The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pijaranaaom1144, 2021-11-04 05:37:04

สรุปบทเรียนวิชาการจัดการดำเนินงาน

บทที่1-9

Keywords: สรุปบทเรียน

ประการท่ี 4 การเทียบเคียงสมรรถนะ

เป็นการเปรยี บเทียบมาตรฐานทางดา้ นผลติ ภณั ฑ์ การ
ใหบ้ รกิ าร ตน้ ทนุ และวธิ ีการปฏิบตั ิ กบั องคก์ ารอ่ืน ซ่ึงมีขนั้ ตอนท่ี
เก่ียวขอ้ งดงั ตอ่ ไปนี้

1. ตดั สนิ ใจว่าอะไรคือมาตรฐานท่ีเทียบเคียง
2. จดั ตงั้ ทีมงาน
3. ระบหุ น่วยงานหรอื องคก์ รท่ีจะทาการเทียบเคียง
4. ลงมอื ปฏบิ ตั ิ

ประการท่ี 5 ระบบการผลติ แบบทนั เวลาพอดี

คือ การผลติ หรอื สง่ สนิ คา้ เม่อื มีความตอ้ งการ โดยมีความสมั พนั ธก์ บั คณุ ภาพใน 3 ลกั ษณะ
1. ชว่ ยลดตน้ ทนุ คณุ ภาพ

JIT ช่วยขจดั สนิ คา้ ท่ีไมม่ คี ณุ ภาพ (ของเสยี การทาซา้ ตน้ ทนุ สนิ คา้ คงคลงั ท่ีไม่
จาเป็นและค่าใชจ้ ่ายท่ีเกิดจากการสญู เสีย) ออกไป สง่ ผลใหต้ น้ ทนุ ต่าลง

2. ช่วยปรบั ปรุงคณุ ภาพ

JIT ช่วยลดเวลานา (Lead time) และจากดั ความผิดพลาดท่ีจะเกิดขนึ้
3. คณุ ภาพท่ีดีกว่า

JIT ช่วยคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ์ มคี วามสม่าเสมอ

ประการท่ี 6 แนวความคดิ ของ Taguchi

แนวความคิดของ Taguchi เก่ียวขอ้ งกบั การปรบั ปรุงคณุ ภาพทงั้ สนิ คา้ และ
กระบวนการผลติ มแี นวความคิด 3 ประการ คือ

1. ความทนทานดา้ นคณุ ภาพ (Quality Robust) คือ การพยายามท่ีจะกาจดั ผลกระทบ
จากสภาพแวดลอ้ มแทนการกาจดั สาเหตขุ องปัญหา เน่ืองจากค่าใชจ้ ่ายต่ากวา่ และมี
ประสทิ ธิภาพมากกว่าในการผลติ สนิ คา้ ท่ีมคี วามทนทาน

2. ฟังกช์ นั การสญู เสยี ดา้ นคณุ ภาพ (Quality Loss Function) เป็นการระบตุ น้ ทนุ
ทง้ั หมดท่ีสมั พนั ธก์ บั การดอ้ ยคณุ ภาพ และแสดงใหเ้ หน็ ว่า ตน้ ทนุ จะเพ่มิ ขึน้ หากสนิ คา้ มีความ
แตกตา่ งไปจากสง่ิ ท่ีลกู คา้ ตอ้ งการ

3. เปา้ หมายดา้ นคณุ ภาพ (Target-oriented quality) คือ การมงุ่ เนน้ การผลติ
ผลติ ภณั ฑใ์ หอ้ ย่ทู ่ีเปา้ หมายท่ีกาหนด ทาใหเ้ กิดความสญู เสียนอ้ ยท่ีสุด และความพงึ พอใจ
ของลกู คา้ มากท่ีสดุ เพ่ือท่ีจะนาผลติ ภณั ฑใ์ หอ้ ย่ใู กลเ้ ปา้ หมายมากท่ีสดุ

ประการท่ี 7 เครอ่ื งมือการจดั การคณุ ภาพโดยรวม

หากตอ้ งการใหก้ ารมอบอานาจใหพ้ นกั งานและการ
ประยกุ ตใ์ ชว้ ิธีการจดั การคณุ ภาพโดยรวมเป็นผลสาเรจ็ ได้
อย่างต่อเน่ือง ทกุ คนในองคก์ รจะตอ้ งไดร้ บั การฝึกอบรมการ
ใชเ้ ทคนิคการจดั การดงั กลา่ ว

หวั หนา้ ครบั ผมวา่ เครอ่ื งมือการจดั การคณุ ภาพ
โดยรวม ยงั มีเครอ่ื งมือและเทคนิคการจดั การ
คณุ ภาพท่ีสาคญั ประกอบอีก 7 อยา่ ง คอื

1. ใบตรวจสอบ เป็นแบบฟอรม์ สาหรบั การเก็บ
รวบรวมขอ้ มลู ทาใหส้ ามารถมองเห็นภาพของขอ้ มลู
ไดช้ ดั เจนย่งิ ขนึ้ เพ่ือนามาใชป้ ระโยชนใ์ นการวิเคราะห์

