ชุดกจิ กรรมเรียนร้รู ะดับประถมศกึ ษา เรือ่ ง รูร้ บั ...ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ
จดั ทำ�โดย
สำ�นักงานประสานงานโครงการตามพระราชด�ำ รสิ มเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกุมารี
ส�ำ นกั งานพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาติ (สวทช.)
กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดว้ ยความร่วมมอื ทางวชิ าการของ
สมาคมธรณวี ิทยาแห่งประเทศไทย
ศูนย์เตือนภัยพบิ ัตแิ หง่ ชาติ
กรมอุตุนยิ มวทิ ยา
ท่ีปรกึ ษา : ชฎามาศ ธวุ ะเศรษฐกุล พล เชาว์ดำ�รงค์ พลเรือตรถี าวร เจริญดี
สนั ติ ซัมดนิ
บรรณาธิการ : ธัญญณ์ ัช บษุ บงค์
ผู้เขียนและออกแบบกิจกรรม : มนธดิ า สีตะธนี
คณะผู้รว่ มเขยี น :
กันตนา โตเหมือน พรทิพา ธีระวัฒนชาติ พูลทรัพย์ โพธิ์สุ พรทพิ ย์ ฉมิ วยั
ยวุ ดี จนั ทศรคี �ำ วนดิ า โรจนบรุ านนท์ วิมล บุษราคัม ยุวดี จันทศรีคำ�
วิมลรัตน์ สิทธิโอสถ ศศิธร ปันทะ สุวิชา ศาสนภักดี หฤทยั เพชรรตั น์
เกษรา ไชยงาม องั คณารกั ษ์ บตุ รสวุ รรณ์ พิสมัย น่วมจะโป๊ะ วันเพ็ญ ภู่มาลา
รตั นากร ประกิ่ง จอมขวัญ เครอื หอม จริ ชั ยา พิชยั ฤกษ์ นิติ ญานะ
ปญั จพมิ พ์ เหนอื เกาะหวาย ปาลิดา จนั ทวงศ์ ปริศนา อาจหาญ
ปุญชรัสมิ์ จันทรเ์ กลี้ยง
ผูป้ ระสานงาน : เฉลิมขวญั รกั ษา
บรรณาธกิ ารออกแบบ : ลัญจนา นิตยพัฒน์ จุฬารตั น์ นมิ่ นวล
วีรวรรณ เจรญิ ทรพั ย์
รูปเล่ม : กนษิ ฐา กลายสุข
ภาพประกอบ : วรากร หมวดสิงห์
ชดุ กจิ กรรมเรียนรรู้ ะดับประถมศกึ ษา เร่อื ง รรู้ บั ...ภยั พิบัตทิ างธรรมชาติ
โครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศตามพระราชดำ�ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี
พิมพค์ รง้ั ท่ี 1 : ตลุ าคม 2556
จ�ำ นวนพิมพ์ : 100 เล่ม
พิมพค์ รง้ั ที่ 2 : สิงหาคม 2557
จ�ำ นวนพมิ พ์ : 10,000 เลม่
เอกสารเผยแพร่ ห้ามจ�ำ หนา่ ย
ราคา 200 บาท
© สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2557 ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดย โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ�ริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
ไมอ่ นญุ าตใหค้ ดั ลอก ท�ำ ซ�ำ้ และดดั แปลง สว่ นใดสว่ นหนง่ึ ของหนงั สอื ฉบบั น้ี นอกจากไดร้ บั อนญุ าตเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร
จากเจา้ ของลิขสิทธิ์เทา่ นัน้
ชดุ กจิ กรรมเรยี นรรู้ ะดบั ประถมศกึ ษา เรอื่ ง รรู้ บั ...ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาต/ิ โครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศตามพระราชด�ำริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. พิมพ์คร้ังที่ 2 -- ปทุมธานี : ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ, 2557
100 หน้า : ภาพประกอบ
ISBN : 978-616-12-0337-5
1. ภัยพิบัติ 2. ภัยธรรมชาติ -- การป้องกัน
I. สำ�นักงานประสานงานโครงการตามพระราชดำ�ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
II. สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ III. ชื่อเรื่อง
HV553 363.348
จัดท�ำ โดย
ส�ำ นักงานประสานงานโครงการตามพระราชด�ำ รสิ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
73/1 ถนนพระรามท่ี 6 ราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศพั ท์ : 02 564 7000 ตอ่ 81816, 81807
โทรสาร : 02 644 8134
คำ�นยิ ม
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดำ�รัสเกี่ยวกับเรื่องภัยพิบัติ
(Disasters) ในงานประชุมวิชาการประจำ�ปี ๒๕๕๕ ของสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ ความตอนหนึ่งว่า
“ปัจจุบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเจริญก้าวหน้าเป็นอย่างมาก มนุษย์จึงหวังว่าวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีจะสามารถช่วยลดความเสียหายที่จะเกิดจากภัยพิบัติ เช่น เทคโนโลยีการก่อสร้าง
เทคโนโลยีการผลิตวัสดุก่อสร้างให้ต้านทานภัยพิบัติได้ เทคโนโลยีที่จะช่วยทำ�นายหรือเตือนภัยล่วงหน้า
เป็นต้น การให้ความรู้แก่ประชาชนเรื่องสาเหตุการเกิด และวิธีปกป้องตนเองเมื่อเกิดภัยพิบัติก็เป็น
เรื่องสำ�คัญ และสามารถช่วยลดความเสี่ยงลงได้ ทั้งจะช่วยโน้มน้าวให้มนุษย์เกิดความสำ�นึกเรื่อง
การรักษาสมดุลของธรรมชาติ”
ดังนั้น เพื่อให้ความรู้ด้านภัยพิบัติทางธรรมชาติแก่ประชาชนโดยเฉพาะเยาวชนไทย โครงการ
เทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ�ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จึงได้จัดทำ�
ชุดกิจกรรมเรียนรู้ระดับประถมศึกษา เรื่อง รู้รับ...ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ระดับประถมศึกษาขึ้น เพื่อ
ให้เยาวชนมีความรู้ และเข้าใจถึงสาเหตุการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟ
ระเบิด สึนามิ พายุ อุทกภัย และภัยแล้ง ฯลฯ โดยครูสามารถนำ�ชุดกิจกรรมเหล่านี้ ไปประยุกต์ใช้
ในการเรียนการสอนรายวิชาต่างๆ เพื่อเตรียมความพร้อมแก่เด็กและเยาวชนในการรับมือกับภัยพิบัติ
ทางธรรมชาติที่อาจจะเกิดขึ้น
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชด�ำ รสิ มเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมนี้จะช่วยวางรากฐานความรู้ด้านภัยพิบัติทางธรรมชาติ และสร้าง
ความตระหนักในการเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉิน ให้แก่เยาวชนไทยได้อย่างยั่งยืน ต่อไป
ศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์
รองประธานกรรมการโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ�ริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
คำ�นยิ ม
ในปัจจุบัน ประเทศไทยและหลายประเทศในโลกกำ�ลังเผชิญหน้ากับภัยพิบัติทางธรรมชาติใน
รูปแบบต่างๆ ด้วยความถี่ และความรุนแรงที่เพิ่มมากขึ้น การนำ�เสนอความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ที่สามารถนำ�มาประยุกต์ใช้เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ
เป็นภารกิจที่สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ให้ความสำ�คัญ แม้ภัย
พิบัติทางธรรมชาติจะเป็นสิ่งที่ไม่สามารถควบคุมได้ และมนุษย์ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ก็ตาม แต่ความก้าวหน้า
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สามารถช่วยให้มนุษย์รู้สาเหตุ พร้อมทั้งหาวิธีป้องกัน แก้ไข และ
จัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
นอกจากการนำ�วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาสร้างนวัตกรรมเพื่อลดปัญหาดังกล่าวแล้ว การ
ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ถูกต้องแก่สาธารณชน เป็นอีกบทบาทหนึ่งที่
สวทช. ให้ความสำ�คัญเช่นเดียวกัน ดังนั้นเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติ แก่เยาวชนในประเทศ สวทช. ซึ่งเป็นฝ่ายเลขานุการโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตาม
พระราชดำ�ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จึงได้จัดทำ� ชุดกิจกรรมเรียนรู้
ระดับประถมศึกษา เรื่อง รู้รับ...ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ขึ้น เพื่อสนับสนุนให้ครูในระดับประถมศึกษา
สามารถนำ�กิจกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์ที่หลากหลายเกี่ยวกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ สภาพอากาศ
ของโลก และความรู้ด้านธรณีวิทยา มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของ
นักเรียน และเพิ่มศักยภาพในการเตรียมความพร้อมรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ สามารถปกป้อง
ตนเองเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินได้อย่างเหมาะสม
สวทช. หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมฯ นี้ จะเชื่อมโยงการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ไปกับระบบการศึกษาในโรงเรียน ผ่านกิจกรรมวิทยาศาสตร์ในเนื้อหาภัยพิบัติทางธรรมชาติที่หลากหลาย
เพื่อสื่อสารข้อมูลทางด้านวิทยาศาสตร์สู่สังคมไทย ให้เยาวชนสามารถนำ�ความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้
ในการจัดการชีวิต ป้องกัน เผชิญ รับมือกับวิกฤติสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นต่อไป
ดร. ทวีศักดิ์ กออนันตกูล
ผู้อำ�นวยการ
สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ค�ำ นิยม
หนังสือชุดกิจกรรมเรียนรู้ระดับประถมศึกษา เรื่อง รู้รับ...ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ภายใต้
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ�ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ได้
เรียบเรียงภัยพิบัติที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของโลก และส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเปลี่ยน
แปลงทางธรณีวิทยา โดยทำ�ให้อ่านเข้าใจง่าย มีรูปภาพประกอบ พร้อมสีสันสวยงาม อีกทั้งยังมี
กิจกรรมท้ายบทให้นักเรียนได้ทดลอง รู้จักคิด รู้จักสังเกต และสรุปผลร่วมกัน เป็นการเรียนรู้ว่าควร
ปฏิบัติตนอย่างไรเมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงจะได้ช่วยเหลือผู้อื่นได้อีกด้วย
สมาคมธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย หวังว่าหนังสือชุดกิจกรรมนี้ จะเป็นประโยชน์กับนักเรียน
และผู้สนใจทั่วไป ให้มีความรู้เพื่อรับมือกับภัยพิบัติที่มีแนวโน้มจะเกิดบ่อยขึ้น และที่สำ�คัญมีส่วนช่วย
ลดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน
ดร. ทรงภพ พลจันทร์
นายกสมาคมธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย
กิตติกรรมประกาศ
ในการจัดทำ�ชุดกิจกรรมเรียนรู้ระดับประถมศึกษา เรื่อง รู้รับ...ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ชุดนี้
สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ซึ่งเป็นฝ่ายเลขานุการโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตามพระราชดำ�ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ขอขอบคุณหน่วยงานต่างๆ ได้แก่
สมาคมธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ และกรมอุตุนิยมวิทยา ที่ได้อนุเคราะห์
บุคลากรเพื่อให้คำ�แนะนำ� ปรับปรุงแก้ไขเนื้อหาสาระ ความคิดเห็นอันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการจัด
ทำ�ชุดกิจกรรมฯ
บริษัท ปตท.จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน) การไฟฟ้าฝ่าย
ผลิตแห่งประเทศไทย บริษัท เชฟรอนประเทศไทยสำ�รวจและผลิต จำ�กัด และบริษัท ปตท. สำ�รวจและ
ผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) ที่ได้สนับสนุนงบประมาณในการจัดพิมพ์ และเผยแพร่ชุดกิจกรรมฯ
ฝ่ายสื่อวิทยาศาสตร์ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ที่ได้กรุณาออกแบบ
และจัดทำ�หนังสือให้มีความสวยงาม และมีความน่าสนใจดังที่เห็น
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมฯ นี้จะช่วยสร้างความตระหนักให้แก่เยาวชนเพื่อเตรียมพร้อม
รับภัยพิบัติทางธรรมชาติที่อาจจะเกิดขึ้นต่อไป
คำ�นำ�
ที่ผ่านมาประเทศไทยประสบกับปัญหาภัยพิบัติ เช่น สึนามิ แผ่นดินไหว อุทกภัย และดินถล่ม
หลายจังหวัดในประเทศและโรงเรียนในโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษาของโรงเรียนในชนบท
(ทสรช.) หลายแห่งตั้งอยู่บริเวณพื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติดังกล่าว ดังนั้น จึงมีความจำ�เป็นในการดำ�เนินกิจกรรม
พัฒนาศักยภาพครู/นักเรียนของโรงเรียนในโครงการฯ ใหส้ ามารถศึกษาเรยี นรู้เน้อื หาทางดา้ นภัยพบิ ัติ และ
ตระหนักในการเตรยี มพรอ้ มรบั สถานการณ์ฉกุ เฉนิ ทอ่ี าจสง่ ผลตอ่ ชวี ติ ทรพั ยส์ นิ ของคร/ู นกั เรยี นและครอบครวั
ซง่ึ สว่ นใหญอ่ าศยั อยใู่ นพน้ื ทช่ี นบทหา่ งไกล
ฝ่ายเลขานุการโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ�ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกุมารี ดร. มนธิดา สีตะธนี และคณะครูภายใต้โครงการ “ส่งเสริมไอซีทีเพื่อพัฒนา
การเรียนการสอนวิทยาศาสตรส์ �ำ หรับนกั เรียนประถมศึกษา” จึงได้ร่วมกนั จดั ทำ�หนงั สือชดุ กิจกรรมเรียนรู้
ระดับประถมศึกษา เรือ่ ง ร้รู ับ...ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ เพื่อเป็นแนวทางในการเรียนการสอนเก่ยี วกบั ภยั พิบัติ
ทางธรรมชาติ โดยเนน้ การเรยี นรแู้ บบการมีส่วนร่วม การทำ�งานกลุ่ม การคดิ วิเคราะห์ และการใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอื่ สาร (ไอซที )ี ในการคน้ ควา้ ขอ้ มลู และการน�ำ เสนอขอ้ มลู
ฝา่ ยเลขานกุ ารโครงการฯ และคณะผจู้ ดั ท�ำ หนงั สอื หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ หนงั สอื เลม่ นจ้ี ะเปน็ ประโยชน์
ตอ่ การเรยี นการสอนในระดบั ประถมศกึ ษาเกย่ี วกบั ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ เพอ่ื ชว่ ยใหน้ กั เรยี นมคี วามตระหนกั
และเขา้ ใจในภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ เรยี นรทู้ จ่ี ะปอ้ งกนั ตวั เอง และรจู้ กั เตรยี มพรอ้ มรบั มอื อนั จะเปน็ การชว่ ย
บรรเทาความรนุ แรงทอ่ี าจจะตอ้ งเผชญิ และสามารถด�ำ รงชวี ติ อยกู่ บั ธรรมชาตใิ นภาวะวิกฤตต่อไป
สารบญั
หนว่ ยที่ 1: โลกของเราไม่เคยอย่นู ิง่ .............................................................................................................................................................. 9
กจิ กรรมท่ี 1.1 ไขชัน้ โลก และแผน่ เปลอื กโลก 11
กจิ กรรมที่ 1.2 แผน่ เปลอื กโลกเคลือ่ นท่ ี 12
กิจกรรมท่ี 1.3 จ�ำ ลองการเคลื่อนท่ีของแผน่ เปลือกโลก 14
หนว่ ยท่ี 2: แผน่ ดนิ ไหว................................................................................................................................................................................. 17
กจิ กรรมที่ 2.1 แผน่ ดินไหวใตแ้ ผน่ ดิน และใตม้ หาสมทุ ร 20
กิจกรรมที่ 2.2 สบื ค้นขอ้ มูลแผ่นดินไหว 21
กจิ กรรมที่ 2.3 จ�ำ ลองการสัน่ สะเทอื นของแผน่ ดินไหว 22
กิจกรรมที่ 2.4 แผน่ ดินไหวท่รี นุ แรงของโลก 24
กจิ กรรมท่ี 2.5 ปรากฏการณ์แผ่นดนิ ไหว 25
กิจกรรมที่ 2.6 แผน่ ดนิ ไหวท่ีเกิดในประเทศไทย 26
หนว่ ยที่ 3: ภเู ขาไฟระเบิด........................................................................................................................................................................... 27
กจิ กรรมที่ 3.1 จำ�ลองภูเขาไฟ 30
กจิ กรรมที่ 3.2 ผลกระทบจากภเู ขาไฟระเบิด 31
กจิ กรรมท่ี 3.3 ต�ำ แหน่งการเกดิ ภูเขาไฟทีส่ �ำ คญั ของโลก 32
หน่วยท่ี 4: สึนาม.ิ ......................................................................................................................................................................................... 33
กิจกรรมท่ี 4.1 ยอ้ นหลงั สนึ ามใิ นมหาสมทุ รอนิ เดีย 37
กิจกรรมท่ี 4.2. ความเสียหายจากสนึ ามิ 42
หน่วยท่ี 5: แหล่งน้�ำ ของโลก........................................................................................................................................................................4 3
กิจกรรมที่ 5.1 แหล่งนำ้�ของโลก 44
หนว่ ยที่ 6: สภาวะอากาศ.............................................................................................................................................................................. 45
กิจกรรมที่ 6.1 ดนิ และน้ำ�ถา่ ยเทความร้อน 46
กจิ กรรมที่ 6.2 ไอน�ำ้ เมฆ ฝน บนทอ้ งฟา้ เกิดขึน้ ไดอ้ ยา่ งไร 47
กิจกรรมที่ 6.3 ลมท่พี ดั ตามฤดูกาล 49
กจิ กรรมที่ 6.4 ลมมรสุมของประเทศไทย 50
กจิ กรรมที่ 6.5 สภาพลมฟา้ อากาศ 51
กจิ กรรมท่ี 6.6 จับคู่สภาวะอากาศทีเ่ ปลีย่ นแปลง 52
หน่วยที่ 7: พายหุ มุนเขตรอ้ น..................................................................................................................................................................... 53
กิจกรรมท่ี 7.1 บริเวณก�ำ เนดิ พายหุ มนุ เขตร้อน 56
กิจกรรมท่ี 7.2 ล�ำ ดับการเปลยี่ นแปลงพายหุ มุนเขตรอ้ น 57
กิจกรรมท่ี 7.3 พายซุ ดั ฝั่งทรี่ นุ แรง 58
กิจกรรมท่ี 7.4 ช่อื พายหุ มุนเขตรอ้ น 59
กจิ กรรมที่ 7.5 อักษรไขว้พายุหมนุ เขตรอ้ น 60
หน่วยที่ 8: อทุ กภัย....................................................................................................................................................................................... 61
กจิ กรรมท่ี 8.1 ผลกระทบจากอทุ กภยั 65
กิจกรรมท่ี 8.2 ปรากฏการณท์ ี่ทำ�ใหเ้ กดิ อุทกภัย 66
หน่วยท่ี 9: ดนิ ถลม่ ...................................................................................................................................................................................... 67
กิจกรรมที่ 9.1 การทดลองดินถลม่ 70
กิจกรรมท่ี 9.2 ความเสียหายทเ่ี กิดจากดินถล่ม 71
หน่วยที่ 10: ภยั แล้ง........................................................................................................................................................................................ 73
กจิ กรรมท่ี 10.1 สาเหตทุ ีท่ ำ�ให้เกดิ ภัยแลง้ 74
กจิ กรรมท่ี 10.2 พืน้ ท่เี สย่ี งภัยแล้ง 75
กจิ กรรมท่ี 10.3 ผังความคิดเรื่องภัยแล้ง 76
หนว่ ยที่ 11: ไฟป่า.......................................................................................................................................................................................... 77
กจิ กรรมที่ 11.1 ผลกระทบของไฟป่าตอ่ สิง่ มีชีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม 78
กจิ กรรมเสริม.................................................................................................................................................................................................... 79
เตรียมรับมือภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาต.ิ .............................................................................................................................................................91
บันทกึ ขอ้ มลู ...................................................................................................................................................................................................... 97
1หน่วยท่ี
โลกของเราไม่เคยอยนู่ ิ่ง
จริงๆ แล้วโลกของเราไมเ่ คยอยนู่ ่งิ หรอก
นักวิทยาศาสตรบ์ อกวา่ การไม่อยูน่ ง่ิ ของโลก
ทำ�ใหเ้ กดิ ปรากฏการณท์ างธรรมชาตมิ ากมาย
เด๋ยี วน้ี มีแผน่ ดินไหว
ภูเขาไฟระเบดิ เกิดขนึ้
ที่โนน่ ทน่ี ่ีเร่ือยเลย
ท ี่มาของภาพ : (Ehatrttph://Swcwiewn.ceeartWhsocrlidenIcmewagoerldB.oarngk/images)
9ชุดกจิ กรรมส่งเสริมการเรียนรู้ระดับประถมศกึ ษา เรื่อง รรู้ ับ...ภยั พิบัตทิ างธรรมชาติ
เปลอื กโลก โลกของเรามีอายุประมาณ 4,600 ลา้ นปี
เนอ้ื โลก ชัน้ นอกสดุ ของโลกเป็นหิน เรียกวา่ เปลือกโลก (Crust)
แก่นโลกช้นั นอก ใต้ช้ันเปลือกโลก เรยี กวา่ เนอื้ โลก (Mantle)
แกน่ โลกชั้นใน และแกนในสดุ ของโลก เรยี กวา่ แก่นโลก (Core)
ซงึ่ แบ่งเปน็ แก่นโลกชัน้ นอก และแกน่ โลกชัน้ ใน
เปลอื กโลกประกอบดว้ ย เปลอื กโลกภาคพน้ื ทวปี (Continental crust)
และเปลือกโลกใต้มหาสมุทร (Oceanic crust)
เปลือกโลกใต้มหาสมทุ ร เปลอื กโลกภาคพน้ื ทวีป
เปลอื กโลกใตม้ หาสมุทร เป0ลือ- ก7โ0ลกกหมน.า
มีความหนา 5 - 10 กม.
เนอ้ื โลก
เปลือกโลกภาคพ้นื ทวปี
มีความหนา 15 - 40 กม. ความลึก 2,900 กม.
บางแหง่ อาจหนามากกวา่ 65 กม.
เปลอื กโลก แร่เหลก็ หลอมเหลว
ความลกึ 5,100 กม.
