The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pijaranaaom1144, 2021-11-04 05:37:04

สรุปบทเรียนวิชาการจัดการดำเนินงาน

บทที่1-9

Keywords: สรุปบทเรียน

สรปุ บทเรยี น วิชาการจัดการดำเนนิ งาน

เสนอ
อาจารยจ์ ริ าวรรณ จันทรส์ วุ รรณ

ผจู้ ดั ทำ

นายธนชนนิ ทร์ ประทุมวัลย์ 012

นางสาวรนิ รดา ประดบั ศรี 016

นางสาวสลลิ ทิพย์ สะชาพล 017

นางสาวกัณฐิกา แหละตี 035

นางสาวผจงชนก แซ่ลี้ 042

นายสุรศักดิ์ สังขข์ าว 050

นางสาวพิจารณา คำแดง 053

นางสาวพรี ดา ทองตรา 054

นายสราวุธ อ่อนมนนิ ทร์ 055

(กลุม่ เรียนท่ี 1)

รายงานฉบบั นี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การจดั การดำเนินงงาน รหัส 0531210
มหาลัยวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ยั วิทยาเขตสงขลา
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564

บทที่ ๅ

แนวคิดเบื้องต้น
เกี่ยวกับการ
บริหารการผลิต

นาย ธนชนินทร์ ประทุมวัลย์ 012 จง.

นิยามการจัดการ
การผลิตและการ
ปฏิบัติการ

- การผลิต (Production) การสร้างสินค้าและบริการ



- การจัดการการปฏิบัติการ (Operations
Management)
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการสร้างมูลค่าในรูปของสินค้า
และบริการ โดยอาศัยกระบวนการแปรรูปปัจจัยนำเข้า
เป็ นปั จจัยนำออก



- การบริหารการผลิต (Production Management)
เป็ นการวางแผนและการตัดสินใจเพื่ อการผลิตสินค้า

หน้าที่หลัก 3
ประการ
ของการจัด
องค์การเพื่อผลิต
สินค้าหรือบริการ

- ด้านการตลาด (Marketing)

เป็นการดำเนินการเพื่อตอบสนองต่ออุปสงค์ที่
เกิดขึ้นของลูกค้า

- ด้านการผลิต (Production) และการปฏิบัติการ
(Operation)

เป็นการแปรสภาพทรัพยากรการผลิต ให้ออกมา
เป็นสินค้าหรือบริการ

- ด้านการเงิน (Financing) และการบัญชี
(Accounting)

เป็นการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดหาเงินทุน การ
ใช้เงินทุน การรวบรวม วิเคราะห์ ตลอดจนการ
รายงานข้อมูลทางการเงิน

ความสำคัญ สินค้าและ
ของการบริหาร บริการ
การผลิต

1.เป็นหนึ่งในหน้าที่หลัก 3 ประการ คือ - สินค้า(Product) คือ วัสดุ อุปกรณ์
การผลิตและการปฏิบัติการ สิ่งของเครื่องใช้

2.ก่อให้เกิดการผลิตสินค้าหรือบริการ

3.ทำให้เกิดการเพิ่มผลผลิตที่สูงขึ้น - บริการ (Service) คือ ผู้ให้บริการหรือ
4.ใช้เป็นกลยุทธ์ขององค์การ ผู้ขายดำเนินการเพื่อประโยชน์ หรือความ
สะดวกสบายให้แก่ผู้รับบริการหรือผู้ซื้อ

5.การบริหารการผลิตที่ดีจะทำให้องค์การ

ลดต้นทุนลงได้ ส่งผลให้มีกำไรสูงขึ้น

สินค้า ความแตกต่าง บริการ
ระหว่างสินค้า
และบริการ
1. สามารถนำมาขายซ้ำได้
1. ถ้าการบริการผิด
2. สามารถผลิตแล้วเก็บเป็นสินค้าคง
พลาด ยากที่จะแก้ไข
เหลือได้
2. ไม่สามารถผลิตแล้วเก็บไว้ในคลัง
3. สามารถวัดลักษณะคุณภาพบางอย่าง
ได้ สินค้าได้
3. วัดด้านคุณภาพได้ยาก
4. จะต้องมีการผลิตไว้เพื่อขาย
4. จะมีการขายเป็นส่วนประกอบด้วย
5. สามารถขนส่งได้
5. ไม่มีการขนส่งเพราะไม่มีตัวตน
6. ต้องมีสถานที่ผลิต ซึ่งมีความสำคัญ
6. เป็นการให้ความสะดวกแก่ลูกค้าและ
ต่อต้นทุน
อาจไม่ต้องใช้สถานที่ก็ได้
7. ง่ายต่อการผลิตแบบอัตโนมัติ
7. เป็นสิ่งที่ยากที่จะทำแบบอัตโนมัติ
8. รายได้เกิดจากการขายผลิตภัณฑ์ที่มี
8. รายได้เกิดจากผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีตัวตน
ตัวตน

ประเภทของการผลิต

การผลิตแบบต่อเนื่อง

การผลิตตามคำสั่งซื้อ





















บทท่ี 3

การวางแผนกาลงั การผลิต

นางสาวรนิ รดา ประดบั ศรี จง. 016

สวสั ดีครบั ผมขอทราบรายละเอียดเก่ยี วกบั
การวางแผนกาลงั การผลิตหนอ่ ยไดไ้ หมครบั ?

สวสั ดีครบั กอ่ นอ่ืนเลยคณุ ตอ้ งทราบก่อนว่า
การวางแผนกาลงั การผลิตเป็ นการวางแผน
เพื่อจดั เตรยี มกาลงั การผลิตระยะยาวของ
กระบวนการการผลิต เพื่อตอบสนองความ

ตอ้ งการท่ีพยากรณไ์ วค้ รบั

แลว้ กาลงั การผลิตมีผลต่อตน้ ทนุ บริษทั
ไหมครบั ?

