาพและข้อมูลท่ัวไปของไกด์ทั้งในแง่ อายุ อายุการทางาน
ประวตั กิ ารทางาน รวมไปถึง รวมไปถึงรปู แบบการเรยี นการสอนภาษาจนี เพอ่ื การทอ่ งเที่ยวของผู้เรียน
ในจงั หวัด สรุ าษฎรธ์ านี
4.2) วิเคราะห์ความต้องการด้านภาษาจีนเพ่ือการท่องเท่ียวของผู้เรียน ไม่
ว่าจะเป็นรูปแบบการเรียนการสอน เน้ือหาท่ีผู้เรียนต้องการนาไปใช้ในสัมมาอาชีพ วงคาคาศัพท์ท่ีต้องการ
และจาเป็น
4.3) วิเคราะห์ทักษะที่จาเป็นต่อผู้เรียนในจังหวัดสุราษฎร์ธานีความต้องการ
ของผู้เรียนพร้อมท้ังวิเคราะห์เน้ือหาและวงคาศัพท์เพ่ือพัฒนาตาราภาษาจีนเพ่ือการท่องเท่ียวรวมถึง
ศึกษาแนวทางและรูปแบบการเรียนการสอนภาษาจีนเพ่ือการท่องเที่ยวแก่ผู้เรียนในจังหวัดสุราษฎร์
ธานี
2.6 การสรา้ งเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัย
การสรา้ งเครอื่ งมอื ท่ีใช้ในกาวจิ ัยคร้ังน้ีเป็นแบบสอบถาม มีขนั้ ตอนลากบั ดังต่อไปน้ี
2.6.1 ศกึ ษาคน้ คว้าเอกสารตารา บทความวจิ ัยทเี่ ก่ียวข้องเพ่ือนามาสร้าง
แบบสอบถาม
2.6.2 สรา้ งแบบสอบถามให้มเี น้ือหาสาระใหค้ รอบคลมุ วัตถปุ ระสงค์การวจิ ัย โดย
เคร่อื งมือที่ใช้ในการวจิ ยั ในคร้ังนเี้ ปน็ แบบสอบถาม (Questionnaire) โดยผู้วิจัยได้แบ่งแบบสอบถาม
ออกเป็น 3 ตอนดงั ต่อไปนี้
ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมลู เบื้องตน้ ลักษณะแบบสอบถามเปน็ แบบ
ตรวจสอบรายการ Check-listประกอบดว้ ย เพศ อายุ ระดับการศกึ ษา สถานภาพสมรส อาชพี
ตอนที่ 2 แบบสอบถามเก่ยี วกับความตอ้ งการภาษาจนี เพื่อการทอ่ งเที่ยวใน
จังหวดั สรุ าษฎร์ธานแี บบสอบถามเปน็ แบบ check-list โดยมีเนือ้ หาประกอบด้วย
ตอนที่ 3 ความต้องการดา้ นหวั ขอ้ บทเรียนภาษาจนี เพื่อการทอ่ งเทยี่ ว
ตอนที่4 ความตอ้ งการดา้ นเน้ือหาประโยคและวลีเก่ยี วกบั ภาษาจนี เพ่ือ
การทอ่ งเทย่ี ว
2.6.3 ผู้วิจัยได้ทาการทดสอบค่าความสอดคล้องระหว่างคาถามกับวัตถุประสงค์
(IOC) กับผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 3 ท่าน หลังจากนั้นทาการแปลแบบสอบถามจากภาษาไทยเป็น
ภาษาจีน ทั้งน้ีผู้วิจัยได้ทาการเก็บข้อมูล ณ การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทยจังหวัดสุราษฎร์ธานี
มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี เกาะสมุย เกาะพะงัน และสถานประกอบการอ่ืน ๆ เช่นโรงแรม ที่
พักต่าง ๆ ซ่ึงการเก็บข้อมูลใช้เวลา 3 เดือนต้ังแต่เดือนกรกฎาคม 2564 ถึง สิงหาคม 2564 โดยการ
เกบ็ ข้อมลุ ผา่ นโปรแกรม Google Form
32
2.6.4 ปรับปรุงแก้ไขตามท่ีได้รับคาแนะนาจากอาจารย์ที่ปรึกษาสารนิพนธ์และ
ผู้เช่ียวชาญเพอ่ื ให้แบบสอบถามมีความสมบูรณ์มากยิง่ ข้ึน
2.6.5 นาแบบสอบถามที่ปรับปรงุ แก้ไขไปทดลองใช้ โดยผวู้ ิจยั ทาการเกบ็ แบบสอบ
ถามประชากรท่ีใช้ในการเก็บแบบสอบถามนักท่องเท่ียวชาวจีนท่ีเดินทางมาเท่ียวในจังหวัดสุราษฎร์