2.แผนภาพการกระจาย เป็นแผนภาพท่ีแสดงความสมั พนั ธ์
ระหว่าง 2 ตวั แปร ถา้ ตวั แปรทง้ั 2 ตวั มคี วามสมั พนั ธ์
ระดบั สงู ตาแหน่งของขอ้ มลู จะมลี กั ษณะรวมกนั เป็นแนว
เสน้ หากขอ้ มลู กระจายตวั ไมเ่ ป็นระเบยี บ แสดงใหเ้ ห็นว่าตวั
แปรทง้ั สองไมม่ ีความสมั พนั ธร์ ะหว่างกนั

3 แผนภาพแสดงเหตแุ ละผล เป็นเคร่อื งมอื สาหรบั ระบุ
ประเดน็ ท่ีเก่ียวกบั คณุ ภาพและการตรวจสอบ สว่ นใหญ่นิยม
ใชก้ บั การวิเคราะหห์ ารากเหงา้ ของปัญหา แผนภาพนีเ้ รยี ก
อีกอยา่ งวา่ ไดอะแกรม Ishikawa หรอื ผงั กา้ งปลา

4.แผนภมู พิ าเรโต เป็นวธิ ีการเรยี บเรยี งขอ้ ผดิ พลาดหรอื
ขอ้ บกพรอ่ งของการปฏิบตั ิการ ปัญหา หรอื ของเสียในการผลติ
เพ่ือนาไปสคู่ วามพยายามในการแกป้ ัญหา

หลกั การของพาเรโตนนั้ ใชห้ ลกั 20/80 สว่ นนอ้ ย 20 % จะ
เป็นสว่ นสาคญั อีก 80 % จะเป็นสว่ นไมค่ ่อยสาคญั เช่น มปี ัญหา
อยู่ 20 % เทา่ นนั้ ท่ีสรา้ งความเสียหายสว่ นใหญ่ใหก้ ับกิจการ จงึ
ตอ้ งแกต้ รงนนั้ ก่อน

5.แผนภมู กิ ารไหล เป็นการแสดงกระบวนการหรอื ระบบโดย
ใชส้ ญั ลกั ษณส์ เ่ี หล่ยี ม และเสน้ ลกู ศร แผนภมู ปิ ระเภทนีเ้ ป็น
เครอ่ื งมือท่ีง่าย แตม่ ีความสาคญั ในการสรา้ งความเขา้ ใจใน
กระบวนการ หรอื การทางานของกระบวนการตา่ งๆ

6.ฮิสโตแกรม เป็นเคร่อื งมอื สาหรบั แสดงช่วงคา่ ในการวดั
ค่าความถ่ีของคณุ คา่ ท่ีเกิดขนึ้ รวมทงั้ ความ แปรปรวนของขอ้ มลู
ท่ีเกิดขนึ้ โดยใชห้ ลกั การทาง สถิติในเรอ่ื งของการกระจายตวั

7.การควบคมุ ดว้ ยกระบวนการทางสถิติ เป็นการควบคมุ ใหเ้ ป็น
มาตรฐานดว้ ยการตรวจสอบอย่างสม่าเสมอ ทาการวดั และ
แกไ้ ขขณะท่ีผลติ ภณั ฑห์ รอื บรกิ ารกาลงั อยใู่ นระหว่างการผลติ

ถกู ตอ้ งครบั คณุ มินยนุ กิ เรอ่ื งการจดั การคณุ ภาพยงั ไม่
หมดเพียงเท่านีน้ ะครบั ยงั มีการตรวจสอบคณุ ภาพ ครบั
บทบาทของการตรวจสอบคณุ ภาพ
เป็นการสรา้ งความม่นั ใจไดว้ ่า ระบบการผลิตมีคณุ ภาพ
ในระดบั ท่ีตอ้ งการ ตอ้ งมีการควบคมุ กระบวนการการ
ผลติ เพ่ือตรวจสอบวา่ ระบบเป็นไปตามมาตรฐานท่ี
กาหนดไวห้ รอื ไม่ มีเปา้ หมายเพ่ือใหส้ ามารถคน้ พบกระบวนการผลิตท่ีไม่มี
คณุ ภาพโดยทนั ที ประเดน็ พืน้ ฐานท่ีมีความสมั พนั ธก์ บั การ ตรวจสอบ 2 ประการ
ไดแ้ ก่ จะตรวจเม่ือไรและท่ีไหน การตรวจสอบท่ีแหลง่

ครบั จะตรวจเม่ือไหรแ่ ละท่ีไหน เป็นการตรวจสอบท่ี
ขนึ้ อยกู่ บั รูปแบบของ กระบวนการผลิตและมลู ค่าท่ี
เพ่ิมขนึ้ ในแตล่ ะขนั้ ตอน ใชไ่ หมครบั หวั หนา้

ครบั ขนั้ ตอนก็จะมี ดงั นีค้ รบั
1.ท่ีโรงงานของผจู้ ดั หาวตั ถดุ ิบขณะท่ีทาการผลติ
2. ท่ีโรงงานตนเองเม่ือไดร้ บั สินคา้ จากผจู้ ดั หาวตั ถดุ ิบ
3. ก่อนเรม่ิ กระบวนการผลิต
4. ระหวา่ งกระบวนการผลิตทกุ ขนั้ ตอน
5. เม่ือการผลติ สินคา้ หรอื บรกิ ารเสรจ็ สมบรู ณ์
6. ก่อนการสง่ มอบ
7. จดุ ท่ีติดต่อกบั ลกู คา้
แลว้ การตรวจสอบท่ีแหลง่ คอื อะไรครบั คณุ คิมนมั จนุ

