กิจกรรมท่ี 6.4
ลมมรสมุ ของประเทศไทย
·ÔÈ·Ò§¢Í§ÅÁÁÃÊÁØ µÐÇ¹Ñ ÍÍ¡à©ÂÕ §à˹×Í
ä·Â
ÁËÒÊÁ·Ø ÃÍ¹Ô à´ÕÂ
ท่ีมา : ภาพดดั แปลงจาก http://www.thai-culture.net/
รวมกลุ่มกนั กลุ่มละ 3 - 5 คน
ชว่ ยกนั คน้ หาขอ้ มูลว่า ลมมรสุมตะวนั ตกเฉยี งใต้และลมมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนือเกิดขึน้ กบั
ประเทศไทยในช่วงเวลาใด
ช่วยกนั เขยี นอธบิ ายสั้นๆ ความสัมพนั ธ์ของลมมรสมุ กับสภาพอากาศในประเทศไทย
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
50 ชดุ กิจกรรมส่งเสริมการเรียนร้รู ะดบั ประถมศกึ ษา เรือ่ ง รรู้ บั ...ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ
กิจกรรมที่ 6.5
สภาพลมฟา้ อากาศ
สภาวะของลมฟา้ อากาศมกี ารเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา อนั เปน็ ผลสว่ นใหญม่ าจากความแตกตา่ งของ
อุณหภูมิ ความกดอากาศ และความชื้นในมวลอากาศ ซึ่งโดยธรรมชาติการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นเป็นปกติ
หรือเกิดขน้ึ สมำ่�เสมอ จงึ มักไม่สร้างความเสียหายนัก แตห่ ากการเปลย่ี นแปลงทีเ่ กิดข้ึนมคี วามไม่ปกติหรือมี
ลักษณะอากาศร้ายเกิดข้นึ จะทำ�ให้เกดิ ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาตทิ สี่ ร้างความเสยี หายตามมาได้
นำ�ข้อความของหมายเลข เติมลงในช่องของสญั ลักษณข์ องสภาพลมฟา้ อากาศ
1. ท้องฟา้ โปรง่ 2. ฝนเล็กนอ้ ย 3. พายุฝนฟ้าคะนอง
4. มเี มฆบางสว่ น 5. มหี ิมะ 6. ฝนฟ้าคะนอง
51ชุดกิจกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ระดับประถมศกึ ษา เรื่อง รูร้ บั ...ภัยพบิ ัตทิ างธรรมชาติ
กจิ กรรมท่ี 6.6
จับคู่สภาวะอากาศทเี่ ปล่ียนแปลง
โยงขอ้ ความท่ีสัมพันธก์ ับภาพของภัยพิบตั ิทางธรรมชาตทิ เี่ กดิ จากสภาวะของลมฟ้าอากาศ
ทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงไมป่ กติ หรอื มลี ักษณะอากาศรา้ ย
พายุหมุนเขตรอ้ น
อากาศแหง้ แล้งจดั
นำ�้ ทว่ มบริเวณกว้าง
52 ชดุ กิจกรรมสง่ เสริมการเรยี นรู้ระดบั ประถมศึกษา เรื่อง รู้รบั ...ภยั พิบัติทางธรรมชาติ
7หน่วยที่
พายหุ มุนเขตร้อน
วนั นีฝ้ นตกหนักมาก ฟงั ขา่ วหรือเปล่า
ลมก็กระโชกแรง เกิดน้ำ�ทว่ มในหลายพื้นท่ี
ไม่ใช่ฤดูฝนซะหนอ่ ย ก็เกดิ พายไต้ฝุ่นไง
ที่มาของภาพ : http://nasa.gov
มีรายงานข่าวทางวิทยุ หนังสือพิมพ์และโทรทัศน์ทั้งในอดีตและปัจจุบัน เกี่ยวกับการเกิดพายุหมุน
เขตร้อนที่สร้างความเสียหายให้กับประเทศต่างๆ และประเทศไทย ดังกรณี พายุไต้ฝุ่นเกย์ที่พัดกระหน่ำ�
ทางภาคใต้ของประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2532 พายุเฮอริเคนคะทรีน่าที่พัดโถมเข้าสู่รัฐลุยเซียน่า
สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2548 และพายุไซโคลนนาร์กีสที่พัดเข้าสู่พม่าอย่างหนัก เมื่อปี พ.ศ. 2551
ความรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนที่เกิดขึ้นสร้างความเสียหายอย่างหนักให้พื้นที่ต่างๆ ทำ�ให้น้ำ�ท่วมรุนแรง
ผู้คนเสียชีวิตเพราะถูกน้ำ�พัดพาหรือจมน้ำ�ตาย ต้นไม้ใหญ่หักโค่น อาคารบ้านเรือนถูกน้ำ�ท่วมทำ�ให้ข้าวของ
เสยี หาย ถนนหนทางและระบบสาธารณปู โภคถกู ตดั ขาด เกดิ ความเดอื ดรอ้ นในการเดนิ ทาง ชวี ติ ความเปน็ อยู่
และสุขภาพรา่ งกาย
ความทเี่มสายี ขหอางยภจาาพกพ:เมาhยอ่ื tุไปtตpี ้ฝ:พ/ุ่น/.uศเpก.lยo2ท์ a5่ีเd3ข.2w้าจikโู่ จimมeจdงั หiaว.oดั rชgมุ พร ความทเสี่มียาขหอางยภจาาพกเพม:าื่อยปhไุtี ซtพpโ:ค./ศ/ล.sนt2aน5tาi5cร1.์กgีสuiทmเ่ี ข.cา้ oจ.uโู่ จkม/ พม่า
53ชดุ กจิ กรรมสง่ เสริมการเรียนรรู้ ะดับประถมศึกษา เรอ่ื ง รูร้ ับ...ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ
พายหุ มุนเขตร้อน
เกดิ ขึ้นเหนือมหาสมุทรในเขตรอ้ น
ใกลเ้ ส้นศูนยส์ ตู ร ตรงบรเิ วณน�้ำ ทีอ่ นุ่
มีปริมาณไอนำ้�สูง
ท่มี าของภาพ : http://nasa.gov พายุไตฝ้ ุ่น มศี ูนย์กลางการเกิดพายุ ทีเ่ รียกว่า ตาพายุ
ซ่งึ จะเป็นบริเวณท่ีมีลมสงบ อากาศปลอดโปรง่ แจม่ ใส
รายล้อมด้วยพื้นทฝี่ นตกหนัก และมพี ายรุ นุ แรงเปน็ บรเิ วณกวา้ ง
ในรศั มหี ลายรอ้ ยกโิ ลเมตร และลมแรงทพ่ี ดั เวียนเขา้ หาศนู ย์กลาง
การเกิดพายุหมุน ทำ�ให้เกิดลมพัดแรง เริ่มขึ้นเมื่ออากาศอุ่นเหนือมหาสมุทรลอยตัวขึ้น ทำ�ให้
บริเวณนั้นมีความกดอากาศต่ำ� เกิดลมพัดเวียนเข้าหาศูนย์กลาง โดยเริ่มต้นก่อตัวเป็นพายุขนาดเล็ก และ
ก่อตัวใหญ่ขึ้น ใหญ่ขึ้น และขยายแผ่เป็นบริเวณกว้างออกไปครอบคลุมพื้นที่หลายกิโลเมตร
พายหุ มนุ เขตรอ้ นทม่ี กี �ำ ลงั มาก ท�ำ ใหเ้ กดิ คลน่ื สงู ซดั ฝง่ั สรา้ งความเสยี หายตอ่ ชายฝง่ั เปน็ บรเิ วณกวา้ ง
54 ชุดกิจกรรมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ระดบั ประถมศกึ ษา เร่อื ง รู้รับ...ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ
ºÃÔàdzµÒ¾ÒÂØ
ºµÒþÔàÇÒ³Â¡Ø Óᾧ
ทมี่ า : ภาพดัดแปลงจาก http://www.srh.noaa.gov/jetstream/tropics/images/hurr_cross.jpg
พายุหมุนเขตรอ้ นทมี่ คี วามเรว็ สงู มีชอื่ เรยี กหลายชอื่
- คนบา้ นเรา และคนเอเชยี ตะวันออก เรียก พายไุ ต้ฝุ่น
- คนอนิ เดีย คนออสเตรเลีย เรยี ก พายไุ ซโคลน
- คนอเมรกิ นั เรยี กว่า พายเุ ฮอริเคน
นอกจากนน้ั พายหุ มุนเขตร้อนยงั มชี ือ่ เรียกเฉพาะอกี ดว้ ย
เช่น พายไุ ต้ฝุน่ เกย์ พายุไซโคลนนาร์กิส
พายุเฮอรเิ คนคะทรนี ่า พายุนารี
พายหุ มนุ เขตรอ้ นเรม่ิ กอ่ ตวั จากบรเิ วณเหนอื ผวิ น�ำ้ ทะเลทม่ี คี วามกดอากาศต�ำ่ มกี �ำ ลงั แรง อากาศอนุ่ ชน้ื
มีกลุ่มเมฆจำ�นวนมากรวมตัวกันอยู่ และมีการพัฒนาตัวเองเป็นลมหมุนเวียนเป็นวงทวนเข็มนาฬิกาใน
ซีกโลกเหนอื และตามเข็มนาฬกิ าในซกี โลกใต้ โดยพายหุ มนุ ในแตล่ ะชว่ งมสี มบัติเฉพาะตัวและเปลยี่ นแปลง
ไปตามสภาพแวดล้อม โดยความเร็วของลมมกี �ำ ลังทวีกำ�ลังแรงขึ้นเรอ่ื ยๆ
พายุหมุนเขตร้อนมีการเคลื่อนที่ โดยก่อนพายุจะเคลื่อนตัวเข้ามา ลักษณะอากาศจะแจ่มใส
เมื่อด้านหน้าของพายุหมุนเขตร้อนมาถึง สภาพอากาศจะเลวร้าย เกิดลมแรง ฝนตกหนักและมีพายุ
ฝนฟ้าคะนอง แต่เมื่อส่วนบริเวณตาพายุมาถึง อากาศจะแจ่มใส และพอส่วนด้านหลังตาพายุหมุนมาถึง
สภาพอากาศจะกลบั เลวร้ายลงอีกคร้ังและมักรนุ แรงกว่าช่วงแรก
55ชดุ กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ระดบั ประถมศกึ ษา เรื่อง รู้รบั ...ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ
กิจกรรมท่ี 7.1
บริเวณก�ำ เนดิ พายหุ มนุ เขตร้อน
พายไุ ตฝ้ ุ่น พายุเฮอริเคน
พายุไซโคลน
พายไุ ซโคลน
ทีม่ าของภาพ : http://www.comet.ucar.edu/nsflab/web/hurricane/312.htm The COMET Program
แบ่งเป็นกลุ่มๆ ละ 3 คน
จากแผนที่โลกข้างตน้ ชว่ ยกันพิจารณาตำ�แหนง่ บรเิ วณก�ำ เนิดพายุหมุนเขตร้อน
เขยี นช่อื ประเทศทม่ี โี อกาสเผชญิ กับภัยพบิ ัตทิ ่เี กิดจากพายุหมุนเขตรอ้ น
1. ...................................................................... 2. ......................................................................