มีผลต่อตน้ ทนุ บริษทั แน่นอนครบั
เพราะการผลิตหากมีมากกว่าความตอ้ งการ
ของลกู คา้ กจ็ ะทาใหพ้ นกั งานและเครอื่ งจกั ร
ว่างงาน ซ่ึงกจ็ ะทาใหต้ น้ ทนุ ต่อหน่วยมีค่า

สงู ข้ึนครบั

ถา้ หากความตอ้ งการของลกู คา้ มีมากกว่า
กาลงั การผลติ จะเกดิ อะไรข้ึนเหรอครบั ?

หากความตอ้ งการของลกู คา้ มีมากกว่า
กาลงั การผลิตก็จะทาใหเ้ กดิ การสญู เสยี

สว่ นแบ่งทางการตลาดไดค้ รบั

การประมาณการกาลงั การผลิตที่ตอ้ งการ
มีสตู รในการคิดยงั ไงครบั ?

เด๋ียวผมจะอธิบายพรอ้ มยกตวั อยา่ ง
เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจยงิ่ ข้ึนนะครบั

M = จานวนเครอื่ งจกั รท่ีตอ้ งการ
D = จานวนสนิ คา้ ที่คาดการณต์ ่อปี (Unit)
P = จานวนชว่ั โมงที่ใชใ้ นการผลิต (Hour/Unit)

N = จานวนชวั่ โมงที่ใชใ้ นการผลิตต่อปี (Hour)
C = ( % )การป้ องกนั กาลงั การผลิตท่ีกาหนด


=
[1 − ]
100

จากขอ้ มลู ต่อไปน้ี จงหาจานวนเครอื่ งจกั รที่จาเป็ นตอ้ งใช้

ความตอ้ งการในแต่ละปี = 1,200 หน่วย
ขนาดเฉลี่ยของการผลิตแต่ละครง้ั = 100 หนว่ ย

การพยากรณค์ วามตอ้ งการต่อปี (ชดุ ) ลกู คา้ X ลกู คา้ Y
มาตรฐานการดาเนินงาน (ชวั่ โมง/ชดุ )
ขนาดการผลิตมาตฐาน (ชดุ /รายงาน) 2,000 6,000
มาตรฐานการปรบั ตง้ั (ชว่ั โมง) 0.5 0.7
20 30
0.25 0.40

ผมเรมิ่ จะเขา้ ใจแลว้ ครบั แลว้ การตดั สินใจ
ในการจดั การกาลงั การผลิต การผลิตเอง

กบั จา้ งผลติ แตกต่างกนั ยงั ไงครบั ?

การซ้ือหรอื จา้ งผลติ แตกต่างกนั โดยส้ินเชิงครบั
การจา้ งผลิตจะมีความไดเ้ ปรยี บเรอ่ื งราคา,กาลงั

การผลิตมีจากดั แต่ไม่มีความรคู้ วามชานาญ

แลว้ การผลติ เองละครบั ?

สว่ นการผลิตเอง กจ็ ะสามารถป้ องกนั การ
ลอกเลยี นแบบ,ไม่มีค่คู า้ ที่สามารถผลติ ทดแทน,
ตอ้ งการควบคมุ คณุ ภาพ,สามารถควบคมุ ระยะเวลา
การรอคอยของลกู คา้ ได้ และท่ีสาคญั คือตน้ ทนุ ต่าครบั

สว่ นการคิดตน้ ทนุ รวมก็จะมีสตู รดงั น้ี
นะครบั

Make or Buy Breakeven Analysis

ตน้ ทนุ รวมในการผลิตเอง = ตน้ ทนุ รวมในการจา้ งผลิต
ตน้ ทนุ คงท่ี + (ตน้ ทนุ แปรผนั x จดุ คมุ้ ทนุ ) = ตน้ ทนุ คงท่ี + (ตน้ ทนุ แปรผนั
x จดุ คมุ้ ทนุ )

บรษิ ทั แห่งหนึ่งไดค้ าดการณย์ อดขายในปี หนา้ ที่ 15000 ช้ิน ซึ่งได้
สอบถามคค่ ู า้ ท่ีสามารถจา้ งผลติ ได้ โดยตกลงราคาขายที่ 7 บาทต่อ
ช้ิน และตอ้ งเสียคา้ ทาสญั ญาระหว่างกนั 500 บาท แต่หากตอ้ งการ
ผลิตเอง จะตอ้ งลงทนุ 25000 บาท สาหรบั อปุ กรณ์ แต่จะมีตน้ ทนุ
ของสนิ คา้ อยทู่ ่ี 5 บาทต่อช้ิน จงหาจดุ คมุ้ ทนุ และนโยบายในการ
บรหิ ารจดั การว่าควรเลือกแนวทางใดพรอ้ มทง้ั หาตน้ ทนุ รวมของแต่
ละแนวทาง

ตน้ ทนุ ผลิตเอง จา้ งผลติ

ตน้ ทนุ คงที่ 25,000 500

ตน้ ทนุ แปรผนั 5 7

ความตอ้ งการ 15,000 ช้ิน

ตน้ ทนุ รวมในการผลิตเอง = ตน้ ทนุ รวมในการจา้ งผลิต

ตน้ ทนุ คงท่ี + (ตน้ ทนุ แปรผนั x จดุ คมุ้ ทนุ ) = ตน้ ทนุ คงที่ + (ตน้ ทนุ แปรผนั
x จดุ คมุ้ ทนุ )

25000 + (5 x Q ) = 500 + (7 x Q)
7Q – 5Q = 25000 - 500
Q = 12,250 ช้ิน

ตน้ ทนุ รวมในการผลติ เอง TCMake = 100,000
25000 + (5 × 15000)

ตน้ ทนุ รวมในการจา้ งผลิต TCBuy = 105,500
500 + ( 7 × 15000)

คณุ อธิบายมาทาใหผ้ มเขา้ ใจข้ึนเยอะเลย
ครบั ตอนน้ีผมไดเ้ ขา้ ใจเกี่ยวกบั ขอ้ มลู การ

วางแผนกาลงั การผลิตทง้ั หมดแลว้
ขอบคณุ มากครบั

ก า ร เ ลื อ ก ส ถ า น ที่ ต้ั ง
โรงงานอุตสาหกรรม




4
017นางสาวสลิลทิพย์ สะชาพล จง.