การตรวจสอบท่ีแหลง่ เป็นการตรวจสอบท่ีใหพ้ นกั งาน
สามารถตรวจสอบงานของตนไดด้ ว้ ย ตนเอง กลา่ วคือ
ผจู้ ดั หาวตั ถดุ ิบแตล่ ะราย สามารถตรวจสอบกระบวนการผลิต
ในทกุ ขนั้ ตอนเพ่ือใหแ้ นใ่ จในคณุ ภาพของผลิตภณั ฑ์ สาหรบั
จดั ส่งไปยงั ลกู คา้ การตรวจสอบรูปแบบนีอ้ าจใชแ้ บบ
ตรวจสอบรายการ (Checklist)

ถกู ตอ้ งครบั แสดงวา่ ตอนนีท้ กุ คนได้ เขา้ ใจ
เก่ียวกบั การจดั การคณุ ภาพ ไดค้ วามรู้
เก่ียวกบั การจดั การคณุ ภาพในเรอ่ื งใดบา้ งครบั

พวกผมไดเ้ ขา้ ใจเก่ียวกบั การจดั การคณุ ภาพมากขนึ้ เลยครบั หวั หนา้
1. ความหมายของ การจดั การคณุ ภาพ
2. การปรบั คณุ ภาพ
3. การจดั การคณุ ภาพโดยรวม
4.เครอ่ื งมือและเทคนิคการจดั การคณุ ภาพ ทงั้ 7 อย่าง
5. การตรวจสอบคณุ ภาพ

7บทท่ี การออกแบบงานและชวี อนามยั
สิ่งแวดล้อมในการปฏบิ ตั งิ าน

กลยุทธ์ทางด้าน การวางแผนด้าน

ทรัพยากรมนุษย์ แรงงาน

CONTENT

จริยธรรมและ การออกแบบงาน
สภาพแวดล้อมใน

การทางาน

นายสุรศักด์ิ สังข์ขาว 050 จง.

มาร์ค : HI แบมแบม ! ผมอยากทราบข้อมูลท่ีเก่ียวกับการ
ออกแบบงานและ ชีวอนามยั ส่ิงแวดลอ้ มในการปฏิบตั ิงาน
คุณพอจะมีเวลาอธิบายใหผ้ มไดไ้ หม ?

แบมแบม : ไดค้ รับพมี่ าร์ค อยา่ งแรกเลยเราตอ้ งทราบ
องคป์ ระกอบของสาคญั ของงานวา่ มีอะไรบา้ ง องคป์ ระกอบท่ี
สาคญั ของงานประกอบไปดว้ ย คน หรือ ทรัพยากรมนุษย์ การท่ี
จะออกแบบงานไดส้ าเร็จ ตอ้ งมีการวางแผนดา้ นกาลงั คนท่ีมี
ประสิทธิภาพ โดยสิ่งสาคญั ท่ีตอ้ งจดั ทา คือ
- กลยทุ ธ์ทางดา้ นทรัพยากรมนุษย์
- การวางแผนดา้ นแรงงาน

มาร์ค : แลว้ สิ่งสาคญั ท่วี า่ ท่ีมีท้งั กลยทุ ธท์ างดา้ นทรัพยากร
มนุษยแ์ ละการวางแผนดา้ นแรงงาน คืออะไรครับ ?

แบมแบม : ในเร่ืองกลยทุ ธ์ทางดา้ นทรัพยากรมนุษย์ ก่อนอื่นพ่ีมาร์คตอ้ ง
ทราบก่อนครับวา่ วตั ถุประสงคข์ องเรื่องน้ีเพ่ืออะไร และวตั ถุประสงคก์ ็
เพื่อการจดั การแรงงานและออกแบบงานใหพ้ นกั งานสามารถทางานได้
อยา่ งมีประสิทธิภาพ และมีหลกั การดงั น้ี
- การบริหารจดั การแรงงานใหเ้ กิดประสิทธิภาพ
- การสร้างคุณภาพชีวติ ในการทางาน โดยมีบรรยากาศของความร่วมมือ
และความไวว้ างใจต่อกนั
แบมแบม : ในเร่ืองกลยทุ ธท์ างดา้ นทรพั ยากรมนุษย์ ก่อนอื่นพี่มาร์คตอ้ ง
ทราบก่อนครับวา่ วตั ถปุ ระสงคข์ องเร่ืองน้ีเพอื่ อะไร และวตั ถปุ ระสงคก์ ็
เพอ่ื การจดั การแรงงานและออกแบบงานใหพ้ นกั งานสามารถทางานได้
อยา่ งมีประสิทธิภาพ และมีหลกั การดงั น้ี
แ-บกมารแบบรมิห:าสร่จวดนั กกาารรแวรางงแงาผนนใดหา้ เ้นกแิดรปงรงะาสนิทกธาิภราตพดั สินใจเก่ียวกบั นโยบาย
แ-รกงางราสนรต้าา่ งงคๆุณมภีสา่วพนชทีวติ่ีเกใ่ียนวกขาอ้ รงทไาดงแ้ากน่ โดยมีบรรยากาศของความร่วมมือ
-แคลวะาคมวมาน่ัมคไวงวใ้ นางกใาจรตทอ่ ากงนัาน (EMPLOYMENT STABILITY)
- การจดั ตารางการทางาน (WORK SCHEDULES)
- กฎระเบียบของงาน (WORK RULES)

มาร์ค : แลว้ แบมแบมพอทราบไหมครับ วา่ ความหมายจริง ๆ ของการ
วางแผนคืออะไรครับ แลว้ มีองค์ประกอบของการวางแผนบา้ งไหม
ครับ ?