3. ...................................................................... 4. ......................................................................
56 ชดุ กิจกรรมสง่ เสริมการเรยี นรรู้ ะดับประถมศึกษา เรื่อง รูร้ ับ...ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ
กิจกรรมท่ี 7.2
ลำ�ดบั การเปลีย่ นแปลงพายหุ มุนเขตร้อน
พายหุ มุนเขตร้อนมจี ดุ ศนู ย์กลางท่กี ่อตวั ขึน้ จากพายุขนาดเล็ก
และขยายขอบเขตของพายุหนาข้ึนๆ จนมขี นาดของพายุ
ครอบคลมุ พน้ื ทีห่ ลายกโิ ลเมตร
ก ข คง จ
เรยี งลำ�ดับตัวอกั ษรจากภาพข้างบน เพอื่ แสดงล�ำ ดบั การเปล่ยี นแปลงของพายุหมนุ เขตร้อน
1 234 5
57ชดุ กิจกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรูร้ ะดบั ประถมศึกษา เรื่อง รรู้ ับ...ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
กิจกรรมท่ี 7.3
พายุซดั ฝ่งั ที่รุนแรง
ระดบั น้�ำ ทเ่ี พ่ิมขึน้ จาก
คลื่นพายซุ ัดฝ่งั (Storm Surge) 5.1 เมตร
ระดับนำ้�ท่เี พ่มิ ขน้ึ จาก
คลื่นพายซุ ดั ฝ่ัง (Storm Surge) 4.5 เมตร
ประเทศไทยเคยเกิดพายุโซนร้อน “แฮเรียต” เคลื่อนที่เข้าจู่โจมแหลมตะลุมพุก จังหวัด
นครศรธี รรมราช เมอ่ื ปี พ.ศ. 2505 ก�ำ ลงั แรงของพายทุ เ่ี คลอ่ื นทด่ี ว้ ยความเรว็ 95 กโิ ลเมตรตอ่ ชว่ั โมง
ท�ำ ใหเ้ กดิ พายซุ ดั ฝง่ั สงู ถงึ 20 เมตร ท�ำ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายรนุ แรงตอ่ ชายฝง่ั และมผี เู้ สยี ชวี ติ จ�ำ นวนมาก
คลน่ื พายซุ ดั ฝง่ั เกดิ ขน้ึ เมอ่ื มกี ารเคลอ่ื นทข่ี น้ึ ฝง่ั ของพายทุ ม่ี กี �ำ ลงั แรงทเ่ี กดิ ในทะเลและมหาสมทุ ร
ความสูงของเคลื่อนที่ขึ้นฝั่งขึ้นอยู่กับกำ�ลังแรงของพายุ ซึ่งคลื่นพายุซัดฝั่งจะมีกำ�ลังในการทำ�ลายล้าง
สงู มาก เพราะเกิดคล่นื สงู โถมขึน้ ฝั่ง
แบง่ เปน็ กลุ่มๆ ละ 3 คน
ชว่ ยกนั คน้ หาขอ้ มลู และสรปุ ผลกระทบหรอื ความเสียหายทเี่ กิดข้นึ
จากพายซุ ัดฝัง่ ทีม่ คี วามรุนแรง
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
58 ชดุ กิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรู้ระดับประถมศกึ ษา เรื่อง รูร้ ับ...ภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติ
กิจกรรมที่ 7.4
ชือ่ พายุหมุนเขตรอ้ น
ทีม่ าของภาพ : http://nasa.gov
รคู้ ำ�ศัพทภ์ าษาองั กฤษของพายุหมุนเขตร้อน
เติมตวั อักษรภาษาองั กฤษทเ่ี ปน็ อักษรตัวแรกของภาพแตล่ ะภาพลงในช่องวา่ งขา้ งใตภ้ าพ
คำ�ภาษาองั กฤษทไี่ ด้ คอื ช่ือเรียกพายุเขตร้อน 3 ช่ือ
59ชุดกิจกรรมสง่ เสรมิ การเรียนรรู้ ะดับประถมศกึ ษา เรอ่ื ง รรู้ บั ...ภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติ
กจิ กรรมที่ 7.5
อกั ษรไขวพ้ ายหุ มุนเขตรอ้ น
เขียนวงกลมล้อมรอบตัวอักษรทีเ่ ป็นช่ือเรยี กพายุหมนุ เขตร้อน 3 ชอื่
DGG J T YMA I F J K L L FWL
K P I HU R R I CANN FWO T Y
LTYHE I NCTSOTBUSUH
HO B C T J R Y VOWR Y I P I K
F SDYRTYUHTPEAPTPD
K P R C VHH P S R UHOGHW I
UTF L SRYOYEPYOHPOR
I RUODTDHURR I CANEO
PE I NFR I GTYP I ORNTD
FOPEHRPP I RYHEERTF
C __ __ __ __ __ __
T __ __ __ __ __ __
H __ __ __ __ __ __ __ __
60 ชุดกจิ กรรมส่งเสรมิ การเรยี นรรู้ ะดบั ประถมศึกษา เรอ่ื ง รู้รบั ...ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ
8หน่วยที่
อุทกภยั
พายุโซนรอ้ นนกเตน
พายนุ กเตน (Nok-Ten) ซึ่งเป็นชือ่ ท่ปี ระเทศลาวไดต้ ั้งไว้ เปน็ พายุทเ่ี กิดจากหยอ่ มความกดอากาศต�ำ่
กำ�ลังแรงในมหาสมุทรแปซิฟิก และพัฒนาจนเป็นพายุโซนร้อน และเคลื่อนตัวเข้ามายังตอนเหนือของ
ประเทศไทย จึงทำ�ให้เกิดฝนตกหนักในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของไทย ตั้งแต่ช่วง
ปลายเดือนกรกฎาคมถงึ ต้นเดือนสิงหาคม ซง่ึ ในวนั ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ได้ทวคี วามแรงข้นึ จนเป็น
พายุโซนร้อนและเคลื่อนตัวผ่านเกาะลูซอนที่ฟิลิปปินส์ ลงสู่ทะเลจีนใต้ตอนกลาง จากนั้นเคลื่อนตัวทาง
ทิศตะวันตกค่อนทางเหนือที่เกาะไหหลำ� และอ่าวตังเกี๋ยขึ้นฝั่งที่เวียดนามตอนบนในวันที่ 30 กรกฎาคม
พ.ศ. 2554 กระทั่งมาผ่านประเทศลาวพร้อมกับอ่อนกำ�ลังลงเป็นพายุดีเปรสชันในวันที่ 31 กรกฎาคม
พ.ศ. 2554 ซง่ึ ในวนั เดยี วกนั กเ็ คลอ่ื นตวั เขา้ สปู่ ระเทศไทยทจ่ี งั หวดั นา่ น ออ่ นก�ำ ลงั เปน็ หยอ่ มความกดอากาศต�ำ่
ปกคลุมภาคเหนือท่ี จงั หวดั แพร่ ลำ�ปาง เชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน
ผลกระทบจากพายุโซนรอ้ นนกเตน
อิทธิพลจากพายุลูกนี้ ในส่วนของประเทศไทย ทำ�ให้มีฝนตกกระจายหนักถึงหนักมาก โดยเฉพาะ
ภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ มีปริมาณน้ำ�ฝนมากท่ีสุดใน 24 ชั่วโมง วัดได้ 405.9 มิลลิเมตร
ทอ่ี �ำ เภอเมอื งหนองคาย จงั หวดั หนองคาย เกดิ เหตนุ �ำ้ ทว่ มรวม 20 จงั หวดั ตง้ั แตภ่ าคเหนอื ภาคกลางตอนบน
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบน และภาคใต้ตอนบน มีผเู้ สยี ชีวติ 20 ราย สูญหาย 1 คน บาดเจ็บ 11 คน
ประชาชนเดอื ดร้อน 314,732 ครัวเรือน 1,029,716 คน พ้ืนท่ีการเกษตรเสียหาย 619,723 ไร่
หลงั จากทล่ี มมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ และรอ่ งความกดอากาศต�ำ่ ทถ่ี าโถมเขา้ มาอยา่ งไมย่ ง้ั แลว้ ในชว่ ง
เดือนกนั ยายน ประเทศไทยยงั ตอ้ งรับมือจากอิทธพิ ลพายุหมุนเขตร้อนอีก 2 ลกู ใหญ่ ส่งผลให้หลายจงั หวัด
ทางภาคเหนือ และภาคกลางตอนบนและตอนล่าง รวมไปถึงภาคอีสานตอนบนเกิดเหตุน้ำ�ท่วมครั้งใหญ่
ขยายเป็นวงกว้าง
ข้อมูลจาก: กรมอตุ นุ ยิ มวิทยา ศนู ย์บรรเทาสาธารณภัย
61ชดุ กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ระดบั ประถมศึกษา เรอ่ื ง รู้รับ...ภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติ
อทุ กภัย เปน็ ภยั ทางธรรมชาติจากภาวะนำ้�ทว่ มหนักหรือนำ�้ ทว่ มฉับพลัน และเกดิ ภาวะน้ำ�แช่ขังท่วม
ในระดับสงู อยู่เป็นระยะเวลานาน ซง่ึ มตี น้ ตอมาจากหลายสาเหต ุ
อทุ กภยั ท่ีสรา้ งความเสียหายอย่างหนักให้กับบริเวณชายฝัง่ ทม่ี พี ื้นท่ตี �ำ่ คอื อทุ กภัยจากปรากฏการณ์