ธานีจานวน 20 คนเพ่ือนาผลท่ีได้ไปหาค่าความเช่ือม่ันของแบบสอบถามโดยกาหนดเกณฑ์ที่ระดับ
ความเช่อื มั่ยไม่ตา่ กวา่ 0.5โดยวิธีหาค่าสัมประสิทธแิ อลฟ่าของครอนบคั 0 1
2.6.7 เก่ียวกับจริยธรรมการวิจัย วิจัยครั้งน้ีได้รับการอนุญาตให้สัมภาษณ์ ทดสอบ
วิจยั และเปดิ เผยรายนามและข้อมลุ การวิจัยจากกลมุ่ ประชากรทุกขนั้ ตอนแล้ว
33
บทท่ี 4
ผลการวจิ ยั
การวิจัยเรื่อง การศึกษาความตอ้ งการดา้ นภาษาจีนเพ่ือการทอ่ งเท่ียวของผู้เรียนในจังหวัด
สุราษฎร์ธานี คร้ังนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้น (Primary DataX เพ่ือพัฒนาคู่มือ / เอกสารภาษาจีน
เพ่ือการท่องเท่ียว โดยผลการวิเคราะห์ข้อมูลการดาเนินงานการวิจัยตามวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้ ผู้วิจัย
นาเสนอผลการวจิ ยั เปน็ 2 ขน้ั ตอนดังตอ่ ไปนี้
ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์แบบสอบถามสาหรับนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสุราษฎร์ธานี
ตอนที่ 2 ผลการวเิ คราะห์แบบสอบถามสาหรับผู้ประกอบการในจงั หวดั สุราษฎร์ธานี
34
แบบสารวจผู้วิจัยได้ดาเนินการแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็นสองส่วนได้แก่ 1. นักศึกษา
สาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี 2. สถานประกอบการท่ีให้บริการรูปแบบของ
ธุรกจิ ทัง้ น้ีมีผลการวเิ คราะห์จากแบบสอบถาม ดังนี้
1. ผลการวเิ คราะห์แบบสอบถามสาหรับนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลยั ราชภัฏ
สุราษฎรธ์ านี
ผู้วิจัยดาเนินการวิจัยโดยใช้รูปแบบปกติ และรูปแบบรูปแบบปกติ และรูปแบบสอบถาม
ออนไลน์ โดยใช้โปรแกรม Google Form โดยมีการแจกแบบรูปแบบปกติ และรูปแบบสอบถาม
ออนไลน์ ให้กับนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีจานวน 115 คน เม่ือ
วันท่ี 19 กรกฎาคม 2564 ผู้วิจัยได้รวบรวมผลแบบสอบถามเม่ือวันท่ี 1 สิงหาคม 2564 ท้ังนี้ผู้วิจัย
ทาการสรุปและวิเคราะห์แบบสอบถามเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2564 ผลการสรุปด้านกลุ่มตัวอย่าง
นักศึกษามีผู้ตอบแบบสอบถามมีจานวนทั้งสิ้น 115 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของนักศึกษาสาขาวิชา
ภาษาจนี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ทง้ั 4 ช้นั ปี โดยแบบสอบถามแบ่งออกเป็น 5 ตอนได้แก่
ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 ทักษะการส่ือสารทต่ี ้องการเกีย่ วกับภาษาจนี เพอ่ื การท่องเทย่ี ว
ตอนที่ 3 ความต้องการด้านหัวข้อบทเรียนภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภฏั สุราษฎร์ธานี
ตอนท่ี 4 ความต้องการด้านเนื้อหาประโยคและวลีเกี่ยวกับภาษาจีนเพ่ือการท่องเที่ยว
ของนักศกึ ษามหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี
ตอนท่ี 5 ความต้องการด้านรูปแบบและลักษณะการเรียนภาษาจีนเพื่อการท่องเท่ียวที่มีผล
ต่อความเข้าใจในการเรียนการสอนภาษาจนี ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี
1.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม แบง่ ไดด้ งั น้ี
ตารางท่ี 1 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลดา้ นเพศของนักศึกษามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุราษฎรธ์ านี
ชนั้ ปี ชาย หญงิ รวม (คน)
นักศึกษาชนั้ ปีท่ี 1 1 36 37
นักศึกษาชัน้ ปที ี่ 2 3 23 26
นักศึกษาชนั้ ปีท่ี 3 2 22 24
นกั ศึกษาชนั้ ปที ี่ 4 2 26 28
รวม 8 107 115
ขอ้ มลู เมือ่ วนั ท่ี 8 สิงหาคม พ.ศ. 2564
35
ตารางที่ 2 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลด้านอายุของนักศึกษามหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี
ชั้นปี อายเุ ฉลย่ี ท้ังชัน้ ปี
นักศกึ ษาชั้นปีที่ 1 19.2 ปี
นักศึกษาชั้นปที ่ี 2 20.5 ปี
นักศกึ ษาชั้นปที ี่ 3 21.7 ปี
นักศึกษาชน้ั ปีท่ี 4 22.4 ปี
ขอ้ มลู เมอ่ื วันท่ี 8 สิงหาคม พ.ศ. 2564
ตารางท่ี 3 ผลการวิเคราะห์ระดับการศึกษาสูงสุดของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธ์ านี
ชนั้ ปี มัธยมปลาย
นักศกึ ษาชั้นปที ่ี 1 ร้อยละ 100
นกั ศกึ ษาช้ันปีที่ 2 รอ้ ยละ 100
นักศึกษาช้ันปีที่ 3 รอ้ ยละ 100
นักศกึ ษาช้นั ปที ่ี 4 รอ้ ยละ 100
ข้อมูลเมื่อวนั ท่ี 8 สิงหาคม พ.ศ. 2564
จากตารางท่ี1 2 และ 3 สรุปได้ว่า นักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีนมหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานีมีจานวนทง้ั หมด 115 คน แบง่ เป็น เพศชาย 8 คน และเพศหญิง 107 คน ทั้งนี้อายุเฉล่ีย
ของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน แบ่งตมช้ันปีมีค่าอายุเฉล่ียดังนี้ นักศึกษาชั้นท่ีปี 1 มีอายุเฉล่ีย 19.2 ปี
นกั ศึกษาชั้นปีที่ 2 มีอายุเฉล่ีย 20.5 ปี นักศึกษาชั้นปีที่ 3 มีอายุเฉล่ีย 21.7 ปี และนักศึกษาช้ันปีที่ 4
มีอายุเฉล่ีย 22.4 ปี โดยยักศึกษาทุกคนมีวุฒิการศึกษาสูงสุดคือ ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายคิดเป็น
รอ้ ยละ 100
1.2 ผลการวิเคราะห์ทักษะการส่ือสารท่ีต้องการเก่ียวกับภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวของ
นักศกึ ษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี
ด้านการวิเคราะห์ทักษะการส่ือสารที่ต้องการของภาษาจีนเพ่ือการท่องเที่ยวผู้วิจัย
ดาเนินการวจิ ยั โดยใช้รปู แบบปกติ และรปู แบบสอบถามออนไลน์ผ่านโปรแกรม Google Form ให้กับ
นักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เม่ือวันที่วันที่ 19 กรกฎาคม 2564
โดยแบบสอบถามแบ่งออกเปน็ ท้งั หมด 4 ทักษะ ได้แกก่ ารฟัง การพดู การอา่ นและการเขยี น
36