แกน่ โลกช้ันนอก แกน่ โลก
แกน่ โลกช้นั ใน
แรเ่ หลก็
ความลึก 6,370 กม. ภhtาtพp:ด//ดั wแwปwลง.mจาsกnu:cleus.org
แผน่ เปลอื กโลก ความรอ้ นภายในช้ันโลกท่ีมีการ
เคลือ่ นท่ี ทำ�ให้แผ่นเปลอื กโลก
เปลอื กโลกไมไ่ ด้เป็นแผ่นเดียวกนั แต่เปน็ แผน่ เปลอื กโลกหลายช้ินตอ่ กนั เคล่อื นทต่ี ามไปในทศิ ทางตา่ งๆ
เปรยี บได้คล้ายกับไข่ท่เี ปลอื กกะเทาะ
อยูต่ ลอดเวลา
โดยแผ่นเปลอื กโลกลอยอยบู่ นหนิ เนอ้ื โลกส่วนบนท่ีมีลักษณะไหลหนืด
แผน่ ฮวนเดฟกู า แผน่ อเมริกาเหนอื แผ่นยเู รเซีย แผ่นฟิลิปปนิ ส์
แผน่ แคริบเบยี น แผน่ อราเบยี น แผ่นแปซฟิ กิ
แผน่ โคโคส แผน่ แอฟริกา
แผ่นแปซิฟกิ แผน่ นัซกา
แผน่ อินเดีย
แผน่ สโกเซีย ออสเตรเลยี
แผน่ แอนตาร์กตกิ
http://www.enchanภteาdพlดeัดarแnปinลgง.จcาoกm/:
10 ชุดกจิ กรรมสง่ เสริมการเรยี นรูร้ ะดับประถมศึกษา เรือ่ ง รรู้ บั ...ภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติ
กิจกรรม 1.1
ไขช้ันโลก และแผน่ เปลอื กโลก
แบ่งเปน็ กลุม่ ละ 3 - 5 คน
อุปกรณ์ : ดนิ น้ำ�มนั 4 ก้อน (4สี) ตอ่ 1 กลมุ่
1. นกั เรียนปัน้ ดนิ น้ำ�มนั เป็นทรงกลม โดยปนั้ เป็น 4 ชน้ั
2. ตัดครงึ่ กอ้ นดินน�้ำ มนั ท่ปี ้ันเป็น 2 ส่วน
• ระดมความคิด เพื่อเปรียบเทยี บเชอื่ มโยง ช้ันของก้อน
ดนิ น�ำ้ มนั ที่ป้ัน กับช้ันของโลก
• วาดภาพชัน้ ของโลก พร้อมช่ือของชัน้ โลกแตล่ ะชนั้
ระดมความคดิ เห็น และเขยี นอธิบายง่ายๆ เพ่ือเปรียบเทยี บเชอ่ื มโยงชัน้ ของดินนำ�้มันทปี่ ัน้ กบั ช้นั ของโลก
อปุ กรณ์ : ไขต่ ้ม 1 ฟอง หรือ ล�ำ ไย 1 ลกู / คน
1. แกะเปลือกไข่หรอื เปลือกลำ�ไยออกเปน็ แผ่นเล็กๆ
2. นำ�แผ่นเปลอื กเลก็ ๆ ประกอบเข้าทเ่ี ดมิ ของไขห่ รอื ล�ำ ไย
• สงั เกตแผน่ เปลอื กเล็กๆ ทป่ี ระกอบ และรอยตอ่ ระหวา่ ง
แผ่นเปลือก
• เขียนอธบิ ายง่ายๆ เพ่อื เปรยี บเทยี บ แผ่นเปลือกไข่
หรอื เปลือกลำ�ไยกับแผน่ เปลือกโลก
ระดมความคิด และเขียนอธิบายง่ายๆ เพ่อื เปรยี บเทียบเชอื่ มโยงแผน่ เปลอื กไข่ หรอื
เปลอื กลำ�ไยกับแผ่นเปลอื กโลก
11ชดุ กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้ระดับประถมศึกษา เร่อื ง รรู้ บั ...ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ
กจิ กรรมที่ 1.2
แผน่ เปลอื กโลกเคลอื่ นที่
ภเู ขา แผน่ เปลอื กโลก ภเู ขาไฟ
เปลือกโลก
เปลอื กโลกภาคพืน้ ทวีป มหาสมทุ ร การเกิดของ ภาคพืน้ ทวีป
ภูเขาไฟใตน้ ้�ำ
มรห่อางสลมกึ ใุทตร้ แมกมา
เปลือกโลกใตม้ หาสมทุ ร เปลตอื วักขโล้นึ กยก แมกมา
เปลอื กโลก 2 แผ่น เปลอื กโลก 2 แผน่ เมปดุ ลตอื วั กลโลงก
เคล่ือนทีเ่ ขา้ หากัน เคลอ่ื นทแ่ี ยกออกจากกัน
เน้อื โลกชั้นบน
แมกมา
เนอ้ื โลกชั้นบน
12 ชุดกจิ กรรมส่งเสริมการเรียนร้รู ะดบั ประถมศึกษา เรื่อง รรู้ บั ...ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ
โลก ้ชันนอก ่ทีเ ็ปนของแ ็ขง (Lithosphere) โยงเสน้ จบั คู่ภาพค�ำ อธบิ ายการเคล่ือนทข่ี องแผน่ เปลือกโลก
- ภาพทางซ้ายแสดงรูปแบบการเคล่อื นที่ของแผ่นเปลือกโลก
- ข้อความทางขวาเปน็ คำ�อธบิ ายรูปแบบการเคลอ่ื นทข่ี องแผ่นเปลอื กโลก
แผ่นเปลอื กโลกสองแผน่
เคลื่อนท่ีสวนทางกัน
แผ่นเปลือกโลกสองแผ่น
เคลอ่ื นทแี่ ยกจากกนั
แผน่ เปลอื กโลกสองแผ่น
เคลื่อนท่ีเขา้ หากนั
13ชดุ กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรียนรรู้ ะดบั ประถมศกึ ษา เร่ือง รูร้ บั ...ภัยพบิ ัตทิ างธรรมชาติ
กจิ กรรมท่ี 1.3
จำ�ลองการเคล่ือนที่ของแผน่ เปลอื กโลก
อปุ กรณ์
1. ขนมปงั แครกเกอร์ 8 - 10 แผน่ /กลมุ่
2. แยมสตรอเบอรร์ ี
3. กระดาษ หรอื ถาดรองรูปส่ีเหล่ยี ม
4. อุปกรณร์ องกนั เปื้อน
การทดลองที่ 1 จ�ำ ลองแผน่ เปลือกโลกที่แยกออกจากกัน
1.1 วางขนมปัง 2 แผน่ ใหต้ ิดกนั บนแยมสตรอเบอรร์ ี
1.2 คอ่ ยๆ เคล่ือนแผ่นขนมปังออกจากกนั
1.3 สงั เกตส่ิงท่เี กดิ ขึ้น
14 ชดุ กิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรรู้ ะดับประถมศึกษา เร่ือง ร้รู ับ...ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ
การทดลองที่ 2 จ�ำ ลองแผน่ เปลอื กโลกท่เี คลอ่ื นทเี่ ข้าหากัน
2.1 วางขนมปงั 2 แผน่ บนแยมสตรอเบอร์รี ใหห้ ่างกนั ประมาณ 3 เซนติเมตร
2.2 คอ่ ยๆ เคลอ่ื นแผ่นขนมปงั เขา้ หากัน จนชนกนั และออกแรงดนั ให้ชนกันต่อไปอีก
2.3 สงั เกตส่งิ ทเ่ี กดิ ข้นึ
การทดลองที่ 3 จ�ำ ลองแผ่นเปลอื กโลกที่เคลอ่ื นที่ผ่านกนั หรอื สวนทางกัน
3.1 วางขนมปงั 2 แผ่นใหต้ ดิ กันบนแยมสตรอเบอรร์ ี
3.2 ค่อยๆ เคล่ือนแผน่ ขนมปงั เคลื่อนทผ่ี า่ นกนั หรือสวนทางกนั
3.3 สงั เกตสิ่งทเ่ี กิดขึ้น
15ชุดกิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ระดบั ประถมศกึ ษา เรื่อง รรู้ ับ...ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ
ระดมความคิด และเขียนอธิบายงา่ ยๆ ใหเ้ หน็ ถึงสิ่งทเี่ กิดขน้ึ กบั แผน่ ขนมปงั
ทเี่ ชื่อมโยงกับการเคลื่อนทข่ี องแผน่ เปลือกโลก
16 ชดุ กจิ กรรมสง่ เสริมการเรียนรู้ระดับประถมศกึ ษา เร่อื ง ร้รู ับ...ภยั พิบัติทางธรรมชาติ
วนั ท่ี 11 ม.ี ค. พ.ศ. 2554 มรี ายงานการเกดิ 2หน่วยที่
แผน่ ดนิ ไหว ท่ีเกาะฮอนชู จงั หวดั มยิ ะงิ
ประเทศญป่ี ุน่ แผน่ ดินไหวท่เี กดิ ข้ึน แผน่ ดินไหว
วดั ขนาดแรงสัน่ สะเทือนไดข้ นาด 9.0
ความแรงท�ำ ให้อาคารสูงในกรุงโตเกียว ภาพแสดงตำ�แหนง่ การเกดิ เหตแุ ผน่ ดินไหวในประเทศญป่ี ุ่น
เกิดแรงส่ันสะเทือน และแผ่นดินไหวคร้งั นี้ ณ วนั ที่ 11 มีนาคม 2554
ท�ำ ใหเ้ กิดสนึ ามิสงู ประมาณ 10 เมตร
เคลอื่ นท่ีเข้าจโู่ จมถลม่ เมอื งเซ็นได ขนาดแรงสน่ั สะเทอื น 9
เกาหลีเหนอื
แอผเ่นมเรปกิ ลาอืเหกนโลือก
จนี เกาหลใี ต้ ญ่ีปุ่น
แผ่นเปลอื กโลกยเู รเซีย
ขนาดแรงส่นั สะเทอื น 9.0
แผ่นเปลอื กโลกแปซิฟิก
แผ่นเปลือกโลกฟิลิปปินส์
แผน่ ดนิ ไหวครง้ั น้ี เกดิ ขนึ้ จาก
การเคล่ือนทีช่ นกนั ของแผ่นเปลือกโลก 2 แผน่ คือ
แผน่ เปลอื กโลกแปซฟิ กิ กบั แผ่นเปลือกโลกอเมริกาเหนือ
17ชดุ กิจกรรมสง่ เสรมิ การเรียนรูร้ ะดบั ประถมศึกษา เร่อื ง รู้รบั ...ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ
แผ่นดนิ ไหว คือ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาตทิ ี่เกดิ จากการสั่นสะเทอื นของพ้นื ผิวโลก เน่ืองจากมกี าร
เคลอ่ื นท่ีของแผน่ เปลอื กโลกขา้ งใต้
ตวั อย่างภัยพิบตั ทิ ่เี กิดจากแผ่นดินไหวใตท้ ะเล ท่ีเกาะฮอนชู ประเทศญปี่ ุน่ เมอื่ วันที่ 11 มนี าคม
พ.ศ. 2554 วัดแรงสนั่ สะเทือนได้ 9.0 เมอื งบรเิ วณชายฝั่งทะเลถกู คล่ืนยกั ษ์สนึ ามิเขา้ จู่โจม อาคารบา้ นเรอื น
รถยนตถ์ กู พัดพาไปกบั กระแสนำ้� พ้นื ท่ีเกดิ เหตมุ ีเพลงิ ไหม้และดนิ ถลม่ ตามมา ระบบสอื่ สารถกู ตัดขาด รถไฟ
ใต้ดิน และรถไฟความเร็วสูงหยุดให้บริการ เตาปฏิกรณ์ปรมาณูของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ได้รับความเสียหาย
การเกดิ ภยั พบิ ัตคิ รัง้ น้ี มีผูเ้ สียชีวติ กว่า 20,896 คน หายสาบสญู มากกว่า 4,647 คน บ้านเรอื นเสียหายกว่า
332,395 หลงั (ภาพหนา้ 17)
ตัวอย่างภัยพิบัติที่เกิดแผ่นดินไหวบนแผ่นดิน
ในเขตชมุ ชน ทีป่ ระเทศเฮติ เมอื่ วันที่ 12 มกราคม
พ.ศ. 2553 แรงสน่ั สะเทอื นวดั ได้ 7.0 ท�ำความเสยี หาย
เกดิ ตามมาอยา่ งรนุ แรงมาก เนอ่ื งจากจดุ ศนู ยก์ ลางการ
เกดิ แผน่ ดนิ ไหว อยหู่ า่ งจากเมอื งเพยี งแค่ 25 กโิ ลเมตร
ในระดับลึกใตผ้ วิ โลกประมาณ 13 กิโลเมตร การเกดิ
ภัยพบิ ตั คิ รั้งนที้ �ำใหม้ ผี ูเ้ สียชวี ติ 316,000 คน ผคู้ นได้
รบั ผลกระทบขาดทอ่ี ยอู่ าศยั ประมาณ 1,300,000 คน
บา้ นเรอื นเสยี หายกวา่ 97,294 หลัง
ท่ีมาของภาพ : http://www.eqclearinghouse.org
ตวั อย่างข้อมูลสถิตกิ ารเกดิ แผ่นดินไหวในประเทศต่างๆ และยอดจ�ำ นวนผู้เสียชีวติ
ปี พ.ศ. ปี พ.ศ. ขนาดแรง ต�ำ แหนง่ ท่เี กิด ปี พ.ศ.
