ตัวบ่งชี้ 1.1 : ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม ประเภทของตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์ การเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา 2565 (1 มิถุนายน 2565 – 31 พฤษภาคม 2566) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก : ฝ่ายวิชาการและงานวิจัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เกณฑ์การประเมิน : ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินทุกหลักสูตรที่คณะรับผิดชอบ สูตรการค านวณ คะแนนที่ได้ = ค่าเฉลี่ย = 36.63 = 3.67 10 ผลการด าเนินงาน ในปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ เปิดการเรียนการสอนจำนวนทั้งสิ้น 5 หลักสูตร เป็นระดับ ปริญญาตรี จำนวน 9 สาขาวิชา ได้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานที่ (สกอ.) กำหนด ซึ่งกำหนดรการประเมินระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 8 มิถุนายน 2566 โดยใช้เกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายในด้วย ระบบออนไลน์ มีผลการประเมินตัวบ่งชี้ที่ 1.1 การกำกับมาตรฐาน ผ่านเกณฑ์ 10 หลักสูตร คิดเป็นร้อยละ 100 และมีผลคะแนนเฉลี่ย ทุกหลักสูตร เท่ากับ 3.67 โดยมีผลการประเมินระดับหลักสูตรดังนี้ สาขาวิชา วันที่ ประเมิน คะแนนผลการด าเนินงานตามองค์ประกอบในการประกันคุณภาพหลักสูตร 1. การก ากับ มาตรฐาน 2. บัณฑิต 3. นักศึกษา 4. อาจารย์ 5. หลักสูตร การเรียน การสอน 6. สิ่งสนับสนุน การเรียนรู้ ผลการ ประเมิน หลักสูตร ระดับคุณภาพ 1. บธม. การจัดการ 23 พ.ค. 66 - 2.67 3.10 3.5 3 3.09 ดี 2. การบัญชี 24 พ.ค. 66 4.83 3.33 3.26 3.75 4 3.73 ดี 3. การจัดการ 24 พ.ค. 66 4.86 3.33 3.81 3.5 4 3.78 ดี 4. การตลาดดิจิทัล 22 พ.ค. 66 4.84 3.00 3.96 3.5 3 3.74 ดี 5. คอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล 16 พ.ค. 66 4.77 3.67 3.81 3.5 3 3.84 ดี 6. การจัดการโลจิสติกส์ฯ 31 พ.ค. 66 4.80 3.67 3.96 4 4 4.04 ดีมาก 7. การจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่* 8 มิ.ย. 66 - 3.33 2.67 3.5 4 3.27 ดี 8. เศรษฐศาสตร์ 20 พ.ค. 66 - 3.67 4 3.5 4 3.73 ดี 9. นิเทศศาสตร์ 31 พ.ค. 66 4.90 3.33 3.81 3.75 4 3.86 ดี 10. การท่องเที่ยวฯ 31 พ.ค. 66 4.75 3 3.96 3.75 3 3.60 ดี คะแนนประเมิน 3.67 ดี หมายเหตุ * หมายถึง 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ 2.2 การได้งานทำหรือผลงานวิจัยของผู้สำเร็จการศึกษา (ไม่มีการประเมิน) ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
จากผลการดำเนินงานข้างต้นเมื่อประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐานและอิงเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ ของ สกอ. ในรอบปี การศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ มีผลประเมินด้านการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวมสรุปได้ ดังนี้ เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนการประเมิน ตนเอง บรรลุเป้าหมาย บรรลุ ไม่บรรลุ ค่าเฉลี่ย 3.01 ค่าเฉลี่ย 3.67 บรรลุ
รายงานผลการประเมินตนเองระดับหลักสูตที่ ชื่อหลักสูตร คะแนนเฉลี่ยผลการประตัวบ่งชี้ ที่ 1.1 ตัวบ่งชี้ ที่ 2.1 ตัวบ่งชี้ ที่ 2.2 ตัวบ่งชี้ ที่ 3.1 ตัวบ่งชี้ ที่ 3.2 ตัวบ่งชี้ ที่ 3.3 ตัวบ่งที่ 4.1 บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต การจัดการ - - 3 3 2 3 2 การบัญชี 4.72 4.93 3 4 3 3 3 การจัดการ 4.72 5 3 4 3 3 4 การตลาดดิจิทัล 4.68 5 3 3 3 4 5 คอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล 4.54 5 4 4 3 4 6 การจัดการโลจิสติกส์ฯ 4.60 5 4 4 3 4 7 การจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่* - - 3 4 3 3 8 เศรษฐศาสตร์ - - 3 4 4 3 9 นิเทศศาสตร์ดิจิทัล 4.80 5 3 4 3 3 10 การท่องเที่ยวและการโรงแรม 4.50 5 3 3 3 3 หมายเหตุ : * หลักสูตรยังไม่มีบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา (ไม่ต้องนำตัวบ่งชี้ที่ 2.1 และ 2.2)
ร ประจ าปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ เมินตัวบ่งชี้ตามมาตรฐาน สกอ. คะแนน เฉลี่ย ปี 65 ระดับคุณภาพ ผลการประเมิน งชี้ .1 ตัวบ่งชี้ ที่ 4.2 ตัวบ่งชี้ ที่ 4.3 ตัวบ่งชี้ ที่ 5.1 ตัวบ่งชี้ ที่ 5.2 ตัวบ่งชี้ ที่ 5.3 ตัวบ่งชี้ ที่ 5.4 ตัวบ่งชี้ ที่ 6.1 4.3 2 3 3 3 5 3 3.09 ดี 2.78 4 4 3 3 5 4 3.73 ดี 4.44 4 3 3 3 5 4 3.78 ดี 3.89 4 3 3 3 5 3 3.74 ดี 4.44 4 3 3 3 5 3 3.84 ดี 3.89 4 4 4 3 5 4 4.04 ดีมาก 1 4 3 3 3 5 4 3.27 ดี 5 4 3 3 3 5 4 3.73 ดี 4.44 4 3 4 3 5 4 3.86 ดี 3.33 4 3 4 3 5 3 3.60 ดี ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินทุกหลักสูตร 3.67 ดี
1. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนประเมิน ของหลักสูตรฯ ตัวตั้ง ผลลัพธ์ (% ตัวหาร หรือสัดส่วน) องค์ประกอบที่ 1 หมวดทั่วไป ผ่าน ตัวบ่งชี้1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานและเกณฑ์การประเมิน ปีการศึกษา 2558 ผ่าน ผ่าน องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต - ตัวบ่งชี้2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ - - - ตัวบ่งชี้ 2.2 (ปริญญาตรี) บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี- - - องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา 2.67 ตัวบ่งชี้ 3.1 การรับนักศึกษา 3 - - 3.00 ตัวบ่งชี้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3 - - 3.00 ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 2 - - 2.00 องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ 3.01 ตัวบ่งชี้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3 - - 3.00 ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ 3 - - 4.03 - ตัวบ่งชี้ 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิ ปริญญาเอก 5 1 3 × 100 3 5.00 - ตัวบ่งชี้ 4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 1.67 1 3 × 100 1 2.08 - ตัวบ่งชี้ 4.2.3 ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร 5 5.00 ตัวบ่งชี้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4 - - 2 องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 33.33 ตัวบ่งชี้ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.3 การประเมินผู้เรียน 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ 5 5.00 องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00 ตัวบ่งชี้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3 3.00 เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ 3.09
2. หลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนประเมิน ของหลักสูตรฯ ตัวตั้ง ผลลัพธ์ (% ตัวหาร หรือสัดส่วน) องค์ประกอบที่ 1 หมวดทั่วไป ผ่าน ตัวบ่งชี้1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานและเกณฑ์การประเมิน ปีการศึกษา 2558 ผ่าน ผ่าน องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต 4.83 ตัวบ่งชี้2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 4.72 ตัวบ่งชี้ 2.2 (ปริญญาตรี) บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี 4.93 องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา 3.33 ตัวบ่งชี้ 3.1 การรับนักศึกษา 3 - - 3.00 ตัวบ่งชี้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4 - - 4.00 ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3 - - 3.00 องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ 3.26 ตัวบ่งชี้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3 - - 3.00 ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ 3 - - 2.78 - ตัวบ่งชี้ 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิ ปริญญาเอก 2 3.00 - ตัวบ่งชี้ 4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 3.33 - ตัวบ่งชี้ 4.2.3 ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร 5.00 ตัวบ่งชี้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4 - - 4 องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 3.75 ตัวบ่งชี้ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4 4.00 ตัวบ่งชี้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.3 การประเมินผู้เรียน 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ 5 5.00 องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00 ตัวบ่งชี้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4 4.00 เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ 3.73
3. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนประเมิน ของหลักสูตรฯ ตัวตั้ง ผลลัพธ์ (% ตัวหาร หรือสัดส่วน) องค์ประกอบที่ 1 หมวดทั่วไป ผ่าน ตัวบ่งชี้1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานและเกณฑ์การประเมิน ปีการศึกษา 2558 ผ่าน ผ่าน องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต 4.86 ตัวบ่งชี้2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 30.00 33 56 × 100 58.92 4.72 ตัวบ่งชี้ 2.2 (ปริญญาตรี) บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี 90.00 36 36 × 100 100 5.00 องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา 3.33 ตัวบ่งชี้ 3.1 การรับนักศึกษา 3 - - 3.00 ตัวบ่งชี้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3 - - 4.00 ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3 - - 3.00 องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ 3.81 ตัวบ่งชี้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4 - - 3.00 ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ 3 - - 4.44 - ตัวบ่งชี้ 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิ ปริญญาเอก 5 1 5 × 100 20 5.00 - ตัวบ่งชี้ 4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 3.33 2 60 × 100 20 3.33 - ตัวบ่งชี้ 4.2.3 ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร 5 5.00 ตัวบ่งชี้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4 - - 4 องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 3.50 ตัวบ่งชี้ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.3 การประเมินผู้เรียน 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ 5 5.00 องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00 ตัวบ่งชี้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3 4.00 เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ 3.78
4. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาดดิจิทัล ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนประเมิน ของหลักสูตรฯ ตัวตั้ง ผลลัพธ์ (% ตัวหาร หรือสัดส่วน) องค์ประกอบที่ 1 หมวดทั่วไป ผ่าน ตัวบ่งชี้1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานและเกณฑ์การประเมิน ปีการศึกษา 2558 ผ่าน ผ่าน องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต 4.84 ตัวบ่งชี้2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 4.68 ตัวบ่งชี้ 2.2 (ปริญญาตรี) บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี 5.00 องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา 3.00 ตัวบ่งชี้ 3.1 การรับนักศึกษา 3 - - 3.00 ตัวบ่งชี้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3 - - 3.00 ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3 - - 3.00 องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ 3.96 ตัวบ่งชี้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4 - - 4.00 ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ 3 - - 3.89 - ตัวบ่งชี้ 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิ ปริญญาเอก 5 1 5 × 100 20 5.00 - ตัวบ่งชี้ 4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 1.67 1 5 × 100 20 1.67 - ตัวบ่งชี้ 4.2.3 ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร 5 1.40 5 ×100 28 5.00 ตัวบ่งชี้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4 - - 4 องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 3.5 ตัวบ่งชี้ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.3 การประเมินผู้เรียน 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ 5 5.00 องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00 ตัวบ่งชี้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4 4.00 เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ 3.74
5. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนประเมิน ของหลักสูตรฯ ตัวตั้ง ผลลัพธ์ (% ตัวหาร หรือสัดส่วน) องค์ประกอบที่ 1 หมวดทั่วไป ผ่าน ตัวบ่งชี้1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานและเกณฑ์การประเมิน ปีการศึกษา 2558 ผ่าน ผ่าน องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต 4.77 ตัวบ่งชี้2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 4.54 ตัวบ่งชี้ 2.2 (ปริญญาตรี) บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี 5.00 องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา 3.67 ตัวบ่งชี้ 3.1 การรับนักศึกษา 4 - - 4.00 ตัวบ่งชี้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4 - - 4.00 ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3 - - 3.00 องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ 4.15 ตัวบ่งชี้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4 - - 4.00 ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ 3 - - 4.44 - ตัวบ่งชี้ 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิ ปริญญาเอก 5 1 5 × 100 20 5.00 - ตัวบ่งชี้ 4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 3.33 - ตัวบ่งชี้ 4.2.3 ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร 5 1.40 5 ×100 28 5.00 ตัวบ่งชี้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4 - - 4 องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 3.50 ตัวบ่งชี้ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.3 การประเมินผู้เรียน 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ 5 5.00 องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00 ตัวบ่งชี้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3 3.00 เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ 3.84
6. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนประเมิน ของหลักสูตรฯ ตัวตั้ง ผลลัพธ์ (% ตัวหาร หรือสัดส่วน) องค์ประกอบที่ 1 หมวดทั่วไป ผ่าน ตัวบ่งชี้1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานและเกณฑ์การประเมิน ปีการศึกษา 2558 ผ่าน ผ่าน องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต 4.80 ตัวบ่งชี้2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 60.00 - - 4.60 ตัวบ่งชี้ 2.2 (ปริญญาตรี) บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี 95.00 58 58-0 × 100 100 5.00 องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา 3.67 ตัวบ่งชี้ 3.1 การรับนักศึกษา 5 - - 4.00 ตัวบ่งชี้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 5 - - 4.00 ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3 - - 3.00 องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ 3.96 ตัวบ่งชี้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4 - - 4.00 ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ 3 - - 3.89 - ตัวบ่งชี้ 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิ ปริญญาเอก 5 1 5 × 100 20 5.00 - ตัวบ่งชี้ 4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 1.67 1 5 × 100 20 1.67 - ตัวบ่งชี้ 4.2.3 ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร 5 1.40 5 ×100 28 5.00 ตัวบ่งชี้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4 - - 4 องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 4.00 ตัวบ่งชี้ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3 4.00 ตัวบ่งชี้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4 4.00 ตัวบ่งชี้ 5.3 การประเมินผู้เรียน 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ 5 5.00 องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00 ตัวบ่งชี้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4 4.00 เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ 4.04
7. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนประเมิน ของหลักสูตรฯ ตัวตั้ง ผลลัพธ์ (% ตัวหาร หรือสัดส่วน) องค์ประกอบที่ 1 หมวดทั่วไป ผ่าน ตัวบ่งชี้1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานและเกณฑ์การประเมิน ปีการศึกษา 2558 ผ่าน ผ่าน องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต - ตัวบ่งชี้2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ - ตัวบ่งชี้ 2.2 (ปริญญาตรี) บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี- องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา 3.33 ตัวบ่งชี้ 3.1 การรับนักศึกษา 3 - - 3.00 ตัวบ่งชี้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4 - - 4.00 ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3 - - 3.00 องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ 2.67 ตัวบ่งชี้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3 - - 3.00 ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ 3 - - 0.33 - ตัวบ่งชี้ 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิ ปริญญาเอก 0.00 - ตัวบ่งชี้ 4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 0.00 - ตัวบ่งชี้ 4.2.3 ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร 1.00 ตัวบ่งชี้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4 - - 4 องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 3.50 ตัวบ่งชี้ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.3 การประเมินผู้เรียน 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ 5 5.00 องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00 ตัวบ่งชี้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4 4.00 เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ 3.27
8. หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนประเมิน ของหลักสูตรฯ ตัวตั้ง ผลลัพธ์ (% ตัวหาร หรือสัดส่วน) องค์ประกอบที่ 1 หมวดทั่วไป ผ่าน ตัวบ่งชี้1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานและเกณฑ์การประเมิน ปีการศึกษา 2558 ผ่าน ผ่าน องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต - ตัวบ่งชี้2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ - ตัวบ่งชี้ 2.2 (ปริญญาตรี) บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี- องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา 3.67 ตัวบ่งชี้ 3.1 การรับนักศึกษา 3 - - 3.00 ตัวบ่งชี้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4 - - 4.00 ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 4 - - 4.00 องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ 4.00 ตัวบ่งชี้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4 - - 3.00 ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ 5 - - 5.00 - ตัวบ่งชี้ 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิ ปริญญาเอก 5 5.00 - ตัวบ่งชี้ 4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 1.67 5.00 - ตัวบ่งชี้ 4.2.3 ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร 5 5.00 ตัวบ่งชี้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3 - - 4 องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 3.50 ตัวบ่งชี้ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.3 การประเมินผู้เรียน 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ 5 5.00 องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00 ตัวบ่งชี้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4 4.00 เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ 3.73
9. หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ดิจิทัล ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนประเมิน ของหลักสูตรฯ ตัวตั้ง ผลลัพธ์ (% ตัวหาร หรือสัดส่วน) องค์ประกอบที่ 1 หมวดทั่วไป ผ่าน ตัวบ่งชี้1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานและเกณฑ์การประเมิน ปีการศึกษา 2558 ผ่าน ผ่าน องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต 4.90 ตัวบ่งชี้2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 4.80 ตัวบ่งชี้ 2.2 (ปริญญาตรี) บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี 5.00 องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา 3.33 ตัวบ่งชี้ 3.1 การรับนักศึกษา 3 - - 3.00 ตัวบ่งชี้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4 - - 4.00 ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3 - - 3.00 องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ 3.81 ตัวบ่งชี้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3 - - 3.00 ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ 3 - - 4.44 - ตัวบ่งชี้ 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิ ปริญญาเอก 5 5.00 - ตัวบ่งชี้ 4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 1.67 3.33 - ตัวบ่งชี้ 4.2.3 ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร 5 5.00 ตัวบ่งชี้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4 - - 4 องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 3.75 ตัวบ่งชี้ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4 4.00 ตัวบ่งชี้ 5.3 การประเมินผู้เรียน 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ 5 5.00 องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4.00 ตัวบ่งชี้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4 4.00 เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ 3.86
10. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนประเมินของ หลักสูตรฯ ตัวตั้ง ผลลัพธ์ (% ตัวหาร หรือสัดส่วน) องค์ประกอบที่ 1 หมวดทั่วไป ผ่าน ตัวบ่งชี้1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานและเกณฑ์การประเมิน ปีการศึกษา 2558 ผ่าน ผ่าน องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต 4.75 ตัวบ่งชี้2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 4.50 ตัวบ่งชี้ 2.2 (ปริญญาตรี) บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี 5.00 องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา 3.00 ตัวบ่งชี้ 3.1 การรับนักศึกษา 3 - - 3.00 ตัวบ่งชี้ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3 - - 3.00 ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3 - - 3.00 องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ 3.96 ตัวบ่งชี้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3 - - 3.00 ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์ 3 - - 3.33 - ตัวบ่งชี้ 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิ ปริญญาเอก 5 3 5 × 100 60 5.00 - ตัวบ่งชี้ 4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 0 - ตัวบ่งชี้ 4.2.3 ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร 5.00 ตัวบ่งชี้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4 - - 4 องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 3.75 ตัวบ่งชี้ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4 4.00 ตัวบ่งชี้ 5.3 การประเมินผู้เรียน 3 3.00 ตัวบ่งชี้ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ 5 5.00 องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3.00 ตัวบ่งชี้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3 3.00 เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ 3.60