แบมแบม : ไดค้ รับ เดี๋ยวผมจะอธิบายใหฟ้ ัง ความหมายของ การออกแบบ
งาน คือ การกาหนดภาระหนา้ ท่ีการทางานสาหรับการทางานส่วนบุคคล
หรือการทางานร่วมกนั เป็ นทีม ส่วนองคป์ ระกอบมี 7 องคป์ ระกอบครับ
คือ การทางานเฉพาะดา้ น , การขยายงาน , องค์ประกอบดา้ นจิตวิทยา ,
ทีมนาตนเอง , การจูงใจและระบบแรงจูงใจ , หลกั การยศาสตร์และวธิ ีการ
ทางาน , การส่ือสารการทางานดว้ ยภาพ เด๋ียวผมจะอธิบายอย่างละเอียด
ใหด้ งั น้ีนะครับ

1. การทางานเฉพาะด้าน (LABOR SPECIALIZATION) แนวคิด Adam Smith นกั เศรษฐศาสตร์ใน
ศตวรรษที่ 18 เพอ่ื ลดตน้ ทุนดว้ ยวิธีต่างๆดงั น้ี
1. พฒั นาความชานาญในการทางานของพนกั งาน และความรวดเร็วในการเรียนรู้งาน
2. ลดเวลาสูญเสีย เนื่องจากพนกั งานไมต่ อ้ งมีการเปลี่ยนแปลง การทางาน
3. พฒั นาดา้ นการใชเ้ คร่ืองมือเฉพาะ เพื่อลดการลงทุนดา้ น เคร่ื องมือและอุปกรณ์ การออกแบบ
งาน

2. การขยายงาน (JOB EXPANSION)
1. การขยายขอบเขตงาน (Job enlargement) คือ การจดั ภาระงานท่ีมีทกั ษะการทางานเหมือนหรือ
คลา้ ยกนั เพิม่ เติมจากท่ีมีอยู่
2. การหมุนเวียนหน้าท่ีงาน (Job rotation) คือ การอนุญาติให้พนกั งานที่มีความชานาญเฉพาะดา้ น
สามารถยา้ ยไปทางานในหนา้ ท่ีอื่นได้
3. การเพิ่มความสาคญั ของงาน (Job enrichment) คือ การ เพิ่มความรับผิดชอบในการทางานให้
พนกั งาน รวมถึงการ วางแผนและควบคุมงานใหส้ าเร็จลลุ ่วง

3. 4. การมอบอานาจใหพ้ นกั งาน (Employee empowerment) ตอ่ ยอดมาจากการเพ่ิม
ความสาคญั ของงาน โดยเพิม่ ความรับผิดชอบและอานาจในการตดั สินใจใหก้ บั พนกั งาน

3. องค์ประกอบด้านจิตวิทยา (Psychological components of
job design) “มุ่งเน้นในเร่ืองการออกแบบงานให้สอดคลอ้ ง
กับความตอ้ งการพ้ืนฐานทางด้านจิตวิทยา” การศึกษาของ
HAWTHORNE ได้ศึกษาทางด้านจิตวิทยาในโรงงานผลิต
ไฟฟ้าใกลเ้ มือง Chicago ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยแสดงให้
เห็นถึง ระบบสังคมแบบพลวตั ในสถานท่ีทางาน ผลที่ได้
พบว่า ความแตกต่างกันของพนักงานเป็ นส่ิงสาคญั ท่ีทาให้
พนกั งานมีความคาดหวงั และความคิดในรูปแบบการทางานที่
แตกต่างกนั

4. ทมี นาตนเอง (SELF – DIRECTED TEAMS) การใชท้ ีม
หรือวธิ ีอื่นๆ เพือ่ การขยายงานใหส้ าเร็จตามเป้าหมาย ซ่ึงขอ้ ดี
คือ
- ช่วยในเร่ืองของการปรับปรุงคุณภาพชีวติ การทางาน
- สร้างความพงึ พอใจในการทางาน
- ช่วยสร้างแรงจูงใจกระตุน้ ใหพ้ นกั งานทางานเสร็จลุล่วงตาม
วตั ถปุ ระสงคท์ ี่ไดก้ าหนดไว้

5. การจูงใจและระบบแรงจูงใจ (MOTIVATION AND INCENTIVE SYSTEMS)
ปัจจยั ท่ีสาคญั ในการสร้างแรงจูงใจแก่พนกั งานคือ คือ ปัจจยั ทางดา้ นการเงิน ซ่ึงเป็นส่ิง
ที่ตอบสนองทางดา้ นจิตวทิ ยาไดด้ ี รูปแบบของ เงินรางวลั เช่น
- โบนสั (Bonus) โดยทวั่ ไปหมายถึง เงินรางวลั ที่มอบใหแ้ ก่ระดบั ผบู้ ริหารในรูปแบบ
ของเงินสด หรือ หุน้
- การไดร้ ับส่วนแบ่งในผลกาไร (Profit sharing) เป็นระบบการแบง่ สัดส่วนของผล
กาไรใหก้ บั พนกั งาน
- การมีส่วนร่วม (Gain sharing) เป็นระบบการใหร้ างวลั แกพ่ นกั งานทีม่ ีส่วนร่วมในการ
ปรับปรุงพฒั นาองคก์ ร