สวัสดีครับ บริษัทที่ปรึกษาครับ ไม่ทราบว่าคุณนัดไว้หรือยังครับ ?

สวัสดีดีครับ ผมกงยูนะครับ ที่นัดคุณลิซ่าไว้
คุยเรื่องการเลือกสถานที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรม




สวัสดีค่ะ ดิฉันเองค่ะ ลิซ่า
บริษัทที่ปรึกษาเรื่องการเลือกสถานที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรม

สวัสดีดีครับ ผมสนใจอยากจะมาลงทุนเปิด
โรงงานที่ประเทศไทย

ไม่ทราบว่าคุณช่วยให้ข้อมูลผมได้บ้างไหมครับ

ได้ค่ะ คุณอยากทราบเรื่องอะไรบ้างคะ
แต่ก่อนอื่นคุณต้องรู้ความหมายของมันก่อนนะคะ

โรงงาน :
“อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใช้เครื่องจักร มีกำลังรวม

ตั้งแต่ ห้าแรงม้าหรือกำลังเทียบเท่าตั้งแต่ห้าแรงม้าขึ้นไป หรือใช้คน
งานตั้งเจ็ดคนขึ้นไป โดยใช้เครื่องจักรหรือไม่ก็ตาม สำหรับทำการผลิต
ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบำรุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ
ลำเลียง เก็บรักษา หรือ ทำลายสิ่งใด ๆ”

ที่ตั้ง :
หมายถึง สถานที่สำหรับประกอบกิจกรรมทางธุรกิจขององค์กร

เช่น โรงงาน โกดังสินค้าสำนักงานใหญ่หรือสาขา

ทำไมถึงต้องมีการเลือกทำเลที่ตั้งโรงงานหรอครับ ?





มันก็มีเหตุผลหลายอย่าง เช่น
ตลาดขยายตัว
ตลาดสินค้าได้เปลี่ยนไป
วัตถุดิบหมดไป
การกีดกันทางการค้า
ค่าครองชีพเปลี่ยนไป

ผมอยากทราบขั้นตอนของการเลือกทำเลที่
ตั้งใหม่ครับ ควรเริ่มจากตรงไหนดีครับ ?

สำหรับขั้นตอนไม่ยากค่ะ แต่คุณต้องทำความ
เข้าใจและเรียนรู้มันซะก่อน

ตั้งข้อกำหนด ขอบข่าย และข้อจำกัด
เกี่ยวกับทำเลที่ตั้งและที่ดินที่ต้องการ
วิเคราะห์เลือกเขตที่จะไปตั้งอย่างกว้างๆ
วิเคราะห์ทางเลือกที่เฉพาะเจาะจง
ดำเนินการจัดการเพื่อให้ได้ที่ดินนั้น

จากที่ผมฟังมาก็ไม่เห็นจะยากหนิครับ แค่เลือก
ที่ไหนสักที่นึง แล้วก็เปิดโรงงาน ก็แค่นั้น

มันไม่ได้ง่ายอย่างที่คุณคิดนะสิคะ คุณกงยู การที่คุณจะเลือกที่
ตั้งเพื่อเปิดโรงงานได้ คุณต้องคำนึงถึงหลายปัจจัยค่ะ



ปัจจัยที่คุณว่าคืออะไรบ้างครับ ?

1.แหล่งวัตถุดิบ 6.พลังงาน
2.แหล่งแรงงาน 7.สาธารณูปโภค
3.ที่ตั้งของตลาด 8.นโยบายของรัฐบาล
4.ที่ดิน 9.ปัจจัยอื่นๆ
5.การขนส่ง

คุณช่วยอธิบายให้ผมฟังอย่างละเอียดได้
ไหมครับ ผมว่าผมต้องเรียนรู้อีกเยอะ

ได้ค่ะ
ขอบคุณครับ

1 แหล่งวัตถุดิบ (Material) การเลือกที่ตั้งโรงงานที่อยู่ใกล้กับแหล่งวัตถุดิบ หรือโรงงาน
ผู้ผลิต ชิ้นส่วน (Suppliers) มีเหตุผลหลัก คือเพื่อลดต้นทุนการผลิตอันเกิดจากการ
ขนส่งวัตถุดิบ อุตสาหกรรมที่เลือกที่ตั้งโรงงานใกล้แหล่งวัตถุดิบ เนื่องจากมีความ
ต้องการที่จะป้อนวัตถุดิบให้เพียงพอและทันเวลาในการผลิตอยู่ตลอดเวลา

2 แหล่งแรงงาน (Labor) เป็นปัจจัยที่สำคัญประการหนึ่งของการผลิต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ใน อุตสาหกรรมประเภทต้องใช้แรงงานมากความเพียงพอของแรงงานตลอดจนค่าจ้าง
แรงงานของทำเลที่ตั้งโรงงานแต่ละแห่ง ย่อมมีผลอย่างสำคัญต่อการตัดสินใจเลือกสถาน
ที่ตั้งโรงงานใหม่ ในเมืองใหญ่หรือชุมชนใหญ่ย่อมมีแรงงานทั้งที่เป็นช่างชำนาญงานและ
แรงงานไม่ใช้ฝีกมืออยู่มากแต่ค่าแรงก็มักจะสูงกว่าในเมืองเล็กหรือชุมชนเล็ก การตัดสิน
ใจเลือกที่ตั้งโรงงานจึงต้องพิจารณาถึงความพอเพียงของแรงงานและค่าแรงงาน

3 ที่ตั้งของตลาด (Market) การที่ทำเลที่ตั้งโรงงานตั้งอยู่ใกล้แหล่งตลาดหรือแหล่ง

จำหน่าย ทำให้โรงงานสามารถกระจายสินค้าได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และทันตามความ