2555 11 เมษายน สน่ั สะเทอื น ประเทศฟลิ ปิ ปินส์ นอกฝ่ังตะวันตก 113
2554 11 มีนาคม ของเกาะสมุ าตรา ประเทศอินโดนีเซยี
8.6 ใกล้ฝัง่ ตะวนั ออกของเกาะฮอนชปู ระเทศญป่ี ุน่ 20,896
9.0
2553 12 มกราคม 7.0 ประเทศเฮติ 316,000
2552 20 กันยายน 7.5 นอกฝง่ั ตะวันตกของเกาะสุมาตรา 1,117
2551 12 พฤษภาคม 7.9 87,587
2557 26 ธันวาคม 9.1 ประเทศอนิ โดนีเซยี
ทางตะวันออกของมณฑลเสฉวนประเทศจนี 227,898
นอกฝัง่ ตะวันตก ทางตอนเหนอื
ของเกาะสมุ าตรา ประเทศอนิ โดนเี ซยี
(ขอ้ มูลจาก USGS ณ วนั ที่ 27/09/55)
การวดั ขนาดและความรนุ แรงของแผน่ ดนิ ไหวมี 2 แบบ คอื
1) วดั ขนาดพลงั งานทแ่ี ผน่ ดนิ ไหวปลอ่ ยออกมา ณ บรเิ วณศนู ยก์ ลางแผน่ ดนิ ไหว ทนี่ ยิ มใชม้ ี 2 มาตรวดั
คอื ก) มาตราโมเมนตแ์ มกนจิ ดู (Moment magnitude scale) เชน่ รายงานวา่ มแี ผน่ ดนิ ไหวขนาด Magnitude 7
(M7) และ ข) มาตรารกิ เตอร์ (Richter scale) เชน่ รายงานวา่ มแี ผน่ ดนิ ไหวขนาด 8 รกิ เตอร์ ปจั จบุ นั หลายประเทศ
เช่น สหรฐั อเมริกา องั กฤษ ไดเ้ ปล่ยี นมาใชม้ าตราโมเมนตแ์ มกนจิ ูด เพราะสามารถวัดแผน่ ดนิ ไหวท่ีมขี นาดใหญ่
ได้ดกี ว่ามาตราริกเตอร์
2) วดั ความรนุ แรงแผ่นดินไหว (Intensity) โดยวัดจากผลกระทบของแผน่ ดนิ ไหว เช่น จากความรสู้ กึ
ของผคู้ น การสั่นไหวของอาคาร ความเสยี หายตอ่ ชีวิตและทรัพย์สนิ ได้แก่ มาตราเมอรแ์ คลล่ี (Mercalli scale)
เช่น รายงานวา่ มีแผ่นดนิ ไหวระดบั 10 เมอร์แคลล่ี
18 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรยี นร้รู ะดับประถมศกึ ษา เรอื่ ง รู้รบั ...ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ
ภาพจ�ำ ลองการเคลอ่ื นท่ีของแผน่ เปลือกโลก แผ่นเปสลวอืนกทโาลงกกเนัคลอ่ื นท่ี
แผน่ เปลอื กโลก แผ่นเปลอื กโลกเล่อื นลง แผน่ เปลือกโลก แผน่ เปลือกโลกเล่อื นขึ้น
เลือ่ นขนึ้ เลือ่ นลง
รอยเลอ่ื นปกติ
รอยเลอ่ื นยอ้ น รอยเล่อื นตามแนวระดับ
ที่มา : ภาพดัดแปลงจาก http://www.dnr.sc.gov/geology/images/Fault_Figure.jpg
ปรากฏการณแ์ ผ่นดินไหวเกิดข้ึนมากหรอื บ่อยทีบ่ ริเวณรอยต่อของแผ่นเปลอื กโลก เนือ่ งจากแผน่ เปลอื กโลก
แตล่ ะแผน่ ลอยอยูบ่ นหินร้อนไหลหนืดข้างใต้ท่มี กี ารเคลอื่ นที่ ทำ�ใหแ้ ผน่ เปลอื กโลกมีการเคล่อื นทด่ี ว้ ย
แผ่นดินไหวเกดิ ข้นึ
จากการที่บางสว่ น
มขอกี งาแรผเค่นลเป่ือนลือทกี่ โลก
อาจเกยกนั ชนกัน
หรือแยกจากกัน
ทม่ี าของภาพ : www.springnewstv.tv.com
ภาพความเสียหายจากแผ่นดินไหวท่จี งั หวดั เชียงราย วันที่ 5 พฤษภาคม 2557
รปู หบา้ รแเิ ฉวกณทแ่มีสกีดางรตเ�ำกแดิ หภนูเขง่ าขไอฟงรแะผเบน่ ิดดแินไลหะวแทผเี่น่ กดิดินในไหรอวบบอ่ 5ย0 ปี
แผน่ ดินไหวเกิดขึน้ มาก
ทบี่ รเิ วณแนวรอยตอ่ ของ
แผน่ เปลอื กโลก ซึ่งเป็นบรเิ วณ
เดียวกนั กบั การเกิดแนวภเู ขาไฟ
แนวแผน่ เปลือกโลกรอบมหาสมุทร
แปซิฟกิ เป็นบรเิ วณที่เกิดภูเขาไฟ
ระเบดิ มากท่ีสุด เรียกวา่ วงแหวน
แห่งไฟ หรอื Ring of fire
(แถบสีเหลือง)
ขอ้ มลู : สำ�นักแผน่ ดินไหว กรมอตุ ุนยิ มวทิ ยา
19ชุดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรูร้ ะดบั ประถมศกึ ษา เรอื่ ง ร้รู ับ...ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ
กจิ กรรมท่ี 2.1
แผ่นดนิ ไหวใตแ้ ผ่นดิน และใตม้ หาสมทุ ร
จดุ เหนือศนู ยก์ ลางแผ่นดินไหว แผน่ ดินไหว มจี ุดศนู ย์กลางการเกิดอยูข่ ้างในโลก
จุดศนู ย์กลางแผ่นดนิ ไหว ซง่ึ จดุ ทีเ่ กดิ อาจอยู่ที่ใต้แผ่นดิน หรอื ท่ใี ตม้ หาสมทุ ร
- ต�ำ แหนง่ จดุ ศูนยก์ ลางแผ่นดินไหวท่ีใต้โลก
เรียกวา่ hypocenter (ไฮโปเซ็นเตอร)์
- ต�ำ แหน่งจุดศนู ย์กลางแผน่ ดินไหวทผี่ ิวโลก
เรยี ก จุดเหนือศนู ย์กลางแผ่นดนิ ไหว
หรือ Epicenter (อิพิเซ็นเตอร์)
ซ่ึงต�ำ แหน่งศนู ย์กลางแผน่ ดนิ ไหวที่ผวิ โลกและ
ทใ่ี ตโ้ ลกจะอยตู่ รงกนั ทง้ั นถ้ี า้ ตำ�แหน่งไฮโปเซ็นเตอร์เกิดที่
ระดับตืน้ จะเกดิ ความเสยี หายรนุ แรงกว่าท่ีเกดิ ในระดับลกึ
รวมกลุ่มๆ ละ 3 คน
แผน่ ดินไหว มีต�ำ แหนง่ ศนู ยก์ ลางทเ่ี ริ่มต้นเกดิ แผน่ ดินไหวไดท้ ้ังทีใ่ ต้แผน่ ดนิ หรือใตม้ หาสมทุ ร
ค้นคว้าขอ้ มูล ระดมความคิด และเขียนอธิบายงา่ ยๆ ใหเ้ ห็นถงึ ปรากฏการณ์การเกิดแผ่นดนิ ไหวใน
ภาพแต่ละภาพ
ขนาดแรงสน่ั สะเทือน 7 ..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
¨´Ø à˹×ÍÈٹ¡ÅҧἋ¹´Ô¹äËÇ ..........................................................................................................
..........................................................................................................
ขนาดแรงสน่ั สะเทือน 6 ¨´Ø ȹ٠¡ÅҧἋ¹´Ô¹äËÇ ..........................................................................................................
ÃÍÂàÅÍ× ¹ ..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
20 ชุดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรรู้ ะดับประถมศกึ ษา เร่อื ง รู้รบั ...ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ
กิจกรรมที่ 2.2
สบื ค้นขอ้ มลู แผ่นดินไหว
คน้ ข้อมูลการเกิดแผน่ ดนิ ไหว พรอ้ มใส่ภาพ และคำ�อธิบายประกอบภาพสน้ั ๆ
เกีย่ วกบั สภาพพ้ืนท่ี และผลกระทบที่เกิดขนึ้
ประเทศ/เมอื ง วนั ที่ ขนาดแรง สภาพพ้นื ที่ ผลกระทบทเี่ กดิ ข้ึน
ทเี่ กดิ แผน่ ดนิ ไหว สน่ั สะเทอื น
21ชดุ กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรูร้ ะดับประถมศึกษา เรอ่ื ง รู้รบั ...ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ
กิจกรรมที่ 2.3
จ�ำ ลองการส่ันสะเทอื นของแผ่นดนิ ไหว
ภาพการทดลอง
จำ�ลองการเกดิ แผ่นดินไหว
รวมกลมุ่ ๆ ละ 5 คน
วสั ดแุ ละอุปกรณ์
1. แผน่ ไมอ้ ดั หรือ แผน่ กระดาษแข็ง (ขนาด 60 ซม. X 30 ซม.)
2. ลูกลอ้ 4 ลอ้
3. วตั ถุ 5 ช้ิน ทม่ี รี ปู ทรง ความสูง และขนาดแตกตา่ งกนั เช่น ทรงกระบอก ทรงสเ่ี หลี่ยมเตยี้
ทรงสีเ่ หลยี่ มสูง ... (วตั ถแุ ตล่ ะช้ิน แทน อาคารส่ิงก่อสรา้ งบนแผ่นดนิ )
การทดลอง
1. ตดิ ล้อ 4 ล้อท่มี ุม 4 มุมของแผ่นกระดาษแขง็
2. วางวัตถุท้งั 5 ชน้ิ บนแผน่ ลอ้ เลอ่ื น
3. เลอ่ื นแผน่ ลอ้ เลอ่ื นใหเ้ ขยา่ ไป-มา จากแรงเขยา่ นอ้ ย ปานกลาง รนุ แรง จนถงึ รนุ แรงมาก โดยสงั เกตสง่ิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ
เมอ่ื ท�ำ การเขยา่ และเขย่ารถลอ้ เลือ่ นรุนแรงมากทสี่ ุด
สรปุ ผลการทดลอง
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
22 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรรู้ ะดับประถมศกึ ษา เรือ่ ง รรู้ บั ...ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
โดยธรรมชาติแผ่นดินไหวเกิดขึ้นบ่อยครั้งมากในโลก แต่ส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก มีความรุนแรงน้อย
จึงไมส่ ง่ ผลใหเ้ กดิ ภยั พิบัติ
Historic Quaker[1900-2003]
Magnitude Depth [km]
5-6 0-70
6-7 70-300
7-8 300-700
8+
ที่มาของภาพ : http://www.noaa.gov/
ภาพขา้ งบนแสดงการเกดิ แผ่นดนิ ไหวปี พ.ศ. 2443 - 2546
จดุ สแี ดง มศี นู ยก์ ลางแผน่ ดนิ ไหวตน้ื ไมเ่ กนิ 70 กโิ ลเมตร
จดุ สนี �ำ้ เงนิ มศี นู ยก์ ลางแผน่ ดนิ ไหวอยลู่ กึ กว่า 300 กิโลเมตร
การเกิดแผ่นดินไหวที่มีศูนย์กลางอยู่บริเวณจุดสีแดงจะมีโอกาสเกิดภัยพิบัติมากกว่าบรเิ วณจดุ สีน�ำ้ เงิน
23ชดุ กจิ กรรมสง่ เสริมการเรยี นรู้ระดับประถมศึกษา เรอ่ื ง รรู้ บั ...ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ
กจิ กรรมท่ี 2.4
แผ่นดนิ ไหวทร่ี ุนแรงของโลก
ภาพแผนทีโ่ ลกทแี่ สดงต�ำ แหน่งทเี่ กดิ แผ่นดินไหวท่ีเป็นภัยพบิ ัติรุนแรงของโลก
5 49 7 8 2
11
10
3 6
1
ท่มี า : ภาพดดั แปลงจาก http://www.noaa.gov/
จากภาพดา้ นบนบอกหมายเลขการเกิดแผ่นดินไหวทีม่ ผี ลกระทบรนุ แรงตอ่ ประเทศไทย
อธบิ ายสั้นๆ เกย่ี วกับผลกระทบจากเหตุแผน่ ดินไหวที่เกิดข้นึ
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
24 ชดุ กิจกรรมสง่ เสริมการเรยี นรรู้ ะดับประถมศึกษา เรื่อง รู้รับ...ภัยพบิ ตั ทิ างธรรมชาติ
กจิ กรรมที่ 2.5
ปรากฏการณแ์ ผ่นดินไหว
ตารางแสดงความสมั พนั ธข์ องขนาดของแรงสั่นสะเทอื นกบั ความรนุ แรงที่เกิดข้ึน
ขนาดแรงสัน่ สะเทือน ความรุนแรงที่เกดิ ข้ึน
1 - 2.9 เกดิ การสั่นไหวเลก็ นอ้ ย ผคู้ นไม่รสู้ กึ ถงึ การส่นั ไหว
3 - 3.9 เกิดการสน่ั ไหวเล็กนอ้ ย ผทู้ ี่อยใู่ นอาคารรูส้ กึ เหมอื นรถไฟวิง่ ผ่าน
4 - 4.9 เกิดการส่ันไหวปานกลาง ผู้ทอ่ี ย่ทู งั้ ภายในอาคารและนอกอาคาร
รสู้ ึกถงึ การสัน่ สะเทือน วตั ถหุ ้อยแขวนมกี ารแกว่งไกว
5 - 5.9 เกดิ การสัน่ ไหวรุนแรงเป็นบริเวณกว้าง เครือ่ งเรือนและวตั ถุมีการเคลอื่ นที่
6 - 6.9 เกิดการสั่นไหวรุนแรงมาก อาคารอาจเสียหายหรือพังทลาย
7.0 ขน้ึ ไป เกดิ การสน่ั ไหวรา้ ยแรง อาคาร สิง่ กอ่ สร้างมคี วามเสียหายมาก แผน่ ดนิ แยก
วัตถทุ ่อี ยูบ่ นพนื้ ถกู เหวีย่ งกระเดน็
ขอ้ มูลอา้ งอิงจาก : กรมทรพั ยากรธรณี
ตารางแสดงวัน ขนาดแรงสนั่ สะเทือน สถานท่ี การเกดิ แผน่ ดินไหวทั่วโลก
ระหว่างปี พ.ศ. 2547 - 2554
วัน/เดอื น/ปี ขนาดแรงสน่ั สะเทอื น จุดเกดิ แผ่นดนิ ไหว
24 มีนาคม 2554 6.8 ประเทศพมา่
12 มกราคม 2553 7.0 ประเทศเฮติ
3 กมุ ภาพนั ธ์ 2552 3.0 รัฐนิวเจอรซ์ ี ประเทศสหรฐั อเมรกิ า
12 พฤษภาคม 2551 4.8 สหราชอาณาจักร
27 กมุ ภาพนั ธ์ 2551 7.9 ตะวันออกของมณฑลเสฉวน ประเทศจนี
15 สงิ หาคม 2550 8.0 ใกลช้ ายฝัง่ ประเทศเปรู
7 ตลุ าคม 2549 5.0 อา่ วไทย ประเทศไทย
26 ธันวาคม 2547 9.1 นอกฝ่งั ตะวนั ตก ทางตอนเหนือของเกาะสุมาตรา
รวมกล่มุ ๆ ละ 3 คน
จากตารางข้างตน้ แผ่นดินไหวทีใ่ ดบ้างท่ีมีความรุนแรง และกอ่ ให้เกิดปรากฏการณอ์ ะไรตามมา
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
...........จ..า..ก...ต..า..ร..า.ง..ข..้า..ง..ต..น้....แ..ผ..่น...ด..ิน...ไ.ห...ว..ท..ใ่ี..ด..บ..้า..ง..ท..่ีม...ีค..ว..า..ม..ร..นุ...แ..ร..ง...แ..ล..ะ..ก..อ่...ใ.ห...เ้ .ก..ดิ..ป...ร..า..ก..ฎ..ก...า.ร..ณ....์อ..ะ..ไ.ร..ต..า..ม...ม..า...........................
..................................................................................................................................................................................