6. หลักการยศาสตร์และวิธีการทางาน (ERGONOMICS AND WORK METHOD
Frederick W. Taylor ศึกษาเรื่องการคดั เลือกสรรหาบุคลากร วิธีการทางาน มาตราฐาน
แรงงาน และส่ิงจูงใจในการทางาน ทาให้เกิดการพฒั นาความรู้ดา้ นขีดความสามารถ
และขอ้ จากดั ของพนกั งานซ่ึงมีความสาคญั สาหรับการออกแบบการทางาน หลกั การย
ศาสตร์ คือ การศึกษาการทางานในดา้ นปัจจยั ต่างๆท่ีเกี่ยวกบั มนุษยเ์ พื่อปรับปรุงการ
ทางานของมนุษยใ์ หด้ ีข้ึน

7. การวเิ คราะห์วธิ ีการทางาน (Method Analysis) หมายถงึ วิธีการท่ีมีการพฒั นา
และ ปรับปรุงกระบวนการการทางานอยา่ งตอ่ เนื่อง วิเคราะหว์ ธิ ีการทางาน มดี งั น้ี
1.การใชแ้ ผนภาพการไหล (Flow diagrams) และแผนภมู ิกระบวนการ (Process
charts) 2.การใชแ้ ผนภมู ิกิจการ (Activity charts) สาหรับการวเิ คราะหก์ ิจกรรมของ
คน และเครื่องจกั ร
3.การใชแ้ ผนภมู ิ Micro-motion เพื่อวิเคราะหก์ าร

มาร์ค : ขอบคุณมากครับ อธิบายไดเ้ ขา้ ใจง่ายมาก ๆ ครับ ผมอยาก
ทราบเพมิ่ เติมครับวา่ การออกแบบงาน มีสญั ลกั ษณ์ของการปฏิบตั ิงาน
บา้ งไหมครับ ? เพอ่ื การทางานท่ีสะดวกรวดเร็วข้ึนครับ

แบมแบม : มีครับ เด๋ียวผมจะอธิบายใหน้ ะครบั

แบมแบม : สัญลกั ษณ์เขา้ ใจไดง้ ่าย ๆ ตามน้ีครบั

มาร์ค : ครับ แลว้ ประเด็นสุดทา้ ยท่ีวา่ จริยธรรมและสภาพแวดลอ้ มในการ
ทางาน พนกั งานงานหรือคนที่เป็นแรงงานมีสิทธิอยา่ งไรบา้ งครับ ?

แบมแบม : จริยธรรมและส่ิงแวดลอ้ ม การท่ีพนกั งานจะไดร้ ับมีดงั น้ีครับ

1. พนักงานควรท่ีจะไดร้ ับการปฏิบตั ิอย่างยุติธรรมและไดร้ ับโอกาสท่ี
เท่าเทียมกนั

2. ค่าจา้ งในระดบั เดียวกนั สาหรับงานที่หนา้ ท่ีใกลเ้ คียงกนั ภายใตส้ ภาพ
การทางานที่ปลอดภยั

3. งานบางประเภทอาจอนั ตราย จึงเป็ นหน้าท่ีของผูบ้ ริหารในการให้
ความรู้แก่พนกั งานในเรื่องเคร่ืองมืออุปกรณ์ป้องกนั ขอ้ ปฏิบตั ิในการ
ทางาน พร้อมท้งั บงั คบั ใหเ้ กิดการปฏิบตั ิอยา่ งเคร่งครัด

4. มาตรฐานแรงงาน หมายถึง เวลาท่ีจาเป็นตอ้ งใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน แต่
ละบริษทั จะมี มาตรฐานแรงงานท่ีแตกต่างกัน ดังน้ันในการจดั ทา
มาตรฐานแรงงาน ผบู้ ริหารตอ้ งมีความรู้ความเขา้ ใจในเรื่องของความ
ตอ้ งการแรงงาน ตน้ ทนุ แรงงาน และวนั ทางานของพนกั งาน

แบมแบม : บทสรุปกบั เรื่องการออกแบบงานและชีวอนามยั ส่ิงแวดลอ้ ม
ในการปฏิบตั ิงาน

บริษทั ช้ันนาหลายบริษทั ต่างให้ความสาคญั ในเรื่องกลยุทธ์การ
จัดการทรัพยากรมนุษย์ท่ีมีประสิทธิภาพ ผู้จัดการฝ่ ายปฏิบัติการมี
บทบาทสาคญั การสร้างสภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมมีผลทาให้เกิดความ
ร่วมมือร่วมใจระหวา่ งพนกั งาน และการมีคุณภาพชีวติ การทางานท่ีดีข้ึน

องค์การช้ันนาต่างๆ มีการออกแบบงานท่ีดึงความสามารถ
ทางด้านกายภาพและจิตใจของพนักงานออกมาได้ ความชานาญของ
ทรัพยากรมนุษยท์ ่ีองคก์ รสามารถสร้างข้ึนหรือบริหารจดั การจะเป็ นตวั
ตดั สินความสาเร็จใหก้ บั องคก์ ร

พี่มาร์คพอเขา้ ใจไหมครับ ?