เอกสารหลักฐาน หมายเลขเอกสาร รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2564 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี 1.1.1(1) รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2564 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ 1.1.1(2) รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2564 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด 1.1.1(3) รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2564 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล 1.1.1(4) รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2564 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 1.1.1(5) รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2564 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการเงิน 1.1.1(6) รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2564 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่* 1.1.1(7) รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2564 หลักสูตรเศรษฐศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ 1.1.1(8) รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2564 หลักสูตรนิเทศศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ 1.1.1(9) รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2564 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม 1.1.1(10)
ตัวบ่งชี้ 1.2 : อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ประเภทของตัวบ่งชี้ : ปัจจัยนำเข้า การเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา 2565 (1 กรกฎาคม 2565 – 30 มิถุนายน 2566) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก : ฝ่ายวิชาการและงานวิจัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เกณฑ์การประเมิน โดยการแปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเป็นคะแนนระหว่าง 0 – 5 1. เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่ม ข และ ค2 ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ40 ขึ้นไป สูตรการค านวณ 1. คำนวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่มีวุฒิปริญญาเอก ตามสูตร จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก X 100 จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ = ร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก X 5 ร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่กำหนดให้เป็น คะแนนเต็ม 5 = ( 20 63) × 100 = 31.75 = ( 31.75 40 ) × 5 = 3.97
รายละเอียดผลการด าเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย มีอาจารย์ประจำทั้งหมดรวมทั้งที่ ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อจำนวน 63 คน ในจำนวนนี้เป็นผู้มีคุณวุฒิปริญญาเอก จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ ดังนี้ ข้อมูลพื้นฐาน จ านวน/ปีการศึกษา 2561 2562 2563 2564 2565 อาจารย์ประจำทั้งหมดรวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ 70 70 67 65 63 อาจารย์ประจำทั้งหมดรวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อที่ มีคุณวุฒิปริญญาตรี - 1 - - - อาจารย์ประจำทั้งหมดรวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อที่ มีคุณวุฒิปริญญาโท 50 50 48 45 43 อาจารย์ประจำทั้งหมดรวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อที่ มีคุณวุฒิปริญญาเอก 20 21 19 20 20 ร้อยละของอาจารย์ประจ าที่มีวุฒิปริญญาเอก 28.57 30 28.36 30.77 31.75 คะแนนที่ได้เทียบกับคะแนนเต็ม 5 3.57 3.75 3.55 3.85 3.97 หลักฐานอ้างอิง 1.2.1 รายชื่ออาจารย์ประจำทั้งหมด (นับรวมลาศึกษา) ที่ระบุวุฒิการศึกษา
รายชื่ออาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ที่ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิทางการศึกษา สถาบัน/มหาวิทยาลัย 1 รศ.ดร.ปฤฐฏาง จันทร์บุญเรือง บธ.บ.การประชาสัมพันธ์ นศ.ม.นิเทศศาสตร์พัฒนาการ ปร.ด.สื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2 ผศ.ดร.ประยุทธ วรรณอุดม อ.บ.ภาษาไทย นศ.ม.สื่อสารมวลชน นศ.ด.นิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3 ดร.พรหมพงษ์ มหพรพงษ์ นศ.บ.นิเทศศาสตร์ ศศ.ม.ไทยศึกษาเพื่อการพัฒนา ปร.ด.ยุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สถาบันราชภัฏเลย มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 4 ผศ.ดร.อัญชลี โกกะนุช ศศ.บ.อุตสาหกรรมท่องเที่ยว พบ.ม.เทคโนโลยีการบริหาร บธ.ด.บริหารธุรกิจ วิทยาลัยครูสวนดุสิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 5 ผศ.ดร.จารุพร มีทรัพย์ทอง บธ.บ.บริหารธุรกิจ (การตลาด) บธ.ม.บริหารธุรกิจ ปร.ด.การจัดการการตลาด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 6 ผศ.ดร.วรินทร์ธร โตพันธ์ ศ.บ.เศรษฐศาสตร์ ศ.ม.เศรษฐศาสตร์ ปร.ด.บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยนเรศวร 7 ดร.สัญชัย เกียรติทรงชัย ศศ.บ.ภาษาอังกฤษ MSc.Tourism Management ปร.ด.การจัดการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น University of Surrey,United Kingdom สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 8 ดร.วิศิษฐ์ศิริ ชูสกุล บธ.บ.การจัดการโรงแรมและท่องเที่ยว ศศ.ม.การจัดการโรงแรมและท่องเที่ยว ปร.ด.การจัดการโรงแรมและท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยขอนแก่น 9 ผศ.ดร.พิชิต พระพินิจ ศศ.บ.สังคมศาสตร์ ศ.ม.เศรษฐศาสตร์ บธ.ม.การจัดการโลจิสติกส์ ปร.ด.เศรษฐศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเกริก มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยรามคำแหง 10 ผศ.ดร.อารีรัตน์ ภูธรรมะ ศศ.บ.การจัดการทั่วไป บธ.ม.บริหารธุรกิจ ปร.ด.บริหารธุรกิจ สถาบันราชภัฏเลย มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ที่ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิทางการศึกษา สถาบัน/มหาวิทยาลัย 11 ผศ.ดร.ลภัสรดา พิชญาธีรนาถ บธ.บ.บริหารธุรกิจ (การบัญชี) บช.ม.การบัญชี ปร.ด.การบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 12 ดร.ศศิธร กกฝ้าย ค.บ.วิทยาศาสตร์ทั่วไป บธ.ม.บริหารธุรกิจ ปร.ด.บริหารธุรกิจ สถาบันราชภัฏอุดรธานี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 13 ผศ.ดร.กานต์ธีรา นามวงศ์ บธ.บ.การบัญชี บธ.ม.การจัดการ ปร.ด.บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 14 ดร.ตะวันรอน สังยวน บธ.บ.การตลาด บธ.ม.บริหารธุรกิจ ปร.ด.บริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลธัญญบุรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 15 ดร.ณัฐฐิญา ทรัพย์ปุญญากุล ศศ.บ.นิเทศศาสตร์ นศ.ม.นิเทศศาสตร์ ปรด.นิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 16 ดร.สาธิยา กลิ่นสุคนธ์ บธ.บ.การบัญชี บธ.ม.บริหารธุรกิจ ปร.ด.การบัญชี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 17 ดร.วรากรณ์ ใจน้อย ศศ.บ.อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ศศ.ม.การจัดการท่องเที่ยวและโรงแรม ปร.ด.การพัฒนาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 18 ดร.เมทยา อิ่มเอิบ ศศ.บ. ภาษาอังกฤษธุรกิจ บธ.ม.บริหารธุรกิจ บธ.ด.บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น 19 ดร.ชรินทร์ญา หวังวัชรกุล วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์ วท.ม. วิทยาการคอมพิวเตอร์ ปร.ด. วิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 20 ดร.วรรณวิสา ไพศรี วท.บ. สถิติ บธ.บ. การตลาด บธ.ม. การตลาด ปร.ด. การจัดการตลาด มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ตัวบ่งชี้ 1.3 : อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ประเภทของตัวบ่งชี้ : ปัจจัยนำเข้า การเก็บข้อมูล : ปีการศึกษา 2565 (1 มิถุนายน 2565 – 31 พฤษภาคม 2566) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก : ฝ่ายวิชาการและงานวิจัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เกณฑ์การประเมิน แปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการเป็นคะแนนระหว่าง 0 – 5 1. เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่ม ข และ ค2 ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์รวมกัน ที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป สูตรการค านวณ : 1. คำนวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ X 100 จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ = ร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ X 5 ที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = 19 63 × 100 = 30.16 = 30.16 60 × 5 = 2.51
ผลการด าเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย มีอาจารย์ประจำทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ จำนวน 63 คน ในจำนวนนี้มีผู้ที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 30.16 ประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐาน จ านวน/ปีการศึกษา 2561 2562 2563 2564 2565 อาจารย์ประจำทั้งหมดรวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ 70 70 67 65 63 อาจารย์ประจำทั้งหมดที่ดำรงตำแหน่งอาจารย์ 56 52 49 45 44 อาจารย์ประจำทั้งหมดที่ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 14 17 17 17 18 อาจารย์ประจำทั้งหมดที่ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 1 1 1 1 1 อาจารย์ประจำทั้งหมดที่ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0 0 0 0 0 จ านวนอาจารย์ประจ าคณะที่ด ารงต าแหน่งทางวิชาการ 15 18 18 18 19 ร้อยละของอาจารย์ประจ าคณะที่ด ารงต าแหน่งทางวิชาการ 21.43 25.71 26.87 27.69 30.16 คะแนนที่ได้เทียบกับคะแนนเต็ม 5 1.79 2.14 2.24 2.38 2.51 หลักฐานอ้างอิง 1.3.1 รายชื่ออาจารย์ประจำทั้งหมด (นับรวมลาศึกษา) ที่ระบุวุฒิการศึกษา
อาจารย์ประจ าที่ด ารงต าแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์รองศาสตราจารย์และศาสตราจารย์ ที่ ชื่อ-สกุล ต าแหน่งทางวิชาการ วัน/เดือน/ปี ที่สภาอนุมัติ ผศ. รศ. ศ. 1 รศ.ดร.ปฤฐฏาง จันทร์บุญเรือง 10 มีนาคม 2549 2 ผศ.ดร.พิชิต พระพินิจ 13 พฤศจิกายน 2550 3 ผศ.ดร.ประยุทธ วรรณอุดม 26 สิงหาคม 2556 4 ผศ.เหมวดี กายใหญ่ 27 มิถุนายน 2559 5 ผศ.นิกร น้อยพรม 1 ตุลาคม 2559 6 ผศ.ดร.ชรินทร์ญา หวังวัชรกุล 25 ธันวาคม 2560 7 ผศ.ชินเชิง แก้วก่า 7 พฤศจิกายน 2560 8 ผศ.ดร.ลภัสลดา พิชราธีรนาถ 18 กันยายน 2560 9 ผศ.ดร.กานต์ธีรา นามวงศ์ 24 มกราคม 2561 10 ผศ.ดร.อารีรัตน์ ภูธรรมะ 11 มิถุนายน 2562 11 ผศ.อนุชา วิลัยแก้ว 16 ตุลาคม 2561 12 ผศ.ดร.วรินทร์ธร โตพันธ์ 26 ตุลาคม 2561 13 ผศ.ดร.อัญชลี โกกะนุช 31 ตุลาคม 2561 14 ผศ.พรรณธวรรณ บุตรดีสุวรรณ 17 ตุลาคม 2562 15 ผศ.ดร.จารุพร มีทรัพย์ทอง 26 ตุลาคม 2561 16 ผศ.อำภาภัทร์ วสันต์สกุล 31 ตุลาคม 2562 17 ผศ.รวัฒน์ มันทรา 31 ตุลาคม 2561 18 ผศ.อภิรดี คำไล้ 27 เมษายน 2564 19 ผศ.ณิชนันทน์ กะวิวังสกุล 22 มิถุนายน 2565
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 : การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประเภทของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน : ปีการศึกษา 2565 (1 มิถุนายน 2565 – 31 พฤษภาคม 2566) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก : งานพัฒนานักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 – 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ ผลการด าเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ได้ดำเนินการบริการนักศึกษา ระดับ ปริญญาตรี ตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ดังนี้ ข้อ เกณฑ์การ ประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 1 จัดบริการให้ คำปรึกษาทาง วิชาการ และ การใช้ชีวิตแก่ นักศึกษาในคณะ คณะวิทยาการจัดการ มีการจัดการด้านการให้บริการการให้ คำปรึกษาในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านวิชาการ และแนะแนวการใช้ ชีวิตให้แก่นักศึกษาผ่านบุคลากรฝ่ายต่าง ๆ เช่น ผู้บริหารคณะ ประธาน บริหารหลักสูตร อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ประจำสาขาวิชา อาจารย์ ผู้สอน นักศึกษารุ่นพี่ของแต่ละสาขาวิชา รวมไปถึงบุคลากรสาย สนับสนุนประจำ สำนักงานคณบดีที่สามารถให้คำปรึกษา และแนะนำ แนวทางการปฏิบัติต่าง ๆ ให้แก่นักศึกษาทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ ซึ่งมีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาประจำปีการศึกษา 2565 [เอกสาร 1.4.1(1)] โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้คำปรึกษาทาง วิชาการแก่นักศึกษา เช่น การจัดการเรียนการสอน การลงทะเบียนการ เพิ่มถอนรายวิชา การจัดกิจกรรม พัฒนานักศึกษาและการขอรับ ทุนการศึกษา เป็นต้น พร้อมทั้งแนะแนวการใช้ชีวิตแก่นักศึกษา ทั้งนี้ได้ แนะนำให้นักศึกษารู้จักและทำความคุ้นเคยกับอาจารย์ที่ปรึกษาของ นักศึกษาโดยมีการให้คำปรึกษาแบบเป็นทางการ เพื่อเปิดโอกาสให้ อาจารย์ที่ปรึกษาได้พบปะพูดคุย ชี้แจงรายละเอียดข้อปฏิบัติต่าง ๆ เป็น ที่ปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใช้ชีวิต รวมไปถึงปรึกษาปัญหา ต่าง ๆ โดยอาจารย์ที่ปรึกษามีคู่มืออาจารย์ที่ปรึกษาเป็นแนวปฏิบัติ [เอกสาร 1.4.1(2)] นอกจากนี้คณะยังมีรูปแบบการให้คำปรึกษา แบบไม่เป็นทางการ โดยนักศึกษาสามารถขอรับคำปรึกษาผ่าน Social Network ของแต่ละสาขาวิชาและการให้บริการคำปรึกษาผ่านสายตรง คณบดีในเว็บไซต์ของคณะ [เอกสาร 1.4.1(3)] และมหาวิทยาลัยราชภัฏ เลยกำหนดให้อาจารย์ที่ปรึกษาต้องรายงานผลการให้คำปรึกษาแก่ 1.4.1(1)คำสั่งแต่งตั้ง อาจารย์ที่ปรึกษา นักศึกษาภาคปกติ ปี การศึกษา 2565 1.4.1(2) คู่มือ อาจารย์ที่ปรึกษา 1.4.1(3)รายงานการ ปฏิบัติหน้าที่ของ อาจารย์ ที่ปรึกษาภาคปกติ ปีการศึกษา 2565 1.4.1(4) การให้ คำปรึกษาผ่านสื่อสังคม ออนไลน์เช่น In Box การเข้าปรึกษาในเพจ