25ชดุ กิจกรรมสง่ เสริมการเรียนรูร้ ะดับประถมศกึ ษา เรือ่ ง รูร้ ับ...ภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติ
กจิ กรรมที่ 2.6
แผ่นดินไหวทีเ่ กดิ ในประเทศไทย
รอยเลอื่ นมีพลงั หมายถึง
แนวรอยแตกของแผ่นดนิ
ทม่ี กี ารเคลื่อนท่ี ซึ่งมีโอกาส
ท�ำ ให้เกดิ แผ่นดนิ ไหวได้
ในประเทศไทยมีรอยเลือ่ น
มพี ลงั ท�ำ ใหป้ ระเทศไทย
กม็ โี อกาสเกิดแผน่ ดินไหวได้
สัญลักษณ์
จังหวัด
ขอบเขตจงั หวดั
รอยเลื่อนมพี ลัง
จากภาพ จังหวัดใดที่ไมอ่ ยใู่ นแนวรอยเลอื่ นแผ่นดินไหว
บอกชอ่ื จงั หวดั 2 ชอ่ื
1. ..............................................................................
2. ..............................................................................
26 ชุดกจิ กรรมส่งเสริมการเรียนรู้ระดับประถมศึกษา เรื่อง รูร้ บั ...ภยั พิบัติทางธรรมชาติ
3หน่วยที่
ภูเขาไฟระเบิด
รายงานขา่ ว .....
ไอซ์แลนด์ปิดสนามบินนานาชาติ และยกเลิกเที่ยวบินภายในประเทศทั้งหมด หลังจากเกิด
ภูเขาไฟระเบิดสง่ ควันและเถ้าพวยพุง่ ขน้ึ สู่อากาศสูงถึง 20 กโิ ลเมตร
เมื่อวันเสาร์ที่ 21 พฤษภาคม 2554 ภูเขาไฟของไอซ์แลนด์ ซึ่งเป็นภูเขาไฟใต้ธารน้ำ�แข็งแผ่น
ใหญ่ที่สุดทางตะวันออกเฉียงใต้ของไอซ์แลนด์เกิดระเบิดขึ้น เกิดควันจากเถ้าพวยพุ่งสู่ท้องฟ้าสูงถึง 20
กิโลเมตร ทางการไอซ์แลนด์ได้ตัดสินใจปิดสนามบิน และได้สั่งห้ามเที่ยวบินเข้าใกล้ในรัศมี 220
กิโลเมตรโดยรอบ เนอ่ื งจากเกรงว่าฝุ่นละอองและเถ้าจะเข้าไปในเครือ่ งยนตข์ องเคร่อื งบิน และท�ำ ให้เกดิ
อุบัติเหตขุ ึ้น
ท่มี าของข้อมลู : ครอบครัวขา่ ว
ภาพการระเบิดของภูเขาไฟกริมสว็อตน์
ภาพจากดาวเทยี ม
NASA MODIS satellite
ภาพแกะเสียชวี ติ
ผลท่ตี ามมาจากการระเบิดของภูเขาไฟ
กริมสว็อตนท์ ำ�ใหล้ ูกแกะเสยี ชวี ิต
ภาพถ่ายจากเฮลิคอปเตอร์
ทีม่ าของภาพ : http://news.yahoo.com/nphotos
27ชดุ กิจกรรมสง่ เสริมการเรยี นรรู้ ะดบั ประถมศึกษา เรื่อง รูร้ ับ...ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ
เถา้ ธุลีภเู ขาไฟ
ปลอ่ ง ฝุ่นละออง
ลาวา
ตะกอนภูเขาไฟ
ทมี่ า : ภาพดัดแปลงจาก http://mail.colonial.net
แมกมา
ภาพตดั โครงสร้างภายในของภเู ขาไฟ
ภูเขาไฟ หรือ volcano คือ ส่วนของเปลือกโลกที่หินร้อนหลอมเหลวใต้เปลือกโลก
สามารถปะทอุ อกมานอกผวิ เปลอื กโลกได้ โดยหนิ รอ้ นหลอมเหลวนอ้ี าจไหลเคลอ่ื นทอ่ี อกมาอยา่ งชา้ ๆ
หรอื อาจมกี ารระเบิดของแกส๊ และหนิ ร้อนหลอมเหลวดันปะทอุ อกมาอยา่ งรุนแรง
- หินหลอมเหลวทอ่ี ยู่ใต้เปลอื กโลกหรือยงั อยใู่ นภูเขาไฟ เรยี กวา่ แมกมา (Magma)
- หนิ หลอมเหลวที่ไหลออกมาจากภูเขาไฟ เรียกว่า ลาวา (Lava)
28 ชุดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรรู้ ะดับประถมศึกษา เร่ือง รู้รบั ...ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ
ภเู ขาไฟแบบต่างๆ ปลอ่ งภเู ขาไฟกำ�ลงั ระเบิด
ปลอ่ งภเู ขาไฟท่ีปะทุอยู่
ปลอ่ งภเู ขาไฟทด่ี ับแลว้
ทมี่ าขอ งภาพ : E(hatrttph://Swcwiewn.ceeartWhsocrlidenIcmewagoerldB.oarngk/images)
ภูเขาไฟระเบิด เกิดขึ้นจากหินร้อนหลอมเหลวและแก๊สใต้พื้นผิว จากหลักฐานทางธรณีวิทยา
โลกมกี ารสะสมความรอ้ นสงู มาก จนเกดิ แรงดนั ตวั เองขน้ึ มาตามรอยแยก พบปล่องภเู ขาไฟท่ดี บั แล้วใน
และปล่องภูเขาไฟ ทำ�ให้หินร้อนหลอมเหลวเคลื่อนที่หรือปะทุออกมา ประเทศไทยหลายแหง่ เช่น
บนพื้นผิวโลก เกิดการไหลของหินร้อนหลอมเหลวที่เรียกว่า ลาวา และ ท่เี ขาพนมรงุ้ ภพู ระอังคาร
มเี ถา้ ละเอยี ดฟงุ้ กระจายไปในวงกวา้ ง หากการระเบดิ ของภเู ขาไฟรนุ แรง เขาพลอยแหวน เขากระโดง ฯลฯ
ผงฝุ่นเถ้าธุลีภูเขาไฟนี้จะทำ�ให้เกิดมลพิษทางอากาศ เป็นอันตรายต่อ
สิ่งมีชีวิต หรือ การบริการของสายการบินต่างๆ ต้องหยุดให้การบริการ
ชั่วคราว
29ชุดกิจกรรมสง่ เสริมการเรียนรู้ระดับประถมศึกษา เรือ่ ง รู้รับ...ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ
กิจกรรมที่ 3.1
จ�ำ ลองภเู ขาไฟ
แบ่งเป็นกลมุ่ ๆ ละ 3 - 5 คน
วสั ดแุ ละอุปกรณ์
1. สีผสมอาหาร (สแี ดง) 1 หอ่
2. ดนิ นำ้�มนั 5 กอ้ น
3. น้ำ�สม้ สายช ู 250 มลิ ลิลิตร
4. ผงฟ ู 15 มลิ ลิลติ ร (1 ชอ้ นโตะ๊ )
5. กระบะ ขนาด 12 X 16 นวิ้ 1 อนั
6. ขวดปากแคบ 1 ขวด ที่มาของภาพ : thott-pm:/a/kwew-aw-.vhoolmcaensoc.hhotmoll-#a.Uctj_ivitAieZsY.cbo7mq/2hFo w-
ทำ�การทดลอง
1. วางขวดปากแคบในกระบะ
2. ป้ันดนิ นำ้�มนั ห้มุ ขวดปากแคบเปน็ ภูเขาไฟจ�ำ ลอง (โดยไมห่ ุ้มปากขวดปากแคบ)
3. เทผงฟลู งในภูเขาไฟจ�ำ ลองทางปากภูเขาไฟ
4. ผสมสีอาหารในนำ้�สม้ สายชู
5. เทน้ำ�สม้ สายชูผสมสลี งในภูเขาไฟจำ�ลองทางปากภูเขาไฟ
6. สังเกตส่ิงท่ีเกิดขึ้น บันทึกผลการทดลอง และสรปุ ผลการทดลอง
บันทึกผลการทดลอง
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
สรปุ ผลการทดลอง
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
30 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรรู้ ะดบั ประถมศึกษา เรอ่ื ง รู้รบั ...ภยั พบิ ัติทางธรรมชาติ
กจิ กรรมที่ 3.2
ผลกระทบจากภูเขาไฟระเบดิ
จบั คู่กนั ช่วยกนั คิด และเขียนอธิบายงา่ ยๆ
สภาพภูเขาไฟระเบิด
...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
ทีม่ าของภาพ : http://www.fema.gov/kids/p_vol03.htm
ท่มี าของภาพ : U(h.tStp. :G//weowlowg.uicsaglsS.guorvv/epyhotos) สภาพผลกระทบทีเ่ กิดข้ึนกับสิง่ แวดลอ้ ม
...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
ทม่ี าของภาพ : http://news.yahoo.com/nphotos สภาพผลกระทบทเี่ กดิ ขน้ึ กับส่งิ มชี ีวติ
...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
31ชดุ กิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรรู้ ะดับประถมศึกษา เร่ือง รรู้ ับ...ภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ
กจิ กรรมท่ี 3.3
ต�ำ แหนง่ การเกดิ ภูเขาไฟทส่ี �ำ คญั ของโลก
แบ่งเป็นกลมุ่ ๆ ละ 3-5 คน
แผน่ เปลอื กโลก
แผ่นฮวนเดฟูกา
แผน่ ยเู รเซีย แผน่ ฟิลปิ ปินส์ นักธรณวี ทิ ยาอธบิ ายวา่ แผ่นเปลอื กโลก
แผน่ อเมริกาเหนือ แผน่ อราเบยี น มลี กั ษณะเป็นแผ่นๆ ต่อกัน
แผ่นแปซฟิ กิ ทลี่ อยอย่บู นหนิ ร้อนไหลหนดื ข้างใต้
แผ่นแครบิ เบยี น
แผ่นโคโคส แผน่ แอฟริกา และภเู ขาไฟส่วนใหญเ่ กิดข้ึนบรเิ วณใกล้
แผน่ แปซิฟกิ แผน่ นัซกา รอยต่อของแผ่นเปลือกโลก
แผน่ สโกเซยี แผน่ อนิ เดยี
ออสเตรเลีย
แผน่ แอนตารก์ ติก
ทีม่ า : ดดั แปลงภาพจาก http://www.usgs.gov/
ภาพขา้ งต้นที่แสดงบริเวณแนวการเกิดภเู ขาไฟของโลก ประเทศไทยอยใู่ นแนวหรอื ไม่
และบอกช่ือประเทศอน่ื ท่ีอยใู่ นแนว อย่างน้อย 1 ประเทศ
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
32 ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรู้ระดับประถมศกึ ษา เรื่อง รู้รบั ...ภยั ภพัยบิ พัติบิทตั าทิงธารงธรรมรชมาตชาิ ติ
4หนว่ ยท่ี
สึนามิ
รายงานขา่ ว...