คลื่นพายุซัดฝงั่ ทเี่ กดิ จากพายุดีเปรสชนั หรือพายหุ มุนเขตรอ้ น
น�ำ้ ทเ่ี กดิ จากการละลายของหิมะในบรเิ วณเทอื กเขา ก็อาจท�ำ ใหเ้ กิดภาวะน้ำ�ท่วมในทลี่ ุ่มที่อย่ขู ้างลา่ ง
ซึ่งอยหู่ ่างไกลออกไปได้ ฝนทีต่ กหนักในบริเวณต้นนำ้�บนภเู ขา กท็ �ำ ใหเ้ กิดนำ้�ท่วมฉบั พลนั ได้ ฝนตกหนกั หรือ
ฝนตกต่อเน่ืองนานวัน ก็เปน็ อีกสาเหตทุ ่ีทำ�ให้เกิดอทุ กภัยได้
ในอดีต อุทกภัยที่เลวร้ายที่สุดเกิดขึ้นในประเทศจีน ซึ่งมีสาเหตุมาจากการไหลบ่าของน้ำ�ที่ล้นตลิ่ง
ของแม่น�้ำ แยงซีเกยี ง
การเกดิ อทุ กภัยแตล่ ะคร้งั ไดค้ รา่ ชวี ติ คนไปนบั ลา้ นคน มรี ายงานว่า ในช่วงเวลา 15 ปี ระหวา่ งปี
พ.ศ. 2394 - 2409 อุทกภยั ในประเทศจนี ไดค้ รา่ ชีวิตคนไปหลายสบิ ลา้ นคน
อุทกภยั ในจังหวัดอยธุ ยา ปี พ.ศ. 2554
62 ชุดกิจกรรมสง่ เสริมการเรยี นรูร้ ะดบั ประถมศึกษา เร่อื ง รู้รับ...ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ
อุทกภัยในประเทศไทยเกดิ ข้ึนไดจ้ ากหลายสาเหตุ สาเหตทุ สี่ �ำ คญั
ไดแ้ ก่
- พายหุ มุนเขตรอ้ น ได้แก่ พายดุ เี ปรสชัน พายุโซนรอ้ น พายุไตฝ้ ่นุ
- ร่องมรสมุ หรอื ร่องความกดอากาศตำ�่
- ลมมรสุมตะวันตกเฉยี งใต้
- ลมมรสมุ ตะวันออกเฉียงเหนอื
- การตดั ไม้ท�ำ ลายป่า
ปรากฏการณ์ท่ีเกดิ ขน้ึ จากอทุ กภยั ไดแ้ ก่
• น�ำ้ ปา่ ไหลหลาก หรือน้ำ�ท่วมฉับพลนั ซึ่งมกั เกดิ ขน้ึ กับพนื้ ทที่ ่เี ปน็ ทร่ี าบต่�ำ หรือท่ีราบลมุ่
บรเิ วณใกลภ้ เู ขาตน้ น�ำ้ โดยเกดิ ขน้ึ จากฝนตกหนกั เหนอื ภเู ขาตอ่ เนอ่ื งเปน็ เวลานาน ท�ำ ให้
ปริมาณน้ำ�สะสมมากจนพื้นดินและต้นไม้ไม่สามารถดูดซับน้ำ�ไว้ได้ น้ำ�จึงไหลบ่าลงสู่
ที่ราบทอี่ ยตู่ ำ�่ กวา่ อย่างรวดเรว็
• นำ้�ท่วมหรอื น้ำ�ทว่ มขัง ซึ่งเกิดขึ้นจากนำ�้ ปริมาณมากไหลบ่าในแนวราบจากที่สงู ไปยัง
ที่ต่ำ�กว่า ทำ�ให้น้ำ�ท่วมอาคารบ้านเรือน พื้นที่ทำ�เกษตร และถนนหนทาง น้ำ�ท่วมขัง
มักเกิดข้ึนจากฝนตกหนักต่อเน่ืองเป็นเวลานานและพ้ืนท่ีฝนตกมีระบบการระบายน้ำ�
ไม่ดีพอ มีสิ่งก่อสร้างกีดขวางทางระบายน้ำ� หรือในพื้นที่ใกล้ชายฝั่งทะเลอาจเกิดขึ้น
จากนำ�้ ทะเลหนุนสูง
• น้ำ�ล้นตลิ่ง ซึ่งเกิดขึ้นจากฝนหนักต่อเนื่อง ทำ�ให้น้ำ�ปริมาณมากจากฝนที่ตกลงสู่ลำ�น้ำ�
หรือแม่น�ำ้ ไหลล้นออกสู่บรเิ วณใกลเ้ คยี ง ท�ำ ให้เกิดน�้ำ ลน้ ตลิ่งทว่ มพน้ื ท่ี
63ชดุ กิจกรรมสง่ เสรมิ การเรียนรรู้ ะดบั ประถมศึกษา เร่อื ง ร้รู ับ...ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ
ประเทศไทยเป็นประเทศเผชิญกบั อุทกภยั ทุกปี
อทุ กภัยท่ีเกดิ นำ�้ ท่วมหนกั ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2553 - 2554
ชว่ งเวลาทีเ่ กดิ อทุ กภยั ต้นเหตขุ องอุทกภยั พน้ื ทไ่ี ดร้ บั อทุ กภยั ผลกระทบท่ีเกดิ ขน้ึ
มีผเู้ สียชีวิต180 คน
กรกฎาคม - ธันวาคม พายุโซนรอ้ น, 62 จังหวดั มีราษฎรไดร้ บั ความเดือร้อน
พ.ศ. 2554 พายโุ ซนรอ้ นไหหมา่ ในภาคกลาง 2,002,961 ครัวเรอื น
พายุโซนร้อนนกเตน ภาคตะวันออก 7,038,248 คน มพี น้ื ที่
พายโุ ซนรอ้ นไหถ่ าง และภาคใตต้ อนบน การเกษตรที่ไดร้ บั
พายไุ ตฝ้ ่นุ เนสาด ความเสียหาย 7,784,368 ไร่
นำ้�ทว่ มฉับพลัน
มิถุนายน พ.ศ. 2554 พายุดเี ปรสชน่ั ไหหม่า ตาก พะเยา เชยี งราย และน�ำ้ ป่าไหลหลาก
น่าน สโุ ขทยั มผี ู้เสยี ชีวิต 3 คน
ตลุ าคม - ธนั วาคม มรสุมตะวนั ออก 39 จงั หวัด ในภาคกลาง น้ำ�ท่วมขงั นานวนั
พ.ศ. 2553 เฉียงเหนอื ภาคตะวันออก และ เป็นบริเวณกว้าง
ภาคใตฝ้ งั่ อ่าวไทย มผี ู้เสียชีวติ 180 คน
ตลุ าคม - ธนั วาคม พายดุ ีเปรสช่นั บริเวณอ่าวไทยตอนล่าง น้ำ�ท่วมฉบั พลัน
พ.ศ. 2553 สงขลา สรุ าษฎรธ์ านี ดนิ โคลนถล่ม
นครศรีธรรมราช พทั ลงุ น�้ำ ปา่ ไหลหลาก
ตรงั กระบ่ี นราธวิ าส มผี ูเ้ สยี ชีวติ 78 คน
สตลู ระนอง ยะลา
ชุมพร และปตั ตานี
64 ชดุ กิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนรรู้ ะดับประถมศกึ ษา เร่ือง รูร้ ับ...ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ
กิจกรรมท่ี 8.1
ผลกระทบจากอุทกภัย
เมอ่ื ปลายปี พ.ศ. 2554 ประเทศไทยไดเ้ ผชญิ กบั อทุ กภยั เกดิ น�ำ้ ทว่ มหนกั ในหลายจงั หวดั กรมปอ้ งกนั
และบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย ได้รายงานเมอ่ื วันที่ 25 ธนั วาคม พ.ศ. 2554 วา่ วกิ ฤตการณ์
อทุ กภยั เกดิ ขน้ึ ในพน้ื ท่ี 62 จงั หวดั มผี เู้ สยี ชวี ติ 300-400 คน มรี าษฎรไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ น 2,002,961 ครวั
เรอื น 7,038,248 คน มพี ื้นที่การเกษตรทีไ่ ดร้ ับความเสยี หาย 7,784,368 ไร่
แผนทแี่ สดงสภาพน้�ำ ท่วม จากเหตอุ ทุ กภัยในวันท่ี 13 ตุลาคม พ.ศ. 2554
โดยสตี ่างๆ ในแผนทแ่ี สดงภาพความรนุ แรงของสภาพน�ำ้ ทว่ ม
จังหวดั ในประเทศไทยทีเ่ กิดวิกฤตจากอุทกภยั คือ
............................................................................
............................................................................
............................................................................
............................................................................
............................................................................
............................................................................
............................................................................
สภาพนำ�้ ท่วม ............................................................................
............................................................................
............................................................................
............................................................................
ทีม่ าของภาพ : http://photo.thaiflood.com ............................................................................
65............................................................................