มาร์ค : เขา้ ใจข้ึนมาก ๆ เลยครับ ผมไดค้ วามรู้และไดข้ อ้ มลู จากการอธิบาย
ของแบมแบมเพิ่มข้ึนมาก ๆ ครับ เขา้ ใจงา่ ยและอธิบายละเอียด ขอบคุณ
อีกคร้ังครับ

น.ส.พรี ดา ทองตรา 054

บทที่ 8 การจดั การ
สนิ คา้ คงคลงั

ชาอึน : สวสั ดีครับอาจารย์ ผมอยากทราบเกี่ยวกบั
การจดั การสินคา้ คงคลงั ครับ

อาจารยจ์ งซอก : ไดค้ รับนกั ศึกษา ก่อนอื่นเราตอ้ งรู้ก่อน
นะครับว่าอะไรคือสินค้าคงคลัง น้ันก็คือวสั ดุต่างๆ ที่
ธุรกิจหรื อองค์กรจัดหามาถือครองไว้เพื่อขายหรื อ
จดั เตรียมไวเ้ พื่อป้อนเขา้ หรือจดั ส่งเขา้ สู่กระบวนการผลิต
ครับ

ชาอึน : แลว้ การบริหารสินคา้ คงคลงั อะไรคืออะไรครับ ?

อาจารยจ์ งซอก : จุดประสงคข์ องการบริหารสินคา้ คงคลงั คือ การ
แทนที่สินทรัพยท์ ี่มีราคาแพงท่ีเรียกวา่ สินคา้ คงคลงั ดว้ ยสินทรัพยท์ ่ี
มีราคาถูกกวา่ ที่เรียกวา่ สารสนเทศ และการที่จะบรรลุจุดประสงคน์ ้ี
ได้ สารสนเทศจะตอ้ งเป็นไปอยา่ งทนั เวลา แม่นยา เชื่อถือได้ และมี
ความสอดคลอ้ งกนั ครับ

ชาอึน : ทาไมจึงตอ้ งบริหารสินคา้ คงคลงั
ครับ?

อาจารยจ์ งซอก : การบริหารสินคา้ คงคลงั กเ็ พื่อ …..
1.เพอ่ื ใหก้ ารบริการลูกคา้ อยใู่ นระดบั ท่ีดีท่ีสุด
2.เพอ่ื ใหเ้ กิดประสิทธิภาพสูงสุดของการจดั ซ้ือ และการ
ผลิต
3.เพ่อื ลดระดบั การลงทุนในสินคา้ คงคลงั ใหน้ อ้ ยที่สุด
4.เพื่อสร้างผลกาไรสูงสุด

ชาอึน : แลว้ อย่างน้ีหน้าที่ของวสั ดุคงคลงั มีอะไรบา้ ง
ครับ อาจารยช์ ่วยอธิบายให้ผมหน่อยไดไ้ หมครับ

อาจารยจ์ งซอก : ไดค้ รับ เด้ียวอาจารยจ์ ะอธิบาย
หนา้ ที่ของวสั ดุคงคลงั ใหน้ กั ศึกษาเขา้ ใจนะครับ

⋆ หน้าที่ของวสั ดุคงคลงั

1. พสั ดุคงคลงั คาดหมาย (Anticipation Inventory) เป็นพสั ดุคงคลงั ที่ถูกกาหนดข้ึน

เพ่อื รองรับความตอ้ งการในอนาคต พสั ดุคงคลงั ดงั กล่าวน้ีสร้างข้ึนจากการ
พยากรณ์ความตอ้ งการที่จะเกิดข้ึนในอนาคต หลงั จากน้นั วางแผนจดั เตรียมพสั ดุคง
คลงั ไวใ้ หเ้ พยี งพอที่จะรองรับความตอ้ งการในอนาคต โดยคานึงถึงความประหยดั
ระดบั บริการลูกคา้ และเง่ือนไขขอ้ จากดั ต่างๆ

2. พสั ดุคงคลงั ตามขนาด (Lot Size Inventory) หลกั การพ้นื ฐานในการกาหนดขนาด

รุ่นการสัง่ จะพิจารณาจากขนาดหรือปริมาณการสง่ั ท่ีทาใหต้ น้ ทุนรวมท่ีเกิดจาก
ขอ้ ดีหรือขอ้ เสียในการส่ังซ้ือดว้ ยขนาดรุ่นดงั กล่าวต่าสุด การตดั สินใจเกี่ยวกบั การ
หาขนาดรุ่นของการสงั่ และเวลาในการออกใบสัง่ ซ้ือเป็นประเดน็ ท่ีสาคญั ในการ
เลือกวธิ ีการพิจารณาขนาดรุ่นและจงั หวะในการออกใบสั่งซ้ือ

3.พสั ดุคงคลงั เพอ่ื ความไม่แน่นอน (Fluctuation Inventory)
เป็ นกันชนระหว่างอุปสงค์และอุปทานในแต่ละข้ันตอนของการดาเนินธุรกิจ
นบั ต้งั แต่ การส่งมอบวตั ถุดิบจนกระทง่ั การส่งมอบสินคา้ ใหก้ บั ลูกคา้ โดยรองรับ
ความไม่แน่นอนของความต้องการ เป็ นกนั ชนระหว่างข้นั ตอนการผลิตต่างๆ
เพื่อให้การผลิตสามารถดาเนินไปไดอ้ ย่างต่อเนื่องและอิสระ แมจ้ ะมีปัญหาเกิด
ข้ึนกบั ข้นั ตอนก่อนหนา้ หรือข้นั ตอนถดั ไป
อุปสงค์ คือ ความต้องการซือ้ สินค้าของผ้บู ริโภค
อุปทาน คือ ปริมาณความต้องการเสนอขายสินค้า