ท้ังน้ีผู้วิจัยได้มีการกาหนดความระดับต้องการไว้ 5 ระดับ ดังนี้ 5 = มากท่ีสุด 4 = มาก
3 = ปานกลาง 2 = พอใช้ 1 = ไม่ต้องการ โดยผู้ตอบแบบสอบถามสามารถเลือกได้มากกว่า 1
ข้อ ผลสรุปทักษะการสื่อสารที่ต้องการเก่ียวกับภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษามหาวิทยาลัย
ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านีสรุปได้ดังตารางท่ี 4
ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะห์ด้านทักษะการสื่อสารท่ีต้องการเก่ียวกับภาษาจีนเพ่ือการ
ท่องเทยี่ วของนักศึกษามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุราษฎรธ์ านี
ทกั ษะ ระดับความต้องการ ผู้ตอบแบบสอบถาม ค่าเฉลย่ี
5432 1 ท้งั หมด (คน)
การฟงั 22 42 40 0 0 115 3.67
การพูด 72 22 20 0 0 115 4.22
การอา่ น 30 25 12 0 0 115 3.10
การเขียน 12 41 12 21 18 115 2.70
ขอ้ มูลเม่ือวันท่ี 8 สิงหาคม พ.ศ. 2564
จากตารางสรุปได้ว่า จากผู้ตอบแบบสอบถามจานวน 115 คน ซ่ึงเป็นนักศึกษา
สาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีได้มีความต้องการทักษะด้านภาษาจีนเพ่ือการ
ท่องเที่ยว โดยเรียงลาดับจากผลรวมความต้องการจากมากไปหาน้อยดังน้ี 1ทักษะการพูด 2 ทักษะการฟัง
3ทกั ษะการอา่ น และ 4 ทกั ษะการเขียน
ด้านการวิเคราะห์ความต้องการในการพัฒนาทักษะการเรียนการสอนภาษาจีนเพ่ือการ
ท่องเท่ียวโดยผ่านกิจกรรมในชั้นเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ผู้วิจัย
ดาเนินการวิจัยโดยใช้รูปแบบปกติ และรูปแบบสอบถามออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Google Form
ให้กับนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เม่ือวันที่วันที่ 19 กรกฎาคม
2564 โดยแบบสอบถามแบ่งกิจกรรมออกเป็นท้ังหมด 4 ทักษะ ได้แก่การฟัง การพูด การอ่านและ
การเขียน ท้ังนี้ผู้วิจัยได้มีการกาหนดความระดับต้องการไว้ 5 ระดับ ดังน้ี 5 = มากที่สุด 4 = มาก
3 = ปานกลาง 2 = พอใช้ 1 = ไม่ต้องการ โดยผู้ตอบแบบสอบถามสามารถเลือกเพียง 1 ข้อ
ท้งั นมี้ ีการแปลงผลระดบั ความต้องการตาม (Likert Scale) มี 5 ระดับคือ ค่าเฉล่ีย 4.50-5.00 = มาก
ที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.50 – 4.00 = มาก ค่าเฉลี่ย 2.50 – 3.00 = ปานกลาง ค่าเฉล่ีย 1.50-2.00 =
พอใช้ และค่าเฉลย่ี 0.50-1.00 = ไม่ตอ้ งการ
ผลสรุปความต้องการในการพัฒนาทักษะการเรียนการสอนภาษาจีนเพ่ือการท่องเท่ียวโดย
ผ่านกิจกรรมในช้นั เรียนของนักศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี สรุปได้ดงั ตารางที่ 5
37
ตารางท่ี 5 ผลการวิเคราะหค์ วามต้องการในการพฒั นาทักษะการเรียน
ขอ้ กิจกรรม 5
1 ด้านการฟัง 62
1.1 ฟังคาสง่ั ของผสู้ อนท่ีใช้คาศัพทด์ า้ นภาษาจนี เพอ่ื การ 72
ท่องเทีย่ ว 45
1.2 ฟังคาศัพทแ์ ละบทสนทนาได้ 5
1.3 ฟังเนอ้ื หาภาษาจนี เพื่อการท่องเท่ยี วได้ 85