ชดุ กจิ กรรมส่งเสริมการเรียนรู้ระดับประถมศึกษา เรอ่ื ง รรู้ บั ...ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ
กจิ กรรมที่ 8.2
ปรากฏการณ์ท่ีท�ำ ใหเ้ กดิ อทุ กภัย
อทุ กภัย เกิดขึน้ ไดจ้ ากหลายสาเหตุ
จบั คู่ 2 คน เขียนบรรยายปรากฏการณ์ทางธรรมชาตทิ ่ีสง่ ผลใหเ้ กดิ สภาวะน�ำ้ ทว่ มตามมา
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
66 ชดุ กิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรู้ระดบั ประถมศกึ ษา เรื่อง ร้รู ับ...ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ
9ตอนท่ี
ดินถล่ม
รายงานข่าว วันพฤหัสบดที ี่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2554
ชาวบ้านอำ�เภอนบพิตำ� จังหวัดนครศรีธรรมราช หวั่นดินถล่ม ภูเขาถล่ม จึงพากันอพยพหนีออก
จากพืน้ ทเ่ี ส่ยี งภัย
หลังฝนตกหนักติดต่อกันหลายวันที่อำ�เภอนบพิตำ� ได้เกิดกระแสน้ำ�ไหลแรงมาจากเทือกเขา และ
ได้พัดสะพานเข้าหมู่บ้านท่าพดุ เสียหาย ทำ�ให้การเดินทางขา้ มสะพานเขา้ -ออกหมู่บา้ นถกู ตดั ขาด เจ้าหน้าท่ี
อปพร. และชาวบา้ นอำ�เภอนบพิตำ� ไดร้ ่วมมอื กนั ช่วยเหลอื ชาวบา้ นจำ�นวนหลายสิบคนท่ีตดิ อยูใ่ นอีกฝง่ั ของ
คลองท่าพุด ให้อพยพออกมาอยู่ในที่ปลอดภัย เพราะกลัวว่าอาจเกิดดนิ ถล่มและภูเขาถล่มขึน้
ฝนที่ตกหนักต่อเนื่องหลายวันทั่วจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยเฉพาะในพื้นที่ตำ�บลกรุงชิง อำ�เภอ
นบพิตำ� และ ตำ�บลทอนหงส์ อำ�เภอพรหมคีรี ได้เกิดดินจากภูเขาถล่มลงมาหลายจุด ทำ�ให้ถนนหนทาง
ในพื้นทเ่ี กอื บทกุ สายถกู ตัดขาด ตน้ ไมห้ ักโคน่ ไฟฟา้ ดับในหลายพ้ืนที่ สภาพท่วั ทั้งจังหวัดได้เข้าสู่จุดวิกฤติ
พน้ื ทีด่ ้านหลังเขา หรอื ล่มุ น้�ำ ตาปี คอื พ้ืนทอ่ี �ำ เภอพปิ ูน ฉวาง ถำ้�พรรณรา และ อำ�เภอทงุ่ ใหญ่ มรี ะดบั
นำ้�ทว่ มหนกั ท่สี ดุ ในรอบ 50 ปี หลายฝ่ายจึงหวนั่ วิตกวา่ หากสถานการณเ์ พ่มิ ความรุนแรงมากขึ้นทัง้ ระดบั
น�ำ้ ทท่ี ว่ มสงู และภเู ขาถลม่ ในชว่ งเวลากลางคนื การดแู ลชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั คงเปน็ ไปดว้ ยความยากล�ำ บาก
ทมี่ าของขอ้ มูล : ครอบครัวข่าว ชอ่ ง 3 http://www.krobkruakao.com
สภาพพน้ื ท่จี ังหวัดนครศรีธรรมราช หลังจากประสบภัยดินถล่ม
ท่มี าของภาพ : กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั
ดนิ ถล่ม เป็นภยั ทางธรรมชาติทีส่ รา้ งความเสียหายแก่บ้านเรอื น ผ้คู น สตั ว์เลยี้ ง เส้นทางคมนาคม
และต้นไม้ใหญ่ ดินถล่มรุนแรงอาจสง่ ผลให้เส้นทางน้�ำ เปล่ียนแปลงได้
67ชดุ กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ระดบั ประถมศึกษา เร่อื ง รรู้ บั ...ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ
ดินถล่ม มกั เกดิ ข้ึนบริเวณภูเขาทม่ี ีความลาดชัน บรเิ วณไหล่เขาทีม่ ีตน้ ไมน้ อ้ ยใหญ่ปกคลมุ น้อย ไม่มี
ไม้ใหญช่ ว่ ยดูดซับนำ้� ไม่มรี ากไม้ช่วยยดึ เหนย่ี วดินไว้ เมอื่ มฝี นตกหนัก ดินไม่สามารถอุ้มน�้ำ ไวไ้ ด้ จงึ เกิดดิน
ถล่มลงมา การผุพงั ของหนิ และการเกิดแผ่นดนิ ไหวหรือภูเขาไฟระเบิด ก็ท�ำ ใหเ้ กดิ ดินถลม่ ได้ หมบู่ า้ นท่อี ยู่
ตดิ ภูเขา บนเนินหนา้ หุบเขา ใกลล้ �ำ หว้ ย หมบู่ า้ นท่เี คยมีนำ�้ ปา่ ไหลหลาก และมนี �ำ้ ทว่ มบ่อยคร้ังบรเิ วณทเ่ี คย
มีดินถลม่ มีรอยแยกของแผน่ ดินบริเวณท่มี รี ่องรอยดินเล่อื นบนภูเขา ลกั ษณะทตี่ ั้งของบา้ นเรอื นในบรเิ วณ
ดงั กล่าวนี้ มคี วามเสี่ยงภยั จากดนิ ถล่มได้
ดนิ ถลม่ ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2544 - 2549
วันทีเ่ กดิ ดนิ ถล่ม สาเหตุที่ทำ�ให้ดินถล่ม พน้ื ที่เกดิ ดินถลม่ ความเสยี หายท่เี กิดขน้ึ
- ผูเ้ สยี ชีวติ 71 คน
23 พฤษภาคม ฝนตกหนกั นำ�้ ทว่ มฉับพลนั - อ�ำ เภอลับแล อำ�เภอทา่ ปลา
พ.ศ. 2549 อ�ำ เภอเมือง ผสู้ ูญหาย 23 คน
จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ - ผู้เสยี ชีวิต 7 คน
- บ้านห้วยตม บ้านดงหญา้ ปา ผสู้ ญู หาย 1 คน
บ้านแมค่ ุ ต�ำ บลบา้ นตกึ - ผ้เู สียชวี ติ 5 คน
อ�ำ เภอศรีสชั นาลัย
จงั หวดั สโุ ขทยั ผเู้ สยี ชวี ิต 131 คน
- บา้ นนาตอง บ้านนาจอม ผเู้ สียชีวติ 23 คน
บา้ นปากกลาย บ้านผาตรึม ผู้สญู หาย 16 คน
อำ�เภอเมอื ง จงั หวัดแพร่
11 สงิ หาคม นำ�้ ปา่ ไหลหลาก ตำ�บลน้�ำ ก้อ ตำ�บลน้�ำ ซุน
พ.ศ. 2544 โคลนถล่ม ตำ�บลหนองไขว่ อำ�เภอหล่มสกั
จังหวัดเพชรบรู ณ์
4 พฤษภาคม นำ�้ ป่าทะลักจากอทุ ยาน อำ�เภอวังชน้ิ จังหวัดแพร่
พ.ศ. 2544 แหง่ ชาติเวยี งโกศยั
68 ชดุ กจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นรรู้ ะดบั ประถมศึกษา เรือ่ ง รู้รบั ...ภัยภพัยบิ พัติบิทัตาทิงธารงธรรมรชมาตชาิ ติ
ดินถล่ม เป็นภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งในประเทศไทย โดยเฉพาะบริเวณภาคเหนือและภาคใต้
แผนทป่ี ระเทศไทย แสดงพน้ื ท่เี ส่ยี งภัย
ต่อการเกิดดินถลม่
ที่มา : ภาพดดั แปลงจาก กรมทรพั ยากรธรณี
พนื้ ทท่ี ่ีมีโอกาสเกดิ ดินถลม่ อันดบั ท่ี 1
ดนิ มีโอกาสถลม่ เมื่อมปี รมิ าณนำ้�ฝน 100 มิลลเิ มตร ตอ่ วัน หนา้ ดนิ หนาขาดราก
ไม้ยึดเหน่ยี ว และความลาดเอยี งของพนื้ ท่ีมากกวา่ 30 องศา
พน้ื ท่ที ีม่ โี อกาสเกิดดนิ ถล่ม อันดบั ท่ี 2
ดินมีโอกาสถล่มเม่อื มปี รมิ าณน�้ำ ฝน 200 มลิ ลิเมตร ต่อวนั หน้าดนิ หนาขาดราก
ไมย้ ึดเหนยี่ ว และความลาดเอยี งของพ้นื ที่มากกวา่ 30 องศา
พื้นทที่ ่มี โี อกาสเกิดดินถล่ม อันดบั ท่ี 3
ดนิ มีโอกาสถล่มเมอื่ มีปริมาณน�้ำ ฝน 300 มลิ ลเิ มตร ตอ่ วนั
หนา้ ดินหนาขาดรากไม้ยดึ เหนี่ยว และความลาดเอยี งของ
พื้นท่ีมากกว่า 30 องศา
69ชุดชกดุจิ กรจิ กรรมรสม่งสเส่งรเสมิ รกิมารกเารรยี เรนียรนู้รระดู้รับะดปับรปะถรมะถศมกึ ศษกึ าษเารอ่ื เรงื่อรงรู้ รับรู้ ..ับ. ...ภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติ
กิจกรรมท่ี 9.1
การทดลองดนิ ถล่ม
แบ่งเปน็ กลุม่ ๆ ละ 3 - 5 คน
เทน้ำ� 1 แกว้ เทน้�ำ 1 แกว้
ดนิ ตัวอย่าง
ดนิ ตวั อยา่ ง
วัสดแุ ละอปุ กรณ์ ผสมใบไม้ หญ้า สูง 5 cm.