ข้อ เกณฑ์การ ประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน นักศึกษาทุกภาคเรียน [เอกสาร 1.4.1(4)] ทั้งนี้คณะวิทยาการจัดการได้ จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการให้บริการของ อาจารย์ที่ปรึกษาผ่านระบบออนไลน์Google form [เอกสาร 1.4.1(5)] เพื่อนำมาพัฒนาปรับปรุง การให้คำปรึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษาในปี การศึกษาต่อ ๆ ไป คณะวิทยาการจัดการได้จัดทำทะเบียนประวัติ นักศึกษา ให้นักศึกษากรอกข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัวข้อมูลการศึกษา และข้อมูลสถานภาพครอบครัว ลงในแบบฟอร์มที่คณะจัดให้ โดยคณะ เป็นผู้จัดเก็บรวบรวมข้อมูลไว้ให้ เพื่อให้สาขาวิชาสามารถสืบค้นข้อมูล ของนักศึกษาได้[เอกสาร 1.4.1(6)] นอกจากนี้ คณะได้จัดกิจกรรม ปฐมนิเทศและสานสัมพันธ์น้องพี่ประจำปีการศึกษา 2565 เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2565 ณ หอประชุมขุมทองวิไลเพื่อให้นักศึกษาใหม่ได้รับ พัฒนาตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ กฎระเบียบและข้อปฏิบัติที่ ถูกต้อง ขณะที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัย และรู้จักปรับตัวเกี่ยวกับเพื่อน สถานที่ ระบบการเรียนในระดับมหาวิทยาลัย และกิจกรรมสร้างกลุ่ม สัมพันธ์ และกิจกรรมสร้างความเป็นผู้นำ [เอกสาร 1.4.1(7)] 1.4.1(5) แบบ ประเมินความพึงพอใจ ของนักศึกษาที่มีต่อการ ให้บริการของอาจารย์ที่ ปรึกษาการให้คำปรึกษา 1.4.1(6) ทะเบียน ประวัตินักศึกษา 1.4.1(7) รายงาน การดำเนินโครงการ ปฐมนิเทศนักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 2 มีการให้ข้อมูลของ หน่วยงานที่ ให้บริการ กิจกรรมพิเศษ นอกหลักสูตร แหล่งงานทั้งเต็ม เวลาและนอกเวลา แก่นักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ ได้ให้ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เป็นแหล่งให้บริการนักศึกษาภายในมหาวิทยาลัย เพื่อให้นักศึกษา สามารถติดต่อหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ ตั้งแต่ที่นักศึกษาเข้ามาใน คณะวิทยาการจัดการ ทั้งนี้ ได้มีการจัดปฐมนิเทศนักศึกษาในทุกปี การศึกษา เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบถึงนโยบายความเป็นมาของคณะ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจต่าง ๆ และให้ข้อมูลนักศึกษา เช่น เบอร์ โทรศัพท์อาจารย์ที่ปรึกษา และหน่วยงานภายในคณะที่นักศึกษา สามารถติดต่อ และขอรับคำปรึกษาในเรื่องต่าง ๆ ที่นักศึกษามีปัญหาได้ มีการแจ้งข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ที่นักศึกษาจะต้องทราบ และปฏิบัติ เช่น กฎระเบียบการแต่งกายของนักศึกษา ข้อบังคับ ประกาศของมหาวิทยาลัย นอกจากนี้การแจ้งข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์แก่ นักศึกษาเกี่ยวกับกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งในและนอกสาขาวิชา เช่น ข้อมูล ปฏิทินการศึกษา รายวิชาศึกษาทั่วไปที่เปิดให้ลงทะเบียน ข่าวสาร การขึ้นทะเบียนบัณฑิตของกองพัฒนานักศึกษา/ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ข้อมูลการให้ทุนการศึกษา ข่าวประกาศรับสมัครงานข่าวสารกิจกรรม ของกองพัฒนานักศึกษา ข่าวการประกวดแข่งขันของหน่วยงานภาครัฐ และเอกชนต่าง ๆ ข่าวรับสมัครนักศึกษา สหกิจศึกษาของศูนย์สหกิจ ศึกษา เป็นต้น โดยได้มีช่องทางการให้บริการ และแจ้งข้อมูลนักศึกษา ผ่านช่องทางต่าง ๆ ดังนี้ 1.4.2(1) ภาพถ่าย บอร์ดประชาสัมพันธ์ ตัวอย่างข่าว ประชาสัมพันธ์และ QR code เพจ 1.4.2(2) การ ประชาสัมพันธ์ทาง เว็บไซต์คณะฯ www.manage.lru.ac.th 1.4.2(3) การ ประชาสัมพันธ์ทาง facebook fan page คณะวิทยาการจัดการ 1.4.2(4) การ ประชาสัมพันธ์ทาง facebook fan page
ข้อ เกณฑ์การ ประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 1. คณะทำบันทึกข้อความประชาสัมพันธ์ผ่านประธาน สาขาวิชา/อาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อแจ้งข่าวสารแก่นักศึกษา เช่น การรับ สมัครประกวดแข่งขันเพื่อรับทุนการศึกษา การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของทางคณะ มหาวิทยาลัย และกิจกรรมที่จัดโดยหน่วยงานภายนอก เป็นต้น 2. คณะมีบอร์ดประชาสัมพันธ์ของคณะวิทยาการจัดการ บริเวณหน้าห้องสำนักงานคณบดี อาคาร 19 บริเวณด้านหน้า อาคาร 19 ทางฝั่งซ้ายและขวา และบอร์ดประชาสัมพันธ์บริเวณโถงชั้น 2 อาคาร 19/หน้าลิฟต์ซึ่งเป็นการติดประกาศแจ้งข่าวสารกิจกรรม การ ประกวดแข่งขัน ทุนการศึกษา การรับสมัครงาน ที่เป็นข้อมูลของ หน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย [เอกสาร 1.4.2(1)] 3. เว็บไซต์คณะวิทยาการจัดการ www.manage.lru.ac.th เพื่อแจ้งข้อมูลการดำเนินงานของคณะและสาขาวิชาต่าง ๆ [เอกสาร 1.4.2(2)] 4. การให้ข้อมูลข่าวสารผ่าน facebook fan page ได้แก่ 1) เพจคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เป็นการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของคณะ ข่าวสาร ด้านการประกวด แข่งขัน กิจกรรมโครงการของคณะการรับสมัครงาน และทุนการศึกษา [เอกสาร 1.4.2(3)] 2) เพจสโมสรนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ เพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษาภายในคณะ เช่น การ อบรมสัมมนา การดำเนินกิจกรรมของสโมสรนักศึกษา การแจ้งข่าวสาร ขอความร่วมมือเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ [เอกสาร 1.4.2(4)] 3) เพจ กยศ./กรอ. เป็นการประชาสัมพันธ์ข่าวงาน ทุนการศึกษา เช่น ทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา ทุนทำงาน ทุนสวัสดิการ นักศึกษาพิการ ยากจนทุนสนับสนุนสำหรับนักศึกษาที่ได้รับรางวัล ระดับประเทศ ทุนทำงานระหว่างเรียน เป็นต้น การประชาสัมพันธ์ผ่าน ทางหน้าเว็บเพจแล้ว แต่ละเพจยังมีการตอบข้อซักถามผ่าน inbox ของ เพจต่าง ๆ อีกด้วย [เอกสาร 1.4.2(5)] นอกจากนี้ คณะฯ ยังได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์การบริการ ข้อมูลจากหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัยแก่นักศึกษา ได้แก่ วารสารวิชาการ บทความวิชาการ วารสารการประกอบอาชีพ และ งานวิจัย รวมไปถึงการแนะนำแหล่งงานทั้งเต็มเวลาและนอกเวลาแก่ นักศึกษา ผ่านช่องทางการประชาสัมพันธ์ Facebook คณะฯ แนะนำ สโมสรนักศึกษาคณะ วิทยาการจัดการ 1.4.2(5) การ ประชาสัมพันธ์ทาง facebook fan page กยศ.กรอ. 1.4.2(6) ภาพ กิจกรรมการแข่งขันของ นักศึกษาคณะวิทยาการ จัดการ 1.4.2(7) ภาพศูนย์ ข้อมูลธุรกิจและสหกิจ ศึกษา
ข้อ เกณฑ์การ ประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน ข้อมูลพร้อมให้คำปรึกษาแหล่งงานเต็มเวลาและนอกเวลาแก่นักศึกษา ให้บริการข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ โดยความร่วมมือทางวิชาการกับ บริษัทชั้นนำทำให้นักศึกษาได้เตรียมความพร้อมทักษะด้านการ ปฏิบัติงานจริงก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงาน และมีรายได้ระหว่างเรียน อาทิเช่น แหล่งงาน/บริษัท ต าแหน่งงานที่รับสมัคร/ เงินเดือน/ค่าตอบแทน จ านวน รับสมัคร ทุนทำงานเพื่อหารายได้ ระหว่างเรียน ภาคเรียน ที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยราช ภัฏเลย -ปฏิบัติงานในหน่วยงาน ภายในมหาวิทยาลัย รายได้ชั่วโมงละ 40 บาท 90 ทุน ทุนทำงานเพื่อหารายได้ ระหว่างเรียน ภาคเรียน ที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยราช ภัฏเลย -ปฏิบัติงานในหน่วยงาน ภายในมหาวิทยาลัย รายได้ชั่วโมงละ 40 บาท 90 ทุน สำนักงานจัดหางาน ทำงานช่วงปิดภาคเรียน Part time โดยสถานประกอบการ จำนวน มาก วันนัดพบแรงงาน จังหวัดเลย สัมภาษณ์งานกับบริษัท มากกว่า 10 บริษัท จำนวน มาก รับสมัครผู้ประกอบการ รุ่นใหม่ เข้าร่วมโครงการ บ่มเพาะธุรกิจ ประจำปี พ.ศ. 2565 (BUSINESS INCUBATION) Screening : คัดเลือก ผู้ประกอบการ คณะ ยังได้มีการจัดกิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตร เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ที่ดีสามารถปรับตัวได้อย่าง เหมาะสม นักศึกษาได้พัฒนาทักษะที่จำเป็นและเตรียมพร้อมสู่ ตลาดแรงงาน ดังต่อไปนี้ 1. กิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตร เพื่อพัฒนาทักษะด้านวิชาการ ด้านการ ใช้ชีวิต
ข้อ เกณฑ์การ ประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน โครงการ/ กิจกรรม ผลที่เกิดกับ นักศึกษา ปัญหา/ อุปสรรค แนวทางใน การพัฒนา โครงการ ปฐมนิเทศ นักศึกษาใหม่ ประจำปี การศึกษา 2565 (1 มิ.ย. 2565) 1.นักศึกษาใหม่ ทราบถึงวิสัยทัศน์ พันธกิจของคณะ วิทยาการจัดการ 2.นักศึกษาทราบ แนวทางการเรียน แนวปฏิบัติด้าน วิชาการ ด้าน กิจกรรมนักศึกษา วินัย สวัสดิการของ นักศึกษา และการ ใช้ชีวิตการศึกษาใน คณะ 3.นักศึกษาคณะ วิทยาการจัดการ ได้รับพัฒนาตาม คุณลักษณะบัณฑิต ที่พึงประสงค์ 4.นักศึกษาเป็นผู้มี คุณธรรม จริยธรรม รู้จักหน้าที่ของ พลเมือง 5.นักศึกษามี ความสัมพันธ์อันดี ระหว่างคณาจารย์ นักศึกษารุ่นพี่และ รุ่นน้องคณะ เนื่องจาก นักศึกษาใหม่ยัง ไม่รู้จักกันและ เป็นการเข้ามา เรียนใน มหาวิทยาลัย หลังจากการเลิก เรียนออนไลน์ ทำให้นักศึกษา ยังไม่มีความ กระตือรือร้น กำหนดช่วงเวลา ในการจัด กิจกรรมให้ เหมาะสมมาก ขึ้น โครงการอบรม ปรับพื้นฐานสู่ การเรียนใน ระดับอุดมศึกษา ประจำปี การศึกษา 2565 (2 มิ.ย. 65) 1.นักศึกษามีความ พร้อมและความรู้ พื้นฐานทักษาะด้าน ภาษาอังกฤษ และ คณิตศาสตร์ 2. นักศึกษามี ความสามารถในการ เรียนตามหลักสูตร ไม่มีปัญหาและ อุปสรรค เห็นสมควรจัด กิจกรรมปรับ พื้นฐานสู่การ เรียนในระดับ อุดมศึกษาทุกปี โครงการ จิตสำนึกปลูกฝัง คุณธรรมการ เป็นคนดีศรี วจ. 1.นักศึกษาได้รับ พัฒนาให้มี คุณลักษณะเป็นคน ดีมีคุณธรรม ไม่มีปัญหาและ อุปสรรค เห็นสมควรจัด กิจกรรมทุกปี
ข้อ เกณฑ์การ ประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน (17 ส.ค. 65) จริยธรรม มีระเบียบ วินัย และมีความ รอบรู้ มี คุณลักษณะที่จะ เอื้ออำนวยต่อการ พัฒนาประเทศใน อนาคต 2.นักศึกษาเกิดความ ตระหนัก เห็นคุณค่า ของการกระทำความ ดี 2. กิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตร เพื่อพัฒนาทักษะด้านวิชาชีพ โครงการ/ กิจกรรม ผลที่เกิดกับ นักศึกษา ปัญหา/ อุปสรรค แนวทางในการ พัฒนา โครงการฝึก ทักษะการสร้าง สมรรถนะทาง ด้านคอมพิวเตอร์ และดิจิทัล (วันที่ 23 ก.ค. 65 ) 1.นักศึกษาได้รับ การพัฒนาทักษะ ทางด้านภาษาและ คอมพิวเตอร์ โดย การฝึกปฏิบัติจริง 2.นักศึกษาได้มีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และมีความพร้อมใน การใช้ภาษาและ คอมพิวเตอร์ ไม่มี เนื่องจาก เป็นการ ฝึกอบรมเชิง ปฏิบัติการ เพื่อให้นักศึกษา สามารถใช้ ภาษาและ คอมพิวเตอร์ได้ อย่างถูกต้อง ส่งเสริมให้ นักศึกษาเข้า ร่วมโครงการทุก ชั้นปี โครงการ วิทยาการ จัดการสัมพันธ์ ครั้งที่ 29 (วันที่ 11 -12 มี.ค. 65 ) 1.นักศึกษาได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการแข่งขันทักษะ วิชาการ ร่วมกัน มหาวิทยาลัย เครือข่ายอันได้แก่ มหาวิทยาลัยราช ภัฏอุดรธานี มหาวิทยาลัยราช ภัฏสกลนคร มหา วิทยาราชภัฏ มหาสารคาม มหาวิทยาลัยราช ภัฏร้อยเอ็ด และ มหาวิทยาลัย กาฬสินธุ์ ไม่มี เนื่องจาก เป็นกิจกรรมที่ จัดขึ้นทุกปี และ สอดคล้องกับ ความต้องการ ของนักศึกษา ส่งเสริมให้ นักศึกษาเข้า ร่วมโครงการทุก ปี