ขอ้ กจิ กรรม 65
2 ด้านการพูด 22
2.1 พูดคุยและใช้บทสนทนาในชีวติ ประจาวันได้ 18
2.2 ตอบคาถามเก่ยี วกบั การทางาน 55
2.3 พดู เสนอและแนะนาสถานท่ตี า่ ง ๆ ได้
2.4 สนทนาทางโทรศัพท์
2.5 สนทนานาเท่ียวให้กบั ชาวจีนได้
นการสอนภาษาจีนเพื่อการทอ่ งเทย่ี วของนักศึกษามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุราษฎรธ์ านี
ระดับความต้องการ 1 รวม(คน) คา่ เฉลีย่ ระดบั ความต้องการ
4 32 0
22 31 0 115 4.27 มาก
25 18 0 0 115 4.47 มาก
52 18 0 0 115 4.23 มาก
ระดบั ความต้องการ
432 1 รวม(คน) ค่าเฉลีย่ ระดับความต้องการ
12 18 0 0
44 6 0 0 115 4.58 มากทสี่ ุด
35 40 15 3 115 4.51 มากทส่ี ดุ
28 55 5 9 115 3.50
22 30 2 6 115 3.36 มาก
115 4.03 ปานกลาง
มาก
38
ขอ้ กิจกรรม 5
3 ด้านการอ่าน 22
18
3.1 อา่ นเอกสารการสอนภาษาจนี เพอื่ การท่องเที่ยวได้ 25
3.2 อ่านเอกสารที่ใช้ประกอบระหว่างการทางานได้
3.3 อา่ นหนงั สือรายงานการทางานภาษาจนี เพ่ือการ 11
ทอ่ งเที่ยวได้
3.4 อา่ นคมู่ ือทีเ่ กี่ยวกบั ภาษาจีนเพือ่ การท่องเที่ยวได้ 5
ขอ้ กิจกรรม 25
4 การเขยี น 18
4.1 เขียนแผนกาหนดการการทอ่ งเทย่ี วได้ 12
4.2 เขียนบันทกึ บัญหาท่เี กิดข้ึนระหวา่ งการทางานได้ 15
4.3 เขียนสรุปงานในแตล่ ะวันได้
4.4 เขยี นสรปุ รายงานการทางานได้
ระดบั ความต้องการ 1 รวม(คน) คา่ เฉลี่ย ระดบั ความต้องการ
432
25 45 7 16 115 3.26 ปานกลาง
15 55 15 12 115 3.10 ปานกลาง
19 25 14 2 115 3.70 ปานกลาง
12 65 25 2 115 3.04 ปานกลาง
ระดบั ความต้องการ 1 รวม(คน) ค่าเฉล่ีย ระดบั ความต้องการ
432
22 40 25 3 115 3.36 ปานกลาง
12 45 15 25 115 2.85 น้อย
10 11 65 18 115 2.42 นอ้ ย
24 25 45 6 115 2.97 นอ้ ย
ขอ้ มูลเม่ือวันท่ี 8 สงิ หาคม พ.ศ. 2564
39
จากตารางสรุปตามทักษะ ดังนี้
1 ทักษะการฟังนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
มีความต้องการด้านการฟังโดยสามารถสรุปเป็นประเด็นตามความต้องการจากมากไปน้อยได้ดังนี้
1.1 ฟังคาศัพท์และบทสนทนา โดยมีค่าเฉล่ีย 4.47 อยู่ในระดับความต้องการมาก 1.2 ฟังคาสั่งของ
ผู้สอนท่ีใช้คาศัพท์ด้านภาษาจีนเพ่ือการท่องเท่ียว โดยมีค่าเฉล่ีย 4.27 อยู่ในระดับความต้องการมาก
และ1.3 ฟงั เนอื้ หาภาษาจีนเพือ่ การทอ่ งเที่ยวได้ โดยมคี ่าเฉล่ยี 4.23 อยูใ่ นระดับความต้องการมาก
2 ทักษะด้านการพูดนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
มีความต้องการด้านการพูดโดยสามารถสรุปเป็นประเด็นตามความต้องการจากมากไปน้อยได้ได้ดังนี้
1.1 พูดคยุ และใช้บทสนทนาในชีวิตประจาวันได้ โดยมีคา่ เฉลยี่ 4.58 อยู่ในระดบั ความต้องการมากที่สุด
1.2 ตอบคาถามเกี่ยวกับการทางาน โดยมีค่าเฉล่ีย 4.51 อยู่ในระดับความต้องการมากท่ีสุด 1.3
สนทนานาเท่ียวให้กับชาวจีนได้ โดยมีค่าเฉลี่ย 4.03 อยู่ในระดับความต้องการมาก 1.4 พูดเสนอและ