และกิ่งไม้ ดิน
1. โตะ๊ สงู 5 cm.
2. แก้วใสน่ ำ้� 2 ใบ ดิน
3. ดิน 2 ถว้ ย
4. ไมบ้ รรทดั
5. ดินเหนียวเพ่ือใช้ในการสรา้ งแบบจำ�ลอง
6. ชามผสม ใบไม้ หญา้ และก่งิ ไม้
7. ถาดสีเ่ หลย่ี มขนาดใหญ่ 3 ถาด
ออกแบบการทดลอง จ�ำ ลองสถานการณ์ดินถล่มบริเวณดนิ
ที่ไม่มีต้นไม้ปกคลมุ เปรยี บเทยี บกับบริเวณดนิ ทม่ี ตี ้นไม้ปกคลุม
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
70 ชุดกจิ กรรมส่งเสริมการเรียนรูร้ ะดบั ประถมศึกษา เร่อื ง รูร้ ับ...ภยั พิบัติทางธรรมชาติ
กจิ กรรมที่ 9.2
ความเสยี หายที่เกิดจากดนิ ถลม่
วันที่ 30 มนี าคม พ.ศ. 2554 เกดิ อทุ กภยั ทางภาคใต้ของประเทศไทย ทำ�ใหเ้ กิดดนิ ถล่มหลายจดุ
แบ่งเป็นกลมุ่ ๆ ละ 3 - 5 คน
ชว่ ยกนั ค้นควา้ ข้อมูล และชว่ ยกันเขียนสรุปสน้ั ๆ สาเหตทุ ีท่ �ำ ให้เกิดดินถลม่ และตัวอย่าง
ความเสยี หายจากดินถลม่ ทเี่ กดิ ข้ึน
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
71ชดุ กิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ระดบั ประถมศกึ ษา เร่อื ง รู้รบั ...ภยั พบิ ัตทิ างธรรมชาติ
ค้นหาภาพความเสยี หายที่เกดิ ขน้ึ จากเหตกุ ารณ์ดินถล่มทางภาคใต้ของประเทศไทย
เมอื่ วันท่ี 30 มนี าคม พ.ศ. 2554 และประมวลภาพความเสยี หายท่เี กิดข้ึน
พร้อมค�ำ อธิบายความเสยี หายทีเ่ กิดข้นึ สถานที่เกิดเหตุการณ์ และแหลง่ ทม่ี าของภาพ
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
72 ชดุ กิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนรรู้ ะดบั ประถมศึกษา เรือ่ ง รรู้ ับ...ภยั พิบัตทิ างธรรมชาติ
10หนว่ ยท่ี
ภยั แล้ง
ลกู หลาน
คนในหมู่บา้ นเรา หนุ่มๆ สาวๆ กด็ ินมันแห้งแล้ง
เหลอื น้อยลงทุกที ของเราท้งิ บา้ นไปอยไู่ ปหา ทำ�นาท�ำ ไร่ไม่ได้ผล
งานทีเ่ มอื งอืน่ กันหมดแล้ว จะให้เขาทนอยกู่ นั ไดอ้ ยา่ งไร
ต้องไปหางานทำ�เล้ียงชีพที่อ่ืน
ภัยแลง้ เป็นปรากฏการณ์ทเ่ี กิดข้ึนในบรเิ วณทีข่ าดฝนเป็นระยะเวลานาน
หรอื ฝนตกนอ้ ยกวา่ ปกติ ท�ำ ให้พื้นดนิ ขาดนำ้�ขาดความช่มุ ช้ืน
เป็นระยะเวลานาน พืชขาดแคลนนำ�้ หล่อเลีย้ ง คนขาดแคลนน้ำ�ใช.้ ..
กราฟแสดงจงั หวดั ทปี่ ระสบภยั แล้ง ปี 2545-2552 กราฟแสดงจ�ำ นวนราษฎรทีป่ ระสบภยั แลง้ ปี 2545-2552
68 ัจงหวัด72 71 จังห ัวด 17,353,358 คน 12,841,358 คน
70 ปี 2552 ปี 2545
68 63 ัจงหวัด 61 ัจงหวัด 66 ัจงห ัวด
66 64 ัจงหวัด 61 ัจงห ัวด 13,298,895 คน 5,939,282 คน
64 ปี 2551 ปี 2546
62 62 จังห ัวด 16,754,980 คน
60 ปี 2550 8,388,728 คน
58 ปี 2547
0 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552
11,147,627 คน
ปี 2548
11,826,358 คน
ปี 2549
ประเทศไทยต้องเผชญิ กบั ปัญหาความแหง้ แลง้ ของพน้ื ทบี่ างส่วนทุกปี ท�ำ ใหข้ าดแคลนน้ำ�ใช้
พชื ขาดน้ำ�หลอ่ เล้ียง พืชผลทางการเกษตรเสยี หาย โรงงานอุตสาหกรรมและโรงไฟฟา้
เดอื ดร้อนจากการขาดน้�ำ ป้อนสง่ คนในพืน้ ท่แี ห้งแลง้ อดอยากขาดแคลนนำ�้ และอาหาร
หากความแหง้ แลง้ มคี วามรุนแรงมาก ผู้คนจำ�ตอ้ งทิ้งถิน่ ฐานยา้ ยท่ีอยูอ่ าศยั
ท่ีมาของขอ้ มูล : สรปุ สถานการณส์ าธารณภัยของประเทศไทยประจำ�ปี
ศนู ยอ์ �ำ นวยการบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั
73ชดุ กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรียนรรู้ ะดบั ประถมศึกษา เร่ือง รรู้ บั ...ภยั พิบัติทางธรรมชาติ
กจิ กรรมที่ 10.1
สาเหตุทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ ภัยแลง้
ภัยแล้งเกดิ ขน้ึ ได้จากหลายสาเหตุ
คน้ ข้อมูลหาสาเหตทุ ที่ ำ�ใหเ้ กิดฝนแล้ง
ใส่ภาพแสดงสาเหตุท่ีทำ�ใหเ้ กดิ ภัยแล้ง 5 อยา่ ง
พรอ้ มคำ�อธบิ ายสั้นๆ ประกอบภาพ
74 ชดุ กิจกรรมสง่ เสริมการเรียนรูร้ ะดบั ประถมศกึ ษา เร่ือง รู้รับ...ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ
กิจกรรมท่ี 10.2
พน้ื ทีเ่ สีย่ งภยั แลง้
ประกาศเตอื นภัยแลง้
คาดการณพ์ นื้ ทจี่ ะประสบความแห้งแล้ง ระหวา่ งวันที่ 6 - 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
จากการวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียมของอุณหภูมิพื้นผิวโลก และนำ�มาเปรียบเทียบกับปริมาณน้ำ�ที่
ใช้การได้ในอ่างเก็บน�ำ้ ปริมาณนำ้�ทา่ ในแมน่ �ำ้ และสมดลุ นำ�้ ในดิน พบวา่ ประเทศไทยมีพื้นทีป่ ระสบสภาวะ
ความแหง้ แล้งทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวนั ออก โดยเฉพาะในจงั หวดั
นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ อทุ ยั ธานี กำ�แพงเพชร เชียงราย ตาก น่าน พะเยา พิจิตร อบุ ลราชธานี สุรินทร์
ร้อยเอ็ด นครพนม บุรรี มั ย์ ยโสธร อ�ำ นาจเจรญิ ขอนแกน่ กาฬสินธ์ุ มกุ ดาหาร อดุ รธานี หนองบวั ลำ�ภู
หนองคาย ชัยนาท สุพรรณบุรี กาญจนบุรี ประจวบครี ีขันธ์ เพชรบรุ ี ลพบรุ ี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และ
สระแก้ว
คาดการณ์ว่า พื้นที่ทำ�เกษตรที่เพาะปลูกในช่วงฤดูแล้ง โดยเฉพาะพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
อาจจะประสบความแห้งแล้ง จึงขอประกาศให้ใช้น้ำ�อย่างระมัดระวัง และควรใช้วัสดุคลุมดินเพื่อ
ลดการสูญเสียน้ำ� รวมทั้งให้อนุรักษ์ดินและน้ำ� ทั้งนี้หากพืชพันธุ์เหี่ยวเฉาหรือตาย ให้เลือกใช้พันธุ์พืชอายุ
สั้น ใชน้ �้ำ นอ้ ย และทนแลง้ ปลกู แทนพชื ทีต่ ายไป
ทีม่ าของขอ้ มูล : htpp://irw101.ldd.go.th/lib/topic5 old.php?page=16
ประกาศเตือนภยั แล้ง สรปุ ส่ิงทเี่ กษตรกรในพน้ื ทเี่ สี่ยงภยั แล้งควรท�ำ
ระบายสแี ดงจงั หวดั ทเ่ี ปน็ พน้ื ทเี่ สีย่ งเกิดภัยแลง้ ขา้ งตน้ 1. ………………………………..…………................................
............................................................................
............................................................................
2. ………………………………..…………................................
............................................................................
............................................................................
3. ………………………………..…………................................
............................................................................
............................................................................
4. ………………………………..…………................................
............................................................................
............................................................................
5. ………………………………..…………................................
............................................................................
............................................................................
75ชดุ กิจกรรมสง่ เสริมการเรียนรู้ระดบั ประถมศึกษา เร่อื ง รู้รบั ...ภยั พิบัติทางธรรมชาติ
กิจกรรมที่ 10.3
ผังความคิดเรือ่ งภยั แล้ง
จากภาพขา้ งตน้ จนิ ตนาการวา่ การเปล่ยี นแปลงสภาพจากภาพท่ี 1 เป็นดงั ภาพท่ี 2
จะส่งผลกระทบอะไรตามมาบา้ ง เขยี นเป็นแผนผงั ความคิดแสดงผลกระทบท่ีเกดิ ขึน้
76 ชุดกิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรรู้ ะดับประถมศกึ ษา เร่ือง รู้รบั ...ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ
11หน่วยที่
ไฟปา่
สตลู เตอื นหมอกควนั ไฟป่าอินโดฯ ยอดผู้ปว่ ยพุ่ง
โดย ข่าวสด วนั อังคารที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 09:45 น.