ต้องการของลูกค้าอีกด้วย และ การตั้งโรงงานในแหล่งตลาดและแหล่งจำหน่ายยังช่วยลดค่า

ใช้จ่ายในการขนส่งอีกด้วย

4 ที่ดิน (Land) การซื้อที่ดินเพื่อปลูกสร้างโรงงาน เป็นการตัดสินใจที่เกี่ยวกับเงิน ก้อนใหญ่
ตามปกติทำเลในเขตเมือง จะมีราคาสูง และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่ตามมาก็จะราคาสูงด้วย ดัง
นั้นโรงงานส่วนมากจะตั้งไกลเมืองออกไปอยู่ตามชนบท หรือชานเมือง นอกจากราคาที่ดิน
ต้องพิจารณาแล้วลักษณะที่ดินก็จะต้องพิจารณาด้วยเหมือนกันในงานก่อสร้างโรงงาน เช่น
ลักษณะที่ดินต่ำจะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการถม

5 การขนส่ง (Transportation) ในการเลือกที่ตั้งโรงงานจะต้องคำนึงถึงความสามารถในการ
ขนส่งโดยจะต้อง สามารถทำการขนส่งได้หลายทาง มีความยืดหยุ่น และใช้ต้นทุนต่ำใน
การขนส่ง โดยทางเลือกการขนส่งจะต้องสามารถ ขนส่งได้ทั้งทางบก ทางน้ำ และทาง
อากาศ การขนส่งจะต้องพิจารณาถึงระยะทางในการขนส่ง ความสะดวก ความ รวดเร็ว
ราคาในการขนส่ง เส้นทางรที่จะใช้ในการขนส่ง ความปลอดภัยในการขนส่ง และต้นทุน
การขนส่งวัตถุดิบหรือ สินค้าสำเร็จรูป

6 พลังงาน (Energy) แหล่งพลังงานธรรมชาติที่ใช้ในอุตสาหกรรมแต่ละรูปแบบอาจมีความ
ต้องการแต่ละแหล่ง พลังงาน และเชื้อเพลิงที่แตกต่างกันไป ส่วนใหญ่โรงงานมักจะ
ต้องการแหล่งพลังงานที่เพียงพอต่อการใช้ในโรงงานและ แหล่งพลังงานที่มาจากพื้นที่ใกล้
เคียง หรือมาจากไฟฟ้าฝ่ายผลิต

7 สาธารณูปโภค (Public service) โรงงานอุตสาหกรรมทุกโรง จำเป็นต้องใช้น้ำ ไฟฟ้า
ระบบน้ำบัดน้ำเสีย อุตสาหกรรมหลายชนิดมีมลภาวะ ซึ่งเป็นภัยต่อชีวิตและธรรมชาติ
เช่น สารเคมี น้ำมัน ซึ่งถ้าปล่อยลงแม่น้ำ ก็จะทำให้น้ำในแม่น้ำเน่าเสีย ควันไฟ ก๊าซ
บางอย่างทำให้อากาศเป็นพิษโรงงานจำเป็นต้องรับผิดชอบต่อสังคมและปฏิบัติตามกฎหมาย
อย่างเคร่งครัด ในการพยายามกำจัดสิ่งเป็นพิษเหล่านี้ ไม่ให้เกิดมลภาวะขึ้นมาได้

8 นโยบายของรัฐบาล (Government Policies) นโยบายรัฐบาลเป็นปัจจัยอย่างหนื่องที่มี
อิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกที่ตั้งอุตสาหกรรมยิ่งในเศรษฐกิจสมัยใหม่ รัฐบาลได้กลายเป็นผู้
มีอำนาจมากขึ้น เรื่อยๆ ชี้ให้เห็นว่านโยบายทางพื้นที่ที่เห็นได้อย่างเด่นชัดของรัฐบาลก็คือ
นโยบายสั่งการจากบนลงล่าง (Top-Down Policies) ที่นำไปปฏิบัติโดยรัฐบาลแห่งชาติซึ่ง
เสาะแสวงหาเพื่อกระตุ้นให้เกิดการขยายตัวของอุตสาหกรรมในภูมิภาคตามที่ระบุไว้ แต่มิใช่
ภูมิภาคอื่นๆ โดยให้สิ่งจูงใจหรือให้เงินอุดหนุนสิ่งจูงใจอาจจะอยู่ในรูปของการช่วยสร้าง
โรงงานให้ใหม่หรือปรับปรุงโรงงานเก่าให้ทันสมัยมากขึ้นให้กู้ยืมเงินดอกเบี้ยต่ำให้เงินอุดหนุน
หรือยกเว้นภาษีรายได้เหล่านี้ เป็นต้น

9 ปัจจัยอื่นๆ นอกจากปัจจัยต่างๆ ที่ได้กล่าวถึงข้างต้นแล้วนั้นอาจจะมีปัจจัยในลักษณะอื่น
ๆ เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจได้เช่นกัน ปัจจัยอื่น ๆ เหล่านี้อาจจะหมายความ
รวมไปถึง พื้นที่ว่างที่เหลือสำหรับเป็นสวนสาธารณะของลูกค้าในชุมชน ทัศนียภาพใน
พื้นที่ที่อยู่อาศัยของกลุ่มลูกค้า ความสะดวกในการเดินทาง หรือพื้นที่เพื่อการขยายกำลัง
การผลิตของกิจการในอนาคต ต้นทุนการก่อสร้าง ค่าเบี้ยประกันภัยในพื้นที่ การแข่งขันใน
พื้นที่ การจราจรในพื้นที่ ถนนที่ตัดผ่านในพื้นที่ หรือการเมืองในพื้นที่ เป็นต้น

ในเมื่อผมรู้ปัจจัยที่เกี่ยวกับการเลือกที่ตั้ง
โรงงานบ้างแล้ว ผมควรเลือกที่ตั้งยังไงดีครับ ?