แนะนาสถานท่ีต่าง ๆ ได้ โดยมีค่าเฉลี่ย 3.50 อยู่ในระดับความต้องการมาก และ 1.5 สนทนาทาง
โทรศพั ท์ โดยมคี ่าเฉลย่ี 3.36 อยูใ่ นระดบั ความต้องการปานกลาง
3 ทกั ษะดา้ นการอ่านนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
มคี วามต้องการด้านการอ่านโดยสามารถสรุปเป็นประเด็นตามความต้องการจากมากไปน้อยได้ได้ดังนี้
1.1 อ่านเอกสารการสอนภาษาจีนเพื่อการท่องเท่ียวได้ โดยมีค่าเฉลี่ย 3.70 อยู่ในระดับความต้องการ
ปานกลาง 1.2 อ่านคู่มือที่เก่ียวกับภาษาจีนเพื่อการท่องเท่ียวได้ โดยมีค่าเฉล่ีย 3.26 อยู่ในระดับความ
ต้องการปานกลาง 1.3 อ่านเอกสารท่ีใช้ประกอบระหว่างการทางานได้ มีค่าเฉล่ีย 3.10 อยู่ในระดับ
ความต้องการปานกลาง และ 1.4 อ่านหนังสือรายงานการทางานภาษาจีนเพ่ือการท่องเท่ียวได้ มี
ค่าเฉล่ยี 3.04 อยใู่ นระดับความต้องการปานกลาง
4 ทักษะด้านการเขียนนกั ศกึ ษาสาขาวชิ าภาษาจนี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
มีความตอ้ งการด้านการเขียนโดยสามารถสรุปเป็นประเดน็ ตามความต้องการจากมากไปน้อยไดไ้ ดด้ ังนี้
1.1 เขียนแผนกาหนดการการท่องเท่ียวได้ โดยมีค่าเฉลี่ย 3.36 อยู่ในระดับความต้องการปานกลาง
1.2 เขียนสรุปรายงานการทางานได้ มีค่าเฉลี่ย 2.97 อยู่ในระดับความต้องการน้อย 1.3 เขียนบันทึก
บัญหาที่เกิดข้ึนระหว่างการทางานได้ มีค่าเฉลี่ย 2.85 อยู่ในระดับความต้องการน้อย และ 1.4 เขียน
สรปุ งานในแตล่ ะวันได้ มีค่าเฉลยี่ 2.42 อยใู่ นระดบั ความต้องการน้อย
1.3 ผลการวิเคราะห์ความตอ้ งการด้านหวั ข้อบทเรียนภาษาจนี เพื่อการท่องเท่ียวของนกั ศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี
ด้านการวิเคราะห์ความความต้องการด้านหัวข้อบทเรียนภาษาจีนเพื่อการท่องเท่ียว
ของนักศกึ ษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี ผู้วิจยั ดาเนินการวิจัยโดยใช้แบบรูปแบบปกติ และรูป
40
แบบสอบถามออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Google Form ให้กับนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เม่ือวันที่วันท่ี 19 กรกฎาคม 2564 โดยแบบสอบถามแบ่งหัวข้อ
บทเรียนออกเปน็ 10 บทเรยี น
ท้ังนี้ผู้วิจัยได้มีการกาหนดความระดับต้องการไว้ 5 ระดับ ดังน้ี 5 = มากท่ีสุด
4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = พอใช้ 1 = ไม่ต้องการ โดยผู้ตอบแบบสอบถามสามารถเลือก
เพียง 1 ขอ้ ท้งั น้มี กี ารแปลงผลระดับความต้องการตาม (Likert Scale) มี 5 ระดับคือ ค่าเฉล่ีย 4.50-
5.00 = มากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.50 – 4.00 = มาก ค่าเฉล่ีย 2.50 – 3.00 = ปานกลาง ค่าเฉล่ีย
1.50-2.00 = พอใช้ และค่าเฉลี่ย 0.50-1.00 = ไมต่ อ้ งการ
ผลสรุปความต้องการด้านการวิเคราะห์ความความต้องการด้านหัวข้อบทเรียน