สตลู - ผสู้ ่ือข่าวจากจงั หวัดสตูลรายงานว่า เกดิ สภาพหมอกควนั ไฟปา่ อนิ โดนีเซีย ซง่ึ เป็นหมอกควนั
สขี าวทปี่ กคลมุ ไปท่วั เมอื งสตลู มาตง้ั แต่วันท่ี 4 กรกฎาคม 2550 ทผี่ ่านมา หมอกควันจากไฟปา่ ในอนิ โดนเี ซยี
ไดเ้ รม่ิ กระจายเข้าไปในตัวเมืองสตูล ท�ำ ใหต้ ามทอ้ งถนนสายต่างๆ เต็มไปด้วยหมอกควันปกคลมุ การสัญจร
ไป - มาไม่สะดวก โดยเฉพาะผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์เนื่องจากมีอาการแสบตา ตาแดง น้ำ�ตาไหล ปวดหัว
เปน็ หวัด
ดา้ น นพ. ส�ำ รวม ดา่ นประชนั กลุ นายแพทยส์ าธารณสขุ จงั หวดั สตลู กลา่ วถงึ เรอ่ื งนว้ี า่ ขอฝากเตอื น
ประชาชน เนอ่ื งจากมหี มอกควนั สขี าวปกคลมุ ในพน้ื ท่ี อาจท�ำ ใหป้ ระชาชนมปี ญั หาเกย่ี วกบั โรคทางเดนิ หายใจ
โดยเฉพาะผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้ คนชรา เด็กเล็ก อาจจะมีปัญหาต่อสุขภาพ ดังนั้น ในช่วงที่มีหมอกควันมาก
ควรหลกี เลย่ี ง ไมค่ วรอยหู่ รอื ออกก�ำ ลงั กายกลางแจง้ ควรจะอยใู่ นบา้ นและปดิ ประตหู นา้ ตา่ ง หากจ�ำ เปน็ ตอ้ ง
ออกนอกบา้ นใหใ้ ชผ้ า้ ชบุ น�ำ้ หมาดๆ ปดิ ปาก ปดิ จมกู หรอื ขอหนา้ กากอนามยั จากส�ำ นกั งานสาธารณสขุ จ.สตลู
นายสุนทร เจริญสุข เจ้าของคลินิกสุนทราการแพทย์ กลา่ ววา่ มีประชาชนเข้าไปรกั ษาโรคเกีย่ วกบั
อาการไอ เจบ็ คอ เปน็ หวดั ตาแดง เพ่ิมมากข้นึ เพราะหมอกควนั เร่ิมเข้ามาหลายวันแล้ว
ทมี่ าของขอ้ มูล : http://news.sanook.com/region/region_154488.php
ไฟปา่ ตามธรรมชาติ เกดิ จากการตดิ ไฟของเชอ้ื เพลงิ ธรรมชาตใิ นปา่ ทถ่ี กู สะสมเปน็ ระยะเวลานาน และ
ไฟลกุ ลามออกไปในวงกวา้ ง สรา้ งความเสยี หายตอ่ ทรพั ยากรปา่ ไมแ้ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ท�ำ ใหเ้ กดิ หมอกควนั สง่ ผล
กระทบตอ่ สขุ ภาพของมนษุ ยแ์ ละเปน็ อนั ตรายตอ่ สง่ิ มชี วี ติ ในปา่ ท�ำ ลายถน่ิ ทอ่ี ยอู่ าศยั ของสตั ว์ และอาจลกุ ลาม
ไปถึงบา้ นเรือนบริเวณทเ่ี กดิ ไฟป่า นอกจากนีไ้ ฟปา่ ยังเปน็ ตวั การสำ�คัญท่ที �ำ ใหเ้ กิดปัญหาภยั แล้งตามมา
77ชุดกิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรูร้ ะดบั ประถมศกึ ษา เรือ่ ง รรู้ ับ...ภยั พบิ ัติทางธรรมชาติ
กจิ กรรมที่ 11.1
ผลกระทบของไฟป่าตอ่ สงิ่ มีชีวติ และส่ิงแวดล้อม
ที่มาของภาพ : http://www.wildlandfire.com/photos.htm
องคป์ ระกอบที่ทำ�ให้เกดิ ไฟป่า
1. เช้อื เพลงิ คอื สารอินทรียท์ กุ ชนิด ต้นไม้ พุม่ ไม้ กิ่งไม้ และใบไม้แหง้ ทถี่ ูกสะสม
2. ออกซิเจน เป็นองค์ประกอบหลัก ปกติจะกระจายอยู่ทวั่ ไปในปา่
3. ความรอ้ น
- ความร้อนจากธรรมชาติ เชน่ ฟ้าผา่ การเสยี ดสีกนั ของตน้ ไม้
- มนษุ ย์จดุ ข้ึน
ท่ีมา : ดดั แปลงจากส�ำ นกั ป้องกนั ปราบปราม และควบคมุ ไฟปา่ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพนั ธุพ์ ชื
ผลที่เกดิ ขึน้
สร้างความเสียหายต่อทรัพยากรป่าไม้ ทำ�ให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพเพราะเมื่อเกิดไฟป่าจะเกิด
หมอกควันตามมาด้วย ท�ำ ใหบ้ า้ นเรือนเสยี หาย พืชและสัตว์ได้รบั อนั ตราย และท�ำ ให้เกิดภัยแล้งตาม
มาด้วย
เขียนแผนผงั คน้ ควา่้ ขอ้ มูล และแสดงผลกระทบของการเกิดไฟป่าต่อสิ่งมีชีวิตและสง่ิ แวดล้อม
78 ชุดกจิ กรรมส่งเสรมิ การเรียนรรู้ ะดบั ประถมศกึ ษา เรอ่ื ง รรู้ บั ...ภยั พบิ ัติทางธรรมชาติ
กจิ กรรมเสรมิ
79ชุดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรูร้ ะดับประถมศกึ ษา เร่ือง รรู้ ับ...ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ
àÃÔèÁ ลากเส้นเพอ่ื หาทางออก
¹FéÓlo·o‹ÇdÁ TsÊu¹Ö nÒaÁmÔ i
S¾toÒrÂmØ La´n¹Ô d¶sÅli‹Áde ÀàÙe¢VrÒouäl¿cpaÃtinÐoàoºn ´Ô
Wiäld¿»F†Òire
DÀrÂÑouáÅgŒ§ht
Eáa¼r‹¹th´q¹Ô uäaËkÇe
·Ò§ÍÍ¡
80 ชุดกจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นร้รู ะดับประถมศึกษา เร่ือง รู้รบั ...ภยั พิบัติทางธรรมชาติ
จับ ู่คภัยพิ ับตทางธรรมชาติ และผลกระทบใ ้หตรง ักน
81ชดุ กิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรรู้ ะดับประถมศกึ ษา เรือ่ ง รู้รบั ...ภยั พิบัติทางธรรมชาติ
ระบายสีภาพปรากฏการณท์ างธรรมชาติ
คลน่ื ยกั ษ์
ภยั แล้ง
พายุหมนุ
ดินถล่ม
82 ชุดกจิ กรรมสง่ เสริมการเรียนรรู้ ะดับประถมศกึ ษา เร่ือง รรู้ บั ...ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ระบายสีภาพปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
น้�ำ ท่วม
ไฟปา่
แผ่นดนิ ไหว
ภูเขาไฟระเบดิ
83ชดุ กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรยี นร้รู ะดบั ประถมศกึ ษา เร่ือง รูร้ ับ...ภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ
จบั ค่ขู ้อความกับภาพ
น�ำ้ ท่วม ภยั แลง้ พายหุ มนุ ดินถล่ม
ไฟป่า แผน่ ดนิ ไหว ภูเขาไฟระเบิด คล่ืนยักษ์
84 ชุดกิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้ระดบั ประถมศึกษา เร่อื ง รู้รบั ...ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ
จับคขู่ ้อความกับภาพ
น้ำ�ทว่ ม ภัยแล้ง พายุหมุน ดนิ ถลม่
ไฟปา่ แผน่ ดินไหว ภเู ขาไฟระเบดิ คลืน่ ยกั ษ์
85ชุดกจิ กรรมส่งเสริมการเรียนรรู้ ะดับประถมศึกษา เรื่อง รรู้ บั ...ภยั พิบัตทิ างธรรมชาติ
โยงภาพปรากฎการณ์ภัยทางธรรมชาตทิ เ่ี หมอื นกนั
1A
2B
3C
4D
5E
6F
7G
8H
86 ชดุ กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ระดบั ประถมศกึ ษา เรอื่ ง ร้รู บั ...ภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ
สนกุ กับการเรียงค�ำ ศัพทภ์ ัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ
M S R O T
S
IAMSUNT
T
LDOOF
F
AETRHQAUEK
E
LOVANCO
V
DANLSLDIE
L
LWIFREID
W
RDUOHG
D
87ชดุ กิจกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ระดบั ประถมศึกษา เรื่อง รู้รับ...ภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติ
คน้ หาข้อมูลภยั พิบัตทิ างธรรมชาติ และใส่ภาพ พรอ้ มบอกแหลง่ ทม่ี าของข้อมลู และภาพ
เขียนคำ�อธบิ ายส้ันๆ ตามข้อความในตารางท่ีให้
ภาพภัยพิบทตั เี่ ทิ กาดิ งธรรมชาติ ชว่ งเวลา/ สภาพพ้ืนที่ ผลกระทบ
วันทเ่ี กิด
88 ชดุ กิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ระดับประถมศึกษา เรือ่ ง รรู้ ับ...ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ
ค้นขอ้ มูลภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ พรอ้ มสร้างเรื่องเล่าทนี่ า่ สนใจในหวั ข้อ
“เรอ่ื งเล่าจากภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ”
ภาพ ภยั ท่ีเกดิ ขึน้
………………………………..………….....................................