การที่คุณจะเลือกทำเลที่ตั้ง คุณต้องเลือกแหล่ง
ที่จะทำให้ธุรกิจสามารถประกอบกิจกรรมทาง
ธุรกิจได้สะดวกที่สุด โดยคำนึงถึงผลประโยชน์
ทุกด้านที่จะได้รับ เช่น กำไร ค่าใช้จ่าย การ
ติดต่อสื่อสารต่าง ๆ และสิ่งแวดล้อมภายนอก
จนสิ้นสุดการดำเนินธุรกิจนั้น อย่างไรก็ตามเมื่อ
ตัดสินใจจะทำธุรกิจใดแล้วมักจะกำหนด
วัตถุประสงค์ของกิจการไว้ชัดเจนว่าจะผลิตอะไร
เพื่อใคร ตลาดเป้าหมายใด และมีคุณภาพมาก
น้อยอยู่ในระดับใด

ที่ตั้งในเมือง



ข้อดีของการเลือกทำเลในเมือง ข้อเสียของการเลือกทำเลในเมือง




มีแรงงานให้เลือกได้มาก มีค่าที่ดินสูง
ขนส่งง่าย ค่าแรงสูง
สถานศึกษา โรงพยาบาล สถานที่พัก แรงงานสัมพันธ์อาจไม่ดีเท่าที่ควร
ผ่อนหย่อนใจมีมาก มีโอกาสเลือกสถานที่ได้ไม่มาก
ที่พักอาศัยมีมาก ขยายโรงงานยาก
ความปลอดภัยมีมากกว่า
ใกล้ตลาด

ติดต่อแหล่งการเงินได้สะดวก

ติดต่อฝ่ายจัดหาได้สะดวก

ที่ตั้งนอกเมือง

ข้อดีของการเลือกทำเลนอกเมือง ข้อเสียของการเลือกทำเลนอกเมือง


แรงงานสัมพันธ์ดีกว่า
ค่าแรงโดยทั่วไปต่ำ การย้ายแรงงานน้อย ชนิดของแรงงานมีให้เลือกจำกัด
มีสถานที่ให้เลือกได้มาก และราคาต่ำ ส่วนมากมักขาดสถานศึกษา โรง
สภาพแวดล้อมดี พยาบาล แหล่งบันเทิง
ข้อบังคับทางกฎหมายน้อยกว่า การคมนาคม และการขนส่งมีน้อย
การติดต่อสื่อสารมีความยากลำบาก

ห่างไกลตลาด

การป้องกันโจรผู้ร้าย และอัคคีภัยมี
ประสิทธิภาพต่ำ
ขาดการบริการสนับสนุนต่าง ๆ

ที่ตั้งในเมืองนิคมอุตสาหกรรม




ข้อดีของการเลือกทำเลในนิคมอุตสาหกรรม ข้อเสียของการเลือกทำเลในนิคมอุตสาหกรรม



พื้นที่ได้รับการตระเตรียมเรียบร้อยแล้ว เนื้อที่จำกัดจึงจำกัดการขยายตัวของ
สิ่งอำนวยความสะดวกพร้อม โรงงาน
สะดวกต่อการจ้างผู้รับเหมาช่วง โรงงานใกลกัน จะมีปัญหาแรงงาน อาจ
ไม่มีปัญหาการสร้างความเดือดร้อนให้ เป็นชนวนให้เกิดปัญหาในอีกโรงงาน
ชุมชน อาจเกิดปัญหาจราจรในชั่วโมงเร่งด่วน
สถาบันการเงิน และการขนส่งพร้อม
แรงงานสัมพันธ์ในนิคมมักจะดี

คุณลิซ่าอธิบายแบบนี้ผมเข้าใจขึ้นเยอะเลยครับ
แต่มีอีกอย่างที่ผมยังสงสัย ?

อะไรหรอคะ ?

ผมจะทราบได้ยังไงครับ ถ้าเกิดผมอยากได้ต้นทุนที่
ต่ำที่สุดในการขนส่ง ผมต้องทำวิธีไหน ?

ง่ายมากค่ะคุณกงยู เดี๋ยวฉันจะยกตัวอย่าง
ให้คุณดูนะคะ

วิธีเปรียบเทียบระยะทาง (Distance Comparison) การวิเคราะห์การเลือกทำเล
ที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรม อีกวิธีหนึ่งที่นิยมกันก็คือการเปรียบเทียบระยะทาง เพื่อ
คำนวณหาค่าขนส่งที่ต่ำสุด ประกอบการตัดสินใจเลือกทำเลที่ตั้ง โดยการเปรียบ
เทียบจะนำระยะทางจากแหล่งวัตถุดิบ ถึงทำเลที่เลือก และจากทำเลที่เลือกถึง
ตลาดหรือแหล่งจำหน่าย แต่ละทางเลือกมาเปรียบเทียบเพื่อหาต้นทุนต่ำสุดใน
การขนส่ง

รวบรวมข้อมูลของปัจจัยในการดำเนินงาน

นินการ ทำได้ดังนี้ กำหนดทำเลที่ชอบ วิธีเปรียบเทียบระยะทาง
(Distance Comparison)

ลากเส้นตรงเชื่อม

คำนวณระยะทางและค่าขนส่ง

ตัดสินใจเลือกที่ค่าขนส่งต่ำที่สุด

ตัวอย่าง
บริษัทแห่งหนึ่ง ต้องการวิเคราะห์ในการเลือกทำเลที่ตั้งในการสร้างโรงงานใหม่ด้วยวิธีเปรียบเทียบระยะทาง โดยมี
ทำเลที่สนใจ 3 ทำเล และบริษัทได้เก็บข้อมูลปัจจัยต่างๆ ดังนี้ (โดยค่าขนส่ง กิโลเมตรละ 16 บาท)

พื้นที่ที่สนใจ (x,y) (ก.ม.)

ทำเล ก (200 , 600)
ทำเล ข (400 , 150)
ทำเล ค (1,000 , 300)

ตำแหน่งของปัจจัย (x,y) (ก.ม.)