ภาษาจนี เพอ่ื การท่องเท่ียวของนักศึกษามหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี สรุปไดด้ ังตารางท่ี 6
ตารางท่ี 6 ผลการวเิ คราะห์หัวข้อบทเรียนภาษาจีนเพื่อการท่องเท่ียวของนักศึกษามหาวิทยาลยั
ราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี
ข้อ หวั ข้อ ระดบั ความต้องการ รวม ค่าเฉลยี่
5432 1 (คน)
1 การทักทายและการบอกลา 56 45 14 0 0 115 4.37
2 การกล่าวขอบคณุ และการกล่าวขอโทษ 22 65 28 0 0 115 3.95
3 การบอกเวลาและการบอกสถานที่ 35 45 35 0 0 115 4.00
4 การแนะนาและการให้คาแนะนา 28 56 31 0 0 115 3.97
5 การจองห้องพกั 28 53 34 0 0 115 3.95
6 การตามหาของหาย 33 40 43 0 0 115 3.91
7 การถามทางและการขน้ึ รถ 36 45 30 4 0 115 3.98
8 การแลกเงนิ และการซอ้ื ของ 26 35 35 10 9 115 3.51
9 การขอข้อมูลท่ีพกั 35 45 21 8 6 115 3.83
10 ประเพณแี ละวัฒนธรรม 25 49 25 14 2 115 3.35
ขอ้ มลู เมือ่ วันที่ 8 สงิ หาคม พ.ศ. 2564
จากตารางแสดงให้เห็นว่า ผลการวิเคราะห์หัวข้อบทเรียนภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว
ของนกั ศึกษามหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎร์ธานี เรยี งลาดบั ความต้องการจากมากไปน้อย 6 อันดบั ดงั น้ี
1) การทักทายและการบอกลา มีค่าเฉลี่ย 4.37 2) การบอกเวลาและการบอกสถานที่ มีค่าเฉล่ีย 4.00
3) การถามทางและการข้ึนรถ มีค่าเฉล่ีย 3.98 4) การแนะนาและการให้คาแนะนา มีค่าเฉล่ีย 3.97
5) การกล่าวขอบคุณและการกล่าวขอโทษ มคี า่ เฉล่ยี 3.95 และ 6 )การจองหอ้ งพกั มีค่าเฉลีย่ 3.95
41
1.4 ผลการวิเคราะห์ความต้องการด้านเนื้อหาประโยคและวลีเก่ียวกับภาษาจีนเพ่ือ
การทอ่ งเทีย่ วของนักศึกษามหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎรธ์ านี
ดา้ นความตอ้ งการดา้ นเนื้อหาประโยคและวลีเกี่ยวกับภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวของ
นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ผู้วิจัยดาเนินการวิจัยโดยใช้แบบรูปแบบปกติ และรูป
แบบสอบถามออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Google Form ให้กับนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน
มหาวิทยาลัยราชภฏั สุราษฎร์ธานี เมื่อวนั ทีว่ ันที่ 19 กรกฎาคม 2564 โดยแบบสอบถามประโยคและ
วลีเก่ียวกับภาษาจีนเพ่ือการท่องเที่ยวที่นักศึกษาต้องให้อยู่ในบทเรียนผู้วิจัยคัดเลือกจากบทเรียน
จานวน 33 ประโยค
ผวู้ ิจัยได้มีการกาหนดความระดับต้องการไว้ 5 ระดับ ดังน้ี 5 = มากท่ีสุด 4 = มาก
3 = ปานกลาง 2 = พอใช้ 1 = ไม่ต้องการ โดยผู้ตอบแบบสอบถามสามารถเลือกเพียง 1 ข้อ
ผู้วิจยั แปลงผลระดบั ความต้องการตาม (Likert Scale) มี 5 ระดบั คอื
ค่าเฉล่ีย 4.50 - 5.00 = มากทสี่ ุด
คา่ เฉลี่ย 3.50 – 4.50 = มาก
ค่าเฉลี่ย 2.50 – 3.50 = ปานกลาง
คา่ เฉลีย่ 1.50 - 2.50 = พอใช้