………………………………..………….....................................
………………………………..………….....................................
………………………………..………….....................................
………………………………..………….....................................
………………………………..………….....................................
………………………………..………….....................................
………………………………..………….....................................
ผลกระทบ แนวทางการป้องกัน
………………………………..…………..................................... ………………………………..………….....................................
………………………………..…………..................................... ………………………………..………….....................................
………………………………..…………..................................... ………………………………..………….....................................
………………………………..…………..................................... ………………………………..………….....................................
………………………………..…………..................................... ………………………………..………….....................................
………………………………..…………..................................... ………………………………..………….....................................
………………………………..…………..................................... ………………………………..………….....................................
………………………………..…………..................................... ………………………………..………….....................................
89ชุดกิจกรรมสง่ เสรมิ การเรียนร้รู ะดับประถมศกึ ษา เรอื่ ง รูร้ บั ...ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ
สถานการณส์ มมติ “รายงานขา่ ว”
เลอื กผปู้ ระกาศขา่ ว 2 คน (ชาย-หญงิ ) เพอ่ื เปน็ ผปู้ ระกาศขา่ วคนท่ี 1 และผปู้ ระกาศขา่ วคนท่ี 2
ผู้ประกาศขา่ วอา่ นขา่ วตามตารางขา้ งลา่ ง
ผปู้ ระกาศขา่ วคนที่ 1 ผูป้ ระกาศขา่ วคนที่ 2
ช่ือ ............................................................................................. ช่อื .............................................................................................
M 1 สวัสดีครับท่านผ้ฟู ังทุกท่าน ขอต้อนรบั ทุกทา่ น W 1 สวสั ดตี อนเชา้ คะ่ ส�ำ หรบั ขา่ วทน่ี า่ ตดิ ตามในวนั น้ี
เข้าสรู่ ายการ ศนู ยข์ า่ ว PRINCESS-IT คงเปน็ เรื่องเกยี่ วกบั ภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติ ซ่ึง
ผม .............................................................................. ในช่วงปีนป้ี ระเทศไทยเราประสบกับปัญหาภยั
และผู้ดำ�เนินรายการรว่ ม ได้แก่ น้�ำ ทว่ มในหลายพ้นื ท่ี โดยเมื่อ 2 - 3 วนั
คุณ ............................................................................. ที่ผา่ นมาพน้ื ทีใ่ นจงั หวัดแม่ฮ่องสอนได้
ประสบกับภยั น้ำ�ทว่ ม ดินถล่มอยา่ งหนกั
M 2 จากรายงานของผู้ว่าราชการจงั หวดั W 2 และทส่ี �ำ คญั นะคะ่ คุณ...................มีผู้ไดร้ บั ความ
แม่ฮ่องสอน กล่าวว่า จังหวดั แมฮ่ ่องสอน เดอื ดรอ้ นถงึ 79,353 คน 33,846 ครัวเรือน
ไดร้ ับผลกระทบจากพายุนกเตน ระหวา่ งวนั ท่ี และมีผู้เสยี ชีวิต 7 ราย สญู หาย 1 ราย
1 - 10 สงิ หาคม 2554 โดยมพี น้ื ทป่ี ระสบภยั
จ�ำ นวน 7 อำ�เภอ 44 ตำ�บล 412 หมูบ่ า้ น
M 3 โดยเฉพาะในพื้นที่ อ�ำ เภอสบเมย จังหวัด W 3 ท้ังน้ใี นสว่ นของการช่วยเหลอื ผู้ประสบภัยฯ
แม่ฮ่องสอน มผี บู้ าดเจ็บ 11 ราย บา้ นเรอื น สว่ นราชการ ไดด้ ำ�เนนิ การจดั ทพี่ กั ชั่วคราว
ราษฎรเสียหายท้ังหลงั 32 หลงั คาเรือน และซอ่ มแซมเส้นทางจราจรในเบอ้ื งตน้ แล้ว
และสะพาน 31 แห่งช�ำ รุด พังทลาย ขณะน้ีสถานการณเ์ ร่ิมคลี่คลายไปในทางท่ีดขี ้ึน
M 4 ในการดำ�เนินการป้องกันในอนาคตทางราชการ W 4 ก่อนจากกนั ในวนั นี้ ขอใหท้ กุ ทา่ นดูแลสุขภาพ
จะด�ำ เนินการจดั หาพนื้ ทรี่ องรับปริมาณน้ำ�ใน ตวั เอง และติดตามขา่ วสารการเตอื นภัย
ช่วงฤดฝู นโดยเฉพาะการนำ�แนวทางแก้มลิงมา ตา่ งๆ จากทางราชการ อย่างใกลช้ ดิ
ดำ�เนนิ การ เพ่ือรองรบั ปรมิ าณนำ�้ เพอื่ เตรียมพรอ้ ม และป้องกันผลกระทบทาง
จากภยั ธรรมชาติ เช่น พายุ น�ำ้ ทว่ ม ด้านภยั พิบตั ิตา่ งๆ ท่ีจะเกดิ ขน้ึ ต่อไป สำ�หรับ
และภัยแล้งตอ่ ไป วนั นี้ ดิฉัน ......................... และคุณ.......................
ขอลาไปกอ่ น แลว้ พบกับ ศนู ย์ขา่ ว
PRINCESS-IT ได้ใหมใ่ นวันพรงุ่ นคี้ ่ะ
90 ชดุ กจิ กรรมสง่ เสริมการเรียนรูร้ ะดบั ประถมศึกษา เร่อื ง รูร้ ับ...ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ
เตรียมรับมอื กบั ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ
91ชดุ กิจกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ระดบั ประถมศกึ ษา เรอื่ ง ร้รู บั ...ภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติ
19 20ã¹¢¡ÑºàÃÁ¢Ð×ÍèÕèÂá¶àÊÒÍ¡¹¹ÂÔ´Óé¾Ë¹àÒžéÓËѧ¹×Íè·ä¹¤Ç‹»éÓÐÁÇ·àÅÅÒÇ‹§¢ÁäÁ·»1ÒŒ2·Ò ·ÓÃà‹Ò´§Ô¹à¡ÁËÒ×Íè ¹Âà¡ÒŒÍ´Ôº2¹ÍªÓéع‹ ‹Í·Í§‹ÇÂÁÙà‹ ÊÁÍ 22
¶ é¹ÅÍÓ§Âà ‹·Ë‹ÅàÇÅѹÁèקÁ¹éäÍàÓ»ËÔ¡Ã×2´Í¹é ‹ª‹ÇÓÍÒ·‹§ÂǹéÁÓ 23
21¹éÓ·Ç‹ Á
18
17
16 Âѧ¶½¤Í¹§Âãã¿Ë¹ªÒ‡ÅŒÍ¢¤Ñ§Ø»³Ð¡1¹ÐàÃͪ¡³§‹Í´Ô Ë䧾¿¹Ò¿Ñ¡ÂÒ‡ Ø 15 ¢³Ðà¡Ô´¾ÒÂØ
à»´ »ÃеÙáÅÐ
START ¾ÒÂØ Ë¹ÒŒ µÒ‹ §·Ø¡ºÒ¹
¶ÍÂËÅѧ 2 ªÍ‹ §
2 Ë»Á͇Íàà´§ºÁÔ¹¡×èÍÍËѹࡹÊÙ‹º´Ô §èÔŒÒÃá¢àÔ Ç3¼Í³‹¹§ªË·´‹ÍÅÕèʹԧ‹¹ÒäËÁãÊÇҋö 14 ¾ÒÂØ
1 3Ἃ¹´Ô¹äËÇ
ᶼÍ㹋ªàËÅŒ ´ÁÅ¿Ô Ô¹×èÍѧµàää¡à »¾Ë´Ô ¨×Íè Çáشͼà¾Ã¹‹ ÂÁèÔ ´¾µ¹Ô ¹ŒËä¹ËÕÇ ¶ÍÂàÂÁ×¹Ë×èÍÍáÅàšѧÐÙã‹ä´Ô ¡¡»áÅ輌ËÐØ´‹¹¨¹àá´ŒÒÁèÔ Ô¹µµäÒ‹ ¹ŒË§Ç
á¼¹‹ ´¹Ô äËÇ 4
92 ชุดกิจกรรมสง่ เสรมิ การเรียนร้รู ะดับประถมศึกษา เรอ่ื ง รรู้ บั ...ภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติ
FINISH
24ÃÕº´à͹Դ¾¹Ô¶àÂÊËÅ»¾Ñ§¹Á‹¹š àäŒÒ¡Ê»µÕ¢2ÂàÍѧ˪§·ç¹Í‹´Õè»Ê§¹Ô ÅÕ¹ÀÍéÓÙà´¢à»ÀÒÅÑÂÕÂè ¹ 28
12 25 27ËàÁÁ×ÍèÙ‹ºàÒŒ¡Í¹´Ô ʹáԹպ¨¶¢àһŹ¡Á‹š¹º¢¶ãÍÍŒÒ͹§¹ÂÒ‹Êã˧ÓËÅᤌËѧÃÑÞÁ¡2´´ª¹Ô ‹Í¶§Å‹Á
13 26
9
àÁ×Íè à¡´Ô Ê¹Ö ÒÁÔ 10 Çèԧ仴ÙËÒ´·ÃÒÂ
;¾˹բ¹Öé ä»·ÕÊè Ù§
àÁ×Íè ¹Óé ·ÐàÅŴŧ
à´Ô¹Ë¹ÒŒ 4 ª‹Í§ ÍÂÒ‹ §ÃÇ´àÃÇç
11 ÊÖ¹ÒÁÔ ¶ÍÂËÅѧä»àÅ¢ 5
ÊÖ¹ÒÁÔ
5 ÍÂÙ‹ã¡ÅÀŒ Ùà¢Òä¿ÃÐàºÔ´ 7 Êѧࡵ»Ò‡ ÂÊÑÞÞÒ³
4 ãÊË‹ ¹ÒŒ ¡Ò¡Í¹ÒÁÑ àµ×͹ÀÑÂÊÖ¹ÒÁàÔ Á×Íè ¶§Ö àÇÅÒ
áǹ‹ µÒ·Ø¡ª¹Ô´
à¾×èͻ͇ §¡Ñ¹à¶ÒŒ ÀÙà¢Òä¿ ¨Ðä´ŒàµÃÕÂÁÃѺÁ×ͷѹ
à´Ô¹Ë¹ÒŒ 2 ª‹Í§
6 à´Ô¹Ë¹ŒÒ 1 ªÍ‹ §
ÀÙà¢Òä¿ÃÐàºÔ´ 8ÊÖ¹ÒÁÔ
93ชดุ กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ระดับประถมศึกษา เรอื่ ง รู้รบั ...ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ
สรุปสิง่ ท่ีควรท�ำ และไม่ควรทำ�เม่ือเกิดภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติ
ภัยพิบัติ ควรท�ำ ไมค่ วรท�ำ
1. เมอ่ื เกดิ แผน่ ดินไหว หมอบอยบู่ ริเวณทีส่ ามารถปอ้ งกนั สิ่งของหล่นใส่
2. เมอ่ื เกิดแผน่ ดินไหว ใชล้ ิฟต์เพื่ออพยพหนี
3. เมอ่ื เกดิ แผน่ ดินไหว ยืนอยู่ใกลห้ น้าต่างและกระจก
4. อยใู่ กล้ภเู ขาไฟระเบิดใสห่ น้ากากอนามยั แว่นตาทกุ ชนิด เพื่อปอ้ งกันเถา้ ภูเขาไฟ