4. พสั ดุคงคลงั ระหวา่ งการขนส่ง (Transportation Inventory)
พสั ดุคงคลงั ท่ีอยู่ระหว่างการเคล่ือนยา้ ยจากข้นั ตอนหน่ึงไปยงั อีกข้นั ตอน
หน่ึง ซ่ึงจะครอบคลุมถึงพสั ดุคงคลงั ทุกรายการท่ีอยใู่ นระหว่างการจดั ส่งจาก
คลงั สินคา้ ไปยงั ลูกคา้ รวมท้งั รายการพสั ดุต่างๆท่ีองค์กรกาลังจัดส่งจาก
โรงงานแห่งหน่ึงไปยงั ที่อื่นๆ

ตน้ ทุนพสั ดุคงคลงั ระหว่างการขนส่งมกั ถูกมองขา้ ม ซ่ึงจะ
ประกอบดว้ ยเงินทุนของพสั ดุ ค่าเสียหายและค่าเสื่อมที่เกิดข้ึนระหวา่ งขนส่ง
ค่าประกนั ภาษี การสูญหาย และการขนส่ง ดงั น้นั การสั่งสินคา้ คงคลงั เขา้ มา
จึงตอ้ งวเิ คราะหต์ น้ ทุนใหต้ ่า

ชาอนึ : แล้วอย่างนีม้ กี ารสั่งสินค้าคงคลงั ให้ต้นทุนตา่ และ
ถา้ ผลิตจะตอ้ งผลิตใหม้ ีความเหมาะสม มีวธิ ีการยงั ไงบา้ ง
ครับ

อาจารยจ์ งซอก : เป็นคาถามที่ดีมากครับ เด้ียวอาจารยจ์ ะอธิบาย
และยกตวั อยา่ งใหน้ กั ศึกษาไดเ้ ขา้ ใจยง่ิ ข้ึนไปอีกนะครับ

วธิ ีการสง่ั สินคา้ คงคลงั ใหต้ น้ ทุนต่า และถา้ ผลิตจะตอ้ งผลิตใหม้ ี
ความเหมาะสม ดงั น้ี
1. การหาปริมาณสง่ั ซ้ือท่ีเหมาะสม (Economic Order Quantity:
EOQ)
2. การหาปริมาณการสงั่ ซ้ือท่ีเหมาะสมในกรณีลด
ราคา (Quantity Discounts)
3. การหาปริมาณการผลิตท่ีเหมาะสม (Appropriate Production
Quantity)

การตดั สินใจข้นั พ้ืนฐานเก่ียวกบั การสง่ั พสั ดุคงคลงั
1. จะสั่งพสั ดุแต่ละรายการจานวนเท่าไหร่ดี ในแต่ละคร้ังทอี่ อก

ใบสั่ง ?
2. แล้วจะออกใบส่ังพสั ดุน้ันเม่ือไหร่ ?

การตดั สินใจข้นั พ้ืนฐานเก่ียวกบั พสั ดุคงคลงั

การหาปริมาณสง่ั ซ้ือท่ีเหมาะสม (Economic Order Quantity: EOQ )
1. การหาปริมาณสงั่ ซ้ือที่เหมาะสม (Economic Order Quantity: EOQ)
เป็ นแบบจาลองที่นามาใช้เพ่ือหาปริมาณส่ังซ้ือท่ีเหมาะสม คือ ตน้ ทุนการ
ส่ังซ้ือ ตน้ ทุนการจดั เก็บรักษา ตน้ ทุนสินคา้ ขาดมือ ให้อยู่ในระดบั
ต่า โดยมากจะคิดเป็นต่อหน่ึงปี การนาแบบจาลอง EOQ ควรจะทราบขอ้ มูล
เบ้ืองตน้ ดงั น้ี

1. คิดจากสินคา้ 1 รายการ
2. มีขอ้ มูลการใชต้ ่อปี
3. อตั ราการใชค้ งท่ีตลอดปี
4. ช่วงเวลาก่อนสินคา้ มาถึง (Lead time) คงที่ทุกคร้ังที่สง่ั
5. ไม่คิดหรือไม่รับส่วนลดปริมาณสินคา้

ตวั แปรท่ีใชค้ านวณ
D = ความต้องการต่อปี ของพสั ดุหน่ึงรายการ (หน่วย/ปี )
Q = ปริมาณการส่ังพสั ดุเมื่อถงึ จุดสั่งในแต่ละคร้ัง (หน่วย/คร้ัง)
P = ต้นทุนในการสั่งซื้อสินค้า (บาท/คร้ัง)
C = ราคาต่อหน่วยของพสั ดุ (บาท)
h = ต้นทุนรวมในการถือครองพสั ดุ (เปอร์เซนต์/ปี )
H = ต้นทุนรวมในการถือครองพสั ดุ (บาท/หน่วย/ปี ) = h x C