คา่ เฉลีย่ 0.00 - 1.50 = ไม่ตอ้ งการ
ท้ังนี้ผู้วิจัยกาหนดเลือกประโยคและวลีเกี่ยวกับภาษาจีนเพื่อการท่องเท่ียวที่มีผล
คะแนนค่าเฉล่ียเกิน 3.50 เพื่อนามาวิเคราะห์และนามาปรับใช้ในการพัฒนาตารา/คู่มือการสอนใน
อนาคต โดยผลสรุปความต้องการด้านเนื้อหาประโยคและวลีเกี่ยวกับภาษาจีนเพ่ือการท่องเท่ียวของ
นกั ศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี สรปุ ได้ดังตารางที่ 7
42
ตารางท่ี 7 ผลการวิเคราะห์ความต้องการดา้ นเน้อื หาประโยคและ
ขอ้ เน้อื หาภาษาจีน ระด
54
1 您贵姓? 75 40
2 我姓.........。您呢? 45 36
3 我姓.........,叫.........。 35 40
4 很高兴认识您 55 60
5 您是哪国人? 45 56
6 我先介绍一下明天的行程 65 32
7 我们听不清楚。 40 42
8 我去休息了。明天八点半见。 44 15
9 现在几点了? 45 21
10 您需要什么吗? 50 23
11 请稍等。 24 51
12 这是给你的小费。 54 21
13 我们玩得很开心! 56 21
14 祝你们一路平安,欢迎再来泰国。 61 40
15 泰国一年有几个季节? 45 42
ะวลเี กี่ยวกับภาษาจีนเพ่ือการท่องเท่ียวของนักศึกษามหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎร์ธานี
ดับความต้องการ ผู้ตอบแบบสอบถาม คา่ เฉล่ยี ค่าเบี่ยงเบน
32 1 (คน)
00 0 115 4.65 0.48
34 0 0 115 4.10 0.82
40 0 0 115 3.96 0.81
00 0 115 4.48 0.50
12 2 0 115 4.25 0.71
12 6 0 115 4.36 0.87
21 12 0 115 3.96 0.97
32 14 0 105 3.85 1.11
21 28 0 115 3.72 1.21
25 17 0 115 3.92 1.11
24 15 0 114 3.74 0.94
21 15 4 115 3.92 1.22
16 14 8 115 3.90 1.31
14 0 0 115 4.41 0.70
21 7 0 115 4.09 0.90
43
ข้อ เน้ือหาภาษาจีน ระด
54
16 三个季节,热季、雨季和凉季。 54 12
17 这些都是泰国的小吃。 56 14
18 泰式按摩果然有名! 45 26
19 听说泰式按摩在泰国非常流行 45 14
20 你有没有“普吉一日游”的团? 60 42
21 多少钱? 54 24
22 听说泰国宝石都不错。 50 45
23 您要订的房间 45 24
24 您打算住几晚? 25 55
25 小姐,不知道这儿是否有叫早服务。 55 45
26 能便宜一点儿吗? 55 43
27 您想买点什么? 65 29
28 请问,从这儿到素叻他尼皇家大学远
55 21
吗? 45 25
45 50
29 您好!您要打车吗? 54 24
30 请问,附近有超市吗?
31 怎么走?
ดับความต้องการ ผตู้ อบแบบสอบถาม ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน
32 1 (คน)
18 20 11 115 3.68 1.44
19 18 8 115 3.80 1.37
22 12 10 115 3.73 1.31
23 12 21 115 3.43 1.53
12 1 0 115 4.40 0.71
25 12 0 115 4.04 1.05
20 0 0 115 4.26 0.74
25 12 9 115 3.73 1.29
30 5 0 115 3.87 0.80
15 0 0 115 4.35 0.70
16 1 0 115 4.32 0.74
21 0 0 115 4.38 0.78
12 12 15 115 3.77 1.46
25 6 14 115 3.70 1.35
20 0 0 115 4.22 0.72
26 10 1 115 4.04 1.06
44
ข้อ เนอ้ื หาภาษาจนี ระด
54
32 您想坐轻轨还是地铁过去? 56 45
33 请问,这附近有药店吗? 47 24
34 从素叻他尼到春蓬府大概几公里? 45 36
35 为什么想去春蓬府呢? 25 52
ดบั ความต้องการ ผูต้ อบแบบสอบถาม คา่ เฉล่ีย คา่ เบี่ยงเบน
32 1 (คน)
14 0 0
22 15 7 115 4.37 0.69
22 12 0
14 15 9 115 3.77 1.27
115 3.99 1.00
115 3.60 1.19
ขอ้ มูลเมือ่ วนั ท่ี 8 สงิ หาคม พ.ศ. 2564
45