เช้าวันอาทิตย์ ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 หลังวันคริสต์มาส ผู้คนหลายคนกำ�ลังเพลิดเพลินกับ
การเดินชมชายหาด หลายคนกำ�ลังเล่นน้ำ�ทะเล ขณะนั้นแผ่นดินไหวได้เกิดขึ้นอย่างรุนแรงใต้ทะเลทางทิศ
ตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ส่งผลให้เกิดสึนามิตามมาในมหาสมุทรอินเดีย
สึนามิที่เกิดขึ้นแผ่กระจายไปถึงหลายประเทศโดยรอบมหาสมุทรอินเดีย รวมทั้งประเทศไทย คลื่นยักษ์
เคลื่อนตัวเข้าจู่โจมชายฝั่งอย่างรุนแรง เป็นบริเวณกว้าง ทำ�ลายชายหาด สิ่งก่อสร้าง อาคารบ้านเรือน
ถนนหนทาง ผู้คนเสยี ชวี ิตและสญู หายเปน็ จำ�นวนมาก
12
34
ภาพเหตุการณส์ นิ ามทิ ี่ เจดยี ์ รีสอรท์ จ. ภูเก็ต ประเทศไทย วนั ที่ 26 ธนั วาคม 2547 ถ่ายภาพโดย JOANNE DAVIS/AFP
33ชุดชกุดิจกรจิ กรรมรสมง่ สเสง่ รเสมิ รกิมารกเารรียเรนียรนรู้ ระดู้รบัะดปับรปะถรมะถศมกึ ศษึกาษเาร่ือเรงื่อรง้รู รบั ูร้ ..บั. ...ภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ
แนวการเคล่อื นท่ี สนึ ามมิ าจากภาษาญป่ี นุ่ สึ (Tsu) แปลวา่ ทา่ เรอื นามิ (Nami) แปลวา่ คลน่ื ค�ำ วา่ สนึ ามิ แสดงถงึ
คลน่ื ใหญช่ นชายหาด ค�ำ วา่ สนึ ามิ จงึ ใชก้ นั ทว่ั โลก หมายถงึ ชดุ คลน่ื ใหญท่ เ่ี กดิ จากการเคลอ่ื นตวั ของมวลน�ำ้
ปรมิ าณมหาศาลจากการเกดิ แผน่ ดนิ ไหวใตน้ �ำ้ หรอื จากการปะทอุ ยา่ งรนุ แรงของภเู ขาไฟใตม้ หาสมทุ ร หรอื
จากดนิ โคนถลม่ ใตน้ �ำ้
ทง้ั นค้ี วามรนุ แรงของสนึ ามจิ ะมมี ากนอ้ ยเพยี งใดขน้ึ อยกู่ บั ลกั ษณะของทอ้ งทะเล ลกั ษณะความตน้ื ลกึ
ของพนื้ ชายฝงั่ ทะเล และความลาดของหาดที่สึนามิเคลือ่ นทเ่ี ข้าจู่โจม
สึนามิเป็นคลื่นที่มีพลังมหาศาล อาจเดินทางด้วยความเร็วสูงได้ถึง 700 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ความเรว็ นเ้ี ทยี บไดเ้ ทา่ กบั ความเรว็ ของเครอ่ื งบนิ ไอพน่ โดยสนึ ามจิ ะยกตวั ขน้ึ สงู เปน็ แนวก�ำ แพงเมอ่ื ถงึ ใกลฝ้ ง่ั
และพาพลงั น�ำ้ ขึ้นฝัง่ ไปบนพื้นทไี่ ดเ้ ปน็ ระยะทางไกลหลายสบิ กิโลเมตร
ภาพแสดงจุดเกดิ สนึ ามิ
คล่ืนยกตวั
เปลอื กโลก
ช้ันหนิ ไหลหนดื
ภาพแสดงสึนามยิ กตวั ขึ้นเป็นคลน่ื สูง ลักษณะเหมอื นกำ�แพง เคล่อื นท่ีเข้าจโู่ จมชายฝง่ั
34 ชดุ กิจกรรมสง่ เสริมการเรียนร้รู ะดับประถมศึกษา เร่ือง รู้รบั ...ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ
ภาพแสดงล�ำ ดบั การเคล่ือนท่เี ขา้ จ่โู จมชายฝัง่ ของสนึ ามิ
12
34
5 6
ที่มา : ดดั แปลงภาพจาก http://www.acehtsunami.com/history-of-tsunamis.php
ตารางแสดงความเสียหายรุนแรงจากการเกิดสนึ ามิ 3 อนั ดับของโลก (ขอ้ มูลจาก NOAA)
วนั เดอื น ปี ทีเ่ กิดสึนามิ ต�ำ แหนง่ ทเ่ี กดิ สึนามิ จำ�นวนผเู้ สียชวี ติ
26 ธนั วาคม พ.ศ. 2547 เกาะสุมาตรา อนิ โดนเี ซีย 227,898 คน
(ค.ศ. 2004)
28 ธันวาคม พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908) เกาะเมสสินา อิตาลี 72,000 คน
พ.ศ. 2298 (ค.ศ. 1755) ทางใตข้ องเปอร์ตุเกส 100,000 คน
มหาสมุทรแอตแลนตกิ
35ชุดกิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้ระดับประถมศกึ ษา เรอ่ื ง รู้รับ...ภยั พบิ ัตทิ างธรรมชาติ
เมอ่ื วนั ท่ี 26 ธนั วาคม 2547 สนึ ามไิ ดเ้ กดิ ขน้ึ ในมหาสมทุ รอนิ เดยี โดยมจี ดุ ก�ำ เนดิ ในทะเลทางตะวนั
ตกเฉยี งเหนอื ของเกาะสมุ าตรา และแผก่ ระจายครอบคลมุ 13 ประเทศ (อินโดนีเซยี มาเลเซีย ไทย พมา่
อินเดยี บังคลาเทศ ศรีลังกา มัลดีฟส์ เซเชลส์ โซมาเลยี แทนซาเนีย เคนยา่ และเยเมน) มผี ู้เสยี ชีวติ รวม
227,898 คน เปน็ การเกิดสนึ ามคิ รง้ั รนุ แรงเป็นอนั ดับหนึง่ ของโลก
ขนาดแรงสัน่ สะเทอื น 9.1
ภาพแสดงต�ำ แหน่งจดุ ก�ำ เนดิ สนึ ามิ ในมหาสมุทร
เมื่อวนั ท่ี 26 ธันวาคม 2547 และประเทศรอบมหาสมทุ รอนิ เดีย
ทไ่ี ด้รับผลกระทบจากการเกิดสึนามิ
สนึ ามิ เมอ่ื วันท่ี 26 ธนั วาคม พ.ศ. 2547 เคลือ่ นท่ีเข้าจโู่ จมชายฝ่ังใน 6 จงั หวดั ทางภาคใต้ของประเทศไทย
(ระนอง พังงา ภูเกต็ กระบ่ี ตรัง และสตลู ) ท�ำ ให้มผี เู้ สียชีวติ 5,300 คน
36 ชุดกิจกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรูร้ ะดบั ประถมศกึ ษา เร่อื ง รูร้ บั ...ภยั พบิ ัตทิ างธรรมชาติ
กจิ กรรมท่ี 4.1
ย้อนหลงั สนึ ามิในมหาสมุทรอนิ เดยี
ภวานัพทจี่�ำ 2ล6องธแนั สวดางคกมารพแผ.ศก่ .ร2ะ5จ4า7ยข(อดงัดสแึนปาลมงใิ ภนามพหจาาสกมทุ NรOอAนิ Aเด)ยี
43 hrs
37 hrs
31 hrs
26 hrs
21 hrs
16 hrs
11 hrs
6 hrs
0
แบ่งเปน็ กลมุ่ ๆ ละ 3 - 5 คน และอา่ นข้อความด้านล่าง
การเกิดสึนามใิ นมหาสมทุ รอนิ เดีย เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547
เดิมเคยเชื่อกันว่าในบริเวณมหาสมุทรอินเดียคงจะไม่มีปรากฏการณ์สึนามิที่รุนแรงเกิดขึ้น เพราะ
ถงึ แมว้ า่ ทางดา้ นตะวนั ตกของทะเลอนั ดามนั จะเปน็ แนวรอยตอ่ ระหวา่ งแผน่ เปลอื กโลกอนิ เดยี (Indian Plate)
กับแผ่นเปลือกโลกยูเรเชีย (Eurasian Plate) และมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นบ่อยครั้งก็ตาม แต่ก็ไม่เคยมีสึนามิ
ทท่ี �ำ ลายชีวิตและทรพั ยส์ นิ ของผคู้ นตลอดระยะเวลาท่ีผา่ นมา
ทว่า เม่อื วนั ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ไดเ้ กดิ สึนามคิ ร้ังท่รี ุนแรงมากที่สุดในประวัติศาสตร์ มีผู้คน
เสียชีวิตถึงประมาณ 227,898 คน นับเป็นภัยทางธรรมชาติที่ทำ�ให้มีผู้เสียชีวิตมากเป็นอันดับ 4 ของโลก
โดยภยั ธรรมชาตทิ ม่ี ผี เู้ สยี ชวี ติ มากเปน็ อนั ดบั 1 เกดิ จากแผน่ ดนิ ไหวทป่ี ระเทศเฮติ เมอ่ื พ.ศ. 2553 มผี เู้ สยี ชวี ติ
316,000 คน ภัยทางธรรมชาติที่มีผู้เสียชีวิตมากเป็นอันดับ 2 เกิดจากพายุไซโคลนพัดผ่านประเทศ
บังกลาเทศ เมื่อ พ.ศ. 2513 มีผู้เสียชีวิตประมาณ 300,000 คน และภัยทางธรรมชาติที่มีผู้เสียชีวิตมาก
เปน็ อันดับ 3 เกิดจากแผ่นดินไหวทางภาคตะวนั ออกเฉียงใตข้ องประเทศจีน เม่อื พ.ศ. 2519 มีผู้เสยี ชีวิต
ประมาณ 250,000 คน
สนึ ามดิ งั กลา่ วเรม่ิ ตน้ ขน้ึ ทจ่ี ดุ ก�ำ เนดิ ของแผน่ ดนิ ไหวขนาดใหญเ่ ปน็ แนวยาว ทางดา้ นตะวนั ตกเฉยี งเหนอื
ของเกาะสมุ าตรา ประเทศอนิ โดนเี ชยี แลว้ เคลอ่ื นตวั แผข่ ยายไปทว่ั ทะเลอนั ดามนั จนถงึ ชายฝง่ั ตะวนั ออกเฉยี งใต้
ของประเทศอนิ เดยี และเกาะศรลี งั กา บางสว่ นของคลน่ื ยงั เคลอ่ื นตวั ไปถงึ ชายฝง่ั ตะวนั ออกของทวปี แอฟรกิ าดว้ ย
รวมประเทศที่ประสบภัยจากสึนามิ 13 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย พมา่ อินเดยี
บงั คลาเทศ ศรลี งั กา มัลดีฟส์ เซเชลส์ โซมาเลีย แทนซาเนยี เคนย่า และเยเมน ในกรณขี อง
ประเทศไทย พบิ ตั ภิ ยั จากสนึ ามไิ ดก้ อ่ ใหเ้ กดิ ความตน่ื ตระหนกแกป่ ระชาชนทว่ั ทง้ั ประเทศ เพราะมกี ารสูญเสีย
ทั้งชีวิตและทรัพย์สินของผู้คนเป็นจำ�นวนมากใน 6 จังหวัดภาคใต้ที่มีพื้นที่อยู่ติดกับชายฝั่งทะเลอันดามัน
คือ ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล โดยเฉพาะที่จังหวัดพงั งา กระบี่ และภูเก็ต มี
การสญู เสยี มากทส่ี ดุ เปน็ พบิ ตั ภิ ยั ทางธรรมชาตทิ เ่ี กดิ ขน้ึ อยา่ งรนุ แรงและรวดเรว็ โดยไมม่ ผี ใู้ ดคาดคดิ มากอ่ น
จงึ ไม่ไดม้ ีการระมดั ระวังและปอ้ งกันไว้ล่วงหนา้
ดัดแปลงบทความจากสารานุกรมไทยส�ำ หรับเยาวชนฯ เล่มที่ 30
ของ รองศาสตราจารย์ ดร.ปญั ญา จารุศิริ และศาสตราจารย์กติ ตคิ ุณ ไพฑูรย์ พงศะบตุ ร
37ชดุ กิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรรู้ ะดบั ประถมศึกษา เรื่อง รู้รับ...ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ
ภาพแสดงแนวการเกิดแผน่ ดนิ ไหว
ที่มีจุดเรม่ิ ต้นทางตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของเกาะสมุ าตรา
ประเทศอนิ โดนีเซีย แลว้ แผ่ขนึ้ ไปทางทิศเหนอื
เมอ่ื วนั ท่ี 26 ธนั วาคม พ.ศ. 2547
นักธรณวี ทิ ยาให้ความเหน็ ว่า สึนามทิ ่เี กดิ ขึ้นในทะเลอันดามันครง้ั น้ี มีสาเหตุมาจากแผน่ เปลือกโลก
อินเดียขยับตัวเลื่อนมาทางทิศตะวันออก และมุดลงใต้ขอบแผ่นเปลือกโลกยูเรเชีย ทำ�ให้เกิดแผ่นดินไหว
ตามแนวรอยต่อของแผ่นเปลือกโลก ซึ่งมีลักษณะเป็นรอยเลื่อน (fault) ขนาดใหญ่เป็นแนวยาว ตั้งแต่ทาง
ตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย และเนื่องจากแผ่นดินไหวมีความรุนแรงมากถึง
ระดบั 9.1 จงึ เกิดเป็นสนึ ามิแผข่ ยายออกไปโดยรอบในทะเลอนั ดามันและบางส่วนของมหาสมทุ รอนิ เดียดัง
กล่าวแลว้
ล�ำ ดับเหตุการณ์ของการเกิดสึนามใิ นทะเลอันดามัน เมือ่ วนั ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547