ข้อ เกณฑ์การ ประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 2.นักศึกษาได้นำ ความรู้ที่ได้รับเข้า ร่วมแข่งขันทักษะ ทางวิชาการ และ ได้รับรางวัลชนะเลิศ รองชนะเลิศอันดับ 1 รองชนะเลิศอันดับ 2 และรางวัลชมเชย จากการจัดโครงการ/กิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตร เพื่อพัฒนา ทักษะด้านวิชาการ ด้านการใช้ชีวิต และกิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2565 พบว่า นักศึกษาให้ความร่วมมือในการเข้าร่วม กิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตรฯ เป็นอย่างดี ถึงแม้ว่าจะพบกับอุปสรรคใน การดำเนินโครงการ/กิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นปัญหาสถานการณ์แพร่ ระบาดเชื้อไวรัส Covid-19 ในแต่ละช่วงเวลา ทุกคนต่างให้ความสำคัญ ในความต่อเนื่องของการจัดโครงการ/กิจกรรมเป็นอย่างดี 3 จัดกิจกรรมเตรียม ความพร้อมเพื่อ การทำงานเมื่อ สำเร็จการศึกษา แก่นักศึกษา คณะวิทยาการจัดการมีการเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงาน เมื่อสำเร็จการศึกษา ซึ่งคณะได้ดำเนินการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อฝึก ทักษะประสบการณ์การทำงานในระหว่างเรียนและพัฒนาประสบการณ์ ทางวิชาการและวิชาชีพแก่นักศึกษา โดยมีจุดเน้นที่สำคัญเพื่อพัฒนา นักศึกษาของคณะวิทยาการจัดการเป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ โดยคณะ ได้ดำเนินโครงการเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษา แก่นักศึกษา จากข้อเสนอแนะของผู้ประกอบการ จากการนิเทศ นักศึกษาฝึกประสบการวิชาชีพ สถานประกอบ ทั้งภาครัฐและเอกชน ตลอดจน หัวหน้าส่วนงาน / พี่เลี้ยง โดยได้ข้อสรุปดังนี้ 1.นักศึกษายังขาดทักษะด้านการนำเสนอ/การแสดงออก/การ แสดงความคิดเห็น 2.นักศึกษายังขาดทักษะด้านบุคลิกภาพ คณะฯ จึงได้จัดประชุมกับคณะกรรมการวิชาการคณะ เพื่อ หารือสำหรับประเด็นดังกล่าวเพื่อเตรียมความพร้อมในการส่งเสริม กิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาแก่ นักศึกษา จึงดำเนินกิจกรรมเตรียมความพร้อมและนำความรู้ที่ได้ไป ประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพหลังสำเร็จการศึกษา ดังนี้ ที่ โครงการ/กิจกรรม ความรู้/ทักษะ ประเมินผล 1 โครงการปัจฉิมนิเทศ นักศึกษาและการแนะ 1.นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการ -นักศึกษาเข้า ร่วมกิจกรรม 1.4.3(1) รายงาน การผลการดำเนิน โครงการเตรียมความ พร้อมสำหรับการทำงาน ของนักศึกษาสหกิจ ศึกษา 1.4.3(2) รายงานผล การดำเนินโครงการ ปัจฉิมนิเทศและการแนะ แนวอาชีพสู่การทำงาน อย่างมั่นคง 1.4.3(3) รายงานผล การดำเนินโครงการ ปัจฉิมนิเทศนักศึกษาสู่ ตลาดแรงงานและสถาน ประกอบการ 1.4.3(4) รายงานผล การดำเนินโครงการ
ข้อ เกณฑ์การ ประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน แนวอาชีพสู่การทำงาน อย่างมั่นคง -กิจกรรมเทคนิค การเขียนเรซูเม่ เพื่อสมัครงาน -กิจกรรมการพัฒนา บุคลิกภาพ เขียนเรซูเม่เพื่อใช้ใน การสมัครงาน -นักศึกษามี บุคลิกภาพและมี ความมั่นใจมากขึ้น 2.นักศึกษามีทักษะ การสื่อสารที่ถูกต้อง รู้จักการใช้วัจนภาษา และอวัจนภาษาได้ อย่างเหมาะสม 3.มีความกล้า แสดงออกมากขึ้น คิดเป็น ร้อย ละ 100 -ผลการประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรมของ นักศึกษา ร้อยละ4.25 นอกจากนั้น คณะวิทยาการจัดการได้ทำบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือกับหน่วยงานภาคเอกชน ในปี พ.ศ.2565 เพิ่มจำนวน 5 แห่ง รวมทั้งสิ้น 35 หน่วยงาน เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ และฝึก ประสบการณ์การทำงานให้กับนักศึกษา ได้แก่ 1. กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์ 2. กลุ่มเครือข่ายโรงแรมระหว่างประเทศ 15 โรงแรม 3. บริษัทสยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) 4. บริษัทดิเอส จำกัด 5. บริษัทมิตรซูเลย จำกัด 6. บริษัท จ.เจริญมาร์เก็ตติ้ง จำกัด 7. บริษัทสยามนิสสันเลย จำกัด 8. บริษัทเมืองเลยฮอนด้าคาร์สจำกัด 9. สำนักงานพัฒนาการบัญชี 10. บริษัทเทสโก้โลตัส จำกัด (สาขาเลย) 11. บริษัท เจ.พี.ซู. จำกัด 12. บริษัทเสริมไทยคอมเพล็กซ์ จำกัด 13. สำนักงานที่ปรึกษาการบัญชีภูวดล 14. ห้างหุ้นส่วนจำนวนวิรัชโฮมมาร์ท 15. บริษัท พี.เจ.การบัญชีและกฎหมาย จำกัด 16. ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ็น.บี.ฮอลิเดย์ ทัวร์ 17. บริษัทโนนทีน อินเตอร์เนชั่นแนล แอนด์ ลิสซิ่ง จำกัด 18. โรงแรมดับเบิ้ลยู กรุงเทพฯ 19. บริษัทสายการบินนกแอร์ จำกัด (มหาชน) ปัจฉิมนิเทศนักศึกษาสห กิจศึกษา
ข้อ เกณฑ์การ ประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 20. บริษัท ซีพี ออลส์ จำกัด (มหาชน) 21. บริษัท บิ๊ก แมชชีน เทรดดิ้ง จำกัด 22. บริษัท โค้วยู่ฮะมอเตอร์ จำกัด สาขา : เลย 23. บริษัท นาโนซอฟท์เทค จำกัด อีสานซอฟท์แวร์ปาร์ค 24. บริษัท เมืองเลยบิ๊กโฮม จำกัด 25. สมาคมตัวแทนออกของรับอนุญาตไทย 26. บริษัท มาร์เก็ตเธียร์ จำกัด 27. กรมประชาสัมพันธ์ 28. บริษัทนกแอร์จำกัด 29. บริษัทบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) 30. บริษัทซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทในกลุ่มฯ 31. สำนักงานคลังจังหวัดเลย 32. ห้างหุ้นส่วนจำกัด พี.เอส.อาร์ แอ็คเค้าท์ติ้ง 33. สมาคมวิชาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชนรามคำแหง 34. สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย จังหวัดเลย 35. บริษัท วันม๊อบบี้ จำกัด จากการทำบันทึกข้อตกลงทางด้านวิชาการกับสถาน ประกอบการ สมาคมวิชาชีพต่าง ๆ ทำให้นักศึกษาแต่ละหลักสูตรที่ สำเร็จการศึกษามีภาวะการณ์มีงานทำ คิดเป็นร้อยละ 90 4 ประเมินคุณภาพ ของการจัดกิจกรรม และการจัดบริการ ในข้อ 1-3 ทุกข้อ ไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 คณะวิทยาการจัดการมีการประเมินคุณภาพการให้บริการ ใน 3 ประเด็นหลัก คือ ด้านการให้บริการใน 3 ประเด็นหลัก คือ ด้านการจัดบริการให้คำปรึกษาและแนะแนวการใช้ชีวิตแก่นักศึกษา ด้านการจัดบริการข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา และด้าน การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านต่างๆ แก่นักศึกษา โดยผลการ ประเมินคุณภาพของการให้บริการใน 3 ประเด็นหลัก ไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 ในทุกด้าน และการประเมินคุณภาพใน 3 ประเด็น หลักสรุปผลได้ดังนี้ ผลการประเมินคุณภาพการให้บริการนักศึกษา 1. ด้านการจัดบริการให้ค าปรึกษาแก่นักศึกษา คณะฯ ได้ดำเนินการจัดทำแบบประเมินความพึงพอใจของ นักศึกษาต่อคุณภาพของการจัดกิจกรรมและการจัดบริการของคณะผ่าน ระบบออนไลน์ Google form เพื่อประเมินคุณภาพการให้คำปรึกษาแก่ นักศึกษาทุกชั้นปีประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 925 คน คิดเป็นร้อยละ 81.28 ที่ได้รับคำปรึกษาทางวิชาการและการใช้ชีวิต แก่นักศึกษาในคณะ โดยให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ที่ให้คำปรึกษา 1.4.4(1) รายงานผล การประเมินการจัด กิจกรรม และจัดบริการ ของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี คณะ วิทยาการจัดการ ประจำปีการศึกษา 2565
ข้อ เกณฑ์การ ประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน พบว่า การประเมินความพึงพอใจนักศึกษาที่มีต่ออาจารย์ที่ปรึกษาใน การให้คำปรึกษาและแนะแนวการใช้ชีวิตแก่นักศึกษา ในภาพรวมอยู่ใน ระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.50 เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ย สูงสุด คือ ให้คำแนะนำการลงทะเบียนเรียน การกำหนดแผนการเรียน ตามหลักสูตรและมีการติดตามและกำกับดูแล ผลการเรียนของนักศึกษา อยู่เสมอ ค่าเฉลี่ย 4.58 รองลงมา คือ ให้คำปรึกษาและแนะแนวการใช้ ชีวิตอย่างเพียงพอและเหมาะสม ค่าเฉลี่ย 4.55 และข้อที่มีค่าเฉลี่ย ต่ำสุด คือ จัดสรรเวลาเพื่อให้นักศึกษาเข้าพบได้กรณีเมื่อนักศึกษา ต้องการความช่วยเหลือ หรือเป็นกรณีพิเศษ ค่าเฉลี่ย 4.35 [เอกสาร 1.5(4)/1] และในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 เก็บแบบประเมิน ความพึงพอใจด้านการจัดบริการให้คำปรึกษา โดยมีนักศึกษาทำแบบ ประเมินจำนวน 960 คน ที่ได้รับคำปรึกษาทางวิชาการและการใช้ชีวิต แก่นักศึกษาในคณะ โดยให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ที่ให้คำปรึกษา พบว่า การประเมินความพึงพอใจนักศึกษาที่มีต่ออาจารย์ที่ปรึกษาใน การให้คำปรึกษา โดยรวมอยู่ในระดับ มากค่าเฉลี่ย 4.55 เมื่อพิจารณา ในรายด้านพบว่า ให้คำแนะนำการลงทะเบียนเรียน การกำหนดแผนการ เรียนตามหลักสูตรและมีการติดตามและกำกับดูแล ผลการเรียนของ นักศึกษาอยู่เสมอ อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.62 รองลงมา คือ ให้ คำปรึกษาในด้านต่าง ๆ อาทิเช่น เรื่องส่วนตัว สุขภาพ และอื่น ๆ ค่าเฉลี่ย 4.57 และ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ อาจารย์ที่ปรึกษาทาง วิชาการให้ความช่วยเหลืออื่นๆ หรือถ่ายทอดประสบการณ์อื่นๆ แก่ นักศึกษา ค่าเฉลี่ย 4.41 ตามลำดับ รายการประเมิน ภาคเรียนที่ 1/2565 2/2565 ด้านการจัดบริการให้ค าปรึกษาแก่นักศึกษา 1.ให้คำปรึกษาและแนะแนวการใช้ชีวิตอย่าง เพียงพอและเหมาะสม 4.55 4.53 2.ให้คำแนะนำการลงทะเบียนเรียน การ กำหนดแผนการเรียนตามหลักสูตรและ มีการติดตามและกำกับดูแล ผลการเรียนของ นักศึกษาอยู่เสมอ 4.58 4.62 3.อาจารย์ที่ปรึกษาทางวิชาการให้ความ ช่วยเหลืออื่นๆ หรือถ่ายทอดประสบการณ์ อื่นๆ แก่นักศึกษา 4.39 4.41
ข้อ เกณฑ์การ ประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 4.มีช่องทางให้นักศึกษาร้องเรียนและติดต่อ กับ อาจารย์ที่ปรึกษาได้หลายช่องทาง 4.52 4.55 5. จัดสรรเวลาเพื่อให้นักศึกษาเข้าพบได้กรณี เมื่อนักศึกษาต้องการความช่วยเหลือ หรือ เป็นกรณีพิเศษ 4.35 4.42 6.ส่งเสริมสนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วม กิจกรรมในระดับต่างๆ 4.45 4.51 7. ให้คำปรึกษาในด้านต่าง ๆ อาทิเช่น เรื่อง ส่วนตัว สุขภาพ และอื่น ๆ 4.43 4.57 รวม 4.50 4.55 จากผลการประเมินวิเคราะห์ผลภาพรวมในภาคเรียนที่ 2 มีค่าเฉลี่ยมากกว่าในภาคเรียนที่ 1 แสดงให้เห็นว่าระบบการประเมิน คุณภาพการให้บริการนักศึกษาด้านการจัดบริการให้คำปรึกษาแก่ นักศึกษาคณะอยู่ในระดับดีมาก ซึ่งปรากฏอยู่ในผลการประเมินดังกล่าว 2. ด้านการให้ข้อมูลของหน่วยงานที่ให้บริการ กิจกรรม พิเศษนอกหลักสูตร แหล่งงานทั้งเต็มเวลาและนอกเวลาแก่นักศึกษา คณะฯ ได้ดำเนินการแจกแบบสอบถามแก่นักศึกษาทุก ชั้นปี ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 925 คน คิดเป็น ร้อยละ 81.28 ด้านการให้ข้อมูลของหน่วยงานที่ให้บริการ กิจกรรม พิเศษนอกหลักสูตร แหล่งงานทั้งเต็มเวลาและนอกเวลาแก่นักศึกษาใน คณะ โดยให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ที่ให้คำปรึกษาพบว่า การประเมินความพึงพอใจนักศึกษาที่มีต่อด้านการให้ข้อมูลของ หน่วยงานที่ให้บริการ กิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตร แหล่งงานทั้งเต็ม เวลาและนอกเวลาแก่นักศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.50 เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ท่านได้รับบริการข้อมูลข่าวสารด้านแหล่งรับสมัครงาน (เต็มเวลาและ นอกเวลา) ค่าเฉลี่ย 4.54 รองลงมา คือ ท่านมีความพึงพอใจในการ จัดบริการให้คำปรึกษา แนะแนวการใช้ชีวิต และการเข้าสู่อาชีพแก่ นักศึกษาในสถาบัน ค่าเฉลี่ย 4.52 และข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ความ รวดเร็ว และง่ายต่อในการให้บริการ ค่าเฉลี่ย 4.45 [เอกสาร 1.5(4)/1] และในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 เก็บแบบประเมิน ความพึงพอใจด้านการให้ข้อมูลของหน่วยงานที่ให้บริการ กิจกรรมพิเศษ นอกหลักสูตร แหล่งงานทั้งเต็มเวลาและนอกเวลา แก่นักศึกษาในคณะ โดยมีนักศึกษาทำแบบประเมินจำนวน 960 คน การประเมินความพึง พอใจนักศึกษาด้านการให้ข้อมูลของหน่วยงานที่ให้บริการ กิจกรรม
ข้อ เกณฑ์การ ประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน พิเศษนอกหลักสูตร แหล่งงานทั้งเต็มเวลาและนอกเวลาแก่นักศึกษาใน คณะ พบว่า การประเมินความพึงพอใจนักศึกษาที่มีการให้ข้อมูลของ หน่วยงานที่ให้บริการ กิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตร แหล่งงานทั้งเต็ม เวลาและนอกเวลาแก่นักศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับ มากค่าเฉลี่ย 4.56 เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ท่านมีความพึงพอใจ ในการจัดบริการให้คำปรึกษา แนะแนวการใช้ชีวิต และการเข้าสู่อาชีพ แก่นักศึกษาในสถาบัน ค่าเฉลี่ย 4.60 รองลงมา คือ ได้รับบริการข้อมูล ข่าวสารด้านแหล่งรับสมัครงาน (เต็มเวลาและนอกเวลา) ค่าเฉลี่ย 4.58 และข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ มีความถูกต้องของข้อมูล ตรงกับข้อมูล ของผู้รับบริการ ค่าเฉลี่ย 4.51 ตามลำดับ รายการประเมิน ภาคเรียนที่ 1/2565 2/2565 ด้านการให้ข้อมูลของหน่วยงานที่ให้บริการ กิจกรรมพิเศษนอก หลักสูตร แหล่งงานทั้งเต็มเวลาและนอกเวลาแก่นักศึกษา 1.ท่านได้รับบริการข้อมูลข่าวสารด้านแหล่ง รับสมัครงาน (เต็มเวลาและนอกเวลา) 4.54 4.58 2.ท่านมีความพึงพอใจในการจัดบริการให้ คำปรึกษา แนะแนวการใช้ชีวิต และการเข้าสู่อาชีพแก่นักศึกษาในสถาบัน 4.52 4.60 3.มีช่องทางการขอรับบริการหลากหลาย ช่องทาง 4.49 4.55 4.มีความถูกต้องของข้อมูล ตรงกับข้อมูลของ ผู้รับบริการ 4.50 4.51 5.มีความรวดเร็ว และง่ายต่อในการ ให้บริการ 4.45 4.55 รวม 4.50 4.56 จากผลการประเมินวิเคราะห์ผลภาพรวมในภาคเรียนที่ 2 มีค่าเฉลี่ยมากกว่าในภาคเรียนที่ 1 แสดงให้เห็นว่าระบบการการประเมิน คุณภาพการการให้ข้อมูลของหน่วยงานที่ให้บริการ กิจกรรมพิเศษนอก หลักสูตร แหล่งงานทั้งเต็มเวลาและนอกเวลาแก่นักศึกษาในคณะอยู่ใน ระดับดีมาก ซึ่งปรากฏอยู่ในผลการประเมินดังกล่าว