แหล่งวัตถุดิบ (600 , 500)
ตลาด 1 (200 , 300)
ตลาด 2 (1,100 , 600)
ตลาด 3 (900 , 100)

1 รวบรวมข้อมูลปัจจัยในการดำเนินงาน
(ค่าขนส่ง กิโลเมตร ละ 16 บาท)

ตลาด 2

แหล่งวัตถุดิบ

ตลาด 1

ตลาด 3

2 กำหนดทำเลที่ชอบ

ทำเล ก ตลาด 2

แหล่งวัตถุดิบ

ตลาด 1 ทำเล ค
ทำเล ข ตลาด 3

3 ลากเส้นตรงเชื่อม

ทำเล ก ตลาด 2

แหล่งวัตถุดิบ

ตลาด 1 ทำเล ค
ทำเล ข ตลาด 3

4 คำนวณระยะทาง และค่าขนส่ง หาระยะทางจาก จุด i ถึงจุด n



ทำเล ก ตลาด 2 หาระยะทางจาก แหล่งวัตถุดิบ ถึง ทำเล ก.

แหล่งวัตถุดิบ

ตลาด 1 ทำเล ค หาระยะทางจาก ทำเล ก. ถึง ตลาด 1
ทำเล ข ตลาด 3

สูตร หาระยะทางจาก ทำเล ก. ถึง ตลาด 2



66

หาระยะทางจาก ทำเล ก. ถึง ตลาด 3

รวมระยะทาง 24.72 × 100 = 2,472 ก.ม.

ค่าขนส่งจากทำเล ก. ไป ตลาด 1, 2 3 และแหล่งวัถุดิบ = 2,472 × 16 = 39,552 บาท
ค่าขนส่งจากทำเล ข. ไป ตลาด 1, 2 3 และแหล่งวัถุดิบ = 31,792 บาท
ค่าขนส่งจากทำเล ค. ไป ตลาด 1, 2 3 และแหล่งวัถุดิบ = 28,592 บาท

5 ตัดสินใจเลือกที่ค่าขนส่งต่ำที่สุด เยี่ยมเลยครับ
ผมเข้าใจทุกอย่างแล้ว
ดังนั้น เลือกตั้งโรงงาน ณ. ทำเล ค ขอบคุณที่ให้คำปรึกษานะครับ

บทที่ 5



การวางแผนผังกระบวนการผลิต



นางสาว กัณฐิกา แหละตี 035 จง.

ส วั ส ดี ค รั บ คุ ณ ผู้ ห ญิ ง ผ ม ข อ ถ า ม ร า ย ล ะ เ อี ย ด
ห น่ อ ย ค รั บ ?

สวัสดีค่ะ คุณอยากถามรายละเอียดเรื่องอะไรคะ

การวางผังการผลิตคืออะไรครับ ?

การวางผังการผลิตเป็ นการจัดเตรียมการใช้พื้ นที่ของ
สถานที่ซึ่งมีอยู่เดิมหรือสถานที่ใหม่ เช่น การกำหนดที่
ตั้ งของเครื่ องจักร สถานีการผลิต แผนกต่างๆ ห้องเก็บ
ของ ทางเดิน ฯลฯ




แล้วการวางผังมีผลกระทบต่อการดำเนินงานไหมครับ ?

มีผลกระทบด้านคุณภาพการผลิต ประสิทธิภาพในการผลิตของ
แรงงาน ความรวดเร็วในการผลิตสินค้า ความสามารถในการ
ปรับระบบการผลิตสินค้าและบริการ ฯลฯ




การวางผังช่วยให้กิจการได้รับประโยชน์อะไรบ้างครับ ?



ได้รับประโยชน์จากแรงงาน เครื่องจักร และพื้ นที่ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ควบคุมการดำเนินงานหรือกิจกรรมต่างๆได้อย่าง
ชัดเจน ลดต้นทุนในการลำเลียงวัตถุดิบ ทำให้เกิดความสะดวก
ในการเข้าและออกของวัสดุสินค้าและพนักงาน ฯลฯ

และการวางแผนผังกระบวนการผลิต สามารถแบ่งการ
วางผัง ออกเป็ น 4 ประเภท ดังนี้

1 การวางผังตามกระบวนการ (Process Layout)
เรียกอีกอย่างคือ การวางผังตามหน้าที่งาน (Functional Layout)

เป็ นการจัดกลุ่มกิจกรรมที่ใกล้เคียงกันไว้ในแผนกเดียวกันหรือใน
สถานีการผลิตเดียวกัน

การวางผังตามกระบวนการเหมาะสำหรับการผลิตแบบแยกกลุ่ม
(Batch Production) ซึ่งมีการผลิตสินค้าหลากหลายประเภท โดย
แต่ละประเภทจะมีปริมาณการผลิตไม่มากนักและใช้เส้นทางการผลิต
ที่แตกต่างกัน เครื่องจักรที่ใช้ส่วนใหญ่เป็ นเครื่องจักรเอนกประสงค์
(General-purpose Machine) ซึ่งแรงงานจะต้องมีความชำนาญในการ
ใช้เครื่องจักร

่ การวางผังตามกระบวนการมีผลกระทบต่อพื้ นที่ในการจัดเก็บและการลำเลียงวัสดุโดย
ทำให้เกิดความต้องการพื้ นที่จำนวนมากเพื่อใช้เก็บงานระหว่างทำ (Work in Process) ซึ่ง
ส่วนใหญ่ต้องเข้าคิวรอการผลิตในแต่ละสถานี

สินค้าสำเร็จรูปของการผลิตประเภทนี้อาจมีปริมาณไม่มากนัก โดยเฉพาะในกรณีที่มี
การผลิตตามคำสั่งลูกค้าจะสามารถส่งมอบสินค้าได้ทันทีเมื่อผลิตเสร็จ ส่วนการลำเลียง
วัสดุต้องการเครื่องมือที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการขนย้ายซึ่งส่วนใหญ่จะใช้รถยก
(Folk Lifts) ทำให้สามารถขนสินค้าได้จำนวนมาก ดังนั้น ในการวางผังควรออกแบบทาง
เดินรถให้เหมาะสมกับการเคลื่อนย้ายของรถและมีช่องทางให้รถวิ่งสวนทางกันได้