เมอ่ื เวลา 07.59 น. ตามเวลาในประเทศไทย ไดเ้ กดิ แผน่ ดนิ ไหวขน้ึ มศี นู ยก์ ลางการเกดิ แผน่ ดนิ ไหว
ขนาดใหญ่เปน็ แนวยาว ตง้ั แตท่ างตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศอนิ โดนเี ซยี ขนึ้ ไปทางเหนือ
ถึงหมู่เกาะอันดามัน และหมู่เกาะนิโคบาร์ เป็นแนวยาวประมาณ 1,200 - 1,300 กิโลเมตร ที่ละติจูด
3.29 องศาเหนือ ลองจิจูด 95.98 องศาตะวันออก ลึกลงไปในแผ่นดินประมาณ 30 กิโลเมตร มีขนาด
ความรนุ แรง 9.1 นบั เป็นแผ่นดินไหวครงั้ รุนแรงทส่ี ุดท่เี กิดขึน้ ในมหาสมุทรอนิ เดยี
38 ชุดกิจกรรมสง่ เสริมการเรียนรู้ระดบั ประถมศึกษา เรอื่ ง ร้รู ับ...ภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ
- หลังเกิดแผ่นดินไหวไม่นาน ได้เกิดสึนามิเคลื่อนตัวเข้าสู่ฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา
ที่จังหวัดอาเจะห์ ความสูงและความรุนแรงของคลื่นทำ�ให้เมืองและชุมชนตามชายฝั่งถูกทำ�ลาย
อย่างกว้างขวาง มีผู้เสียชีวิตรวมกันทั้งหมดมากกว่า 167,540 คน บริเวณที่มีผู้เสียชีวิตมาก
ที่สุดอยู่ที่เมืองบันดาอาเจะห์ (Banda Ajeh) ซึ่งเป็นเมืองหลักของจังหวัด รองลงมาคือ ที่เมือง
เมอลาโบะห์ (Meulaboh) ซง่ึ เปน็ เมอื งชายทะเลอยทู่ างใตข้ องเมอื งบนั ดาอาเจะห์ นบั เปน็ การสญู เสยี
ชีวิตของผูค้ นจากภัยธรรมชาตคิ รง้ั ใหญท่ ีส่ ุดของอินโดนีเซยี
- เวลาประมาณ 10.00 น. สนึ ามิได้เรม่ิ เคลื่อนตวั แผไ่ ปยงั ชายฝัง่ ตะวนั ตกของคาบสมทุ รไทย - มลายู
ซึ่งอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวประมาณ 500 - 600 กิโลเมตร ก่อให้เกิดความเสียหาย
อยา่ งรนุ แรงในชายฝง่ั ทะเลอนั ดามนั ของประเทศไทย และมาเลเชยี มผี เู้ สยี ชวี ติ ประมาณ 5,300 คน
ในจงั หวดั ทางภาคใต้ของไทย 6 จังหวัด คือ ระนอง พังงา ภเู กต็ กระบี่ ตรัง และสตลู และมี
ผู้เสยี ชีวิตทีเ่ กาะปนี ัง ประเทศมาเลเซียประมาณ 75 คน
- สึนามิส่วนหนึ่งได้เคล่ือนตัวต่อข้ึนไปทางตอนเหนือจนถึงชายฝั่งของประเทศเมียนม่าร์และประเทศ
บงั กลาเทศ ซง่ึ อยหู่ า่ งจากจดุ ศนู ยก์ ลางแผน่ ดนิ ไหวประมาณ 1,500 - 1,700 กโิ ลเมตร มผี เู้ สยี ชวี ติ
ทีบ่ รเิ วณปากแมน่ �้ำ อิรวดขี องเมียนมา่ รป์ ระมาณ 61 คน และมผี เู้ สยี ชวี ิตท่บี ังกลาเทศ 2 คน
- สนึ ามิอีกส่วนหนง่ึ เคลอ่ื นตัวจากเกาะสมุ าตรามงุ่ ไปทางตะวนั ตก ไปถึงชายฝง่ั ของรัฐทมิฬนาฑู และ
ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศอินเดีย รวมทั้งบริเวณชายฝั่งตะวันออกของประเทศศรีลังกา
ซง่ึ เป็นเกาะใหญ่ทางใต้ของอนิ เดยี มีผูเ้ สยี ชวี ิตประมาณ 16,269 คน ซึ่งสว่ นใหญอ่ าศยั อยูท่ เ่ี มือง
นาคาปัตตินมั (Nagapattinum) สว่ นในศรีลังกามผี ู้เสียชีวิตประมาณ 35,322 คน
- สนึ ามไิ ดเ้ คลอ่ื นตวั ตอ่ จากศรลี งั กา ผา่ นมหาสมทุ รอนิ เดยี ไปยงั หมเู่ กาะมลั ดฟี ส์ ซง่ึ เปน็ ประเทศเลก็ ๆ
ตง้ั อยใู่ นมหาสมทุ รอนิ เดยี หา่ งจากเกาะศรลี งั กาไปทางทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใตป้ ระมาณ 650 กโิ ลเมตร
ซึ่งหมู่เกาะมัลดีฟส์มีภูมิประเทศเป็นหมู่เกาะปะการังเตี้ยๆ จึงได้รับความเสียหายมาก มีรายงาน
ผู้เสยี ชีวติ ประมาณ 108 คน
- สนึ ามสิ ว่ นหนง่ึ ยงั คงเคลอ่ื นตวั ตอ่ ไปจนถงึ ชายฝง่ั ตะวนั ออกของทวปี แอฟรกิ า ซง่ึ อยหู่ า่ งจากจดุ ก�ำ เนดิ
แผ่นดินไหวประมาณ 5,500 กิโลเมตร และแม้ว่าสึนามิได้อ่อนกำ�ลังลงบ้างแล้ว แต่ก็ได้ทำ�
ความเสยี หายให้กับบรเิ วณชายฝัง่ ของประเทศเซเชลส์โซมาเลยี เคนยา และเยเมนได้มากพอสมควร
มีผู้เสียชีวติ ท่เี ซเชลส์ 2 คน โซมาเลยี 289 คน เคนยา 1 คน และเยเมน 2 คน
ดดั แปลงบทความจากสารานกุ รมไทยสำ�หรบั เยาวชนฯ เล่มท่ี 30
ของ รองศาสตราจารย์ ดร.ปัญญา จารศุ ิริ และศาสตราจารย์กติ ตคิ ุณ ไพฑูรย์ พงศะบตุ ร
ทีม่ าของข้อมูล: http://kanchanapisek.or.th
39ชุดกจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นรู้ระดบั ประถมศกึ ษา เรื่อง รรู้ ับ...ภยั พิบัติทางธรรมชาติ
ขนาดแรง9ส.1ั่นสะเทือน
แต่ละกลุม่ อา่ นเหตุการณ์สนึ ามิทเี่ กดิ ขน้ึ ในมหาสมุทรอินเดยี เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547
และช่วยกันเรยี งล�ำ ดับตัวเลขของชือ่ ในแผนทต่ี ามล�ำ ดบั ชว่ งเวลาการแผ่ของสึนามิ
เขียนลูกศรโยงหมายเลขประเทศ เรยี งล�ำ ดบั ตามช่วงเวลาของเหตุการณ์
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
40 ชุดกิจกรรมสง่ เสริมการเรยี นรูร้ ะดบั ประถมศกึ ษา เร่ือง รรู้ บั ...ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ
เร่ืองเลา่ จากชวี ติ จริงของผปู้ ระสบภัยสึนามิ
ประสบการณ์คร้งั หน่ึงในชีวิตขณะเกิดสึนามิ
บ้านฉันอยู่ทบ่ี ้านทับละมุ วันนัน้ ในเวลาประมาณ 10 นาฬิกา แมข่ ับรถพ่วงสามล้อมาซอ้ื ของกบั ฉัน
ที่บ้านนาเนยี ง ระหวา่ งทแ่ี ม่ขับรถมาเรื่อยๆ ฉันเห็นผู้คนวิ่งหนกี นั วุ่นวาย มคี นมาตะโกนใหห้ นี ตอนแรกฉนั
และแมค่ ดิ วา่ มนั เปน็ เสยี งระเบดิ เพราะน�ำ้ ทก่ี ระทบอาคารสถานทน่ี น้ั มนั กระหม่ึ มาก แมเ่ รม่ิ รอ้ งไหห้ นั มาพดู
ขอโทษฉัน พร่ำ�พูดทั้งน้ำ�ตานองหน้าว่า แม่ทำ�ให้ลูกต้องมาพบระเบิด แต่ฉันยังมีความเข้มแข็งพอที่จะไม่
ร้องไห้ และก็ปลอบแม่ทำ�ให้แม่มีพลังและสติขึ้นมา รถคันที่อยู่ข้างหน้ารถของฉันนั้นเป็นรถนำ�เที่ยว ซึ่งปิด
กระจกหมดทำ�ให้ไม่ได้ยินเสียงอะไร จึงถูกพัดพาไปกับกระแสน้ำ� โชคดีที่ฉันกับแม่ขับรถพ่วงสามล้อทำ�ให้
ไดย้ นิ เสยี งตะโกนให้หนขี น้ึ ภูเขา
แม่จอดรถทิ้งไว้ แล้ววิ่งหนีขึ้นบนเนินเขาที่สูง พร้อมกับชาวบ้านคนอื่นๆ เมื่อขึ้นมาถึงฉันก็ได้รับรู้
ถึงน้�ำ ใจของชาวบา้ น ซงึ่ เป็นส่งิ ทฉี่ ันประทบั ใจมาจนถึงทกุ วนั นี้ ตอนนัน้ โทรศพั ท์ใชไ้ ม่ได้เลย แมแ่ ละฉนั เปน็
ห่วงทางบา้ นพอถึงเวลาประมาณบา่ ยสองโมง ฉนั กบั แม่ลงมา แม้วา่ ชาวบ้านจะหา้ มอยา่ งไร แต่ด้วยความ
เป็นหว่ งทางบ้าน จึงจ�ำ เป็นตอ้ งลงมาให้ได้ แม่ของฉันมือไม้ส่นั เกือบขบั รถไม่ได้ เมอ่ื ขบั รถมาถงึ สามแยกเขา้
ทับละมุ ก็ได้รับข่าวว่าข้างในพังหมดแล้ว ทำ�ให้ใจยิ่งสลายลงไปอีก แล้วก็ขับรถไปยังเขากล้วยเพราะผู้คน
ส่วนมากมักไปอยู่ทนี่ ้นั เม่อื ไปถงึ กไ็ ปพบกับญาติพ่ีนอ้ ง และลูกชาย 2 คน แตไ่ มพ่ บพอ่ เพราะพอ่ ไปตามหา
ฉันกบั แม่ ตอนนน้ั ฉนั กบั แม่ เหมือนหมดหวงั คดิ อยอู่ ยา่ งเดยี ววา่ ถา้ จะเป็นอะไรไป ก็ขอใหอ้ ยพู่ ร้อมหนา้ กัน
แมก่ ็รอ้ งไห้หนักแลว้ กร็ บี ไปหาพอ่ มีคนบอกว่า พ่อมาหาพวกเราทว่ี ัดหลักแกน่ เมือ่ เขา้ ไปในวัดมีศพเรยี งราย
กันเป็นจำ�นวนมาก แม่ร้องไห้หนักกว่าเดิม เพราะกลัวว่าจะมีศพพ่ออยู่ด้วยแต่แล้วสวรรค์ก็เข้าข้างฉัน
เม่ือเราไดพ้ บกันอกี ครง้ั วินาทีแรก ทีฉ่ นั เห็นพอ่ ก็รีบวงิ่ เข้าไปกอด และร้องไหอ้ อกมา
ถึงแม้วา่ ภยั พบิ ัตคิ ร้งั น้ี ไม่ได้ทำ�ให้ครอบครัวของฉันเสยี ใครไป แตก่ ท็ ำ�ให้ฉนั ได้พบสง่ิ ตา่ ง ๆ มากมาย
หลายอยา่ ง น้�ำ ตาจากความสญู เสยี นำ�้ ใจจากคนไทย ไมว่ า่ จะเป็นใคร อยู่ที่ไหน กย็ ังมีน�้ำ ใจให้แกก่ นั เสมอ
และสิ่งสุดท้ายที่ฉันจะไม่มีวันลืม คือ ความรัก ความผูกพันในครอบครัว เหตุการณ์ครั้งนี้ทำ�ให้ฉันได้รู้ว่า
เรารกั และหว่ งใยซงึ่ กนั และกันมากแคไ่ หน
เด็กหญิงณฐั นนั ท์ เขยี วตับ
โรงเรียนบา้ นทับละมุ
อำ�เภอท้ายเหมอื ง จงั หวัดพังงา
ท่ีมา: หนังสอื ประกอบการเรียนรู้เร่อื งภยั พบิ ัติทางธรรมชาติ เร่อื ง สนึ ามิ ส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
สัญญาณการเกิดสึนามิ
1. แผน่ ดนิ ไหวขนาดใหญ่เกดิ ใตน้ ้�ำ
2. นำ้�ทะเลลดลงจากชายหาดอย่างมากมายแบบไม่คาดหมาย
3. กลิน่ เกลอื อยา่ งแรงจากทะเลทสี่ ามารถสูดดมได้
4. เส้นสีด�ำ ตามแนวนอนเปน็ ทอ้ งทะเลตามเสยี งฟ้าฝ่า
41ชุดกิจกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรรู้ ะดบั ประถมศกึ ษา เรอ่ื ง รู้รับ...ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ
กจิ กรรมที่ 4.2
ความเสียหายจากสนึ ามิ
เขียนแผนผังความคดิ “ความเสยี หายจากสึนามิ” ทีส่ ่งผลกระทบตอ่ มนุษย์และสิ่งแวดล้อม
42 ชดุ กิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นร้รู ะดบั ประถมศึกษา เรื่อง รรู้ ับ...ภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติ
5หนว่ ยที่
แหลง่ น�ำ้ ของโลก
ทะเลสวยจงั เลย มองออกไปซเิ ธอ
เห็นนำ�้ ทะเลเป็นผนื ใหญไ่ ปไกลสดุ ตา
เธอรู้ไหม โลกของเรานี้
มผี ืนนำ้�มากกวา่ แผ่นดนิ ?