ข้อ เกณฑ์การ ประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 3. ด้านการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อการท างาน คณะได้จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาแก่นักศึกษา ใช้ แบบสอบถามในการประเมิน โดยมีการสอบถามนักศึกษาที่กำลังศึกษา อยู่ชั้นปีที่ 3 และ 4 เนื่องจากเป็นกลุ่มที่มีได้รับผลประโยชน์จาก กิจกรรมนี้มากที่สุด ซึ่งในแบบสอบถามที่ใช้ในการประเมินความพึง พอใจของนักศึกษา ด้านการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อการ ทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาแก่นักศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมของความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ที่สุดค่าเฉลี่ย 4.53 เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ จัดกิจกรรม/โครงการเตรียมความพร้อมสู่การทำงานเมื่อสำเร็จ การศึกษาได้ทั่วถึงเพียงพอ ค่าเฉลี่ย 4.58 รองลงมา คือ จัดกิจกรรม/ โครงการเตรียมความพร้อมสู่การทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาได้ตรงตาม ความต้องการของนักศึกษา ค่าเฉลี่ย 4.53 และข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ กิจกรรม/โครงการเตรียมความพร้อมสู่การทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาที่ คณะจัดขึ้นนักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง ค่าเฉลี่ย 4.48 ตามลำดับ และในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมของ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.60 เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ กิจกรรม/โครงการเตรียมความพร้อมสู่ การทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาที่ คณะจัดขึ้นนักศึกษาสามารถนำความรู้ ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง ค่าเฉลี่ย 4.65 รองลงมา คือ จัดกิจกรรม/ โครงการเตรียมความพร้อมสู่การทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาได้ตรงตาม ความต้องการของนักศึกษา ค่าเฉลี่ย 4.59 และข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ จัดกิจกรรม/โครงการเตรียมความพร้อมสู่การทำงานเมื่อสำเร็จ การศึกษาได้ทั่วถึงเพียงพอ ค่าเฉลี่ย 4.55 ตามลำดับ รายการประเมิน ภาคเรียนที่ 1/2565 2/2565 ด้านการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อการท างานเมื่อส าเร็จ การศึกษาแก่นักศึกษา 1.จัดกิจกรรม/โครงการเตรียมความพร้อมสู่ การทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาได้ทั่วถึง เพียงพอ 4.58 4.55
ข้อ เกณฑ์การ ประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน 2.จัดกิจกรรม/โครงการเตรียมความพร้อมสู่ การทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาได้ตรงตาม ความต้องการของนักศึกษา 4.53 4.59 3.กิจกรรม/โครงการเตรียมความพร้อมสู่การ ทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาที่ คณะจัดขึ้น นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ ประโยชน์ได้จริง 4.48 4.65 รวม 4.53 4.60 เมื่อเปรียบเทียบผลการประเมินทั้ง 3 ด้าน ภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 พบว่าผลการประเมินในปีการศึกษา 2565 เพิ่มขึ้นทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการจัดบริการให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา ด้านการให้ ข้อมูลของหน่วยงานที่ให้บริการฯ และด้านการจัดกิจกรรมเตรียมความ พร้อมเพื่อการทำงานฯได้ผลดังนี้ คุณภาพ ปี 63 ปี 64 ปี 65 หมายเหตุ 1. ด้านการให้คำปรึกษา ทางวิชาการและการใช้ ชีวิตแก่นักศึกษาในคณะ 4.42 4.51 4.53 เพิ่มขึ้น 2. ด้านการให้ข้อมูลของ หน่วยงานที่ให้บริการ ก ิ จ ก ร ร ม พ ิ เ ศ ษ น อ ก หลักสูตร แหล่งงานทั้ง เต็มเวลาและนอกเวลา แก่นักศึกษา 4.35 4.50 4.53 เพิ่มขึ้น 3. ด้านการจัดกิจกรรม เตรียมความพร้อมเพื่อ การทำงานเมื่อสำเร็จ การศึกษาแก่นักศึกษา 4.53 4.55 4.57 เพิ่มขึ้น รวม 4.43 4.52 4.54 เพิ่มขึ้น 5 นำผลการประเมิน จากข้อ 4 มา ปรับปรุงพัฒนา การให้บริการและ การให้ข้อมูล เพื่อส่งให้ผลการ ประเมินสูงขึ้นหรือ จากรายงานผลการประเมินการจัดกิจกรรม และจัดบริการ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ ประจำปีการศึกษา 2565 พบว่านักศึกษา มีความพึงพอใจในภาพรวม ต่อการให้บริการของ คณะวิทยาการจัดการในระดับมาก แต่มีข้อเสนอแนะที่คณะวิทยาการ จัดการต้องดำเนินการปรับปรุงและพัฒนาการให้บริการเพื่อให้ การบริการเป็นไปตามความคาดหวังของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ ดังนี้ 1.4.5(1)รายงานการ ให้การปรึกษาและการ แนะแนว คณะวิทยาการ จัดการมหาวิทยาลัยราช ภัฏเลย ประจำปี การศึกษา 2565
ข้อ เกณฑ์การ ประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน เป็นไปตามความ คาดหวังของ นักศึกษา 1. การจัดบริการให้คำปรึกษาทางวิชาการและการใช้ชีวิตแก่ นักศึกษาในคณะ คณะได้ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาแล้วพบว่า ผลประเมินเฉลี่ย 4.53 คะแนน อยู่ในระดับมากซึ่งเมื่อพิจารณาราย ประเด็นพบปัญหาที่ต้องแก้ไข คือ จัดสรรเวลาเพื่อให้นักศึกษาเข้าพบได้ กรณีเมื่อนักศึกษาต้องการความช่วยเหลือ หรือเป็นกรณีพิเศษ 2. การให้ข้อมูลของหน่วยงานที่ให้บริการกิจกรรมพิเศษนอก หลักสูตร แหล่งงานทั้งเต็มเวลาและนอกเวลาแก่นักศึกษา คณะได้ ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาด้านการให้บริการข้อมูลข่าวสารที่ เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา โดยได้ผลประเมินเฉลี่ย 4.53 คะแนน อยู่ใน ระดับมาก ซึ่งเมื่อพิจารณารายประเด็นพบปัญหาที่ต้องแก้ไข คือ มีความ รวดเร็ว และง่ายต่อในการให้บริการ 3. ด้านการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานเมื่อสำเร็จ การศึกษาแก่นักศึกษา โดยได้ผลประเมินเฉลี่ย 4.57 คะแนน อยู่ใน ระดับมาก ซึ่งเมื่อพิจารณารายประเด็นพบปัญหาที่ต้องแก้ไข คือ จัดกิจกรรม/โครงการเตรียมความพร้อมสู่การทำงานเมื่อสำเร็จ การศึกษาได้ตรงตามความต้องการของนักศึกษา คณะได้นำผลการประเมินทั้ง 3 กิจกรรมมาปรับปรุงโดยทั้ง 3 ประเด็น ได้นำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการฝ่ายพัฒนานักศึกษา เพื่อให้ที่ ประชุมรับทราบและให้ข้อเสนอแนะต่าง ๆ นำมาปรับปรุง โดยที่ประชุม เสนอแนวทาง ดังนี้ 1.การจัดบริการให้คำปรึกษาทางวิชาการและการใช้ชีวิตแก่ นักศึกษา จัดสรรเวลาเพื่อให้นักศึกษาเข้าพบได้กรณีเมื่อนักศึกษา ต้องการความช่วยเหลือ หรือเป็นกรณีพิเศษ คือ การให้คำปรึกษาใน ระดับคณะควรจะมีการนัดหมายเวลาในการเข้าพบหลากหลายช่องทาง เพื่อขอคำปรึกษา และคณะควรมีแบบฟอร์มอิเล็กทรอนิคในการให้ คำปรึกษาในแต่ละเรื่องของรายบุคคล 2. การเผยแพร่ข่าวสารด้านกิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตร ได้แก่ ทุนการศึกษา การศึกษาต่อ การบริการ จัดหางาน กิจกรรมการพัฒนา นักศึกษา ฯลฯ แนวทางแก้ไขปรับปรุง คือ คณะควรปรับปรุง กระบวนการรวบรวมข้อมูลขแหล่งข่าวสารจากหน่วยงานภายในและ ภายนอก ให้มีความรวดเร็ว และง่ายต่อในการให้บริการ หรือวางแผน ลำดับขั้นตอนในกิจกรรม กำหนดการ และการประชาสัมพันธ์ให้กับ นักศึกษาหรือผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับทราบอย่างทั่วถึง 3. การจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานเมื่อสำเร็จ การศึกษาแก่นักศึกษา ควรจัดกิจกรรม/โครงการเตรียมความพร้อมสู่ 1.4.5(2) รายงานผล การประเมินการจัด กิจกรรม และจัดบริการ ของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี คณะ วิทยาการจัดการ ประจำปีการศึกษา 2565
ข้อ เกณฑ์การ ประเมิน ผลด าเนินงาน เอกสารหลักฐาน การทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาได้ตรงตามความต้องการของนักศึกษา เพิ่มกิจกรรมที่สนุกสนาน สร้างสรรค์ เหมาะสมกับยุคสมัยและวัยของ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น 6 ให้ข้อมูลและ ความรู้ที่เป็น ประโยชน์ใน การประกอบ อาชีพแก่ศิษย์เก่า คณะวิทยาการจัดการได้มีการให้ข้อมูลและความรู้ที่เป็น ประโยชน์ในการประกอบอาชีพแก่ศิษย์เก่าผ่านช่องทางการสื่อสารบน สังคมออนไลน์ ได้แก่ ทางเว็บไซต์ คณะวิทยาการจัดการ/ เพจสโมสร นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย/ เพจ กยศ. กรอ. [เอกสาร 1.4.6(1)] ซึ่งข้อมูลที่เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ประกอบด้วย 1.) ข้อมูลกิจกรรมภายในคณะวิทยาการจัดการและภายใน มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 2.) ข้อมูลข่าวสารการอบรมสัมมนาเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ด้าน ต่าง ๆ สำหรับนักศึกษา บัณฑิตและศิษย์เก่า ที่จัดขึ้นโดยหน่วยงาน ภายในคณะวิทยาการจัดการภายในมหาวิทยาลัยและภายนอก มหาวิทยาลัย 3.) ข้อมูลแหล่งงาน การเปิดสอบบรรจุ การสมัครงานราชการต่าง ๆ 4.) ข้อมูลข่าวสารพิธีรับพระราชทานปริญญาบัตร 5.) ข้อมูลทุนการศึกษาต่อ การรับสมัครเข้าศึกษาต่อระดับ บัณฑิตศึกษา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย และสถาบันการศึกษาอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ซึ่งคณะวิทยาการจัดการได้มีช่องทางในการสื่อสารกับบัณฑิตและ ศิษย์เก่า ผ่านทางการใช้ google app ที่สะดวกและเข้าถึงได้รวดเร็ว เช่น การขอข้อมูลการมีงานทำจากบัณฑิต ทาง google spreadsheet มีการประชาสัมพันธ์ผ่านทางเว็บไซต์มหาวิทยาลัย การสอบถามและ เผยแพร่ข้อมูลการสอบบรรจุของบัณฑิตผ่านทางเว็บเพจคณะวิทยาการ จัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย และเพจ “ศิษย์เก่าคณะวิทยาการจด การ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย” เพื่อเป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสาร ประชาสัมพันธ์กิจกรรม โครงการต่างๆให้กับศิษย์เก่าทุกรุ่น ทุกสาขาวิชา 1.4.6(1) การ ประชาสัมพันธ์ทาง www.manage.lru.ac.th -เพจคณะวิทยาการ จัดการ -เพจสโมสรนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ -เพจ กยศ.กรอ.
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 : กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประเภทของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน : ปีการศึกษา 2565 (1 มิถุนายน 2565 – 31 พฤษภาคม 2566) หน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก : ฝ่ายพัฒนานักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 – 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ ผลการด าเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ได้ดำเนินการบริการนักศึกษา ระดับ ปริญญาตรี ตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ดังนี้ ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน เอกสารหลักฐาน 1 จัดทำแผนการจัด กิจกรรมพัฒนา นักศึกษาใน ภาพรวมของคณะ โดยให้นักศึกษามี ส่วนร่วมในการ จัดทำแผนและ การจัดกิจกรรม คณะวิทยาการจัดการ จัดทำแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ในภาพรวมของคณะโดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนา นักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของคณะ วิทยาการจัดการ โดยมีกระบวนการมีส่วนร่วม ดังนี้ 1. คณะได้จัดทำแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาโดยมีส่วนร่วม ของคณะกรรมการฝ่ายพัฒนานักศึกษา และคณะกรรมการสโมสร นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ ร่วมกันกำหนดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม คุณลักษณะบัณฑิตมาตรฐานการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5 ประการ ได้แก่ 1) ด้านคุณธรรม 2) ด้าน ความรู้ 3) ด้านทักษะทางปัญญา 4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ และ 5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. คณะ ได้มีการจัดทำแบบสอบถามนักศึกษา ชั้นปีที่ 1 ที่เข้าร่วม กิจกรรมตลอดปีการศึกษา 2565 เพื่อสอบถามนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้า ร่วมกิจกรรม แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ และวางแผนปรับปรุงใน การจัดกิจกรรม 3. คณะกรรมการฝ่ายพัฒนานักศึกษาจะจัดกิจกรรมอบรมเชิง ปฏิบัติการภาวะผู้นำสโมสรนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ ให้กับ กรรมการสโมสนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ ซึ่งดำเนินการจัดทุกปี และนำข้อมูล มาวิเคราะห์ปัจจัยความสำเร็จ ปัญหาและอุปสรรค เพื่อเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมด้วย โดยแผนการจัดกิจกรรมพัฒนา นักศึกษามีกิจกรรมทั้งหมด 13 กิจกรรม โดยมีวัตถุประสงค์ของแผน คือ 1.5.1(1) คำสั่ง แต่งตั้งกรรมการ คณะกรรมการฝ่าย พัฒนานักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ 1.5.1(2) รายงาน การประชุมคณะ กรรมการสโมสร นักศึกษาคณะ วิทยาการจัดการ ปี การศึกษา 2565 1.5.1(3) แผนการ จัดกิจกรรมพัฒนา นักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ เลย ประจำปี การศึกษา 2565