2 การวางผังตามผลิตภัณฑ์ (Product Layout)
การวางผังตามผลิตภัณฑ์นิยมใช้ในกระบวนการผลิตที่เป็ นสายประกอบ

การ (Assembly Line) โดยเป็ นการจัดกิจกรรมในกระบวนการผลิตเรียงตาม
ลำดับขั้นตอนของการผลิต ซึ่งสถานีการผลิตจะเรียงลำดับต่อกันไปจนสิ้น
สุดสายการผลิตและเกิดเป็ นสินค้าสำเร็จรูป

การวางผังตามผลิตภัณฑ์เหมาะสำหรับการผลิตจำนวนมาก (Mass
Production) หรือการผลิตแบบซ้ำเดิม (Repetitive Production) ซึ่งความ
ต้องการสินค้าไม่เปลี่ยนแปลงมากนักโดยสามารถผลิตสินค้าเก็บไว้ได้ล่วง
หน้า เครื่องจักรที่ใช้ส่วนใหญ่เป็ นระบบอัตโนมัติเนื่องจากมีปริมาณการ
ผลิตมากและมีความเป็ นมาตรฐานสูง แรงงานในการผลิตไม่จำเป็ นต้องมี
ทักษะในการผลิตมากเท่ากับการวางผังตามกระบวนการซึ่งมีการผลิต
สินค้าหลายประเภท




ข้อดีและข้อเสีย

ข้อได้เปรียบของการวางผังตามผลิตภัณฑ์

คือประสิทธิภาพในการผลิตสูง ข้อเสียเปรียบคือความยืดหยุ่นในการผลิตต่ำ
ไม่สามารถผลิตสินค้าได้หลากหลายประเภท

3.การวางผังแบบตำแหน่งคงที่ (Fixed-position Layout)
การวางผังประเภทนี้เป็ นการวางผังสำหรับการผลิตสินค้า ซึ่งไม่มีการเคลื่อน

ย้ายไปตามสถานีต่างๆ ระหว่างกระบวนการผลิต เช่น การต่อเรือ การประกอบ
เครื่องบิน ฯลฯ การผลิตประเภทนี้ สินค้าที่ผลิตจะอยู่กับที่ตลอดเวลาของรอบการ
ผลิต (Manufacturing cycle) โดยผู้ผลิตจะทำการจัดสรรแรงงาน วัสดุ และเครื่องมือ
อุปกรณ์ต่างๆ มายังจุดที่มีการผลิตซึ่งกำหนดตำแหน่งไว้คงที่

4.การวางผังแบบผสม (Hybrid Layout)
เป็ นการวางผังที่มีการผสมผสานกันระหว่างการวางผังตาม

กระบวนการและการวางผังตามผลิตภัณฑ์ การวางผังแบบผสม
แบ่งเป็ น 3 ประเภท ดังนี้

1)ผังเซลลูลาร์ (Cellular Layout)
เป็ นการวางผังทั้งแบบกระบวนการและแบบผลิตภัณฑ์โดย

ใช้แนวคิดพื้ นฐานของเทคโนโลยีการจัดกลุ่ม (Group Technology)
เพื่อจัดกลุ่มเครื่องจักรต่างๆ เข้าไว้ด้วยกันที่ศูนย์ปฏิบัติการแห่ง
เดียวกัน ซึ่งเรียกว่า เซล (Cell) โดยกำหนดให้เครื่องจักรที่อยู่ใน
เซลเดียวกันผลิตชิ้ นส่วนที่คล้ายคลึงกันหรือชิ้ นส่วนที่อยู่ในกลุ่ม
เดียวกัน

2)ระบบการผลิตแบบยืดหยุ่น (Flexible Manufacturing System ; FMS)
เป็ นระบบที่สามารถผลิตสินค้าแบบต่อเนื่อง โดยมีการควบคุมด้วย

คอมพิวเตอร์ ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ช่วยในการควบคุมการลำเลียงวัสดุ การ
กำหนดตารางการผลิต การเก็บรักษาเครื่องจักร และการรายงานผลการปฏิบัติ
งาน วัตถุประสงค์ของการเสนอระบบนี้ในครั้งแรก คือ ความต้องการใช้ระบบ
อัตโนมัติในการผลิต

3)สายประกอบการแบบผสม (Mixed-model Assembly Line)
เป็ นระบบสายประกอบการที่สามารถปรับการผลิตให้เข้ากับการ

เปลี่ยนแปลงในความต้องการสินค้าของลูกค้าได้รวดเร็วมากขึ้ น
แนวคิดของสายประกอบการแบบผสม (Mixed-model Assembly
Line) โดยสายประกอบการแบบผสมจะช่วยลดเวลาที่ใช้ในการ
เปลี่ยนแปลงสายการผลิตและช่วยจัดสมดุลของสายการผลิต

ที่คุณโรเซ่อธิบายมา ทำให้ผมเข้าใจขึ้นเยอะเลยครับ
แต่ผมยังมีข้อสงสัยอยู่อีกครับ?

อะไรหรอคะ ?

ผมจะทราบได้ไงครับ ถ้าเกิดผมอยากออกแบบผัง
การผลิตตามผลิตภัณฑ์ ?

การออกแบบผังการผลิตต
ามผลิตภัณฑ์ (Product-layout Design)
เราจะพิจารณาจากลำดับขั้นตอนการผลิตของผลิตภัณฑ์หรือ

สายประกอบการโดยใช้ข้อมูลจากใบโครงสร้างวัสดุ โดยข้อมูลที่สำ
คัญของการวางผังประเภทนี้ คือ ความต้องการของลำดับการผลิต
ซึ่งจะต้องระบุว่ากิจกรรมใดต้องกระทำก่อนหรือหลังกิจกรรมใด

การวางผังตามผลิตภัณฑ์เหมาะสำหรับการผลิตสินค้า
แบบไหนหร่อครับ ?

การวางผังตามผลิตภัณฑ์เหมาะสำหรับการผลิตสินค้าจำนวน
มาก ดังนั้น วัตถุประสงค์ที่สำคัญของการออกแบบผังประเภทนี้
คือ การพยายามรักษาอัตราผลผลิตไว้ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
เท่าที่สามารถกระทำได้

แล้ววัตถุประสงค์ในการออกแบบผังการผลิต คืออะไรครับ ?