พ้นื ผวิ ของโลก 1 ใน 3 สว่ น เปน็ แผน่ ดิน
และ 2 ใน 3 สว่ น เป็น น้ำ�
43ชดุ กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ระดับประถมศกึ ษา เรือ่ ง รรู้ ับ...ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ
กจิ กรรมที่ 5.1
กจิ กรรมที่ 5.1 แหล่งน้ำ�ของโลก
น�ำ้ ในโลกของเรา มีอยู่ 3 สภาพ คอื ของเหลว ของแขง็ และแกส๊
1. น�ำ้ ในสภาพของเหลวที่แพรก่ ระจายบนพน้ื ผวิ โลก 98.1% คอื เป็น
นำ้�เคม็ ในทะเลและมหาสมุทร 97.2%
นำ้�จืดใตผ้ ิวดนิ 0.9%
น้ำ�จืดในแม่น้ำ�และในทะเลสาบ 0.02%
2. น�ำ้ ในสภาพนำ�้ แข็งทเี่ ปน็ ธารน�ำ้ แขง็ และทข่ี วั้ โลก
3. นำ้�ในสภาพไอน้�ำ ท่ีลอยอยใู่ นบรรยากาศ 1.8%
0.001%
จากขอ้ มลู ขา้ งบน
บริเวณที่มนี ำ�้ มากทสี่ ุดในโลก คือ ....................................................................................................................
น้ำ�จืดทนี่ �ำ มาใชใ้ นการบริโภคอปุ โภคในชีวติ ประจ�ำ วนั ได้จาก ......................................................................
โยงภาพและข้อความของสภาพน�้ำ ทแี่ พร่กระจายบนพ้ืนโลก
น้ำ�เค็มในทะเลและในมหาสมทุ ร
น้ำ�ท่อี ยใู่ นอากาศ
น้ำ�จดื ในแมน่ ำ�้ และทะเลสาบ
น้ำ�จดื ใต้ดิน
ธารน�ำ้ แข็งและน�ำ้ แขง็ ทข่ี ้ัวโลกใต้
44 ชุดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ระดับประถมศกึ ษา เรอื่ ง รูร้ ับ...ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ
6ตอนท่ี
สภาวะอากาศ
เชา้ นท้ี อ้ งฟ้าใสดีนะ
เมือ่ บ่ายวานนีท้ อ้ งฟา้ ครม้ึ
ฝนตกทง้ั บ่าย ไปไหนไมไ่ ด้เลย
เอกโซสเฟียร์ ความสูงจากพื้นผิวโลก ฟา้ ครึม้ อยา่ งนี้ออกไปท�ำ ธรุ ะ
เทอร์โมสเฟียร์ ได้แล้วแตต่ ้องรีบกลบั นะ
มีโซสเฟียร์ 400 กม. เพราะฝนอาจตกชว่ งเยน็
สตราโทสเฟียร์ 300 กม.
โทรโพสเฟียร์ 50 กม. โลกของเรามชี น้ั บรรยากาศหอ่ หุม้ อยู่
84-016กมก. ม. เป็นระยะทางหลายพันกโิ ลเมตรจากพ้ืนผิวโลก
ชัน้ บรรยากาศทีห่ มุ้ ห่อโลกน้ี
ชว่ ยปกป้องโลกของเรา
ให้อยู่ในสภาวะทเ่ี หมาะสมกับการด�ำ รงชวี ิต
ของสิ่งมชี วี ิตรวมท้งั มนษุ ยเ์ รา
บรรยากาศช้นั ท่ีอยลู่ า่ งสุดเหนอื พ้นื ผวิ โลก เรยี กวา่ ชนั้ โทรโพสเฟียร์ (โทร-โพ-สะ-เฟยี ร)์ อากาศใน
บรรยากาศชน้ั นม้ี กี ารเคลอ่ื นทอ่ี ยตู่ ลอดเวลา เนอ่ื งจากพน้ื ผิวโลกมกี ารถา่ ยเทความรอ้ นทไ่ี ดร้ บั จากดวงอาทติ ย์
สู่บรรยากาศ โดยการถ่ายเทความร้อนจากพื้นผิวโลกสู่บรรยากาศเกิดขึ้นตลอดเวลา ทำ�ให้บรรยากาศใกล้
พื้นผิวโลกมีอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยการถ่ายเทความร้อนจากพื้นผิวโลกในแต่ละพื้นที่และใน
แต่ละชว่ งเวลามคี วามแตกตา่ งกนั ท�ำ ให้สภาพอากาศในแตล่ ะพน้ื ท่ีและในแตล่ ะช่วงเวลามีความแตกต่างกัน
บรรยากาศเหนอื พน้ื ผวิ โลกในแตล่ ะพน้ื ท่ี นอกจากจะมคี วามแตกตา่ งของอณุ หภมู แิ ลว้ ยงั มคี วามแตกตา่ ง
ของความกดอากาศ และความช้นื ในอากาศ ผลของความแตกตา่ งเหล่าน้ที �ำ ให้เกิดสภาวะอากาศต่างๆ เช่น
ร้อน ร้อนอบอา้ ว หนาวเย็น แหง้ แลง้ ฝนน้อย ฝนหนัก ฟา้ คะนอง ฟ้ารอ้ ง ฟา้ ผา่ พายุลมแรง ฯลฯ
45ชดุ กิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรู้ระดับประถมศึกษา เรือ่ ง ร้รู บั ...ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ
กจิ กรรมท่ี 6.1
ดนิ และนำ�้ ถา่ ยเทความร้อน
ชนั้ บรรยากาศ ลม
รงั สจี าก
ดวงอาทิตย์
ความร้อน นำ้�
พ้ืนดนิ
มหาสมทุ ร
แสงอาทิตย์เดินทางถึงพื้นโลกด้วยรังสีที่เป็นคลื่น โดยรังสีบางส่วนถูกดูดซับในชั้นบรรยากาศเหนือ
พน้ื ผวิ โลก (โทรโพสเฟยี ร)์ แตส่ ว่ นมากถกู ดดู ซบั โดยผนื น�ำ้ และแผน่ ดนิ โดยผวิ โลกจะปลอ่ ยรงั สกี ลบั คนื สบู่ รรยากาศ
ในรูปของความรอ้ น
ความรอ้ นทป่ี ลอ่ ยจากพื้นผิวโลกสบู่ รรยากาศ จะท�ำ ใหอ้ ากาศใกล้พื้นผวิ โลกมคี วามอบอนุ่
อปุ กรณ ์
1. ขวดแก้ว 2 ขวด 2. พลาสติกใสบางชนิดออ่ น
3. ภาชนะที่ใส่น�้ำ 4. ภาชนะทีใ่ สด่ นิ
5. เทอรโ์ มมเิ ตอร ์ 6. ชอ้ นพลาสตกิ 2 - 3 คนั
หมายเหตุ : กรณที ่สี ภาพอากาศไมเ่ หมาะกบั การทดลอง สามารถใช้โคมไฟแทนแสงอาทติ ย์ได้
ออกแบบการทดลอง ท�ำ การทดลอง และสงั เกตการเปลยี่ นแปลงที่เกดิ ขน้ึ เพอ่ื พสิ จู น์สมมติฐานวา่
“ดนิ และน้�ำ ถา่ ยเทความรอ้ นทไี่ ด้รับจากแสงอาทิตย์สู่อากาศ” และน�ำ เสนอผลการทดลอง
สรุปผลการทดลอง
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
46 ชุดกิจกรรมสง่ เสริมการเรยี นรูร้ ะดบั ประถมศึกษา เรือ่ ง รู้รบั ...ภยั พิบัตทิ างธรรมชาติ
กิจกรรมท่ี 6.2
ไอน�ำ้ เมฆ ฝน บนท้องฟา้ เกิดขน้ึ ได้อย่างไร
ท่มี า : ภาพดดั แปลงจาก
http://www.buffer.forestry.iastate.edu/Photogallery/
illustrations/Images/Hydrologic-Cycle.jpg
บรรยากาศของโลกประกอบดว้ ยแกส๊ หลายชนดิ โดยบรรยากาศทอ่ี ยใู่ กลพ้ น้ื ผวิ โลกมแี กส๊ ตา่ งๆ หนาแนน่
มากที่สุด และเบาบางลงเรื่อยๆ ตามระยะทางที่อยู่สูงขึ้นไป ทั้งนี้ไอน้ำ�ในบรรยากาศ เป็นปัจจัยสำ�คัญต่อ
สภาวะอากาศ
เขียนดว้ ยสำ�นวนตนเองเพอื่ อธบิ ายว่า ไอนำ�้ เมฆ ฝน บนท้องฟ้าเกิดขนึ้ ได้อย่างไร
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
47ชุดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรูร้ ะดบั ประถมศึกษา เรอ่ื ง รู้รับ...ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ
100 บรรยากาศท่ีห่อห้มุ โลกของเรามีความกดอากาศแตกตา่ งกนั
(millibars)
150 53,000
200 (feet)
250 45,000
300 39,000
34,000
30,000
หากพจิ ารณาในแนวด่งิ หากพจิ ารณาบรรยากาศใกลผ้ วิ โลกในแนวราบ
ความกดอากาศในบรรยากาศ ระดับน�ำ้ ทะเลความกดอากาศในแตล่ ะพน้ื ทแ่ี ตกต่างกัน
จะลดลงตามระยะทาง
ทอ่ี ยสู่ งู ขน้ึ ไปจากพืน้ ผิวโลก บางพ้นื ท่ีมคี วามกดอากาศสงู (H)
บางพ้นื ท่ีมีความกดอากาศต�ำ่ (L)
ท ่มี า : wภาoพrdดpดั rแeปssล.งcจoาmก/2h0t1tp0://1/t2e/xmabsh_urhreicigahntes.f.jiplegs.
1004 1000 L984
ความแตกตา่ งของความกดอากาศ 1008 996 988
ในแนวราบ ทำ�ให้อากาศมีการเคลือ่ นท่ี 992
จากบรเิ วณที่มีความกดอากาศสูงกวา่ 1012
ไปยงั บริเวณทีม่ ีความกดอากาศต่ำ�กว่า
การเคลอื่ นทข่ี องอากาศท�ำ ใหเ้ กิดลม H
ท่ีมา : ภ/fiาleพ/ดvัดieแwป/ลaiงrจflาoกw.jhptetpgs/3:/5/p2o1o5n4w15a2t./waiirkfilsopwa.jcpeesg.com ความกดอากาศในบรรยากาศใกล้ผิวโลกมีความ
ส�ำ คญั ตอ่ สภาพดนิ ฟา้ อากาศ ซง่ึ ความกดอากาศในแตล่ ะ
บริเวณมีความแตกต่างกัน บริเวณหนึ่งอาจมีความกด
อากาศสูง ในอกี บรเิ วณอาจมีความกดอากาศตำ�่
- บริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ� (L) จะทำ�ให้
อากาศลอยตัวขึ้น เกิดเมฆและฝน แต่หาก
บริเวณท่ีมีความกดอากาศต่ำ�มากอยู่เหนือ
ทะเล สภาพอากาศบรเิ วณนน้ั อาจมกี ารพฒั นา
เป็นพายุรา้ ยได้
- บริเวณที่มีความกดอากาศสูง (H) จะกดให้
อากาศบรเิ วณนน้ั จมตวั ลง ทอ้ งฟา้ จงึ มกั แจม่ ใส
แตห่ ากบรเิ วณทม่ี คี วามกดอากาศสงู เกดิ เหนอื
พน้ื ดนิ จะทำ�ใหอ้ ากาศแหง้ และเย็น
48 ชดุ กจิ กรรมสง่ เสริมการเรยี นร้รู ะดับประถมศกึ ษา เร่ือง รรู้ บั ...ภยั พบิ ัตทิ างธรรมชาติ
กจิ กรรมที่ 6.3
ลมท่ีพดั ตามฤดกู าล
ลม เกดิ ขน้ึ จากการเคลอ่ื นทข่ี องอากาศ โดยธรรมชาตบิ รรยากาศใกลพ้ น้ื ผวิ โลกมลี มทพ่ี ดั ตามฤดกู าล
โดยมีลมอุ่นพัดจากแนวเส้นศูนย์สูตรไปทางขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ ทำ�ให้บริเวณที่ลมพัดผ่านมีอากาศ
ร้อนขึน้ และมีลมเย็นพัดจากบรเิ วณขว้ั โลกสู่เส้นศนู ยส์ ูตร ทำ�ให้บรเิ วณที่ลมพัดผ่านมีอากาศเยน็ ลง
ลมพัดตามฤดูกาลของโลก เรียกว่า ลมประจำ�ฤดู หรือ ลมมรสุม (Monsoon)
ลูกศรสแี ดง แสดง การเคลื่อนท่ีของอากาศอ่นุ จากแนวเส้นศนู ยส์ ูตรไปทางขว้ั โลก
ลูกศรสีน้ำ�เงนิ แสดง การเคลอ่ื นทีข่ องอากาศเยน็ จากบริเวณขัว้ โลกเคลื่อนท่ีไปทางเส้นศนู ย์สูตร
ทีม่ า : ภาพดดั แปลงจาก http://www.clipart.dk.co.uk/DKImages/sci_earth/image_sci_earth055.jpg
แบ่งเป็นกล่มุ ๆ ละ 3 - 5 คน
ให้จินตนาการวา่ อะไรจะเกิดขนึ้ ถา้ ลมพัดผิดปกตไิ ป
49ชดุ กจิ กรรมสง่ เสริมการเรียนร้รู ะดับประถมศึกษา เร่ือง รู้รบั ...ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