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน เอกสารหลักฐาน 1) เพื่อกำหนดทิศทางและเป็นกรอบในการพัฒนานักศึกษาให้มี คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) 2) เพื่อพัฒนานักศึกษาตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยให้เป็น บัณฑิตที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้บัณฑิต และสังคม คณะได้นำเสนอแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาประจำปี การศึกษา 2565 ในที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะวิทยาการ จัดการ ครั้งที่ 1/2566 ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566 [เอกสาร 1.5.1(5)] 1.5.1(4) รายงาน การประชุม คณะกรรมการประจำ คณะวิทยาการจัดการ ครั้งที่ 1/2566 ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566 2 ในแผนการจัด กิจกรรมพัฒนา นักศึกษา ให้ดำเนินกิจกรรม ที่ส่งเสริม คุณลักษณะบัณฑิต ตามมาตรฐานผล การเรียนรู้ตาม กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิแห่งชาติ 6 ประการ ให้ครบถ้วน ประกอบด้วย (1) คุณธรรม จริยธรรม (2) ความรู้ (3) ทักษะทาง ปัญญา (4) ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ (5) ทักษะการคิด วิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ คณะวิทยาการจัดการได้ทำแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 ที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผล การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ 5 ประการ ไว้อย่าง ชัดเจน และแต่ละกิจกรรมมีจุดเด่นในด้านการส่งเสริมคุณลักษณะ บัณฑิต สามารถตอบโจทย์มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิแห่งชาติ ได้มากกว่า 1 ด้าน ซึ่งกิจกรรมพัฒนานักศึกษา คณะ วิทยาการจัดการ นำเสนอได้ดังนี้ 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 1) โครงการจิตส านึกปลูกฝังคุณธรรมการเป็น คนดีศรี วจ. ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย การบรรยายลักษณะของการเป็นคนดีศรี วจ. 9 คุณลักษณะ 38 ตัวชี้วัด และกิจกรรมกลุ่ม แสดงให้เห็นถึงการมี คุณธรรมจริยธรรม การเป็นคนดีต้นแบบของคณะวิทยาการจัดการ วันที่ 17 สิงหาคม 2565 ณ ห้องประชุมชั้น 9 อาคาร 19 มหาวิทยาลัยราชภัฏ เลย[เอกสาร 1.5.2(1)] 2) โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่และสานสัมพันธ์น้องพี่ ปีการศึกษา 2565 วันที่ 2 มิถุนายน 2565 ณ หอประชุมขุมทองวิไล [เอกสาร 1.5.2(2)] ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย ได้แก่ การให้โอวาทแก่ นักศึกษา การใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ความรู้ทางด้าน วิชาการ ด้านการประกันคุณภาพ และวิศวกรสังคม 3) โครงการ วจ. จิตอาสาพัฒนาท้องถิ่น "รักษ์โลกรักษ์ สิ่งแวดล้อม"ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย ได้แก่ การจัดกิจกรรมเพื่อ สาธารณะประโยชน์สร้างจิตสำนึกและปลูกฝังให้นักศึกษามีจิต สาธารณะหรือจิตอาสา พร้อมที่จะช่วยเหลือชุมชนอันเป็นคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ของคณะวิทยาการจัดการ (1) ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1.5.2(1) รายงาน ผลการดำเนินโครงการ จิตสำนึกปลูกฝัง คุณธรรมการเป็นคนดี ศรี วจ. 1.5.2(2) รายงาน ผลการดำเนินโครงการ ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ และสานสัมพันธ์น้องพี่ ปีการศึกษา 2565 ภาค ปกติ (ศูนย์เลย) 1.5.2(3) รายงาน ผลการดำเนินโครงการ วจ. จิตอาสาพัฒนา ท้องถิ่น "รักษ์โลกรักษ์ สิ่งแวดล้อม
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน เอกสารหลักฐาน 2. ด้านความรู้ 4) โ ค ร ง ก า ร อ บ ร ม ป รั บพื้ น ฐ า น ท า ง ก า ร เ รี ย นใ น ระดับอุดมศึกษา [เอกสาร 1.5.2(5)] เป็นกิจกรรมปรับพื้นฐานความรู้ ของนักศึกษาประกอบด้วยกิจกรรมการให้ความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษ และคณิตศาสตร์ เพื่อเข้าสู่การเรียนในระดับปริญญาตรี 5) โครงการแข่งขันทักษะวิชาการ FMS LRU Academic Challenge ประกอบด้วยกิจกรรมเปิดโอกาสให้นักเรียนระดับ มัธยมศึกษาและระดับอาชีวศึกษาได้ร่วมการแข่งขันทักษะวิชาการแบบ บูรณาการและสร้างเครือข่ายทางการศึกษา (2) ด้านความรู้ 1.5.2(4) รายงาน ผลการดำเนินโครงการ อบรมปรับพื้นฐาน ทางการเรียนใน ระดับอุดมศึกษา 1.5.2(5) รายงาน ผลการดำเนินโครงการ แข่งขันทักษะวิชาการ FMS LRU Academic Challenge 3.ทักษะทางปัญญา 6) โครงการปัจฉิมนิเทศนักศึกษาสู่ตลาดแรงงานและสถาน ประกอบการ [เอกสาร 1.5.2(3)] ประกอบด้วยกิจกรรมบรรยายความรู้ เกี่ยวกับการเขียนเรซูเม่ สมัครงาน วิธีการสัมภาษณ์ และความรู้เกี่ยวกับ ประกันสังคม 7) โครงการปัจฉิมนิเทศและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ [เอกสาร 1.5.2(7)]กิจกรรมประกอบด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์และทักษะต่างในการปฏิบัติงาน รวมทั้งแนวทางการ ประกอบอาชีพภายหลังสำเร็จการศึกษา (3) ด้านทักษะทาง ปัญญา 1.5.2(6) รายงาน ผลการดำเนินโครงการ ปัจฉิมนิเทศนักศึกษาสู่ ตลาดแรงงานและ สถานประกอบการ 1.5.2(7) รายงาน ผลการดำเนินโครงการ ปัจฉิมนิเทศและ แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 8) โครงการสร้างเครือข่ายสถานศึกษาและสถานประกอบการ [เอกสาร 1.5.2(8)] เป็นการสร้างเครือข่ายกับสถานบันการศึกษาและ สถานประกอบการ เพื่อสร้างความร่วมมือด้านการจัดการศึกษา ด้านการ แข่งขันเพิ่มทักษะความรู้กับหน่วยงานภายนอก ทั้งนี้คณะวิทยาการ จัดการได้เสริมสร้างทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ [เอกสาร 1.5.2(17)] 9) โครงการวิทยาการจัดการสัมพันธ์ ครั้งที่ 29 [เอกสาร 1.5.2(9)] เป็นโครงการความร่วมมือระหว่าง 4 สถาบัน ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มหาวิทยาลัยราช ภัฏสกลนคร และมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (4) ด้านทักษะ ความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความ รับผิดชอบ 1.5.2(8) รายงานผล การดำเนินโครงการสร้าง เครือข่ายสถานศึกษาและ สถานประกอบการ 1.5.2(9) รายงาน ผลการดำเนินโครงการ วิทยาการจัดการ สัมพันธ์ครั้งที่ 29
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน เอกสารหลักฐาน 10) โครงการจันทน์ผาเกมส์ ครั้งที่ 47 ประกอบด้วยกิจกรรม สร้างความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างคณะทั้ง 5 คณะ สร้างความสามัคคี รู้จักการทำงานเป็นทีม และมีน้ำใจนักกีฬา 1.5.2(10) รายงานผลการดำเนิน โครงการจันทน์ผา เกมส์ ครั้งที่ 47 5. ทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 11) โค ร งก ารฝึกทักษ ะก ารส ร้ า งสม รรถน ะท า งด้ าน คอมพิวเตอร์และดิจิทัล[เอกสาร 1.5.2(10)] คณะได้เห็นความสำคัญ ของการพัฒนาสมรรถนะทางด้านภาษาและคอมพิวเตอร์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 12) โครงการสร้างสมรรถนะการสื่อสารภาษาจีนทางธุรกิจ ประกอบด้วย ความรู้ความเข้าใจและมีสมรรถนะทางด้านภาษาได้อย่าง มีประสิทธิภาพ (5) ด้านทักษะการคิด วิเคราะห์เชิงตัวเลข การ สื่อสารและการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 1.5.2 (11) รายงานผลการ ดำเนินโครงการฝึกทักษะการ สร้างสมรรถนะทางด้าน คอมพิวเตอร์และดิจิทัล 1.5.2 (11) รายงานผลการดำเนิน โครงการสร้าง สมรรถนะการสื่อสาร ภาษาจีนทางธุรกิจ 3 จัดกิจกรรมให้ ความรู้และทักษะ การประกัน คุณภาพ แก่นักศึกษา คณะวิทยาการจัดการได้จัดกิจกรรมให้ความรู้และทักษะ การประกันคุณภาพแก่นักศึกษาต่อเนื่องทุกปีโดยในปีการศึกษา 2564 ได้จัดกิจกรรมดังนี้ 1) คณะวิทยาการจัดการ มีการจัดโครงการปฐมนิเทศนักศึกษา ใหม่และสานสัมพันธ์น้องพี่ประจำปีการศึกษา 2565 [เอกสาร 1.5.3(1)] ในวันที่ 2 มิถุนายน 2565 ณ หอประชุมขุมทองวิไล ในกิจกรรม ปฐมนิเทศ คณะฯ ได้มอบหมายให้อาจารย์เกศนี จึงวัฒนตระกูล รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและประกันคุณภาพ อบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาแก่นักศึกษา โดยเน้นเนื้อหา ประเด็นการสร้างความเข้าใจในเรื่องความสำคัญของการประกันคุณภาพ การศึกษา หน้าที่ของนักศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา และ จากผลการประเมินโครงการความรู้และความเข้าใจ โดยรวม อยู่ใน ระดับมาก ด้านการนำความรู้ไปใช้ อยู่ในระดับมาก 2) สโมสรนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ จัดโครงการอบรมพี่ เลี้ยงน้องใหม่ [เอกสาร 1.5.3(2)] เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดงานประกันคุณภาพ การศึกษา (PDCA TO SAR) และการทำงานที่เกี่ยวข้องกับการประกัน คุณภาพการศึกษา การดำเนินโครงการตามกระบวนการ PDCA รวมถึง สรุปผลการดำเนินงานของสโมสรนักศึกษาในปีที่ผ่านมา ให้กับสโมสร นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการชุดใหม่ที่จะมารับหน้าที่ในปีการศึกษา 2565 ภายใต้การควบคุมดูแลของคณะกรรมการฝ่ายพัฒนานักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ นำโดยรองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา อาจารย์ที่ 1.5.3(1) รายงาน ผลการดำเนินโครงการ ปฐมนิเทศนักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 1.5.3(2) โครงการอบรมพี่เลี้ยง น้องใหม่ ประจำปีการศึกษา 2565
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน เอกสารหลักฐาน ปรึกษางานพัฒนานักศึกษา ที่กำกับดูแลการดำเนินโครงการ และมี กิจกรรมระหว่างสโมสรนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ และอาจารย์ ได้มีส่วนในการคิดวิเคราะห์ วางแผนการดำเนินกิจกรรมพัฒนานักศึกษา และการออกแบบโครงการ โดยการใช้เกณฑ์ของการประกันคุณภาพ การศึกษาในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความสอดคล้องและตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ 5 ด้าน ให้ครบถ้วน อันนำไปสู่การ พัฒนานักศึกษาให้มีคุณภาพ และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ต่อไป 4 ทุกกิจกรรมที่ ดำเนินการ มีการประเมินผล ความสำเร็จตาม วัตถุประสงค์ของ กิจกรรมและนำผล การประเมินมา ปรับปรุงการ ดำเนินงานครั้ง ต่อไป คณะมีการประเมินผลความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมที่ ดำเนินโครงการตามรายงานผลการดำเนินโครงการและทุกกิจกรรมมี การประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ตามแผนการจัดกิจกรรมและ พัฒนานักศึกษาปีการศึกษา 2565 ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ คณะได้มีการ ดำเนินทุกกิจกรรมตามแผนและมีการประเมินผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ดังนี้ กิจกรรม วัตถุประสงค์ของ กิจกรรม ผลการ ประเมิน เป้าหมาย ประเด็น/ บรรลุ ข้อเสนอแนะ ไม่ บรรลุ 1) โครงการ จิตสำนึกปลูก ฝังคุณธรรม การเป็น คนดี ศรี วจ. 1. เพื่อส่งเสริมและ พัฒนานักศึกษา ให้มี คุณลักษณะเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย และ มีความรอบรู้ มี คุณลักษณะที่จะ เอื้ออำนวยต่อการ พัฒนาประเทศใน อนาคต 2. เพื่อสร้างกระแส ให้สังคมเกิดความ ตระหนัก เห็น คุณค่าของการ กระทำความดี 4.43 เป็นกิจกรรมที่ดี ควรมีทุกปี และ ควรส่งเสริมให้ นักศึกษาได้มี การประกวด ต้นแบบการเป็น คนดี ศรี วจ. 2) โครงการ ปฐมนิเทศ นักศึกษาใหม่ และสาน สัมพันธ์น้องพี่ ปีการศึกษา 2565 1.เพื่อให้นักศึกษา ใหม่ทราบถึง วิสัยทัศน์ พันธกิจ ของคณะวิทยาการ จัดการ 2.เพื่อให้นักศึกษา ทราบแนวทางการ เรียน แนวปฏิบัติ ด้านวิชาการ ด้าน กิจกรรมนักศึกษา วินัย สวัสดิการของ 4.58 มีกิจกรรมที่ สนุก และทำให้ เข้าใจในการใช้ ชีวิตใน มหาวิทยาลัย ราชภัฏเลย และ ได้รู้จัก คณาจารย์ รุ่นพี่ ของคณะ วิทยาการ จัดการ 1.4.4 (1) รายงาน ผลการประเมินการจัด กิจกรรม และ จัดบริการของ นักศึกษาระดับ ปริญญาตรี คณะ วิทยาการจัดการ ประจำปีการศึกษา 2565