5. สงั เกตป้ายสัญญาณเตือนภยั สนึ ามเิ ม่อื ถงึ เวลาจะไดเ้ ตรยี มรบั มอื ทนั
6. วง่ิ ไปดูหาดทราย เมือ่ น้ำ�ทะเลลดลงอยา่ งรวดเร็ว
7. เม่ือเกดิ สึนามิ อพยพหนขี ึ้นไปทีส่ ูง
8. เมื่อเกดิ นำ้�ทว่ ม ขบั ขยี่ านพาหนะลงไปในกระแสนำ�้ เพ่ือความท้าทาย
9. เมอ่ื เกิดน้ำ�ท่วม ลงเล่นน้�ำ หรอื วา่ ยน�ำ้
10. ในขณะเกิดพายุฝนฟา้ คะนองหนัก ยงั คงใช้อปุ กรณไ์ ฟฟา้
11. ขณะเกิดพายเุ ปดิ ประตแู ละหน้าต่างทุกบาน
12. เมอ่ื เกดิ น้ำ�ท่วม ทำ�รา่ งกายอบอนุ่ อยเู่ สมอ
13. สงั เกตเหน็ สีนำ้�เปล่ยี นเปน็ สีของดนิ ภเู ขา รีบอพยพไปยังท่ปี ลอดภัย
14. เมอ่ื เกิดดินถล่มในหมู่บ้าน รีบขนของส�ำ คญั ออกจากบา้ น ให้หมดเปน็ อย่างแรก
94 ชดุ กิจกรรมสง่ เสริมการเรยี นรูร้ ะดับประถมศกึ ษา เรื่อง รู้รับ...ภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ
ศกึ ษาคน้ คว้าข้อมลู การเตรียมพร้อมรับมอื ภยั พิบัตทิ างธรรมชาติ
(แผน่ ดนิ ไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิ พายุ น้ำ�ท่วม ดินถล่ม ภัยแล้ง และไฟปา่ )
ออกแบบโปสเตอร์เพอ่ื รณรงค์การเตรียมพรอ้ มรับภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ
95ชุดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ระดับประถมศกึ ษา เรอ่ื ง รู้รบั ...ภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติ
จบั กล่มุ ๆ ละ 3-5 คน คน้ คว้าขอ้ มลู
และระดมความคิดสร้างแผนท่ีเส้นทาง
หลบภัยพิบัตทิ างธรรมชาตทิ ี่นกั เรียนคาดว่าจะเกดิ ขึ้นทโ่ี รงเรียน เพอ่ื ใหเ้ พ่อื นใน
โรงเรยี นสามารถใชใ้ นการหลบภัยไปยังที่ปลอดภัยได้
96 ชดุ กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ระดับประถมศึกษา เรอ่ื ง รรู้ บั ...ภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติ
บันทึกขอ้ มูล
..................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
97ชดุ กิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรูร้ ะดบั ประถมศกึ ษา เรื่อง รู้รบั ...ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ
แหลง่ อ้างองิ สอ่ื สิ่งพมิ พ์
กรมการศึกษานอกโรงเรียน. ภยั ธรรมชาติ. พิมพค์ รง้ั ท่ี 1: ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษา กรมการศกึ ษานอก
โรงเรียน กระทรวงศกึ ษาธิการ.
กรมทรัพยากรธรณี. (2547). คู่มือจิ๋ว รู้ทันภัยสึนามิ. กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดล้อม
กรมทรัพยากรธรณี. (2548). สนึ ามิ คลื่นยกั ษ์ มหาภยั . พิมพ์ครง้ั ที่ 2.: บรษิ ัท ธนาเพรส จ�ำ กัด
กรมทรพั ยากรธรณ.ี (2551). แผ่นดนิ ไหวภยั ใกลต้ ัว. บริษทั แนกซอส อินฟนิ ติ ี้ จ�ำ กดั
กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั . หนังสือการ์ตนู ชดุ “เรยี นรสู้ าธารณภัย”. กองเผยแพรแ่ ละประชาสัมพันธ์
กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย.
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.การเตรียมตัวและปฏิบัติตนเมื่อเกิดอุทกภัย วาตภัย และโคลนถล่ม.
กองเผยแพรแ่ ละประชาสัมพนั ธ์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย.
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2551). ดินถล่ม คู่มอื จดั การเรียนรู้ ประกอบหนังสอื . โครงการความรว่ มมอื ทางวิชาการ
ดา้ นการพฒั นาประสิทธภิ าพการบรหิ ารภยั พบิ ตั ิของประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: บจก. ซาเร็นการพมิ พ.์
กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2551). สนึ ามิ คู่มอื จัดการเรียนรู้ ประกอบหนงั สือ. โครงการความร่วมมือทางวชิ าการ
ดา้ นการพฒั นาประสิทธภิ าพการบริหารภยั พบิ ตั ิของประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: บจก. ซาเรน็ การพิมพ.์
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หนังสือประกอบการเรียนรู้ การป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ เรื่อง ดินถล่ม
ชั้นประถมศึกษา และมัธยม. โครงการความร่วมมือทางวิชาการด้านการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหาร
ภยั พบิ ัติของประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: บจก. ซาเร็นการพมิ พ์.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หนังสือประกอบการเรียนรู้ การป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ เรื่อง อุทกภัย
ชั้นประถมศึกษา และมัธยม. โครงการความร่วมมือทางวิชาการด้านการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหาร
ภัยพบิ ัติของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: บจก. ซาเร็นการพิมพ์.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หนังสือประกอบการเรียนรู้ การป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ เรื่อง สึนามิ
ชั้นประถมศึกษา และมัธยม. โครงการความร่วมมือทางวิชาการด้านการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหาร
ภัยพิบตั ขิ องประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: บจก. ซาเรน็ การพิมพ์.
กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2551). อทุ กภยั คู่มอื จดั การเรยี นรู้ ประกอบหนังสือ. โครงการความรว่ มมือทางวิชาการ
ดา้ นการพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารภัยพบิ ัตขิ องประเทศไทย. กรุงเทพฯ: บจก. ซาเรน็ การพมิ พ.์
98 ชุดกิจกรรมสง่ เสรมิ การเรียนรรู้ ะดับประถมศกึ ษา เร่อื ง รู้รับ...ภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติ
คำ�นาย อภิปรัชญาสกุล. (2554). วิกฤตการณ์น้ำ�ท่วมประเทศไทย ปี 2554. กรุงเทพฯ: บริษัท โฟกัสมีเดีย
แอนด์พบั ลิชชง่ิ จ�ำ กัด.
ณัฐนนั ท์ สอนพรินทร.์ (2551). ตา้ นภัย วิกฤตนิ ำ�้ . พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1: บริษัท ซเี อด็ ยูเคช่ัน จ�ำ กดั (มหาชน).
พนั ตรีศภุ โชค นจิ สนุ กิจ. (2554). เอาตัวรอดในสถาณการณ์ภยั พบิ ตั .ิ กรงุ เทพฯ: ข้าวฟา่ ง.
มูลนิธิชัยพัฒนา. (2548). คลื่นยักษ์สึนามิ คลื่นอภิมหาภัย. พิมพ์ครั้งที่ 1: บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์
พับลชิ ช่ิง จ�ำ กัด (มหาชน).
ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ. คู่มือ ภัยพิบัติ รู้ทัน รับมือได้. ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสือ่ สาร.
ศูนย์ประสานงานชุมชนบ้านน้ำ�เค็มและชุมชนบ้านน้ำ�เค็ม. (2550). เพื่อความพร้อมพอต่อภัยพิบัติของชุมชน.
งานประชมุ สมั มนาสรปุ บทเรียน 3 ปี สนึ ามิ “เพือ่ สังคมไทยพรอ้ มรับภัยพิบัต”ิ . พมิ พ์คร้งั ที่ 1: บรษิ ัท
แปลน โมทฟิ จำ�กัด.
CSS: สนับสนุนวิทยาศาสตรส์ ำ�หรบั เดก็ . COMPRESS LOPI
Michael Allaby. (2007). Children’s Encyclopedia of Earth. Templar Company Limited.
UNESCO-IOC. Tsunami Glossary. IOC Information document No. 1221. Paris, UNESCO,2006.
99ชดุ กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้ระดบั ประถมศกึ ษา เร่อื ง รู้รับ...ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