EOQ : กรณีสง่ั ซ้ือ : ไม่ยอมใหพ้ สั ดุคงคลงั ขาดแคลน
โดยอยภู่ ายใตเ้ งื่อนไขดงั ต่อไปน้ี
1.สามารถประมาณคา่ ความตอ้ งการต่อปี ตน้ ทุนการถือครอง
และตน้ ทุนในการสง่ั วสั ดุแต่ละรายการได้
2.เป็นระดบั พสั ดุคงคลงั เฉล่ียสาหรับวสั ดุแต่ละรายการ
3.ไม่มีการขาดสต๊อก ไม่มีค่าใชจ้ ่ายอื่นตามมา
4.ไม่มีส่วนลดราคา

EOQ : กรณีสงั่ ซ้ือ : ไม่ยอมใหพ้ สั ดุคงคลงั ขาดแคลน

การพิจารณาการคานวณตน้ ทุนที่เก่ียวกบั การควบคุมพสั ดุคงคลงั ดงั น้ี
ตน้ ทุนรายปี = CD บาท

ตน้ ทุนการถือครองพสั ดุคงคลงั ต่อปี =  Q H บาท
2
ตน้ ทุนในการสง่ั ซ้ือต่อปี
=  D P บาท
Q
ตน้ ทุนรวมการควมคุมพสั ดุคงคลงั ต่อปี

TC =  D P +  Q H
Q  2 

EOQ : กรณีสง่ั ซ้ือ : ไม่ยอมใหพ้ สั ดุคงคลงั ขาดแคลน

ปริมาณการสง่ั ผลิตที่ประหยดั (Economic Order Quantity,
EOQ)

Q0 = 2DP
H

Q0 = ปริมาณการสง่ั ผลิตที่ประหยดั

ตน้ ทุนการควบคุมพสั ดุคงคลงั ต่าท่ีสุด

TC0 = 2PDH

รอบเวลาในการสง่ั ท่ีประหยดั ต่อปี

T0 = Q0 = 2P
D HD

ตวั อยา่ ง

บริษทั เอเชีย ป้ัมน้า จากดั ผผู้ ลิตป้ัมน้าสาหรับใชต้ ามบา้ นพกั อาศยั ไดส้ ตอ๊ กมอเตอร์เพื่อใชก้ บั การ
ผลิตป้ัมน้าของบริษทั และจาหน่ายใหร้ ้านคา้ ปลีกและคา้ ส่งทวั่ ประเทศไทยจานวนนบั พนั รายการ
ผจู้ ดั การทวั่ ไปของบริษทั สามารถจะประหยดั เงินในแต่ละปี ไดเ้ ท่าไร หากใช้ EOQ ในการสงั่ ซ้ือ
มอเตอร์แทนการใชป้ ระสบการณ์ของบริษทั ดงั เช่นในปัจจุบนั ผจู้ ดั การทว่ั ไปจึงสงั่ ใหผ้ จู้ ดั การฝ่ าย
วสั ดุทดลองวเิ คราะห์มอเตอร์ #234 เพียงรายการเดียว เพ่ือดูวา่ ผลจากการใช้ EOQ จะสามารถ
ประหยดั ไดอ้ ยา่ งมีนยั สาคญั หรือไม่ ผจู้ ดั การฝ่ ายวสั ดุไดท้ าการรวบรวมขอ้ มูลไดด้ งั น้ี

ความตอ้ งการต่อปี = 800 หน่วยต่อปี

คา่ ใชจ้ ่ายในการถือครอง = 25% ต่อปี

ราคามอเตอร์ต่อหน่วย = 300 บาท

ตน้ ทุนในการสงั่ ซ้ือต่อคร้ัง = 500 บาทต่อคร้ัง

จานวนที่สง่ั ต่อคร้ังในปัจจุบนั = 200 หน่วย

วธิ ีหาคาตอบ

คานวณหาตน้ ทุนรวมการควบคุมพสั ดุคงคลงั ปัจจุบนั
 D P  Q H
TC = Q +  2 

=  800500  + 200 (0.25)(300)

= 9,502000บาท 2

คานวณหา EOQ

Q0 = 2DP = 2 (800) ( 500) = 103.3 103
H ( 0.25) (300)

วธิ ีหาคาตอบ

คานวณหาต้นทุนรวมการควบคุมพสั ดุคงคลงั ในปริมาณ Q0
 D P  Q H
TC = Q + 2
=  800500  + 103 (0.25)(300)

= 7,741603บาท 2

ดงั น้ันประหยดั ได้

9,500 - 7,746 = 1,754 บาท

คานวณหารอบเวลาการสงั่ ซ้ือท่ีประหยดั

T0 = Q0 = 2P
D HD

= 103 , 2  500
800
(0.25  300) 800

= 0.13 ปี , 6.76 สปั ดาห์ , 47 วนั

อาจารยจ์ งซอก : เป็นไงบา้ งครบั พอจะ
เขา้ ใจใชไ่ หมครบั วา่ บทท8่ี การจดั การสนิ คา้
คงคลงั ไมย่ ากอยา่ งทค่ี ดิ

ชาอนึ : เขา้ ใจแลว้ ครบั อกี อยา่ งไมย่ ากทค่ี ดิ เลยครบั
แคท่ าความเขา้ ใจกไ็ มย่ ากแลว้ ครบั ขอบคณุ ครบั

9อาจารย์
















Click to View FlipBook Version