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน เอกสารหลักฐาน นักศึกษาและการใช้ ชีวิตการศึกษาใน คณะวิทยาการ จัดการ 3.เพื่อส่งเสริมให้ นักศึกษาคณะวิทย การจัดการได้รับการ พัฒนาตาม คุณลักษณะบัณฑิตที่ พึงประสงค์ 4.เพื่อพัฒนา นักศึกษาให้เป็นผู้มี คุณธรรม จริยธรรม รู้จักหน้าที่พลเมือง 5.เพื่อเสริมสร้าง ความสัมพันธ์อันดี ระหว่างคณาจารย์ นักศึกษารุ่นพี่และ รุ่นน้อง 3) โครงการ วจ. จิตอาสาพัฒนา ท้องถิ่น "รักษ์ โลกรักษ์ สิ่งแวดล้อม 1.เพื่อให้นักศึกษาได้ เรียนรู้กระบวนการ การจัดกิจกรรมเพื่อ สาธารณะประโยชน์ 2.เพื่อสร้างจิตสำนึก และปลูกฝังให้ นักศึกษามีจิต สาธารณะหรือจิต อาสา พร้อมที่จะ ช่วยเหลือชุมชนอัน เป็นคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของคณะ วิทยาการจัดการ 3.เพื่อให้นักศึกษามี ความสัมพันธ์ที่ดีใน การทำงานกับบุคคล อื่น ๆ และปรับตัว รับผิดชอบในงานที่ ได้รับมอบหมายจน บรรลุตามเป้าหมาย 4.เพื่อส่งเสริม จิตสำนึกด้าน คุณธรรมกับการ ทำงานโดยไม่หวังผล สิ่งตอบแทนใด 4.45 เป็นกิจกรรมที่ดี ควรมีการจัดใน พื้นที่ต่าง และ ม ี ก ิ จกรรมหี่ หลากหลาย
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน เอกสารหลักฐาน 4) โครงการ อบรมปรับ พื้นฐาน ทางการเรียน ในระดับอุดม ศึกษา 1.เพื่อปรับพื้น ฐานความรู้ และมี ทักษะด้านภาษาไทย และคณิตศาสตร์ เพื่อเข้าสู่การเรียนใน ระดับปริญญาตรี 2. เพื่อให้นักศึกษา ทราบถึงความรู้ ความสามารถของ ตนเองในการเรียน ตามหลักสูตรของ คณะวิทยาการ จัดการ 4.26 -ควรเพิ่มเวลา ในการจัด กิจกรรม -วิทยากร ถ่ายทอดความรู้ ได้ดีมาก สอนดี แต่เน้นเนื้อหา มากไป 5) โครงการ แข่งขันทักษะ วิชาการ FMS LRU Academic Challenge 1.เพื่อเป็นการ ประชาสัมพันธ์ นักศึกษาใหม่ 2.เพื่อเป็นการ แข่งขันทักษะทาง วิชาการ ใน ระดับอุดมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา วิทยาลัยอาชีว 4.34 -ควรให้ นักศึกษาได้มี การแข่งขันร่วม ด้วย -รู้จักวิธีการ ทำงานมากขึ้น 6) โครงการ ปัจฉิมนิเทศ นักศึกษาสู่ ตลาดแรงงาน และสถาน ประกอบการ 1. เพื่อให้นักศึกษา ชั้นปีที่ 4 ได้ทราบถึง แนวทางการเตรียม ตัวสมัครงาน และ บุคลิกภาพที่ เหมาะสมต่อการ สมัครงาน พร้อมทั้ง ทราบถึงแนวทางการ ประกอบอาชีพ ภายหลังสำเร็จ การศึกษา 2. เพื่อเป็นการ พัฒนาความผูกพัน ระหว่างคณาจารย์ และนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ที่กำลังจะสำเร็จ การศึกษา 4.57 อยากให้จัด กิจกรรมอย่างนี้ ทุกปี 7) โครงการ ปัจฉิมนิเทศและ แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ 1.เพื่อให้นักศึกษาที่ จะสำเร็จการศึกษา (ภาคพิเศษ) ทั้งศูนย์ เลยและศูนย์ ขอนแก่น คณะ วิทยาการจัดการ ได้ ทราบถึงแนวทางการ 4.37 ทำให้ นศ.ได้ แนวคิดจากการ แลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่าง กัน
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน เอกสารหลักฐาน เตรียมตัวสมัครงาน และได้รับการ แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ต่างๆ พร้อมทั้งทราบถึง แนวทางการ ประกอบอาชีพภาย หลักสำเร็จการศึกษา 2.เพื่อเป็นการสร้าง ความผูกพันระหว่าง คณาจารย์กับ นักศึกษาที่กำลังจะ สำเร็จการศึกษา 8) โครงการ สร้างเครือข่าย สถานศึกษา และสถาน ประกอบการ 1.เพื่อสร้างเครือข่าย กับสถาบันการศึกษา และสถาน ประกอบการ 2. เพื่อสร้างความ ร่วมมือกับองค์กร ภายนอก ด้านการ จัดการศึกษา 3.เพื่อส่งเสริม นักศึกษาในการ แข่งขันเพิ่มทักษะ ความรู้กับหน่วยงาน ภายนอก 4.20 - 9) โครงการ วิทยาการ จัดการ สัมพันธ์ ครั้งที่ 29 1. เพื่อส่งเสริม ความสัมพันธ์อันดี ระหว่างมหาวิทยาลัย ราชภัฏเลย มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุดรธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏ สกลนคร และ มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม 2. เพื่อให้นักศึกษา คณะวิทยาการ จัดการได้เข้าร่วม แข่งขันทักษะทาง วิชาการและกิจกรรม กีฬา 3. เพื่อเป็นการสร้าง เครือข่ายความ ร่วมมือทางวิชาการ และกิจกรรม 4.47 ควรมีการ แข่งขันกีฬา เพื่อเชื่อม ความสัมพันธ์ ระหว่างกัน
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน เอกสารหลักฐาน 10) โครงการ จันทน์ผาเกมส์ ครั้งที่ 47 1. เพื่อให้นักศึกษา คณะวิทยาการ จัดการได้สร้าง ความสัมพันธ์อันดี งามระหว่างคณะทั้ง 5 คณะ 2.เพื่อให้นักศึกษา คณะวิทยาการ จัดการมีความ สามัคคี รู้จักการ ทำงานเป็นทีม และ มีน้ำใจนักกีฬา 3.เพื่ออำนวยความ สะดวกและสร้าง ขวัญกำลังใจให้แก่ นักศึกษาคณะ วิทยาการจัดการ 4.52 ระยะเวลาใน การจัดกิจกรรม ควรมีความ เหมาะสม มากกว่านี้ 11) โครงการ ฝึกทักษะการ สร้าง สมรรถนะ ทางด้าน คอมพิวเตอร์ และดิจิทัล 1.เพื่อให้นักศึกษามี ความรู้และมี สมรรถนะทางด้าน คอมพิวเตอร์และ ดิจิทัล 2.เพื่อให้นักศึกษานำ ความรู้ด้าน คอมพิวเตอร์และ ดิจิทัลไปประยุกต์ใช้ ให้เกิดประโยชน์ต่อ การฝึกประสบการณ์ และการประกอบ อาชีพของนักศึกษา ในอนาคตได้ 4.33 วิทยากร บรรยายได้ดี มาก สนุก และ สามารถฝึก ปฏิบัติด้วย ตนเองได้ 12) โครงการ สร้าง สมรรถนะการ สื่อสาร ภาษาจีนทาง ธุรกิจ 1. เพื่อส่งเสริม ความสัมพันธ์อันดี ระหว่างมหาวิทยาลัย ราชภัฏเลย มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุดรธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏ สกลนคร และ มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม 2. เพื่อให้นักศึกษา คณะวิทยาการ จัดการได้เข้าร่วม แข่งขันทักษะทาง วิชาการและกิจกรรม 4.42 วิทยากรสอนได้ ดี มาก
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน เอกสารหลักฐาน กีฬา 3. เพื่อเป็นการสร้าง เครือข่ายความ ร่วมมือทางวิชาการ และกิจกรรม จากประเมินกิจกรรมทุกกิจกรรมแล้ว ได้นำผลการประเมินแต่ละ กิจกรรมเข้าที่ประชุมคณะกรรมการกิจการนักศึกษา เพื่อวิเคราะห์ ประเด็นปัญหา แล้วนำผลจากการประชุมมาวางแผน ปรับปรุงการจัด กิจกรรมในปีการศึกษาต่อไป 5 ประเมิน ความสำเร็จตาม วัตถุประสงค์ของ แผนการจัด กิจกรรมพัฒนา นักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ มีการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ดังนี้ วัตถุประสงค์ของแผน 1. เพื่อกำหนดทิศทางและเป็นกรอบในการพัฒนานักศึกษาให้มี คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ได้แก่ 1) ด้านคุณธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ด้านทักษะทางปัญญา 4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ และ 5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ สื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. เพื่อพัฒนานักศึกษาตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยให้เป็น บัณฑิตที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้บัณฑิตและสังคม ตัวชี้วัดความส าเร็จของแผน ตัวชี้วัดความส าเร็จ ของแผน กิจกรรม ผลการ ด าเนินงาน ประเด็นข้อเสนอแนะ และแนวทางการ ปรับปรุง 1 . ส า ม า ร ถ ดำเนินกิจกรรม พัฒนานักศึกษา ให้ครอบคลุม กิจกรรมที่ส่งเสริม คุณลักษณะบัณฑิต ที่พึงประสงค์ สอดคล้องกับ มาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ (TQF) ครบทั้ง 5 ด้าน 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1) โครงการจิตสำนึก ปลูกฝังคุณธรรมการ เป็น คนดีศรี วจ. 2) โครงการปฐมนิเทศ นักศึกษาใหม่และสาน สัมพันธ์น้องพี่ ปีการศึกษา 2565 3) โครงการ วจ. จิต อาสาพัฒนาท้องถิ่น "รักษ์โลกรักษ์ สิ่งแวดล้อม" 2. ด้านความรู้ 1) โครงการอบรม ปรับพื้นฐานทางการ ดำเนินการ จัดกิจกรรม ครบทุกด้าน ประเด็น ข้อเสนอแนะ 1. อยากให้ผู้เข้ารับ การอบรม หรือเข้า ร่วมกิจกรรมได้มี ส่วนร่วมในกิจกรรม มากกว่านี้ 2. ควรมีกิจกรรม Work shop ใ ห้ นักศึกษาได้ลงมือ ป ฏิ บั ติ แ ล ะ ทำ กิจกรรมร่วมกัน 3. ควรเพิ่มระยะ เ ว ล า ใ น ก า ร จัดอบรมให้มากขึ้น แนวทางการ ปรับปรุง 1.4.5(1)รายงาน การให้การปรึกษาและ การแนะแนว คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ เลย ประจำปี การศึกษา 2565 1.4.5(2) รายงาน ผลการประเมินการจัด กิจกรรม และ จัดบริการของ นักศึกษาระดับ ปริญญาตรี คณะ วิทยาการจัดการ ประจำปีการศึกษา 2565
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน เอกสารหลักฐาน เรียนใน ระดับอุดมศึกษา 2) โครงการแข่งขัน ทักษะวิชาการ FMS LRU Academic Challenge 3.ทักษะทางปัญญา 1) โครงการปัจฉิมนิเทศ นักศึกษาสู่ ตลาดแรงงานและสถาน ประกอบการ 2) โครงการปัจฉิมนิเทศ และแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 1) โครงการสร้าง เครือข่ายสถานศึกษา และสถานประกอบการ 2) โครงการวิทยาการ จัดการสัมพันธ์ ครั้งที่ 29 3) โครงการจันทน์ผา เกมส์ ครั้งที่ 47 5. ทักษะการคิด วิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) โครงการฝึกทักษะ การสร้างสมรรถนะ ทางด้านคอมพิวเตอร์ และดิจิทัล 2) โครงการสร้าง สมรรถนะการสื่อสาร ภาษาจีนทางธุรกิจ 1.. ในการจัด กิจกรรมอบรมต่างๆ ทั้ง กิจกรรมวิชาการ กิจกรรม ลงมือ ปฏิบัติ Work shop หรือกิจกรรม กลุ่ม ทางคณะฯ จะ ดำเนินการ ประชุม ร่วมกันของ คณะกรรมการฝ่าย พัฒนานักศึกษา (อาจารย์กิจกรรม ของแต่ละสาขา) ใน การคัดเลือกวิทยากร ที่เหมาะสม กิจกรรม ซึ่งเป็นผู้ที่มี ประสบการณ์ มาก ความสามารถ ทั้ง ด้านวิชาการ และ ด้านการฝึกปฏิบัติ Work shop หรือ นันทนาการ ในการ เป็นวิทยากรอบรม ให้ความรู้ในการจัด กิจกรรมต่างๆ ของ คณะ และมีการปรับ เวลาในการจัด กิจกรรมให้เหมาะสม กับรูปแบบของ กิจกรรมนั้นๆ 2. พัฒนานักศึกษา ให้มีคุณลักษณะ ตามอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัยราช ภัฏเลย มีคุณธรรม จริยธรรม 1) โครงการจิตสำนึก ปลูกฝังคุณธรรมการ เป็น คนดีศรี วจ. 2) โครงการปฐมนิเทศ นักศึกษาใหม่และสาน สัมพันธ์น้องพี่ ปีการศึกษา 2565 3) โครงการ วจ. จิต อาสาพัฒนาท้องถิ่น ดำเนินการ จัดกิจกรรม ครบทุกด้าน
ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดำเนินงาน เอกสารหลักฐาน "รักษ์โลกรักษ์ สิ่งแวดล้อม" 3. ร้อยละความ พึงพอใจของ นักศึกษาที่มีต่อ การจัดกิจกรรม พัฒนานักศึกษา ในภาพรวมของ คณะวิทยาการ จัดการ ร้อยละ 90 ซึ่งในการจัดกิจกรรมของคณะ มีร้อยละความพึงพอใจของ นักศึกษาที่มีต่อการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาในภาพรวมผลคะแนนอยู่ ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 90.00 โดยคณะกรรมการกิจการนักศึกษา มีการประชุมประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัด กิจกรรมพัฒนานักศึกษา มติที่ประชุม เห็นชอบ กิจกรรมสามารถ ดำเนินการส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ ครบทั้ง 5 ประการ และบรรลุ วัตถุประสงค์ของแผน รวมทั้งสามารถบรรลุตัวชี้วัดความสำเร็จของแผน ด้วย 6 นำผลการประเมิน ไปปรับปรุงแผน หรือปรับปรุงการ จัดกิจกรรมเพื่อ พัฒนานักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ โดยคณะกรรมการพัฒนานักศึกษา และ สโมสรนักศึกษา ได้มีการนำผลการ ประเมินความสำเร็จของแผนพัฒนา นักศึกษาและผล การจัดกิจกรรมในแต่ละด้านมาทบทวน พบว่า การ ประเมินความสำเร็จของแผนพัฒนานักศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์ใน ทุกตัวชี้วัดความสำเร็จ จึงได้ทำการ ทบทวนกิจกรรมการพัฒนานักศึกษา เพื่อหาปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ และร่วมกันเสนอแนวทางการ ปรับปรุง/แก้ไข เพื่อปรับปรุงรูปแบบของการจัด กิจกรรม และปรับปรุง แผนพัฒนานักศึกษา ของคณะวิทยาการจัดการในปีการศึกษาถัดไป ดังนี้ โครงการ ปี2565 ประเด็น/ ข้อเสนอแนะ การปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ ในปีการศึกษา 2566 1) โครงการ จิตสำนึกปลูก ฝังคุณธรรม การเป็น คนดีศรี วจ. เป็นกิจกรรมที่ดีควรมี ทุกปี และควรส่งเสริม ให้นักศึกษาได้มีการ ประกวดต้นแบบการ เป็นคนดี ศรี วจ. -จะดำเนินกิจกรรมทุกปี เพื่อ สร้างอัตลักษณ์ให้นักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ 2) โครงการ ปฐมนิเทศ นักศึกษาใหม่และ สานสัมพันธ์ มีกิจกรรมที่สนุก และ ทำให้เข้าใจในการใช้ ชีวิตในมหาวิทยาลัยราช ภัฏเลย และได้รู้จัก -ให้นักศึกษาได้มีส่วนรวมใน การทำกิจกรรม 1.5.6 (1) แผนการดำเนิน กิจกรรมพัฒนา นักศึกษา คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ เลย ประจำปี 2565 1.5.6(2) รายงานผลการดำเนิน โครงการทุกโครงการ