วัตถุประสงค์ในการออกแบบผังการผลิตประเภทนี้ คือ การจัดกลุ่มงาน
ย่อยๆ ต่างๆ เข้าตามสถานีบริการผลิตแต่ละสถานีเพื่อให้การไหลของ

งาน (Work Flow) เป็ นไปตามสายงานการผลิตอย่างราบเรียบ

ผมได้เข้าใจข้อมูลเกี่ยวกับการวางแผนผังของ
กระบวนการผลิตทั้งหมดแล้วครับ

ขอบคุณมากครับ

บทท่ี 6 การจดั การคุณภาพ

QUALITY MANAGEMENT

นางสาวผจงชนก แซล่ ี้ 042 จง.

สวสั ดีครบั หวั หนา้ ผมมีคาถามเก่ียวกบั

การจดั การคณุ ภาพ ครบั ?

สวสั ดคี รบั คณุ อยากรูเ้ ร่อื งไหน
ผมยินดตี อบทกุ คาถาม ครบั

ผมอยากทราบวา่ การจดั การคณุ ภาพ
คืออะไรครบั ?

การจดั การคณุ ภาพ เป็นกลยทุ ธท์ ่ีสาคญั ท่ีชว่ ย

ใหเ้ กิดความแตกตา่ ง ลดตน้ ทนุ และตอบสนองความ
ตอ้ งการลกู คา้ ไดอ้ ย่างรวดเรว็ นาไปสคู่ วามสาเรจ็
ขององคก์ ร ครบั

คณุ จินครบั การเพ่ิมผลกาไรโดยวธิ ีการ
ปรบั ปรุงคณุ ภาพ จะช่วยปรบั ปรุงคณุ ภาพให้
เป็นอย่างไรบา้ งครบั ?

การเพ่ิมผลกาไรโดยวธิ ีการปรบั ปรุงคณุ ภาพ จะชว่ ย
เพ่ิมผลกาไรใน 2 องคป์ ระกอบดว้ ยกนั นะ คณุ เจเค คอื

การเพิ่มยอดขาย และ การลดตน้ ทนุ

หวั หนา้ ครบั ผมพอทราบเรอ่ื ง การจดั การคณุ ภาพ
โดยรวม เป็นการมงุ่ เนน้ คณุ ภาพท่วั ทงั้ องคก์ าร ตงั้ แตผ่ ู้

จดั หาวตั ถดุ ิบจนกระท่งั ถงึ ลกู คา้ เพ่ือม่งุ ส่คู วามเป็นเลศิ ใน
การผลติ สินคา้ และบรกิ ารท่ีมีความสาคญั ต่อลกู คา้

ใชค่ รบั คณุ ยนุ กิ ยงั มีแนวคดิ ของการจดั การคณุ ภาพ

โดยรวมอีกนะครบั มี 7 ประการดว้ ยกนั ครบั

ประการท่ี 1 การปรบั ปรุงอยา่ งตอ่ เน่ือง ตวั แบบวงจร PDCA

1. การวางแผน (Plan) กาหนดชอ่ งทางการปรบั ปรุงพฒั นา
และนามากาหนดเป็นแผนการดาเนินงาน

2. การปฏิบตั ิ (Do) นาไปปฏิบตั ิเพ่ือตรวจสอบแผนการ
ดาเนินงาน

3. การตรวจสอบ (Check) ตรวจสอบผลท่ีเกิดขนึ้ วา่ มี
ความสอดคลอ้ งกบั แผนการดาเนินงานหรอื ไม่

4. การปรบั ปรุงแกไ้ ขปัญหา (Action) นาแผนการ
ดาเนินงานมาปรบั ปรุงแกไ้ ขและนาไปปฏิบตั ิ

ประการท่ี 2 ซกิ ซ์ ซิกมา (Six sigma)

หมายถึง กระบวนการสนิ คา้ หรอื บรกิ ารท่ี สามารถอย่ใู นระดบั สงู (ความ
แมน่ ยา 99.9997%) อีกลกั ษณะหน่งึ หมายถงึ แผนการดาเนินงาน ท่ีมี
วตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือลดความบกพรอ่ ง ทาใหม้ ีตน้ ทนุ ต่าลง ประกอบดว้ ย

1. กลยทุ ธท์ ่ีมงุ่ เนน้ ความพงึ พอใจของลกู คา้ โดยรวม
2. ระเบียบวธิ ีปฏิบตั ิ 5 ขน้ั ตอนหลกั เรยี กวา่ DMAIC ไดแ้ ก่ การกาหนด
ขอบเขตและหวั ขอ้ ของปัญหา (Define)
การวดั สภาพปัญหาและเก็บขอ้ มลู (Measure) การวิเคราะหข์ อ้ มลู
(Analyze) การแกไ้ ขปัญหาหรอื ปรบั ปรุงงาน (Improve) และการควบคมุ
รกั ษาระดบั คณุ ภาพหลงั การปรบั ปรุง (Control)
3. เคร่อื งมอื ทางเทคนิค คือ 7 QC Tools

ประการท่ี 3 การมอบอานาจใหพ้ นกั งาน

เป็นการใหพ้ นกั งานมสี ว่ นรว่ มในทกุ ขนั้ ตอน ของกระบวนการการผลติ
เพ่ือใหไ้ ดค้ ณุ ภาพตามท่ีตอ้ งการ ประกอบดว้ ย

1. สรา้ งเครอื ข่ายการตดิ ต่อส่ือสารใหก้ บั พนกั งาน
2. พฒั นาหวั หนา้ งานใหม้ วี สิ ยั ทศั น์
3. กระจายความรบั ผดิ ชอบไปยงั พนกั งาน
4. สรา้ งจรยิ ธรรมระดบั สงู ในองคก์ าร
5. กาหนดโครงสรา้ งองคก์ ารในรูปแบบทีมงาน


Click to View FlipBook Version